The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

เล่มพัฒนาคุณภาพการศึกษากศน.อำเภอมะนัง66-69

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by thaharnthai1622, 2023-04-25 02:53:48

เล่มพัฒนาคุณภาพการศึกษากศน.อำเภอมะนัง66-69

เล่มพัฒนาคุณภาพการศึกษากศน.อำเภอมะนัง66-69

การอนุมัติแผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา พ.ศ. 2566-2569 ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอ าเภอมะนัง จังหวัดสตูล เพื่อให้การจัดการศึกษาบรรลุเป้าประสงค์ตามที่สถานศึกษาก าหนด สถานศึกษาได้จัดท า แผนพัฒนา คุณภาพการศึกษา พ.ศ.2566-2569 ระยะเวลา 4 ปี ประกอบด้วยหลักการและเหตุผล บริบทการเปลี่ยนแปลง กฎหมาย ยุทธศาสตร์ นโยบาย แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 13 บริบทของอ าเภอมะนัง บริบทขององค์กรกศน.อ าเภอมะนัง โครงการ/กิจกรรม ซึ่งคณะกรรมการสถานศึกษาได้พิจารณา ในแผนพัฒนา คุณภาพการศึกษาของ กศน.อ าเภอมะนัง แล้วเห็นชอบแผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา พ.ศ.2566-2569 ดังกล่าว ลงชื่อ....................................................................ผู้เห็นชอบ (..นายดนัย สุวรรณโณ..) ประธานคณะกรรมการสถานศึกษา วันที่..............เดือน..............................................พ.ศ............ ลงชื่อ...........................................................ผู้อนุมัติ (.นางสาวจตุพร ทหารไทย.) ครูช านาญการ รักษาการในต าแหน่ง ผู้อ านวยการศูนย์ กศน.อ าเภอมะนัง. วันที่..............เดือน..............................................พ.ศ............


แผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา กศน.อ าเภอมะนัง ระยะ 4 ปี พ.ศ. 2566 - 2569 ก ค าน า รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2560 ก าหนดให้มียุทธศาสตร์ชาติเป็นเป้าหมาย การพัฒนาประเทศอย่างยั่งยืน ตามหลักธรรมาภิบาล เพื่อใช้เป็นกรอบในการจัดท าแผนต่าง ๆ ให้สอดคล้องและ บูรณาการร่วมกัน เพื่อให้เกิดเป็นพลังผลักดันร่วมกันไปสู่เป้าหมายในการพัฒนาประเทศ กศน.อ าเภอมะนัง ในฐานะ หน่วยงานที่จัด ส่งเสริมและสนับสนุนการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยจึงจ าเป็นต้องจัดท าแผนพัฒนา การคุณภาพศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยของกศน.อ าเภอมะนัง พ.ศ.2566 – 2569 เพื่อให้ สอดคล้องกับยุทธศาสตร์ชาติและแผนแม่บทภายใต้ยุทธศาสตร์ชาติ แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 13 เพื่อร่วมพัฒนาและแก้ไขปัญหาส าคัญของประเทศ ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอ าเภอมะนัง ได้จัดท าแผนพัฒนาการคุณภาพศึกษา นอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอ าเภอมะนัง พ.ศ. 25666 – 2569 ประจ าปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 ส าหรับเป็นแผนระดับหน่วยงานเพื่อวางกรอบเป้าหมายและทิศทางการจัดการศึกษานอกระบบและการศึกษาตาม อัธยาศัย ให้สามารถขับเคลื่อนการด าเนินงานด้านการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยไปสู่การปฏิบัติ อย่างมีประสิทธิภาพ โดยมุ่งจัดการศึกษาให้คนไทยทุกคนสามารถเข้าถึงโอกาสและความเสมอภาคในการศึกษา ที่มีคุณภาพ พัฒนาระบบการบริหารจัดการศึกษาที่มีประสิทธิภาพ พัฒนาก าลังคนให้มีสมรรถนะในการท างาน ที่สอดคล้องกับความต้องการของตลาดแรงงานและการพัฒนาประเทศ คณะผู้จัดท า ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอ าเภอมะนัง


แผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา กศน.อ าเภอมะนัง ระยะ 4 ปี พ.ศ. 2566 - 2569 ข สารบัญ หน้า ค าน า ก สารบัญ ข ส่วนที่ 1 บทน า 1 หลักการและเหตุผล 1 กรอบแนวทางการจัดท าแผน 2 แนวทางการด าเนินงาน 2 ผลที่คาดว่าจะได้รับ 3 ส่วนที่ 2 สถานการณ์และแนวโน้มบริบทสังคม และเอกสารที่เกี่ยวข้อง 4 บริบทการเปลี่ยนแปลง (Mega Trends and COVID – 19 Impacts) 4 กฎหมาย ยุทธศาสตร์ นโยบาย เอกสารที่เกี่ยวข้อง 5 ยุทธศาสตร์ชาติระยะ 20 ปี (พ.ศ. 2561 – 2580) 5 แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 13 (พ.ศ. 2566 – 2570) 6 นโยบายของรัฐบาล (พลเอกประยุทธ์ จันทร์โอชา นายกรัฐมนตรี) 10 กฎหมายและนโยบายด้านการศึกษา 12 โครงสร้างอ านาจหน้าที่ของกศน.อ าเภอมะนัง 22 ผลการด าเนินงาน กศน.อ าเภอมะนังในปีงบประมาณ 2565 24 ส่วนที่ ๓ การวิเคราะห์บริบทของอ าเภอมะนัง 31 สภาพทั่วไป 31 อาณาเขตที่ตั้ง 31 สภาพชุมชน 32 ส่วนที่ 4 การวิเคราะห์บริบทขององค์กร กศน.อ าเภอมะนัง 36 สภาพทั่วไปของสถานศึกษา 36 อัตลักษณ์ 37 ปรัชญา 37 วิสัยทัศน์ 37 พันธกิจ 37 การวิเคราะห์สภาพองค์กรทางการศึกษา (SWOT Analysis) 38 ค่าเป้าหมายของสถานศึกษา กศน.อ าเภอมะนัง 44 โครงการกิจกรรมเพื่อพัฒนาคุณภาพสถานศึกษา 47


แผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา กศน.อ าเภอมะนัง ระยะ 4 ปี พ.ศ. 2566 - 2569 ค สารบัญ (ต่อ) ส่วนที่ 5 แนวทางการขบเคลื่อนแผนไปสู่การปฏิบัติของกศน.อ าเภอมะนัง 57 ภาคผนวก 58 ค าสั่งคณะท างานจัดท าแผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา ของกศน.อ าเภอมะนัง 59 คณะผู้จัดท า 60


แผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา กศน.อ าเภอมะนัง ระยะ 4 ปี พ.ศ. 2566 - 2569 ๑ ส่วนที่ 1 บทน า หลักการและเหตุผล ตามพระราชกฤษฎีกาว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี พ.ศ. 2546 และ พ.ศ. 2562 หมวด 3 มาตรา 9 (1) (2) ได้ก าหนดให้ส่วนราชการต้องจัดท าแผนปฏิบัติราชการไว้เป็นการล่วงหน้า และแผนปฏิบัติราชการดังกล่าวต้องมีรายละเอียดของขั้นตอน ระยะเวลา และงบประมาณที่ต้องใช้ ในการด าเนินการของแต่ละขั้นตอน เป้าหมายของภารกิจ ผลสัมฤทธิ์และตัวชี้วัดความส าเร็จของภารกิจหน่วยงาน และพระราชกฤษฎีกาว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี มาตรา ๑๔ ในการจัดท าแผนปฏิบัติ การ ให้จัดท าเป็นแผน 4 ปีโดยน านโยบายของรัฐบาลที่แถลงต่อรัฐสภามาพิจารณาด าเนินการให้สอดคล้อง กับแนวนโยบายพื้นฐานแห่งรัฐตามบทบัญญัติของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย และแผนพัฒนาประเทศ ด้านต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้อง ทั้งนี้อย่างน้อยจะต้องมีสาระส าคัญเกี่ยวกับการก าหนดเป้าหมายและผลสัมฤทธิ์ของงาน ส่วน ราชการหรือบุคคลที่จะรับผิดชอบในแต่ละภารกิจ ประมาณการรายได้และรายจ่ายและทรัพยากรต่าง ๆ ที่จะต้องใช้ระยะเวลาการด าเนินการ และการติดตามประเมินผล (ฉบับที่ 1) พ.ศ. 2546 มาตรา ๑๖ ให้ส่วนราชการจัดท าแผนปฏิบัติราชการของส่วนราชการนั้นโดยจัดท าเป็นแผน 5 ปีซึ่งต้องสอดคล้อง กับยุทธศาสตร์ชาติ แผนแม่บท แผนการปฏิรูปประเทศ แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ นโยบาย ของคณะรัฐมนตรีที่แถลงต่อรัฐสภา และแผนอื่นที่เกี่ยวข้อง (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2562 และมาตรา 9 (4) ในกรณี ที่การปฏิบัติภารกิจ หรือการปฏิบัติตามแผนปฏิบัติราชการเกิดผลกระทบต่อประชาชน ให้เป็นหน้าที่ ของส่วนราชการที่จะต้องด าเนินการแก้ไขหรือบรรเทาผลกระทบนั้น หรือเปลี่ยนแผนปฏิบัติราชการให้เหมาะสม และใช้ก าลังเงินงบประมาณของประเทศ ความคุ้มค่าของภารกิจ และสถานการณ์อื่นมาประกอบในการจัดท า แผนปฏิบัติการ เพื่อให้เป็นไปตามพระราชกฤษฎีกาว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี พ.ศ. 2546 และ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2562 สนับสนุนการบรรลุเป้าหมายแผน 3 ระดับ ตามนัยยะของมติคณะรัฐมนตรี เมื่อวันที่ 4 ธันวาคม 2560 ที่ประกาศให้มี แผนระดับที่ 1 ยุทธศาสตร์ชาติ (พ.ศ. 2561-2580) แผนระดับที่ 2 แผน แม่บทภายใต้ยุทธศาสตร์ชาติแผนการปฏิรูปประเทศ 11 ด้าน แผนการปฏิรูปประเทศด้านการศึกษา แผนพัฒนา เศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 13 (พ.ศ. 2566 – 2570) แผนความมั่นคงแห่งชาติ นโยบายรัฐบาล นโยบาย และจุดเน้นกระทรวงศึกษาธิการ ปีงบประมาณ พ.ศ. 2570 กศน.อ าเภอมะนัง ได้จัดท าแผนพัฒนาคุณภาพ การศึกษากศน.อ าเภอมะนัง พ.ศ.2566 – 2569 โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อใช้เป็นเครื่องมือก าหนดทิศทางการพัฒนา การศึกษา และให้สถานศึกษา ใช้เป็นกรอบแนวทางในการปฏิบัติงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ และก่อให้เกิดประโยชน์ สูงสุดตามทิศทางที่วางไว้


แผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา กศน.อ าเภอมะนัง ระยะ 4 ปี พ.ศ. 2566 - 2569 ๒ กรอบแนวทางการจัดท าแผน ข้อมูล เอกสาร กฎหมายที่เกี่ยวข้องที่ใช้เป็นกรอบแนวทางการจัดท าแผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา ประกอบด้วย บริบทสภาพแวดล้อม กฎหมาย ยุทธศาสตร์ นโยบาย เอกสาระส าคัญที่เกี่ยวข้องกับภารกิจ ดังนี้ 1. บริบทการเปลี่ยนแปลง (Megatrends and COVID – 19 Impacts) 2. กฎหมาย ยุทธศาสตร์ นโยบาย และสาระส าคัญที่เกี่ยวข้องกับภารกิจกศน.อ าเภอมะนัง 1) ยุทธศาสตร์ชาติระยะ 20 ปี (พ.ศ. 2561–2580) 2) แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 13 (พ.ศ. 2566-2570) 3) นโยบายรัฐบาล (พลเอก ประยุทธ์ จันทร์โอชา นายกรัฐมนตรี) 4) กฎหมายและนโยบายด้านการศึกษา ได้แก่ รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2560 พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ แก้ไขเพิ่มเติม ฉบับที่ 3 พุทธศักราช 2553 ทิศทางแผนการ ศึกษาแห่งชาติ (พ.ศ. 2560–2579) แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 13 (พ.ศ. 2566 - 2570) นโยบายของรัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ (ตรีนุช เทียนทอง) แผนพัฒนาคุณภาพการศึกษานอก ระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย ของส านักงาน กศน. (พ.ศ. 2560–2579) แผนพัฒนาคุณภาพการศึกษานอก ระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย ของส านักงาน กศน.จังหวัดสตูล (พ.ศ. 2565–2569) ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2566 5) โครงสร้างอ านาจหน้าที่ของกศน.อ าเภอมะนัง 6) ผลการด าเนินงานการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยที่ผ่านมา ของกศน.อ าเภอมะนังและประเด็นที่ต้องเร่งพัฒนา 7) ค่าเป้าหมายเพื่อการประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา แนวทางการด าเนินงาน การจัดท าแผนพัฒนาคุณภาพการศึกษาของกศน.อ าเภอมะนัง ระยะ 4 ปี(พ.ศ.2566 – 2569) มีแนวทางการด าเนินงาน ดังนี้ 1. วิเคราะห์บริบทที่เกี่ยวข้องกับอ านาจหน้าที่ของกศน.อ าเภอมะนัง 2. ก าหนดกรอบเค้าโครงแนวทางการจัดท าแผนพัฒนาคุณภาพการศึกษาของกศน.อ าเภอมะนัง ระยะ 4 ปี (พ.ศ.2566 – 2569) 3. ยก (ร่าง) แผนพัฒนาคุณภาพการศึกษาของกศน.อ าเภอมะนัง ระยะ 4 ปี (พ.ศ.2566-2569) เพื่อ น าเสนอที่ประชุมแผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา ของ กศน.อ าเภอมะนัง (พ.ศ.2566 – 2569) 4. จัดประชุมปฏิบัติการจัดท าแผนพัฒนาคุณภาพการศึกษาของกศน.อ าเภอมะนัง ระยะ 4 ปี (พ.ศ. 2566-2569) 5. ปรับปรุง/แก้ไขและบูรณาการเป็นร่างแผนพัฒนาคุณภาพการศึกษาของกศน.อ าเภอมะนัง ระยะ 4 ปี (พ.ศ.2566-2569) ตามมติที่ประชุมให้ข้อเสนอแนะ


แผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา กศน.อ าเภอมะนัง ระยะ 4 ปี พ.ศ. 2566 - 2569 ๓ 6. จัดท าแผนพัฒนาคุณภาพการศึกษาของกศน.อ าเภอมะนัง ระยะ 4 ปี (พ.ศ.2566-2569) เสนอ คณะกรรมการสถานศึกษาพิจารณาอนุมัติแผนฯ 7. จัดท ารูปเล่มแผนพัฒนาคุณภาพการศึกษาของกศน.อ าเภอมะนัง ระยะ 4 ปี (พ.ศ. 2566-2569) แจ้ง เวียนและเผยแพร่ในช่อทางออนไลน์ และหน่วยงานต้นสังกัด ผลที่คาดว่าจะได้รับ 1. หน่วยงานในสังกัดน าแผนพัฒนาคุณภาพการศึกษาของกศน.อ าเภอมะนัง ระยะ 4 ปี (พ.ศ. 2566- 2569) แปลงไปสู่การปฏิบัติเป็นแผนปฏิบัติรายการประจ าปีของหน่วยงาน 2. มีการติดตามและประเมินผลแผนพัฒนาคุณภาพการศึกษาของกศน.อ าเภอมะนัง ระยะ 4 ปี พ.ศ. 2566-2569) เพื่อน ามาใช้ในการปรับปรุงพัฒนาการศึกษาของกศน.อ าเภอมะนัง ต่อไป


แผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา กศน.อ าเภอมะนัง ระยะ 4 ปี พ.ศ. 2566 - 2569 ๔ ส่วนที่ 2 บริบทที่เกี่ยวข้องกับ กศน.อ าเภอมะนัง บริบทการเปลี่ยนแปลง (Mega Trends and COVID – 19 Impacts) 1. แนวโน้มระดับโลก (Mega Trends) 1.1 ความก้าวหน้าทางเทคโนโลยี - 4 IR Digital Transformation ที่ถูกเร่งด้วย COVID – 19 - โอกาสในการยกระดับการพัฒนา แต่ยังเป็นความเสี่ยงต่อการจ้างงาน, Digital Divide, และ Cyber Security 1.2 การเปลี่ยนแปลงโครงสร้างประชากร - สัดส่วนผู้สูงอายุเพิ่มขึ้นต่อเนื่อง วัยแรงงานลดลง - เศรษฐกิจผู้สูงอายุ การทางานและสภาพสังคมรูปแบบใหม่ 1.3 อนาคตของงาน - งานบางประเภทจะหายไป และเกิดงานประเภทใหม่ - การจ้างงานที่มิใช่รูปแบบมาตรฐานสูงขึ้น 1.4 การเปลี่ยนแปลงวิถีและวัฒนธรรมทางสังคม - คนเจนเนอเรชั่นวายมีแนวโน้มย้ายถิ่นและย้ายงานสูงขึ้น - ค่านิยมการด ารงชีวิตเปลี่ยนไป อาทิ การเห็นความส าคัญของการศึกษามากขึ้น 1.5 การขยายตัวของความเป็นเมือง - ภายใน 30 ปี ประชากร 70 % ของโลกจะอาศัยในเขตเมือง - หลายเมืองทั่วโลกก าลังมุ่งสู่การเป็นเมืองอัจฉริยะ (Smart City) 1.6 การดูแลรักษาสุขภาพและการรักษาพยาบาล - การดูแลสุขภาพเชิงป้องกันสินค้าและบริการสุขภาพ - การแพทย์ที่ทันสมัย เพิ่มความสามารถของระบบสาธารณสุข 1.7 การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ - มีแนวโน้มรุนแรงรวดเร็ว และผันผวนกว่าที่คาดการณ์ไว้ - ความเสี่ยงต่อภัยพิบัติและผลกระทบต่อระบบนิเวศ 1.8 ความพยายามระดับโลกในการลดปริมาณการปล่อยก๊าซเรือนกระจก - ความตกลงระหว่างประเทศเพื่อควบคุมการเพิ่มขึ้นของอุณหภูมิโลก - หลายประเทศตั้งเป้าหมายเพื่อมุ่งสู่ Net Zero Emissions 1.9 พลังงานหมุนเวียนและยานยนต์ไฟฟ้า - พลังงานแสงอาทิตย์และลมมีต้นทุนลดต่ าลงอย่างรวดเร็ว - หลายประเทศมีแผนระงับการจ าหน่ายยานยนต์เชื้อเพลิงฟอสซิล 1.10 แนวโน้มเศรษฐกิจการเมืองระหว่างประเทศ - ความตึงเครียดระหว่างมหาอ านาจตะวันตกและตะวันออก - ความท้าทายในการก าหนดบทบาทความร่วมมือของไทย


แผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา กศน.อ าเภอมะนัง ระยะ 4 ปี พ.ศ. 2566 - 2569 ๕ 2. ผลกระทบและแนวโน้มการเปลี่ยนแปลงจากโควิด – 19 (COVID – 19 Impacts) 2.1 ผลกระทบระดับโลก - GDP โลกปี 2567 หดตัว 4.3% - อัตราการว่างงานเพิ่มขึ้น 6.5% - การค้าหดตัวและการเดินทางระหว่างประเทศหดตัวรุนแรง 2.2 ผลกระทบต่อประเทศไทย - ผลกระทบทางเศรษฐกิจรุนแรง เนื่องจากพึ่งพาการท่องเที่ยวและส่งออกในสัดส่วนสูง - GDP ติดลบ ปี 2567 หดตัว 6.1% - อัตราการว่างงานเพิ่มขึ้น เป็นประมาณ 1.90% - ชั่วโมงการทางานลดลง โดยเฉพาะในแรงงานที่มีอายุน้อยและมีการศึกษาสูง 2.3 ผลกระทบต่อแนวโน้มการเปลี่ยนแปลงที่ส าคัญ - การเปลี่ยนแปลงสู่ยุคดิจิทัลถูกเร่งรัดให้เกิดในอัตราเร่ง - แรงกดดันต่อพฤติกรรมสุขภาพมาตรฐานสุขอนามัย - ห่วงโซ่มูลค่าโลกสั้นลงเชื่อมโยงในภูมิภาคมากขึ้น - แรงงานนอกระบบเพิ่มขึ้น - เป็นโอกาสให้ธรรมชาติฟื้นฟูแต่เพิ่มขยะพลาสติก/ขยะติดเชื้อ กฎหมาย ยุทธศาสตร์ นโยบาย เอกสารที่เกี่ยวข้อง 1. ยุทธศาสตร์ชาติระยะ 20 ปี (พ.ศ. 2561 – 2580) คณะกรรมการจัดท ายุทธศาสตร์ชาติได้ด าเนินการยกร่างกรอบยุทธศาสตร์แห่งชาติระยะ 20 ปี (พ.ศ. 2560 – 2579) โดยก าหนดวิสัยทัศน์และยุทธศาสตร์ ดังนี้ วิสัยทัศน์ประเทศ คือ “ประเทศไทยมีความมั่นคง มั่งคั่ง ยั่งยืน เป็นประเทศที่พัฒนาแล้ว ด้วยการพัฒนาตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง” เป้าหมายการพัฒนาประเทศ คือ “ประเทศชาติมั่นคง ประชาชนมีความสุข เศรษฐกิจ พัฒนาอย่างต่อเนื่อง สังคมเป็นธรรม ฐานทรัพยากรธรรมชาติยั่งยืน” โดยยกระดับศักยภาพของประเทศ ในหลากหลายมิติ พัฒนาคนในทุกมิติและในทุกช่วงวัยให้เป็นคนดี เก่ง และมีคุณภาพ สร้างโอกาสและความเสมอ ภาคทางสังคม สร้างการเติบโตบนคุณภาพชีวิตที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม และมีภาครัฐของประชาชน เพื่อประชาชน และประโยชน์ส่วนรวม โดยการประเมินผลการพัฒนาตามยุทธศาสตร์ชาติ ประกอบด้วย 1) ความอยู่ดีมีสุขของคนไทยและสังคมไทย 2) ขีดความสามารถในการแข่งขัน การพัฒนาเศรษฐกิจและการกระจายรายได้ 3) การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ของประเทศ 4) ความเท่าเทียมและความเสมอภาคของสังคม 5) ความหลากหลายทางชีวภาพ คุณภาพสิ่งแวดล้อม และความยั่งยืน ของทรัพยากรธรรมชาติ


แผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา กศน.อ าเภอมะนัง ระยะ 4 ปี พ.ศ. 2566 - 2569 ๖ 6) ประสิทธิภาพการบริหารจัดการและการเข้าถึงการให้บริการของภาครัฐ การพัฒนาประเทศในช่วงระยะเวลาของยุทธศาสตร์ชาติ จะมุ่งเน้นการสร้างสมดุลระหว่างการพัฒนาเศรษฐกิจ สังคม และสิ่งแวดล้อม โดยประกอบด้วย 6 ยุทธศาสตร์ ได้แก่ 1) ยุทธศาสตร์ชาติด้านความมั่นคง 2) ยุทธศาสตร์ชาติด้านการสร้างความสามารถในการแข่งขัน 3) ยุทธศาสตร์ชาติด้านการพัฒนาและเสริมสร้างศักยภาพทรัพยากรมนุษย์ 4) ยุทธศาสตร์ชาติด้านการสร้างโอกาสและความเสมอภาคทางสังคม 5) ยุทธศาสตร์ชาติด้านการสร้างการเติบโตบนคุณภาพชีวิตที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม 6) ยุทธศาสตร์ชาติด้านการปรับสมดุลและพัฒนาระบบการบริหารจัดการภาครัฐ ยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปีที่ส าคัญ 6 ยุทธศาสตร์ ซึ่งเกี่ยวข้องกับการจัดการศึกษานอกระบบและการศึกษา ตามอัธยาศัย จ านวน 4 ยุทธศาสตร์ ได้แก่ 1. ยุทธศาสตร์ที่ 1 ด้านความมั่นคงให้กับประเทศ การรักษาความมั่นคงภายใน และความสงบ เรียบร้อยภายใน ตลอดจนการบริหารจัดการความมั่นคงชายแดนและชายฝั่งทะเล 2. ยุทธศาสตร์ที่ 3 การพัฒนาและเสริมสร้างศักยภาพคน 2.1 ยุทธศาสตร์ที่ 3.1 การพัฒนาศักยภาพคนตลอดช่วงชีวิตให้สนับสนุน การเจริญเติบโตของประเทศ 2.2 ยุทธศาสตร์ที่ 3.2 การยกระดับคุณภาพการศึกษาและการเรียนรู้ให้มีคุณภาพ เท่าเทียมและทั่วถึง 2.3 ยุทธศาสตร์ที่ 3.3 การปลูกฝังระเบียบวินัย คุณธรรม จริยธรรม ค่านิยม ที่พึงประสงค์ 3. ยุทธศาสตร์ที่ 4 ด้านการสร้างโอกาสบนความเสมอภาคและเท่าเทียมกันทางสังคม 3.1 ยุทธศาสตร์ที่ 4.1 การสร้างความมั่นคงและการลดความเหลื่อมล้ า ทางด้านเศรษฐกิจและสังคม 4. ยุทธศาสตร์ที่ 6 ด้านการปรับสมดุลและพัฒนาระบบการบริหารจัดการภาครัฐ 4.1 ยุทธศาสตร์ที่ 6.1 การปรับปรุงโครงสร้าง บทบาท ภารกิจของหน่วยงานภาครัฐ ให้มีขนาดเหมาะสม 2. แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 13 (พ.ศ. 2566 – 2570) 1. หลักการและแนวคิด แผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 13 มีจุดมุ่งหมายสูงสุดเพื่อขับเคลื่อนการพัฒนาประเทศให้สามารถ บรรลุผลตามเป้าหมายการพัฒนาระยะยาวที่ก าหนดไว้ในยุทธศาสตร์ชาติ โดยมุ่งหวังให้แผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 13 (พ.ศ. 2566 – 2570) ท าหน้าที่เป็นกลไกในการชี้ประเด็นที่มี ล าดับความส าคัญสูงต่อการพัฒนาประเทศในระยะ 5 ปี และเพื่อผลักดันให้ประเทศสามารถก้าวข้ามความท้าทายต่าง ๆ เพื่อขับเคลื่อนสู่ความเจริญเติบโตที่ทุกภาคส่วน ได้รับประโยชน์อย่างเท่าเทียมกัน โดยแผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 13 ได้ก าหนดทิศทางและเป้าหมายของการพัฒนาบน พื้นฐานของหลักการและแนวคิดที่ส าคัญ 4 ประการ ได้แก่


แผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา กศน.อ าเภอมะนัง ระยะ 4 ปี พ.ศ. 2566 - 2569 ๗ 1.1 หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง โดยการสืบสาน รักษา ต่อยอดการพัฒนา ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ซึ่งตั้งอยู่บนพื้นฐานของความพอประมาณ ความมีเหตุผล การสร้างภูมิคุ้มกัน ที่ดีควบคู่กับการใช้เงื่อนไข 2 ประการ เพื่อก ากับการก าหนดทิศทางและประเด็นการพัฒนาในส่วนต่าง ๆ ได้แก่ เงื่อนไขความรู้โดยการใช้องค์ความรู้ทางวิชาการที่รอบด้าน และเงื่อนไขคุณธรรม โดยยึดถือผลประโยชน์ ของประชาชนและความเป็นธรรมในทุกมิติของสังคม 1.2 แนวคิด Resilience ซึ่งเป็นแนวคิดที่มุ่งเน้นการลดความเปราะบาง ต่อความเปลี่ยนแปลงอันประกอบด้วยการพัฒนาความสามารถใน 3 ระดับ ได้แก่ (1) การพร้อมรับ (Cope) หมายถึง ความสามารถ ในการบริหารจัดการภายใต้สภาวะวิกฤติ ให้สามารถยืนหยัดและต้านทานความยากล าบาก รวมถึงฟื้นคืนกลับสู่สภาวะปกติได้อย่างรวดเร็ว (2) การปรับตัว (Adapt) หมายถึง การปรับทิศทาง รูปแบบ และ แนวทางการพัฒนาให้สอดรับกับความเปลี่ยนแปลง พร้อมกระจายความเสี่ยงและปรับตัวอย่างเท่าทันเพื่อแสวงหา ประโยชน์จากสิ่งที่เกิดขึ้น และ (3) การเปลี่ยนแปลงเพื่อพร้อมเติบโตอย่างยั่งยืน (Transform) หมายถึง การเปลี่ยนแปลงเชิงโครงสร้างและปัจจัยพื้นฐานให้สอดรับกับความเปลี่ยนแปลง 1.3 เป้าหมายการพัฒนาอย่างยั่งยืนของสหประชาชาติซึ่งอยู่บนพื้นฐานของแนวคิด “ไม่ทิ้งใครไว้ข้างหลัง” โดยมุ่งเสริมสร้างคุณภาพชีวิตที่ดีให้กับประชาชนทุกกลุ่ม ทั้งในมิติของการมีปัจจัย ที่จ าเป็นส าหรับการด ารงชีวิตขั้นพื้นฐานที่เพียงพอ การมีสภาพแวดล้อมที่ดี การมีปัจจัยสนับสนุนให้มีสุขภาพ ที่สมบูรณ์ทั้งทางร่างกายและจิตใจ การมีโอกาสที่จะใช้ศักยภาพของตนในการสร้างความเป็นอยู่ที่ดี รวมถึงการมุ่งส่ง ต่อทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมที่ดีไปยังคนรุ่นต่อไป 1.4 โมเดลเศรษฐกิจ BCG ซึ่งเป็นแนวคิดการพัฒนาเศรษฐกิจใน 3 รูปแบบควบคู่กัน ได้แก่ เศรษฐกิจชีวภาพ เศรษฐกิจหมุนเวียน และเศรษฐกิจสีเขียว โดยอาศัยฐานศักยภาพและความเข้มแข็ง ของประเทศอันประกอบด้วยความหลากหลายทางชีวภาพและความหลากหลายทางวัฒนธรรม พร้อมกับการใช้ ประโยชน์จากองค์ความรู้ทางด้านวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และนวัตกรรมในการสร้างมูลค่าเพิ่มเพื่อผลักดัน ให้ประเทศมีการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจอย่างยั่งยืน และสามารถกระจายรายได้ โอกาส และความมั่งคั่งได้ อย่างทั่วถึง นอกจากนี้ การจัดท าแผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 13. ยังค านึงถึงเงื่อนไขและข้อจ ากัดของการพัฒนา ประเทศที่สืบเนื่องมาจากการแพร่ระบาดของโรคโควิด – 19 รวมทั้งปัจจัยต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องทั้งทางตรงและทางอ้อม ซึ่งจะส่งผลให้บริบทของประเทศและของโลกเปลี่ยนแปลงไปในอนาคต 2. วัตถุประสงค์และเป้าหมายการพัฒนา การวางกรอบการพัฒนาประเทศในระยะ 5 ปี ภายใต้แผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 13 มีความมุ่งหมายที่จะเร่งเพิ่มศักยภาพของประเทศในการรับมือกับความเสี่ยงที่อาจส่งผลกระทบที่รุนแรงและ เสริมสร้างความสามารถในการสร้างสรรค์ประโยชน์จากโอกาสที่เกิดขึ้นได้อย่างเหมาะสมและทันท่วงที การก าหนด ทิศทางการพัฒนาประเทศในระยะของแผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 13 จึงมีวัตถุประสงค์เพื่อพลิกโฉมประเทศไทย สู่ “สังคมก้าวหน้าเศรษฐกิจสร้างมูลค่าอย่างยั่งยืน” ซึ่งหมายถึงการสร้างการเปลี่ยนแปลงที่ครอบคลุมตั้งแต่ระดับ โครงสร้างนโยบาย และกลไก เพื่อมุ่งเสริมสร้างสังคมที่ก้าวทันพลวัตของโลก และเกื้อหนุนให้คนไทยมีโอกาส ที่จะ พัฒนาตนเองได้อย่างเต็มศักยภาพ พร้อมกับการปรับโครงสร้างเศรษฐกิจไปสู่การขับเคลื่อนด้วยเทคโนโลยีนวัตกรรม และความคิดสร้างสรรค์ มีความสามารถในการสร้างมูลค่าเพิ่มที่สูง และค านึงถึงความยั่งยืน


แผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา กศน.อ าเภอมะนัง ระยะ 4 ปี พ.ศ. 2566 - 2569 ๘ ด้านสิ่งแวดล้อมเพื่อให้เป็นไปตามวัตถุประสงค์ข้างต้น แผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 13 ได้ก าหนดเป้าหมายหลัก จ านวน 5 ประการ ประกอบด้วย 2.1 การปรับโครงสร้างการผลิตสู่เศรษฐกิจฐานนวัตกรรม โดยยกระดับขีดความสามารถ ในการแข่งขันของภาคการผลิตและบริการส าคัญให้สูงขึ้น และสามารถตอบโจทย์พัฒนาการของเทคโนโลยีและสังคม ยุคใหม่ และเป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม เชื่อมโยงเศรษฐกิจท้องถิ่นและผู้ประกอบการรายย่อยกับห่วงโซ่มูลค่าของภาค การผลิตและบริการเป้าหมาย รวมถึงพัฒนาระบบนิเวศที่ส่งเสริมการค้าการลงทุนและนวัตกรรม 2.2 การพัฒนาคนส าหรับโลกยุคใหม่ โดยพัฒนาให้คนไทยมีทักษะและคุณลักษณะ ที่เหมาะสมกับโลกยุคใหม่ ทั้งทักษะในด้านความรู้ ทักษะทางพฤติกรรม และคุณลักษณะตามบรรทัดฐานที่ดี ของสังคมเตรียมพร้อมก าลังคนที่มีคุณภาพสอดคล้องกับความต้องการของตลาดแรงงาน เอื้อต่อการปรับโครงสร้าง เศรษฐกิจไปสู่ภาคการผลิตและบริการเป้าหมายที่มีศักยภาพและประสิทธิภาพสูงขึ้น รวมทั้งพัฒนาหลักประกัน และความคุ้มครองทางสังคมเพื่อส่งเสริมความมั่นคงในชีวิต 2.3 การมุ่งสู่สังคมแห่งโอกาสและความเป็นธรรม โดยลดความเหลื่อมล้ า ทั้งในเชิงรายได้ ความมั่งคั่ง และโอกาสในการแข่งขันของภาคธุรกิจ สนับสนุนช่วยเหลือกลุ่มเปราะบาง และผู้ด้อยโอกาสให้มีโอกาสในการเลื่อนชั้นทางเศรษฐกิจและสังคม รวมถึงจัดให้มีบริการสาธารณะที่มีคุณภาพอย่าง ทั่วถึงและเท่าเทียม 2.4 การเปลี่ยนผ่านไปสู่ความยั่งยืน โดยปรับปรุงการใช้ทรัพยากรธรรมชาติในการผลิต และบริโภคให้มีประสิทธิภาพและสอดคล้องกับขีดความสามารถในการรองรับของระบบนิเวศ แก้ไขปัญหามลพิษ ส าคัญด้วยวิธีการที่ยั่งยืน โดยเฉพาะมลพิษทางอากาศ ขยะ และมลพิษทางน้ า และลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจกเพื่อ มุ่งสู่ความเป็นกลางทางคาร์บอน (Carbon neutrality) ภายในครึ่งแรกของศตวรรษนี้ 2.5 การเสริมสร้างความสามารถของประเทศในการรับมือกับการเปลี่ยนแปลงและ ความเสี่ยงภายใต้บริบทโลกใหม่ โดยการสร้างความพร้อมในการรับมือและแสวงหาโอกาสจากการเป็นสังคมสูงวัย การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ ภัยโรคระบาด และภัยคุกคามทางไซเบอร์ พัฒนาโครงสร้างพื้นฐานและกลไก ทางสถาบันที่เอื้อต่อการเปลี่ยนแปลงสู่ดิจิทัล รวมทั้งปรับปรุงโครงสร้างและระบบการบริหารงานของภาครัฐ ให้สามารถตอบสนองต่อการเปลี่ยนแปลงของบริบททางเศรษฐกิจ สังคม และเทคโนโลยีได้อย่างทันเวลา มีประสิทธิภาพ และมีธรรมาภิบาล หมุดหมายการพัฒนา แผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 13 จึงได้ก าหนดหมุดหมายการพัฒนา จ านวน 13 ประการ ซึ่งเกี่ยวข้องกับการจัดการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย จ านวน 2 หมุดหมาย ดังนี้ มิติปัจจัยผลักดันการพลิกโฉมประเทศ หมุดหมายที่ 12 ไทยมีก าลังคนสมรรถนะสูง มุ่งเรียนรู้อย่างต่อเนื่อง ตอบโจทย์การพัฒนาแห่ง อนาคต กลยุทธ์การพัฒนา กลยุทธ์ที่ 1 การพัฒนาคนไทยทุกช่วงวัยในทุกมิติ กลยุทธ์ย่อยที่ 1.1 พัฒนาเด็กช่วงตั้งครรภ์ถึงปฐมวัยให้ มีพัฒนาการรอบด้าน มีอุปนิสัยที่ดี โดยการเตรียมความพร้อมพ่อแม่ผู้ปกครองและสร้างกลไกประสานความร่วมมือ


แผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา กศน.อ าเภอมะนัง ระยะ 4 ปี พ.ศ. 2566 - 2569 ๙ กลยุทธ์ย่อยที่ 1.2 พัฒนาผู้เรียนระดับพื้นฐานให้มีความตระหนักรู้ในตนเอง มีสมรรรถนะที่จ าเป็นต่อการเรียนรู้ การด ารงชีวิตและการทางาน กลยุทธ์ย่อยที่ 1.3 พัฒนาผู้เรียนระดับอุดมศึกษาให้มีสมรรถนะที่จ าเป็น และเชื่อมโยงกับโลกของการทางานในอนาคตและการสร้างสรรค์นวัตกรรม กลยุทธ์ย่อยที่ 1.4 พัฒนาวัยแรงงานให้มีสมรรถนะที่จ าเป็นเพื่อการประกอบ อาชีพและเชื่อมโยงกับโลกของการทางานในอนาคต กลยุทธ์ย่อยที่ 1.5 พัฒนาผู้สูงอายุให้เป็นพลเมืองมีคุณค่าของสังคม โดยพัฒนา ผู้สูงอายุให้เป็นพลังของสังคม กลยุทธ์ที่ 2 การพัฒนาก าลังคนสมรรถนะสูง กลยุทธ์ย่อยที่ 2.1 พัฒนาก าลังคนสมรรถนะสูง สอดคล้องกับความต้องการ ของภาคการผลิตเป้าหมาย และสามารถสร้างงานอนาคต โดยส่งเสริมให้ทุกภาคส่วนบูรณาการและเชื่อมโยง ความร่วมมือด้านการศึกษาฝึกอบรม และร่วมจัดการเรียนรู้ กลยุทธ์ย่อยที่ 2.2 เพิ่มก าลังคนที่มีคุณภาพเพื่อพัฒนาภาคการผลิตเป้าหมาย โดยสร้างกลไกระดับชาติเพื่อรวบรวมก าลังคนที่มีสมรรถนะสูง กลยุทธ์ย่อยที่ 2.3 สร้างผู้ประกอบการอัจฉริยะที่มีความสามารถในการสร้าง และใช้เทคโนโลยีและนวัตกรรมตลอดกระบวนการผลิตและบริการ การจัดการและการตลาด โดยการสร้าง และพัฒนาทักษะองค์ความรู้รอบด้านที่จ าเป็นต่อการประกอบธุรกิจยุคใหม่ กลยุทธ์ที่ 3 การส่งเสริมการเรียนรู้ตลอดชีวิต กลยุทธ์ย่อยที่ 3.1 พัฒนาระบบนิเวศเพื่อการเรียนรู้ตลอดชีวิต โดยส่งเสริม ให้ภาคส่วนต่างๆ สร้าง และพัฒนาแหล่งเรียนรู้ที่หลากหลาย กลยุทธ์ย่อยที่ 3.2 พัฒนาทางเลือกในการเข้าถึงการเรียนรู้ส าหรับ ผู้ที่ไม่สามารถเรียนในระบบการศึกษาปกติ หมุดหมายที่ 13 ไทยมีภาครัฐที่ทันสมัย มีประสิทธิภาพ และตอบโจทย์ประชาชน กลยุทธ์การพัฒนา กลยุทธ์ที่ 1 การพัฒนาคุณภาพในการให้บริการภาครัฐที่ตอบโจทย์สะดวก และประหยัด กลยุทธ์ที่ 2 การปรับเปลี่ยนการบริหารจัดการและโครงสร้างของภาครัฐให้ยืดหยุ่น เชื่อมโยงเปิดกว้าง และมีประสิทธิภาพเพื่อรองรับการเปลี่ยนแปลงที่เอื้อต่อการพัฒนาประเทศ กลยุทธ์ที่ 3 การปรับเปลี่ยนภาครัฐเป็นรัฐบาลดิจิทัลที่ใช้ข้อมูลในการบริหารจัดการ เพื่อการพัฒนาประเทศ กลยุทธ์ที่ 4 การสร้างระบบบริหารภาครัฐที่ส่งเสริมการปรับเปลี่ยนและพัฒนาบุคลากร ให้มีทักษะที่จ าเป็นในการให้บริการภาครัฐดิจิทัล และปรับปรุงกฎหมาย ระเบียบ มาตรการภาครัฐให้เอื้อต่อ การพัฒนาประเทศ 3. นโยบายของรัฐบาล (พลเอกประยุทธ์ จันทร์โอชา นายกรัฐมนตรี) ตามที่นายกรัฐมนตรี ได้แถลงนโยบายของคณะรัฐมนตรีต่อสภานิติบัญญัติแห่งชาติ เมื่อวันที่ 12 กันยายน 2557 โดยก าหนดนโยบายไว้ 11 ด้าน เพื่อให้สอดคล้องกับรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย


แผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา กศน.อ าเภอมะนัง ระยะ 4 ปี พ.ศ. 2566 - 2569 ๑๐ (ฉบับชั่วคราว) พุทธศักราช 2557 มาตรา 19 ที่ระบุให้รัฐบาลมีหน้าที่ในการบริหารราชการแผ่นดินด าเนินการ ให้มีการปฏิรูปด้านต่างๆ และส่งเสริมความสามัคคีและความสมานฉันท์ของประชาชนในชาติ ดังนี้ นโยบายที่ 1 การปกป้องเชิดชูสถาบันพระมหากษัตริย์ นโยบายที่ 2 การรักษาความมั่นคงของรัฐและการต่างประเทศ นโยบายที่ 3 การลดความเหลื่อมล้ าของสังคมและการสร้างโอกาสการเข้าถึงบริการของรัฐ นโยบายที่ 4 การศึกษาและเรียนรู้การทะนุบ ารุงศาสนา ศิลปะและวัฒนธรรม นโยบายที่ 5 การยกระดับคุณภาพบริการด้านสาธารณสุข และสุขภาพของประชาชน นโยบายที่ 6 การเพิ่มศักยภาพทางเศรษฐกิจของประเทศ นโยบายที่ 7 การส่งเสริมบทบาทและใช้โอกาสในประชาคมอาเซียน นโยบายที่ 8 การพัฒนาและส่งเสริมการใช้ประโยชน์จากวิทยาศาสตร์เทคโนโลยีการวิจัย และพัฒนา และนวัตกรรม นโยบายที่ 9 การรักษาความมั่นคงของฐานทรัพยากร และการสร้างสมดุลระหว่างการอนุรักษ์ กับการใช้ประโยชน์อย่างยั่งยืน นโยบายที่ 10 การส่งเสริมการบริหารราชการแผ่นดินที่มีธรรมาภิบาลและการป้องกันปราบปราม การทุจริตและประพฤติมิชอบในภาครัฐ นโยบายที่ 11 ปรับปรุงกฎหมายและกระบวนการยุติธรรม 3.1 นโยบายรัฐบาลที่เกี่ยวข้องกับการด าเนินงานของกระทรวงศึกษาธิการ (พลเอก ประยุทธ์ จันทร์โอชา) 3.1.1 นโยบายรัฐบาลหลักด้านการศึกษา ได้แก่ นโยบายที่ 4 การศึกษาและเรียนรู้ การท านุบ ารุงศาสนา ศิลปะและวัฒนธรรม 4.1 จัดให้มีการปฏิรูปการศึกษาและการเรียนรู้ 4.2 ในระยะเฉพาะหน้าจะปรับเปลี่ยนการจัดสรรงบประมาณสนับสนุนการศึกษา 4.3 ให้องค์กรภาคประชาสังคม ภาคเอกชน องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นและประชาชน ทั่วไป มีโอกาสร่วมจัดการศึกษาที่มีคุณภาพและทั่วถึง 4.4 พัฒนาคนทุกช่วงวัยโดยส่งเสริมการเรียนรู้ตลอดชีวิต 4.5 ส่งเสริมอาชีวศึกษาและการศึกษาระดับวิทยาลัยชุมชน 4.6 พัฒนาระบบการผลิตและพัฒนาครูที่มีคุณภาพและมีจิตวิญญาณของความเป็นคน 4.7 ท านุบ ารุงและอุปถัมภ์พระพุทธศาสนาและศาสนาอื่นๆ สนับสนุนให้องค์กรทาง ศาสนามีบทบาทส าคัญในการปลูกฝังคุณธรรมจริยธรรม ตลอดจนพัฒนาคุณภาพชีวิต สร้างสันติสุขและความ ปรองดองสมานฉันท์ในสังคมไทยอย่างยั่งยืน 4.8 อนุรักษ์ ฟื้นฟู และเผยแพร่มรดกทางวัฒนธรรม ภาษาไทยและภาษาถิ่นภูมิปัญญา ท้องถิ่น รวมทั้งความหลากหลายของศิลปะวัฒนธรรมไทย 4.9 สนับสนุนการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศวัฒนธรรมของประเทศเพื่อนบ้าน และวัฒนธรรมสากล 4.10 ปลูกฝังค่านิยมและจิตส านึกที่ดี


แผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา กศน.อ าเภอมะนัง ระยะ 4 ปี พ.ศ. 2566 - 2569 ๑๑ 3.1.2 นโยบายรัฐบาลที่เกี่ยวข้องด้านการศึกษา ได้แก่ นโยบายที่ 1 การปกป้องและเชิดชูสถาบันพระมหากษัตริย์ นโยบายที่ 2 การรักษาความมั่นคงของรัฐและการต่างประเทศ 2.1 การเตรียมความพร้อมสู่ประชาคมการเมืองและความมั่นคงอาเซียน ประเด็นแรงงานต่างด้าว ยาเสพติด 2.2 เร่งแก้ไขปัญหาการใช้ความรุนแรงในจังหวัดชายแดนภาคใต้ นโยบายที่ 3 การลดความเหลื่อมล้ าและการสร้างโอกาสการเข้าถึงบริการของรัฐ 3.1 ในระยะเฉพาะหน้าจะเร่งสร้างโอกาสอาชีพและการมีรายได้ที่มั่นคง แก่ผู้ที่เข้าสู่ตลาดแรงงาน รวมทั้งสตรี ผู้ด้อยโอกาส และแรงงานข้ามชาติที่ถูกกฎหมาย พร้อมทั้งยกระดับคุณภาพ แรงงาน 3.2 ป้องกันและแก้ไขปัญหาการค้ามนุษย์ 3.6 จัดระเบียบสังคม นโยบายที่ 5 การยกระดับคุณภาพบริการด้านสาธารณสุข 5.2 พัฒนาระบบบริการสุขภาพ 5.7 พัฒนาขีดความสามารถในการวิจัยด้านวิทยาศาสตร์การแพทย์ และสาธารณสุข นโยบายที่ 6 การเพิ่มศักยภาพทางเศรษฐกิจของประเทศ 6.6 ชักจูงให้นักท่องเที่ยวต่างชาติเข้ามาเที่ยวในประเทศไทย 6.8 แก้ปัญหาน้ าท่วมในฤดูฝนทั้งที่ท่วมเป็นบริเวณกว้างและท่วมเฉพาะพื้นที่ และปัญหาขาดแคลนน้ าในบางพื้นที่และบางฤดูกาล 6.9 ปฏิรูปโครงสร้างราคาเชื้อเพลิงประเภทต่างๆ ให้สอดคล้องกับต้นทุน และให้มีภาษีที่เหมาะสมระหว่างน้ ามันต่างชนิดและผู้ใช้ต่างประเภท 6.17 เพิ่มขีดความสามารถของผู้ประกอบการวิสาหกิจขนาดกลางและขนาด ย่อมให้เข้มแข็ง สามารถแข่งขันได้อย่างมีประสิทธิภาพ 6.18 ส่งเสริมภาคเศรษฐกิจดิจิทัลและวางรากฐานของเศรษฐกิจดิจิทัล ให้เริ่มขับเคลื่อนได้อย่างจริงจัง นโยบายที่ 7 การส่งเสริมบทบาทและการใช้โอกาสในประชาคมอาเซียน 7.4 เร่งพัฒนาความเชื่อมโยงด้านการขนส่งและระบบโลจิสติกส์ ภายในอนุภูมิภาคและภูมิภาคอาเซียน 7.5 ต่อเชื่อมเส้นทางคมนาคมขนส่งและระบบโลจิสติกส์จากฐานการผลิต ในชุมชนสู่แหล่งแปรรูป เพื่อเพิ่มมูลค่าทั้งภายในประเทศและเชื่อมโยงกับอาเซียน 7.6 พัฒนาเขตเศรษฐกิจพิเศษ นโยบายที่ 8 การพัฒนาและส่งเสริมการใช้ประโยชน์จากวิทยาศาสตร์เทคโนโลยี การวิจัย และพัฒนาและนวัตกรรม 8.2 เร่งเสริมสร้างสังคมนวัตกรรม 8.3 ผลักดันงานวิจัยและพัฒนาไปสู่การใช้ประโยชน์เชิงพาณิชย์


แผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา กศน.อ าเภอมะนัง ระยะ 4 ปี พ.ศ. 2566 - 2569 ๑๒ นโยบายที่ 9 การรักษาความมั่นคงของฐานทรัพยากรและการสร้างสมดุลระหว่าง การอนุรักษ์กับการใช้ประโยชน์อย่างยั่งยืน 9.1 ในระยะเฉพาะหน้าเร่งปกป้อง และฟื้นฟูพื้นที่อนุรักษ์ทรัพยากรป่าไม้ และสัตว์ป่า โดยให้ความส าคัญในการแก้ไขปัญหาการบุกรุกที่ดินของรัฐ 9.4 บริหารจัดการทรัพยากรน้ าของประเทศให้เป็นเอกภาพในทุกมิติ ทั้งเชิงปริมาณและคุณภาพ 9.5 เร่งรัดการควบคุมมลพิษทั้งทางอากาศ ขยะ และน้ าเสีย นโยบายที่ 10 การส่งเสริมการบริหารราชการแผ่นดินที่มีธรรมาภิบาล และการป้องกัน ปราบปรามการทุจริตและประพฤติมิชอบในภาครัฐ 10.5 ใช้มาตรการทางกฎหมาย การปลูกฝังค่านิยม คุณธรรม จริยธรรม และจิตส านึกในการรักษาศักดิ์ศรีของความเป็นข้าราชการและความซื่อสัตย์สุจริต ควบคู่กับการบริหารจัดการ 4. กฎหมายและนโยบายด้านการศึกษา 4.1 พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ แก้ไขเพิ่มเติม ฉบับที่ 3 พุทธศักราช 2553 หมวด 3 ระบบการศึกษา มาตรา 15 การจัดการศึกษามีสามรูปแบบ คือ การศึกษาในระบบการศึกษานอกระบบ และการศึกษาตามอัธยาศัย (2) การศึกษานอกระบบ เป็นการศึกษาที่มีความยืดหยุ่นในการก าหนดจุดมุ่งหมาย รูปแบบวิธีการจัดการศึกษา ระยะเวลาของการศึกษา การวัดและประเมินผล ซึ่งเป็นเงื่อนไขส าคัญของการส าเร็จ การศึกษา โดยเนื้อหาและหลักสูตรจะต้องมีความเหมาะสมสอดคล้องกับสภาพปัญหาและความต้องการของบุคคล แต่ละกลุ่ม (3) การศึกษาตามอัธยาศัย เป็นการศึกษาที่ให้ผู้เรียนได้เรียนรู้ด้วยตนเองตามความสนใจ ศักยภาพ ความพร้อม และโอกาส โดยศึกษาจากบุคคล ประสบการณ์ สังคม สภาพแวดล้อม สื่อ หรือแหล่ง ความรู้ อื่นๆ สถานศึกษาอาจจัดการศึกษาในรูปแบบใดรูปแบบหนึ่งหรือทั้งสามรูปแบบก็ได้ ให้มีการเทียบโอนผลการเรียนที่ ผู้เรียนสะสมไว้ในระหว่างรูปแบบเดียวกันหรือต่างรูปแบบได้ ไม่ว่าจะเป็นผลการเรียน จากสถานศึกษาเดียวกัน หรือไม่ก็ตาม รวมทั้งจากการเรียนรู้นอกระบบ ตามอัธยาศัย การฝึกอาชีพ หรือจากประสบการณ์การทางาน มาตรา 16 การศึกษาในระบบมีสองระดับ คือ การศึกษาขั้นพื้นฐาน และการศึกษา ระดับอุดมศึกษา การศึกษาขั้นพื้นฐานประกอบด้วย การศึกษาซึ่งจัดไม่น้อยกว่าสิบสองปีก่อนระดับอุดมศึกษา การแบ่งระดับและประเภทของการศึกษาขั้นพื้นฐาน ให้เป็นไปตามที่ก าหนดในกฎกระทรวง มาตรา 17 ให้มีการศึกษาภาคบังคับจ านวนเก้าปี โดยให้เด็กซึ่งมีอายุย่างเข้าปีที่เจ็ด เข้าเรียนในสถานศึกษาขั้นพื้นฐานจนอายุย่างเข้าปีที่สิบหก เว้นแต่สอบได้ชั้นปีที่เก้าของการศึกษาภาคบังคับ หลักเกณฑ์และวิธีการนับอายุให้เป็นไปตามที่ก าหนดในกฎกระทรวง มาตรา 18 การจัดการศึกษาปฐมวัยและการศึกษาขั้นพื้นฐานให้จัดในสถานศึกษา ดังต่อไปนี้ (2) โรงเรียน ได้แก่ โรงเรียนของรัฐ โรงเรียนเอกชน และโรงเรียนที่สังกัดสถาบัน พุทธศาสนา หรือศาสนาอื่น


แผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา กศน.อ าเภอมะนัง ระยะ 4 ปี พ.ศ. 2566 - 2569 ๑๓ (3) ศูนย์การเรียน ได้แก่ สถานที่เรียนที่หน่วยงานจัดการศึกษานอกโรงเรียน บุคคล ครอบครัว ชุมชน องค์กรชุมชน องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น องค์กรเอกชน องค์กรวิชาชีพ สถาบันศาสนา สถาน ประกอบการ โรงพยาบาล สถาบันทางการแพทย์ สถานสงเคราะห์ และสถาบันสังคมอื่นเป็นผู้จัด มาตรา 20 การจัดการอาชีวศึกษา การฝึกอบรมวิชาชีพ ให้จัดในสถานศึกษาของรัฐ สถานศึกษาของเอกชน สถานประกอบการ หรือโดยความร่วมมือระหว่างสถานศึกษากับสถานประกอบการ ทั้งนี้ ให้ เป็นไปตามกฎหมายว่าด้วยการอาชีวศึกษาและกฎหมายที่เกี่ยวข้อง มาตรา 21 กระทรวง ทบวง กรม รัฐวิสาหกิจ และหน่วยงานอื่นของรัฐ อาจจัดการศึกษา เฉพาะทางตามความต้องการและความช านาญของหน่วยงานนั้นได้ โดยค านึงถึงนโยบายและมาตรฐาน การศึกษา ของชาติ ทั้งนี้ ตามหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขที่ก าหนดในกฎกระทรวง หมวด 8 ทรัพยากรและการลงทุนเพื่อการศึกษา มาตรา 58 ให้มีการระดมทรัพยากรและการลงทุนด้านงบประมาณ การเงิน และทรัพย์สินทั้งจากรัฐ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น บุคคล ครอบครัว ชุมชน องค์กรชุมชนเอกชน องค์กรเอกชน องค์กรวิชาชีพ สถาบันศาสนา สถานประกอบการ สถาบันสังคมอื่น และต่างประเทศมาใช้จัดการศึกษาดังนี้ (1) ให้รัฐและองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นระดมทรัพยากรเพื่อการศึกษา โดยอาจจัดเก็บภาษี เพื่อการศึกษาได้ตามความเหมาะสม ทั้งนี้ ให้เป็นไปตามที่กฎหมายก าหนด (2) ให้บุคคล ครอบครัว ชุมชน องค์กรชุมชน องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นเอกชน องค์กร เอกชน องค์กรวิชาชีพ สถาบันศาสนา สถานประกอบการ และสถาบันสังคมอื่น ระดมทรัพยากรเพื่อ การศึกษา โดยเป็นผู้จัดและมีส่วนร่วมในการจัดการศึกษา บริจาคทรัพย์สินและทรัพยากรอื่นให้แก่สถานศึกษา และมี ส่วนร่วมรับภาระค่าใช้จ่ายทางการศึกษาตามความเหมาะสมและความจ าเป็น ทั้งนี้ ให้รัฐและองค์กรปกครองส่วน ท้องถิ่นส่งเสริมและให้แรงจูงใจในการระดมทรัพยากร ดังกล่าว โดยการสนับสนุน การอุดหนุน และใช้มาตรการ ลดหย่อนหรือยกเว้นภาษี ตามความเหมาะสมและ ความจ าเป็น ทั้งนี้ ให้เป็นไปตามที่กฎหมายก าหนด มาตรา 59 ให้สถานศึกษาของรัฐที่เป็นนิติบุคคล มีอ านาจในการปกครอง ดูแล บ ารุงรักษาใช้และจัดหาผลประโยชน์จากทรัพย์สินของสถานศึกษา ทั้งที่เป็นที่ราชพัสดุ ตามกฎหมายว่าด้วย ที่ราชพัสดุและที่เป็นทรัพย์สินอื่น รวมทั้งจัดหารายได้จากบริการของสถานศึกษา และเก็บค่าธรรมเนียมการศึกษา ที่ไม่ขัดหรือแย้งกับนโยบาย วัตถุประสงค์ และภารกิจหลักของสถานศึกษา บรรดาอสังหาริมทรัพย์ที่สถานศึกษาของ รัฐที่เป็นนิติบุคคลได้มาโดยมีผู้อุทิศให้ หรือโดยการ ซื้อหรือแลกเปลี่ยนจากรายได้ของสถานศึกษา ไม่ถือเป็น ที่ราชพัสดุ และให้เป็นกรรมสิทธิ์ของสถานศึกษา บรรดารายได้และผลประโยชน์ของสถานศึกษาของรัฐ ที่เป็นนิติ บุคคล รวมทั้งผลประโยชน์ที่ เกิดจากที่ราชพัสดุ เบี้ยปรับที่เกิดจากการผิดสัญญา และเบี้ยปรับที่เกิดจากการผิด สัญญาการซื้อ ทรัพย์สินหรือจ้างท าของที่ด าเนินการโดยใช้เงินงบประมาณไม่เป็นรายได้ที่ต้องน า ส่งกระทรวงการคลังตามกฎหมายว่าด้วยเงินคงคลังและกฎหมายว่าด้วยวิธีการงบประมาณบรรดารายได้ และผลประโยชน์ของสถานศึกษาของรัฐที่ไม่เป็นนิติบุคคล รวมทั้งผลประโยชน์ ที่เกิดจากที่ราชพัสดุ เบี้ยปรับ ที่เกิดจากการผิดสัญญา และเบี้ยปรับที่เกิดจากการผิดสัญญาการซื้อทรัพย์สินหรือจ้างท าของ ที่ด าเนินการ โดยใช้เงินงบประมาณให้สถานศึกษาสามารถจัดสรรเป็นค่าใช้จ่ายในการจัดการศึกษาของสถานศึกษานั้น ๆ ได้ตามระเบียบที่กระทรวงการคลังก าหนด มาตรา 60 ให้รัฐจัดสรรงบประมาณแผ่นดินให้กับการศึกษาในฐานะที่มีความส าคัญสูงสุด ต่อการพัฒนาที่ยั่งยืนของประเทศโดยจัดสรรเป็นเงินงบประมาณเพื่อการศึกษา ดังนี้


แผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา กศน.อ าเภอมะนัง ระยะ 4 ปี พ.ศ. 2566 - 2569 ๑๔ (1) จัดสรรเงินอุดหนุนทั่วไปเป็นค่าใช้จ่ายรายบุคคลที่เหมาะสมแก่ผู้เรียน การศึกษาภาคบังคับและการศึกษาขั้นพื้นฐานที่จัดโดยรัฐและเอกชนให้เท่าเทียมกัน (3) จัดสรรงบประมาณและทรัพยากรทางการศึกษาอื่นเป็นพิเศษให้เหมาะสม และสอดคล้องกับความจ าเป็นในการจัดการศึกษาส าหรับผู้เรียนที่มีความต้องการเป็นพิเศษแต่ละกลุ่มตามมาตรา 10 วรรคสอง วรรคสาม และวรรคสี่ โดยค านึงถึงความเสมอภาคในโอกาสทางการศึกษาและความเป็นธรรม ทั้งนี้ ให้ เป็นไปตามหลักเกณฑ์และวิธีการที่ก าหนดในกฎกระทรวง (4) จัดสรรงบประมาณเป็นค่าใช้จ่ายด าเนินการ และงบลงทุนให้สถานศึกษาของ รัฐตาม นโยบายแผนพัฒนาคุณภาพการศึกษาแห่งชาติ และภารกิจของสถานศึกษา โดยให้มีอิสระในการบริหาร งบประมาณ และทรัพยากรทางการศึกษา ทั้งนี้ ให้ค านึงถึงคุณภาพและความเสมอภาคในโอกาสทางการศึกษา (7) จัดตั้งกองทุนเพื่อพัฒนาการศึกษาของรัฐและเอกชน มาตรา 61 ให้รัฐจัดสรรเงินอุดหนุนการศึกษาที่จัดโดยบุคคล ครอบครัว องค์กรชุมชน องค์กรเอกชน องค์กรวิชาชีพ สถาบันศาสนา สถานประกอบการ และสถาบันสังคมอื่น ตามความเหมาะสม และ ความจ าเป็น มาตรา 62 ให้มีระบบการตรวจสอบ ติดตาม และประเมินประสิทธิภาพ และประสิทธิผล การใช้จ่ายงบประมาณการจัดการศึกษาให้สอดคล้องกับหลักการศึกษา แนวการจัดการศึกษาและคุณภาพ มาตรฐานการศึกษา โดยหน่วยงานภายในและหน่วยงานของรัฐที่มีหน้าที่ตรวจสอบภายนอกหลักเกณฑ์และวิธีการ ในการตรวจสอบ ติดตามและการประเมิน ให้เป็นไปตามที่ก าหนดในกฎกระทรวง 4.2 ทิศทางแผนการศึกษาแห่งชาติ (พ.ศ. 2560 – 2579) ประกอบด้วย 6 ยุทธศาสตร์หลัก ดังนี้ ยุทธศาสตร์ที่ 1 การจัดการศึกษาเพื่อความมั่นคงของสังคมและประเทศชาติ เป้าหมาย 1. คนทุกช่วงวัยมีความรักในสถาบันหลักของชาติ และยึดมั่นการปกครองระบอบ ประชาธิปไตย อันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข 2. คนทุกช่วงวัยในเขตพัฒนาพิเศษเฉพาะกิจจังหวัดชายแดนภาคใต้และพื้นที่พิเศษได้รับ การศึกษาและเรียนรู้อย่างมีคุณภาพ 3. คนทุกช่วงวัยได้รับการศึกษา การดูแลและป้องกันจากภัยคุกคามในชีวิตรูปแบบใหม่ แนวทางการพัฒนา 1. พัฒนาการจัดการศึกษาเพื่อเสริมสร้างความมั่นคงของสถาบันหลักของชาติ และการปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข 2. ยกระดับคุณภาพและส่งเสริมโอกาสในการเข้าถึงการศึกษาในเขตพัฒนาพิเศษ เฉพาะกิจ จังหวัดชายแดนภาคใต้ 3. ยกระดับคุณภาพและส่งเสริมโอกาสในการเข้าถึงการศึกษาในพื้นที่พิเศษ (พื้นที่สูง พื้นที่ตามแนวตะเข็บชายแดน และพื้นที่เกาะแก่ง ชายฝั่งทะเล ทั้งกลุ่มชนต่างเชื้อชาติ ศาสนา และวัฒนธรรม กลุ่มชนชายขอบ และแรงงานต่างด้าว) 4. พัฒนาการจัดการศึกษาเพื่อการจัดระบบการดูแล และป้องกันภัยคุกคามในรูปแบบ ใหม่ อาทิ อาชญากรรม และความรุนแรงในรูปแบบต่างๆ ยาเสพติด ภัยพิบัติจากธรรมชาติภัยจากโรคอุบัติใหม่ ภัยจากไซเบอร์ เป็นต้น


แผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา กศน.อ าเภอมะนัง ระยะ 4 ปี พ.ศ. 2566 - 2569 ๑๕ ยุทธศาสตร์ที่ 2 การผลิตและพัฒนาก าลังคน การวิจัย และนวัตกรรมเพื่อสร้างขีด ความสามารถในการแข่งขันของประเทศ เป้าหมาย 1. ก าลังคนมีทักษะที่ส าคัญจ าเป็น และมีสมรรถนะตรงตามความต้องการของตลาดงาน และการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมของประเทศ 2. สถาบันการศึกษาและหน่วยงานที่จัดการศึกษาผลิตบัณฑิตที่มีความเชี่ยวชาญ และเป็นเลิศเฉพาะด้าน 3. การวิจัย และพัฒนาเพื่อสร้างองค์ความรู้ และนวัตกรรมที่สร้างผลผลิต.และมูลค่าเพิ่ม ทางเศรษฐกิจ แนวทางการพัฒนา 1. ผลิตและพัฒนาก าลังคนให้มีสมรรถนะในสาขาที่ตรงตามความต้องการของตลาดงาน และการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมของประเทศ 2. ส่งเสริมการผลิตและพัฒนาก าลังคนที่มีความเชี่ยวชาญและเป็นเลิศเฉพาะด้าน 3. ส่งเสริมการวิจัย และพัฒนาเพื่อสร้างองค์ความรู้ และนวัตกรรมที่สร้างผลผลิต และมูลค่าเพิ่มทางเศรษฐกิจ ยุทธศาสตร์ที่ 3 การพัฒนาศักยภาพคนทุกช่วงวัย และการสร้างสังคมแห่งการเรียนรู้ เป้าหมาย 1. ผู้เรียนมีทักษะ และคุณลักษณะพื้นฐานของพลเมืองไทย และทักษะและคุณลักษณะ ที่จ าเป็นในศตวรรษที่ 21 2. คนทุกช่วงวัยมีทักษะความรู้ความสามารถและสมรรถนะตามมาตรฐานการศึกษา และ มาตรฐานวิชาชีพ และพัฒนาคุณภาพชีวิตได้ตามศักยภาพ 3. สถานศึกษาทุกระดับการศึกษาสามารถจัดกิจกรรม/กระบวนการเรียนรู้ตามหลักสูตร ได้อย่างมีคุณภาพและมาตรฐาน 4. แหล่งเรียนรู้ สื่อต าราเรียน นวัตกรรม และสื่อการเรียนรู้มีคุณภาพ และมาตรฐานและ ประชาชนสามารถเข้าถึงได้โดยไม่จ ากัดเวลาและสถานที่ 5. ระบบและกลไกการวัด การติดตามและประเมินผลมีประสิทธิภาพ 6. ระบบการผลิตครู อาจารย์ และบุคลากรทางการศึกษาได้มาตรฐานระดับสากล 7. ครู อาจารย์ และบุคลากรทางการศึกษาได้รับการพัฒนาสมรรถนะตามมาตรฐาน แนวทางการพัฒนา 1. ส่งเสริม สนับสนุนให้คนทุกช่วงวัยมีทักษะ ความรู้ความสามารถ และการพัฒนา คุณภาพชีวิตอย่างเหมาะสม เต็มตามศักยภาพในแต่ละช่วงวัย 2. ส่งเสริมและพัฒนาแหล่งเรียนรู้ สื่อต าราเรียน และสื่อการเรียนรู้ต่างๆ ให้มีคุณภาพ มาตรฐาน และประชาชนสามารถเข้าถึงแหล่งเรียนรู้ได้โดยไม่จ ากัดเวลาและสถานที่ 3. สร้างเสริมและปรับเปลี่ยนค่านิยมของคนไทยให้มีวินัย จิตสาธารณะ และพฤติกรรม ที่พึงประสงค์ 4. พัฒนาระบบและกลไกการติดตาม การวัดและประเมินผลผู้เรียนให้มีประสิทธิภาพ


แผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา กศน.อ าเภอมะนัง ระยะ 4 ปี พ.ศ. 2566 - 2569 ๑๖ 5. พัฒนาคลังข้อมูล สื่อ และนวัตกรรมการเรียนรู้ ที่มีคุณภาพและมาตรฐาน 6. พัฒนาคุณภาพและมาตรฐานการผลิตครู อาจารย์ และบุคลากรทางการศึกษา 7. พัฒนาคุณภาพครู อาจารย์ และบุคลากรทางการศึกษา ยุทธศาสตร์ที่ 4 การสร้างโอกาส ความเสมอภาคและความเท่าเทียมทางการศึกษา เป้าหมาย 1. ผู้เรียนทุกคนได้รับโอกาสและความเสมอภาคในการเข้าถึงการศึกษาที่มีคุณภาพ 2. การเพิ่มโอกาสทางการศึกษาผ่านเทคโนโลยีดิจิทัลเพื่อการศึกษาส าหรับคนทุกช่วงวัย 3. ระบบข้อมูลรายบุคคลและสารสนเทศทางการศึกษาที่ครอบคลุมถูกต้องเป็นปัจจุบัน เพื่อการวางแผนการบริหารจัดการศึกษา การติดตามประเมิน และรายงานผล แนวทางการพัฒนา 1. เพิ่มโอกาสและความเสมอภาคในการเข้าถึงการศึกษาที่มีคุณภาพ 2. พัฒนาระบบเทคโนโลยีดิจิทัลเพื่อการศึกษาส าหรับคนทุกช่วงวัย 3. พัฒนาฐานข้อมูลด้านการศึกษาที่มีมาตรฐาน เชื่อมโยงและเข้าถึงได้ ยุทธศาสตร์ที่ 5 การจัดการศึกษาเพื่อสร้างเสริมคุณภาพชีวิตที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม เป้าหมาย 1. คนทุกช่วงวัย มีจิตส านึกรักษ์สิ่งแวดล้อม มีคุณธรรม จริยธรรม และน าแนวคิด ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงสู่การปฏิบัติ 2. หลักสูตร แหล่งเรียนรู้ และสื่อการเรียนรู้ที่ส่งเสริมคุณภาพชีวิตที่เป็นมิตร กับสิ่งแวดล้อม คุณธรรม จริยธรรม และการน าแนวคิดตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงสู่การปฏิบัติ 3. การวิจัยเพื่อพัฒนาองค์ความรู้และนวัตกรรมด้านการสร้างเสริมคุณภาพชีวิต ที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม แนวทางการพัฒนา 1. ส่งเสริม สนับสนุนการสร้างจิตส านึกรักษ์สิ่งแวดล้อม มีคุณธรรม จริยธรรม และน า แนวคิดตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงสู่การปฏิบัติในการด าเนินชีวิต 2. ส่งเสริมและพัฒนาหลักสูตร กระบวนการเรียนรู้ แหล่งเรียนรู้ และสื่อการเรียนรู้ต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมคุณภาพชีวิตที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม 3. พัฒนาองค์ความรู้ งานวิจัย และนวัตกรรม ด้านการสร้างเสริมคุณภาพชีวิตที่เป็นมิตร กับสิ่งแวดล้อม ยุทธศาสตร์ที่ 6 การพัฒนาประสิทธิภาพของระบบบริหารจัดการศึกษา เป้าหมาย 1. โครงสร้าง บทบาท และระบบการบริหารจัดการการศึกษามีความคล่องตัว ชัดเจน และสามารถตรวจสอบได้ 2. ระบบการบริหารจัดการศึกษามีประสิทธิภาพและประสิทธิผลส่งผลต่อคุณภาพและ มาตรฐานการศึกษา 3. ทุกภาคส่วนของสังคมมีส่วนร่วมในการจัดการศึกษาที่ตอบสนองความต้องการ ของประชาชนและพื้นที


แผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา กศน.อ าเภอมะนัง ระยะ 4 ปี พ.ศ. 2566 - 2569 ๑๗ 4. กฎหมายและรูปแบบการบริหารจัดการทรัพยากรทางการศึกษารองรับลักษณะ ที่แตกต่างกันของผู้เรียน สถานศึกษา และความต้องการก าลังแรงงานของประเทศ 5. ระบบบริหารงานบุคคลของครู อาจารย์ และบุคลากรทางการศึกษามีความเป็นธรรม สร้างขวัญก าลังใจ และส่งเสริมให้ปฏิบัติงานได้อย่างเต็มตามศักยภาพ แนวทางการพัฒนา 1. ปรับปรุงโครงสร้างการบริหารจัดการศึกษา 2. เพิ่มประสิทธิภาพการบริหารจัดการสถานศึกษา 3. ส่งเสริมการมีส่วนร่วมของทุกภาคส่วนในการจัดการศึกษา 4. ปรับปรุงกฎหมายเกี่ยวกับระบบการเงินเพื่อการศึกษาที่ส่งผลต่อคุณภาพ และประสิทธิภาพการจัดการศึกษา 5. พัฒนาระบบบริหารงานบุคคลของครู อาจารย์ และบุคลากรทางการศึกษา 4.3 แผนพัฒนาคุณภาพการศึกษาของกระทรวงศึกษาธิการ ฉบับที่ 12 (พ.ศ. 2560 – 2564) ประกอบด้วย 6 ยุทธศาสตร์ ได้แก่ ยุทธศาสตร์ที่ 1 ยุทธศาสตร์พัฒนาหลักสูตรกระบวนการเรียนการสอน การวัดและประเมินผล ผลผลิต/ผลลัพธ์ ผู้เรียนมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนที่สูงขึ้น สามารถท่องจ าและน าสิ่งที่จ าไปฝึกคิดวิเคราะห์ คิดสังเคราะห์ คิดในเชิงสร้างสรรค์ และแก้ไขปัญหาที่เกิดขึ้นได้ มีทักษะการทางานร่วมกับผู้อื่น สอดคล้องกับทักษะที่ จ าเป็นในศตวรรษที่ 21 มีคุณธรรมจริยธรรม ผู้ส าเร็จการศึกษาทุกระดับ/ประเภทได้รับการศึกษา ที่มีคุณภาพ มาตรฐาน มีจิตส านึกประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข รวมทั้งสามารถอยู่ในสังคมได้ อย่างมีความสามัคคีปรองดอง กลยุทธ์ 1.1 พัฒนากระบวนการเรียนการสอนที่มีคุณภาพ และจัดกิจกรรมเสริมทักษะพัฒนา ผู้เรียนในรูปแบบที่หลากหลาย สอดคล้องกับทักษะที่จ าเป็นในศตวรรษที่ 21 1.2 พัฒนาและปรับปรุงหลักสูตร การวัดและประเมินผลการศึกษาทุกระดับ/ประเภท การศึกษาให้ทันสมัย สอดคล้องกับความก้าวหน้าทางวิทยาการและการเปลี่ยนแปลงของสังคมโลก 1.3 ส่งเสริมการพัฒนาเนื้อหาสาระที่ทันสมัยในทุกระดับ/ประเภทการศึกษา เพื่อการผลิตสื่อการเรียนการสอน ต าราเรียนที่มีคุณภาพ รวมทั้งต าราเรียนอิเล็กทรอนิกส์ 1.4 ปรับปรุงระบบทดสอบทางการศึกษาแห่งชาติให้สอดคล้องกับหลักสูตร .และกระบวนการจัดการเรียนการสอน 1.5 ส่งเสริมคุณธรรม จริยธรรม และความเป็นพลเมืองและพลโลก ตามหลักปรัชญา ของเศรษฐกิจพอเพียงในระบบการศึกษาอย่างเข้มข้น ยุทธศาสตร์ที่ 2 ยุทธศาสตร์ผลิต พัฒนาครู คณาจารย์และบุคลากรทางการศึกษา ผลผลิต/ผลลัพธ์ มีการผลิตครูได้สอดคล้องกับความต้องการในการจัดการศึกษาทุกระดับทุกประเภท มีครูครบตามเกณฑ์มีครูประจ าชั้นครบทุกห้อง และมีครูที่จบตรงวุฒิตามสาขาวิชาที่สอน ผู้มีใบอนุญาตประกอบ


แผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา กศน.อ าเภอมะนัง ระยะ 4 ปี พ.ศ. 2566 - 2569 ๑๘ วิชาชีพครูมีจรรยาบรรณของวิชาชีพ รวมทั้งมีคณาจารย์ และบุคลากรทางการศึกษาที่มีสมรรถนะตามมาตรฐาน วิชาชีพ สามารถใช้ศักยภาพในการสอนได้อย่างเต็มที่และขวัญก าลังใจที่ดีในการปฏิบัติหน้าที่ กลยุทธ์ 2.1 วางแผนการผลิต และพัฒนาครู คณาจารย์ อย่างเป็นระบบให้สอดคล้องกับ ความต้องการในการจัดการศึกษาทุกระดับ/ประเภทการศึกษา 2.2 ปรับระบบการผลิตครู คณาจารย์ และบุคลากรทางการศึกษาให้มีประสิทธิภาพ 2.3 เร่งรัดพัฒนาผู้บริหารสถานศึกษา รวมทั้งครูประจ าการที่สอนไม่ตรงวุฒิ ครูที่สอน คละชั้น และครูในสาขาวิชาที่ขาดแคลน 2.4 สร้างขวัญก าลังใจ สร้างแรงจูงใจให้กับครู คณาจารย์และบุคลากรทางการศึกษา 2.5 พัฒนาระบบบริหารงานบุคคลของครู คณาจารย์และบุคลากรทางการศึกษา ให้มีประสิทธิภาพ ยุทธศาสตร์ที่ 3 ยุทธศาสตร์ผลิตและพัฒนาก าลังคน รวมทั้งงานวิจัยที่สอดคล้องกับ ความต้องการของการพัฒนาประเทศ ผลผลิต/ผลลัพธ์ มีการผลิตและพัฒนาก าลังคนด้านอาชีวศึกษา และด้านวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี ที่มีคุณภาพเพิ่มจ านวนบัณฑิตในสาขาวิชาชีพที่ขาดแคลน มีสมรรถนะ มีความรู้ความสามารถในการปฏิบัติงาน ตาม มาตรฐานวิชาชีพ และสามารถแข่งขันได้ในระดับสากล ประชาชนได้รับการฝึกอาชีพตามความถนัด และ ความสนใจ รวมทั้งมีผลงานวิจัย และนวัตกรรมที่สามารถนาไปใช้ประโยชน์ได้จริงในเชิงพาณิชย์ การให้ การรักษาพยาบาล และการพัฒนาความเป็นศูนย์กลางด้านการศึกษาของภูมิภาค กลยุทธ์ 3.1 เร่งผลิตและพัฒนาก าลังคนสาขาที่จ าเป็นต่อการพัฒนาประเทศ อาทิ ด้านวิทยาศาสตร์เทคโนโลยี แพทย์ และพยาบาล 3.2 เร่งผลิตและพัฒนาสมรรถนะก าลังคนด้านอาชีวศึกษาให้ทันกับความเปลี่ยนแปลง ของเทคโนโลยี และรองรับพื้นที่เขตเศรษฐกิจพิเศษ 3.3 ส่งเสริมภาพลักษณ์การอาชีวศึกษา เร่งปรับค่านิยม และวางรากฐานทักษะอาชีพ ให้แก่ผู้เรียนตั้งแต่วัยการศึกษาขั้นพื้นฐาน 3.4 ส่งเสริม สนับสนุนการพัฒนาผู้มีความสามารถพิเศษอย่างต่อเนื่องทุกระดับ 3.5 เสริมสร้างความเข้มแข็งของกระบวนการผลิตและพัฒนาก าลังคน โดยสร้าง เครือข่ายความร่วมมือตามรูปแบบประชารัฐ ทั้งระหว่างองค์กรภายในและต่างประเทศ 3.6 ส่งเสริมงานวิจัยและนวัตกรรมที่สามารถนาไปใช้ประโยชน์ได้จริง ยุทธศาสตร์ที่ 4 ยุทธศาสตร์ขยายโอกาสการเข้าถึงบริการทางการศึกษา และการเรียนรู้ อย่างต่อเนื่องตลอดชีวิต ผลผลิต /ผลลัพธ์ ผู้เรียนทุกคนเข้าถึงการศึกษาที่มีคุณภาพอย่างเท่าเทียมกันในทุกระดับและประเภท การศึกษาได้รับการสนับสนุนค่าใช้จ่ายตั้งแต่ระดับอนุบาลจนจบการศึกษาขั้นพื้นฐาน และสามารถเรียนรู้ จากแหล่งเรียนรู้ได้อย่างต่อเนื่องตลอดชีวิต สถานศึกษาในภูมิภาค/ชนบท.ได้รับการยกระดับคุณภาพ


แผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา กศน.อ าเภอมะนัง ระยะ 4 ปี พ.ศ. 2566 - 2569 ๑๙ ในการให้บริการ เด็กพิการและด้อยโอกาสได้รับโอกาสทางการศึกษาทั้งในระบบโรงเรียนและนอกระบบโรงเรียน รวมทั้งสามารถเทียบโอนผลการเรียนและทักษะประสบการณ์เพื่อขอรับวุฒิการศึกษาเพิ่มขึ้นได้ กลยุทธ์ 4.1 ประกันโอกาสการเข้าถึงบริการทางการศึกษาระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน ให้แก่ผู้เรียนในทุกพื้นที่ครอบคลุมถึงคนพิการ ผู้ด้อยโอกาส และผู้มีความต้องการพิเศษ 4.2 ส่งเสริมการจัดการศึกษานอกระบบ และการเข้าถึงแหล่งเรียนรู้ที่สอดคล้อง กับความสนใจและวิถีชีวิตของผู้เรียนทุกกลุ่มเป้าหมาย 4.3 เร่งสร้างความเข้มแข็งของระบบการเทียบโอนความรู้ และประสบการณ์ให้เกิดผล เป็นรูปธรรมอย่างกว้างขวาง 4.4 จัดหาทุนและแหล่งทุนทางการศึกษา 4.5 เร่งพัฒนาแหล่งเรียนรู้ที่เอื้อต่อการศึกษา และการเรียนรู้ตลอดชีวิตอย่างมีคุณภาพ มีความหลากหลาย และสามารถให้บริการได้อย่างทั่วถึง ยุทธศาสตร์ที่ 5 ยุทธศาสตร์ส่งเสริมและพัฒนาระบบเทคโนโลยีดิจิทัลเพื่อการศึกษา ผลผลิต /ผลลัพธ์ ผู้เรียน สถานศึกษา และหน่วยงานทางการศึกษาทุกระดับทุกประเภทการศึกษา เข้าถึงทรัพยากร และระบบเครือข่ายเทคโนโลยีสารสนเทศอย่างทั่วถึงและมีประสิทธิภาพ มีองค์ความรู้เทคโนโลยี เพื่อการศึกษาเพื่อเพิ่มผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนที่สูงขึ้น รวมทั้งมีศูนย์กลางในการจัดเก็บรวบรวมสื่อการเรียน การสอนแบบดิจิทัลที่ทันสมัย และระบบฐานข้อมูลกลางทางการศึกษาของประเทศที่ถูกต้อง และเป็นปัจจุบัน กลยุทธ์ 5.1 พัฒนาระบบเครือข่ายเทคโนโลยีดิจิทัลเพื่อการศึกษาและการบริหารจัดการ ที่ทันสมัยและไม่ซ้ าซ้อน ให้ผู้รับบริการสามารถเข้าถึงได้อย่างทั่วถึงและมีประสิทธิภาพ 5.2 พัฒนากระบวนการจัดท าระบบฐานข้อมูลกลางทางการศึกษาของประเทศ ระบบ การรายงานผลของฐานข้อมูลโดยเชื่อมโยงข้อมูลการศึกษาทุกระดับ/ประเภทการศึกษา ให้เป็นเอกภาพเป็นปัจจุบัน และมีมาตรฐานเดียวกัน 5.3 ผลิตและพัฒนาโปรแกรมประยุกต์หรือสื่อการเรียนรู้อิเล็กทรอนิกส์ให้ผู้เรียน สถานศึกษาและหน่วยงานทางการศึกษาทุกระดับ/ประเภทการศึกษา น ามาใช้เพิ่มคุณภาพการเรียนรู้ อย่างเป็นระบบ 5.4 จัดหาอุปกรณ์/ทรัพยากรพื้นฐานด้านเทคโนโลยีสารสนเทศให้กับผู้เรียน อย่างเพียงพอ ทั่วถึง และเหมาะสมกับการแสวงหาความรู้ด้วยตนเองอย่างต่อเนื่อง ยุทธศาสตร์ที่ 6 ยุทธศาสตร์พัฒนาระบบบริหารจัดการและส่งเสริมให้ทุกภาคส่วนมีส่วนร่วม ในการจัดการศึกษา ผลผลิต /ผลลัพธ์ ระบบบริหารจัดการมีความคล่องตัวในการบริหารงานการศึกษามากยิ่งขึ้น มีความโปร่งใสและเป็นที่ยอมรับของผู้รับบริการ โครงสร้างของกระทรวงได้รับการปรับปรุงให้มีประสิทธิภาพ โดยการกระจายอ านาจลงไปสู่ส่วนภูมิภาคและสถานศึกษา และมีกลไกการส่งเสริมให้ทุกภาคส่วนมีส่วนร่วม ในการสนับสนุนทรัพยากรเพื่อการศึกษา สถานศึกษาทุกระดับทุกประเภทมีธรรมาภิบาลในการบริหาร รวมทั้ง


แผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา กศน.อ าเภอมะนัง ระยะ 4 ปี พ.ศ. 2566 - 2569 ๒๐ ผู้เรียนในพื้นที่จังหวัดชายแดนภาคใต้มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนที่สูงขึ้น มีศักยภาพเพื่อไปประกอบอาชีพในท้องถิ่นได้ กลยุทธ์ 6.1 ปรับปรุงกลไกการบริหารจัดการการศึกษาให้เป็นไปตามหลักธรรมาภิบาล โดยเน้นด้านคุณธรรมความโปร่งใส ทั้งในระดับส่วนกลาง และในพื้นที่ระดับภาค/จังหวัด 6.2 พัฒนาระบบบริหารงานงบประมาณ/การเงินให้มีประสิทธิภาพ 6.3 ยกระดับคุณภาพการศึกษาตอบสนองการสร้างอาชีพและเพิ่มคุณภาพชีวิต ลดความเหลื่อมล้ าสร้างความสมานฉันท์ และเสริมสร้างความมั่นคงในจังหวัดชายแดนภาคใต้ 6.4 เร่งส่งเสริมให้ทุกภาคส่วนมีส่วนร่วมรับผิดรับชอบในการจัดการศึกษา รวมทั้ง สนับสนุนทรัพยากรเพื่อการศึกษา 6.5 เสริมสร้างภาพลักษณ์หน่วยงานให้เกิดความร่วมมือ และสร้างเครือข่าย/ ความเป็นภาคีหุ้นส่วนกับองค์กรทั้งภายในและต่างประเทศ 6.6 ส่งเสริมและขยายผลให้สถานศึกษาระดับการศึกษาขั้นพื้นฐานที่มีความพร้อมพัฒนา เป็นสถานศึกษานิติบุคคลในก ากับ 4.4 นโยบายของรัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ (ตรีนุช เทียนทอง) รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ ตรีนุช เทียนทอง ได้ก าหนดยุทธศาสตร์ตามกรอบปฏิรูป การศึกษา ให้ทุกส่วนราชการ/หน่วยงานในสังกัดกระทรวงศึกษาธิการ โดยมีรายละเอียด ดังนี้ 12. นโยบายการจัดการศึกษา 7 วาระเร่งด่วนของกระทรวงศึกษาธิการ 1. การปรับปรุงหลักสูตรและกระบวนการเรียนรู้ให้ทันสมัย และทันการเปลี่ยนแปลง ของโลกในศตวรรษที่ 21 2. การพัฒนาคุณภาพ และประสิทธิภาพครูและอาจารย์ในระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน และอาชีวศึกษา ให้มีสมรรถนะทางภาษาและดิจิทัล 3. การปฏิรูปการเรียนรู้ด้วยดิจิทัลฝานแพลตฟอร์มการเรียนรู้ด้วยดิจิทัลแห่งชาติ (NDLP) และการส่งเสริมการฝึกทักษะดิจิทัลในชีวิตประจ าวัน 4. การพัฒนาประสิทธิภาพการบริหารและการจัดการศึกษา โดยการส่งเสริมสนับสนุน สถานศึกษาให้มีความเป็นอิสระและคล่องตัว การกระจายอ านาจการบริหารและการจัดการศึกษา โดยใช้จังหวัด เป็นฐาน 5. การปรับระบบการประเมินผลการศึกษาและการประกันคุณภาพ พร้อมจัดทดสอบ วัด ความรู้ และทักษะที่จ าเป็นในการศึกษาต่อระดับอุดมศึกษาทั้งสายวิชาการและสายวิชาชีพ 6. การจัดสรรและการกระจายทรัพยากรให้ทั่วถึงทุกกลุ่มเป้าหมาย รวมถึงการระดมทรัพ ยากรทางการศึกษาจากความร่วมมือทุกภาคส่วน 7. การน ากรอบคุณวุฒิแห่งชาติ (NQF) และกรอบคุณวุฒิอ้างอิงอาเซียน (AQRF) สู่การปฏิบัติ 8. การพัฒนาเด็กปฐมวัยให้ได้รับการดูแลและพัฒนาก่อนเข้ารับการศึกษาเพื่อพัฒนา ร่างกาย จิตใจวินัย อารมณ์ สังคม และสติปัญญาให้สมกับวัย 9. การศึกษาเพื่ออาชีพและสร้างขีดความสามารถในการแข่งขันของประเทศ


แผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา กศน.อ าเภอมะนัง ระยะ 4 ปี พ.ศ. 2566 - 2569 ๒๑ 10. การพลิกโฉมระบบการศึกษาไทยด้วยการน านวัตกรรมและเทคโนโลยีที่ ทันสมัยมาใช้ในการจัดการศึกษาทุกระดับการศึกษา 11. การเพิ่มโอกาสและการเข้าถึงการศึกษาที่มีคุณภาพของกลุ่มผู้ด้อยโอกาส ทางการศึกษาและผู้เรียนที่มีความต้องการจ าเป็นพิเศษ 12. การจัดการศึกษาในระบบนอกระบบและตามอัธยาศัย โดยยึดหลักการเรียนรู้ตลอด ชีวิตและการมีส่วนร่วมของผู้มีส่วน 4.5 แผนพัฒนาคุณภาพการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย ของส านักงาน กศน. (พ.ศ. 2560 – 2579) วิสัยทัศน์ “คนไทยได้รับโอกาสการศึกษาและการเรียนรู้ตลอดชีวิตอย่างมีคุณภาพ สามารถด ารงชีวิต ที่เหมาะสมกับช่วงวัย สอดคล้องกับหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง และมีทักษะที่จ าเป็นในโลกศตวรรษที่ 21” จุดเน้น “ส่งเสริม สนับสนุน และให้บริการการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยและการเรียนรู้ ตลอดชีวิตอย่างทั่วถึง และมีคุณภาพ มีสาระการเรียนรู้ที่เป็นปัจจุบันและตรงกับความต้องการของผู้เรียน และสังคม โดยน้อมนาหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง และใช้สื่อเทคโนโลยีที่หลากหลายและทันสมัยมาเป็นกลไก ในการจัด รวมทั้งพัฒนาครูให้เป็นผู้จัดการศึกษาและการเรียนรู้มืออาชีพ เน้นพัฒนากระบวนการคิด และการวิจัยให้กับ กลุ่มเป้าหมาย ใช้กลยุทธ์การบริหารจัดการเชิงรุก โดยให้ชุมชนและทุกภาคส่วนมีส่วนร่วมภายใต้การบริหารจัดการ ตามหลักธรรมาภิบาล เพื่อสร้างสังคมแห่งการเรียนรู้ตลอดชีวิตอย่างยั่งยืน” เป้าหมายหลัก 1) คนไทยสามารถเข้าถึงบริการการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย รวมทั้ง การเรียนรู้ตลอดชีวิตที่มีคุณภาพ และมาตรฐานอย่างทั่วถึง 2) คนไทยมีสมรรถนะ และทักษะในการด ารงชีวิตที่เหมาะสมกับช่วงวัย สอดคล้องกับ หลักปรัชญา ของเศรษฐกิจพอเพียง และพร้อมรับการเปลี่ยนแปลงของโลกในศตวรรษที่ 21 3) หน่วยงานและสถานศึกษามีระบบเทคโนโลยีที่ทันสมัย และมีประสิทธิภาพเพื่อให้บริการ การศึกษาและการเรียนรู้ตลอดชีวิตให้กับประชาชนอย่างทั่วถึงและมีประสิทธิภาพ 4) หน่วยงานและสถานศึกษามีระบบบริหารจัดการที่มีประสิทธิภาพ ภายใต้การบริหารจัดการตาม หลักธรรมาภิบาล 5) ทุกภาคส่วนมีบทบาทและมีส่วนร่วมในการส่งเสริม สนับสนุน และจัดการศึกษาและการเรียนรู้ ตลอดชีวิต ยุทธศาสตร์ 1) เพิ่มและกระจายโอกาสในการเข้าถึงบริการการศึกษาและการเรียนรู้ที่มีคุณภาพ 2) พัฒนาและเสริมสร้างศักยภาพคนทุกช่วงวัยให้มีสมรรถนะและทักษะเหมาะสม มีคุณภาพชีวิต ที่ดี 3) ส่งเสริมและพัฒนาระบบเทคโนโลยีดิจิทัลเพื่อการศึกษาส าหรับคนทุกช่วงวัย 4) พัฒนาระบบบริหารจัดการศึกษาและส่งเสริมให้ทุกภาคส่วนมีบทบาท และมีส่วนร่วมในการจัด การศึกษา


แผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา กศน.อ าเภอมะนัง ระยะ 4 ปี พ.ศ. 2566 - 2569 ๒๒ 5. โครงสร้างอ านาจหน้าที่ของกศน.อ าเภอมะนัง อ านาจหน้าท่ีของกศน.อ าเภอมะนัง 1. จัดการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย 2. ส่งเสริม สนับสนุน และประสานภาคีเครือข่ายเพื่อจัดการศึกษานอกระบบและการศึกษา ตามอัธยาศัย 3. ด าเนินการตามนโยบายพิเศษของรัฐบาลและงานเสริมสร้างความมั่นคงของชาติ 4. จัด ส่งเสริม สนับสนุนและประสานงานการจัดการศึกษาตามโครงการอันเน่ืองมาจาก พระราชด าริ ในพื้นที่ 5. จัด ส่งเสริมสนับสนุน พัฒนาแหล่งเรียนรู้และภูมิปัญญาท้องถิ่น 6. วิจัยและพัฒนาคุณภาพหลักสูตร สื่อ กระบวนการเรียนรู้และมาตรฐานการศึกษานอกระบบ 7. ด าเนิน การเทียบโอนผลการเรียน การเทียบโอนความรู้และประสบการณ์ 8. ก ากับ ดูแล ตรวจสอบ นิเทศภายใน ติดตามประเมินผลและรายงานผลการด าเนินงานการศึกษา นอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย 9. พัฒนาครูและบุคลากรทางการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย 10. ระดมทรัพยากรเพื่อใช้ในการจัดและพัฒนาการศึกษานอกระบบระบบการศึกษาตามอัธยาศัย 11. ด าเนินการประกันคุณภาพภายในให้สอดคล้องกับระบบหลักเกณฑ์และวิธีการท่ืก าหนด 12. ปฏิบัติงานอื่น ๆ ตามที่ได้รับมอบหมาย ภายใต้อ านาจหน้าที่ดังกล่าว ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอ าเภอมะนัง หรือ ชื่อ ย่อว่า “กศน.อ าเภอมะนัง” มีโครงสร้างรองรับการปฏิบัติงานตามภารกิจที่ชัดเจนโดยเป็นไปตามประกาศของ กระทรวงศึกษาธิการ ที่ได้ก าหนดโครงสร้างของกศน.อ าเภอ เป็น 3 กลุ่ม เพิ่มเติม 1 กลุ่มงาน คือ 1. กลุ่มอ านวยการ 2. กลุ่มการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย 3. กลุ่มงานภาคีเครือข่ายและกิจการพิเศษ และ 4. งานกศน.ต าบล


แผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา กศน.อ าเภอมะนัง ระยะ 4 ปี พ.ศ. 2566 - 2569 ๒๓ โครงสร้างการบริหาร ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอ าเภอมะนัง ผู้บริหาร คณะกรรมการสถานศึกษา กลุ่มงานอ านวยการ กลุ่มการจัดการศึกษานอกระบบและ การศึกษาตามอัธยาศัย กลุ่มภาคีเครือข่ายและกิจการพิเศษ 1.งานธุรการและสารบรรณ 2.งานการเงินและบัญชี 3.งบประมาณ และระดม ทรัพยากร 4.งานพัสดุ 5.งานบุคลากร 6.งานอาคารสถานที่ และ ยานพาหนะ 7.งานแผนงานและโครงการ 8.งานประชาสัมพันธ์ 9.งานสวัสดิการ 10.ศูนย์ราชการใสสะอาด 11.งานนิเทศภายใน 12.งานงานติดตาม ประเมินผล 13.งานเลขานุการ คณะกรรมการสถานศึกษา 14.งานประกันคุณภาพ ภายในสถานศึกษา 1.งานส่งเสริมการเรียนรู้หนังสือ 2.งานการศึกษาขั้นพื้นฐานนอก ระบบ 3.งานเทียบระดับการศึกษา 4.งานการศึกษาต่อเนื่อง 5.งานการศึกษาตามอัธยาศัย 6.งานห้องสมุดประชาชน 7.งานกศน.ต าบล 8.งานพัฒนาหลักสูตร สื่อ นวัตกรรม และเทคโนโลยีเพื่อ การศึกษา 9.งานทะเบียนและวัดผล 10.งานศูนย์บริการให้ค าปรึกษา 11.งานกิจการนักศึกษา 1.งานส่งเสริม สนับสนุนภาคี เครือข่าย 2.งานโครงการพิเศษ 3.งานป้องกันแก้ไขปัญหายา เสพติด/โรคเอดส์ 4.งานส่งเสริมกิจกรรม ประชาธิปไตย 5.งานสนับสนุนส่งเสริม นโยบายจังหวัด/ อ าเภอ 6.งานกิจกรรมลูกเสือ/ ยุวกาชาด 7.งานอาสาสมัครกศน. 8.งานอื่นๆ 1. วางแผนจัดการเรียนรู้ ตลอดชีวิต 2. จัดกิจกรรมการเรียนรู้ ของ กศน. ต าบล 3. ให้บริการการเรียนรู้ใน กศน.ต าบล 4. สนับสนุนกิจกรรมของ ชุมชน ทั้งด้าน สังคม วัฒนธรรม ประเพณี 5. สร้างเครือข่ายการเรียนรู้ ในชุมชน กศน.ต าบล นักศึกษาและประชาชนทั่วไป


แผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา กศน.อ าเภอมะนัง ระยะ 4 ปี พ.ศ. 2566 - 2569 ๒๔ ผลการด าเนินงาน กศน.อ าเภอมะนังในปีงบประมาณ 2565 แผนพัฒนาคุณภาพการศึกษาของ กศน.อ าเภอมะนัง ระยะ 4 ปี พ.ศ. 2562 - 2565 จัดท าขึ้นภายใต้ กรอบ ทิศทางของแผนการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2560 - 2579 โดยสอดคล้องกับแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคม แห่งชาติ ฉบับที่ 12 พ.ศ. 2560 - 2564 และยุทธศาสตร์ชาติ ระยะ 20 ปี ตลอดจนสภาพปัญหา จากการจัดและพัฒนา การศึกษาของกศน.อ าเภอมะนัง ในระยะที่ผ่านมาโดยในปี พ.ศ. 2562 – 2565 กศน.อ าเภอมะนัง มีผลการ ด าเนินงานดังนี้ 1. การจัดการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน ตารางที่ 1 แสดงจ านวนนักศึกษาที่ลงทะเบียนเรียน หลักสูตรการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2562 – 2565 ที่ ระดับการศึกษาหลักสูตร กศน. 2551 จ านวนนักศึกษาที่ลงทะเบียน ปีงบประมาณ 2562 ปีงบประมาณ 2563 ปีงบประมาณ 2564 ปีงบประมาณ 2565 1 ประถมศึกษา 11 11 17 12 2 มัธยมศึกษาตอนต้น 238 229 221 193 3 มัธยมศึกษาตอนปลาย 211 239 261 269 รวมทั้งสิ้น 460 479 499 474 ตารางที่ 2 แสดงข้อมูลจ านวนนักศึกษาที่ส าเร็จการศึกษาหลักสูตรการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2562 – 2565 ที่ ระดับการศึกษาหลักสูตร กศน. 2551 จ านวนนักศึกษาที่ส าเร็จการศึกษา ปีงบประมาณ 2562 ปีงบประมาณ 2563 ปีงบประมาณ 2564 ปีงบประมาณ 2565 1 ประถมศึกษา - - 1 1 2 มัธยมศึกษาตอนต้น 32 32 29 22 3 มัธยมศึกษาตอนปลาย 31 34 29 50 รวมทั้งสิ้น 63 66 59 73


แผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา กศน.อ าเภอมะนัง ระยะ 4 ปี พ.ศ. 2566 - 2569 ๒๕ 2. การจัดการศึกษาต่อเนื่อง ตารางที่ 3 แสดงจ านวนผู้เรียน/ผู้รับบริการ การศึกษาต่อเนื่อง ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2562 – 2565 ที่ ประเภทการศึกษา จ านวนผู้เรียน/ผู้รับบริการ ปีงบประมาณ 2562 ปีงบประมาณ 2563 ปีงบประมาณ 2564 ปีงบประมาณ 2565 1 การศึกษาเพื่อพัฒนาอาชีพ (โครงการศูนย์ฝึกอาชีพชุมชน) - กลุ่มสนใจ (ไม่เกิน 30 ชั่วโมง) 99 100 67 43 - แบบชั้นเรียน (31 ชั่วโมงขึ้นไป) 60 38 63 46 - 1 อ าเภอ 1 อาชีพ 22 17 28 23 รวม 181 155 158 112 2 การศึกษาเพื่อพัฒนาทักษะชีวิต 102 91 79 27 3 การศึกษาเพื่อพัฒนาสังคมและชุมชน 89 60 38 23 4 การศึกษาเพื่อเรียนรู้หลักปรัชญาของ เศรษฐกิจพอเพียง 32 30 24 23 5 ส่งเสริมการรู้หนังสือ 8 8 8 8 รวมทั้งหมด 412 344 307 193 3. การจัดการศึกษาตามอัธยาศัย ตารางที่ 4 แสดงข้อมูลผลการด าเนินงาน/กิจกรรมการศึกษาตามอัธยาศัย ประจ าปีงบประมาณ พ.ศ. 2562 – 2565 ที่ กิจกรรม จ านวนผู้เรียน/ผู้รับบริการ ปีงบประมาณ 2562 ปีงบประมาณ 2563 ปีงบประมาณ 2564 ปีงบประมาณ 2565 1 ห้องสมุดประชาชน 192 3,911 3,815 3,776 2 บ้านหนังสือชุมชน 1,342 1,934 2,100 2,739 3 กิจกรรมส่งเสริมการอ่าน/หน่วย บริการเคลื่อนที่ 750 825 829 736 4 อาสาสมัครส่งเสริมการอ่าน 38 773 1,010 947 5 ห้องสมุดส าหรับชาวตลาด 700 725 819 766 รวมทั้งหมด 3,022 8,168 8,573 8,964


แผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา กศน.อ าเภอมะนัง ระยะ 4 ปี พ.ศ. 2566 - 2569 ๒๖ 4. การจัดการศึกษาตามนโยบายของรัฐบาล ตารางที่ 5 แสดงข้อมูลผลการด าเนินงานโครงการ/กิจกรรมที่ได้รับงบประมาณ ประจ าปีงบประมาณ พ.ศ. 2562 – 2565 ที่ โครงการ/กิจกรรม จ านวนผู้เรียน/ผู้รับบริการ ปีงบประมาณ 2562 ปีงบประมาณ 2563 ปีงบประมาณ 2564 ปีงบประมาณ 2565 1 ดิจิทัลชุมชน 60 60 60 60 2 ภาษาต่างประเทศเพื่อการสื่อสารด้านอาชีพ 40 40 40 40 3 พัฒนาการทางกาย จิต และสมองของ ผู้สูงอายุ- 71 70 70 4 ความร่วมมือการผลิตผู้ดูแลผู้สูงอายุระหว่าง ก ร ะท ร วงศึ กษ า ธิ ก า ร แ ล ะ ก ร ะท ร วง สาธารณสุข ส านักงาน กศน. (หลักสูตรดูแล ผู้สูงอายุ 70 ชั่วโมง) - - 20 20 รวมทั้งหมด 100 171 190 190 5. การจัดการศึกษาในจังหวัดชายแดนภาคใต้ ตารางที่ 6 แสดงข้อมูลผลการด าเนินงานโครงการ/กิจกรรมที่ได้รับงบประมาณ ประจ าปีงบประมาณ พ.ศ. 2562 – 2565 ที่ โครงการ/กิจกรรม จ านวนผู้เรียน/ผู้รับบริการ ปีงบประมาณ 2562 ปีงบประมาณ 2563 ปีงบประมาณ 2564 ปีงบประมาณ 2565 1 ฝึกประสบการณ์การใช้ภาษาจังหวัด ชายแดนภาคใต้ 140 60 40 60 2 กีฬา กศน.สายสัมพันธ์ชายแดนใต้ เกมส์ - 100 40 100 3 ลูกเสือ กศน.ชายแดนใต้ - 55 - 55 รวมทั้งหมด 140 215 80 215


แผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา กศน.อ าเภอมะนัง ระยะ 4 ปี พ.ศ. 2566 - 2569 ๒๗ ข้อมูลจ านวนบุคลากรของกศน.อ าเภอมะนัง ตารางที่ 7 แสดงข้อมูลจ านวนบุคลากรของกศน.อ าเภอมะนัง ประจ าปีงบประมาณ พ.ศ. 2562 - 2565 ที่ ต าแหน่ง จ านวนบุคลากร ปีงบประมาณ 2562 ปีงบประมาณ 2563 ปีงบประมาณ 2564 ปีงบประมาณ 2565 1 ผู้บริหารสถานศึกษา 1 - - - 2 ข้าราชการครู 1 1 2 2 3 พนักงานราชการ 3.1 ครูอาสาสมัครการศึกษานอกโรงเรียน 2 2 2 2 3.2 ครู กศน.ต าบล 2 2 2 2 4 บรรณารักษ์อัตราจ้าง 1 1 1 1 รวม 8 6 7 7


แผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา กศน.อ าเภอมะนัง ระยะ 4 ปี พ.ศ. 2566 - 2569 ๒๘ การใช้มาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษาเพื่อการประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา มาตรฐานการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน …………………………………………………. มาตรฐานการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน มีจ านวน 3 มาตรฐาน ประกอบด้วย มาตรฐานที่ 1 คุณภาพของผู้เรียนการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน ซึ่งมีประเด็น การพิจารณา จ านวน 8 ประเด็น ประกอบด้วย 1.1 ผู้เรียนการศึกษาขั้นพื้นฐานมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนที่ดีสอดคล้องกับหลักสูตรสถานศึกษา 1.2 ผู้เรียนการศึกษาขั้นพื้นฐานมีคุณธรรม จริยธรรม ค่านิยม และคุณลักษณะที่ดีตามที่สถานศึกษา ก าหนด 1.3 ผู้เรียนการศึกษาขั้นพื้นฐานมีความสามารถในการคิดวิเคราะห์ คิดอย่างมีวิจารณญาณ และ แลกเปลี่ยนความคิดเห็นร่วมกับผู้อื่น 1.4 ผู้เรียนการศึกษาขั้นพื้นฐานมีความสามารถในการสร้างสรรค์งาน ชิ้นงาน หรือนวัตกรรม 1.5 ผู้เรียนการศึกษาขั้นพื้นฐานมีความสามารถในการใช้เทคโนโลยีดิจิทัล 1.6 ผู้เรียนการศึกษาขั้นพื้นฐานมีสุขภาวะทางกาย และสุนทรียภาพ 1.7 ผู้เรียนการศึกษาขั้นพื้นฐานมีความสามารถในการอ่าน การเขียน 1.8 ผู้จบการศึกษาขั้นพื้นฐานน าความรู้ ทักษะพื้นฐานที่ได้รับไปใช้หรือประยุกต์ใช้ มาตรฐานที่ 2 คุณภาพการจัดการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขั้นพื้นฐานที่เน้นผู้เรียนเป็นส าคัญ ซึ่งมีประเด็นการพิจารณา จ านวน 4 ประเด็น ประกอบด้วย 2.1 การพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาที่สอดคล้องกับบริบท และความต้องการของผู้เรียน ชุมชน ท้องถิ่น 2.2 สื่อที่เอื้อต่อการเรียนรู้ 2.3 ครูมีความรู้ ความสามารถในการจัดการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นส าคัญ 2.4 การวัดและประเมินผลการเรียนรู้ของผู้เรียนอย่างเป็นระบบ มาตรฐานที่ 3 คุณภาพการบริหารจัดการของสถานศึกษา ซึ่งมีประเด็นการพิจารณา จ านวน 9 ประเด็น ประกอบด้วย 3.1 การบริหารจัดการของสถานศึกษาที่เน้นการมีส่วนร่วม 3.2 ระบบการประกันคุณภาพการศึกษาของสถานศึกษา 3.3 การพัฒนาครู และบุคลากรของสถานศึกษา 3.4 การใช้เทคโนโลยีดิจิทัลเพื่อสนับสนุนการบริหารจัดการ 3.5 การก ากับ นิเทศ ติดตาม ประเมินผลการด าเนินงานของสถานศึกษา 3.6 การปฏิบัติหน้าที่ของคณะกรรมการสถานศึกษาที่เป็นไปตามบทบาทที่ก าหนด 3.7 การส่งเสริม สนับสนุนภาคีเครือข่ายให้มีส่วนร่วมในการจัดการศึกษา 3.8 การส่งเสริม สนับสนุนการสร้างสังคมแห่งการเรียนรู้ 3.9 การวิจัยเพื่อการบริหารจัดการศึกษาสถานศึกษา หมายเหตุ มาตรฐานที่ 3 คุณภาพการบริหารจัดการของสถานศึกษา สามารถใช้ร่วมกันได้ทั้งมาตรฐานการศึกษา นอกระบบระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน มาตรฐานการศึกษาต่อเนื่อง และมาตรฐานการศึกษาตามอัธยาศัย


แผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา กศน.อ าเภอมะนัง ระยะ 4 ปี พ.ศ. 2566 - 2569 ๒๙ มาตรฐานการศึกษาต่อเนื่อง …………………………………………………. มาตรฐานการศึกษาต่อเนื่อง มีจ านวน 3 มาตรฐาน ประกอบด้วย มาตรฐานที่ 1 คุณภาพของผู้เรียนการศึกษาต่อเนื่อง ซึ่งมีประเด็นการพิจารณา จ านวน 3 ประเด็น ประกอบด้วย 1.1 ผู้เรียนการศึกษาต่อเนื่องมีความรู้ ความสามารถ และ หรือทักษะ และ หรือคุณธรรมเป็นไปตาม เกณฑ์การจบหลักสูตร 1.2 ผู้จบหลักสูตรการศึกษาต่อเนื่องสามารถน าความรู้ที่ได้ไปใช้ หรือประยุกต์ใช้ บนฐานค่านิยมร่วม ของสังคม 1.3 ผู้จบหลักสูตรการศึกษาต่อเนื่องที่น าความรู้ไปใช้จนเห็นเป็นประจักษ์หรือตัวอย่างที่ดี มาตรฐานที่ 2 คุณภาพการจัดการเรียนรู้การศึกษาต่อเนื่อง ซึ่งมีประเด็นการพิจารณา จ านวน 5 ประเด็น ประกอบด้วย 2.1 หลักสูตรการศึกษาต่อเนื่องมีคุณภาพ 2.2 วิทยากรการศึกษาต่อเนื่อง มีความรู้ ความสามารถ หรือประสบการณ์ตรงตามหลักสูตรการศึกษา ต่อเนื่อง 2.3 สื่อที่เอื้อต่อการเรียนรู้ 2.4 การวัดและประเมินผลผู้เรียนการศึกษาต่อเนื่อง 2.5 การจัดกระบวนการเรียนรู้การศึกษาต่อเนื่องที่มีคุณภาพ มาตรฐานที่ 3 คุณภาพการบริหารจัดการของสถานศึกษา ซึ่งมีประเด็นการพิจารณา จ านวน 9 ประเด็น ประกอบด้วย 3.1 การบริหารจัดการของสถานศึกษาที่เน้นการมีส่วนร่วม 3.2 ระบบการประกันคุณภาพการศึกษาของสถานศึกษา 3.3 การพัฒนาครู และบุคลากรของสถานศึกษา 3.4 การใช้เทคโนโลยีดิจิทัลเพื่อสนับสนุนการบริหารจัดการ 3.5 การก ากับ นิเทศ ติดตาม ประเมินผลการด าเนินงานของสถานศึกษา 3.6 การปฏิบัติหน้าที่ของคณะกรรมการสถานศึกษาที่เป็นไปตามบทบาทที่ก าหนด 3.7 การส่งเสริม สนับสนุนภาคีเครือข่ายให้มีส่วนร่วมในการจัดการศึกษา 3.8 การส่งเสริม สนับสนุนการสร้างสังคมแห่งการเรียนรู้ 3.9 การวิจัยเพื่อการบริหารจัดการศึกษาสถานศึกษา หมายเหตุ มาตรฐานที่ 3 คุณภาพการบริหารจัดการของสถานศึกษา สามารถใช้ร่วมกันได้ทั้งมาตรฐานการศึกษา นอกระบบระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน มาตรฐานการศึกษาต่อเนื่อง และมาตรฐานการศึกษาตามอัธยาศัย


แผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา กศน.อ าเภอมะนัง ระยะ 4 ปี พ.ศ. 2566 - 2569 ๓๐ มาตรฐานการศึกษาตามอัธยาศัย …………………………………………………. มาตรฐานการศึกษาตามอัธยาศัย มีจ านวน 3 มาตรฐาน ประกอบด้วย มาตรฐานที่ 1 คุณภาพของผู้รับบริการการศึกษาตามอัธยาศัย ซึ่งมีประเด็นการพิจารณา จ านวน 1 ประเด็น ประกอบด้วย 1.1 ผู้รับบริการมีความรู้ หรือทักษะ หรือประสบการณ์ สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ของโครงการ หรือ กิจกรรมการศึกษาตามอัธยาศัย มาตรฐานที่ 2 คุณภาพการจัดการศึกษาตามอัธยาศัย ซึ่งมีประเด็นการพิจารณา จ านวน 4 ประเด็น ประกอบด้วย 2.1 การก าหนดโครงการ หรือกิจกรรมการศึกษาตามอัธยาศัย 2.2 ผู้จัดกิจกรรมมีความรู้ ความสามารถในการจัดกิจกรรมการศึกษาตามอัธยาศัย 2.3 สื่อ หรือนวัตกรรม และสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อการจัดการศึกษาตามอัธยาศัย 2.4 ผู้รับบริการมีความพึงพอใจต่อการจัดการศึกษาตามอัธยาศัย มาตรฐานที่ 3 คุณภาพการบริหารจัดการของสถานศึกษา ซึ่งมีประเด็นการพิจารณา จ านวน 9 ประเด็น ประกอบด้วย 3.1 การบริหารจัดการของสถานศึกษาที่เน้นการมีส่วนร่วม 3.2 ระบบการประกันคุณภาพการศึกษาของสถานศึกษา 3.3 การพัฒนาครู และบุคลากรของสถานศึกษา 3.4 การใช้เทคโนโลยีดิจิทัลเพื่อสนับสนุนการบริหารจัดการ 3.5 การก ากับ นิเทศ ติดตาม ประเมินผลการด าเนินงานของสถานศึกษา 3.6 การปฏิบัติหน้าที่ของคณะกรรมการสถานศึกษาที่เป็นไปตามบทบาทที่ก าหนด 3.7 การส่งเสริม สนับสนุนภาคีเครือข่ายให้มีส่วนร่วมในการจัดการศึกษา 3.8 การส่งเสริม สนับสนุนการสร้างสังคมแห่งการเรียนรู้ 3.9 การวิจัยเพื่อการบริหารจัดการศึกษาสถานศึกษา หมายเหตุ มาตรฐานที่ 3 คุณภาพการบริหารจัดการของสถานศึกษา สามารถใช้ร่วมกันได้ทั้งมาตรฐานการศึกษา นอกระบบระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน มาตรฐานการศึกษาต่อเนื่อง และมาตรฐานการศึกษาตามอัธยาศัย


แผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา กศน.อ าเภอมะนัง ระยะ 4 ปี พ.ศ. 2566 - 2569 ๓๑ ส่วนที่ ๓ การวิเคราะห์บริบทของอ าเภอมะนัง 1. สภาพทั่วไป ค าขวัญอ าเภอมะนัง ยาง ปาล์มป่า ดาราดาษ ราษฏร์รักสามัคคี ถิ่นนี้มะนัง ที่อยู่ที่ว่าการอ าเภอ ม.1 ต.ปาล์มพัฒนา อ าเภอมะนัง จังหวัด สตูล หมายเลขโทรศัพท์ 074-774344 หมายเลขโทรสาร 074-774344 ประวัติกิ่งอ าเภอมะนังมาจากค าว่า “ม้ายัง” หมายถึงม้า หรือมีรูปม้า ทั้งนี้สืบเนื่องจากใน ท้องถิ่น กิ่งอ าเภอมะนังมีถ้ าอยู่ถ้ าหนึ่งชื่อถ้ าระฆังทอง ภายในถ้ ามีรูปปั้นม้าหินอยู่ 1 ตัว เป็นที่รู้จักกันโดยทั่วไป ใน หมู่บ้าน ใช้เรียกเป็นสัญลักษณ์ในการเดินทางนัดหมาย ต่อมาเพี้ยนเป็น “มะนัง” ซึ่งใช้เรียกชื่อหมู่บ้าน หมู่ ที่ 5 ต าบลปาล์มพัฒนา กิ่งอ าเภอมะนังจนถึงปัจจุบัน ความเป็นมาในการขอตั้งกิ่งอ าเภอมะนังใหม่ เนื่องจาก ท้องที่ต าบลปาล์มพัฒนา และต าบลนิคมพัฒนาอยู่ห่างจากที่ว่าการอ าเภอควนกาหลง ประมาณ 35 กิโลเมตร เป็นท้องที่ทุรกันดาร การคมนาคมไม่สะดวก เนื่องจากเป็นที่สูงและป่าเขา เพื่อ ประโยชน์ในการปกครอง และเป็นการอ านวยความสะดวกแก่ประชาชนในการมาติดต่อราชการ อ าเภอควนการ หลงจึงได้เสนอขอตั้งกิ่งอ าเภอมะนังไปยังกระทรวงมหาดไทย โดยขอแยกจากต าบลนิคมพัฒนา และต าบลปาล์ม พัฒนา ตั้งเป็นกิ่งอ าเภอมะนัง และได้รับความเห็นชอบจากคณะรัฐมนตรีกระทรวงมหาดไทย จึงได้ประกาศแบ่ง เขตการปกครองท้องที่อ าเภอควนกาหลง ตั้งเป็นกิ่งอ าเภอมะนัง โดยมีผลบังคับใช้ตั้งแต่วันที่ 15 กรกฎาคม 2539 และต่อมาได้รับการยกฐานะเป็นอ าเภอมะนัง เมื่อวันที่ 8 กันยายน 2550 เป็นต้นมา 2. อาณาเขตที่ตั้ง ประกอบด้วย 2 ต าบล ได้แก่ ต าบลนิคมพัฒนา มีจ านวน 9 หมู่บ้าน และต าบลปาล์มพัฒนา มี จ านวน 10 หมู่บ้าน อ าเภอมะนัง มีที่ตั้ง ดังนี้ ทิศเหนือ ติดต่อกับ อ าเภอทุ่งหว้า ทิศตะวันออก ติดต่อกับ อ าเภอควนกาหลง ทิศใต้ ติดต่อกับ อ าเภอควนกาหลง ทิศตะวันตก ติดต่อกับ อ าเภอละงู


แผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา กศน.อ าเภอมะนัง ระยะ 4 ปี พ.ศ. 2566 - 2569 ๓๒ พื้นที่อ าเภอมะนัง 3. สภาพของชุมชน มะนัง มีเนื้อที่ประมาณ 312 ตารางกิโลเมตร ห่างจากอ าเภอเมืองสตูล 70 กิโลเมตร พื้นที่ส่วนใหญ่เป็นที่ ราบสูงและป่าเขา * มีประชากรทั้งหมด จ านวน 18,686 คน ดังนี้ ต าบลปาล์มพัฒนา เพศชาย จ านวน 5,644 คน และเพศหญิง จ านวน 5,232 คน ต าบลนิคมพัฒนา เพศชาย จ านวน 3,871 และ เพศหญิง 3,939 คน (* ที่มา : ที่ว่าการอ าเภอมะนัง จังหวัดสตูล) ส่วนใหญ่นับถือ ศาสนาพุทธ ร้อยละ 76 และศาสนาอิสลาม ร้อยละ 24 ประชากรส่วนใหญ่ประกอบอาชีพเกษตรกรรม ได้แก่ สวนยางพารา ปาล์มน้ ามัน สวนผลไม้ ซึ่งราคาผลผลิต ในปัจจุบันมีราคาไม่แน่นอน จึงท าให้สภาพเศรษฐกิจของอ าเภอมะนัง ขึ้นอยู่กับราคาผลผลิตทางการเกษตร อ าเภอ มะนัง มีสถานที่ท่องเที่ยวที่ส าคัญของอ าเภอมะนัง จังหวัดสตูล ได้แก่ ถ้ าภูผาเพชร ถ้ าระฆังทอง ถ้ าเจ็ดคต วิหารจตุ คามรามเทพ น้ าตกวังใต้หนาน พิพิธภัณฑ์บ้านรากไม้ อุทยานธรณีสตูลโรงเรียนบ้านป่าพน ไร่องุ่น 2 เล ที่ สามารถท ารายได้เข้าอ าเภอมะนังได้อีก ทางหนึ่ง อ าเภอมะนัง มีสถานศึกษาที่จัดการศึกษาตั้งแต่ระดับก่อนประถมศึกษาจนถึงระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย จ านวน 24 แห่ง สังกัดองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (ศพด.) 9 แห่ง,สพป.11 แห่ง, สพม.1 แห่ง, ส านักงาน ปลัดกระทรวงศึกษาธิการ(กศน.) 1 แห่ง, (สช.) 2 แห่ง มีศาสนสถาน จ านวน 27 แห่ง ศาสนาพุทธ 13 แห่ง และ ศาสนาอิสลาม 14 แห่ง ประชาชนติดต่อสื่อสารด้วยภาษาไทยส าเนียงท้องถิ่นใต้ สามารถสื่อสารด้วยภาษาไทยกลาง ได้อย่างดี มีความเป็นอยู่รวมกันอย่างปกติสุขของคนในสังคมทั้งไทยพุทธ และไทยมุสลิม โดยมีวัฒนธรรมท้องถิ่นเป็น ตัวเชื่อมต่อประสานสัมพันธ์


แผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา กศน.อ าเภอมะนัง ระยะ 4 ปี พ.ศ. 2566 - 2569 ๓๓ ลักษณะภูมิประเทศ พื้นที่ส่วนใหญ่มีลักษณะเป็นที่ราบสูง ป่าเขา ที่ลุ่ม และล าห้วยสลับกันไป ลักษณะภูมิอากาศ อ าเภอมะนัง มีลักษณะอากาศแบบร้อนชื้น โดยได้รับอิทธิพลจากลมมรสุมตะวันตกเฉียงใต้จากมหาสมุทร อินเดีย ช่วงเดือนมิถุนายน – เดือนพฤศจิกายนและลมมรสุมตะวันออกเฉียงเหนือจากอ่าวไทย ช่วงเดือนธันวาคม – เดือนพฤษภาคม มี ๒ ฤดู ดังนี้ 1. ฤดูฝน อยู่ระหว่างเดือนพฤษภาคม – เดือนธันวาคม และฝนตกชุกในระหว่างเดือนมิถุนายน – เดือนพฤศจิกายน 2. ฤดูร้อน มีเพียง 4 เดือน ระหว่างเดือนมกราคม – เดือนเมษายน แหล่งน้ าธรรมชาติ อ าเภอมะนัง มีแหล่งน้ าธรรมชาติที่ส าคัญ ได้แก่ คลองมะนัง หรือคลองละงู คลองล าโลน คลองล าลิเบา การปกครอง 1. การปกครองส่วนภูมิภาค แบ่งออกเป็น 2 ต าบล 19 หมู่บ้าน - ต าบลนิคมพัฒนา มี 9 หมู่บ้าน - ต าบลปาล์มพัฒนา มี 10 หมู่บ้าน 2. การปกครองส่วนท้องถิ่น แบ่งออกเป็น 2 องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น - องค์การบริหารส่วนต าบลนิคมพัฒนา - องค์การบริหารส่วนต าบลปาล์มพัฒนา ตารางที่ 1 แสดงพื้นที่การปกครองของต าบลปาล์มพัฒนา หมู่ที่ ชื่อหมู่บ้าน ก านัน/ผู้ใหญ่บ้าน หมายเหตุ 1 บ้านผังปาล์ม 1 นายอดุล ชูแก้ว 2 บ้านผังปาล์ม 3 นายภิเชฐ อุทัยรังษี 3 บ้านผังปาล์ม 4 นายสมพร เกลี้ยงกลม 4 บ้านผังปาล์ม 2 นายทศพร โคกเขา 5 บ้านมะนัง นางประภัย หมาดหมาน 6 บ้านป่าพน นายณรงค์ โอฬาริ ก านันต าบลปาล์มพัฒนา 7 บ้านผังปาล์ม 7 นายทวี กิ้มก่าย หมู่ที่ ชื่อหมู่บ้าน ก านัน/ผู้ใหญ่บ้าน หมายเหตุ 8 บ้านปาล์มทองพัฒนา นายนิวัตน์ ละมูลสุข 9 บ้านควนดินด า,ถ้ าโกบ นายจ ารูญ สงด้วง 10 บ้านไทรทอง นายเฉลา รุนลอย


แผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา กศน.อ าเภอมะนัง ระยะ 4 ปี พ.ศ. 2566 - 2569 ๓๔ ตารางที่ 2 แสดงพื้นที่การปกครองของต าบลนิคมพัฒนา หมู่ที่ ชื่อหมู่บ้าน ก านัน/ผู้ใหญ่บ้าน หมายเหตุ 1 บ้านผัง 14 , ปาล์ม 7/2 นายวิเวก จุลพงศ์ 2 บ้านผัง 44 , 117 , 118 นายสมชาย นะมาเส 3 บ้านผัง 7 , 10 , 45 นายสมใจ ตั้งเอียด 4 บ้านผัง 8 , 11 , 12 , 46 นายสามารถ บุรินทราภิบาล 5 บ้านผัง 47 , 50 , ปาล์ม 6 นายแดง ศิริสม 6 บ้านผัง 51 , 52 , 53 ,วังพระเคียน นายสุรินทร์ สุวรรณโณ ก านันต าบลนิคมพัฒนา 7 บ้านผัง 13 , 15 , 18 นายอดุลย์ หมวดสงค์ 8 บ้านผัง 16 , 17 , 19 , 20 นายสุรินทร์ สุวรรณโณ 9 บ้านผัง 6 , 9 นายบุญลือ จันทโร สภาพทางเศรษฐกิจ 1. ด้านเกษตรกรรม มีพื้นที่ที่ใช้ในการท าการเกษตรทั้งหมด 82,738 ไร่ พืชเศรษฐกิจ ที่ส าคัญ ได้แก่ ปาล์มน้ ามัน ยางพารา และผลไม้ยืนต้น เช่น เงาะ ทุเรียน ลองกอง ฯลฯ 2. ด้านปศุสัตว์ มีสัตว์เลี้ยงที่ส าคัญคือ โค แพะ หมู ไก่ ฯลฯ 3. ด้านประมง ผู้ประกอบอาชีพประมงส่วนใหญ่ จะเลี้ยงไว้เพื่ออุปโภค และบริโภคเองในครัวเรือนเท่านั้น 4. ด้านพาณิชย์ ประกอบด้วย สถานบริการน้ ามันเชื้อเพลิงขนาดใหญ่ ที่พักนักท่องเที่ยว เช่น รีสอร์ท โฮมสเตย์ ธนาคารและสถาบันการเงิน 1 แห่ง สภาพทางสังคม ด้านสาธารณสุข ประกอบด้วยโรงพยาบาลประจ าอ าเภอขนาด 10 เตียง 1 แห่ง โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพต าบล 4 แห่ง คลินิก ๓ แห่ง ร้านขายยาแผนปัจจุบัน 3 แห่ง


แผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา กศน.อ าเภอมะนัง ระยะ 4 ปี พ.ศ. 2566 - 2569 ๓๕ จ านวนบุคลากรด้านสาธารณสุข - แพทย์จ านวน 3 คน - ทันตแพทย์ จ านวน 3 คน - เภสัชกร จ านวน 2 คน - พยาบาล จ านวน 33 คน - เจ้าหน้าที่สาธารณสุข จ านวน 23 คน - อาสาสมัครสาธารณสุข จ านวน 279 คน ด้านความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน ประกอบด้วยสถานีต ารวจ จ านวน 1 แห่ง คือ สถานีต ารวจภูธรมะนัง สาธารณูปโภค ประกอบด้วย ไปรษณีย์เอกชน 2 แห่ง


แผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา กศน.อ าเภอมะนัง ระยะ 4 ปี พ.ศ. 2566 - 2569 ๓๖ ส่วนที่ 4 การวิเคราะห์บริบทขององค์กรกศน.อ าเภอมะนัง 1. สภาพทั่วไปของสถานศึกษา ชื่อสถานศึกษา : ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอ าเภอมะนัง ที่อยู่ : หมู่ที่ 7 ต าบลนิคมพัฒนา อ าเภอมะนัง จังหวัดสตูล รหัสไปรษณีย์ 91130 โทรศัพท์ 0 – 7477 – 4472 โทรสาร 0 – 7477 – 4472 website : http://satun.nfe.go.th/manang e-mail : [email protected] สังกัด : ส านักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยจังหวัดสตูล ส านักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ กระทรวงศึกษาธิการ 1.1. ประวัติความเป็นมาของสถานศึกษา ประวัติสถานศึกษา : ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอ าเภอมะนัง เริ่มจัดตั้งเมื่อ พ.ศ. 2539 ชื่อเดิม ศูนย์บริการการศึกษานอกโรงเรียนกิ่งอ าเภอมะนัง (กิ่งอ าเภอมะนัง ตั้งเป็นกิ่งอ าเภอ ตั้งแต่วันที่ 15 กรกฎาคม 2539 และยกฐานะเป็นอ าเภอมะนัง เมื่อวันที่ 8 กันยายน 2550) เริ่มแรกใช้อาคารศูนย์การเรียนชุมชนต าบลนิคมพัฒนา เป็น ส านักงานชั่วคราว โดยมี จ่าสิบเอกเกษมทรัพย์ ห่อทอง ด ารงต าแหน่งหัวหน้าศูนย์ คนแรก ต่อมาได้ย้ายมาใช้อาคารของส านักงาน ประถมศึกษาอ าเภอมะนัง (เดิม) ซึ่งตั้งอยู่ภายในศูนย์ราชการอ าเภอมะนัง หมู่ที่ 1 ต าบลปาล์มพัฒนา เป็นส านักงาน และปรับปรุงศูนย์การ เรียนชุมชนต าบลนิคมพัฒนา เป็นห้องสมุดประชาชนอ าเภอมะนัง ปัจจุบันเปลี่ยนชื่อเป็น “ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอ าเภอมะนัง” ตามประกาศ กระทรวงศึกษาธิการ ลงวันที่ 10 มีนาคม 2551 ตั้งอยู่หมู่ที่ 7 บ้านผัง 15 ต าบลนิคมพัฒนา อ าเภอมะนัง จังหวัดสตูล โดย มี นางสาวจตุพร ทหารไทย ด ารงต าแหน่ง ครูช านาญการรักษาการในต าแหน่ง ผู้อ านวยการสถานศึกษา เมื่อวันที่ 6 มกราคม 2563 ท าเนียบผู้บริหาร ตาราง ท าเนียบผู้บริหาร กศน.อ าเภอมะนัง จนถึงปัจจุบัน ล าดับ ที่ ชื่อ – สกุล ต าแหน่ง ระยะเวลาที่ด ารงต าแหน่ง 1. จ่าสิบเอกเกษมทรัพย์ ห่อทอง หัวหน้าศูนย์ 1 1 ตุลาคม 2541 - 30 กันยายน 2544 2. นายเฉลิมชัย อาคาสุวรรณ หัวหน้าศูนย์ 1 1 ตุลาคม 2544 – 30 กันยายน 2547 3. นายคณาธิป บุญญารัตน์ รักษาการ ผู้อ านวยการ 1 พฤศจิกายน 2547 – 23 พฤศจิกายน 2548 4. นางอนุรักษ์ สงข า ผู้อ านวยการ 24 พฤศจิกายน 2548 – 16 มีนาคม 2551 5. นายศิริพงษ์ บัวแดง ผู้อ านวยการ 17 มีนาคม 2551 – 17 ตุลาคม 2551 6. นางละเอียด ละใบสะอาด รักษาการ ผู้อ านวยการ 18 ตุลาคม 2551 – 11 พฤศจิกายน 2552


แผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา กศน.อ าเภอมะนัง ระยะ 4 ปี พ.ศ. 2566 - 2569 ๓๗ ล าดับ ที่ ชื่อ – สกุล ต าแหน่ง ระยะเวลาที่ด ารงต าแหน่ง 7 นางดัชนี ปิยะพงษ์ ผู้อ านวยการ 12 ตุลาคม 2552 – 8 พฤศจิกายน 2553 8. นายประเจตน์ กฤษณะพันธุ์ รักษาการ ผู้อ านวยการ 9 พฤศจิกายน 2553 – 14 กุมภาพันธ์ 2554 9. นายมรกต กันหนองผือ ผู้อ านวยการ 15 กุมภาพันธ์ 2554 – 30 กันยายน 2555 10. นายมรกต กันหนองผือ รักษาการ ผู้อ านวยการ 1 ตุลาคม 2555 – 14 สิงหาคม 2556 11. นางสาวนิตยา จิตภักดี ผู้อ านวยการ 15 สิงหาคม 2556 – 18 พฤศจิกายน 2558 12 นายณัฐภูมินทร์ สังข์พงศ์ ผู้อ านวยการ 19 พฤศจิกายน 2558 – 1 กันยายน 2560 13. นายอาด า ลิงาลาห์ ผู้อ านวยการ 3 พฤศจิกายน 2560 – 5 มกราคม 2563 14. นางสาวจตุพร ทหารไทย ครู รักษาการ ผู้อ านวยการ 6 มกราคม 2563 –ปัจจุบัน อัตลักษณ์ ภาคีเครือข่ายเด่น เน้นความพอเพียง ปรัชญา การศึกษาสร้างปัญญา ปัญญาพัฒนาคุณภาพชีวิต วิสัยทัศน์ “กศน.อ าเภอมะนัง มุ่งมั่นพัฒนาประชาชนให้ได้รับโอกาสการศึกษาตลอดชีวิตอย่างมีคุณภาพ สอดคล้อง กับหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง มีทักษะที่จ าเป็นต่อการเรียนรู้ในโลกศตวรรษที่ 21 โดยอาศัยพลังความ ร่วมมือจากภาคีเครือข่าย และเทคโนโลยีที่เหมาะสมมาใช้ในการบริหารจัดการ” พันธกิจ 1. จัดและส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย ให้กับกลุ่มเป้าหมายทุกช่วงวัยอย่าง มีคุณภาพ 2. ส่งเสริมการมีส่วนร่วมของภาคีเครือข่ายในการด าเนินงานการศึกษานอกระบบและการศึกษาตาม อัธยาศัย 3. ส่งเสริมภูมิปัญญาพัฒนาแหล่งเรียนรู้ เพื่อให้เกิดการเรียนรู้ตลอดชีวิตในชุมชนอย่างต่อเนื่อง 4. มีหลักสูตรสถานศึกษา และหลักสูตรท้องถิ่นที่สอดคล้องกับความต้องการของสังคมและชุมชน 5. คิดค้นนวัตกรรมและน าเทคโนโลยีที่เหมาะสมมาใช้ในการจัดการศึกษา 6. พัฒนาครูและบุคลากรให้มีความรู้ความสามารถในการจัดการศึกษานอกระบบและการศึกษาตาม อัธยาศัย 7. พัฒนาระบบการประกันคุณภาพภายในสถานศึกษาให้มีประสิทธิภาพ


แผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา กศน.อ าเภอมะนัง ระยะ 4 ปี พ.ศ. 2566 - 2569 ๓๘ การวิเคราะห์สภาพขององค์กร SWOT Analysis ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย อ าเภอมะนังได้วิเคราะห์สภาพแวดล้อมภายใน (Internal Environment Analysis) โดยใช้เครื่องมือ 7S Model ของR. Waterman เพื่อประเมินจุดแข็ง (Strength) และจุดอ่อน (Weakness) ขององค์กร ประกอบด้วย 1. ระบบการท างาน (System) 2. โครงสร้างองค์กร (Structure) 3. กลยุทธ (Strategy) 4. บุคลากร (Staff) 5. ความสามารถหลักขององค์กร (Skill) 6. ลักษณะการท างาน (Style) 7. ค่านิยมรวม (Shared Values) 1. การวิเคราะห์สภาพแวดล้อมภายใน ด้านที่ 1 โครงสร้างและนโยบาย จุดแข็ง 1. โครงสร้างการบริหารงานของสถานศึกษามีความชัดเจน 2. นโยบายในการจัดการศึกษามีความชัดเจน จุดอ่อน 1. การน านโยบายไปสู่การปฏิบัติบางนโยบายท าได้ค่อนข้างยาก 2. นโยบายมีการเปลี่ยนแปลงบ่อย ด้านที่ 2 ผลผลิตและการบริการ จุดแข็ง 1. หลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐานมีความยืดหยุ่นเหมาะกับผู้เรียนที่ขาดโอกาส พลาดโอกาส ด้อยโอกาส 2. หลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐานเปิดโอกาสให้ผู้เรียนสามารถน าประสบการณ์มาเทียบโอนผลการ เรียนได้ 3. ผู้เรียนการศึกษาขั้นพื้นฐานมีคุณธรรม จริยธรรม และค่านิยมที่พึ่งประสงค์ (เน้นจิตอาสา) 4. หลักสูตรการศึกษาต่อเนื่องมีความหลากหลาย ตรงกับความต้องการของผู้เรียน/ผู้รับบริการ 5. ผู้เรียนการศึกษาต่อเนื่อง สามารถน าความรู้ไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจ าวันได้ /สร้างอาชีพ สร้างรายได้ /ด าเนินชีวิตตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง 6. การจัดการศึกษาอัธยาศัยให้บริการทุกเพศ ทุกช่วงวัย มีกิจกรรมที่หลากหลายและสามารถ ให้บริการกระจายลงทุกพื้นที่อย่างทั่วถึง 7. ผู้รับบริการการศึกษาตามอัธยาศัย สามารถน าความรู้ไปพัฒนาตนเองได้ /มีความคิด สร้างสรรค์และกล้าแสดงออก จุดอ่อน 1. หลักสูตรสถานศึกษา ไม่ได้รับการทบทวน เพื่อปรับปรุงพัฒนาอย่างต่อเนื่อง 2. ผู้เรียน มีผลการเรียนเฉลี่ยต่ ากว่าเกณฑ์ที่สถานศึกษาก าหนด 3. หลักสูตรต่อเนื่อง ไม่ได้รับการทบทวน เพื่อปรับปรุงพัฒนาอย่างต่อเนื่อง 4. ห้องสมุดมีผู้เข้ามาใช้บริการค่อนข้างน้อย


แผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา กศน.อ าเภอมะนัง ระยะ 4 ปี พ.ศ. 2566 - 2569 ๓๙ ด้านที่ 3 บุคลากร จุดแข็ง 1. ผู้บริหารมีวิสัยทัศน์ 2. บุคลากรมีการท างานเป็นทีม มีความรักความสามัคคี มีความมุ่งมั่นในการปฏิบัติงาน ที่ดี 3. บุคลากรมีการพัฒนาตนเองอย่างต่อเนื่อง 4. บุคลากรส่วนใหญ่เป็นคนที่อาศัยในพื้นที่ เข้าใจบริบทของพื้นที่เป็นอย่างดี จุดอ่อน 1. มีการเปลี่ยนแปลงผู้บริหารสถานศึกษาค่อนข้างบ่อย 2. บุคลากรมีจ านวนไม่เพียงพอต่อภาระงาน /มีภาระงานมากจนส่งผลกระทบต่อการ พบกลุ่ม 3. บุคลากรจบไม่ตรงตามสาขาวิชาที่สอน 4. บุคลากรขาดทักษะการใช้ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร ด้านที่ 4 ประสิทธิภาพทางการเงิน จุดแข็ง 1. ได้รับจัดสรรงบประมาณเพียงพอ 2. การบริหารงบประมาณเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพและคุ้มค่า 3. การเบิกจ่ายงบประมาณเป็นไปตามระเบียบของทางราชการ จุดอ่อน การจัดสรรงบประมาณในบางกิจกรรมมีความล่าช้า ท าให้การจัดกิจกรรมไม่เป็นไปตามแผนที่ ก าหนด ด้านที่ 5 วัสดุอุปกรณ์ จุดแข็ง วัสดุอุปกรณ์ในการปฏิบัติงานมีเพียงพอ จุดอ่อน 1. วัสดุอุปกรณ์/เทคโนโลยีที่ไม่ทันสมัยไม่รองรับกับการท างานในยุคปัจจุบัน 2. ขาดการดูแลและบ ารุงรักษาเนื่องจากบุคลากรไม่มีความรู้ทางด้านการซ่อมบ ารุง ด้านที่ 6 การบริหารจัดการ จุดแข็ง 1. สถานศึกษามีกฎระเบียบที่ชัดเจนในการปฏิบัติงาน 2. มีค าสั่งการปฏิบัติงานที่ชัดเจน/ มีแผนการปฏิบัติงานที่ชัดเจน 3. มีการติดตามผลการปฏิบัติงานอย่างต่อเนื่อง จุดอ่อน 1. นโยบายเร่งด่วนค่อนข้างมาก ส่งผลกระทบต่อการด าเนินงานบางกิจกรรมไม่เป็นไปตามแผน 2. บางกิจกรรม ขาดการน าผลการนิเทศติดตามไปปรับปรุง และพัฒนาการด าเนินงานอย่าง ต่อเนื่อง


แผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา กศน.อ าเภอมะนัง ระยะ 4 ปี พ.ศ. 2566 - 2569 ๔๐ 2. การวิเคราะห์สภาพแวดล้อมภายนอก ด้านที่ 1 สังคมและวัฒนธรรม โอกาส 1. มีสภาพสังคมพหุวัฒนธรรม ที่ชาวไทยพุทธ - มุสลิม อยู่แบบพึ่งพาอาศัย และช่วยเหลือซึ่งกันและกัน 2. ได้รับความร่วมมือจากประชาชนและภาคีเครือข่ายเป็นอย่างดี 3. มีการรักษาไว้ซึ่งขนบธรรมเนียมประเพณีของชุมชนได้เป็นอย่างดี 4. มีภูมิปัญญาชาวบ้านและแหล่งเรียนรู้ที่หลากหลาย อุปสรรค สภาพสังคมมีปัญหายาเสพติดค่อนข้างเยอะ/ปัญหาท้องก่อนวัยอันควร/ผู้เรียนใช้สื่อโซเชียลมีเดียมากเกิน ความจ าเป็น ด้านที่ 2 เทคโนโลยี โอกาส มีช่องทางการสื่อสารที่หลากหลายและรวดเร็วในการปฏิบัติงาน เช่น ไลน์เฟสบุ๊ค เว็บเพจต่าง อุปสรรค สื่อเทคโนโลยีที่ทันสมัยที่ใช้ในการจัดการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยใน กศน.ต าบล และ ห้องสมุดประชาชนมีไม่เพียงพอต่อความต้องการของผู้เรียนและผู้รับบริการ ด้านที่ 3 เศรษฐกิจ โอกาส 1. มีทรัพยากรทางด้านการเกษตรที่ค่อนข้างอุดมสมบูรณ์ 2. มีสถานที่ท่องเที่ยวที่สามารถดึงดูดนักท่องเที่ยวเข้ามาสร้างรายได้ให้กับประชาชนในพื้นที่ อุปสรรค ราคาพืชผลทางการเกษตรตกต่ า ด้านที่ 4 การเมืองและกฎหมาย โอกาส 1. มีระเบียบกฎหมายให้ถือปฏิบัติอย่างเคร่งครัด 2. การเมืองท้องถิ่นมีเสถียรภาพ 3. รัฐบาลมียุทธศาสตร์ที่ชัดเจนในการบริหารประเทศ (ยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี) 4. ประชาชนมีความรู้ความเข้าใจในกฎหมาย อุปสรรค 1. มีการเปลี่ยนแปลงผู้บริหารระดับกระทรวงค่อนข้างบ่อย ท าให้นโยบายเปลี่ยนแปลงบ่อย 2. ประชาชนบางส่วนไม่ปฏิบัติตามกฎหมายที่ก าหนด เช่น กฎหมายจราจร กฎหมายการ เลือกตั้ง เป็นต้น


แผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา กศน.อ าเภอมะนัง ระยะ 4 ปี พ.ศ. 2566 - 2569 ๔๑ 3. การก าหนดกลยุทธ์จาก SWOT 3.1 กลยุทธ์จาก จุดแข็งและโอกาส (SO) 1. พัฒนาและส่งเสริมให้ผู้รับบริการได้ใช้แหล่งเรียนรู้ที่มีในชุมชน 2..พัฒนาบุคลากรด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ เพื่อน าความรู้มาใช้ในการปฏิบัติงาน 3. พัฒนาระบบเทคโนโลยีในการสนับสนุนการปฏิบัติงาน 4. ส่งเสริมการมีส่วนร่วมของภาคีเครือข่ายในการด าเนินงาน 3.2 กลยุทธ์จาก จุดแข็งและอุปสรรค (ST) 1. พัฒนาระบบบริหารจัดการให้มีประสิทธิภาพ 2. เสริมสร้างวัฒนธรรมการท างานให้แก่บุคลากรโดยใช้หลักธรรมาภิบาล เพื่อพัฒนาระบบการประสานงาน ที่ดีและมีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น 3. มีความสัมพันธ์ที่ดีกับภาคีเครือข่าย ท าให้ภาคีเครือข่ายมีส่วนร่วมในการวางแผนและร่วมพัฒนา กิจกรรมต่างที่ กศน. จัดในพื้นที่ 3.3 กลยุทธ์จาก จุดอ่อนและโอกาส (WO) 1. พัฒนาระบบการให้บริการข้อมูลข่าวสารกับกลุ่มเป้าหมายอย่างรวดเร็วและทั่วถึง 3.4 กลยุทธ์จาก จุดอ่อนและอุปสรรค (WT) 1. จัดกิจกรรมพัฒนาผู้เรียนเพื่อส่งเสริมการเรียนรู้และช่วยเหลือผู้เรียน 2. ทบทวน ปรับปรุงระบบการจัดการเรียนการสอนที่รองรับความหลากหลายและสอดคล้องกับบริบทของ พื้นที่


แผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา กศน.อ าเภอมะนัง ระยะ 4 ปี พ.ศ. 2566 - 2569 ๔๒ เป้าประสงค์และตัวชี้วัดความส าเร็จ เป้าประสงค์ ตัวชี้วัดความส าเร็จ (เชิงปริมาณและเชิงคุณภาพ) 1.ประชาชนทุกช่วงวัยได้รับโอกาสทางการศึกษาใน รูปแบบการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขั้น พื้นฐาน การศึกษาต่อเนื่อง และการศึกษาตาม อัธยาศัยอย่างมีคุณภาพ 1.ร้อยละของประชากรกลุ่มเป้าหมาย อ่านออก เขียน ภาษาไทยขั้นพื้นฐาน 2. ร้อยละของกลุ่มเป้าหมายจบหลักสูตรการศึกษาขั้น พื้นฐาน 3. ร้อยละของกลุ่มเป้าหมายจบหลักสูตรการศึกษาต่อเนื่อง 4. กลุ่มเป้าหมายมีทักษะพื้นฐานอาชีพหลังจากจบการศึกษา ต่อเนื่อง 5. กลุ่มเป้าหมายมีความพึงพอใจโครงการ/กิจกรรม 6. จ านวนประชาชนที่เข้ารับบริการการศึกษาตามอัธยาศัย ได้รับความรู้และมีทักษะที่เอื้อต่อการเรียนรู้ตลอดชีวิต 2.มีภาคีเครือข่ายมาร่วมจัดการศึกษานอกระบบและ การศึกษาตามอัธยาศัย 1. จ านวนภาคีเครือข่าย 2. ร้อยละความพึงพอใจการร่วมจัดกิจกรรมของภาคี เครือข่าย 3.มีการเชื่อมโยงภูมิปัญญา และแหล่งเรียนรู้ที่ส่งเสริม การเรียนรู้ตลอดชีวิตในชุมชน 1. ร้อยละของผู้รับบริการมีความพึงพอใจ 2. จ านวนแหล่งเรียนรู้หรือจุดให้บริการการเรียนรู้ 4.มีหลักสูตรสถานศึกษาและหลักสูตรท้องถิ่นที่ สอดคล้องกับความต้องการของสังคมและชุมชน 1. ร้อยละของผู้รับบริการมีความพึงพอใจ 2. จ านวนแหล่งเรียนรู้หรือจุดให้บริการการเรียนรู้ 5.มีสื่อ เทคโนโลยีและกระบวนการจัดการเรียนรู้ที่มี คุณภาพ 1. จ านวนสื่อ เทคโนโลยี หลากหลาย เพียงพอ 2. ร้อยละของผู้รับบริการมีความพึงพอใจ 6.ครูและบุคลากรได้รับการพัฒนาให้มีความรู้ ความสามารถในการจัดการศึกษานอกระบบและ การศึกษาตามอัธยาศัยอย่างมีประสิทธิภาพ 1.ร้อยละของครูที่ได้รับการพัฒนาตนเอง 2.ร้อยละของครูที่น ามาพัฒนาตนเอง 7.มีระบบการบริหารจัดการที่มีประสิทธิภาพตาม หลักธรรมาภิบาล สถานศึกษาผ่านเกณฑ์การประเมินคุณภาพตามเกณฑ์การ ประเมิน 8.มีระบบการประกันคุณภาพภายในที่มีประสิทธิภาพ เชื่อถือได้ สถานศึกษาผ่านเกณฑ์การประเมินคุณภาพตามเกณฑ์การ ประเมิน


แผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา กศน.อ าเภอมะนัง ระยะ 4 ปี พ.ศ. 2566 - 2569 ๔๓ กลยุทธ์การด าเนินงาน กลยุทธ์ที่ 1 เพิ่มโอกาสการเข้าถึงการศึกษาตลอดชีวิตให้กับคนทุกช่วงวัย กลยุทธ์ที่ 2 ส่งเสริมและพัฒนาผู้เรียน/ผู้รับบริการให้มีคุณภาพ กลยุทธ์ที่ 3 ขยายความร่วมมือภาคีเครือข่าย กลยุทธ์ที่ 4 ขยายภูมิปัญญาและพัฒนาแหล่งเรียนรู้ให้เกิดการเรียนรู้อย่างต่อเนื่อง กลยุทธ์ที่ 5 พัฒนาหลักสูตร นวัตกรรมและสื่อเทคโนโลยีให้ทันสมัยและมีประสิทธิภาพ กลยุทธ์ที่ 6 พัฒนาครูและบุคลากรให้มีคุณภาพและเป็นมืออาชีพ กลยุทธ์ที่ 7 พัฒนาระบบการบริหารจัดการให้มีประสิทธิภาพตามหลักธรรมาภิบาล กลยุทธ์ที่ 8 ส่งเสริมและพัฒนาระบบการประกันคุณภาพภายในให้มีประสิทธิภาพ


แผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา กศน.อ าเภอมะนัง ระยะ 4 ปี พ.ศ. 2566 - 2569 ๔๔ ค่าเป้าหมายของสถานศึกษาเพื่อใช้ในการประเมินคุณภาพการศึกษาตามมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา ประจ าปีงบประมาณ 2566 ตามที่ ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอ าเภอมะนัง ได้ก าหนด และประกาศ ใช้มาตรฐาน การศึกษาของสถานศึกษา ตามประกาศ ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอ าเภอมะนัง เรื่อง การใช้ มาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษาเพื่อการประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา ลงวันที่ 6 กุมภาพันธ์ 2563 เพื่อใช้ในการ เทียบเคียง ตรวจสอบ ประเมินผล และการประกันคุณภาพการศึกษา ไว้นั้น เพื่อเป็นการก าหนดเป้าหมายของการพัฒนาผู้เรียนของสถานศึกษา ตามแนวทางการประเมินคุณภาพ การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย จึงมีการก าหนดค่าเป้าหมายเกี่ยวกับผลลัพธ์ที่จะ ให้เกิดแก่ผู้เรียน โดยการมีส่วนร่วมของผู้บริหารสถานศึกษา และบุคลากรของสถานศึกษา เพื่อใช้ในการเทียบเคียง ตรวจสอบ ประเมินผล และการประกันคุณภาพทางการศึกษาเฉพาะในประเด็นการพิจารณา สมควรจัดให้มีการก าหนด ค่าเป้าหมาย ส าหรับใช้ในการประเมินคุณภาพภายในสถานศึกษาอย่างต่อเนื่อง ประจ าปีงบประมาณ 2566 ไว้ดังนี้ มาตรฐานการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน ประเด็นการพิจารณาที่1.1 ผู้เรียนการศึกษาขั้นพื้นฐานมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนที่ดีสอดคล้องกับหลักสูตร สถานศึกษา ประเด็นการพิจารณาที่1.1 ผู้เรียนการศึกษาขั้นพื้นฐานมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนที่ดีสอดคล้องกับหลักสูตร สถานศึกษา ค่าเป้าหมายที่ก าหนดไว้ คือ สถานศึกษามีการก าหนดคะแนนผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน รายวิชาบังคับที่ ไว้เป็นค่าเป้าหมาย โดยก าหนดจาก คะแนนเฉลี่ยผลการสอบปลายภาคปี 2564 ระดับ/รายวิชา ค่าสถิติคะแนนปลายภาค ปี 2564 ค่าเป้าหมาย ปี 2566 ผลคะแนนเฉลี่ย ปี 2566 ประถมศึกษา 2/63 (+0.02) 2/65 คณิตศาสตร์ 16.67 16.69 สังคมศึกษา 18.25 18.27 ช่องทางการเข้าสู่อาชีพ 14.67 14.69 การพัฒนาตนเอง ชุมชน สังคม 13.8 13.82 มัธยมศึกษาตอนต้น คณิตศาสตร์ 13.88 13.9 สังคมศึกษา 19.62 19.64 ช่องทางการพัฒนาอาชีพ 16.79 16.81 การพัฒนาตนเอง ชุมชน สังคม 19.07 19.09 มัธยมศึกษาตอนปลาย คณิตศาสตร์ 12.98 13 สังคมศึกษา 16.93 16.95 ช่องทางการขยายสู่อาชีพ 18.03 18.05


แผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา กศน.อ าเภอมะนัง ระยะ 4 ปี พ.ศ. 2566 - 2569 ๔๕ ประถมศึกษา 1/64 (+0.02) 1/66 ภาษาไทย 13 13.02 ทักษะการประกอบอาชีพ 27 27.02 พัฒนาอาชีพให้มีอยู่มีกิน 19.5 19.52 ศาสนาและหน้าที่พลเมือง 28 28.02 มัธยมศึกษาตอนต้น ภาษาไทย 20.71 20.73 ทักษะการพัฒนาอาชีพ 17.07 17.09 พัฒนาอาชีพให้มีความเข้มแข็ง 15.41 15.09 ศาสนาและหน้าที่พลเมือง 19.79 19.81 มัธยมศึกษาตอนปลาย ภาษาไทย 16.16 16.18 ทักษะการขยายอาชีพ 16.95 16.97 พัฒนาอาชีพให้มีความมั่นคง 16.58 16.6 ศาสนาและหน้าที่พลเมือง 20.98 21 การพัฒนาตนเอง ชุมชน สังคม 17.14 17.16 ประเด็นการพิจารณาที่ 1.2 ผู้เรียนการศึกษาขั้นพื้นฐานมีคุณธรรม จริยธรรม ค่านิยม และคุณลักษณะที่ดี ตามที่สถานศึกษาก าหนด ค่าเป้าหมายที่ก าหนดไว้ คือ สถานศึกษาคาดว่าจะมีผู้เรียนการศึกษาขั้นพื้นฐานที่ได้รับการยกย่อง เชิดชูเกียรติ หรือ เป็นแบบอย่างที่ดีในด้านที่เกี่ยวข้องกับการมีคุณธรรม จริยธรรม ค่านิยม หรือคุณลักษณะที่ดี จ านวน 8 คน ค่าเป้าหมายปี 66 ค่าเป้าหมายปี 67 ค่าเป้าหมายปี 68 ค่าเป้าหมายปี 69 8 คน 10 คน 12 คน 14 คน ประเด็นการพิจารณาที่ 1.3 ผู้เรียนการศึกษาขั้นพื้นฐานมีความสามารถในการคิดวิเคราะห์ คิดอย่างมี วิจารณญาณ และแลกเปลี่ยนความคิดเห็นร่วมกับผู้อื่น ค่าเป้าหมายที่ก าหนดไว้ คือ สถานศึกษาคาดว่าจะมีผู้เรียนการศึกษาขั้นพื้นฐานที่มีความสามารถ ในการคิดวิเคราะห์ ไตร่ตรองอย่างรอบคอบ โดยใช้ข้อมูลและเหตุผลประกอบการตัดสินใจ แก้ไขปัญหาได้อย่าง ถูกต้อง สมเหตุสมผล และสามารถแลกเปลี่ยนความคิดเห็นร่วมกับผู้อื่นได้ จ านวน ร้อยละ 3 ของผู้เรียนทั้งหมด ค่าเป้าหมายปี 66 ค่าเป้าหมายปี 67 ค่าเป้าหมายปี 68 ค่าเป้าหมายปี 69 ร้อยละ 3 ของผู้เรียน ทั้งหมด ร้อยละ 3.5 ของผู้เรียน ทั้งหมด ร้อยละ 4 ของผู้เรียน ทั้งหมด ร้อยละ 4.5 ของผู้เรียน ทั้งหมด


Click to View FlipBook Version