The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

คู่มือการประเมิน BANGKOKITA 2022 ของสํานักงานเขต กรุงเทพมหานคร ประจําปีงบประมาณ พ.ศ. 2565

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by paporn, 2022-01-04 21:36:51

คู่มือการประเมิน BANGKOKITA 2022 ของสํานักงานเขต กรุงเทพมหานคร ประจําปีงบประมาณ พ.ศ. 2565

คู่มือการประเมิน BANGKOKITA 2022 ของสํานักงานเขต กรุงเทพมหานคร ประจําปีงบประมาณ พ.ศ. 2565

Keywords: คู่มือการประเมิน,BANGKOKITA

คมู ือ เขตบางกอกนอย เขตตล่ิงชัน
เขตคลองสาน
การประเมนิ
เขตหว ยขวาง
คุณธรรมและความโปรง ใส เขตบางกอกใหญ
เขตธนบุรี
ในการดําเนนิ งานของหนวยงานภาครัฐ
เขตพญาไท
(Integrity and Transparency Assessment : ITA)
เขตสัมพันธวงศ
ของสาํ นักงานเขต กรงุ เทพมหานคร
เขตยานนาวา
ประจําปงบประมาณ พ.ศ. 2565
เขตลาดกระบงั

เขตมนี บุรี

เขตพระโขนง

เขตปอ มปราบศัตรพู า ย
เขตปทุมวนั

เขตบางกะป

BANGKOKITA 2022เขตบางเขน
เขตบางรกั
เขตหนองจอก

เขตดุสติ
เขตพระนคร

เขตภาษเี จรญิ

เขตบางขนุ เทยี น

เขตดอนเมือง



ค�ำ นำ�

ค่มู อื การประเมนิ คณุ ธรรมและความโปร่งใสในการดำ�เนนิ งานของหนว่ ยงานภาครฐั (Integrity & Transparency
Assessment : ITA) ของสำ�นักงานเขต กรงุ เทพมหานคร ประจำ�ปงี บประมาณ พ.ศ. 2565 ฉบับน้ี มีวตั ถปุ ระสงคเ์ พอ่ื ให้
ส�ำ นักงานเขต กรุงเทพมหานคร ทเี่ ข้ารว่ มประเมิน มคี วามรู้ความเข้าใจในกรอบการประเมนิ เครอ่ื งมือและกระบวนการ
ประเมนิ ระบบ BANGKOKITA ซ่ึงเป็นระบบท่ีใช้ส�ำ หรบั การเกบ็ ข้อมูลและประมวลผลการประเมนิ ทีส่ ำ�นักงาน ป.ป.ช.
ได้พฒั นาขึ้น

สำ�นักงาน ป.ป.ช. หวังเป็นอย่างย่ิงว่าคู่มือการประเมินคุณธรรมและความโปร่งใสในการดำ�เนินงานของ
หน่วยงานภาครัฐ (Integrity & Transparency Assessment : ITA) ของสำ�นักงานเขต กรุงเทพมหานคร
ประจำ�ปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 ฉบับน้ี จะเป็นประโยชน์และสามารถสร้างความเข้าใจเกี่ยวกับแนวทางการประเมิน
ตลอดจนวิธีการเก็บข้อมูลที่เป็นมาตรฐานในทิศทางเดียวกัน ท้ังนี้ หวังเป็นอย่างยิ่งว่าการประเมินคุณธรรมและ
ความโปรง่ ใสในการด�ำ เนนิ งานของหนว่ ยงานภาครฐั (Integrity & Transparency Assessment : ITA) ของส�ำ นกั งานเขต
กรุงเทพมหานคร จะเป็นการยกระดับและพัฒนามาตรการการส่งเสริมคุณธรรมและความโปร่งใสในการดำ�เนินงาน
ของส�ำ นกั งานเขต กรงุ เทพมหานคร ท้ังในระดบั นโยบายและระดับปฏิบัติได้ เพ่อื ให้เป็นไปตามยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี
(พ.ศ. 2561 - 2580) ด้านการปรับสมดุลและพัฒนาระบบการบริหารจัดการภาครัฐ ตลอดจนแผนแม่บทภายใต้
ยุทธศาสตร์ชาติ ประเด็นการต่อต้านการทจุ รติ และประพฤติมชิ อบ ต่อไป

สำ�นักประเมนิ คณุ ธรรมและความโปรง่ ใส
ส�ำ นักงาน ป.ป.ช.

คู่่ม� ืือการประเมิินคุณุ ธรรมและความโปร่่งใสในการดำ�ำ เนินิ งานของหน่่วยงานภาครัฐั 1
(Integrity and Transparency Assessment : ITA)

ของสำำ�นัักงานเขต กรุุงเทพมหานคร ประจำ�ำ ปีงี บประมาณ พ.ศ. 2565

สารบัญ

1. ข้อมลู พ้ืนฐานของการประเมนิ 4

1.1 ความสำ�คญั ของ ITA 4

1.2 การขยายการประเมิน ITA ลงสสู่ ำ�นกั งานเขต กรงุ เทพมหานคร 6

1.3 ขอ้ มลู โครงการ 8

2. ระเบียบวิธกี ารประเมนิ 10

2.1 วธิ กี ารและเคร่ืองมอื ท่ใี ชใ้ นการประเมิน 10
2.2 ประชากร และกลุม่ ตวั อยา่ ง 10
2.3 การประมวลผลคะแนน 11
2.4 การเกบ็ รกั ษาขอ้ มลู ทเี่ ป็นความลบั 13

3. กลมุ่ ตัวอย่างในการเกบ็ รวบรวมขอ้ มูล 14

4. การเก็บรวบรวมขอ้ มูล 15

5. รายละเอียดตวั ช้วี ัดทีใ่ ชใ้ นการประเมิน 18

ตัวชว้ี ดั ท่ี 1 การปฏิบัติหน้าที่ 18

ตัวชวี้ ดั ที่ 2 การใช้งบประมาณ 20

ตัวชวี้ ดั ท่ี 3 การใช้อำ�นาจ 22

ตัวชว้ี ดั ท่ี 4 การใช้ทรัพยส์ นิ ของราชการ 24

ตวั ชี้วัดที่ 5 การแก้ไขปญั หาการทุจริต 25

ตัวช้ีวดั ที่ 6 คุณภาพการด�ำ เนนิ งาน 27

ตวั ชว้ี ัดท่ี 7 ประสิทธิภาพการสื่อสาร 29

ตัวชวี้ ัดท่ี 8 การปรบั ปรงุ ระบบการท�ำ งาน 30

ตัวชี้วัดที่ 9 การเปิดเผยข้อมูล 32

ตัวช้วี ัดท่ี 10 การปอ้ งกนั การทจุ ริต 39

6. ปฏิทินการประเมิน 42

7. วธิ ีการดำ�เนนิ การประเมนิ ผา่ นระบบ BANGKOKITA 43

ภาคผนวก 56

• แบบวัดการรบั รู้ของผูม้ สี ว่ นได้สว่ นเสียภายใน (IIT) 57
• แบบวัดการรับรขู้ องผู้มสี ว่ นได้ส่วนเสียภายนอก (EIT) 67
• แบบตรวจการเปดิ เผยขอ้ มูลสาธารณะ (OIT) 75

BANGKOKITA 2022

การประเมิน

คณุ ธรรมและความโปรงใส

ในการดําเนนิ งานของหนวยงานภาครัฐ

(Integrity and Transparency Assessment : ITA)

ของสาํ นักงานเขต กรงุ เทพมหานคร

1. บทนำ� (Introduction)

1.1 ความสำำ�คัญั ของ ITA
สำำ�นัักงานคณะกรรมการป้้องกัันและปราบปรามการทุุจริิตแห่่งชาติิ (สำ�ำ นัักงาน ป.ป.ช.) ได้้พััฒนาเครื่�องมืือ

การประเมิินเชิิงบวกเพื่�อเป็็นมาตรการป้้องกัันการทุุจริิต และเป็็นกลไกในการสร้้างความตระหนัักให้้หน่่วยงานภาครััฐ
มีกี ารดำำ�เนิินงานอย่่างโปร่่งใสและมีคี ุุณธรรม โดยใช้ช้ื่�อว่่า “การประเมินิ คุณุ ธรรมและความโปร่่งใสในการดำำ�เนินิ งาน
ของหน่่วยงานภาครััฐ (Integrity and Transparency Assessment : ITA)” โดยมุ่�งหวัังให้้หน่่วยงานภาครััฐ
ที่ �เข้้ารัับการประเมิินได้้รัับทราบผลการประเมิินและแนวทางในการพััฒนาและยกระดัับหน่่วยงานในด้้านคุุณธรรม
และความโปร่ง่ ใสในการดำำ�เนิินงานได้อ้ ย่่างเหมาะสม

นอกจากนี้� การประเมิินคุุณธรรมและความโปร่่งใสในการดำ�ำ เนิินงานของหน่่วยงานภาครััฐ ยัังถููกกำำ�หนด
เป็น็ เป้า้ หมายที่่�สำ�ำ คัญั ในการพัฒั นา“การบริหิ ารราชการที่ด�่ ีี(GoodGovernance)”ของหน่ว่ ยงานภาครัฐั ในประเทศไทย
โดยแผนแม่่บท ประเด็น็ การต่่อต้้านการทุุจริิตและประพฤติิมิชิ อบ ภายใต้้ยุุทธศาสตร์์ชาติิ 20 ปีี (พ.ศ. 2561 - 2580)
“ด้า้ นการปรัับสมดุุลและพััฒนาระบบการบริิหารจัดั การภาครัฐั ” กำ�ำ หนดเป้้าหมายและตัวั ชี้้�วััดไว้ด้ ัังนี้� 1

เป้้าหมาย ตัวั ชี้้�วััด ค่า่ เป้า้ หมาย ปีี พ.ศ.

ประชาชนมีีวัฒั นธรรม ร้อ้ ยละของหน่่วยงาน 2561 - 2565 2566 - 2570 2571 - 2575 2576 - 2580
และพฤติิกรรมซื่�อสัตั ย์ส์ ุจุ ริติ ที่่�ผ่า่ นเกณฑ์ก์ ารประเมินิ ITA
ร้้อยละ 80 ร้อ้ ยละ 100 ร้้อยละ 80 ร้อ้ ยละ 100
85 คะแนน 85 คะแนน 90 คะแนน 90 คะแนน

ขึ้ �นไป ขึ้ �นไป ขึ้ �นไป ขึ้ �นไป

ตาราง ตััวชี้้�วัดั ภายใต้ ้ ยุุทธศาสตร์์ “ด้า้ นการปรัับสมดุุลและพััฒนาระบบการบริิหารจััดการภาครัฐั ”
ยุุทธศาสตร์ช์ าติิ 20 ปีี (พ.ศ. 2561 - 2580)

การประเมินิ คุณุ ธรรมและความโปร่ง่ ใสในการดำ�ำ เนินิ งานของหน่ว่ ยงานภาครัฐั ได้เ้ ริ่�มดำ�ำ เนินิ การในปีงี บประมาณ
พ.ศ. 2558 เป็น็ ต้น้ มา ซึ่�งปัจั จุบุ ันั ครอบคลุมุ การประเมินิ หน่ว่ ยงานภาครัฐั กว่า่ 8,300 หน่ว่ ยงาน และมีกี ารขยายขอบเขต
และพััฒนาให้้มีีประสิิทธิิภาพมากยิ่�งขึ้�นตามลำ�ำ ดัับ โดยใช้้แนวทางและเครื่�องมืือการประเมิินตามที่่�สำ�ำ นัักงาน ป.ป.ช.
กำำ�หนด รวมไปถึึงให้้หััวหน้้าส่่วนราชการให้้ความสำ�ำ คััญกัับการประเมิินคุุณธรรมและความโปร่่งใสในการดำำ�เนิินงาน
ของหน่่วยงานภาครััฐ และนำ�ำ ผลการประเมิินไปปรัับปรุุงพััฒนาตนเองด้้านคุุณธรรมและความโปร่่งใสอย่่างเคร่่งครััด
และให้้หน่่วยงานกำ�ำ กัับดููแลส่่วนราชการพิิจารณานำำ�ผลการประเมิินคุุณธรรมและความโปร่่งใสในการดำ�ำ เนิินงานของ
หน่ว่ ยงานภาครัฐั ไปประกอบการประเมินิ ผลการปฏิบิ ััติริ าชการของหน่ว่ ยงานในขอบเขตความรับั ผิดิ ชอบ ซึ่�งสอดคล้อ้ ง
กัับยุุทธศาสตร์์ชาติิ 20 ปีี (พ.ศ. 2561 - 2580) ด้้านการปรัับสมดุุลและพััฒนาระบบการบริิหารจััดการภาครััฐ

1 สำ�ำ นัักงานสภาพััฒนาการเศรษฐกิิจและสัังคมแห่่งชาติิ, แผนแม่่บทภายใต้้ยุุทธศาสตร์์ชาติิ (21) ประเด็็น การต่่อต้้านการทุุจริิตและประพฤติิมิิชอบ
(พ.ศ. 2561 – 2580), หน้า้ (9).

4 คู่่�มืือการประเมินิ คุณุ ธรรมและความโปร่่งใสในการดำำ�เนิินงานของหน่่วยงานภาครัฐั
(Integrity and Transparency Assessment : ITA)
ของสำ�ำ นัักงานเขต กรุุงเทพมหานคร ประจำ�ำ ปีีงบประมาณ พ.ศ. 2565

ที่�ได้้กำ�ำ หนดเป้้าหมายการพััฒนาที่�เน้้นการตอบสนองความต้้องการของประชาชนได้้อย่่างสะดวก รวดเร็็ว โปร่่งใส
ผ่่านการมีีหน่่วยงานภาครััฐที่่�มีีโครงสร้้างและภารกิิจที่�เหมาะสม และวััฒนธรรมการทํํางาน ที่�มุ่�งผลสััมฤทธิ์�และ
ผลประโยชน์์ของส่่วนรวม เปิิดโอกาสให้้ทุกุ ๆ ภาคส่่วนเข้้ามามีสี ่่วนร่ว่ มในการดํําเนินิ การบริิการสาธารณะ ตรวจสอบ
การดํําเนิินการของหน่่วยงานภาครัฐั และภาคส่่วนอื่�น ๆ ตลอดจนดํําเนิินการป้้องกัันและปราบปรามการทุจุ ริติ ในสังั คม
ได้อ้ ย่า่ งเหมาะสม

สำ�ำ หรัับรายละเอีียดแนวทางการขัับเคลื่�อนการประเมิินคุุณธรรมและความโปร่่งใสในการดำำ�เนิินงาน
ของหน่ว่ ยงานภาครัฐั สำ�ำ นักั งานป.ป.ช.มุ่�งเน้น้ การออกแบบการขับั เคลื่�อนการประเมินิ อย่า่ งเป็น็ ระบบรวมถึงึ ให้ค้ วามสำำ�คัญั
ในการพััฒนาเกณฑ์์การประเมิินให้้เกิิดการสนัับสนุุนต่่อการยกระดัับค่่าคะแนนดััชนีีการรัับรู้�การทุุจริิตของประเทศไทย
ได้้อย่า่ งเป็น็ รููปธรรม โดยมีขี อบเขตของหน่ว่ ยงานภาครัฐั ที่�เข้้ารัับการประเมิินดังั นี้�

การบริิหารราชการส่ว่ นกลาง ประกอบด้ว้ ย

องค์ก์ รอิสิ ระ องค์ก์ รอัยั การ ศาล หน่ว่ ยงานในสังั กัดั รัฐั สภา กรมหรือื เทีียบเท่า่ องค์ก์ ารมหาชน รัฐั วิสิ าหกิจิ
หน่ว่ ยงานของรัฐั อื่น� ๆ กองทุนุ สถาบันั อุดุ มศึกึ ษา มีขี อบเขตของหน่ว่ ยงานโดยเป็น็ การประเมินิ ในภาพรวมของหน่ว่ ยงาน
ซึ่ �งมีีขอบเขตการประเมิินครอบคลุุมการบริิหารราชการของหน่่วยงานส่่วนกลางและหน่่วยงานในระดัับพื้ �นที่ �ที่ �ขึ้ �นตรง
ต่่อส่ว่ นกลาง

การบริหิ ารราชการส่ว่ นภููมิิภาค ประกอบด้ว้ ย

จัังหวััด มีีขอบเขตของหน่่วยงานโดยเป็็นการประเมิินในภาพรวมของการบริิหารราชการส่่วนภููมิิภาค
ซึ่�งมีีขอบเขตการประเมิินครอบคลุุมเฉพาะกลไกการบริิหารราชการระดัับจัังหวััด ประกอบด้้วย สำำ�นัักงานจัังหวััด
และส่ว่ นราชการส่ว่ นภูมู ิภิ าคที่�อยู่�ในการควบคุมุ ดูแู ลของผู้้�ว่าราชการจังั หวัดั (ไม่ร่ วมราชการในจังั หวัดั ที่�ขึ้�นตรงต่อ่ ส่ว่ นกลาง
และราชการระดัับอำำ�เภอ สัังกััดกระทรวงมหาดไทย)

อำำ�เภอ ขอบเขตของหน่่วยงานโดยเป็็นการประเมิินในภาพรวมของการบริิหารราชการส่่วนภููมิิภาครองจาก
จัังหวััด ไม่ม่ ีีฐานะเป็็นนิติ ิิบุุคคล มีีนายอำำ�เภอเป็็นหััวหน้้าปกครอง มีอี ำำ�นาจบัังคัับบััญชาข้้าราชการฝ่่ายบริิหารราชการ
ส่ว่ นภูมู ิิภาค ซึ่�งสัังกััดกระทรวง ทบวง กรม ในอำำ�เภอ และรัับผิิดชอบงานบริิหารราชการของอำ�ำ เภอ

การบริิหารราชการส่ว่ นท้อ้ งถิ่�่น ประกอบด้้วย

องค์ก์ รปกครองส่ว่ นท้อ้ งถิ่น� มีขี อบเขตของหน่ว่ ยงานโดยเป็น็ การประเมินิ ในภาพรวมของการบริหิ ารราชการ
ส่ว่ นท้อ้ งถิ่�น ซึ่�งมีขี อบเขตการประเมินิ ครอบคลุมุ การบริหิ ารราชการขององค์ก์ รปกครองส่ว่ นท้อ้ งถิ่�นทั้�งข้า้ ราชการการเมือื ง
ฝ่า่ ยบริหิ าร ข้้าราชการการเมือื งฝ่่ายสภา และฝ่า่ ยประจำำ�ขององค์ก์ รปกครองส่ว่ นท้้องถิ่�น

กรุุงเทพมหานคร ตามพระราชบััญญััติิระเบีียบบริิหารราชการกรุุงเทพมหานคร พ.ศ. 2528 กำ�ำ หนดให้้
กรุงุ เทพมหานครมีสี ถานะเป็น็ นิติ ิบิ ุคุ คล และองค์ก์ รปกครองส่ว่ นท้อ้ งถิ่น� รูปู แบบพิเิ ศษ มีีผู้้�ว่า่ ราชการกรุงุ เทพมหานคร
มาจากการเลืือกตั้�งโดยตรง และเป็น็ ผู้้�รับผิดิ ชอบในการบริหิ ารงาน โดยมีีฝ่า่ ยนิิติบิ ััญญััติิ คืือ สภากรุุงเทพมหานคร

คู่่�มืือการประเมิินคุณุ ธรรมและความโปร่่งใสในการดำ�ำ เนิินงานของหน่่วยงานภาครัฐั 5
(Integrity and Transparency Assessment : ITA)

ของสำ�ำ นักั งานเขต กรุุงเทพมหานคร ประจำ�ำ ปีีงบประมาณ พ.ศ. 2565

1.2 การขยายการประเมิิน ITA ลงสู่ส่� ำำ�นัักงานเขต กรุุงเทพมหานคร
กรุุงเทพมหานคร ในฐานะเป็็นเมืืองหลวงของประเทศไทย เป็็นศููนย์์กลางการปกครอง การบริิหารราชการ

พาณิชิ ยกรรม และการเงินิ ของประเทศ รวมทั้�งเป็น็ ที่�ตั้�งของหน่ว่ ยงานภาครัฐั บรรษัทั ธุรุ กิจิ ขนาดใหญ่่ ผู้�ลงทุนุ ต่า่ งประเทศ
หอการค้า้ ต่า่ งประเทศ เป็น็ ด่า่ นหน้า้ ในการรองรับั การท่อ่ งเที่�ยวและการลงทุนุ จากต่า่ งประเทศ รวมทั้�งยังั เป็น็ แหล่ง่ พำ�ำ นักั
หรืือเป็็นพื้�นที่�หลัักในการเก็็บรวบรวมข้้อมููลของกลุ่�มเป้้าหมายที่�ตอบหรืือให้้ข้้อมููลแบบประเมิินของดััชนีีต่่าง ๆ ที่�เป็็น
แหล่ง่ ข้อ้ มูลู เป้า้ หมายส่ว่ นใหญ่ท่ี่�องค์ก์ รเพื่�อความโปร่ง่ ใสนานาชาติิ (Transparency International: TI) นำำ�ไปประมวลผล
ของดััชนีีการรับั รู้�การทุุจริิต (CPI) ของประเทศไทย

เพื่�อสะท้้อนให้้เห็็นถึึงบทบาทและความสำ�ำ คััญของกรุุงเทพมหานคร ในฐานะการเป็็นองค์์กรปกครองส่่วนท้อ้ งถิ่�น
รููปแบบพิิเศษ ที่่�ดำ�ำ เนิินงานตามพระราชบััญญััติิระเบีียบบริิหารราชการกรุุงเทพมหานคร มีีอำ�ำ นาจหน้้าที่�ในการ
บริกิ ารสาธารณะให้้แก่ป่ ระชาชน ซึ่�งแบ่ง่ พื้�นที่�การปกครองออกเป็น็ 50 เขต ซึ่�งแต่ล่ ะเขตมีีภารกิจิ และความรับั ผิดิ ชอบ
ในการจััดบริิการสาธารณะให้้แก่่ประชาชนในเขตพื้�นที่�ของตน รวมถึึงมีีประชาชน ผู้�ประกอบการ ภาคธุุรกิิจเอกชน
มาติิดต่่อราชการเพื่�อขออนุุมััติิ อนุุญาต จากสำ�ำ นัักงานเขตต่่าง ๆ เป็็นจำ�ำ นวนมาก แตกต่่างจากพื้�นที่่�จัังหวััดอื่�น ๆ
ที่่�มีรี ะบบการบริิหารราชการส่ว่ นท้้องถิ่�น โดยแบ่ง่ การบริิหารออกเป็็นองค์์กรปกครองส่่วนท้อ้ งถิ่�นรููปแบบต่่าง ๆ ได้้แก่่
องค์์การบริิหารส่่วนจัังหวััด เทศบาล และองค์์การบริิหารส่่วนตำำ�บล ซึ่�งองค์์กรปกครองส่่วนท้้องถิ่�นเหล่่านี้� ได้้เข้้ารัับ
การประเมินิ คุณุ ธรรมและความโปร่ง่ ใสในการดำำ�เนินิ งานของหน่ว่ ยงานภาครัฐั (Integrity & Transparency Assessment:
ITA) ทั้�งหมด

ดัังนั้�น เพื่�อให้้เกิิดการพััฒนาและยกระดัับการดำ�ำ เนิินงานของสำำ�นัักงานเขต กรุุงเทพมหานคร ให้้มีีคุุณธรรม
และมีีความโปร่่งใส รวมถึึงเทียี บเคีียงการดำำ�เนินิ งานให้ส้ อดรับั กับั พื้�นที่�ของจังั หวััดอื่�น ๆ ดังั ที่�กล่่าวมา คณะกรรมการ
ป.ป.ช. จึึงมีีมติิให้้ขยายการประเมิินคุุณธรรมและความโปร่่งใสในการดำ�ำ เนิินงานของหน่่วยงานภาครััฐ (Integrity &
Transparency Assessment: ITA) ไปยัังสำ�ำ นัักงานเขต กรุุงเทพมหานคร ซึ่�งถืือเป็็นการส่่งเสริิมการมีีส่่วนร่่วมและ
สร้้างกลไกการป้้องกัันการทุุจริิตในเขตพื้�นที่�กรุุงเทพมหานครอย่่างเป็็นรููปธรรมที่่�ชััดเจน เพื่�อให้้บรรลุุเป้้าหมายตาม
นโยบายในระดัับต่า่ ง ๆ ทั้�งในระดัับยุุทธศาสตร์ช์ าติิ 20 ปีี (พ.ศ. 2561 - 2580) แผนแม่บ่ ทประเด็น็ ที่� 21 การต่อ่ ต้า้ น
การทุจุ ริติ และประพฤติมิ ิชิ อบ รวมถึงึ เพื่�อยกระดับั ดัชั นีกี ารรับั รู้�การทุจุ ริติ หรือื CPI ของประเทศไทยอย่า่ งมีนี ัยั สำ�ำ คัญั อีกี ด้ว้ ย

การประเมิินคุณุ ธรรมและความโปร่ง่ ใสในการดำำ�เนินิ งานของหน่่วยงานภาครัฐั (Integrity and Transparency
Assessment: ITA) ของสำำ�นัักงานเขต กรุุงเทพมหานคร มีีการประเมิินสำ�ำ นัักงานเขต กรุุงเทพมหานคร ทั้�ง 50 เขต
แบ่่งเป็น็ 6 กลุ่�มเขต ได้้แก่่

1) กลุ่�มกรุุงเทพกลาง
2) กรุุงเทพใต้้
3) กรุงุ เทพเหนือื
4) กรุงุ เทพตะวันั ออก
5) กรุงุ ธนเหนืือ
6) กรุุงธนใต้้

6 คู่�่มือื การประเมิินคุณุ ธรรมและความโปร่่งใสในการดำำ�เนินิ งานของหน่่วยงานภาครัฐั
(Integrity and Transparency Assessment : ITA)
ของสำ�ำ นัักงานเขต กรุงุ เทพมหานคร ประจำ�ำ ปีงี บประมาณ พ.ศ. 2565

รายละเอีียดดังั ตารางต่่อไปนี้้�

กลุ่่�มกรุงุ เทพกลาง กลุ่่�มกรุงุ เทพใต้้ กลุ่่�มกรุุงเทพเหนืือ

สำำ�นัักงานเขตดินิ แดง สำำ�นัักงานเขตคลองเตย สำ�ำ นักั งานเขตจตุจุ ักั ร
สำ�ำ นักั งานเขตดุสุ ิิต สำ�ำ นัักงานเขตบางคอแหลม สำ�ำ นักั งานเขตดอนเมือื ง
สำำ�นัักงานเขตป้อ้ มปราบศัตั รูพู ่่าย สำ�ำ นัักงานเขตบางนา สำ�ำ นัักงานเขตบางเขน
สำ�ำ นักั งานเขตพญาไท สำ�ำ นักั งานเขตบางรััก สำำ�นักั งานเขตบางซื่�อ
สำำ�นัักงานเขตพระนคร สำำ�นักั งานเขตปทุมุ วััน สำ�ำ นัักงานเขตลาดพร้้าว
สำำ�นัักงานเขตราชเทวีี สำำ�นักั งานเขตพระโขนง สำ�ำ นัักงานเขตสายไหม
สำ�ำ นักั งานเขตวัังทองหลาง สำำ�นักั งานเขตยานนาวา สำ�ำ นัักงานเขตหลัักสี่�
สำ�ำ นักั งานเขตสััมพันั ธวงศ์์ สำ�ำ นักั งานเขตวััฒนา
สำ�ำ นัักงานเขตห้ว้ ยขวาง สำ�ำ นัักงานเขตสวนหลวง กลุ่่�มกรุุงธนใต้้
สำ�ำ นัักงานเขตสาทร
สำำ�นัักงานเขตทุ่ �งครุุ
กลุ่่�มกรุุงเทพตะวันั ออก กลุ่่�มกรุงุ ธนเหนือื สำ�ำ นัักงานเขตบางขุนุ เทียี น
สำำ�นักั งานเขตบางแค
สำำ�นัักงานเขตคลองสามวา สำำ�นัักงานเขตคลองสาน สำ�ำ นักั งานเขตบางบอน
สำ�ำ นักั งานเขตคันั นายาว สำำ�นักั งานเขตจอมทอง สำำ�นัักงานเขตภาษีีเจริิญ
สำำ�นักั งานเขตบางกะปิิ สำำ�นักั งานเขตตลิ่�งชันั สำำ�นักั งานเขตราษฎร์บ์ ูรู ณะ
สำ�ำ นัักงานเขตบึึงกุ่�ม สำ�ำ นักั งานเขตทวีวี ัฒั นา สำำ�นักั งานเขตหนองแขม
สำ�ำ นัักงานเขตประเวศ สำ�ำ นัักงานเขตธนบุรุ ีี
สำำ�นักั งานเขตมีนี บุรุ ีี สำำ�นัักงานเขตบางกอกน้อ้ ย
สำ�ำ นัักงานเขตลาดกระบััง สำ�ำ นักั งานเขตบางกอกใหญ่่
สำ�ำ นักั งานเขตสะพานสูงู สำ�ำ นัักงานเขตบางพลััด
สำ�ำ นักั งานเขตหนองจอก

คู่่�มือื การประเมินิ คุุณธรรมและความโปร่่งใสในการดำ�ำ เนินิ งานของหน่่วยงานภาครัฐั 7
(Integrity and Transparency Assessment : ITA)

ของสำำ�นัักงานเขต กรุุงเทพมหานคร ประจำำ�ปีีงบประมาณ พ.ศ. 2565

1.3 ข้อ้ มููลโครงการ
ปีีงบประมาณ พ.ศ. 2565 คณะกรรมการ ป.ป.ช. มีีมติิให้้ขยายการประเมิินคุุณธรรมและความโปร่่งใส

ในการดำำ�เนินิ งานของหน่ว่ ยงานภาครัฐั (Integrity and Transparency Assessment: ITA) ลงสู่�หน่ว่ ยงานระดับั ต่ำำ��กว่า่ กรม
ได้้แก่่ สำำ�นัักงานเขต กรุุงเทพมหานคร สถานีีตำำ�รวจนครบาล และอำ�ำ เภอ เพื่�อเป็น็ การผลัักดัันการประเมิินคุุณธรรมและ
ความโปร่ง่ ใสในการดำำ�เนินิ งานของหน่ว่ ยงานภาครัฐั (Integrity and Transparency Assessment: ITA) ของสำำ�นักั งานเขต
กรุุงเทพมหานคร สำำ�นัักประเมิินคุุณธรรมและความโปร่่งใส จึึงได้้พััฒนารายละเอีียดเนื้�อหาและขั้�นตอนการประเมิิน
ให้้เกิิดความครบถ้้วนสมบููรณ์์ยิ่�งขึ้�น โดยมุ่�งเน้้นการพััฒนาและออกแบบการประเมิินอย่่างเป็็นระบบ ลดภาระของ
หน่่วยงาน ลดการใช้้จ่่ายงบประมาณ โดยได้้สัังเคราะห์์ผลการวิิจััยเรื่�องแนวทางการปรัับปรุุงและแนวการพััฒนา
เครื่�องมือื การประเมินิ คุณุ ธรรมและความโปร่ง่ ใสในการดำ�ำ เนินิ งานของหน่ว่ ยงานภาครัฐั เพื่�อนำำ�ไปสู่�การยกระดับั คะแนน
ดัชั นีกี ารรับั รู้�การทุจุ ริติ (Corruption Perceptions Index: CPI) ของประเทศไทยให้ส้ ูงู ขึ้�น ซึ่�งจัดั ทำำ�โดย คณะเศรษฐศาสตร์์
จุุฬาลงกรณ์์มหาวิิทยาลััย และได้้ศึึกษาข้้อมููลทางวิิชาการต่่าง ๆ ที่�เกี่�ยวข้้องกัับการออกแบบและพััฒนาเครื่�องมืือ
การประเมินิ ด้า้ นความโปร่ง่ ใส คุณุ ธรรมจริยิ ธรรม และการทุจุ ริติ ทั้�งเครื่�องมือื ของประเทศไทย และเครื่�องมือื ที่�เกี่�ยวข้อ้ ง
กับั การส่ง่ เสริมิ ความโปร่ง่ ใสในระดับั สากลเพิ่�มเติมิ เพื่�อพัฒั นาเกณฑ์ก์ ารประเมินิ ให้ส้ ามารถเกิดิ การป้อ้ งกันั การทุจุ ริติ เชิงิ รุกุ
ได้อ้ ย่า่ งมีปี ระสิทิ ธิภิ าพ และมุ่�งเน้น้ การร่ว่ มดำ�ำ เนินิ การขับั เคลื่�อนด้า้ นธรรมาภิบิ าลในภาพรวมของประเทศ โดยมีหี ลักั การ
พื้�นฐานในการออกแบบกรอบการประเมิิน ดัังนี้�

1) ITA จะต้อ้ งสอดคล้้องกัับหลัักการประเมินิ ที่่�ดีี อันั ได้แ้ ก่่ Sensitive, Measurable, Precise, Simple and
Measurable at Low Cost, Practical และ Comparable

2) ITA จะต้อ้ งมีผีู้�ตอบแบบสอบถามที่�หลากหลาย ทั้�งภายในและภายนอก แนวตั้�งและแนวราบ ได้แ้ ก่่ ข้า้ ราชการ
และลููกจ้้างที่�คละตำำ�แหน่่งตั้�งแต่่ระดัับล่่างจนถึึงระดัับบน ผู้�ใช้้บริิการที่�เป็็นประชาชนทั่�วไปจนถึึงผู้�บริิหาร
ระดับั สููง และกลุ่�มสาขาอาชีพี ต่า่ ง ๆ

3) ITA จะต้อ้ งเป็น็ การประเมินิ ทั้�งการทุจุ ริติ ทางตรง (Hard Corruption) การทุจุ ริติ ทางอ้อ้ ม (Soft Corruption)
และการเปลี่�ยนแปลงของการทุจุ ริติ ในช่ว่ งเวลาที่่�ผ่า่ นมา โดยเฉพาะการประเมินิ เกี่�ยวกับั ประสิทิ ธิภิ าพการแก้ไ้ ข
ปััญหาการทุจุ ริติ ของสำ�ำ นักั งานเขต ที่�จะต้อ้ งทำ�ำ ให้ก้ ารทุจุ ริติ ในหน่ว่ ยงานลดลงหรืือไม่่มีเี ลย (Improvement)
รวมถึงึ บริิบทแวดล้อ้ มที่�เกี่�ยวข้้องกัับการการทุจุ ริติ ด้ว้ ย

4) ITA จะต้อ้ งช่ว่ ยให้้ CPI ของประเทศไทยดีขีึ้�นในระยะยาว โดยตัวั ชี้้�วัดต้อ้ งชัดั เจนและเข้า้ ใจง่า่ ย เพื่�อให้อ้ งคาพยพ
ในสำำ�นัักงานเขตมีเี ป้า้ หมายร่ว่ มกันั ในการพัฒั นาสำ�ำ นักั งานเขตของตน

5) ITA จะต้อ้ งสร้า้ งแรงจูงู ใจในการพัฒั นาสำำ�นักั งานเขตในเชิงิ บวกมากกว่า่ ทำ�ำ ให้เ้ จ้า้ หน้า้ ที่�ของหน่ว่ ยงานรู้�สึกกังั วล
6) ผลการประเมิิน ITA ควรให้แ้ นวทางการพัฒั นาที่่�ชััดเจนให้ก้ ัับสำำ�นักั งานเขตไปในตัวั
7) สำ�ำ นัักงานเขตที่�ได้้รัับการประเมิิน ได้้ประโยชน์์จากการประเมิิน และนำ�ำ ผลการประเมิินไปการปรัับปรุุงและ

พัฒั นาประสิทิ ธิภิ าพในการปฏิบิ ัตั ิงิ าน และได้ร้ ับั ประโยชน์ใ์ นมุมุ ของการสื่�อสารภาพลักั ษณ์อ์ งค์ก์ ร โดยเฉพาะ
การแสดงให้้สัังคมและสาธารณชนรัับรู้�ว่า สำำ�นัักงานเขตให้้ความสำำ�คััญกัับการเปิิดเผยข้้อมููลและการป้้องกััน
การทุจุ ริติ ในหน่ว่ ยงานอย่า่ งไร และการดำ�ำ เนินิ การดังั กล่า่ ว ไม่เ่ ป็น็ ต้น้ ทุนุ หรือื ภาระมากเกินิ ไป รวมทั้�งต้อ้ งไม่เ่ ป็น็
ภาระกับั บุุคคลที่�เข้า้ ร่ว่ มกระบวนการประเมิินด้ว้ ย

8 คู่ม่� ือื การประเมินิ คุณุ ธรรมและความโปร่่งใสในการดำำ�เนิินงานของหน่่วยงานภาครััฐ
(Integrity and Transparency Assessment : ITA)
ของสำ�ำ นักั งานเขต กรุุงเทพมหานคร ประจำ�ำ ปีีงบประมาณ พ.ศ. 2565

นอกจากนี้� สำำ�นัักงาน ป.ป.ช. ยัังได้้ร่่วมมืือกัับมหาวิิทยาลััยขอนแก่่น ในการพััฒนาระบบเทคโนโลยีีสารสนเทศ
รองรับั การประเมิินคุุณธรรมและความโปร่่งใสในการดำ�ำ เนิินงานของหน่่วยงานภาครัฐั (Integrity and Transparency
Assessment: ITA) ของสำำ�นัักงานเขต กรุงุ เทพมหานคร ขึ้�น โดยใช้ช้ื่�อว่่า ระบบ BANGKOKITA ที่�จะใช้้เป็น็ ศููนย์์กลาง
ในการเก็็บรวบรวมข้้อมูลู การบริิหารจัดั การข้้อมููล และการกำำ�กัับติดิ ตามการประเมินิ ได้อ้ ย่า่ งมีปี ระสิทิ ธิภิ าพ รวมไปถึงึ
การวิิเคราะห์์และประมวลผลการประเมิินได้้อย่่างแม่่นยำำ� ตอบสนองต่่อการนำ�ำ ข้้อมููลไปสู่�การวิิเคราะห์์ประเด็็นที่่�ต้้อง
ปรับั ปรุงุ และพัฒั นาและการวางแผนในการป้้องกัันการทุจุ ริิตต่่อไปได้้

การประเมิินคุุณธรรมและความโปร่่งใสในการดำำ�เนิินงานของหน่่วยงานภาครััฐ (Integrity and Transparency
Assessment : ITA) ของสำ�ำ นักั งานเขต กรุุงเทพมหานคร จำ�ำ แนกตััวชี้้�วัดั ในการประเมิินออกเป็น็ 10 ตัวั ชี้้�วัดั ได้้แก่่

ตัวั ชี้้ว� ัดั ที่�่ 1 คือื การปฏิิบัตั ิหิ น้้าที่�
ตัวั ชี้้ว� ััดที่่� 2 คือื การใช้ง้ บประมาณ
ตััวชี้้ว� ัดั ที่�่ 3 คือื การใช้้อำำ�นาจ
ตัวั ชี้้�วัดั ที่่� 4 คือื การใช้้ทรััพย์์สิินของราชการ
ตัวั ชี้้ว� ัดั ที่่� 5 คือื การแก้้ไขปัญั หาการทุจุ ริติ
ตััวชี้้ว� ัดั ที่�่ 6 คืือ คุุณภาพการดำำ�เนินิ งาน
ตััวชี้้ว� ััดที่่� 7 คืือ ประสิทิ ธิิภาพการสื่�อสาร
ตััวชี้้�วัดั ที่�่ 8 คือื การปรับั ปรุงุ ระบบการทำำ�งาน
ตััวชี้้�วัดั ที่่� 9 คือื การเปิดิ เผยข้อ้ มููล
ตััวชี้้ว� ัดั ที่�่ 10 คืือ การป้อ้ งกัันการทุจุ ริิต
และมีีเครื่�องมืือที่�ใช้้ในการประเมินิ แบ่่งออกเป็น็ 3 เครื่�องมือื ดัังนี้�
1) แบบวััดการรัับรู้�ของผู้้�มีีส่ว่ นได้ส้ ่่วนเสีียภายใน (Internal Integrity and Transparency Assessment: IIT)
2) แบบวัดั การรับั รู้�ของผู้้�มีีส่วนได้ส้ ่ว่ นเสีียภายนอก (External Integrity and Transparency Assessment: EIT)
3) แบบตรวจการเปิดิ เผยข้อ้ มูลู สาธารณะ (Open Data Integrity and Transparency Assessment: OIT)

คู่่�มือื การประเมิินคุุณธรรมและความโปร่่งใสในการดำ�ำ เนิินงานของหน่่วยงานภาครัฐั 9
(Integrity and Transparency Assessment : ITA)

ของสำำ�นักั งานเขต กรุงุ เทพมหานคร ประจำ�ำ ปีีงบประมาณ พ.ศ. 2565

2. ระเบียบวิธกี ารประเมิน

2.1 วิิธีกี ารและเครื่อ่� งมืือที่่�ใช้ใ้ นการประเมิิน
เครื่�องมือื ที่�ใช้ใ้ นการประเมิินเพื่�อเก็็บข้อ้ มููลจากแต่ล่ ะแหล่่งข้อ้ มูลู จำำ�แนกออกเป็็น 3 ส่ว่ น ดัังนี้�

1) แบบวัดั การรัับรู้้�ของผู้้�มีีส่ว่ นได้้ส่่วนเสีียภายใน (Internal Integrity and Transparency

Assessment: IIT) มีีเนื้�อหาสาระสำำ�คััญ ประกอบด้้วย การประเมิินระดัับการรัับรู้�ของผู้้�มีีส่่วนได้้ส่่วนเสีียภายใน
ที่่�มีีต่่อสำ�ำ นัักงานเขตตนเอง ใน 5 ตัวั ชี้้�วัดั ได้้แก่่ ตัวั ชี้้�วัดั การปฏิบิ ัตั ิหิ น้้าที่� ตัวั ชี้้�วััดการใช้้งบประมาณ ตัวั ชี้้�วััดการใช้้อำ�ำ นาจ
ตััวชี้้�วัดั การใช้้ทรััพย์ส์ ินิ ของราชการ และตััวชี้้�วััดการแก้ไ้ ขปััญหาการทุจุ ริิต

2) แบบวัดั การรับั รู้�ของผู้้�มีสี ่ว่ นได้ส้ ่ว่ นเสียี ภายนอก (External Integrity and Transparency

Assessment: EIT) มีีเนื้�อหาสาระสำำ�คััญ ประกอบด้้วย การประเมินิ ระดับั การรับั รู้�ของผู้้�มีีส่ว่ นได้้ส่ว่ นเสียี ภายนอก
ที่่�มีีต่่อสำ�ำ นัักงานเขตที่�ประเมิิน ใน 3 ตััวชี้้�วััด ได้้แก่่ ตััวชี้้�วััดคุุณภาพการดำำ�เนิินงาน ตััวชี้้�วััดประสิิทธิิภาพการสื่�อสาร
และตััวชี้้�วัดั การปรับั ปรุุงระบบการทำ�ำ งาน

3) แบบตรวจการเปิิดเผยข้้อมููลสาธารณะ (Open Data Integrity and Transparency

Assessment: OIT) เป็น็ แบบวัดั ที่�ให้้ผู้�ตอบเลือื กตอบมีีหรืือไม่่มีกี ารเปิิดเผยข้อ้ มููล พร้อ้ มทั้�งระบุุ URL เพื่�อเชื่�อมโยง
ไปสู่�แหล่่งที่�อยู่�ของการเปิิดเผยข้้อมููล และระบุุคำำ�อธิิบายเพิ่�มเติิมประกอบคำ�ำ ตอบ ซึ่�งเป็็นการประเมิินที่�มุ่�งเน้้น
ในการประเมิินระดัับการเปิิดเผยข้้อมููลต่่อสาธารณะของหน่่วยงาน เพื่�อให้้ประชาชนทั่�วไปสามารถเข้้าถึึงข้้อมููล
ในเว็บ็ ไซต์์หลัักของสำ�ำ นัักงานเขตได้้ ใน 2 ตััวชี้้�วััด ได้้แก่่ ตัวั ชี้้�วััดการเปิดิ เผยข้้อมูลู (ประกอบด้้วย 5 ตัวั ชี้้�วัดั ย่อ่ ย ได้้แก่่
ข้้อมููลพื้�นฐาน การบริิหารงาน การบริิหารเงิินงบประมาณ การบริิหารและพััฒนาทรััพยากรบุุคคล และการส่่งเสริิม
ความโปร่ง่ ใส) และตัวั ชี้้�วัดั การป้อ้ งกันั การทุจุ ริติ (ประกอบด้ว้ ย 2 ตัวั ชี้้�วัดั ย่อ่ ย ได้แ้ ก่่ การดำำ�เนินิ การเพื่�อป้อ้ งกันั การทุจุ ริติ
และมาตรการภายในเพื่�อป้้องกัันการทุจุ ริติ )
2.2 ประชากร และกลุ่่�มตัวั อย่่าง

1) ผู้้�มีสี ่่วนได้้ส่่วนเสีียภายใน หมายถึงึ บุคุ ลากรในสำ�ำ นัักงานเขต กรุุงเทพมหานคร ทุกุ ระดัับ ตั้�งแต่ร่ ะดัับ
ผู้้�อำ�ำ นวยการเขต / ผู้้�ช่่วยผู้้�อำ�ำ นวยการเขต / หััวหน้้าฝ่่าย / ข้้าราชการ ไปจนถึึงลููกจ้้าง ที่่�ทำ�ำ งานกัับสำำ�นัักงานเขต
กรุงุ เทพมหานคร เป็็นระยะเวลาไม่น่ ้อ้ ยกว่า่ 1 ปีี (รวมถึงึ บุคุ ลากรในโรงเรีียนสังั กัดั สำ�ำ นักั งานเขต)

2) ผู้้�มีีส่่วนได้้ส่่วนเสีียภายนอก หมายถึึง บุุคคล นิิติิบุุคคล บริิษััทเอกชน หรืือหน่่วยงานของรััฐอื่�น
ที่�เคยเข้้ารัับบริิการหรืือมาติิดต่่อราชการตามภารกิิจของสำำ�นัักงานเขต กรุุงเทพมหานคร รวมถึึงบุุคคล นิิติิบุุคคล
ที่�เป็น็ คู่่�ค้า้ คู่่�สัญั ญากับั สำ�ำ นักั งานเขต กรุงุ เทพมหานคร ในปีงี บประมาณปัจั จุบุ ันั (รวมถึงึ ผู้�มารับั บริกิ าร หรืือ คู่่�ค้้าคู่่�สัญั ญา
ของโรงเรียี นสังั กัดั สำ�ำ นัักงานเขต)

3) เว็็บไซต์์ หมายถึงึ เว็็บไซต์์หลัักของสำ�ำ นักั งานเขต กรุงุ เทพมหานคร ที่�ใช้้ในการประชาสัมั พัันธ์ต์ ่่อสาธารณะ

10 คู่่�มืือการประเมินิ คุณุ ธรรมและความโปร่่งใสในการดำำ�เนิินงานของหน่่วยงานภาครัฐั
(Integrity and Transparency Assessment : ITA)
ของสำ�ำ นัักงานเขต กรุุงเทพมหานคร ประจำำ�ปีงี บประมาณ พ.ศ. 2565

การรับรู BANGKOKITA การเปดเผยขอมูล

การรับรู

ผมู สี วนไดสว นเสียภายใน ผมู ีสวนไดสว นเสียภายนอก Website

IIT EIT OIT

บุคลากรในสาํ นกั งานเขตทกุ ระดับ บคุ คล นติ บิ คุ คล บรษิ ทั เอกชน หรอื Website หลักของสาํ นกั งานเขต
ตง้ั แตระดับ ผอู าํ นวยการเขต / ผูช ว ย หนว ยงานของรฐั อน่ื ทเี่ คยมารบั บรกิ าร
ผอู าํ นวยการเขต / หวั หนา ฝา ย / ขา ราชการ หรอื มาตดิ ตอ ราชการตามภารกจิ ของ
ไปจนถึงลูกจางที่ทํางานกับสํานักงานเขต สาํ นกั งานเขต ในปง บประมาณ พ.ศ. 2564
รวมถงึ บคุ คล นติ บิ คุ คลทเี่ ปน คคู า คสู ญั ญา
เปน ระยะเวลาไมนอยกวา 1 ป
กบั สาํ นกั งานเขต กรงุ เทพมหานคร

แบบวดั การรับรูของผูม สี วนไดสว นเสีย แบบวัดการรบั รูของผูมสี ว นไดส วนเสีย แบบตรวจการเปดเผยขอมูลสาธารณะ
ภายใน IIT (ตัวช้ีวดั ท่ี 1-5) ภายนอก EIT (ตัวชีว้ ดั ท่ี 6-8) OIT (ตวั ชี้วัดท่ี 9-10)

หมายเหตุุ : ผู้้�มีสี ่ว่ นได้้ส่ว่ นเสีียภายในและผู้้�มีสี ่ว่ นได้ภ้ ายนอก รวมถึึงโรงเรีียนในสัังกััดสำ�ำ นักั งานเขต

2.3 การประมวลผลคะแนน
การประมวลผลคะแนน จะมีีการคำำ�นวณคะแนนทั้�งรายตััวชี้้�วััด รายเครื่�องมืือ และคะแนนรวมตามลำ�ำ ดัับ

โดยมีีขั้�นตอน ดัังนี้�
ตารางที่่� 1 แสดงการประมวลผลคะแนน จากเครื่�องมืือทั้�ง 3 เครื่�องมืือ

คะแนน แบบ IIT แบบ EIT แบบ OIT

คะแนนข้อ้ คำำ�ถาม คะแนนเฉลี่ �ยของ คะแนนเฉลี่ �ยของ คะแนนของข้อ้ คำำ�ถาม
ข้้อคำำ�ถามจากผู้�ตอบทุกุ คน ข้้อคำำ�ถามจากผู้�ตอบทุุกคน คะแนนเฉลี่ �ยของ
คะแนนตััวชี้้�วัดั ย่่อย ทุกุ ข้อ้ คำำ�ถาม
–– ในตััวชี้้�วััดย่่อย

คู่�่มือื การประเมินิ คุุณธรรมและความโปร่่งใสในการดำ�ำ เนินิ งานของหน่่วยงานภาครััฐ 11
(Integrity and Transparency Assessment : ITA)

ของสำ�ำ นักั งานเขต กรุงุ เทพมหานคร ประจำำ�ปีีงบประมาณ พ.ศ. 2565

คะแนน แบบ IIT แบบ EIT แบบ OIT

คะแนนแบบวัดั การรับั รู้� คะแนนเฉลี่ �ยของ คะแนนเฉลี่ �ยของ คะแนนเฉลี่ �ยของ
ทุุกตััวชี้้�วัดั ในแบบ ทุกุ ตััวชี้้�วััดในแบบ ทุุกตัวั ชี้้�วััดในแบบตรวจ
น้ำำ��หนัักแบบวััดการรับั รู้�
คะแนนแบบวััดการรัับรู้� วัดั การรัับรู้� วัดั การรัับรู้� การเปิดิ เผยข้อ้ มููล
ร้อ้ ยละ 30 ร้้อยละ 30 ร้้อยละ 40
ที่่�ถ่่วงน้ำ�ำ �หนัักแล้ว้ คะแนนแบบวััดการรับั รู้� x คะแนนแบบวััดการรับั รู้� x
คะแนนแบบวััดการรับั รู้� x
คะแนนรวม 0.30 0.30 0.40

ผลรวมของคะแนนแบบวัดั การรับั รู้้�ที่่�ถ่ว่ งน้ำ�ำ �หนักั แล้ว้

คำ�ำ อธิบิ าย

ตัวั ชี้้�วััดที่� 1 - ตัวั ชี้้�วััดที่� 10 หมายถึงึ คะแนนตามตััวชี้้�วััดทั้�ง 10 ตัวั ชี้้�วัดั ของการประเมิิน ITA ที่่�ยังั ไม่่ได้้คิดิ คะแนน
แบบถ่ว่ งน้ำำ��หนััก

คะแนน ITA หมายถึงึ ผลรวมของคะแนนแต่ล่ ะตัวั ชี้้�วัดั ที่�ได้ถ้ ่ว่ งน้ำำ��หนักั แล้ว้ โดยมีรี ายละเอียี ดของการถ่ว่ งน้ำำ��หนักั
ดังั นี้�

ถ่่วงน้ำำ��หนัักร้้อยละ 30 ตามแบบวัดั การรัับรู้� IIT ประกอบด้ว้ ย ตัวั ชี้้�วััดที่� 1 - ตัวั ชี้้�วััดที่� 5
ตัวั ชี้้�วัดั ที่� 1 คือื การปฏิิบัตั ิิหน้า้ ที่�
ตััวชี้้�วััดที่� 2 คือื การใช้ง้ บประมาณ
ตััวชี้้�วัดั ที่� 3 คืือ การใช้้อำ�ำ นาจ
ตััวชี้้�วัดั ที่� 4 คืือ การใช้้ทรััพย์์สินิ ของราชการ
ตัวั ชี้้�วัดั ที่� 5 คือื การแก้้ไขปัญั หาการทุจุ ริิต
ถ่ว่ งน้ำำ��หนัักร้้อยละ 30 ตามแบบวัดั การรับั รู้� EIT ประกอบด้้วย ตัวั ชี้้�วัดั ที่� 6 - ตััวชี้้�วัดั ที่� 8
ตััวชี้้�วัดั ที่� 6 คือื คุุณภาพการดำ�ำ เนินิ งาน
ตัวั ชี้้�วัดั ที่� 7 คืือ ประสิิทธิิภาพการสื่�อสาร
ตัวั ชี้้�วัดั ที่� 8 คือื การปรับั ปรุงุ ระบบการทำ�ำ งาน
ถ่ว่ งน้ำำ��หนัักร้้อยละ 40 ตามแบบวัดั การรับั รู้� OIT ประกอบด้ว้ ย ตััวชี้้�วัดั ที่� 9 - ตัวั ชี้้�วัดั ที่� 10
ตัวั ชี้้�วััดที่� 9 คือื การเปิิดเผยข้้อมููล
ตัวั ชี้้�วััดที่� 10 คืือ การป้อ้ งกัันการทุุจริติ

ระดัับผลการประเมิิน หมายถึึง ผลรวมของคะแนนแต่่ละตััวชี้้�วััดที่�ได้้ถ่่วงน้ำำ��หนัักแล้้ว โดยจััดระดัับตาม
ค่า่ คะแนน ITA ดังั นี้�

ค่า่ คะแนน ITA เท่า่ กับั 95 - 100 คืือ AA
ค่า่ คะแนน ITA เท่่ากัับ 85 - 94.99 คือื A
ค่า่ คะแนน ITA เท่า่ กับั 75 - 84.99 คือื B

12 คู่�ม่ ือื การประเมิินคุณุ ธรรมและความโปร่่งใสในการดำำ�เนินิ งานของหน่่วยงานภาครัฐั
(Integrity and Transparency Assessment : ITA)
ของสำ�ำ นัักงานเขต กรุงุ เทพมหานคร ประจำ�ำ ปีีงบประมาณ พ.ศ. 2565

ค่า่ คะแนน ITA เท่่ากัับ 65 - 74.99 คืือ C
ค่า่ คะแนน ITA เท่่ากับั 55 - 64.99 คืือ D
ค่า่ คะแนน ITA เท่่ากับั 50 - 54.99 คืือ E
ค่า่ คะแนน ITA เท่่ากัับ 0 - 49.99 คือื F

ตารางที่่� 2 ตารางแสดงสัดั ส่่วนน้ำ�ำ �หนักั คะแนน

เครอื่ งมือ น�ำ้ หนัก ตััวชี้้�วััด ตัวช้ีวดั ยอ่ ย จ�ำนวนข้อค�ำถาม

การปฏิิบััติิหน้า้ ที่� – 6

การใช้ง้ บประมาณ – 6

IIT 30 การใช้อ้ ำ�ำ นาจ – 6

การใช้ท้ รัพั ย์ส์ ินิ ของราชการ – 6

การแก้ไ้ ขปััญหาการทุจุ ริิต – 6

คุุณภาพการดำำ�เนินิ งาน – 5

EIT 30 ประสิทิ ธิิภาพการสื่�อสาร – 5

การปรัับปรุุงการทำำ�งาน – 5

ขอ้ มลู พืน้ ฐาน 9

การบรหิ ารงาน 8

การเปิดิ เผยข้อ้ มูลู การบรหิ ารเงินงบประมาณ 7

OIT 40 การบริหารและพัฒนาทรัพยากรบุคคล 4

การส่งเสริมความโปรง่ ใส 5

การป้้องกัันการทุุจริติ การด�ำเนนิ การเพ่อื ปอ้ งกนั การทจุ รติ 8
มาตรการภายในเพอื่ ป้องกันการทุจรติ 7

2.4 การเก็็บรัักษาข้อ้ มููลที่่เ� ป็็นความลัับ
ข้้อมููลส่่วนบุุคคลและคำำ�ตอบของผู้�ตอบแบบวััดการรัับรู้�จะถููกเก็็บไว้้เป็็นความลัับอย่่างดีีที่่�สุุด และจะไม่่ถููกนำำ�ไป

เผยแพร่่หรืือใช้้เพื่�อการอื่�นใด ๆ ทั้�งสิ้�น ซึ่�งการนำ�ำ เสนอผลการวิิเคราะห์์ข้้อมููลจะเป็็นไปในลัักษณะภาพรวมเท่่านั้�น
ไม่่มีีการวิิเคราะห์์หรืือรายงานเป็็นรายบุุคคลแต่่อย่่างใด โดยคณะผู้�ประเมิินจะใช้้ความระมััดระวัังและใช้้จรรยาบรรณ
วิิชาชีีพในการดำำ�เนิินโครงการที่�ไม่่เปิิดเผยข้้อมููลที่�เป็็นความลัับใดต่่อสาธารณชนหรืือช่่องทางอื่�น ๆ และดำ�ำ เนิินการ
ในวิธิ ีกี ารที่�เหมาะสมเพื่�อการป้้องกัันการรั่�วไหลของข้อ้ มูลู หรือื เอกสารในทุกุ ขั้�นตอนของการดำ�ำ เนิินโครงการ

คู่ม�่ ืือการประเมินิ คุุณธรรมและความโปร่่งใสในการดำ�ำ เนินิ งานของหน่่วยงานภาครััฐ 13
(Integrity and Transparency Assessment : ITA)

ของสำำ�นัักงานเขต กรุงุ เทพมหานคร ประจำำ�ปีงี บประมาณ พ.ศ. 2565

3. กลุม่ ตวั อย่างในการเกบ็ รวบรวมข้อมลู

กลุ่�มตััวอย่า่ งที่�ใช้้สำ�ำ หรัับการประเมินิ มีีดัังนี้�
1) ผู้้�มีสี ่ว่ นได้ส้ ่่วนเสีียภายใน แบ่ง่ เป็็น 2 กลุ่�ม (โดยสำำ�นักั งานเขต กรุงุ เทพมหานคร เป็น็ ผู้้�ดำ�ำ เนิินการจััดเก็็บ

ข้้อมูลู ผู้้�มีสี ่ว่ นได้้ส่่วนเสียี ภายใน)
o กลุ่�มที่�่ 1: ข้้าราชการสำำ�นัักงานเขต กรุุงเทพมหานคร และโรงเรีียนในสัังกััดสำ�ำ นัักงานเขต กำำ�หนด
จำ�ำ นวนขั้�นต่ำ�ำ �ร้้อยละ 70 ของจำ�ำ นวนข้า้ ราชการ ที่�ปฏิบิ ััติิหน้า้ ที่�มาเป็็นระยะเวลาไม่น่ ้้อยกว่่า 1 ปีี
o กลุ่�มที่่� 2: ลููกจ้้างของสำำ�นัักงานเขต กรุุงเทพมหานคร และโรงเรีียนในสัังกััดสำำ�นัักงานเขต กำำ�หนด
จำ�ำ นวนขั้�นต่ำ�ำ � ร้อ้ ยละ 70 ของจำำ�นวนลููกจ้้าง ที่�ปฏิิบััติหิ น้า้ ที่�มาเป็น็ ระยะเวลาไม่น่ ้อ้ ยกว่า่ 1 ปีี

ตัวั อย่่าง: กรณีสี ำ�ำ นัักงานเขต กรุุงเทพมหานคร กรอกจำ�ำ นวน ข้า้ ราชการ และ ลูกู จ้้าง ที่�ปฏิบิ ัตั ิิหน้้าที่�มาเป็น็
ระยะเวลาไม่น่ ้้อยกว่่า 1 ปีี ดังั นี้�

รายละเอีียด ข้้าราชการ ลูกู จ้า้ ง

จำ�ำ นวนข้า้ ราชการและลููกจ้้างที่�ปฏิิบัตั ิิงาน 1 ปีี ขึ้�นไป 100 400
จำำ�นวน ร้้อยละ 70 70 280

รวมจำ�ำ นวนขั้้�นต่ำ�ำ �ที่่�ต้อ้ งประเมิิน 70+280 = 350 คน

2) ผู้้�มีีส่่วนได้้ส่่วนเสีียภายนอก โดยกำำ�หนดกลุ่�มตััวอย่่างและเก็็บข้้อมููลของผู้้�มีีส่่วนได้้ส่่วนเสีียภายนอก
ไม่่น้้อยกว่่า 400 ตััวอย่่าง/สำำ�นัักงานเขต กรุุงเทพมหานคร (โดยสำ�ำ นัักงานเขต กรุุงเทพมหานคร เป็็นผู้้�ดำ�ำ เนิินการ
จััดเก็็บข้้อมููลผู้้�มีีส่ว่ นได้ส้ ่่วนเสีียภายนอกตั้�งแต่่วัันที่� 1 ตุลุ าคม 2564 ถึึง วัันที่� 16 สิิงหาคม 2565)

3) เว็็บไซต์์ของหน่่วยงาน เก็็บข้้อมููลจากเว็็บไซต์์หลัักของสำ�ำ นัักงานเขต กรุุงเทพมหานคร ทั้�ง 50 เขต
ที่�เข้้ารับั การประเมิิน

14 คู่�่มือื การประเมินิ คุณุ ธรรมและความโปร่่งใสในการดำำ�เนิินงานของหน่่วยงานภาครััฐ
(Integrity and Transparency Assessment : ITA)
ของสำ�ำ นักั งานเขต กรุุงเทพมหานคร ประจำ�ำ ปีีงบประมาณ พ.ศ. 2565

4. การเกบ็ รวบรวมข้อมลู

การเก็็บรวบรวมข้้อมููล สำ�ำ หรัับแต่่ละเครื่�องมืือการประเมิิน จะดำ�ำ เนิินการผ่่านระบบ BANGKOKITA ซึ่�งเป็็น
ระบบเทคโนโลยีีสารสนเทศรองรัับการประเมิินคุุณธรรมและความโปร่่งใสในการดำำ�เนิินงานสำำ�หรัับสำำ�นัักงานเขต
กรุุงเทพมหานคร เป็็นศููนย์์กลางในการเก็็บรวบรวมข้้อมููลที่�สามารถบริิหารจััดการข้้อมููลได้้อย่่างรวดเร็็ว และทำ�ำ ให้้
การดำ�ำ เนิินการประเมิินสามารถทำ�ำ ได้้อย่า่ งรวดเร็ว็ และเป็็นมาตรฐานเดีียวกััน ดัังนี้�

การเก็บรวบรวมข้อมูลแบบวัดการรับรู้ของผู้มีส่วนได้ส่วนเสียภายใน (IIT) เก็บรวบรวมข้อมูล
ด�ำเนนิ การ ดงั นี้

สำำ�นัักงานเขต กรุุงเทพมหานคร นำำ� URL หรืือ QR code ช่่องทางการเข้้าตอบแบบวััดการรัับรู้�ของ
ผู้้�มีีส่่วนได้้ส่่วนเสียี ภายใน (IIT) ของสำ�ำ นักั งานเขต กรุุงเทพมหานคร ไปเผยแพร่แ่ ละประชาสััมพัันธ์แ์ ก่ผ่ ู้้�มีีส่ว่ นได้้ส่ว่ นเสียี
ภายในของสำ�ำ นัักงานเขต โดยสำ�ำ นัักงานเขตควรคำ�ำ นึึงถึึงช่่องทางการเผยแพร่่ที่่�ผู้้�มีีส่่วนได้้ส่่วนเสีียภายใน จะสามารถ
เข้้าถึึงได้้อย่่างสะดวกและการเผยแพร่่ครอบคลุุมทั่�วถึึง ทุุกส่่วนงานและทุุกระดัับของสำำ�นัักงานเขต จากนั้�นผู้้�มีีส่่วนได้้
ส่ว่ นเสียี ภายในจะเข้า้ มาตอบแบบวัดั การรับั รู้�ของผู้้�มีสี ่ว่ นได้ส้ ่ว่ นเสียี ภายใน (IIT) ด้ว้ ยตนเองผ่า่ นทาง URL หรือื QR code
ซึ่�งจะเป็น็ การตอบเข้า้ สู่�ระบบ BANGKOKITA โดยตรง

ทั้�งนี้� หากสำ�ำ นักั งานเขต มีขี ้อ้ สงสัยั เกี่�ยวกับั แนวทางการปฏิบิ ัตั ิิ สามารถสอบถามและขอรับั คำ�ำ แนะนำ�ำ จากสำำ�นักั งาน
ป.ป.ช. เพื่�อให้้ดำำ�เนิินการให้้ถููกต้้อง เพื่�อให้้การเก็็บรวบรวมข้้อมููลแบบวััดการรัับรู้�ของผู้้�มีีส่่วนได้้ส่่วนเสีียภายใน (IIT)
ได้ข้ ้อ้ มูลู ที่่�มีีคุณุ ภาพและสามารถสะท้้อนผลของสำำ�นักั งานเขต ได้้ตามหลักั ทางวิิชาการมากที่่�สุุด

ข้้อควรระวััง #1

การเก็บ็ รวบรวมข้อ้ มูลู แบบ IIT สำำ�นักั งานเขตจะต้อ้ งกำ�ำ กับั ติดิ ตามและส่ง่ เสริมิ ให้ผ้ ู้้�มีสี ่ว่ นได้ส้ ่ว่ นเสียี ภายในเข้า้ มาตอบ
ตามระยะเวลาที่่�กำ�ำ หนดให้้ได้ม้ ากที่่�สุดุ และไม่น่ ้้อยกว่า่ จำ�ำ นวนกลุ่�มตัวั อย่า่ งขั้�นต่ำำ��ตามที่่�กำ�ำ หนด

การเก็บ็ รวบรวมข้อ้ มูลู แบบวัดั การรับั รู้�ของผู้้�มีสี ่ว่ นได้ส้ ่ว่ นเสียี ภายนอก (EIT) เก็บ็ รวบรวมข้อ้ มูลู
ดำำ�เนิินการ ดังั นี้�

1) สำำ�นัักงานเขต มีีหน้้าที่�ในการนำ�ำ ช่่องทางการตอบแบบวััดการรัับรู้�ของผู้้�มีีส่่วนได้้ส่่วนเสีียภายนอก (EIT)
ซึ่�งอยู่�ในรูปู แบบ URL หรือื QR code ประชาสัมั พันั ธ์แ์ ก่ผ่ ู้้�มีสี ่ว่ นได้ส้ ่ว่ นเสียี ภายนอกของสำำ�นักั งานเขตที่�มารับั บริกิ ารหรือื
มาติิดต่่อกัับสำำ�นัักงานเขต โดยสำำ�นัักงานเขตควรคำำ�นึึงถึึงช่่องทางการเผยแพร่่ที่่�ผู้้�มีีส่่วนได้้ส่่วนเสีียภายนอกจะสามารถ
เข้้าถึึงได้้อย่่างสะดวก ผู้้�มีีส่่วนได้้ส่่วนเสีียภายนอกจะเข้้ามาตอบแบบวััดการรัับรู้�ของผู้้�มีีส่่วนได้้ส่่วนเสีียภายนอก (EIT)
ด้ว้ ยตนเอง ผ่่านทาง URL หรือื QR code ซึ่�งจะเป็็นการตอบเข้า้ สู่�ระบบ BANGKOKITA โดยตรง

คู่�่มือื การประเมิินคุณุ ธรรมและความโปร่่งใสในการดำ�ำ เนินิ งานของหน่่วยงานภาครัฐั 15
(Integrity and Transparency Assessment : ITA)

ของสำำ�นัักงานเขต กรุุงเทพมหานคร ประจำำ�ปีีงบประมาณ พ.ศ. 2565

2) สำำ�นักั งานเขตเผยแพร่แ่ ละเก็บ็ ข้อ้ มูลู ผู้้�มีสี ่ว่ นได้ส้ ่ว่ นเสียี ภายนอก (EIT) ณ จุดุ บริกิ าร รวมถึงึ การดำำ�เนินิ โครงการ
กิจิ กรรม หรือื งานบริกิ ารอื่�น ๆ นอกสถานที่� ให้ก้ ับั ประชาชนในสำ�ำ นักั งานเขต ตั้�งแต่่ 1 ตุลุ าคม 2564 ถึงึ 16 สิงิ หาคม 2565
ให้ไ้ ด้้จำำ�นวนมากที่่�สุดุ อย่่างน้้อย 400 คน

3) สำำ�นักั งาน ป.ป.ช. นำำ�ส่ง่ QR code เพื่�อที่่�สำำ�นักั งานเขต กรุุงเทพมหานคร นำ�ำ ไปวาง ณ จุุดให้้บริกิ ารสำ�ำ หรัับ
เป็น็ ช่อ่ งทางการตอบแบบวัดั การรับั รู้�ของผู้้�มีสี ่ว่ นได้ส้ ่ว่ นเสียี ภายนอก (EIT) เพื่�อเปิดิ โอกาสให้ผ้ ู้้�มีสี ่ว่ นได้ส้ ่ว่ นเสียี ภายนอก
เข้า้ มาตอบในระบบ BANGKOKITA ซึ่�งจะเป็น็ การตอบเข้้าสู่�ระบบ BANGKOKITA โดยตรง

4) สำำ�นัักงาน ป.ป.ช. โดยคณะนัักวิิจััย ดำำ�เนิินการเก็็บข้้อมููลแบบวััดการรัับรู้�ของผู้้�มีีส่่วนได้้ส่่วนเสีียภายนอก
(EIT) เฉพาะคู่่�ค้้าคู่่�สััญญาของสำำ�นัักงานเขตผ่่านช่่องทาง sms, E-mail หรืือช่่องทางอื่�น ๆ ตามบััญชีีรายชื่�อ
ที่่�สำ�ำ นักั งานเขตจััดส่ง่

5) สำ�ำ นัักงาน ป.ป.ช. โดยคณะนัักวิจิ ัยั ติดิ ต่่อประสานผู้�ประสานงานของสำำ�นักั งานเขต กรุุงเทพมหานคร 50 เขต
ในการลงพื้�นที่�เพื่�อติดิ ตามความก้้าวหน้้าในการเก็บ็ ข้้อมููล หรือื ประสานข้อ้ มูลู ที่�เกี่�ยวข้้องเพิ่�มเติิม

ทั้�งนี้� หากสำ�ำ นักั งานเขตมีขี ้อ้ สงสัยั เกี่�ยวกับั แนวทางการปฏิบิ ัตั ิิ สามารถสอบถามและขอรับั คำำ�แนะนำำ�จากคณะนักั วิจิ ัยั
การประเมิินเพื่�อให้้ดำำ�เนิินการให้้ถููกต้้อง รวมไปถึึงคณะนัักวิิจััยการประเมิินอาจมีีการสอบทานหรืือสุ่�มตรวจสอบ
การดำำ�เนิินการของสำำ�นัักงานเขตให้้เป็็นไปตามแนวทางที่่�กำ�ำ หนด เพื่�อให้้การเก็็บรวบรวมข้้อมููลแบบวััดการรัับรู้�
ของผู้้�มีีส่่วนได้้ส่่วนเสีียภายนอก (EIT) ได้้ข้้อมููลที่่�มีีคุุณภาพและสามารถสะท้้อนผลของสำำ�นัักงานเขต ได้้ตามหลััก
ทางวิิชาการมากที่่�สุดุ

การเก็บ็ ข้้อมููลแบบตรวจการเปิิดเผยข้้อมูลู สาธารณะ (OIT) สำ�ำ หรัับสำ�ำ นักั งานเขต

ข้้อมููลแบบตรวจการเปิิดเผยข้้อมููลสาธารณะเก็็บข้้อมููลจากสำำ�นัักงานเขต กรุุงเทพมหานคร 50 เขต ที่�เข้้ารัับ
การประเมิิน โดยผู้้�ดูแู ลระบบ/ผู้�ประสานงานของสำำ�นักั งานเขต กรุงุ เทพมหานคร 50 เขต มีหี น้า้ ที่�ในการตอบแบบตรวจ
การเปิดิ เผยข้อ้ มููลสาธารณะ เขตละ 1 ชุดุ

การตอบแบบตรวจการเปิิดเผยข้้อมููลสาธารณะ (OIT) ในแต่่ละข้้อคำ�ำ ถาม โดยเลืือก “มีี” หรืือ “ไม่่มีี”
โดยหากเลืือก “มีี” ให้้ระบุุ URL ของหน้้าใดหน้้าหนึ่�งบนเว็็บไซต์์หลัักของสำ�ำ นัักงานเขต กรุุงเทพมหานคร ซึ่�งเนื้�อหา
ข้้อความหรืือลิิงค์์สำ�ำ หรัับเชื่�อมโยงไปยัังข้้อมููลตามที่�แต่่ละข้้อคำำ�ถามกำ�ำ หนด ส่่วนช่่อง “คำำ�อธิิบาย” สามารถกรอก
คำำ�อธิิบายเพิ่�มเติิมหรืือไม่ก่ ็ไ็ ด้้ โดยสำ�ำ นัักงานเขต กรุงุ เทพมหานคร สามารถส่่งลิิงค์ไ์ ด้้มากกว่่า 1 ลิิงค์ใ์ นแต่่ละข้อ้

กรณีีที่่�สำำ�นัักงานเขต กรุุงเทพมหานคร มีีข้้อจำ�ำ กััดหรืือเหตุุผลความจำ�ำ เป็็น ทำ�ำ ให้้เผยแพร่่ข้้อมููลได้้ไม่่ตรงตาม
รายละเอียี ดที่่�กำ�ำ หนดหรือื ไม่ส่ ามารถเผยแพร่ข่ ้อ้ มูลู ตามรายละเอียี ดที่่�กำ�ำ หนดตามแบบตรวจการเปิดิ เผยข้อ้ มูลู สาธารณะ
(OIT) ได้้ ให้้สำำ�นักั งานเขต กรุงุ เทพมหานคร อธิิบายเหตุุผลความจำ�ำ เป็็นประกอบโดยละเอีียด

16 คู่ม�่ ืือการประเมิินคุณุ ธรรมและความโปร่่งใสในการดำำ�เนินิ งานของหน่่วยงานภาครััฐ
(Integrity and Transparency Assessment : ITA)
ของสำ�ำ นักั งานเขต กรุงุ เทพมหานคร ประจำ�ำ ปีงี บประมาณ พ.ศ. 2565

ข้้อควรระวััง #2

สำ�ำ นัักงานเขต จะต้้องทำ�ำ ความเข้้าใจในรายละเอีียดของแต่่ละข้้อคำ�ำ ถาม สอบทานข้้อมููลและการเปิิดเผยข้้อมููล
ในการตอบคำ�ำ ถามให้ช้ ัดั เจนมากที่่�สุดุ โดยสามารถขอรับั คำำ�แนะนำำ�จากคณะที่�ปรึกึ ษาการประเมินิ ได้ภ้ ายในระยะเวลา
ที่่�กำ�ำ หนด ในขั้�นตอนการตอบคำำ�ถาม
ทั้�งนี้� หลัังจากสิ้�นสุุดระยะเวลาในขั้�นตอนการตอบคำำ�ถามแล้ว้ สำ�ำ นัักงานเขตจะไม่ส่ ามารถแก้ไ้ ขข้้อมูลู หรือื ส่ง่ ข้อ้ มูลู
เพิ่�มเติมิ ได้้

ข้้อควรระวังั #3

สำำ�นัักงานเขต จะต้้องรัักษาและคงสภาพเว็็บไซต์์หลัักของหน่่วยงานให้้สาธารณชนสามารถเข้้าถึึงได้้ทุุกช่่วงเวลา
อย่่างไรก็็ตาม ในกรณีีเกิิดเหตุุจำ�ำ เป็็นทางเทคนิิคทำ�ำ ให้้เว็็บไซต์์หลัักของหน่่วยงานไม่่สามารถเข้้าถึึงได้้ชั่�วคราว
สำำ�นัักงานเขตจะต้้องแก้้ไขให้้สามารถเข้้าถึึงได้้โดยเร็็วและภายในระยะเวลาที่่�กำ�ำ หนดในขั้�นตอนการตรวจสอบ
การเปิดิ เผยข้้อมูลู

ข้อ้ ควรระวััง #4

กรณีีที่่�สำ�ำ นัักงานเขต ไม่่สามารถเปิิดเผยข้้อมููลใดได้้ เนื่�องจากมีีข้้อจำำ�กััดหรืือเหตุุผลความจำ�ำ เป็็นทำ�ำ ให้้ไม่่สามารถ
เผยแพร่่ข้้อมููลตามรายละเอีียดที่่�กำ�ำ หนดได้้ ให้้หน่่วยงานอธิิบายเหตุุผลความจำ�ำ เป็็นมาอย่่างละเอีียด โดยจะต้้องมีี
สาเหตุุด้้านกฎหมายหรือื ข้อ้ จำำ�กััดอัันสุุดวิิสัยั ประกอบการตอบ

คู่่ม� ือื การประเมินิ คุุณธรรมและความโปร่่งใสในการดำ�ำ เนินิ งานของหน่่วยงานภาครััฐ 17
(Integrity and Transparency Assessment : ITA)

ของสำ�ำ นักั งานเขต กรุงุ เทพมหานคร ประจำำ�ปีีงบประมาณ พ.ศ. 2565

5. รายละเอยี ดตวั ชวี้ ดั ทใี่ ช้ในการประเมนิ

ตัวั ชี้้�วัดั ที่่� 1 การปฏิบิ ัตั ิิหน้้าที่่�
คำ�ำ อธิิบาย เป็็นตััวชี้้�วััดที่่�มีีวััตถุุประสงค์์เพื่�อประเมิินการรัับรู้�ของบุุคลากรภายในหน่่วยงานต่่อการปฏิิบััติิงาน

ของบุุคลากรอื่�นในหน่่วยงานของตนเองในประเด็็นที่�เกี่�ยวข้้องกัับการปฏิิบััติิงาน โดยยึึดหลัักตามมาตรฐาน
มีีความโปร่่งใส ปฏิิบััติิงานหรืือดำ�ำ เนิินการตามขั้�นตอนและระยะเวลาที่่�กำำ�หนดไว้้อย่่างเคร่่งครััด และจะต้้องเป็็นไป
อย่่างเท่่าเทีียมกััน ไม่่ว่่าจะเป็็นผู้�มาติิดต่่อทั่�วไปหรืือผู้�มาติิดต่่อที่�รู้�จักกัันเป็็นการส่่วนตััว รวมไปถึึงการปฏิิบััติิงาน
อย่า่ งมุ่�งมั่�น เต็ม็ ความสามารถ และมีคี วามรับั ผิดิ ชอบต่อ่ งานในหน้า้ ที่�ที่�รับผิดิ ชอบ ซึ่�งล้ว้ นถือื เป็น็ ลักั ษณะการปฏิบิ ัตั ิหิ น้า้ ที่�
ในฐานะเจ้้าหน้า้ ที่�ของรัฐั อย่า่ งมีีคุุณธรรม

นอกจากนี้� ยัังประเมิินการรัับรู้�ในประเด็็นที่�เกี่�ยวข้อ้ งกัับพฤติกิ รรมการเรีียกรับั เงินิ ทรัพั ย์์สินิ หรืือประโยชน์อ์ื่�น ๆ
ของบุุคลากรอื่�นในหน่่วยงาน ทั้�งในกรณีีที่�แลกกัับการปฏิิบััติิหน้้าที่� และในกรณีีช่่วงเทศกาลหรืือวาระสำ�ำ คััญต่่าง ๆ
ตามขนบธรรมเนียี ม ประเพณีี หรืือแม้แ้ ต่ก่ รณีีการให้้เงิิน ทรัพั ย์์สิิน หรือื ประโยชน์์อื่�น ๆ ต่อ่ บุคุ คลภายนอก ซึ่�งถืือเป็น็
ความเสี่�ยงที่�อาจจะก่่อให้เ้ กิิดการรัับสินิ บนได้้ในอนาคต

แหล่ง่ ข้้อมููล ผู้้�มีสี ่่วนได้ส้ ่่วนเสีียภายใน
ประเด็็นสำำ�รวจ ประกอบด้้วยข้อ้ คำำ�ถามจำำ�นวน 6 ข้้อ ดัังต่่อไปนี้�

ประเด็นการประเมิน ระดบั มากที่่�สุดุ

I1 บุคุ ลากรในสำ�ำ นักั งานเขตของท่า่ น ปฏิบิ ัตั ิงิ าน/ให้บ้ ริกิ าร น้้อยที่ส�่ ุุด น้้อย มาก
แก่ผู่้�มาติดิ ต่อ่ ตามประเด็็นดัังต่อ่ ไปนี้� มากน้้อยเพียี งใด หรือื ไม่ม่ ีีเลย

โปร่ง่ ใสเป็น็ ไปตามขั้�นตอนที่่�กำ�ำ หนด
โปร่่งใสเป็น็ ไปตามระยะเวลาที่่�กำ�ำ หนด

ประเด็็นการประเมินิ น้้อยที่ส่� ุุด ระดัับ มากที่�ส่ ุดุ
หรือื ไม่ม่ ีีเลย
น้้อย มาก

I2 บุคุ ลากรในสำำ�นักั งานเขตของท่า่ น ปฏิบิ ัตั ิงิ าน/ให้บ้ ริกิ าร
แก่ผู่้�มาติิดต่อ่ ทั่�ว ๆ ไป กัับผู้�มาติิดต่อ่ ที่�รู้�จักเป็็นการส่ว่ นตัวั
อย่า่ งเท่า่ เทียี มกันั เพีียงใด

18 คู่ม่� ืือการประเมินิ คุณุ ธรรมและความโปร่่งใสในการดำำ�เนิินงานของหน่่วยงานภาครัฐั
(Integrity and Transparency Assessment : ITA)
ของสำ�ำ นักั งานเขต กรุุงเทพมหานคร ประจำ�ำ ปีงี บประมาณ พ.ศ. 2565

ประเด็น็ การประเมินิ ระดับั

I3 บุุคลากรในสำำ�นัักงานเขตของท่่าน มีีพฤติิกรรม น้อ้ ยที่ส�่ ุดุ น้้อย มาก มากที่ส�่ ุดุ
ในการปฏิิบััติิงาน ตามประเด็็นดัังต่่อไปนี้� อย่า่ งไร หรือื ไม่ม่ ีีเลย

มุ่�งผลสำ�ำ เร็จ็ ของงาน

ให้้ความสำำ�คััญกัับงานมากกว่า่ ธุุระส่ว่ นตััว

พร้อ้ มรัับผิิดชอบ หากความผิิดพลาดเกิิดจากตนเอง

ประเด็น็ การประเมินิ ระดับ

I4 บุุคลากรในสำำ�นัักงานเขตของท่่าน มีีการเรีียกรัับสิ่�งดัังต่่อไปนี้� จากผู้�มาติิดต่่อ มี ไม่มี
เพื่�อแลกกัับการปฏิบิ ัตั ิงิ าน การอนุุมััติิ อนุุญาต หรืือให้บ้ ริกิ าร หรืือไม่่

เงิิน

ทรััพย์ส์ ินิ

ประโยชน์์อื่�น ๆ ที่�อาจคำำ�นวณเป็็นเงิินได้้ เช่่น การลดราคา การรับั ความบันั เทิงิ เป็็นต้น้

หมายเหตุุ: - เป็็นการเรียี กรับั ที่�นอกเหนืือจากที่�กฎหมายกำ�ำ หนดให้ร้ ับั ได้้ เช่น่ ค่่าธรรมเนียี ม ค่่าบริิการ ค่่าปรัับ เป็็นต้้น
- ที่�มา พระราชบััญญัตั ิิประกอบรัฐั ธรรมนูญู ว่่าด้ว้ ยการป้อ้ งกัันและปราบปรามการทุุจริติ แห่ง่ ชาติิ พ.ศ. 2561

ประเด็็นการประเมิิน ระดบั

I5 ในช่ว่ งเทศกาลหรืือวาระสำำ�คัญั ต่่าง ๆ ตามขนบธรรมเนียี ม ประเพณีี บุุคลากรในสำำ�นัักงานเขต มี ไม่มี
ของท่่าน มีกี ารรับั สิ่�งดังั ต่่อไปนี้� นอกเหนืือจากการรับั โดยธรรมจรรยา หรือื ไม่่

เงินิ

ทรััพย์์สินิ

ประโยชน์์อื่�น ๆ ที่�อาจคำำ�นวณเป็น็ เงินิ ได้้ เช่่น การลดราคา การรับั ความบันั เทิงิ เป็็นต้น้

หมายเหตุุ: การรัับโดยธรรมจรรยา หมายถึึง การรัับจากญาติิหรืือจากบุุคคล ที่�ให้้กัันในโอกาสต่่าง ๆ โดยปกติิตามขนบธรรมเนีียม
ประเพณีี หรือื วััฒนธรรม หรือื ให้ก้ ันั ตามมารยาทที่�ปฏิิบัตั ิิกัันในสังั คม

ประเด็น็ การประเมินิ ระดัับ

I6 บุุคลากรในสำำ�นัักงานเขตของท่่าน มีีการให้้สิ่�งดัังต่่อไปนี้� แก่่บุุคคลภายนอก หรืือภาคเอกชน มีี ไม่่มีี
เพื่�อสร้้างความสัมั พัันธ์แ์ ละคาดหวัังให้ม้ ีีประโยชน์์ต่า่ งตอบแทนในอนาคต หรืือไม่่

เงินิ
ทรััพย์์สิิน
ประโยชน์์อื่�น ๆ เช่น่ การยกเว้น้ ค่่าบริกิ าร การอำำ�นวยความสะดวกเป็็นกรณีพี ิเิ ศษ เป็น็ ต้น้

คู่�่มืือการประเมินิ คุณุ ธรรมและความโปร่่งใสในการดำ�ำ เนินิ งานของหน่่วยงานภาครััฐ 19
(Integrity and Transparency Assessment : ITA)

ของสำำ�นักั งานเขต กรุุงเทพมหานคร ประจำำ�ปีีงบประมาณ พ.ศ. 2565

ตัวั ชี้้�วััดที่่� 2 การใช้ง้ บประมาณ
คำำ�อธิิบาย เป็็นตััวชี้้�วััดที่่�มีีวััตถุุประสงค์์เพื่�อประเมิินการรัับรู้�ของบุุคลากรภายในหน่่วยงานต่่อการดำำ�เนิินการ

ต่่าง ๆ ของหน่่วยงานของตนเอง ในประเด็น็ ที่�เกี่�ยวข้อ้ งกัับการใช้จ้ ่่ายเงินิ งบประมาณ นัับตั้�งแต่่การจััดทำ�ำ แผนการใช้้จ่่าย
งบประมาณประจำ�ำ ปีแี ละเผยแพร่อ่ ย่า่ งโปร่ง่ ใส ไปจนถึงึ ลักั ษณะการใช้จ้ ่า่ ยงบประมาณของหน่ว่ ยงานอย่า่ งคุ้�มค่า่ เป็น็ ไป
ตามวััตถุุประสงค์์ และไม่่เอื้�อประโยชน์์แก่่ตนเองหรืือพวกพ้้อง การเบิิกจ่่ายเงิินของบุุคลากรภายในในเรื่�องต่่าง ๆ
เช่น่ ค่า่ ทำ�ำ งานล่ว่ งเวลา ค่า่ วัสั ดุอุ ุปุ กรณ์์ หรือื ค่า่ เดินิ ทาง ฯลฯ ตลอดจนกระบวนการจัดั ซื้�อจัดั จ้า้ งและการตรวจรับั พัสั ดุดุ ้ว้ ย

นอกจากนี้� ยังั ให้ค้ วามสำำ�คัญั กับั การเปิดิ โอกาสให้บ้ ุคุ ลากรภายในมีสี ่ว่ นร่ว่ มในการตรวจสอบการใช้จ้ ่า่ ยงบประมาณ
ของหน่่วยงานตนเองได้้

แหล่่งข้อ้ มููล ผู้้�มีสี ่่วนได้ส้ ่ว่ นเสีียภายใน
ประเด็็นสำ�ำ รวจ ประกอบด้้วยข้อ้ คำ�ำ ถามจำำ�นวน 6 ข้อ้ ดังั ต่อ่ ไปนี้�

ประเด็น็ การประเมิิน น้้อยที่ส�่ ุุด ระดับั มากที่่ส� ุดุ
หรือื ไม่ม่ ีีเลย
น้อ้ ย มาก

I7 ท่่านรู้�เกี่�ยวกัับแผนการใช้้จ่่ายงบประมาณประจำ�ำ ปีี
ของสำ�ำ นัักงานเขตของท่า่ น มากน้้อยเพียี งใด

ประเด็็นการประเมิิน ระดัับ มากที่ส่� ุดุ

I8 สำำ�นัักงานเขตของท่่าน ใช้้จ่่ายงบประมาณ น้อ้ ยที่ส�่ ุดุ น้้อย มาก
โดยเป็็นไปตามประเด็น็ ดัังต่อ่ ไปนี้� มากน้อ้ ยเพียี งใด หรือื ไม่ม่ ีีเลย

ความคุ้ �มค่า่
ตรงตามวัตั ถุปุ ระสงค์ข์ องงบประมาณที่�ตั้�งไว้้

หมายเหตุุ: ที่่�มา พระราชบัญั ญัตั ิวิ ินิ ัยั การเงิินการคลัังของรััฐ พ.ศ. 2561

ประเด็น็ การประเมิิน น้้อยที่ส�่ ุุด ระดัับ มากที่ส�่ ุดุ
หรือื ไม่ม่ ีีเลย
น้้อย มาก

I9 สำำ�นักั งานเขตของท่า่ น ใช้้จ่่ายงบประมาณ
เพื่�อประโยชน์์ส่่วนตััว กลุ่�ม หรืือพวกพ้้อง มากน้้อยเพียี งใด

20 คู่�่มือื การประเมิินคุุณธรรมและความโปร่่งใสในการดำำ�เนินิ งานของหน่่วยงานภาครัฐั
(Integrity and Transparency Assessment : ITA)
ของสำ�ำ นัักงานเขต กรุุงเทพมหานคร ประจำำ�ปีีงบประมาณ พ.ศ. 2565

ประเด็็นการประเมินิ น้้อยที่ส�่ ุุด ระดัับ มากที่�ส่ ุดุ
หรือื ไม่ม่ ีีเลย
น้้อย มาก

I10 บุุคลากรในสำำ�นัักงานเขตของท่่าน มีีการเบิิกจ่่ายเงิิน
ที่�เป็็นเท็็จ เช่่น ค่่าทำ�ำ งานล่่วงเวลา ค่่าวััสดุุอุุปกรณ์์ หรืือ
ค่่าเดินิ ทาง ฯลฯ มากน้้อยเพียี งใด

ประเด็็นการประเมินิ ระดับั

I11 สำำ�นัักงานเขตของท่่าน มีีการจััดซื้�อจััดจ้้าง/การจััดหา น้้อยที่�่สุดุ น้้อย มาก มากที่ส�่ ุดุ
พัสั ดุุ และการตรวจรับั พััสดุุในลัักษณะดัังต่อ่ ไปนี้� มากน้้อย หรือื ไม่ม่ ีีเลย
เพีียงใด

โปร่่งใส ตรวจสอบได้้

เอื้ �อประโยชน์์ให้ผ้ ู้ �ประกอบการรายใดรายหนึ่ �ง

ประเด็น็ การประเมิิน ระดัับ

I12 สำ�ำ นัักงานเขตของท่่าน มีีช่่องทางให้้ท่่านมีีส่่วนร่่วม น้อ้ ยที่ส่� ุดุ น้อ้ ย มาก มากที่ส�่ ุดุ
ในการตรวจสอบการใช้้จ่่ายเงิินงบประมาณ ตามประเด็็น หรือื ไม่ม่ ีีเลย
ดัังต่่อไปนี้� มากน้้อยเพีียงใด

ช่่องทางการสอบถาม

ช่่องทางการทัักท้ว้ ง

ช่่องทางการร้้องเรีียน

คู่�่มือื การประเมิินคุุณธรรมและความโปร่่งใสในการดำ�ำ เนินิ งานของหน่่วยงานภาครัฐั 21
(Integrity and Transparency Assessment : ITA)

ของสำ�ำ นักั งานเขต กรุุงเทพมหานคร ประจำ�ำ ปีงี บประมาณ พ.ศ. 2565

ตััวชี้้�วััดที่่� 3 การใช้อ้ ำ�ำ นาจ
คำำ�อธิิบาย เป็็นตััวชี้้�วััดที่่�มีีวััตถุุประสงค์์เพื่�อประเมิินการรัับรู้�ของบุุคลากรภายในหน่่วยงานต่่อการใช้้อำ�ำ นาจของ

ผู้้�บัังคัับบััญชาของตนเอง ในประเด็็นที่�เกี่�ยวข้้องกัับการมอบหมายงาน การประเมิินผล การปฏิิบััติิงาน การคััดเลืือก
บุุคลากรเพื่�อให้ส้ ิทิ ธิปิ ระโยชน์์ต่า่ ง ๆ ซึ่�งจะต้้องเป็็นไปอย่่างเป็็นธรรม และไม่เ่ ลือื กปฏิบิ ััติิ รวมไปถึึงการใช้้อำ�ำ นาจสั่�งการ
ให้ผู้้�ใต้้บังั คัับบััญชาทำ�ำ ในธุรุ ะส่่วนตัวั ของผู้้�บังั คับั บััญชาหรืือทำำ�ในสิ่�งที่�ไม่่ถูกู ต้้อง

นอกจากนี้� ยัังประเมิินเกี่�ยวกัับกระบวนการบริิหารงานบุุคคลที่�อาจเกิิดการแทรกแซงจากผู้้�มีีอำำ�นาจ การซื้�อขาย
ตำ�ำ แหน่่ง หรือื การเอื้�อผลประโยชน์ใ์ ห้ก้ ลุ่�มหรือื พวกพ้้อง

แหล่ง่ ข้้อมูลู ผู้้�มีสี ่ว่ นได้ส้ ่่วนเสีียภายใน
ประเด็น็ สำ�ำ รวจ ประกอบด้ว้ ยข้อ้ คำำ�ถามจำำ�นวน 6 ข้อ้ ดังั ต่อ่ ไปนี้�
คำ�ำ นิิยาม: ผู้้�บัังคัับบััญชาของท่่าน หมายถึึง ผู้้�บัังคัับบััญชาตามสายงานในลำ�ำ ดัับที่่�สููงกว่่าท่่าน และทำ�ำ หน้้าที่�
มอบหมายงานแก่ท่ ่า่ นโดยตรง เช่่น หากท่่านปฏิิบััติิงานอยู่�ในฝ่า่ ยปกครอง ผู้้�บัังคัับบััญชา หมายถึึง หััวหน้า้ ฝ่า่ ยปกครอง
หรืือหากท่า่ นปฏิิบััติงิ านฝ่า่ ยเทศกิิจ ผู้้�บัังคับั บัญั ชา หมายถึงึ หัวั หน้้าฝ่า่ ยเทศกิิจ

ในกรณีทีี่� ผู้้�อำำ�นวยการเขต เป็น็ ผู้�ตอบแบบประเมินิ เอง “ผู้้�บังั คับั บัญั ชาของท่า่ นตามข้อ้ I13-I17” ให้ผ้ ู้้�อำำ�นวยการเขต
ประเมินิ การใช้อ้ ำำ�นาจของตนเอง

ระดับั

ประเด็็นการประเมิิน น้อ้ ยที่ส่� ุุด น้อ้ ย มาก มากที่�ส่ ุดุ
หรือื ไม่ม่ ีีเลย

I13 ผู้้�บัังคัับบััญชาของท่่าน มอบหมายงานแก่่ท่่าน
อย่่างเป็็นธรรม มากน้อ้ ยเพีียงใด

หมายเหตุุ: การมอบหมาย หมายถึึง การมอบหมายงานตามตำ�ำ แหน่ง่ หน้า้ ที่� หากกรณีผี ู้้�บังั คัับบััญชามอบหมายงานให้ป้ ฏิบิ ััติิภารกิิจอื่�น
นอกเหนืือจากการกำำ�หนดตำ�ำ แหน่่ง (Job Description) ให้้มีีการมอบหมายงานในลัักษณะงานที่�ได้้รัับมอบหมายพิิเศษ
ให้้ชัดั เจน

ประเด็็นการประเมิิน น้อ้ ยที่ส่� ุดุ ระดับั มากที่ส�่ ุดุ
หรือื ไม่ม่ ีีเลย
น้อ้ ย มาก

I14 ท่่านได้้รัับการประเมิินผลการปฏิิบััติิงาน ตามระดัับ
คุุณภาพของผลงาน มากน้อ้ ยเพีียงใด

22 คู่�่มืือการประเมิินคุุณธรรมและความโปร่่งใสในการดำำ�เนินิ งานของหน่่วยงานภาครัฐั
(Integrity and Transparency Assessment : ITA)
ของสำ�ำ นักั งานเขต กรุงุ เทพมหานคร ประจำ�ำ ปีงี บประมาณ พ.ศ. 2565

ประเด็น็ การประเมิิน น้อ้ ยที่ส�่ ุดุ ระดับั มากที่�ส่ ุดุ
หรือื ไม่ม่ ีีเลย
น้อ้ ย มาก

I15 ผู้้�บัังคัับบััญชาของท่่าน คััดเลืือกบุุคลากรเข้้ารัับ
การพััฒนา เช่น่ เข้า้ รับั การอบรม ศึึกษาดูงู าน หรือื ให้้ทุุน
การศึกึ ษา ฯลฯ อย่่างเป็็นธรรม มากน้อ้ ยเพีียงใด

ประเด็น็ การประเมินิ น้อ้ ยที่ส่� ุดุ ระดับั มากที่่ส� ุดุ
หรือื ไม่ม่ ีีเลย
น้้อย มาก

I16 ผู้้�บัังคัับบััญชาของท่่านสั่�งการให้้ท่่านทำ�ำ ธุุระส่่วนตััว
ของผู้้�บัังคับั บัญั ชา มากน้้อยเพีียงใด

ประเด็น็ การประเมินิ น้้อยที่ส�่ ุุด ระดัับ มากที่่ส� ุดุ
หรือื ไม่ม่ ีีเลย
น้อ้ ย มาก

I17 ผู้้�บัังคัับบััญชาของท่่านสั่�งการให้้ท่่านทำ�ำ ในสิ่�งที่�
ไม่ถ่ ููกต้้อง หรือื มีีความเสี่�ยงต่อ่ การทุุจริิต มากน้้อยเพียี งใด

ประเด็น็ การประเมิิน ระดับั

I18 การบริิหารงานบุุคคลของสำ�ำ นัักงานเขตของท่่าน น้้อยที่ส่� ุดุ น้้อย มาก มากที่ส�่ ุุด
มีีลักั ษณะดังั ต่อ่ ไปนี้� มากน้อ้ ยเพีียงใด หรือื ไม่ม่ ีีเลย

ถููกแทรกแซงจากผู้้�มีอี ำำ�นาจ

มีกี ารซื้�อขายตำำ�แหน่่ง

เอื้�อประโยชน์์ให้ก้ ลุ่�มหรืือพวกพ้้อง

คู่่�มือื การประเมิินคุณุ ธรรมและความโปร่่งใสในการดำ�ำ เนินิ งานของหน่่วยงานภาครัฐั 23
(Integrity and Transparency Assessment : ITA)

ของสำ�ำ นักั งานเขต กรุงุ เทพมหานคร ประจำำ�ปีงี บประมาณ พ.ศ. 2565

ตัวั ชี้้�วััดที่่� 4 การใช้ท้ รัพั ย์์สิินของราชการ
คำ�ำ อธิบิ าย เป็น็ ตัวั ชี้้�วัดที่่�มีวี ัตั ถุปุ ระสงค์เ์ พื่�อประเมินิ การรับั รู้�ของบุคุ ลากรภายในหน่ว่ ยงานต่อ่ การใช้ท้ รัพั ย์ส์ ินิ ของ

ราชการ ในประเด็็นที่�เกี่�ยวข้้องกัับพฤติิกรรมของบุุคลากรภายใน ในการนำำ�ทรััพย์์สิินของราชการของหน่่วยงานไปเป็็น
ของตนเองหรือื นำำ�ไปให้้ผู้�อื่�น และพฤติิกรรมในการขอยืืมทรััพย์์สิินของราชการ ทั้�งการยืืมโดยบุคุ ลากรภายในหน่ว่ ยงาน
และการยืมื โดยบุุคคลภายนอกหน่่วยงาน ซึ่�งหน่่วยงานจะต้อ้ งมีกี ระบวนการในการขออนุุญาตที่่�ชััดเจนและสะดวก

นอกจากนี้� หน่ว่ ยงานจะต้้องมีกี ารจััดทำ�ำ แนวทางปฏิิบัตั ิิเกี่�ยวกัับการใช้้ทรัพั ย์์สินิ ของราชการที่่�ถููกต้้อง เพื่�อเผยแพร่่
ให้บ้ ุคุ ลากรภายในได้ร้ ับั ทราบและนำ�ำ ไปปฏิบิ ัตั ิิ รวมไปถึงึ หน่ว่ ยงานจะต้อ้ งมีกี ารกำำ�กับั ดูแู ลและตรวจสอบการใช้ท้ รัพั ย์ส์ ินิ
ของราชการของหน่ว่ ยงานด้้วย

แหล่่งข้อ้ มูลู ผู้้�มีีส่่วนได้ส้ ่ว่ นเสีียภายใน
ประเด็น็ สำ�ำ รวจ ประกอบด้ว้ ยข้้อคำำ�ถามจำำ�นวน 6 ข้อ้ ดัังต่อ่ ไปนี้�

ประเด็น็ การประเมินิ น้้อยที่ส�่ ุดุ ระดัับ มากที่่�สุดุ
หรือื ไม่ม่ ีีเลย
น้้อย มาก

I19 บุคุ ลากรในสำำ�นัักงานเขตของท่า่ น มีีการเอาทรัพั ย์์สิิน
ของราชการไปเป็็นของส่่วนตััว หรืือนำ�ำ ไปให้้กลุ่�ม
หรือื พวกพ้อ้ ง มากน้อ้ ยเพียี งใด

ประเด็น็ การประเมิิน น้้อยที่ส�่ ุุด ระดับั มากที่ส�่ ุดุ
หรือื ไม่ม่ ีีเลย
น้้อย มาก

I20 ขั้�นตอนการขออนุุญาตเพื่�อยืืมทรััพย์์สิินของราชการ
ไปใช้้ปฏิิบััติิงานในสำำ�นัักงานเขตของท่่าน มีีความสะดวก
มากน้อ้ ยเพีียงใด

ประเด็น็ การประเมินิ น้้อยที่ส่� ุดุ ระดัับ มากที่่ส� ุดุ
หรือื ไม่ม่ ีีเลย
น้อ้ ย มาก

I21 กรณีีที่่�ต้้องมีีการขอยืืมทรััพย์์สิินของราชการไปใช้้
ปฏิิบััติิงาน บุุคลากรในสำ�ำ นัักงานเขตของท่่าน มีีการ
ขออนุุญาตอย่า่ งถูกู ต้้อง มากน้อ้ ยเพีียงใด

24 คู่ม่� ือื การประเมินิ คุณุ ธรรมและความโปร่่งใสในการดำำ�เนิินงานของหน่่วยงานภาครัฐั
(Integrity and Transparency Assessment : ITA)
ของสำ�ำ นัักงานเขต กรุงุ เทพมหานคร ประจำ�ำ ปีงี บประมาณ พ.ศ. 2565

ประเด็น็ การประเมินิ น้อ้ ยที่ส�่ ุดุ ระดับั มากที่�่สุดุ
หรือื ไม่ม่ ีีเลย
น้้อย มาก

I22 บุุคคลภายนอกหรืือภาคเอกชน มีีการนำ�ำ ทรััพย์์สิิน
ของราชการไปใช้้ โดยไม่่ได้้ขออนุุญาตอย่่างถููกต้้อง
จากสำำ�นัักงานเขตของท่่าน มากน้อ้ ยเพียี งใด

ประเด็น็ การประเมินิ น้้อยที่ส�่ ุดุ ระดับั มากที่่ส� ุดุ
หรือื ไม่ม่ ีีเลย
น้อ้ ย มาก

I23 ท่่านรู้�แนวปฏิิบััติิของสำำ�นัักงานเขตของท่่าน เกี่�ยวกัับ
การใช้ท้ รััพย์ส์ ิินของราชการที่่�ถููกต้้อง มากน้้อยเพีียงใด

ประเด็น็ การประเมิิน น้อ้ ยที่ส�่ ุุด ระดับั มากที่�่สุดุ
หรือื ไม่ม่ ีีเลย
น้อ้ ย มาก

I24 สำำ�นักั งานเขตของท่่าน มีีการกำำ�กัับดูแู ลและตรวจสอบ
การใช้ท้ รัพั ย์ส์ ินิ ของราชการ เพื่�อป้อ้ งกันั ไม่ใ่ ห้ม้ ีกี ารนำำ�ไปใช้้
ประโยชน์์ส่่วนตัวั กลุ่�ม หรืือพวกพ้อ้ ง มากน้อ้ ยเพีียงใด

ตัวั ชี้้�วััดที่่� 5 การแก้ไ้ ขปัญั หาการทุุจริิต
คำ�ำ อธิิบาย เป็็นตััวชี้้�วััดที่่�มีีวััตถุุประสงค์์เพื่�อประเมิินการรัับรู้�ของบุุคลากรภายในหน่่วยงานต่่อการแก้้ไขปััญหา

การทุุจริิตของหน่่วยงาน ในประเด็็นที่�เกี่�ยวข้้องกัับการให้้ความสำ�ำ คััญของผู้�บริิหารสููงสุุด ในการต่่อต้้านการทุุจริิต
อย่่างจริิงจััง โดยหน่่วยงานจะต้้องทบทวนนโยบายที่�เกี่�ยวข้้องกัับการป้้องกัันการทุุจริิตในหน่่วยงานให้้มีีประสิิทธิิภาพ
และจััดทำ�ำ แผนงานด้้านการป้้องกัันและปราบปรามการทุุจริิตของหน่่วยงาน เพื่�อให้้เกิิดการแก้้ไขปััญหาการทุุจริิต
ได้อ้ ย่า่ งเป็น็ รูปู ธรรม รวมไปถึงึ การประเมินิ เกี่�ยวกับั ประสิทิ ธิภิ าพการแก้ไ้ ขปัญั หาการทุจุ ริติ ของหน่ว่ ยงาน ที่�จะต้อ้ งทำ�ำ ให้้
การทุุจริิตในหน่่วยงานลดลงหรืือไม่่มีีเลย และจะต้้องสร้้างความเชื่�อมั่�นให้้บุุคลกรภายใน ในการร้้องเรีียนเมื่�อพบเห็็น
การทุุจริิตภายในหน่่วยงานด้้วย

นอกจากนี้�หน่ว่ ยงานจะต้อ้ งมีกี ระบวนการเฝ้า้ ระวังั ตรวจสอบการทุจุ ริติ ภายในหน่ว่ ยงานรวมถึงึ การนำ�ำ ผลการตรวจสอบ
ของฝ่า่ ยตรวจสอบ จากทั้�งภายในและภายนอกหน่ว่ ยงาน ไปปรัับปรุงุ การทำ�ำ งาน เพื่�อป้อ้ งกัันการทุจุ ริติ ในหน่่วยงาน

คู่่ม� ือื การประเมิินคุณุ ธรรมและความโปร่่งใสในการดำ�ำ เนินิ งานของหน่่วยงานภาครัฐั 25
(Integrity and Transparency Assessment : ITA)

ของสำำ�นักั งานเขต กรุุงเทพมหานคร ประจำำ�ปีีงบประมาณ พ.ศ. 2565

แหล่่งข้อ้ มููล ผู้้�มีีส่ว่ นได้ส้ ่่วนเสียี ภายใน
ประเด็็นสำ�ำ รวจ ประกอบด้ว้ ยข้อ้ คำ�ำ ถามจำำ�นวน 6 ข้้อ ดังั ต่อ่ ไปนี้�

ประเด็็นการประเมินิ น้้อยที่ส�่ ุุด ระดัับ มากที่ส�่ ุดุ
หรือื ไม่ม่ ีีเลย
น้้อย มาก

I25 ผู้้�อำ�ำ นวยการเขตของท่า่ น ให้ค้ วามสำ�ำ คัญั กับั การต่อ่ ต้า้ น
การทุจุ ริิตภายในเขต มากน้อ้ ยเพียี งใด

ประเด็น็ การประเมินิ ระดับั

I26 สำ�ำ นัักงานเขตของท่า่ น มีกี ารดำ�ำ เนินิ การ ดังั ต่อ่ ไปนี้� หรืือไม่่ มีี ไม่ม่ ีี
ผู้้�อำ�ำ นวยการเขต กำ�ำ ชับั สั่�งการ เฝ้้าระวััง ป้อ้ งกัันการทุุจริิตในฝ่่ายต่า่ ง ๆ ในสำ�ำ นักั งานเขต
แต่่ละฝ่่ายมีแี นวทางการป้้องกันั และปราบปรามการทุจุ ริิตที่่�ชััดเจน

ระดับั

ประเด็็นการประเมินิ น้้อยที่ส�่ ุุด น้อ้ ย มาก มากที่�ส่ ุดุ
หรือื ไม่ม่ ีีเลย มากที่ส�่ ุุด

I27 ปััญหาการทุุจริิตในสำ�ำ นัักงานเขตของท่่าน ได้้รัับ
การแก้ไ้ ข มากน้อ้ ยเพียี งใด

หมายเหตุุ: หากท่่านเห็น็ ว่า่ สำ�ำ นักั งานเขตของท่่านไม่ม่ ีีปััญหาการทุจุ ริติ ให้ต้ อบ “มากที่่�สุดุ ”

ประเด็็นการประเมิิน ระดัับ

I28 สำ�ำ นัักงานเขตของท่่าน มีีการดำำ�เนิินการดัังต่่อไปนี้� น้อ้ ยที่่ส� ุุด น้อ้ ย มาก
ต่่อการทุุจริิตในสำ�ำ นักั งานเขต มากน้อ้ ยเพีียงใด หรือื ไม่ม่ ีีเลย

เฝ้า้ ระวังั

ตรวจสอบ

ลงโทษทางวินิ ััยหากมีีการทุจุ ริติ

26 คู่่�มือื การประเมิินคุุณธรรมและความโปร่่งใสในการดำำ�เนินิ งานของหน่่วยงานภาครััฐ
(Integrity and Transparency Assessment : ITA)
ของสำ�ำ นักั งานเขต กรุุงเทพมหานคร ประจำำ�ปีีงบประมาณ พ.ศ. 2565

ระดับั

ประเด็น็ การประเมิิน น้้อยที่ส�่ ุุด น้้อย มาก มากที่�่สุดุ
หรือื ไม่ม่ ีีเลย

I29 สำำ�นัักงานเขตของท่่าน มีีการนำ�ำ ผลการตรวจสอบ
ของฝ่่ายตรวจสอบ ทั้�งภายในและภายนอกสำำ�นัักงานเขต
ไปปรับั ปรุงุ การทำ�ำ งาน เพื่�อป้อ้ งกันั การทุจุ ริติ ในสำ�ำ นักั งานเขต
มากน้อ้ ยเพียี งใด

หมายเหตุุ: ฝ่่ายตรวจสอบภายใน หมายถึึง ส่่วนงานตรวจสอบภายในกรุงุ เทพมหานคร (สตน.)
ฝ่่ายตรวจสอบภายนอก หมายถึึง หน่่วยงานที่่�มีีอำำ�นาจหน้้าที่�ตรวจสอบการดำำ�เนิินงานของหน่่วยงานภาครััฐ เช่่น
สำำ�นัักงานการตรวจเงินิ แผ่่นดินิ (สตง.) เป็็นต้น้

ประเด็็นการประเมินิ ระดัับ

I30 หากท่่านพบเห็็นแนวโน้้มการทุุจริิตที่�จะเกิิดขึ้�น น้อ้ ยที่ส�่ ุุด น้้อย มาก มากที่ส�่ ุดุ
ในสำ�ำ นักั งานเขตหรือื ในฝ่า่ ยของท่า่ น ท่า่ นมีคี วามคิดิ เห็น็ ต่อ่ หรือื ไม่ม่ ีีเลย
ประเด็็นดัังต่อ่ ไปนี้� อย่า่ งไร

สามารถร้อ้ งเรีียนและส่ง่ หลัักฐานได้อ้ ย่่างสะดวก

สามารถติิดตามผลการร้อ้ งเรีียนได้้

มั่�นใจว่่าจะมีกี ารดำ�ำ เนิินการอย่า่ งตรงไปตรงมา

มั่�นใจว่า่ จะปลอดภัยั และไม่ม่ ีผี ลกระทบต่่อตนเอง

ตัวั ชี้้�วัดั ที่่� 6 คุุณภาพการดำ�ำ เนินิ งาน
คำ�ำ อธิบิ าย เป็็นตัวั ชี้้�วััดที่่�มีวี ััตถุุประสงค์์เพื่�อประเมิินการรับั รู้�ของผู้้�รับบริกิ าร ผู้�มาติิดต่่อ หรืือ ผู้้�มีสี ่่วนได้้ส่่วนเสียี

ของหน่่วยงานต่่อคุุณภาพการดำำ�เนิินงาน ในประเด็็นที่�เกี่�ยวข้้องกัับการปฏิิบััติิหน้้าที่�ของเจ้้าหน้้าที่� โดยยึึดหลัักตาม
มาตรฐาน ขั้�นตอน และระยะเวลาที่่�กำ�ำ หนดไว้้อย่่างเคร่่งครััด และจะต้้องเป็็นไปอย่่างเท่่าเทีียมกัันไม่่เลืือกปฏิิบััติิ
รวมถึงึ จะต้้องให้ข้ ้อ้ มููลเกี่�ยวกัับการดำำ�เนินิ การ/ให้บ้ ริิการของหน่ว่ ยงานแก่ร่ ับั บริิการ ผู้�มาติิดต่อ่ หรืือผู้้�มีีส่ว่ นได้้ส่่วนเสียี
อย่า่ งตรงไปตรงมา ไม่่ปิดิ บัังหรือื บิิดเบืือนข้้อมูลู ซึ่�งสะท้อ้ นถึงึ การปฏิิบัตั ิหิ น้้าที่�อย่า่ งมีีคุณุ ธรรม และยังั ประเมินิ การรับั รู้�
เกี่�ยวกับั ประสบการณ์ต์ รงในการถูกู เจ้า้ หน้า้ ที่�เรียี กรับั เงินิ ทรัพั ย์ส์ ินิ หรือื ประโยชน์อ์ื่�น ๆ เพื่�อแลกกับั การปฏิบิ ัตั ิหิ น้า้ ที่่�ด้ว้ ย

นอกจากนี้� ยังั ประเมินิ การรับั รู้�เกี่�ยวกับั การบริหิ ารงานและการดำ�ำ เนินิ งานในภาพรวมของหน่ว่ ยงาน ที่�จะต้อ้ งคำ�ำ นึงึ ถึงึ
ประโยชน์์ของประชาชนและส่่วนรวมเป็็นหลััก ไม่ม่ ีกี ารเอื้�อประโยชน์ใ์ ห้ก้ ัับบุุคคลใดบุุคคลหนึ่�ง หรือื กลุ่�มใดกลุ่�มหนึ่�ง

คู่ม�่ ืือการประเมิินคุุณธรรมและความโปร่่งใสในการดำ�ำ เนินิ งานของหน่่วยงานภาครัฐั 27
(Integrity and Transparency Assessment : ITA)

ของสำำ�นัักงานเขต กรุงุ เทพมหานคร ประจำ�ำ ปีงี บประมาณ พ.ศ. 2565

แหล่่งข้้อมููล ผู้้�มีีส่ว่ นได้ส้ ่ว่ นเสีียภายนอก ระดัับ มากที่ส่� ุดุ
ประเด็็นสำ�ำ รวจ ประกอบด้ว้ ยข้อ้ คำำ�ถามจำำ�นวน 5 ข้้อ ดัังต่อ่ ไปนี้�
น้้อย มาก
ประเด็็นการประเมิิน

E1 เจ้้าหน้้าที่�ของสำำ�นัักงานเขตที่่�ท่่านติิดต่่อ ปฏิิบััติิงาน/ น้อ้ ยที่ส่� ุดุ
ให้้บริิการแก่่ท่่าน ตามประเด็็นดัังต่อ่ ไปนี้� มากน้้อยเพียี งใด หรือื ไม่ม่ ีีเลย

โปร่่งใสเป็็นไปตามขั้�นตอนที่่�กำ�ำ หนด
โปร่่งใสเป็็นไปตามระยะเวลาที่่�กำ�ำ หนด

ประเด็น็ การประเมินิ น้้อยที่ส่� ุดุ ระดับั มากที่�ส่ ุดุ
หรือื ไม่ม่ ีีเลย
น้้อย มาก

E2 เจ้้าหน้้าที่�ของสำ�ำ นัักงานเขตที่่�ท่่านติิดต่่อ ปฏิิบััติิงาน/
ให้บ้ ริกิ ารแก่ท่ ่า่ น กับั ผู้�มาติดิ ต่อ่ คนอื่�น ๆ อย่า่ งเท่า่ เทียี มกันั
มากน้อ้ ยเพีียงใด

ประเด็็นการประเมิิน น้้อยที่ส�่ ุุด ระดับั มากที่่�สุดุ
หรือื ไม่ม่ ีีเลย
น้้อย มาก

E3 เจ้้าหน้้าที่�ของสำ�ำ นัักงานเขตที่่�ท่่านติิดต่่อ ให้้ข้้อมููล
เกี่�ยวกับั การดำ�ำ เนินิ การ/ให้บ้ ริกิ ารแก่ท่ ่า่ นอย่า่ งตรงไปตรงมา
ไม่ป่ ิิดบัังหรือื บิดิ เบือื นข้้อมูลู มากน้อ้ ยเพีียงใด

ประเด็็นการประเมิิน ระดัับ

E4 ในระยะเวลา 1 ปีีที่่�ผ่่านมา ท่่านเคยถููกเจ้า้ หน้า้ ที่�ของสำำ�นักั งานเขตที่่�ท่า่ นติดิ ต่อ่ ร้อ้ งขอให้้จ่า่ ย มีี ไม่่มีี
หรืือให้้สิ่�งดังั ต่อ่ ไปนี้� เพื่�อแลกกับั การปฏิิบััติงิ าน การอนุุมัตั ิิ อนุญุ าต หรือื ให้บ้ ริิการ หรือื ไม่่

เงินิ
ทรัพั ย์ส์ ินิ
ประโยชน์์อื่�น ๆ ที่�อาจคำำ�นวณเป็น็ เงิินได้้ เช่่น การลดราคา การให้้ความบัันเทิิง เป็น็ ต้้น

หมายเหตุุ: เป็็นการให้ท้ี่�นอกเหนืือจากที่�กฎหมายกำำ�หนด เช่่น ค่า่ ธรรมเนีียม ค่่าบริิการ ค่า่ ปรัับ เป็็นต้น้

28 คู่ม่� ืือการประเมิินคุณุ ธรรมและความโปร่่งใสในการดำำ�เนิินงานของหน่่วยงานภาครััฐ
(Integrity and Transparency Assessment : ITA)
ของสำ�ำ นักั งานเขต กรุุงเทพมหานคร ประจำ�ำ ปีงี บประมาณ พ.ศ. 2565

ประเด็็นการประเมิิน น้อ้ ยที่ส่� ุุด ระดับั มากที่�ส่ ุดุ
หรือื ไม่ม่ ีีเลย
น้อ้ ย มาก

E5 สำ�ำ นักั งานเขตที่่�ท่า่ นติดิ ต่อ่ มีกี ารดำ�ำ เนินิ งาน โดยคำำ�นึงึ ถึงึ
ประโยชน์์ของประชาชนและส่่วนรวมเป็็นหลััก มากน้้อย
เพีียงใด

ตััวชี้้�วััดที่่� 7 ประสิิทธิภิ าพการสื่�่อสาร
คำำ�อธิิบาย เป็็นตัวั ชี้้�วััดที่่�มีีวัตั ถุปุ ระสงค์์เพื่�อประเมิินการรับั รู้�ของผู้้�รับบริกิ าร ผู้�มาติดิ ต่อ่ หรืือผู้้�มีีส่่วนได้้ส่ว่ นเสียี

ของหน่่วยงานต่่อประสิิทธิิภาพการสื่�อสาร ในประเด็็นที่�เกี่�ยวข้้องกัับการเผยแพร่่ข้้อมููลของหน่่วยงานในเรื่�องต่่าง ๆ
ต่่อสาธารณชน ผ่่านช่่องทางที่�หลากหลาย สามารถเข้้าถึึงได้้ง่่าย และไม่่ซัับซ้้อน โดยข้้อมููลที่�เผยแพร่่จะต้้องครบถ้้วน
และเป็็นปััจจุุบััน โดยเฉพาะอย่่างยิ่�งผลการดำ�ำ เนิินงานของหน่่วยงานและข้้อมููลที่�สาธารณชนควรรัับทราบ รวมถึึง
การจััดให้้มีีช่่องทางให้้ผู้้�รัับบริิการ ผู้�มาติิดต่่อ หรืือผู้้�มีีส่่วนได้้ส่่วนเสีีย สามารถส่่งคำ�ำ ติิชมหรืือความคิิดเห็็นเกี่�ยวกัับ
การดำำ�เนิินงาน/การให้้บริิการ และมีีการชี้�แจงในกรณีีที่่�มีีข้้อกัังวลสงสััยได้้อย่่างชััดเจน นอกจากนี้� ยัังประเมิินการรัับรู้�
เกี่�ยวกัับการจััดให้้มีีช่่องทางให้้ผู้�มาติิดต่่อสามารถร้้องเรีียนการทุุจริิตของเจ้้าหน้้าที่�ในหน่่วยงานด้้วย ซึ่�งสะท้้อนถึึง
การสื่�อสารกัับผู้้�รับบริกิ าร ผู้�มาติดิ ต่อ่ หรือื ผู้้�มีสี ่่วนได้ส้ ่่วนเสียี อย่า่ งมีีประสิิทธิิภาพ

แหล่ง่ ข้้อมููล ผู้้�มีสี ่ว่ นได้ส้ ่่วนเสีียภายนอก
ประเด็็นสำ�ำ รวจ ประกอบด้้วยข้อ้ คำ�ำ ถามจำำ�นวน 5 ข้อ้ ดัังต่่อไปนี้�

ประเด็น็ การประเมิิน ระดับั

E6 การเผยแพร่่ข้้อมููลของสำำ�นัักงานเขตที่่�ท่่านติิดต่่อ น้อ้ ยที่ส่� ุดุ น้อ้ ย มาก มากที่�่สุดุ
มีลี ัักษณะดัังต่่อไปนี้� มากน้อ้ ยเพียี งใด หรือื ไม่ม่ ีีเลย

เข้้าถึงึ ง่า่ ย ไม่ซ่ ับั ซ้อ้ น

มีชี ่อ่ งทางหลากหลาย

ประเด็็นการประเมิิน น้อ้ ยที่ส�่ ุดุ ระดัับ มากที่่ส� ุดุ
หรือื ไม่ม่ ีีเลย
น้อ้ ย มาก

E7 สำำ�นัักงานเขตที่่�ท่่านติิดต่่อ มีีการเผยแพร่่ผลงาน หรืือ
ข้้อมููลที่�สาธารณชนควรรัับทราบอย่่างชััดเจน มากน้้อย
เพีียงใด

คู่่�มือื การประเมินิ คุุณธรรมและความโปร่่งใสในการดำ�ำ เนิินงานของหน่่วยงานภาครััฐ 29
(Integrity and Transparency Assessment : ITA)

ของสำ�ำ นักั งานเขต กรุุงเทพมหานคร ประจำำ�ปีงี บประมาณ พ.ศ. 2565

ประเด็น็ การประเมิิน ระดัับ

E8 สำำ�นัักงานเขตที่่�ท่่านติิดต่่อ มีีช่่องทางรัับฟัังคำำ�ติิชมหรืือความคิิดเห็็นเกี่�ยวกัับการดำ�ำ เนิินงาน/ มีี ไม่่มีี
การให้้บริิการ หรือื ไม่่

ประเด็น็ การประเมินิ น้อ้ ยที่ส�่ ุุด ระดับั มากที่ส�่ ุดุ
หรือื ไม่ม่ ีีเลย
น้้อย มาก

E9 สำำ�นักั งานเขตที่่�ท่า่ นติิดต่่อ มีีการชี้�แจงและตอบคำ�ำ ถาม
เมื่�อมีขี ้้อกัังวลสงสัยั เกี่�ยวกับั การดำำ�เนินิ งานได้้อย่า่ งชัดั เจน
มากน้อ้ ยเพียี งใด

หมายเหตุุ: หากท่า่ นไม่ม่ ีขี ้อ้ กังั วลสงสััยให้ต้ อบ “มากที่่�สุุด”

ประเด็น็ การประเมินิ ระดัับ

E10 สำ�ำ นัักงานเขตที่่�ท่่านติิดต่่อ มีีช่่องทางให้้ผู้�มาติิดต่่อร้้องเรีียนการทุุจริิตของเจ้้าหน้้าที่� มีี ไม่่มีี
ในสำ�ำ นัักงานเขต หรืือไม่่

ตััวชี้้�วัดั ที่่� 8 การปรัับปรุงุ ระบบการทำำ�งาน
คำ�ำ อธิบิ าย เป็็นตััวชี้้�วัดั ที่่�มีีวัตั ถุปุ ระสงค์์เพื่�อประเมิินการรัับรู้�ของผู้้�รับบริกิ าร ผู้�มาติิดต่่อ หรือื ผู้้�มีีส่ว่ นได้้ส่่วนเสียี

ของหน่ว่ ยงานต่อ่ การปรับั ปรุงุ ระบบการทำ�ำ งาน ในประเด็น็ ที่�เกี่�ยวข้อ้ งกับั การปรับั ปรุงุ พัฒั นาหน่ว่ ยงาน ทั้�งการปฏิบิ ัตั ิงิ าน
ของเจ้้าหน้้าที่�และกระบวนการทำ�ำ งานของหน่่วยงานให้้ดีียิ่�งขึ้�น รวมไปถึึงการนำำ�เทคโนโลยีีมาใช้้ในการดำำ�เนิินงาน
เพื่�อให้้เกิิดความสะดวกรวดเร็็วมากยิ่�งขึ้�น โดยควรมีีกระบวนการเปิิดโอกาสให้้ผู้้�รัับบริิการหรืือผู้�มาติิดต่่อ เข้้ามา
มีีส่่วนร่่วมในการปรัับปรุุงพััฒนาการดำ�ำ เนิินงานเพื่�อให้้สอดคล้้องกัับความต้้องการด้้วย ทั้�งนี้� นอกจากหน่่วยงาน
จะต้อ้ งปรับั ปรุงุ พัฒั นาการดำำ�เนินิ งานให้ด้ ีขีึ้�นแล้ว้ ยังั ควรให้ค้ วามสำำ�คัญั กับั การปรับั ปรุงุ การดำำ�เนินิ งานให้ม้ ีคี วามโปร่ง่ ใส
มากขึ้�นอีกี ด้ว้ ย

แหล่ง่ ข้้อมูลู ผู้้�มีีส่ว่ นได้ส้ ่่วนเสียี ภายนอก
ประเด็น็ สำ�ำ รวจ ประกอบด้้วยข้้อคำ�ำ ถามจำำ�นวน 5 ข้้อ ดังั ต่อ่ ไปนี้�

30 คู่�ม่ ือื การประเมินิ คุณุ ธรรมและความโปร่่งใสในการดำำ�เนินิ งานของหน่่วยงานภาครััฐ
(Integrity and Transparency Assessment : ITA)
ของสำ�ำ นัักงานเขต กรุุงเทพมหานคร ประจำ�ำ ปีีงบประมาณ พ.ศ. 2565

ระดัับ

ประเด็็นการประเมิิน น้้อยที่ส�่ ุุด น้อ้ ย มาก มากที่่ส� ุดุ
หรือื ไม่ม่ ีีเลย

E11 เจ้้าหน้้าที่�ของสำ�ำ นัักงานเขตที่่�ท่่านติิดต่่อ ให้้บริิการ
ที่่�ดีีขึ้�น มากน้้อยเพียี งใด

หมายเหตุุ: ให้้บริิการที่่�ดีีขึ้�น หมายถึึง การที่�เจ้้าหน้้าที่�ของสำำ�นัักงานเขต ได้้มีีการปรัับปรุุงการให้้บริิการที่่�ดีีขึ้�น เต็็มใจให้้บริิการ
พร้้อมให้้ข้้อมููล อธิิบาย มีีอััธยาศััยที่่�ดีีต่่อผู้�มารัับบริิการ หากท่่านติิดต่่อครั้�งแรก ให้้เปรีียบเทีียบกัับการให้้บริิการที่่�ท่่าน
คาดหวัังไว้้ก่อ่ นมาติิดต่่อ หากเห็น็ ว่า่ การบริกิ ารที่่�ดีีอยู่�แล้ว้ ให้้ตอบมากที่่�สุดุ

ระดัับ

ประเด็น็ การประเมินิ น้อ้ ยที่ส่� ุดุ น้อ้ ย มาก มากที่ส�่ ุดุ
หรือื ไม่ม่ ีีเลย

E12 สำำ�นัักงานเขตที่่�ท่่านติิดต่่อ ปรัับปรุุงการให้้บริิการ
ที่่�ดีีขึ้�น มากน้้อยเพียี งใด

หมายเหตุุ: การให้้บริิการที่่�ดีีขึ้�น หมายถึึง สำ�ำ นัักงานเขตได้้มีีการปรัับปรุุงการให้้บริิการที่่�ดีีขึ้�น เช่่น มีีขั้�นตอนการติิดต่่อที่่�ชััดเจน
มีีการปฏิิบััติิงานที่�สะดวก รวดเร็็ว มีีสิ่�งอำ�ำ นวยความสะดวกผู้�มารัับบริิการ หากท่่านติิดต่่อครั้�งแรก ให้้เปรีียบเทีียบ
กับั การให้้บริกิ ารที่่�ท่า่ นคาดหวังั ไว้้ก่อ่ นมาติิดต่่อ

ประเด็็นการประเมิิน ระดับั

E13 สำ�ำ นัักงานเขตที่่�ท่่านติิดต่่อ มีีการนำ�ำ เทคโนโลยีีมาใช้้ในการดำ�ำ เนิินงาน/การให้้บริิการ มีี ไม่่มีี
ให้เ้ กิดิ ความสะดวกรวดเร็็วมากขึ้�น หรืือไม่่

ระดัับ

ประเด็็นการประเมิิน น้อ้ ยที่ส่� ุุด น้อ้ ย มาก มากที่่ส� ุดุ
หรือื ไม่ม่ ีีเลย

E14 สำำ�นัักงานเขตที่่�ท่่านติิดต่่อ เปิิดโอกาสให้้ผู้้�รับบริิการ
ผู้�มาติิดต่่อ หรืือผู้้�มีีส่่วนได้้ส่่วนเสีีย เข้้าไปมีีส่่วนร่่วม
ในการพัฒั นาการดำ�ำ เนินิ งาน/การให้บ้ ริกิ ารของสำ�ำ นักั งานเขต
ที่่�ดีีขึ้�น มากน้้อยเพียี งใด

หมายเหตุุ: การมีสี ่ว่ นร่ว่ ม เช่น่ ร่ว่ มรับั ฟังั ร่ว่ มวางแผน ร่ว่ มดำ�ำ เนินิ การ ร่ว่ มแลกเปลี่�ยนความคิดิ เห็น็ และร่ว่ มติดิ ตามประเมินิ ผล เป็น็ ต้น้

คู่�่มือื การประเมินิ คุุณธรรมและความโปร่่งใสในการดำ�ำ เนินิ งานของหน่่วยงานภาครัฐั 31
(Integrity and Transparency Assessment : ITA)

ของสำ�ำ นักั งานเขต กรุุงเทพมหานคร ประจำ�ำ ปีงี บประมาณ พ.ศ. 2565

ระดับั

ประเด็็นการประเมินิ น้้อยที่ส�่ ุุด น้้อย มาก มากที่่ส� ุดุ
หรือื ไม่ม่ ีีเลย

E15 สำำ�นักั งานเขตที่่�ท่า่ นติดิ ต่อ่ มีกี ารพัฒั นาการดำำ�เนินิ งาน/
การให้้บริิการ ให้้มีีความโปร่่งใสมากขึ้�น มากน้้อยเพีียงใด

หมายเหตุุ: หากท่า่ นติดิ ต่่อครั้�งแรก ให้้เปรียี บเทียี บกัับการดำ�ำ เนิินงาน/การให้้บริิการ ให้ม้ ีีความโปร่ง่ ใสที่่�ท่า่ นคาดหวัังไว้้ก่อ่ นมาติิดต่่อ

ตััวชี้้�วัดั ที่่� 9 การเปิิดเผยข้้อมููล
คำำ�อธิบิ าย เป็น็ ตัวั ชี้้�วัดที่่�มีวี ัตั ถุปุ ระสงค์เ์ พื่�อประเมินิ การเผยแพร่ข่ ้อ้ มูลู บนเว็บ็ ไซต์ข์ องสำ�ำ นักั งานเขต ให้ส้ าธารณชน

ได้ร้ ัับทราบ ใน 5 ประเด็็น คืือ (1) ข้้อมููลพื้�นฐาน ได้้แก่่ ข้้อมููลพื้�นฐานข่่าวประชาสััมพัันธ์์ และการปฏิิสััมพัันธ์์ข้้อมููล
(2) การบริิหารงาน ได้้แก่่ แผนดำำ�เนิินงาน การปฏิิบััติิงาน และการให้้บริิการ (3) การบริิหารเงิินงบประมาณ ได้้แก่่
แผนการใช้จ้ ่า่ ยงบประมาณประจำำ�ปีี และการจัดั ซื้�อจัดั จ้า้ งหรือื การจัดั หาพัสั ดุุ (4) การบริหิ ารและพัฒั นาทรัพั ยากรบุคุ คล
ได้้แก่่ นโยบายการบริิหารทรััพยากรบุุคคล การดำำ�เนิินการตามนโยบายการบริิหารทรััพยากรบุุคคล และหลัักเกณฑ์์
การบริหิ ารและพััฒนาทรัพั ยากรบุคุ คล และ (5) การส่ง่ เสริิมความโปร่่งใสในหน่่วยงาน ได้แ้ ก่่ การจัดั การเรื่�องร้้องเรียี น
การทุุจริิต และการเปิิดโอกาสให้้เกิิดการมีีส่่วนร่่วม ซึ่�งการเผยแพร่่ข้้อมููลในประเด็็นข้้างต้้นแสดงถึึงความโปร่่งใส
ในการบริิหารงานและการดำ�ำ เนินิ งานของหน่ว่ ยงาน

แหล่่งข้อ้ มููล เว็บ็ ไซต์์ของสำ�ำ นักั งานเขต
ประเด็็นสำ�ำ รวจ ประกอบด้้วย 5 ตััวชี้้�วััดย่่อย (33 ข้้อมููล) ดัังต่่อไปนี้�

ตัวั ชี้้�วััดย่อ่ ยที่่� 9.1 ข้้อมููลพื้้�นฐาน

ข้อ้ ขอ้ มูล รายละเอีียดข้้อมููลที่่�เผยแพร่่

ข้้อมููลพื้้�นฐาน - แสดงแผนผัังแสดงโครงสร้้างการแบ่่งส่่วนราชการของหน่่วยงาน
(Organization charts) ที่�แสดงถึึงการแบ่่งส่่วนงานต่่าง ๆ ภายใน
O1 โครงสร้้างหน่่วยงาน ของสำำ�นักั งานเขต

- ประกอบด้ว้ ย ตำ�ำ แหน่ง่ สำ�ำ คัญั และการแบ่ง่ ส่ว่ นงานภายใน และจะต้อ้ ง
ลงรายละเอียี ดข้อ้ มูลู จนถึงึ ระดับั ฝ่า่ ย กลุ่�มงาน และโรงเรียี นในสังั กัดั
สำำ�นักั งานเขต โดยจะต้้องมีขี ้้อมูลู ให้้ครบถ้ว้ น

หมายเหตุุ: เพื่�อให้้ประชาชนทราบว่่า ในแต่่ละฝ่่ายประกอบด้้วยลัักษณะงานใด
โดยให้้สอดคล้้องกัับภารกิิจของแต่่ละฝ่่ายตามการมอบหมายงานตามอำ�ำ นาจ
ของผู้้�อำำ�นวยการเขตและการออกคำ�ำ สั่่�งแบ่ง่ งานภายใน

32 คู่่�มือื การประเมิินคุุณธรรมและความโปร่่งใสในการดำำ�เนิินงานของหน่่วยงานภาครัฐั
(Integrity and Transparency Assessment : ITA)
ของสำ�ำ นักั งานเขต กรุุงเทพมหานคร ประจำำ�ปีงี บประมาณ พ.ศ. 2565

ข้อ้ ข้้อมูลู รายละเอีียดข้้อมูลู ที่่�เผยแพร่่

ข้อ้ มูลู พื้้น� ฐาน - แสดงรายนามของผู้�บริิหารสำำ�นัักงานเขต ได้้แก่่ ผู้้�อำ�ำ นวยการเขต
ผู้้�ช่่วยผู้้�อำ�ำ นวยการเขต และหััวหน้้าฝ่่าย ที่�เป็็นปััจจุุบััน โดยต้้อง
O2 ข้อ้ มูลู ผู้�บริิหาร ทำำ�การปรัับปรุุงเมื่�อมีีการเปลี่�ยนแปลงข้้อมููลทุุกครั้�ง ประกอบด้้วย
ข้อ้ มููลต่่อไปนี้�
O3 อำำ�นาจหน้้าที่� o ชื่่�อ-นามสกุุล
o ตำ�ำ แหน่่ง
O4 แผนยุุทธศาสตร์์หรืือแผนพััฒนา o รูปู ถ่่าย
สำำ�นัักงานเขต o ช่อ่ งทางการติดิ ต่่อ
o กรณีที ี่่�ยัังไม่่มีีผู้้�ดำำ�รงตำ�ำ แหน่่งให้้ระบุุ –ว่่าง-
O5 ข้อ้ มูลู การติิดต่อ่
O6 กฎหมายที่�เกี่�ยวข้้อง - อำ�ำ นาจหน้า้ ที่� หมายถึึง ข้อ้ มูลู เกี่�ยวกับั อำ�ำ นาจหน้้าที่�หรือื ภารกิิจของ
สำำ�นักั งานเขตตามที่�กฎหมายกำ�ำ หนด ได้แ้ ก่่ ประกาศกรุงุ เทพมหานคร
เรื่�องการแบ่่งส่่วนราชการภายในหน่่วยงานและการกำำ�หนดอำำ�นาจ
หน้า้ ที่�ของส่่วนราชการกรุงุ เทพมหานคร

แผนยุทุ ธศาสตร์ห์ รือื แผนพัฒั นาสำำ�นักั งานเขต ให้เ้ ผยแพร่่ โดยแบ่ง่ เป็น็
2 ส่่วน ดัังนี้�
1. แผนพััฒนากรุุงเทพมหานคร ระยะ 20 ปีี (พ.ศ. 2556 - 2575)

ระยะที่� 2 (พ.ศ. 2561 - 2565)
2. จุดุ เน้้นในการพัฒั นาเชิงิ พื้�นที่�/แผนพัฒั นาเชิิงพื้�นที่�

หมายเหตุุ: จะทำ�ำ การปรัับปรุุงเมื่�อมีกี ารเปลี่�ยนแปลงข้้อมูลู ทุกุ ครั้�ง

ข้้อมููลการติิดต่่อสำ�ำ นัักงานเขต จะต้้องประกอบด้้วยข้้อมููลที่�ครบถ้้วน
ตามรายการ ต่อ่ ไปนี้�

1) ที่่�อยู่ �
2) หมายเลขโทรศัพั ท์์
3) หมายเลขโทรสาร
4) ที่่�อยู่�ไปรษณียี ์อ์ ิเิ ล็ก็ ทรอนิกิ ส์์ (E–mail)
5) แผนที่ �ตั้ �งของสำำ�นัักงานเขต

หมายเหตุุ : จะต้อ้ งทำ�ำ การปรัับปรุุงเมื่�อมีีการเปลี่�ยนแปลงข้้อมููลทุกุ ครั้�ง

ข้้อมููลกฎหมายต่่าง ๆ ที่�เกี่�ยวข้้องกัับการบริิหารงานของสำ�ำ นักั งานเขต

คู่�ม่ ืือการประเมิินคุุณธรรมและความโปร่่งใสในการดำ�ำ เนิินงานของหน่่วยงานภาครัฐั 33
(Integrity and Transparency Assessment : ITA)

ของสำำ�นัักงานเขต กรุงุ เทพมหานคร ประจำ�ำ ปีีงบประมาณ พ.ศ. 2565

ข้้อ ข้้อมูลู รายละเอีียดข้้อมููลที่่�เผยแพร่่

ข่า่ วประชาสัมั พันั ธ์์ - ข่่าวสารต่่าง ๆ ที่�เกี่�ยวข้้องกัับการดำ�ำ เนิินงานตามอำำ�นาจหน้้าที่�
หรือื ภารกิิจของสำ�ำ นัักงานเขตตามที่�กฎหมายกำ�ำ หนด
O7 ข่่าวประชาสััมพัันธ์์
- ข้้อมููล ข่่าวสารเป็น็ ปััจจุบุ ััน และมีกี ารประชาสัมั พัันธ์์อย่า่ งต่อ่ เนื่�อง
การปฏิสิ ัมั พัันธ์์ข้้อมูลู - มีีข่่าวสารที่�แสดงถึึง สำำ�นัักงานเขตประชาสััมพัันธ์์การประเมิิน
O8 Q&A
คุุณธรรมและความโปร่่งใสในการดำำ�เนิินงานของหน่่วยงานภาครััฐ
O9 Social Network (Integrity and Transparency Assessment: ITA) ของสำำ�นักั งานเขต
กรุุงเทพมหานคร ประจำ�ำ ปีีงบประมาณ พ.ศ. 2565 อย่า่ งต่่อเนื่�อง

- แสดงช่่องทางที่่�บุุคคลภายนอกสามารถสอบถามข้้อมููลต่่าง ๆ ได้้
และสำ�ำ นักั งานเขตสามารถสื่�อสารให้ค้ ำำ�ตอบกับั ผู้�สอบถามได้้

- โดยมีีลัักษณะเป็็นการสื่�อสารได้้สองทาง ได้้แก่่ กล่่องข้้อความ
ถาม-ตอบ หรืืออื่�น ๆ ที่�สามารถสื่�อสารสองทางได้้ โดยต้้องเชื่�อมโยง
ไปยังั ช่อ่ งทางข้้างต้น้ ได้้จากเว็็บไซต์์หลัักของสำ�ำ นักั งานเขต

- แสดงเครืือข่่ายสัังคมออนไลน์์ของสำำ�นัักงานเขต เช่่น Facebook,
Twitter, Instagram, YouTube เป็็นต้้น

- สามารถเชื่�อมโยงไปยัังช่่องทางข้้างต้้นได้้จากเว็็บไซต์์หลััก
ของสำำ�นักั งานเขต

ตััวชี้้�วััดย่่อยที่่� 9.2 การบริิหารงาน

ข้้อ ข้อ้ มูลู รายละเอีียดข้อ้ มูลู ที่่�เผยแพร่่

แผนดำำ�เนิินงาน - แสดงแผนปฏิิบััติริ าชการประจำ�ำ ปีี
- เป็็นแผนที่่�มีรี ะยะเวลาบังั คัับใช้้ในปีี พ.ศ. 2565
O10 แผนปฏิบิ ัตั ิิราชการประจำำ�ปีี - มีีข้้อมููลรายละเอีียดของแผนฯ เช่่น โครงการหรืือกิิจกรรม

O11 รายงานการกำ�ำ กัับติดิ ตาม งบประมาณที่�ใช้้ ช่ว่ งระยะเวลา เป็น็ ต้้น
การดำำ�เนิินงานประจำำ�ปีี - แสดงความก้้าวหน้้าในการดำำ�เนิินงานตามแผนปฏิิบััติิราชการ

ประจำ�ำ ปีี 2565 ของสำำ�นัักงานเขต
- มีีเนื้�อหารายงานความก้้าวหน้า้ เช่่น ความก้า้ วหน้า้ การดำำ�เนินิ การ

แต่่ละโครงการ/กิิจกรรม รายละเอีียดงบประมาณที่�ใช้้ดำ�ำ เนิินงาน
เป็็นต้้น
- เป็็นรายงานข้้อมููลรอบ 6 เดืือน ของปีงี บประมาณ พ.ศ. 2565
- การรายงานตามแบบฟอร์ม์ ที่� สยป. ให้ค้ วามอนุุเคราะห์์

34 คู่�่มืือการประเมินิ คุณุ ธรรมและความโปร่่งใสในการดำำ�เนินิ งานของหน่่วยงานภาครััฐ
(Integrity and Transparency Assessment : ITA)
ของสำ�ำ นัักงานเขต กรุงุ เทพมหานคร ประจำำ�ปีงี บประมาณ พ.ศ. 2565

ข้้อ ข้อ้ มููล รายละเอีียดข้้อมููลที่่�เผยแพร่่

แผนดำ�ำ เนิินงาน

O12 รายงานผลการดำ�ำ เนิินงานประจำำ�ปีี - แสดงผลการดำ�ำ เนิินงานตามแผนปฏิิบััติิราชการของสำำ�นัักงานเขต
ประจำำ�ปีีงบประมาณ พ.ศ. 2564

- มีีข้้อมููลรายละเอีียดสรุุปผลการดำ�ำ เนิินงาน เช่่น ผลการดำ�ำ เนิินการ
โครงการหรือื กิจิ กรรม ผลการใช้้จ่า่ ยงบประมาณ ปััญหา อุปุ สรรค
ข้้อเสนอแนะ ผลสััมฤทธิ์�ตามเป้า้ หมาย เป็็นต้้น

- เป็็นรายงานผลของปีงี บประมาณ พ.ศ. 2564
- การรายงานตามแบบฟอร์์มที่� สยป. ให้ค้ วามอนุเุ คราะห์์

การปฏิบิ ัตั ิิงาน

O13 คู่่�มืือหรือื มาตรฐานการปฏิิบัตั ิิงาน - ข้้ อ มูู ล เ กี่ � ย ว กัั บ คู่่�มืื อ ห รืื อ ม า ต ร ฐ า น ก า ร ป ฏิิ บัั ติิ ง า น ต า ม ภ า ร กิิ จ
(ของเจ้้าหน้า้ ที่�ผู้�ปฏิิบััติงิ าน) ของแต่ล่ ะฝ่า่ ย พร้อ้ มรายละเอีียด

การให้้บริิการ

O14 คู่่�มือื หรือื มาตรฐานการให้บ้ ริิการ - คู่่�มืือหลักั การให้บ้ ริิการหรืือมาตรฐานการให้้บริกิ าร จะต้อ้ งมีขี ้้อมูลู
(ของประชาชนผู้�มารับั บริิการ) เกี่�ยวกัับ คู่่�มืือหรืือมาตรฐานการให้้บริิการตามอำำ�นาจหน้้าที่�หรืือ
ภารกิิจของสำ�ำ นักั งานเขต ที่�ผู้�มารับั บริิการจะต้้องรับั ทราบ

- ประกอบด้ว้ ย ประเภทงานให้บ้ ริกิ าร ขั้�นตอนการให้บ้ ริกิ าร แผนผังั /
แผนภููมิิการให้้บริิการ ระยะเวลาที่�ใช้้ในการให้้บริิการ แยกตาม
หมวดหมู่�ของงานบริกิ าร

O15 ข้้อมููลเชิงิ สถิิติกิ ารให้้บริิการ - ข้อ้ มูลู เชิงิ สถิติ ิกิ ารให้บ้ ริกิ าร จะต้อ้ งมีี สถิติ ิกิ ารให้บ้ ริกิ ารตามอำ�ำ นาจ
หน้้าที่�หรืือภารกิจิ ของสำำ�นัักงานเขต

- เป็็นข้้อมููลในระยะเวลาอย่่างน้้อย 6 เดืือนแรกของปีีงบประมาณ
พ.ศ. 2565

- รายงานผลการสำำ�รวจความพึงึ พอใจการให้บ้ ริกิ ารตามอำำ�นาจหน้า้ ที่�
หรือื ภารกิจิ ของสำ�ำ นักั งานเขต กรุุงเทพมหานคร
รายงานผลการสำ�ำ รวจความพึึงพอใจ - เป็น็ ข้อ้ มูลู รายเดือื น อย่า่ งน้อ้ ยในรอบ 6 เดือื นแรกของปีงี บประมาณ
O16 การให้บ้ ริิการ พ.ศ. 2565

หมายเหตุุ : ทั้�งนี้�สามารถใช้ฟ้ ีเี จอร์ก์ ารสำำ�รวจความพึงึ พอใจในระบบ BANGKOKITA
มาตอบได้้

O17 E–Service - E–Service จะต้้องมีีช่่องทางที่�ผู้�รับบริิการ หรืือผู้้�มีีส่่วนได้้ส่่วนเสีีย
สามารถขอรับั บริกิ ารตามอำำ�นาจหน้า้ ที่�หรือื ภารกิจิ ของสำำ�นักั งานเขต
ตามภารกิิจของสำ�ำ นัักงานเขต ได้้แก่่ ระบบการจองเพื่�อขอรัับ
บริิการผ่่านช่่องทางออนไลน์์ BKK Connect ฯลฯ หรืือระบบ
ที่่�พัฒั นาขึ้�นใหม่่ เป็น็ ต้้น

คู่ม่� ืือการประเมินิ คุุณธรรมและความโปร่่งใสในการดำ�ำ เนิินงานของหน่่วยงานภาครััฐ 35
(Integrity and Transparency Assessment : ITA)

ของสำ�ำ นัักงานเขต กรุงุ เทพมหานคร ประจำ�ำ ปีงี บประมาณ พ.ศ. 2565

ตััวชี้้�วััดย่่อยที่่� 9.3 การบริหิ ารเงิินงบประมาณ

ข้้อ ข้อ้ มูลู รายละเอีียดข้อ้ มูลู ที่่�เผยแพร่่

แผนการใช้้จ่า่ ยงบประมาณประจำำ�ปีี

- จะต้้องมีีข้้อมููลเกี่�ยวกัับแผนการใช้้จ่่ายงบประมาณประจำำ�ปีี
งบประมาณ พ.ศ. 2565 พร้้อมรายละเอียี ด
O18 แผนการใช้จ้ ่า่ ยงบประมาณประจำำ�ปีี - มีีข้้อมููลข้้อบััญญััติิงบประมาณ และแผนการปฏิิบััติิงานและ

การใช้้จ่า่ ยงบประมาณ เพิ่�มเติมิ

O19 รายงานการกำำ�กัับติดิ ตาม - แสดงความก้้าวหน้้าในการดำ�ำ เนิินงานตามแผนการใช้้จ่่าย
การใช้้จ่า่ ยงบประมาณ งบประมาณประจำ�ำ ปีี

- มีีข้้อมููลรายละเอีียดความก้้าวหน้้า เช่่น ความก้้าวหน้้าการใช้้จ่่าย
งบประมาณ เป็น็ ต้้น

- เป็็นข้้อมููลในระยะเวลาอย่่างน้้อย 6 เดืือนแรกของปีีงบประมาณ
พ.ศ. 2565

O20 รายงานผลการใช้้จ่า่ ย - แสดงผลการดำ�ำ เนินิ งานตามแผนการใช้จ้ ่่ายงบประมาณประจำ�ำ ปีี
งบประมาณประจำำ�ปีี - มีีข้้อมููลรายละเอีียดสรุุปผลการใช้้จ่่ายงบประมาณ ได้้แก่่

ผลการใช้จ้ ่า่ ยงบประมาณ ปัญั หา อุปุ สรรค ข้อ้ เสนอแนะ ผลสัมั ฤทธิ์�
ตามเป้้าหมาย
- เป็็นรายงานผลของปีีงบประมาณ พ.ศ. 2564

การจััดซื้้อ� จััดจ้า้ งหรืือการจัดั หาพััสดุุ

O21 แผนการจััดซื้ �อจััดจ้้างหรือื - แสดงแผนการจัดั ซื้�อจัดั จ้า้ งหรือื แผนการจัดั หาพัสั ดุตุ ามที่�หน่ว่ ยงาน
แผนการจััดหาพัสั ดุุ จะต้้องดำ�ำ เนิินการตามพระราชบััญญััติิการจััดซื้�อจััดจ้้างและ
การบริหิ ารพััสดุภุ าครัฐั พ.ศ. 2560

- เป็็นข้อ้ มููลการจัดั ซื้�อจััดจ้้างในปีงี บประมาณ พ.ศ. 2565
- ข้้อมููลจะต้้องประกอบด้้วย 2 ส่่วน ได้้แก่่ แผนการจััดซื้�อจััดจ้้าง

ในภาพรวมของปีงี บประมาณ พ.ศ. 2565 และแผนการจัดั ซื้�อจัดั จ้า้ ง
รายโครงการ

O22 ประกาศต่่าง ๆ เกี่�ยวกับั การจััดซื้�อ - แสดงประกาศตามที่่�สำ�ำ นักั งานเขตจะต้อ้ งดำ�ำ เนินิ การตามพระราชบัญั ญัตั ิิ
จััดจ้้างหรืือการจัดั หาพััสดุุ การจััดซื้�อจััดจ้้างและการบริิหารพััสดุุภาครััฐ พ.ศ. 2560 ได้้แก่่
ประกาศเชิิญชวน ประกาศผลการจััดซื้�อจััดจ้้าง เป็น็ ต้น้

- เป็น็ ข้้อมูลู การจััดซื้�อจััดจ้า้ งในปีงี บประมาณ พ.ศ. 2565

O23 สรุปุ ผลการจััดซื้�อจัดั จ้า้ งหรืือ - แสดงสรุุปผลการจััดซื้�อจัดั จ้้างของสำำ�นัักงานเขต
การจัดั หาพัสั ดุุรายเดืือน - มีีข้้อมููลรายละเอีียดผลการจััดซื้�อจััดจ้้าง ได้้แก่่ งานที่�ซื้�อหรืือจ้้าง

วงเงิินที่�ซื้�อหรืือจ้้าง ราคากลาง วิิธีีการซื้�อหรืือจ้้าง รายชื่�อผู้�เสนอ
ราคาและราคาที่�เสนอ ผู้�ได้้รัับการคััดเลืือก และราคาที่�ตกลง

36 คู่ม�่ ือื การประเมิินคุุณธรรมและความโปร่่งใสในการดำำ�เนินิ งานของหน่่วยงานภาครััฐ
(Integrity and Transparency Assessment : ITA)
ของสำ�ำ นักั งานเขต กรุงุ เทพมหานคร ประจำำ�ปีีงบประมาณ พ.ศ. 2565

ข้อ้ ข้้อมูลู รายละเอีียดข้้อมููลที่่�เผยแพร่่

การจัดั ซื้�้อจัดั จ้้างหรืือการจัดั หาพััสดุุ เหตุุผลที่่�คััดเลืือกโดยสรุุป เลขที่�และวัันที่�ของสััญญาหรืือข้้อตกลง
ในการซื้�อหรืือจ้า้ ง เป็น็ ต้้น
O24 รายงานผลการจัดั ซื้�อจัดั จ้้างหรืือ
การจัดั หาพัสั ดุปุ ระจำ�ำ ปีี - จำ�ำ แนกข้อ้ มูลู เป็น็ รายเดือื น (กรณีไี ม่ม่ ีกี ารจัดั ซื้�อจัดั จ้า้ งในรอบเดือื นใด
ให้ร้ ะบุุว่า่ ไม่่มีกี ารจัดั ซื้�อจัดั จ้้าง)

- เป็็นข้้อมููลในระยะเวลาอย่่างน้้อย 6 เดืือนแรกของปีีงบประมาณ
พ.ศ. 2565

- รายงานผลการจััดซื้�อจััดจ้้างหรืือการจััดหาพััสดุุประจำ�ำ ปีี จะต้้องมีี
ข้้อมูลู สรุปุ ผลการจัดั ซื้�อจััดจ้า้ งหรืือการจััดหาพััสดุุ ในปีีงบประมาณ
พ.ศ. 2564

- อย่า่ งน้้อยจะต้อ้ งประกอบด้้วย
o สรุปุ ผลการจััดซื้�อจัดั จ้้างหรืือการจััดหาพััสดุุ
o ปัญั หาและอุปุ สรรคของการจัดั ซื้�อจัดั จ้า้ งหรือื การจัดั หาพัสั ดุุ เช่น่
ปััญหาการเขีียนโครงการ ปััญหาการกำ�ำ หนด TOR ราคากลาง
การหาผู้้�ชำ�ำ นาญงานเทียี บเคียี ง ปัญั หาในขั้�นตอนกระบวนการจัดั ซื้�อ
จััดจ้้างที่่�ทำ�ำ ให้้การจััดซื้�อจััดจ้้างไม่่สำำ�เร็็จ เช่่น การประกาศแล้้ว
ไม่่มีีผู้�ยื่�นข้้อเสนอ จนเข้้าสู่�กระบวนการจััดซื้�อจััดจ้้างใหม่่
การบริิหารสััญญา ตลอดจนการตรวจรัับงาน และการเบิิกจ่่าย
ในโครงการต่่าง ๆ เป็น็ ต้้น
o ข้อ้ เสนอแนะการปรับั ปรุงุ พัฒั นาการจัดั ซื้�อจัดั จ้า้ งหรือื การจัดั หาพัสั ดุุ
o เผยแพร่่ภายใน 31 มกราคม พ.ศ. 2565 (หากไม่่เผยแพร่่
ในระยะเวลาที่่�กำ�ำ หนดจะไม่่ได้้รับั การพิิจารณาคะแนน)

ตัวั ชี้้�วััดย่่อยที่่� 9.4 การบริิหารและพััฒนาทรััพยากรบุุคคล

ข้อ้ ข้อ้ มูลู รายละเอีียดข้อ้ มููลที่่�เผยแพร่่

การบริหิ ารและพัฒั นาทรัพั ยากรบุุคคล

นโยบายการบริิหารงานบุคุ คลของผู้้�อำ�ำ นวยการเขต ได้แ้ ก่่
1. นโยบายด้้านการบริหิ ารทรััพยากรบุุคคล ได้้แก่่ การบรรจุแุ ต่ง่ ตั้�ง

(ลููกจ้้าง) การโยกย้้าย (ข้้าราชการ /ลููกจ้้าง) การพิิจารณาความดีี
O25 นโยบายการบริิหารทรัพั ยากรบุุคคล ความชอบ (ข้า้ ราชการ/ลููกจ้้าง) ฯลฯ

2. นโยบายด้า้ นการพัฒั นาทรัพั ยากรบุคุ คล ได้แ้ ก่่ การริเิ ริ่�ม แนวทาง
การพััฒนาข้้าราชการ และลููกจ้้าง เพื่�อให้้ปฏิิบััติิงานในฝ่่ายต่่าง ๆ
ให้้มีปี ระสิิทธิิภาพที่่�ดียีิ่�งขึ้�น

คู่่�มือื การประเมิินคุณุ ธรรมและความโปร่่งใสในการดำ�ำ เนินิ งานของหน่่วยงานภาครัฐั 37
(Integrity and Transparency Assessment : ITA)

ของสำ�ำ นัักงานเขต กรุงุ เทพมหานคร ประจำ�ำ ปีีงบประมาณ พ.ศ. 2565

ข้อ้ ข้อ้ มููล รายละเอีียดข้้อมููลที่่�เผยแพร่่

การบริิหารและพััฒนาทรััพยากรบุคุ คล 3. ผู้้�อำำ�นวยการเขตสื่�อสารนโยบายไปยังั ข้้าราชการและลููกจ้า้ งด้้วย
ตามช่่องทางอื่�น ๆ เช่่น ประกาศภายในสำำ�นัักงานเขต ช่่องทาง
O26 การดำำ�เนินิ การตามนโยบาย ออนไลน์์ต่า่ ง ๆ
การบริหิ ารทรััพยากรบุคุ คล
- สำำ�นัักงานเขตมีีการดำ�ำ เนิินการตามนโยบายการบริิหารทรััพยากร
O27 หลักั เกณฑ์ก์ ารบริหิ ารและพัฒั นา บุุคคล ตามที่�ได้ป้ ระกาศตามข้อ้ O25
ทรััพยากรบุุคคล
- สำ�ำ นัักงานเขตมีีการประกาศหลัักเกณฑ์์การบริิหารทรััพยากรบุุคคล
O28 รายงานผลการบริหิ ารและ และการพััฒนาทรััพยากรบุุคคล ซึ่�งเป็็นไปตามกฎ ระเบีียบ และ
พัฒั นาทรััพยากรบุุคคลประจำ�ำ ปีี ข้อ้ บัังคัับที่�เกี่�ยวข้อ้ ง ได้้แก่่

- หลักั เกณฑ์ก์ ารสรรหาและคััดเลืือก
- หลักั เกณฑ์์การบรรจุุ แต่่งตั้�ง โยกย้้าย บุคุ ลากร
- หลักั เกณฑ์์การพัฒั นาบุคุ ลากร
- หลัักเกณฑ์์การประเมิินผลการปฏิบิ ัตั ิงิ าน
- หลัักเกณฑ์์การให้ค้ ุณุ ให้้โทษและการสร้า้ งขวััญกำ�ำ ลัังใจ

หมายเหตุุ: สามารถเชื่�อมโยงข้้อมููลกัับระบบการบริิหารและพััฒนาทรััพยากร
บุุคคล กรุงุ เทพมหานคร ได้้

- รายงานผลการบริิหารทรัพั ยากรบุคุ คลของปีที ี่่�ผ่า่ นมา พ.ศ. 2564
- มีีข้้อมููลรายละเอีียดของผลการดำ�ำ เนิินการตามนโยบายการบริิหาร

และพััฒนาทรัพั ยากรบุคุ คล

ตัวั ชี้้�วััดย่อ่ ยที่่� 9.5 การส่ง่ เสริิมความโปร่่งใส

ข้อ้ ข้้อมูลู รายละเอีียดข้้อมูลู ที่่�เผยแพร่่

การจัดั การเรื่�องร้อ้ งเรีียนการทุุจริิต - แสดงคู่่�มืือหรืือแนวทางการดำำ�เนิินการต่่อเรื่�องร้้องเรีียนที่�เกี่�ยวข้้อง
กัับการทุุจริิตและประพฤติิมิิชอบของเจ้้าหน้้าที่ �ของสำำ�นัักงานเขต/
O29 แนวปฏิิบัตั ิกิ ารจััดการ กรุงุ เทพมหานคร
เรื่�องร้้องเรียี นการทุจุ ริติ
- มีีข้้อมููลรายละเอีียดของการปฏิิบััติิงาน ได้้แก่่ รายละเอีียดวิิธีีการ
O30 ช่อ่ งทางแจ้้งเรื่�องร้้องเรีียน ที่่�บุคุ คลภายนอกจะทำ�ำ การร้อ้ งเรียี น รายละเอียี ดขั้�นตอนหรือื วิธิ ีกี าร
การทุจุ ริิต ในการจััดการต่่อเรื่�องร้้องเรีียน ส่่วนงานที่่�รัับผิิดชอบ ระยะเวลา
ดำ�ำ เนินิ การ

- แสดงช่่องทางที่่�บุุคคลภายนอกสามารถแจ้้งเรื่�องร้้องเรีียนเกี่�ยวกัับ
การทุุจริิตและประพฤติิมิิชอบของเจ้้าหน้้าที่ �ของสำำ�นัักงานเขต
ผ่า่ นทางช่่องทางออนไลน์์

38 คู่�ม่ ืือการประเมินิ คุณุ ธรรมและความโปร่่งใสในการดำำ�เนินิ งานของหน่่วยงานภาครััฐ
(Integrity and Transparency Assessment : ITA)
ของสำ�ำ นักั งานเขต กรุงุ เทพมหานคร ประจำำ�ปีงี บประมาณ พ.ศ. 2565

ข้อ้ ข้อ้ มููล รายละเอีียดข้อ้ มูลู ที่่�เผยแพร่่

การจัดั การเรื่�องร้้องเรีียนการทุจุ ริิต

- สามารถเข้า้ ถึงึ หรือื เชื่�อมโยงไปยังั ช่อ่ งทางข้า้ งต้น้ ได้จ้ ากเว็บ็ ไซต์ห์ ลักั
ของสำำ�นัักงานเขต

O31 ข้้อมููลเชิงิ สถิติ ิิเรื่�องร้อ้ งเรียี น - แสดงข้้อมููลสถิิติิเรื่�องร้้องเรีียนการทุุจริิตและประพฤติิมิิชอบ
การทุจุ ริิตประจำ�ำ ปีี ของเจ้า้ หน้้าที่�ของสำำ�นักั งานเขต

- มีีข้้อมููลความก้้าวหน้้าการจััดการเรื่�องร้้องเรีียน เช่่น จำำ�นวนเรื่�อง
เรื่�องที่่�ดำำ�เนินิ การแล้้วเสร็็จ เรื่�องที่�อยู่�ระหว่่างดำ�ำ เนินิ การ เป็น็ ต้้น

- กรณีีไม่ม่ ีเี รื่�องร้้องเรียี นให้้ระบุุ ไม่ม่ ีีเรื่�องร้้องเรียี น
- เป็็นข้้อมููลในระยะเวลาอย่่างน้้อย 6 เดืือนแรกของปีีงบประมาณ

พ.ศ. 2565

การเปิิดโอกาสให้้เกิิดการมีีส่่วนร่ว่ ม

O32 ช่อ่ งทางการรัับฟังั ความคิิดเห็็น - แสดงช่่องทางที่่�บุุคคลภายนอกสามารถแสดงความคิิดเห็็นต่่อ
การดำ�ำ เนิินงานตามอำ�ำ นาจหน้้าที่�หรืือภารกิิจของสำ�ำ นัักงานเขต
ผ่า่ นทางช่่องทางออนไลน์์

- สามารถเข้า้ ถึงึ หรือื เชื่�อมโยงไปยังั ช่อ่ งทางข้า้ งต้น้ ได้จ้ ากเว็บ็ ไซต์ห์ ลักั
ของสำำ�นัักงานเขต

- แสดงการดำำ�เนิินการหรืือกิิจกรรมที่�แสดงถึึงการเปิิดโอกาสให้้ภาคีี
เครือื ข่า่ ยภาคประชาสังั คมได้ม้ ีสี ่ว่ นร่ว่ มในการดำำ�เนินิ งานตามภารกิจิ

O33 การเปิิดโอกาสให้เ้ กิิดการมีีส่่วนร่ว่ ม ของสำำ�นัักงานเขต
- เป็็นข้้อมููลในระยะเวลาอย่่างน้้อย 6 เดืือนแรกของปีีงบประมาณ
พ.ศ. 2565

ตััวชี้้�วััดที่่� 10 การป้้องกันั การทุุจริิต
คำำ�อธิิบาย เป็็นตััวชี้้�วััดที่่�มีีวััตถุุประสงค์์เพื่�อประเมิินการเผยแพร่่ข้้อมููลที่�เป็็นปััจจุุบัันบนเว็็บไซต์์ของหน่่วยงาน

เพื่�อเปิิดเผยการดำ�ำ เนิินการต่่าง ๆ ของหน่่วยงานให้้สาธารณชนได้้รัับทราบ ใน 2 ประเด็็น คืือ (1) การดำำ�เนิินการ
เพื่�อป้อ้ งกันั การทุจุ ริติ ได้แ้ ก่่ เจตจำ�ำ นงสุจุ ริติ ของผู้�บริหิ าร การประเมินิ ความเสี่�ยงเพื่�อการป้อ้ งกันั การทุจุ ริติ การเสริมิ สร้า้ ง
วัฒั นธรรมองค์ก์ ร และแผนปฏิบิ ัตั ิกิ ารป้อ้ งกันั การทุจุ ริติ และ (2) มาตรการภายในเพื่�อป้อ้ งกันั การทุจุ ริติ ได้แ้ ก่่ มาตรการ
ภายในเพื่�อส่่งเสริิมความโปร่่งใสและป้้องกัันการทุุจริิต ซึ่�งการเผยแพร่่ข้้อมููลในประเด็็นข้้างต้้นแสดงถึึงความพยายาม
ของหน่่วยงานที่�จะป้อ้ งกัันการทุจุ ริิตในหน่่วยงานให้ล้ ดน้้อยลงหรืือไม่่สามารถเกิิดขึ้�นได้้

แหล่ง่ ข้อ้ มูลู เว็็บไซต์์หน่่วยงาน 39
ประเด็็นสำ�ำ รวจ ประกอบด้ว้ ย 2 ตััวชี้้�วััดย่อ่ ย (15 ข้อ้ มููล) ดังั ต่่อไปนี้�

คู่่�มือื การประเมินิ คุณุ ธรรมและความโปร่่งใสในการดำ�ำ เนินิ งานของหน่่วยงานภาครััฐ
(Integrity and Transparency Assessment : ITA)

ของสำำ�นัักงานเขต กรุุงเทพมหานคร ประจำำ�ปีงี บประมาณ พ.ศ. 2565

ตัวั ชี้้�วััดย่อ่ ยที่่� 10.1 การดำำ�เนินิ การเพื่่�อป้อ้ งกัันการทุุจริิต

ข้อ้ ข้้อมููล รายละเอีียดข้อ้ มูลู ที่่�เผยแพร่่

เจตจำ�ำ นงสุจุ ริติ ของผู้บ�้ ริหิ าร

O34 เจตจำำ�นงสุุจริิตของผู้�บริหิ าร - เจตจำ�ำ นงสุุจริิตของผู้�บริิหาร จะต้้องมีีการแสดงเจตนารมณ์์ หรืือ
คำำ�มั่่�นของผู้้�อำำ�นวยการเขต คนปััจจุุบััน ว่่าจะปฏิิบััติิหน้้าที่� และ
บริิหารหน่่วยงานอย่่างซื่�อสััตย์์สุุจริิต โปร่่งใส และเป็็นไปตาม
หลัักธรรมาภิิบาล ไม่่ให้้ – ไม่่รัับ (NO Gift Policy) และต่่อต้้าน
การรับั สิินบนในทุกุ รููปแบบ

- โดยจััดทำำ�อย่า่ งน้้อย 2 ภาษา ได้้แก่่ ภาษาไทย และภาษาอังั กฤษ

O35 การมีีส่่วนร่ว่ มของผู้�บริิหาร - การมีีส่่วนร่่วมของผู้�บริิหาร จะต้้องมีีการดำำ�เนิินการหรืือกิิจกรรม
ที่�แสดงถึึงการมีีส่่วนร่่วมของผู้้�อำ�ำ นวยการเขต คนปััจจุุบััน ในการ
ให้้ความสำำ�คััญกัับการปรัับปรุุงพััฒนาหน่่วยงานด้้านคุุณธรรมและ
ความโปร่ง่ ใส และจะต้อ้ งเป็น็ ข้อ้ มูลู ภายในปีงี บประมาณ พ.ศ. 2565

- ต้้องมีีข้้อมููล ผู้้�อำ�ำ นวยการเขตมีีส่่วนร่่วมในการชี้�แจง เน้้นย้ำ�ำ �
ให้้ข้้อมููลการประเมิินคุุณธรรมและความโปร่่งใสในการดำำ�เนิินงาน
ของหน่ว่ ยงานภาครัฐั ให้ข้ ้้าราชการและลูกู จ้้างได้ร้ ับั รู้�รับทราบ

การประเมิินความเสี่ย่� งเพื่่อ� การป้อ้ งกันั การทุุจริติ

O36 การประเมินิ ความเสี่�ยงการทุจุ ริติ - การประเมิินความเสี่�ยงการทุุจริิตประจำ�ำ ปีีงบประมาณ พ.ศ. 2565
ประจำำ�ปีี จะต้้องมีีการประเมิินความเสี่ �ยงของการดำำ�เนิินงานที่ �อาจก่่อให้้เกิิด
การทุุจริิต หรืือการขััดกัันระหว่่างผลประโยชน์์ส่่วนตนกัับ
ผลประโยชน์ส์ ่ว่ นรวมที่�แต่ล่ ะฝ่า่ ยได้ว้ ิเิ คราะห์์ และรวบรวมเป็น็ ภาพ
ของสำำ�นัักงานเขต

O37 การดำ�ำ เนินิ การเพื่�อจััดการ - แสดงการดำำ�เนิินการหรืือกิิจกรรมที่�แสดงถึึงการจััดการความเสี่�ยง
ความเสี่�ยงการทุจุ ริิต ในกรณีีที่ �อาจก่่อให้้เกิิดการทุุจริิตหรืือก่่อให้้เกิิดการขััดกัันระหว่่าง
ผลประโยชน์ส์ ่่วนตนกัับผลประโยชน์ส์ ่ว่ นรวมของหน่่วยงาน

- เป็็นกิิจกรรมหรืือการดำำ�เนิินการที่�สอดคล้้องกัับมาตรการหรืือ
การดำ�ำ เนินิ การเพื่�อบริิหารจััดการความเสี่�ยงตามข้้อ O36

- เป็็นการดำ�ำ เนินิ การในปีงี บประมาณ พ.ศ. 2565

การเสริิมสร้า้ งวัฒั นธรรมองค์ก์ ร

O38 การเสริมิ สร้า้ งวััฒนธรรมองค์ก์ ร - การเสริิมสร้้างวััฒนธรรมองค์์กร จะต้้องมีีการดำ�ำ เนิินการหรืือ
กิิจกรรมที่�แสดงถึึงการเสริิมสร้้างวััฒนธรรมองค์์กร ให้้ข้้าราชการ
ลููกจ้้าง ในสำำ�นัักงานเขตมีีทััศนคติิ ค่่านิิยมสุุจริิต ปฏิิบััติิงาน
ด้ว้ ยความซื่�อสัตั ย์์ แยกแยะประโยชน์ส์ ่ว่ นตนและประโยชน์ส์ ่ว่ นรวม

- เป็็นข้อ้ มููลภายในปีงี บประมาณ พ.ศ. 2565

40 คู่ม�่ ืือการประเมินิ คุณุ ธรรมและความโปร่่งใสในการดำำ�เนินิ งานของหน่่วยงานภาครััฐ
(Integrity and Transparency Assessment : ITA)
ของสำ�ำ นัักงานเขต กรุงุ เทพมหานคร ประจำำ�ปีีงบประมาณ พ.ศ. 2565

ข้อ้ ข้อ้ มููล รายละเอีียดข้้อมูลู ที่่�เผยแพร่่

แผนปฏิิบัตั ิิการป้อ้ งกันั การทุุจริติ - แผนปฏิิบััติิการป้้องกัันการทุุจริิตประจำำ�ปีี จะต้้องมีีข้้อมููล
แผนปฏิบิ ัตั ิกิ ารป้อ้ งกันั การทุจุ ริติ ของแต่ล่ ะฝ่า่ ยและรวบรวมเป็น็ ภาพ
O39 แผนปฏิบิ ัตั ิกิ ารป้้องกัันการทุจุ ริิต ของสำำ�นักั งานเขต
ประจำำ�ปีี
- มีีรายละเอียี ดกิจิ กรรม แนวทางการดำำ�เนิินงาน
O40 รายงานการกำำ�กับั ติดิ ตาม - เป็น็ การดำ�ำ เนินิ การในปีีงบประมาณ พ.ศ. 2565
การดำ�ำ เนินิ การป้้องกัันการทุจุ ริติ - แสดงความก้้าวหน้้าในการดำ�ำ เนิินงานตามแผนปฏิิบััติิการป้้องกััน

O41 รายงานผลการดำ�ำ เนิินการป้อ้ งกันั การทุจุ ริิต
การทุจุ ริิตประจำ�ำ ปีี - มีขี ้อ้ มูลู รายละเอียี ดความก้า้ วหน้า้ ได้แ้ ก่่ ความก้า้ วหน้า้ การดำ�ำ เนินิ การ

แต่ล่ ะโครงการ/กิจิ กรรมรายละเอียี ดงบประมาณที่�ใช้ด้ ำ�ำ เนินิ งานเป็น็ ต้น้
- เป็น็ ข้้อมูลู ในระยะเวลา 6 เดือื นแรกของปีี พ.ศ. 2565
- แสดงผลการดำ�ำ เนิินงานตามแผนปฏิบิ ัตั ิิการป้อ้ งกันั การทุจุ ริิต
- มีขี ้อ้ มูลู รายละเอียี ดสรุปุ ผลการดำำ�เนินิ การ ได้แ้ ก่่ ผลการดำำ�เนินิ การ

โครงการหรือื กิิจกรรม ผลการใช้จ้ ่า่ ยงบประมาณ ปััญหา อุปุ สรรค
ข้อ้ เสนอแนะและผลสััมฤทธิ์ต� ามเป้้าหมาย
- ใช้้รายงานผลของปีี พ.ศ. 2564

ตัวั ชี้้�วััดย่อ่ ย 10.2 มาตรการภายในเพื่่�อป้้องกัันการทุุจริิต

ข้้อ ข้อ้ มููล รายละเอีียดข้้อมูลู ที่่�เผยแพร่่

มาตรการภายในเพื่่�อส่่งเสริิมความโปร่ง่ ใสและป้อ้ งกัันการทุจุ ริติ

O42 มาตรการส่่งเสริิมคุณุ ธรรมและ - แสดงการวิิเคราะห์์ผลการประเมิินคุุณธรรมและความโปร่่งใสใน
ความโปร่่งใสภายในหน่่วยงาน การดำ�ำ เนินิ งานของหน่ว่ ยงานภาครัฐั (Integrity and Transparency
Assessment: ITA) ของสำำ�นัักงานเขตในปีีงบประมาณ พ.ศ. 2564

- มีขี ้อ้ มูลู รายละเอียี ดการวิเิ คราะห์์ ได้แ้ ก่่ ประเด็น็ ที่�เป็น็ ข้อ้ บกพร่อ่ งหรือื
จุุดอ่่อนที่�จะต้อ้ งแก้ไ้ ขโดยเร่่งด่่วน ประเด็น็ ที่�จะต้้องพััฒนาให้ด้ ีีขึ้�น

- กำำ�หนดมาตรการ/กิิจกรรมในการพััฒนาและปรัับปรุุง โดยมีี
การกำำ�หนด กิจิ กรรมที่�จะดำำ�เนินิ งาน แนวทางการกำ�ำ กับั ติดิ ตาม และ
ผู้้�รับผิดิ ชอบ เป็น็ ต้น้

- ต้้องเผยแพร่ภ่ ายใน 31 มกราคม พ.ศ. 2565

- แสดงผลการดำำ�เนินิ การตามมาตรการ/กิจิ กรรมเพื่�อส่ง่ เสริมิ คุณุ ธรรม
และความโปร่่งใสภายในหน่่วยงาน
O43 การดำ�ำ เนินิ การตาม มาตรการส่ง่ เสริมิ - มีีข้้อมููลรายละเอีียดการดำ�ำ เนิินการตามมาตรการ/กิิจกรรม
คุณุ ธรรมและความโปร่ง่ ใสภายใน
หน่่วยงาน เพื่�อส่ง่ เสริมิ คุณุ ธรรมและความโปร่ง่ ใส ภายในหน่ว่ ยงานในข้อ้ O42
ไปสู่�การปฏิบิ ัตั ิอิ ย่่างเป็น็ รูปู ธรรม
- เป็็นการดำ�ำ เนินิ การในปีีงบประมาณ พ.ศ. 2565

คู่่�มือื การประเมินิ คุุณธรรมและความโปร่่งใสในการดำ�ำ เนิินงานของหน่่วยงานภาครัฐั 41
(Integrity and Transparency Assessment : ITA)

ของสำำ�นักั งานเขต กรุงุ เทพมหานคร ประจำำ�ปีงี บประมาณ พ.ศ. 2565

6. ปฏทิ นิ การประเมนิ

กรอบระยะเวลาการประเมิิน ประกอบด้้วย 3 ส่่วน ได้้แก่่ เตรีียมการ การประเมิิน และสรุุปผลการประเมิิน
มีรี ายละเอีียด ดังั นี้�

ปฏทิ ินการประเมนิ

กรอบระยะเวลาการประเมนิ ประกอบดว ย 3 สวน ไดแก เตรยี มการ การประเมนิ และสรปุ ผลการประเมิน

1 เตรยี มการ BANGKOKITA

16 ก.ย. 64 2022
ประชุมเตรียมความพรอมการประเมนิ
BANGKOKITA 2022

1 ต.ค. 64 - ม.ี ค. 65

ลงทะเบียน และกรอกจํานวน IIT
จัดเตรียมขอมลู EIT เฉพาะคคู าคสู ญั ญาและดําเนินการจดั สง

1 ต.ค. 64 - 31 ส.ค. 65
ประชาสัมพนั ธ BANGKOK ITA 2022

ม.ค. - ม.ี ค. 65
คลนิ ิก ITA
ประชุมชแี้ จง BANGKOK ITA 2022

2 การประเมนิ 3 สรปุ ผลการประเมนิ

1 ต.ค. 64 - 16 ส.ค. 65 ส.ค. 65
ประเมินแบบรับรู ตรวจ OIT และใหข อสังเกต
ผูมสี ว นไดสวนเสียภายใน (IIT) วเิ คราะหและประมวลผล
ประเมนิ แบบรบั รู คะแนนการประเมนิ
ผมู ีสวนไดส วนเสียภายนอก (EIT)
ก.ย. 65
1 ต.ค. 64 - 31 ก.ค. 65 สรปุ และประกาศผลการประเมนิ
สํานกั งานเขตตอบแบบสํารวจ OIT
ในระบบ BANGKOKITA

42 คู่่�มืือการประเมิินคุุณธรรมและความโปร่่งใสในการดำำ�เนิินงานของหน่่วยงานภาครัฐั
(Integrity and Transparency Assessment : ITA)
ของสำ�ำ นักั งานเขต กรุุงเทพมหานคร ประจำ�ำ ปีีงบประมาณ พ.ศ. 2565

7. วธิ ีการด�ำ เนินการประเมนิ ผ่านระบบ
BANGKOKITA

ขั้้�นตอนการประเมิินผ่่านระบบ BANGKOKITA
ในการดำำ�เนินิ การประเมินิ ของแต่่ละสำ�ำ นัักงานเขต จะต้้องมีผี ู้้�ดำำ�เนิินการ 2 คน ประกอบด้้วย

ผู้้�ดูแู ลระบบของหน่ว่ ยงาน หมายถึงึ เจ้า้ หน้า้ ที่�หรือื พนักั งานของสำำ�นักั งานเขต ที่�ได้ร้ ับั มอบหมายให้ท้ ำ�ำ หน้า้ ที่�
ดำำ�เนิินการในขั้�นตอนต่่าง ๆ ของการประเมินิ ที่่�กำำ�หนด รวมไปถึึงการประสานงานกับั ผู้�บริิหารและส่ว่ นงานภายในต่า่ ง ๆ
เพื่�อให้ก้ ารประเมินิ เป็็นไปอย่่างถููกต้อ้ งตามที่่�กำำ�หนด

ผู้้�บริิหาร หมายถึึง ผู้�บริิหารของสำำ�นัักงานเขตที่�ได้้รัับมอบหมายให้้กำ�ำ กัับดููแลและตรวจสอบข้้อมููล
และการดำ�ำ เนินิ การต่า่ ง ๆ ของผู้้�ดููแลระบบของสำ�ำ นักั งานเขต รวมไปถึึง ประสานงานในระดับั นโยบายของสำ�ำ นัักงานเขต
เพื่�อให้้การดำำ�เนิินการประเมินิ ของสำำ�นักั งานเขตเป็็นไปตามข้้อเท็็จจริิงและถููกต้อ้ งตามที่่�กำ�ำ หนด

การประเมิินคุุณธรรมและความโปร่่งใสของหน่่วยงานภาครััฐ ประจำ�ำ ปีีงบประมาณ พ.ศ. 2565 โดยผ่่านระบบ
BANGKOKITA นั้�น สามารถจำ�ำ แนกการใช้ง้ านระบบได้้ ดัังนี้�

1) การลงทะเบีียนใช้ง้ าน
2) การนำำ�เข้า้ ข้อ้ มููลในการประเมินิ
3) แบบวััดการรับั รู้�ของผู้้�มีีส่่วนได้ส้ ่่วนเสียี ภายใน (IIT)
4) แบบวัดั การรัับรู้�ของผู้้�มีสี ่ว่ นได้ส้ ่่วนเสีียภายนอก (EIT)
5) แบบตรวจการเปิิดเผยข้อ้ มููลสาธารณะ (OIT)
6) การติิดตามสถานะ
7) การรายงานผลการประเมินิ
ทั้�งนี้� แต่ล่ ะการใช้้งานจะต้อ้ งมีีผู้้�ดููแลระบบและผู้�บริหิ ารของสำำ�นักั งานเขตเป็็นผู้้�ดำ�ำ เนิินการ ดังั นี้�

การใช้ง้ านระบบ ผู้้�ดูแู ลระบบ ผู้้�บริหิ าร

แบบวััดการรัับรู้�ของผู้้�มีีส่่วนได้้ เผยแพร่่ช่่องทางการตอบและกำำ�กัับ เผยแพร่ช่ ่อ่ งทางการตอบและกำ�ำ กับั ติดิ ตาม
ส่่วนเสียี ภายใน (IIT) ติิดตามให้้ได้ต้ ามที่่�กำ�ำ หนด* ให้ไ้ ด้้ตามที่่�กำำ�หนด*

แบบวััดการรัับรู้�ของผู้้�มีีส่่วนได้้ เผยแพร่ช่ ่อ่ งทางการตอบ เผยแพร่ช่ ่่องทางการตอบ
ส่ว่ นเสีียภายใน (EIT)

แบบตรวจการเปิิดเผยข้้อมููล ตอบแบบตรวจการเปิิดเผยข้้อมููล ตรวจสอบและอนุุมััติิการตอบตามแบบ
สาธารณะ OIT สาธารณะ (OIT)* การเปิดิ เผยข้อ้ มูลู สาธารณะ (OIT)*

การติิดตามสถานะ ติิดตามสถานะการประเมิิน ติิดตามสถานะการประเมิิน

การรายงานผลการประเมินิ ติิดตามรายงานผลการประเมินิ ติิดตามรายงานผลการประเมินิ

หมายเหตุุ * เป็็นขั้�นตอนที่่�สำ�ำ นักั งานเขตจะต้้องดำ�ำ เนินิ การให้้ครบถ้้วน

คู่�่มือื การประเมิินคุณุ ธรรมและความโปร่่งใสในการดำ�ำ เนิินงานของหน่่วยงานภาครััฐ 43
(Integrity and Transparency Assessment : ITA)

ของสำ�ำ นักั งานเขต กรุุงเทพมหานคร ประจำำ�ปีงี บประมาณ พ.ศ. 2565

รายละเอีียดการดำ�ำ เนินิ การแต่่ละขั้�นตอน ดังั นี้�
1. เข้้าสู่่�เว็็บไซต์์ระบบ BANGKOKITA https://bangkokita.com

https://bangkokita.com

2. การลงทะเบียี นใช้ง้ าน

สำำ�นักั งานเขตจะได้ร้ ับั ชื่�อผู้�ใช้ง้ านและรหัสั ผ่า่ น 2 ชุดุ ต่อ่ สำ�ำ นักั งานเขต คือื “ผู้้�ดูแู ลระบบ” (ชื่�อผู้�ใช้ง้ านจะขึ้�นต้น้ ด้ว้ ย
“a”) และ “ผู้�บริหิ าร” (ชื่�อผู้�ใช้ง้ านจะขึ้�นต้น้ ด้ว้ ย “t”) จากนั้�น ให้ล้ งทะเบียี นใช้ง้ านที่�เว็บ็ ไซต์์ https://bangkokita.com
โดยมีีขั้�นตอนการเข้า้ สู่�ระบบ BANGKOKITA ดัังนี้� กรอกชื่�อผู้�ใช้ง้ าน (username) และรหััสผ่่าน (password) ที่�ได้ร้ ัับ
ในช่อ่ งที่่�กำ�ำ หนด

การเข้้าสู่่�ระบบ BANGKOKITA กด login มุุมบนด้า้ นขวามือื จะปรากฏหน้า้ จอให้้ login --> จากนั้�นใส่่ User
และ Password ที่�ได้ร้ ัับ

การเข้าส่รู ะบบ BANGKOKITA >> login

1

2

User สำำ�หรัับเข้า้ สู่�ร่ ะบบ BANGKOKITA

> สำ�ำ หรัับผู้้�บริิหาร ขึ้้�นต้น้ ด้ว้ ย “t”
> สำ�ำ หรัับAdminหน่่วยงาน ขึ้้น� ต้้นด้ว้ ย “a”
> สำ�ำ หรัับเจ้า้ หน้้าที่่�สำ�ำ นักั งาน ป.ป.ช. ขึ้้น� ต้น้ ด้ว้ ย “staff”

44 คู่ม�่ ืือการประเมินิ คุณุ ธรรมและความโปร่่งใสในการดำำ�เนิินงานของหน่่วยงานภาครัฐั
(Integrity and Transparency Assessment : ITA)
ของสำ�ำ นักั งานเขต กรุงุ เทพมหานคร ประจำำ�ปีงี บประมาณ พ.ศ. 2565

3. เมื่่�อดำ�ำ เนิินการลงทะเบีียนการใช้้งานระบบเสร็็จเรีียบร้้อย ให้้กด “เข้้าสู่่�ระบบงาน” เพื่ �อเข้้าสู่�
ขั้�นตอนต่่อไป ซึ่�งจะปรากฏเมนูกู ารทำำ�งานด้า้ นซ้้าย ดังั นี้�

ผู้้�บริหิ าร / Admin / ผู้้�กำ�ำ กัับติิดตาม > ลงทะเบีียน >> กด 1 2 และกรอกรายละเอียี ด 3

1
2

3

4. การนำำ�เข้้าข้้อมูลู พื้้�นฐานเบื้้�องต้น้

4.1 จำำ�นวนผู้้�มีีส่่วนได้้ส่่วนเสีียภายใน (IIT) กดเมนูู “แผงควบคุุม” เพื่�อทำำ�การกรอกจำ�ำ นวนบุุคลากร
โดยคลิิก “ตั้�งค่า่ จำำ�นวน” ➍ แล้ว้ กรอกจำำ�นวนบุคุ ลากรแต่่ละประเภท จากนั้�นกด “ตกลง”

4.2 ตั้้�งค่า่ ข้้อมูลู การติดิ ต่อ่ คลิิกที่� ➋ ปุ่�ม “ตั้�งค่่าข้อ้ มูลู การติิดต่่อ” เพิ่�มข้อ้ มููลผู้�บริิหาร หรืือตรวจสอบ
ความถูกู ต้้องในการเปลี่�ยนแปลงของข้อ้ มูลู

4.3 ตั้้ง� ค่า่ คลิกิ ที่� ➌ ปุ่�ม “ตั้�งค่า่ กลุ่�ม....” เพิ่�มโลโก้ข้ องสำ�ำ นักั งานเขต และรายชื่�อโรงเรียี น จากนั้�นกด “บันั ทึกึ ”
4.4 รายชื่่�อโรงเรีียนในสังั กัดั ของสำำ�นัักงานเขต พิิมพ์์รายชื่�อโรงเรียี นในช่่อง ➎ จากนั้�น กด “บัันทึกึ ”

Admin > การนำำ�เข้้าข้้อมูลู เบื้้�องต้้น >> กดเมนูู “แผงควบคุมุ ”

1

4 ตััวอย่า่ ง
3
2
LOGO

คู่ม�่ ืือการประเมินิ คุุณธรรมและความโปร่่งใสในการดำ�ำ เนิินงานของหน่่วยงานภาครััฐ 45
(Integrity and Transparency Assessment : ITA)

ของสำ�ำ นัักงานเขต กรุุงเทพมหานคร ประจำ�ำ ปีีงบประมาณ พ.ศ. 2565

Admin > กดปุ่่ม� ตามขั้้�นตอน 2 3 4 >> กรอกข้้อมูลู เบื้้�องต้น้

4 ตัวั อย่่าง

LOGO 2

3

Admin > กดปุ่มตามข้นั ตอน 5 >> กรอกรายช่ือโรงเรยี นในสังกดั >กด บันทึก

LOGO ตััวอย่่าง

5

46 คู่่ม� ืือการประเมิินคุณุ ธรรมและความโปร่่งใสในการดำำ�เนินิ งานของหน่่วยงานภาครััฐ
(Integrity and Transparency Assessment : ITA)
ของสำ�ำ นัักงานเขต กรุงุ เทพมหานคร ประจำ�ำ ปีีงบประมาณ พ.ศ. 2565

5. การนำ�ำ เข้า้ จำำ�นวนผู้้�มีสี ่ว่ นได้้ส่ว่ นเสียี ภายนอก (EIT) (นำำ�เข้้าเฉพาะบัญั ชีรี ายชื่�อที่�เป็น็ คู่่�ค้า้ คู่่�สัญั ญา
กัับสำำ�นัักงานเขตเท่่านั้�น) กดเมนูู “รายชื่�อคู่่�ค้้าคู่่�สััญญา” กรอกรายละเอีียดเข้้าระบบโดยตรง หรืือนำำ�เข้้าโดยวิิธีีการ
upload file บััญชีีรายชื่�อตามแบบฟอร์ม์ ที่่�กำำ�หนด เข้า้ สู่�ระบบ จากนั้�นกด “บัันทึึก”

Admin > ช่องทางการน�ำเข้าขอ้ มูลบญั ชีรายชอ่ื ของผูม้ ีสว่ นไดส้ ่วนเสียภายนอก (EIT)

ตััวอย่า่ ง

นำ�เข้าข้อมลู >> กรอกเพ่มิ เขา้ ระบบโดยตรง หรือ
น�ำ เข้าขอ้ มลู >> upload file บญั ชรี ายชื่อ

6. การเก็็บรวบรวมข้้อมููลแบบวััดการรัับรู้้�ของผู้้�มีีส่ว่ นได้้ส่่วนเสีียภายใน (IIT)

ผู้้�ดููแลระบบ ดำำ�เนินิ การนำ�ำ ช่่องทางการตอบแบบวัดั การรับั รู้�ของผู้้�มีีส่ว่ นได้้ส่่วนเสีียภายใน (IIT) ซึ่�งอยู่�ในรููปแบบ
URL หรืือ QR code ประชาสัมั พัันธ์์เพื่�อเปิิดโอกาสให้้ผู้้�มีสี ่ว่ นได้้ส่่วนเสียี ภายในเข้า้ มาตอบในระบบ BANGKOKITA

Admin > ช่่องทางการนำ�ำ link แบบวัดั การรัับรู้้�ผู้้�มีสี ่ว่ นได้้ส่ว่ นเสีียภายใน (IIT)

ตัวั อย่า่ ง

ประชาสัมพนั ธ์ >> QR-code หรือ link
เพอ่ื ตอบแบบวดั การรบั รผู้ มู้ สี ว่ นได้สว่ นเสีย

ภายใน (IIT)

คู่�ม่ ืือการประเมิินคุุณธรรมและความโปร่่งใสในการดำ�ำ เนิินงานของหน่่วยงานภาครัฐั 47
(Integrity and Transparency Assessment : ITA)

ของสำำ�นัักงานเขต กรุุงเทพมหานคร ประจำำ�ปีงี บประมาณ พ.ศ. 2565

ทั้�งนี้� ผู้�ที่�เข้้ามาตอบแบบวััดการรัับรู้�ของผู้้�มีีส่ว่ นได้้ส่่วนเสีียภายใน (IIT) เมื่�อเข้า้ ระบบมาทาง URL หรืือ QR code
แล้้วให้้กรอกเลขบััตรประชาชนของตนเอง (เพื่�อป้้องกัันการตอบซ้ำ�ำ �เท่่านั้�น ไม่่มีีการนำ�ำ ไปเชื่�อมโยงกัับข้้อมููลส่่วนตััว
และการตอบจะถูกู เก็บ็ ไว้เ้ ป็น็ ความลับั โดยจะนำ�ำ ไปวิเิ คราะห์ผ์ ลในภาพรวมเท่า่ นั้�น ไม่ม่ ีกี ารแสดงผลการตอบรายบุคุ คล)

7. การเก็บ็ รวบรวมข้้อมูลู แบบวัดั การรัับรู้้�ของผู้้�มีีส่ว่ นได้้ส่ว่ นเสีียภายนอก (EIT)

ผู้้�ดูแู ลระบบ ดำำ�เนินิ การนำ�ำ ช่อ่ งทางการตอบแบบวัดั การรับั รู้�ของผู้้�มีสี ่ว่ นได้ส้ ่ว่ นเสียี ภายนอก (EIT) ซึ่�งอยู่�ในรูปู แบบ
URL หรืือ QR code ประชาสัมั พัันธ์เ์ พื่�อเปิิดโอกาสให้้ผู้้�มีสี ่ว่ นได้ส้ ่ว่ นเสีียภายนอกเข้า้ มาตอบในระบบ BANGKOKITA

Admin > ชอ่ งทางการน�ำ link แบบวัดการรบั รู้ผู้มีสว่ นไดส้ ่วนเสยี ภายนอก (EIT)

ตััวอย่า่ ง

ประชาสมั พันธ์ >> QR-code หรอื link
เพอ่ื ตอบแบบวดั การรบั รูผ้ มู้ สี ว่ นได้ส่วนเสยี

ภายนอก (EIT)

สำำ�นัักงานเขต มีีหน้้าที่�ในการนำ�ำ ช่่องทางการตอบแบบวััดการรัับรู้�ของผู้้�มีีส่่วนได้้ส่่วนเสีียภายนอก (EIT) ซึ่�งอยู่�
ในรููปแบบ URL หรืือ QR code ประชาสััมพัันธ์์แก่่ผู้้�มีีส่่วนได้้ส่่วนเสีียภายนอกของสำำ�นัักงานเขตที่�มารัับบริิการหรืือ
มาติิดต่่อกัับสำำ�นัักงานเขต โดยสำำ�นัักงานเขตควรคำำ�นึึงถึึงช่่องทางการเผยแพร่่ที่่�ผู้้�มีีส่่วนได้้ส่่วนเสีียภายนอกจะสามารถ
เข้้าถึึงได้้อย่่างสะดวก ผู้้�มีีส่่วนได้้ส่่วนเสีียภายนอกจะเข้้ามาตอบแบบวััดการรัับรู้�ของผู้้�มีีส่่วนได้้ส่่วนเสีียภายนอก (EIT)
ด้้วยตนเอง ผ่่านทาง URL หรือื QR code ซึ่�งจะเป็็นการตอบเข้า้ สู่�ระบบ BANGKOKITA โดยตรง

สำ�ำ นักั งานเขต เผยแพร่่และเก็บ็ ข้้อมููลผู้้�มีสี ่ว่ นได้ส้ ่่วนเสียี ภายนอก (EIT) ณ จุุดบริิการ รวมถึงึ การดำ�ำ เนิินโครงการ
กิิจกรรม หรืืองานบริิการอื่�น ๆ นอกสถานที่� ให้้กับั ประชาชนในสำ�ำ นัักงานเขต ตั้�งแต่่ 1 ตุลุ าคม 2564 ถึงึ 16 สิิงหาคม
2565 ให้้ได้จ้ ำำ�นวนมากที่่�สุุด อย่่างน้อ้ ย 400 คน

สำ�ำ นักั งาน ป.ป.ช. นำ�ำ ส่่ง QR code เพื่�อที่่�สำำ�นัักงานเขต กรุุงเทพมหานคร นำ�ำ ไปวาง ณ จุดุ ให้้บริกิ ารสำ�ำ หรัับ
เป็น็ ช่อ่ งทางการตอบแบบวัดั การรับั รู้�ของผู้้�มีสี ่ว่ นได้ส้ ่ว่ นเสียี ภายนอก (EIT) เพื่�อเปิดิ โอกาสให้ผ้ ู้้�มีสี ่ว่ นได้ส้ ่ว่ นเสียี ภายนอก
เข้้ามาตอบในระบบ BANGKOKITA ซึ่�งจะเป็็นการตอบเข้้าสู่�ระบบ BANGKOKITA โดยตรง

48 คู่่ม� ือื การประเมิินคุณุ ธรรมและความโปร่่งใสในการดำำ�เนินิ งานของหน่่วยงานภาครััฐ
(Integrity and Transparency Assessment : ITA)
ของสำ�ำ นัักงานเขต กรุุงเทพมหานคร ประจำำ�ปีีงบประมาณ พ.ศ. 2565


Click to View FlipBook Version