The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

นางสาวณัฏฐินี เหล็กเทศ
วิทยาลัยอาชีวศึกษาเชียงใหม่
สาขาวิชาการโรงแรม

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by ณัฏฐินี เหล็กเทศ, 2021-03-10 10:45:22

โครงการผ้าพันเหยือกจากผ้าฝ้ายท้องถิ่น

นางสาวณัฏฐินี เหล็กเทศ
วิทยาลัยอาชีวศึกษาเชียงใหม่
สาขาวิชาการโรงแรม

Keywords: โครงการผ้าพันเหยือกจากผ้าฝ้ายท้องถิน

ผา พนั เหยอื กจากผา ฝา ยทองถ่นิ
Jug Wrap Made From Local Cotton

ณัฏฐินี เหลก็ เทศ

โครงการนีเ้ ปน สว นหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตร
ประกาศนียบัตรวิชาชพี ชั้นสูง

สาขาวิชาการโรงแรม ประเภทวิชาอุตสาหกรรมทอ งเที่ยว
วทิ ยาลยั อาชีวศกึ ษาเชยี งใหม
ปก ารศกึ ษา 2563



ผา พันเหยือกจากผาฝายทองถน่ิ
Jug Wrap Made From Local Cotton

ณฏั ฐินี เหล็กเทศ

รายงานน้เี ปน สวนหนง่ึ ของการศึกษาตามหลักสตู ร
ประกาศนยี บัตรวชิ าชพี ชั้นสูง

สาขาวชิ า การโรงแรม ประเภทวชิ า อตุ สาหกรรมทอ งเทีย่ ว
วทิ ยาลัยอาชีวศกึ ษาเชยี งใหม
ปก ารศกึ ษา 2563



ใบรับรองโครงการ
วทิ ยาลัยอาชวี ศกึ ษาเชยี งใหม่

เร่อื ง โครงการผ้าพันเหยือกจากผ้าฝ้ายทอ้ งถิน่

โดย นางสาวณัฏฐินี เหล็กเทศ รหัสนกั ศึกษา 6237010048

ได้รับการรบั รองใหน้ บั เปน็ ส่วนหน่งึ ของการศึกษาตามหลกั สตู รประกาศนียบัตรวชิ าชีพช้ันสงู
สาขาวิชาการโรงแรม ประเภทวิชาอตุ สาหกรรมท่องเทย่ี ว

.....................................หวั หน้าแผนกวชิ า …………………………….รองผูอ้ านวยการฝ่ายวิชาการ
(นางอปั สร คอนราด) (นายณรงศักดิ์ ฟองสนิ ธุ)์ )
วนั ท่ี........เดอื น...................... พ.ศ.2564 วันที่........เดอื น...................... พ.ศ.2564

.....................................กรรมการสอบโครงการ
(นางสาวนพรรณพ ดวงแก้วกูล)



กิตติกรรมประกาศ

รายงานโครงการเรื่อง ผ้าพันเหยือกจากผ้าฝ้ายท้องถิ่น สาเร็จได้เน่ืองจากบุคคลหลายท่าน
ไดก้ รุณาชว่ ยเหลือใหข้ ้อมลู ข้อเสนอแนะ คาปรึกษาแนะนา ความคดิ เหน็ และกาลงั ใจ

ผู้จัดทาโครงการกราบขอบพระคุณ อาจารย์นพรรณพ ดวงแก้วกูล ท่ีได้ให้คาชี้แนะและ
แนะนาการดาเนินโครงการผา้ พนั เหยอื กจากผา้ ฝา้ ยท้องถน่ิ ใหส้ าเร็จได้ตาม วตั ถปุ ระสงค์

ขอขอบคุณคณาจารย์ทุกท่านในสาขาวิชาการโรงแรมที่ได้ถ่ายทอด สร้างความรู้และได้ให้
ความช่วยเหลอื แนะนาการดาเนินโครงการใหแ้ กผ่ ู้ดาเนนิ โครงการ

ท้ายสุดนี้ขอขอบคุณเพ่ือน ๆ น้อง ๆ สาขาวิชาการโรงแรมท่ีได้ให้ความช่วยเหลือประเมิน
แบบสารวจการทาผ้าพันเหยือก และประเมินแบบพึงพอใจการใช้ผ้าพันเหยือกจากผ้าฝ้ายท้องถิ่น
ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งท่ที าใหร้ ายงานโครงการของผู้สาเร็จลุลว่ ง

ณัฏฐินี เหล็กเทศ



ชอ่ื : นางสาวณฏั ฐนิ ี เหล็กเทศ

ชอ่ื โครงการ : ผ้าพนั เหยือกจากผา้ ฝ้ายท้องถิน่
สาขาวิชา : การโรงแรม
ประเภทวชิ า : อตุ สาหกรรมท่องเท่ยี ว
หวั หนา้ แผนกวิชา : นางอัปสร คอนราด
อาจารย์ประจาวชิ า : นางสาวนพรรณพ ดวงแก้วกลู
ปีการศึกษา : 2563

บทคดั ยอ่

โครงการ เร่ือง ผ้าพันเหยือกจากผ้าฝ้ายท้องถิ่น มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนารูปแบบผลิตภัณฑ์
ผ้าฝ้ายท้องถิ่นให้เหมาะสมกับการใช้งานของอาคารฝึกปฏิบัติการโรงแรม เพ่ือสร้างผลิตภัณฑ์ผ้าพันเหยือก
จากผ้าฝ้ายท้องถิ่นให้สะดวกต่อการใช้งานอาคารฝึกปฏิบัติการโรงแรม และเพ่ือเพ่ิมมูลค่าให้
ผ้าฝา้ ยทอ้ งถิน่ เป็นผลิตภัณฑผ์ า้ พันเหยือกเพ่อื การบริการ กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการดาเนินโครงการ คือ
กลุ่มอาจารย์ /บุคลากร และนักเรียน นักศึกษาสาขาวิชาการโรงแรมวิทยาลัยอาชีวศึกษาเชียงใหม่
จานวน 50 คน เครอ่ื งมอื ท่ีใชใ้ นการดาเนนิ การใช้ แบบสารวจรปู แบบผา้ พนั เหยือก และแบบสอบถาม
ความพึงพอใจการใช้ผ้าพันเหยือก โครงการผ้าพันเหยือกจากผ้าฝ้ายท้องถ่ิน ผลของการดาเนิน
โครงการ พบว่า การสารวจรูปแบบผ้าพันเหยือกการใช้ในงานบริการอาหารและเคร่ืองดื่ม ผู้ให้ข้อมูล
เป็นเพศหญิง ร้อยละ 78.00 มีสถานะในวิทยาลัยเป็นนักศึกษา ร้อยละ 92.00 ผลการสารวจรูปแบบ
เก่ียวกับสีที่ใช้ทาผ้าพันเหยือกคือ สีม่วง ร้อยละ 46.00 ลักษณะของผ้าที่ใช้ทาผ้าพันเหยือกควรใช้
สีพ้ืนลายผ้าธรรมชาติ ร้อยละ 54.00 ส่วนรูปแบบของโลโก้ที่จะแสดงบนผ้าพันเหยือกควรแสดงโลโก้
เปน็ ตราแผนกโรงแรม ร้อยละ 82.00 และปกั โลโก้ลงบนผ้า ร้อยละ 80.00 ผ้าพันเหยือกน้าในช้ินงาน
ควรมสี เี ดยี วกันท้ังสองด้าน ร้อยละ 92.00 วัสดุติดยึดควรใช้ตีนตุ๊กแก ร้อยละ 80.00 และความพึงพอใจ
การใช้ผ้าพันเหยือกของอาคารฝึกปฏิบัติการโรงแรม สาหรับการใช้ในงานบริการอาหารและเครื่องด่ืม
ผู้ตอบแบบสอบถามส่วนมากเป็นเพศหญิง ร้อยละ 68.00 มีสถานะในวิทยาลัยเป็นนักศึกษา
ระดับ ปวส. ร้อยละ 68.00 จากการใช้งานของผ้าพันเหยือกมีความพึงพอใจต่อผ้าพันเหยือกในระดับ

มากทส่ี ุดในเรอ่ื งความสะดวกในการใช้งาน (̅ = 4.64) รองลงมาการประหยัดเวลากว่าการใช้ผ้าพันเหยือก

แบบเดิม (̅ = 4.62) และแสดงเคร่ืองหมายโลโก้สาขาวิชาการโรงแรมเป็นเอกลักษณ์เฉพาะเหมาะสมที่

จะใชง้ านในอาคารปฏบิ ัติการโรงแรมของวิทยาลัย (̅ = 4.56)



สารบัญ

เรอ่ื ง หนา้
ใบรับรองโครงการ ก
กติ ติกรรมประกาศ ข
บทคัดยอ่ ค
สารบญั ง
สารบญั ตาราง ฉ
สารบญั ภาพ ซ
บทที่ 1 บทนา 1
1
1.1 ความเปน็ มาและความสาคัญของโครงการ 2
1.2 วตั ถปุ ระสงค์ของโครงการ 2
1.3 ขอบเขตโครงการ 2
1.4 ประโยชน์ทีค่ าดวา่ จะไดร้ บั 2
1.5 นิยามศพั ท์ 3
บทที่ 2 เอกสารและงานศกึ ษาท่เี กยี่ วข้อง 3
2.1 ความรู้เกี่ยวกับผ้าฝ้าย 35
2.2 อุปกรณ์ในการบริการเคร่ืองด่ืมในอาคารปฏิบตั ิการโรงแรมวิทยาลัย
38
อาชีวศกึ ษาเชยี งใหม่ 42
2.3 วิธีการใชผ้ ้าพันเหยอื ก 49
2.4 การตัดเย็บ,การเย็บด้น,การเนา 53
2.5 งานศึกษา / งานวิจัยทีเ่ ก่ียวข้อง 53
บทท่ี 3 วธิ ีดาเนนิ การ 53
3.1 กลมุ่ ตวั อย่าง 54
3.2 เครื่องมอื ที่ใชใ้ นดาเนนิ โครงการ 55
3.3 ขน้ั ตอนการดาเนินโครงการ 55
3.4 การเกบ็ รวบรวมข้อมลู 58
3.5 สถิติและการวเิ คราะห์ข้อมลู 58
บทท่ี 4 ผลการดาเนินการ
ตอนที่ 1 ผลการวเิ คราะห์การสารวจรูปแบบผ้าพนั เหยือกสาหรบั ใช้ในงานบริการ

อาหารและเครอื่ งดมื่



สารบัญ (ตอ่ )

เรอื่ ง หน้า
บทที่ 4 ผลการดาเนนิ การ (ตอ่ )
63
ตอนที่ 2 ผลการวเิ คราะห์แบบสอบถามความพึงพอใจการใช้ผา้ พันเหยือกในงาน
บรกิ ารอาหารและเครื่องด่ืม 65
66
ตอนท่ี 3 ผลการวิเคราะหข์ ้อเสนอแนะการใชผ้ ้าพนั เหยือก 66
บทที่ 5 สรปุ ผล อภปิ รายและข้อเสนอแนะ 66
67
5.1 สรปุ ผล 70
5.2 อภปิ รายผล 72
5.3 ขอ้ เสนอแนะ 73
บรรณานกุ รม 80
ภาคผนวก 82
ภาคผนวก ก แบบนาเสนอโครงร่างโครงการ 85
ภาคผนวก ข เครอื่ งมอื ท่ีใชใ้ นการเกบ็ รวบรวมข้อมลู 87
ภาคผนวก ค รปู ภาพประกอบการเผยแพร่โครงการ
ภาคผนวก ง แบบรายงานผลการนาไปใช้ประโยชน์
ประวตั ผิ ู้จดั ทา



สารบญั ตาราง

ตารางท่ี หน้า
ตารางท่ี 1 แสดงคา่ ความถี่และร้อยละของผลสารวจรปู แบบผา้ พนั เหยือกจาแนกตามด้านเพศ 58
ตารางท่ี 2 แสดงค่าความถแ่ี ละร้อยละของผลสารวจรปู แบบผ้าพันเหยือกจาแนกตาม 59
59
สถานะในวทิ ยาลัยอาชวี ศกึ ษาเชียงใหม่ 59
ตารางที่ 3 แสดงคา่ ความถแ่ี ละร้อยละของผลสารวจรูปแบบผ้าพนั เหยือกจาแนกตาม 60
61
รปู ทรงของผ้าพันเหยือก 61
ตารางที่ 4 แสดงคา่ ความถ่แี ละร้อยละของผลสารวจรปู แบบผา้ พันเหยอื กจาแนกตามสีท่ี 62
62
ใชท้ าผา้ พนั เหยือก 63
ตารางที่ 5 แสดงคา่ ความถี่และรอ้ ยละของผลสารวจรูปแบบผ้าพนั เหยอื กจาแนกตาม 63
64
ลักษณะของ ผา้ ทใ่ี ช้ทาผ้าพันเหยอื ก
ตารางที่ 6 แสดงค่าความถแี่ ละรอ้ ยละของผลสารวจรูปแบบผา้ พันเหยือกจาแนกตาม

รปู แบบลวดลายของโลโก้
ตารางท่ี 7 แสดงคา่ ความถี่และรอ้ ยละของผลสารวจรปู แบบผา้ พันเหยอื กจาแนกตาม

รูปแบบการจดั ทา โลโกท้ ่ีแสดงบนผ้าพนั เหยือก
ตารางท่ี 8 แสดงค่าความถแ่ี ละร้อยละของผลสารวจรปู แบบผ้าพนั เหยือกจาแนกตามการ

ออกแบบผา้ ท้ังสองด้าน
ตารางที่ 9 แสดงค่าความถีแ่ ละร้อยละของผลสารวจรูปแบบผา้ พันเหยือกจาแนกตามการ

ใช้วัสดุติดยึดผา้ พันเหยือก
ตารางท่ี 10 ตารางแสดงผลการวิเคราะหข์ ้อมลู ส่วนบุคคลคา่ ความถ่ีและร้อยละตัวแปรด้าน

เพศของผ้ตู อบแบบสอบถาม
ตารางท่ี 11 ตารางแสดงผลการวเิ คราะหข์ ้อมูลส่วนบุคคลคา่ ความถี่และรอ้ ยละตัวแปรด้าน

สถานะในวทิ ยาลัยศึกษาเชียงใหมข่ องผู้ตอบแบบสอบถาม
ตารางที่ 12 แสดงผลการวิเคราะห์คา่ เฉลยี่ และสว่ นเบย่ี งเบนมาตรฐานของผู้ตอบ

แบบสอบถามความพึงพอใจการใชผ้ ้าพนั เหยือกสาหรับการใช้ในงานบริการ
อาหารและเคร่ืองด่ืม

สารบญั ภาพ ช

ภาพท่ี หน้า
ภาพที่ 1 ผา้ ทท่ี อเปน็ ลวดลายด้วยเทคนคิ ขิตเรยี กว่า ผ้าขิต 13
ภาพที่ 2 ผา้ มัดหมส่ี มัยใหม่ที่อาเภอบา้ นหมี่ 14
ภาพที่ 3 ผ้าตนี จกเก่าของชาวบา้ นลา้ นนา 14
ภาพท่ี 4 ผ้าหลบไทยยวนและไทยลื้อ 15
ภาพที่ 5 ผา้ ตนี จกบ้านคูบวั ราชบุรี 16
ภาพที่ 6 ผา้ ทอบ้านดอนบ่อลายรวงข้าว อา่ งทอง 16
ภาพที่ 7 ผ้าฝ้ายลายสายฟ้า สุพรรณบุรี 17
ภาพที่ 8 ผา้ ขดิ ภาคอสี าน 18
ภาพท่ี 9 ผา้ มดั หมภี่ าคอีสาน 18
ภาพท่ี 10 ผ้าหางกระรอกภาคอีสาน 19
ภาพท่ี 11 ผ้ายกนครศรธี รรมราช 20
ภาพท่ี 12 ผ้าทอนาหม่ืนศรี ตรงั 20
ภาพที่ 13 ผา้ พุมเรยี ง สุราษฎรธ์ านี 21
ภาพที่ 14 ลายเส้นตรง ลายซกิ แซก ลายตะขอ 22
ภาพท่ี 15 ลายฝนตก 23
ภาพที่ 16 ลายต้นไผ่ 23
ภาพที่ 17 ลายฟันปลา :ผ้าตนี จก ลายฟันปลา 24
ภาพท่ี 18 ลายพญานาคหรืองู และปราสาท :ผ้าขิตลายนาคและปราสาท 24
ภาพท่ี 19 ผ้าขิตลายกากบาท 25
ภาพท่ี 20 ผา้ ขิตลายขนมเปยี กปูน 26
ภาพท่ี 21 ลายนาคและปราสาท 27
ภาพท่ี 22 ผา้ ตีนจก ลายกากบาท (พระอาทติ ย์) พระจันทร์ และนก 28
ภาพที่ 23 ผ้าขิตลายนกฮูกผ้าขิตลายนกฮูกผ้าขิตลายนกฮูกผ้าขิตลายนกฮูก 29
ภาพที่ 24 ผ้าลายน้าไหล 30
ภาพที่ 25 ผ้ามัดหมี่สรุ นิ ทร์ 31
ภาพที่ 26 ผ้าฝา้ ยสีพื้นลาพนู 32
ภาพที่ 27 ผ้าลายปลา 32
ภาพที่ 28 ผ้าเตา่ หมู่ 33

สารบัญภาพ (ตอ่ ) ซ

ภาพที่ หน้า
ภาพท่ี 29 ผา้ ลายเกล็ดเตา่ 33
ภาพท่ี 30 ผา้ ลายดอกชา้ ง 34
ภาพที่ 31 ผ้าลายดอกนก 34
ภาพท่ี 32 ผ้าลายดอกขอลายไทย 35
ภาพที่ 33 แก้วประเภทต่าง ๆ 36
ภาพที่ 34 ถาดเสริ ฟ์ 36
ภาพท่ี 35 เหยอื กนา้ พลาสตกิ 37
ภาพท่ี 36 เหยือกน้าแกว้ 37
ภาพท่ี 37 เหยอื กนา้ โลหะ 38
ภาพท่ี 38 เตรียมผ้าซบั น้าสีเ่ หลย่ี มผนื ผ้า 38
ภาพท่ี 39 พับผ้าให้เป็นสามเหลีย่ ม 39
ภาพท่ี 40 การกะขนาดผ้าพันเหยือกน้ากับเหยอื กน้า 39
ภาพที่ 41เตรียมผ้าซับน้าสีเ่ หล่ยี มผืนผ้า 40
ภาพท่ี 42 พนั ผา้ ให้รอบเหยือกน้า 40
ภาพท่ี 43 มัดผ้ารอบเหยือกนา้ 41
ภาพท่ี 44 เกบ็ ชายผ้าพันเหยือกนา้ 41
ภาพที่ 45 ผา้ พนั เหยือกนา้ เม่ือปฏิบัติตามข้ันตอนการพนั เหยือกน้า 42
ภาพที่ 46 อุปกรณ์ต่าง ๆ ท่ตี ้องจดั เตรยี มในการตดั เย็บ 43
ภาพท่ี 47 จักรเยบ็ ผา้ 43
ภาพท่ี 48 การเยบ็ ดน้ ธรรมดาหรอื เยบ็ ด้นตลยุ 44
ภาพที่ 49 การเย็บดน้ ถอยหลงั 45
ภาพที่ 50 การเย็บด้นถอยหลังแบบดาน้า 45
ภาพท่ี 51 การเนาเท่ากัน 46
ภาพที่ 52 การเนาไมเ่ ท่ากัน 47
ภาพที่ 53 การเนาแบบชา่ งเสื้อ 48
ภาพที่ 54 การเนาแบบเฉยี ง 48

1

บทที่ 1
บทนำ

1.1 ความเปน มาและความสำคัญของโครงการ
ผาทอพนื้ เมือง จดั เปนผลติ ภณั ฑท ่แี ตละ ครัวเรอื นสามารถทำการผลิตเองได สำหรับใชใ นการ

นุงเปนผาซิน่ หรือทำเปนผาหมสำหรับใชคลมุ ไหลของสตรี หรือทำเปนผาขาวมาของสุภาพบุรุษ ใชใน
ชีวิตประจำวันในแตละครัวเรือนเทาน้ัน ซึ่งการทอผา สมัยโบราณนัน้ สตรีจะทำการทอผาในยามที่วาง
จากการทำการผลิตสินคาหลักของครัวเรือน คือ การทำนา ทำไร (สุจินดา เจียมศรีพงษ และคณะ,
2558) ในภาคเหนือ ผาฝายทอของภาคเหนือมีความโดดเดนที่เปนเอกลักษณของแตละชุมชน
แตลักษณะของสินคา และผลิตภัณฑที่ไดใชผาฝายทอมือมาสรางสรรค มาทำการแปรรูปที่มีอยู
มักจะมีรูปแบบของผลิตภัณฑที่เหมือนเดิม และคลายคลึงกันมาเปนระยะเวลาที่นาน ไมมีการริเริ่ม
สรางสรรคพัฒนา และออกแบบใหเกิดความแตกตางแปลกใหมหรือนาสนใจ ทำใหแตละกลุมผลิต
สินคา ผลิตภัณฑที่แปรรูปจากผาฝายทอมือในรูปแบบเดิม ๆ ออกมามากเกินความจำเปน
(กิตติพงษ เกียรติวิภาค, 2559, หนา) การพัฒนารูปแบบผลิตภัณฑ และการหากลุมลูกคาใหม ๆ เชน
กลุมรานอาหาร โรงแรม หรือในกลุมที่ตองชูเอกลักษณของทองถิ่นและความเปนผาทอพื้นเมืองนาจะ
เปนอีกแนวทางหน่งึ ที่จะตอ ยอดธุรกิจผา ฝายตอไปได

อาคารฝกปฏิบัติการโรงแรมวิทยาลัยอาชีวศึกษาเชียงใหม เปนสถานที่ใชในการ
ฝกปฏิบัติการของนักศึกษาสาขาวิชาการโรงแรม ซึ่งในการฝกปฏิบัติงานของนักศึกษาสาขาวิชา
การโรงแรม จะประกอบดวย 4 งานสำคัญไดแก งานบริการตอนรับสวนหนา งานแมบาน งานครัว
ประกอบอาหาร และบรกิ ารอาหารและเครอ่ื งดืม่ ซ่งึ ในงานบริการอาหารและเครื่องด่มื นัน้ นกั ศึกษาที่
ฝกปฏิบัติงานในอาคารฝกปฏิบัติการโรงแรมจำเปนที่จะตองฝกการใหบริการอาหารและเครื่องดื่ม
แกแขก ในการใหบริการอาหารและเครื่องดื่มแกแขกนั้นจะตองมีการรินน้ำดื่ม โดยปญหาที่ผูจัดทำ
โครงการพบคือ ปญหาการนำผา มาพันเยือกน้ำของนักศึกษาฝกปฏิบัติแตละคนก็มีวิธีการพับผาพันผา
พันเหยือกในรูปแบบที่ถูกตองและไมถูกตองปะปนกัน ทำใหการพับผาพันเยือกน้ำออกมาไมได
มาตรฐานเกดิ รปู แบบทอี่ อกมาในแตล ะครงั้ ไมเหมือนกนั และไมส วยงาม

ผูจัดทำโครงการไดเล็งเห็นถึงปญหาขางตน จึงไดนำเสนอโครงการผาพันเหยือกจากผาฝาย
ทองถิ่น เพื่อแกปญหาโดยพัฒนารูปแบบผลิตภัณฑผา พันเหยอื กจากผาฝายทองถิ่นใหเหมาะสม และ
สะดวกตอการใชงานของอาคารฝกปฏิบัติการโรงแรม เพิ่มมูลคาใหผาฝายทองถิ่นจากผลิตภัณฑผา
พันเหยือก อีกทั้งยังชูเอกลักษณผาฝายของทองถิ่นใหเปนที่รูจักแกแขกผูที่เขามาพักและเยี่ยมชม
อาคารฝกปฏิบัติการโรงแรม และหากมีผูสนใจผลิตภัณฑผาพันเหยอื กจากผาฝายทองถิ่นกส็ ามารถตอ
ยอดเปนธรุ กิจของทีร่ ะลกึ ของอาคารฝก ปฏิบตั กิ ารโรงแรมไดในโอกาสตอไป

2

1.2 วตั ถปุ ระสงคข องโครงการ
1.2.1 เพื่อพัฒนารูปแบบผลิตภัณฑผาฝายทองถิ่นใหเหมาะสมกับการใชในงานบริการอาหาร

และเคร่อื งดื่มแผนกวิชาการโรงแรม
1.2.2 เพือ่ สรางผลติ ภัณฑผ าพันเหยือกจากผาฝายทอ งถิน่
1.2.3 เพือ่ เพมิ่ มูลคาใหผ าฝายทอ งถน่ิ เปนผลิตภณั ฑผ าพนั เหยอื ก

1.3 ขอบเขตโครงการ
เปา หมายของโครงการ
1.3.1 เชงิ ปริมาณ
- ผลติ ภณั ฑผา พนั เหยอื กจากผา ฝายทอ งถนิ่ จำนวน 24 ผนื
1.3.2 เชงิ คุณภาพ
- ไดผ ลิตภณั ฑผ า พนั เหยอื กจากผา ฝายทอ งถิน่ ที่งายและสะดวกจากการใชง าน และเพิม่

มลู คาใหผ า ฝายทอ งถิ่น
1.3.3 ระยะเวลาและสถานทใี่ นการดำเนนิ งาน
ระยะเวลาดำเนนิ งาน ต้ังแตว ันท่ี 16 พฤศจิกายน 2563 ถงึ 28 กมุ ภาพันธ 2564
สถานทดี่ ำเนนิ งาน - อาคารปฏบิ ตั ิการโรงแรม วทิ ยาลยั อาชีวศกึ ษาเชยี งใหม
- ทีอ่ ยูอ าศัยของผูจดั ทำ บานเลขที่ 61 ม.13 ตำบลบานเหวน
อำเภอหางดง จงั หวัดเชียงใหม 50230

1.4 ประโยชนท ่คี าดวา จะไดร ับ
1.4.1 อาคารปฏบิ ตั กิ ารโรงแรมมีผาพันเหยือกจากผา ฝา ยทม่ี ีเอกลักษณเฉพาะ
1.4.2 สรางเปนรายไดจัดจำหนายเปนของฝากของที่ระลึกแกผูมาใชบริการอาคารฝก

ปฏิบตั ิการโรงแรม

1.5 นิยามศัพท
ผาพันเหยือกจากผาฝายทองถิ่น เปนการนำผาฝายทองถิ่นมาทำเปนผาพันเหยือกที่มีความ

สะดวกในการใชงาน โดยตัดเย็บดวยผาฝายทองถิ่น และใชผาซับอีกชั้น แลวใชแถบหนามเตย
(แถบตนี ตุกแก) ตดิ แทนการพัน / มัดเหยือก

3

บทท่ี 2
แนวคดิ ทฤษฎแี ละงานศกึ ษาทเี่ กีย่ วของ

ในการศึกษาเรื่องผาพันเหยือกจากผาฝายทองถิ่น ผูจัดทำโครงการไดรวบรวมแนวคิดทฤษฎี
และหลกั การตาง ๆ จากเอกสารและงานศึกษาทีเ่ กยี่ วขอ ง ดังนี้

2.1 ความรเู ก่ยี วกับผาฝา ย
2.2 อุปกรณในการบรกิ ารเคร่อื งดืม่ ในอาคารปฏิบัติการโรงแรมวทิ ยาลัยอาชีวศกึ ษาเชียงใหม
2.3 วธิ ีการใชผ า พันเหยอื ก
2.4 การตัดเยบ็ ,การเย็บดน ,การเนา
2.5 งานศกึ ษา / งานวิจยั ท่ีเก่ียวขอ ง

2.1 ความรเู ก่ียวกบั ผาฝา ย
ฝาย (Cotton) คือ เสนใยเกาแกชนิดหนึ่งซ่ึงใชในการทอผามาแตสมัยโบราณ โดยหลักฐาน

ทางโบราณคดีที่บงบอกใหรูวามีการปลูกฝายและปนฝายเปนเสนดายมานานแลว คือ การขุดพบฝาย
ในซากปรักหักพังอายุประมาณ 3,000 ปกอนคริสตกาล ที่แหลงโบราณคดีโมฮันโจ ดาโร (Mohenjo
daro) บริเวณแหลงอารยธรรมลมุ น้ำสนิ ธุในเขตประเทศปากีสถานปจจุบัน

ฝาย (Cotton) เปนใยเซลลูโลสไดจากดอกของฝาย ผาท่ีผลิตจากฝายพันธุดีเสนใยยาว ผิว
ของผาจะเรียบเนยี น และทนทาน คณุ ภาพของผาฝา ยขึ้นอยูกับพนั ธุ ความยาวและความเรียบของเสน
ใย ใยฝายเองไมใครแข็งแรงนัก แตเม่ือนำมาทอเปนผา จะไดผาท่ีแข็งแรง ย่ิงทอเน้ือหนา-แนนจะย่ิง
แข็งแรง ทนทาน ดูดความชื้นไดดี เหมาะสำหรับทำผาเช็ดตัว ผาเช็ดหนา ผาฝายเนื้อบางถึงเนื้อหนา
ปานกลาง ใชเ ปนชุดสวมในฤดรู อ นจะรูสึกเยน็ สบาย

ใยฝายไดมาจากสวนท่ีหอหุมเมล็ดของตนฝาย หรือท่ีเรียกวา ปุยฝาย ซ่ึงมีลักษณะเปนเสนเล็ก
ๆ ฝายมีคุณสมบัติเน้ือนุม โปรงสบาย ระบายความรอนไดดี เน่ืองจากฝายมีชองระหวางเสนใย จึง
เหมาะกับสภาพอากาศในฤดูรอน และเม่ือเปยกจะตากแหงไดเร็ว การใชฝายมาใชงานทำไดโดยนำ
ฝายมาปน เปนเสนดา ย แลว นำมาทอ เปนผนื ผา

ผาฝาย หรือเรียกจากคำภาษาอังกฤษของผาฝายวา คอตตอน (Cotton) เปนผาท่ีใชกันมาก
ที่สดุ ในบรรดาเส้ือผาเคร่ืองแตงกาย เหมาะสมสำหรับการสวมใสในชวงที่มอี ากาศรอนในฤดูรอน หรือ
สามารถสวมใสไ ดท กุ วันกับประเทศท่ีภูมอิ ากาศรอนชนื้ ทง้ั ป เพราะในเนื้อเสนใยฝา ยนนั้ สามารถซมึ ซับ
เหงือ่ และระบายออกไดอยางรวดเร็วและงา ยดาย

ผาฝายทำมาจากใยฝาย ซ่งึ ไดจากตนฝายที่สามารถปลกู ขึ้นไดดีในแถบที่มีอากาศอุนช้ืนและมี
แดดจัด เมื่อผลฝายแกจัดแลว ผลจะแตกมีใยเปนปุยขาว จึงเก็บมาแยกเอาเปลือกและเมล็ดออก แลว

4

นำไปปนเปนเสนใยและเสนดาย จึงจะสามารถทอเปนผืนผาไดแลวจึงจะสามารถใชประโยชนจากผา
ฝา ยได โดยการนำมาตดั และเย็บเปน เสอ้ื ผาเคร่ืองแตง กายอยางเชน เสอื้ ยดื

2.1.1 ลักษณะของผา ฝาย
เสน ใยผาฝา ยจะมีขนาดความกวางเทาๆ กันหรือใกลเคียงกันคือจะมคี วามกวา งประมาณ 12-
20 ไมครอน ตรงสวนกลางของเสนใยจะกวางกวาสวนหัวและปลาย สวนความยาวใยฝายขึ้นอยูกับ
องคประกอบหลายประการ เชน ขึ้นอยูกับพันธุฝาย สภาพดินฟาอากาศ และการเจริญเติบโต เสนใย
ฝายสวนใหญจะยาวประมาณ 7/8 น้ิว และขนาดท่ีนิยมนำมาใฃในงานอุตสาหกรรมส่ิงทอคือใยฝายที่
ยาวประมาณ 1/2 น้วิ

1) ความมนั เงา
ใยฝายโดยทั่วไปจะมีความมันนอย ตองเพ่ิมความมันดวยการตกแตง เชน ผาฝายเมอร
เซอรไรซ
2) ความเหนียว
ฝายจะมีความเหนียวปานกลาง คือจะเหนียวประมาณ 3.0-5.0 กรัมตอเดนเยอร
ความเหนียวจะเพ่ิมขึ้นเม่ือเปยก ความเหนียวเม่ือเสนใยเปยกจะมากกวาความเหนียวเมื่อแหง
ประมาณ 25-40 เปอรเซ็นต ความยืดหยุนและการยืดได ในฝายขะยืดหยุนไดคอนขางต่ำ คือจะยืดได
ประมาณ 3-7 เปอรเช็น บางครั้งอาจถึง 10 เปอรเซ็นกอนถึงจุดขาด การหดตัวกลับที่เดิม หากจับยึด
อออกเพีง 2 เปอรเซ็นจะหดตัวกลับเขาท่ีเดิมได 74 เปอรเซ็น และถาจับยึดออก 5 เปอรเซ็นจะหด
กลบั ทีเ่ ดิมไดเพีบง 50 เปอรเซน็
3) ความคืนตัว
ใยฝายและผาฝายคืนตัวไดต่ำ และยับงายมาก ความถวงจำเพาะ ใยฝายมีความ
หนาแนนและความทวงจำเพาะ 1.54 กรมั ลกู บาศกเ ซนติเมตร
4) การดูดความชน้ื
ฝายดูดความช้ืนในบรรยากาศได 8.5 เปอรเซ็น ถาความช้ืนสัมพันธในอากาศ 95
เปอรเซ็นและ 100 เปอรเซ็น ฝายจะดูดความชื้นไวได 15 เปอรเซ็น และ 25-27 เปอรเซ็น ตามลำดับ
ผา ฝา ย สามารถดดู ซบั ความชึ้นจากเหง่ือและน้ำไดดแี ละสามารถ ระบายความช้ืนไดเ รว็
5) ความคงรูป
โดยปกติผาฝายจะคงรูป ไมยืด และหดตัวมากนัก ความยืดและหดจะมากหรือนอย
ข้ึนอยูกับกระบวนการผลิตเปนผืนผาดวย ถาตองการไมใหหด จะตองทำการตกแตงใหทนหด เชน ผา
ซันฟอไรซ

5

6) การผลติ ไฟและการทนตอ ความรอ น
ผาติดไฟงายและเร็ว เม่ือเผาจะมีกล่ินเหมือนเผากระดาษ มีข้ีเถาเหลือนอย และ มีสี
เทานุม ผาฝายถาถูกความรอนแหงที่มีความรอนสูงกวา 149 องศาเซลเซียสนานๆ จะทำใหใยเส่ือม
คณุ ภาพ แตจะไหมเกรียมถา รดี ดว ยความรอนสูงมากและการตกแตง เชนการลงแปง ซึง่ จะชว ยใหไ หม
เกรียมงายขึ้น
2.1.2 คณุ ลกั ษณะเดนของผา ฝายคือ
1) ยับงาย รีดใหเรียบไดยาก แตปจจุบันมีการตกแตง (Finish) ทำใหผาไมใครยับและ
รีดใหเรียบไดง า ยขน้ึ
2) ซกั ไดด ว ยผงซกั ฟอก ซักรีดไดท อี่ ุณหภูมสิ ูง
3) แมลงไมก นิ แตจะขึน้ รา
4) ติดไฟ ไมม ียาง ไหมเหมอื นกระดาษ เถามีสเี ทา นุม
2.1.3 การแบงคุณภาพของผา ฝาย
ผา Cotton 100% คือ เน้ือผาที่ทำมาจากเสนใยธรรมชาติ หรือ ผาฝาย โดยการนำปุยฝาย
เสนเล็ก ๆ มาปนใหเปนเสนดายแลวนำมาทอเปนผาผืน ซึ่งเน้ือผาประเภทนี้จะใหความรูสึกในการ
สวมใสสบาย เนื้อผานุมเนียน ระบายอากาศดี(เน่ืองจากเสนใยมีรูพรุน)ไมอมเหงื่อแมอยูกลางแจงใน
วันท่ี แดดเปร้ียง ๆ โดยเฉพาะถาเปนผา Cotton 100 % เกรดดี ซึ่งนี่ถือเปนขอดีของเนื้อผาชนิดน้ี
โดยราคาจะแปรตาม เกรดของเนื้อผาสวนขอเสีย เวลารีดตองออกแรงปล้ำกับรอยยับมากกวาผาชนิด
อนื่ รวมถงึ เมอื่ ซกั ไปนาน ๆ ผา จะเรม่ิ ยดื และยวยงายกวาผาชนดิ อื่น
ลกั ษณะของผา cotton คือ นุม ไมกระดาง ซับเหง่ือไดดี ไมอมเหงอื่ ระบายอากาศไดดีเย่ียม
รวมถงึ เมอื่ นำไปสกรีนจะสามารถลงสีไดหลายสี แตก็มขี อเสียเลก็ นอยก็คอื เม่ือซักไปไดสกั หนอ ยจะเรม่ิ
หดตัว ยว ยเล็กนอ ย แตทุกวนั นก้ี ม็ ีการพฒั นาจนปญ หานเ้ี ร่ิมหมดไปแลว
ในทองตลาด ผูคาจะเรียกผาชนิดน้ีเปนเบอร เชน เบอร 20, 32 และ 40 ยิ่งเบอรนอย
เสนดายที่นำมาทอก็จะเปนเสนดายท่ีมีขนาดใหญกวาผาที่มีเบอรมาก เม่ือนำไปตัดเสื้อผาเบอรนอย
กวา จะไดเสื้อท่ีมีขนาดหนากวาและคุณภาพดอยกวาผาท่ีมีเบอรมาก ผาเบอร 20 นิยมนำมาตัดเปน
เสื้อยืด เสอื้ โปโล สำหรับผูช าย สวนผาเบอร 32 ราคาจะสงู ข้ึน นิยมนำมาตัดเปน เส้ือผา ผูหญิง สำหรับ
ผา เบอร 40 จะไมคอยมีมากนัก เพราะราคาสูงมาก ผาชนิดนน้ี ิยมนำมาตัดเปนเสอ้ื ผา สำหรับเด็ก
ขอ ดีของผา ฝาย คอื
สวมใสส บาย ระบายอากาศดีมาก ความยืดหยุน สูงมาก สวยงามสวมใสสบาย
ผานมุ เนยี นสวย เนื้อนมุ ไมรอน ผา นมุ เนียนสวย
การดูดซบั นำ้ ดี ซับเหงอื่ และระบายอากาศไดด ี สามารถซบั เหงอื่ ไดด เี ย่ียม

6

เหมาะกับผูท่ีตองการใชในท่ีกลางแจงและโดนแดดบอยๆ เพราะผาจะระบายอากาศไดดี ไม
คอ ยอมเหงือ่

ขอเสยี ของผา ฝา ย คือ
ผาตองหดตัวเมื่อผานการซักครั้งแรก เมื่อซักบอยๆ จะยวย และหด ยืด ไมอยูทรง ยับงาย
ดูแลรกั ษาลำบาก สีซีดเกา เรว็
ราคาสูงกวา ผา TC และ TK
ราคาข้นึ อยูกบั คณุ ภาพผา และรานขาย
เส้อื ยดื ทผ่ี ลิตจากผา Cotton 100 % แบง คุณภาพได ดังน้ี

1) ประเภทเสนใย Cotton จะแบงตามลกั ษณะไดด งั น้ี
- Cotton OE เปน ผา Cotton เกรดตำ่ สดุ ลักษณะของผาจะมคี วามกระดางมาก

วา ผา Cotton Semi และ ผา Cotton Comb
- Cotton Semi เปนผา Cotton เกรดปานกลาง ผาจะมีความเนียน ณ ระดับ

หนงึ่ ไมก ระดา ง ราคาไมส ูง และคณุ ภาพคอ นขา งใชได
- Cotton Comb เปนผา Cotton เกรดดีท่ีสุด ลักษณะของผาจะมีความเนียน

และเงามาก และราคาจะสงู กวา ผา Cotton ชนดิ อืน่ ๆ
เสนดา ย ทน่ี ยิ มนำมาทอผา Cotton มีดังนี้
Cotton No.20 เสนดายจะมีขนาดใหญสุด ผาทีท่ อไดจงึ หนาพอสมควร
Cotton No.32 เสน ดายจะมีขนาดเลก็ ผาท่ีทอไดจะเนียนและบาง
Cotton No.40 เสนดายมีขนาดเลก็ ท่ีสุด ผาท่ที อจงึ เนียนมาก และบางมาก จึง

ตองทอเปนเสนคู และราคาจะคอ นขางสูง
ดังนั้น ผาฝาย หรือ Cotton 100% ท่ี นำมาผลิตเสื้อยืดสามารถแบงตามเบอร

เสนดาย โดยท่ัวไปได 3 เบอร คือ 20,32,40 ตามลำดับ สำหรับเบอรเสนดายที่สูงเกิน 40 ขึ้นไปจะ
พบเห็นไดไมมากนักในทองตลาด สวนใหญจะเปนผาที่ตองส่ังทอขึ้นโดยเฉพาะตามเบอรท่ีตองการ
เนื่องจากกระบวนการในการผลิต(ปนเสนดาย)ใหเสนดายมีขนาดเล็กตองอาศัย เคร่ืองจักรและการ
ผลิตท่ียุงยากซับซอน จึงมีตนทุนที่สูงในการผลิต เมื่อนำมาผลิตเสื้อยืดก็จะมีตนทุนสูงตามไปดวย ถา
เบอรนอยจะใชดายเสนใหญ เบอร มากใชดายเสนเล็ก เชนผา Cotton 100 % เบอร 20 เน้ือผาจะมี
ความหนามากกวาเบอร 32 เน่ืองจากขนาดเสนดายท่ีใหญกวา โดยทั่วไปผา Cotton ท่ีนิยมนำมาใช
ทำเสื้อยืดและเสื้อโปโล ในราคาระดับปานกลางถึงสูงคือผา Cotton 100% เบอร 20 (เส้ือยืดสำหรับ
ผูชาย) และ 32(เสื้อยดื สำหรบั ผูหญงิ ) สวนเบอร 40 มักจะนำมาทำเสอ้ื สำหรบั เด็กออน หรือเสื้อที่เนน
ความบางเปนพิเศษ และเสื้อยืดแบรนดเนมบางรุนเบอรท่ีสูงกวา 40 จะเปนเส้ือยืดที่ตองสั่งทอผาข้ึน
เปน พเิ ศษ

7

2) กระบวนการผลติ เสนดา ย
กระบวนการผลิตเสนดาย เปน ตัวบงบอกถึงคุณภาพของเนื้อผา เพื่อใหไดเสนใยท่ีมี
คุณภาพท้ังในดานการเรียงตัวของดายที่มีความหนาแนน สม่ำเสมอและกำจัดส่ิงสกปรกแปลกปลอม
ออกจากเสนใยเพ่ือใหไดเสนดายที่มี คุณสมบัติที่ดีเมื่อไปทอเปนผาผืน ทำใหสามารถแบงคุณภาพผา
ฝา ยท่ผี านกระบวนการผลติ ได 3 ระดับ คือ

- Cotton OE
ไมผา นกระบวนการคดั คณุ ภาพของเสน ใยฝา ย เสอื้ ยืดทีผ่ ลติ จาก cotton ชนดิ น้ีจะ
มีความกระดางกวาอีกสองประเภทรวมถึงความเหนียวทนต่ำขาดงาย เปนผา Cotton เกรดต่ำสุด
และมีราคาถูกสุด เน่ืองจากตนทุนในการใชเครื่องจักรและกระบวนการในการผลิตจากเสนใยฝายเปน
เสน ดายตำ่ สุด
- Cotton Semi
ผานกระบวนผลิตเสนดายโดยวิธีการสางเสนใยฝายโดยเคร่ืองจักรทำใหไดผลผลิต
เปน เสนดา ยใยสน้ั ท่มี ขี นาดใหญ (เบอร 20–32) และมคี วามเนียนนมุ และกระดา งในระดับปานกลาง
- Cotton Comp แบงไดเปน 3 ประเภท คอื

ประเภทที่ 1 ผา นกระบวนผลิตเสนดายโดยวิธีการหวีเสนใยดว ยเครือ่ งจักร ซึ่งมี
กระบวนท่ซี ับซอ นและละเอียดออ นกวา แบบการสาง ทำใหไ ดผ ลผลิตเปน เสนดา ยท่มี ีขนาดเลก็ (เบอร
32 ขึ้นไป) และสามารถขจัดส่ิงสกปรกออกจากเสนใยไดในเปอรเซ็นที่มากกวา รวมถึงไดเสนดายที่มี
เสนใยท่ียาวกวา เมื่อนำมาทอเปนผาผืนจึงเปนผา cotton ที่เน้ือดีมีความนุม และกระดางในระดับต่ำ
เหนยี วทน ขาดยาก มคี วามมัน

ประเภทที่ 2 เปนเน้ือผาผสมระหวางเสนใยธรรมชาติ และเสนใยสังเคราะห
(ตัวยอวา TC, CVC, CTC ข้ึนกับเปอรเซ็นตการผสมของเสนดาย) เนื่องจากกระบวนการผลิตผาใย
สังเคราะหน้ันเปนผลพลอยไดมาจากการกล่ัน น้ำมันในอุตสาหกรรมปโตเคมี ซ่ึงสามารถควบคุม
ขั้นตอนการผลติ ในเชิงปริมาณได ตา งกบั ผาเสนใยธรรมชาติท่ีตองพ่ึงผลผลติ จากการปลกู ฝา ย และดิน
น้ำลมฟาอากาศ รวมถึงแมลงท่ีเปนศัตรูตัวฉกาจในการทำลายผลผลิต รวมถึงในเรื่องการขนสง และ
กระบวนการในการผลิตเสนดายจากฝายที่มีความละเอียดออนและซับซอน จึงทำใหตนทุนของผา
cotton 100 % (เกรดดี ทอดวยดายเสนเล็ก) สูงกวา และจุดเดนของผาเน้ือผสมคือเรื่องการควบคุม
การยืด(หด)ยวยจะทำไดดีกวา cotton 100 % แตขอเสียท่ีติดมาจากใยสังเคราะหคือจะระบาย
อากาศไดไมดเี ทา cotton 100 % (ถึงแมจะทอใหเ สนใยมีรเู ลก็ ๆ เพื่อชวยในการระบายอากาศแลวก็
ตาม) แตยังถือวาอยูในเกณฑระดับปานกลาง เสนดายที่นิยมนำมาทอผา TC คือเบอร 20 และ 32
และ 40 เสื้อยืดท่ีผลิตจากผาประเภทนี้ ราคาอยูในระดับปานกลาง โดยข้ึนกับเบอรผา และ % การ
ผสมกันระหวางเสนใย Cotton 100% และเสนใยสังเคราะห เปอรเซ็นตการผสมของผา TC ระหวาง

8

Polyester และ Cotton จะอยูท่ีอัตราสวน 65% ตอ 35% และสำหรับเน้ือผาผสม CVC จะอยูท่ี
Cotton 70-85% ตอ Polyester 15-30% สวน CTC จะใช cotton 70% และเสนใยสังเคราะห
30%

ประเภทท่ี 3 เน้ือผาใยสังเคราะหหรือโพลีเอสเตอร (ใชตัวยอวา TK) วัตถุดิบที่
นำมาทำผาเสนใยสังเคราะหไดมาจากปโตรเคมี เสื้อยืดท่ีทำจากเนื้อผาประเภทน้ีจะมีราคาถูกที่สุด
ขอดีคือมีความคงสภาพอยูทรง ไมหดไมยวย เนื้อผาจะมีความมัน แตขอเสียคือเนื้อผาจะระบาย
อากาศไดนอยมาก ถาใสอยูในท่ีแดดรอน ๆ หรืออากาศอบอาว จะรูสึกไมสบายตัว โดยเฉพาะคนที่
เหงื่อออกงายจะยง่ิ ชุมไปดวยเหง่ือ เน่ืองจากเน้ือผาดูดซับเหง่ือไดน อย และเมือ่ ใสไปนาน ๆ (ซักบอ ยๆ)
เสื้อผา จะขึ้นขุย (วกิ พิ เี ดยี : 2563)

2.1.4 ววิ ัฒนาการของการทอผาในประเทศไทย
1) ววิ ฒั นาการของการทอ
แมวาเราจะไมมีหลักฐานท่ีแนชัดมาใชอธิบายเรื่องจุดกำเนิดของการทอ ผาในประเทศ

ไทยกต็ าม แตก็อาจจะกลาวไดวา การทอผาเปนงานศลิ ปหัตถกรรม ท่ีเกา แกทส่ี ุดอยางหนงึ่ ที่มนุษยใ น
สมัยโบราณทีอ่ าศัยอยูในดนิ แดน นี้ รจู ักทำขึน้ ตงั้ แตสมยั กอ นประวตั ศิ าสตร

ภาพเขียนสีบนผนังถ้ำ เชน ท่ีเขาปลารา จังหวัดอุทัยธานี อายุประมาณ ๒,๕๐๐ ป
มาแลว มีรูปมนุษยโบราณกับสัตวเลี้ยง เชน ควายและสุนัข แสดงวา มนุษยยุคนั้นรูจักเล้ียงสัตวแลว
ลักษณะการแตงกายของมนุษยยุคนั้น ดูคลายกับจะเปลือยทอนบน สวนทอนลางสันนิษฐานวา จะใช
หนงั สตั ว หรือผาหยาบๆ รอ ยเชือกผกู ไวร อบๆ สะโพก บนศรี ษะประดบั ดว ยขนนก

จากภาชนะเครือ่ งปน ดินเผาโบราณทพี่ บบรเิ วณถ้ำผี จังหวดั แมฮ องสอน อายปุ ระมาณ
7,000 -8,000 ปมาแลว พบวา มีการตกแตงดวยรอยเชือก และรอยตาขายทาบ ทำใหเราสันนิษฐาน
วา มนุษยนาจะรูจักทำเชือกและตาขายกอน โดยนำพืชท่ีมีใยมาฟนใหเปนเชือก แลวนำเชือกมาผูก
หรือถักเปนตาขาย จากการถักก็พัฒนาขึ้นมา เปนการทอ ดวยเทคนิคงายๆ แบบการจักสาน คือ
นำเชือกมาผูกกับไมหรือยึดไวใหดายเสนยืน แลวนำเชือกอีกเสนหน่ึงมาพุงขัดกับดายเสนยืน เกิดเปน
ผนื ผาหยาบๆ ข้ึน เหมือนการขดั กระดาษ หรอื การจักสาน เกดิ เปน ผากระสอบแบบหยาบๆ

เราพบหลักฐานที่สำคัญทางโบราณคดีท่ีบริเวณบานเชียง จังหวัดอุดรธานี เชน
พบกำไล สำริด ซ่ึงมีสนิม และมีเศษผาติดอยูกับคราบสนิมนั้น นักวิทยาศาสตรอธิบายวา สนิมเปนตัว
กัดกรอนโลหะ ซ่ึงเปนอนินทรียวัตถุ แตกลับเปนตัวอนุรักษผา ซึ่งเปนอินทรียวัตถุไวไมใหเสื่อมสลาย
ไปตามกาลเวลา ทแ่ี หลง บานเชียงน้ี เรายังพบแวดินเผา ซึง่ เปนอปุ กรณการปน ดายแบบงายๆ และพบ
ลูกกล้ิงแกะลาย สำหรับใชทำลวดลายบนผาเปนจำนวนมาก จึงทำใหพอจะสันนิษฐานไดวา มนุษย
อาศัยอยูในบริเวณบานเชียง เมื่อ 2,000 - 4,000 ปมาแลว รูจักการปนดาย ทอผา ยอมสี และพิมพ
ลวดลายลงบนผา อกี ดว ย

9

2) วัตถดุ ิบสำหรบั การทอผา
วัตถุดิบสำหรับการทอผาน้ัน คงจะมีการพัฒนากันขึ้นมาเปนลำดับ แตเราก็พอจะ
สันนิษฐาน จากหลักฐานทางโบราณคดี ที่พบในประเทศไทยไดวา ในสมัยโบราณมนุษยคงจะได
แสวงหาพชื ในทองถิ่น ที่มีเสนใยแข็งแรง เชน ปอ ปาน กัญชา กลวย สับปะรด มาปนเปนเกลยี วเชือก
ใช กอน ตอมาจึงนำเชือกมาถักทอเปนตาขายและ เปนผืนผาเปนลำดับ เศษใยผาท่ีพบท่ีบานเชียง
เช่ือวาเปนเศษใยกัญชา การใชเสนใยพืชเปนวัตถุดิบในการทอผานี้ ก็ยังมีผูคนบางทองถ่ินในประเทศ
ตางๆ รวมท้ังประเทศไทย ทำใชกันอยูบางในปจจุบัน เชน ในภาคเหนือของไทย และในประเทศ
สาธารณรัฐประชาชนจีน ก็มีการทำผาจากใยของปานกัญชา ซึ่งมีลักษณะเหมือนผาลินินอยางหยาบๆ
ในโอกินาวา ประเทศญ่ีปุน ก็มีการทอผาจากใยของตนกลวย ในบอรเนียว และในฟลิปปนสก็ยังใชใย
สับปะรดทอผาใชกันอยู ผา ปานใยสับปะรดของฟลิปปนสไดมีการพัฒนา เทคนิคการฟอก จน
กลายเปนผาปานแกวท่ีทนทาน สวยงาม และราคาแพง นิยมใชกันในสังคมชั้น สูงของฟลิปปนสจนถึง
ทกุ วนั นี้
วตั ถุดิบอืน่ ๆ ท่ีนยิ มนำมาใชทอผา ไดแก ไหม ฝาย และขนสตั ว นน้ั นักวิชาการเชือ่ กัน
วา มีกำเนิดจากดินแดนอื่นนอกประเทศไทย ไหมนั้นเช่ือวา มีตนกำเนิดมาจากประเทศสาธารณรัฐ
ประชาชนจีน แลวนำไปเผยแพรในญ่ีปุน อินเดีย รวมทั้งดินแดนตางๆ ในเอเชีย และยุโรป สวนฝาย
เชื่อกันวาอาจมาจากอาหรับและเผยแพรเขามาใช กันอยางกวางขวางในอินเดียกอน จึงเขามาในแถบ
ประเทศไทย และประเทศใกลเ คียงภายหลงั จนกลายเปนพืชพื้นเมืองในแถบน้ีไป สำหรบั ขนสัตว เปน
วัสดุที่เหมาะกับอากาศหนาว เช่ือกันวานำมา ใชทำผาในยุโรปตอนเหนือกอน แลวจึงแพรหลาย ไปสู
ดินแดนอนื่ ๆ
วัตถุดิบที่ใชยอมสีผาน้ัน เช่ือกันวา คนโบราณรูจักนำพืชสมุนไพร และเปลือกไมที่มีอยู
มากมายในทองถ่ินของเรา มาใชยอมผา และทุกวันน้ีก็ยังมีผูที่สืบทอด และคนควาเก่ียวกับการใชสี
ธรรมชาติจากพืชมายอมผากันอยู เชน นาง แสงดา บัณสิทธ์ิ ที่บานไรไผงาม อำเภอจอมทอง จังหวัด
เชียงใหม ศิลปนแหงชาติดานการยอมสีธรรมชาติ และทอผาแบบลานนาเดิม ในจังหวัดชัยภูมิ และ
จังหวัดสุรินทร ก็ยังมีการยอมผาดวยพืชพ้ืนบานกันในหลายๆ อำเภอ เปนตน พืชพื้นบานเหลาน้ี
สามารถนำเอาดอก ใบ เปลือกไม และเมล็ด มาตมเคี่ยวใหเกิดเปนสีเขมข้ึน แลวนำน้ำสีมายอมผา
เชน ยอมรากยอเปนสีแดง ยอมครามเปนสีน้ำเงิน ยอมมะเกลือเปนสีดำ ยอมขมิ้นชัน หรือแกนขนุน
เปนสีเหลือง ยอมลูกสมอ หรือใบหูกวาง หรือเปลือกมะกรูดเปนสีเขียว ยอมลูกหวาเปนสีมวง ยอม
เปลือกไมโ กงกางเปน สนี ้ำตาล เปนตน
3) อุปกรณในการทอผา
อุปกรณ หรือเครื่องมือสำคัญในการทอก็คือ เคร่ืองทอ ซ่ึงคนไทยพื้นบานในภาคกลาง
ภาคเหนือ และภาคอสี าน เรยี กกันวา ก่ี หรอื หูก ภาคใตเ รียกวา เก

10

กห่ี รือหูก พัฒนาขึ้นมาจากหลักการเบ้ืองตน ที่ตองการใหมีการขัดลายกันระหวางดาย
เสน ยนื กับดา ย เสนพงุ เปนจำนวนมากเพียงพอทจี่ ะใหเ กิดเปนผนื ผา ขนึ้

ดายเสนยืน (บางแหงก็เรียกเสนเครือ) จะมีจำนวนกี่เสนหรือมีความยาวเทาใดก็ตาม
จะตองมีการขึงใหตึง และยึดอยูกับท่ี ในขณะท่ีดายเสนพุง จะตองพันรอยอยูกับเครื่องพุง ซึ่งคนไทย
เรียกวา กระสวย สำหรับใชพุงดายเขาไปขัดกับดายเสนยืนทุกเสน และพุงกลับไปกลับมา จนเกิดเปน
เน้ือผาตามลวดลาย และขนาดทต่ี อ งการ

เคร่ืองมือทอผาท่ีงาย และมีลักษณะธรรมชาติท่ีสุดในโลกเห็นจะไดแก การผูกดายเสน
ยนื เขากับน้ิวมือขางหนึ่ง และใชน้ิวมืออีกขางหนึ่ง พุงดายเขาไปถักทอ โดยอาจใชเข็มหรือกระดูกชวย
วิธีน้ีใชกันอยูในหมูชาวอินเดียนแดง ในสหรัฐอเมริกา การทอแบบนี้เรยี กเปนภาษาอังกฤษวา ฟงเกอร
วีฟวิง (finger weaving) หรือทอดวยนิ้ว ผาที่ไดจะมีลักษณะแคบและยาว เชน ผาคาดเอว แตก็
สามารถนำมาเยบ็ ตอ เปนเส้ือผาได เปน ตน

หูกหรือก่ีท่ีทำไดงาย และมีลักษณะเปนธรรมชาติอีกประเภทหนึ่งคือ กี่ผูกเอว พบใน
หมูชาวบาน หรือชาวเขา ท่ีอยูหางไกลในหลายๆ ประเทศ ทั้งในเอเชีย และละตินอเมริกา
ภาษาอังกฤษเรียกวา แบ็กสแตรปปลูม (back-strapped loom) กี่หรือหูกประเภทนี้ จะใชไมทอน
ส้ันๆ ขึงดายเสนยืนไว สองดาน ปลายดานหน่ึงมักจะผูกยึดไวกับตนไม หรือบางครั้งก็ใหผูทอน่ังราบ
กับพื้น เหยียดขา ตรงและใชเทาเหยียบปลายไมไวใหตึง ปลายอีก ดานหนึ่งจะผูกติดไวกับเอวของผู
ทอ เวลาทอ ผทู อสามารถจะโนมตัวไปขางหนาหรือขางหลัง แลว เหยยี บไมที่ปลายเทา เพื่อดึงดายเสน
ยนื ใหต ึง หรอื หยอนไดต ามตองการ ในปจ จุบันยังพบวามี ชาวบา น เชน ชาวกะเหรี่ยงในจังหวัดราชบรุ ี
และชาวบาหลี ประเทศอินโดนีเซีย ชาวอีบัน ใน บอรเนียว ประเทศฟลิปปนส ในปจจุบันน้ี ชาวบาน
ในประเทศไทย ท่ีทอผาใชเอง หรือทอขายเปนหัตถกรรมพ้ืนบาน ตางนิยมใชกี่ที่ปรับปรุงใหทอผาได
งายและสะดวกขึ้น ก่ีท่ีใชกันอยูจึงมีโครงไมท่ีแข็งแรง มีที่น่ังหอยเทา บางแหงยังใชก่ีแบบพ้ืนบาน
โบราณท่ีมีโครงไมขนาดเล็ก เรียกวา "ฟมเล็ก" และ ใชขนเมน หรือนิ้วมือชวยเก็บลาย ซ่ึงเหมาะ
สำหรับทอผาที่ตองการความละเอียด และทอเปนผาหนาแคบ เชน ผาตีนจก หรือผาขิต ท่ีมีลวดลาย
วิจิตรผืนเล็ก บางแหงก็นิยมใชฟมใหญ และบางแหงเชนใน จังหวัดสุรินทร จะนิยมกี่ผูกดายท่ีมีความ
ยาวมาก ซึ่งขนาดของกี่น้ันอาจจะแตกตางกันไปตามความ ตองการ แตโดยทั่วไปแลวหูกหรือก่ี
ชาวบา นมกั จะยาวประมาณ 12 ฟตุ กวางประมาณฟุตครง่ึ และสงู จากพื้นประมาณ 4 ฟตุ ครง่ึ เหมาะ
ที่จะต้ัง ไวใตถุนบานและสามารถทอใหผาไดหนากวาง พอสมควร แตก็ยังใชมือพุงกระสวยและใช ไม
คานสอดในการเก็บลายขิต หรือในการทอผา มัดหม่ีตองขยับเสนพุงใหตรงลายทุกคร้ัง บาง แหงก็
อาจจะมีเครื่องทุนแรง เชน มี "เขา" หรือ ไมเก็บขิตแขวนไว ไมตองมาสอดลายทุกคร้ัง เปนการ
ประหยัดเวลา ก่ีชนิดน้ีเรียกวา ก่ีมือ บางแหงก็ใช กี่ กระตุก ซ่ึงสามารถใชมือกระตุกกระสวยใหพุง
หรือ "บิน" ไปมาไดอยางรวดเร็วมากกวา ก่ีมือเหมาะสำหรับการทอผาท่ีไมมีลวดลายมาก เชน

11

ผาขาวมา ผานุง "กี่กระตุก" น้ี ชาวจีน ที่อาศัยอยูแถบสำเพ็งเปนผูนำเขามาใชทอผาขาย ในสมัย
รัชกาลท่ี 6 เพื่อทอผาใหไดปริมาณมากขึ้น สำหรับขายชาวเมือง อยางไรก็ตาม ก่ีกระตุกก็ยังเปน
เครอื่ งทอผา ทใ่ี ชม อื คนอยูนั่นเอง

ตอมาใน พ.ศ.2578 กระทรวงกลาโหม ไดตั้งโรงงานทอผา สำหรับใชในราชการทหาร
ขึน้ เรียกวา "โรง งานฝายสยาม" เพื่อผลิตเสอื้ ผา และสำลี สำหรบั ทหาร มีการสัง่ เคร่ืองจกั รทอผา และ
ฝายจากตางประเทศเขา มา นับเปนจดุ เริ่มตน ของอตุ สาหกรรมการทอผา ดวยเครื่องจักร สามารถผลิต
ผา ไดจ ำนวนมาก และไมต อ งมลี วดลายตามแบบผา พ้นื บาน

อุตสาหกรรมการทอผา ดวยเคร่ืองจักรใน ประเทศ ไดมีการปรับปรุงขยายตัวออกไป
อยา งกวางขวาง จนกระทง่ั ในปจจุบันนี้ อตุ สาหกรรมส่ิงทอไทยกลายเปนอตุ สาหกรรมขนาดใหญ หรือ
การสงออกในปริมาณมากทุกๆ ป และปรับเปลี่ยนรูปแบบการทอใหมีลักษณะเปนผาท่ีใชสอยกันตาม
รสนิยม และความตองการของตลาดโลก

4) ศิลปะการทอผา พ้นื เมอื งของไทยในปจ จบุ ัน
การสงเสริมผาพื้นเมืองในอดีตและปจจุบัน ในประเทศไทยมีประวัติการทอผาใชกันใน
หมูบาน และในเมืองโดยทั่วไป มาตั้งแตโบราณกาล แตการทอผาดวยมือตามแบบดั้งเดิมนั้น ก็
เกือบจะสูญหายไปโดยส้ินเชิง หากไมไดมีการอนุรักษ ฟนฟู และพัฒนาไดทันกาล ทั้งนี้ เพราะ
ประเทศไทยเปนประเทศเปด มีการคาขายกับตางประเทศมาเปนเวลานาน สามารถซ้ือผานอก ท่ี
สวยงามแปลกใหม และราคาถูกไดงาย มาตัง้ แตส มัยกรงุ ศรอี ยุธยาจนถึงสมยั กรุงรัตนโกสินทร
หลังจากที่มีการทำสนธิสัญญาบาวริงกับอังกฤษ ในป พ.ศ. 2398 ไทยก็ส่ังสินคาผา
จาก ตางประเทศมาใชมากขึ้นเร่ือย ๆ กระท่ังในสมัย รัชกาลที่ 5 ไดมีการสำรวจพบวา ไทยสั่งผาจาก
ตางประเทศเขามาเปนจำนวนมากขึ้นทุกป ทำใหสิ้นเปลืองเงินตราปละมากๆ พระบาทสมเด็จพระ
จุลจอมเกลาเจาอยูหัว จึงไดโปรดเกลาฯ ใหริเร่ิมฟนฟูสงเสริมการเล้ียงไหม และทอผาไทยกันอยาง
จริงจัง ในพ.ศ. 2452 โปรดฯ ให สถาปนากรมชางไหมขึ้น และโปรดฯ ใหต้ังโรงเรียนชางไหมที่วังสระ
ปทุม ซึ่งตอมาขยายสาขาออกไปยังจังหวัดนครราชสีมา และบุรีรัมย ทรงจางครูชาวญ่ีปุนมาสอน
ชาวบาน แตการสงเสริมไดผลไมคุมทุน ตอมาจึงเลิกจางครูญ่ีปุน และชาวบานก็หันมาทอผาตามวิธี
พน้ื บา นเชน เดมิ
อยางไรก็ตาม ในปจจุบันนับเปนโชคอันประเสริฐอยางหนึ่งสำหรับผาพื้นเมืองของไทย
ที่สมเด็จพระนางเจาสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ ทรงสนพระราชหฤทัยผาพื้นเมืองเกือบทุกประเภท
อยางแทจรงิ ตอเนื่องมากวา 20 ป ทรงต้งั มลู นิธศิ ลิ ปาชพี ในพระบรมราชนิ ูปถัมภขึ้น เพ่ือสงเสริมการ
ทอผาของชาวบานในชนบท ทรงเปนผูนำในการใชสอยผาพื้นเมืองของไทย ในชีวิตประจำวัน และใน
งานพระราชพิธีตางๆ ทรงนำผาไทยไปเผยแพรในตางประเทศ ลวดลายที่ชาวบานไดสืบทอดกันมาแต
โบราณนั้น ก็ไดทรงเก็บตัวอยางไว เพ่ืออนุรักษ และเพื่อศึกษา สืบทอดตอไป ดังน้ันในเดือนมกราคม

12

พ.ศ. 2535 องคการยูเนสโกจึงไดทูลเกลาฯ ถวายเหรียญทอง โบโรพุทโธ และประกาศพระเกียรติคุณ
ในฐานะ ทท่ี รงเปนผนู ำในการสงเสริมศลิ ปหัตถกรรมการทอผา พ้นื เมืองไทยเปนตัวอยา งที่ดีในโลก

หนวยงานของรัฐบาลหลายแหง เชน กองอุตสาหกรรมสิ่งทอ กรมสงเสริม
อุตสาหกรรม ก็ไดสงนักวิชาการออกไปศึกษา คนควาศิลปะการทอผาพื้นบานของไทย โดยเฉพาะ
อยา งยง่ิ รปู แบบ และลวดลายผา จากจงั หวดั ตา งๆ นำมาพิมพเ ปนเอกสารเผยแพรห ลายครั้ง

มหาวิทยาลัยในทองถ่ิน และศูนยวัฒ นธรรม ในบางจังหวัดบางแหง เชน
มหาวิทยาลัยเชียงใหม สถาบันทักษิณคดีศึกษาท่ีสงขลา ฯลฯ ไดทำการ ศึกษาคนควาเรื่องผาใน
ทอ งถน่ิ และจดั นิทรรศการ รวมทัง้ พิมพเ อกสารเกี่ยวกบั ผา ในภมู ิภาคออกเผยแพรด วย

พิพิธภัณฑสถานแหงชาติ กรุงเทพฯ และตางจังหวัด เชน ที่จังหวัดนครศรีธรรมราช
จังหวัดเชียงใหม จงั หวัดนา น รวมท้ังศูนยวฒั นธรรมในตางจังหวดั หลายแหง ตางก็มีการจัดนทิ รรศการ
ถาวร เกย่ี วกบั ผา พ้ืนเมืองของทอ งถิน่ นนั้ ๆ กันอยบู างแลว

ในเรื่องการยกยองเชิดชูเกียรติชางทอผาน้ัน สำนักงานคณะกรรมการวัฒนธรรม
แหงชาติ ก็ไดเล็งเห็นคุณคาของศิลปนผูทอผาพ้ืนเมือง และไดประกาศยกยองเชิดชูเกียรติชา งทอผาฝมือเอก
๒ คน ใหเปน ศลิ ปนแหง ชาติ คอื นางแสงดา บัณสทิ ธ์ิ จังหวัดเชยี งใหม กับนางพยอม ลนี วฒั น จังหวัด
รอยเอ็ด นอกจากน้ี สำนักงานคณะกรรมการวัฒนธรรมแหงชาติ ยังไดจัดประชุมสัมมนาทางวิชาการ
สงเสริมดานวิจัย และผลิตสื่อประชาสัมพันธ เพื่อเผยแพรใหประชาชนท่ัวไปไดเขาใจขบวนการผลิต
และลวดลายตา งๆ ของผาพ้นื เมืองไทย

เห็นไดวาในปจจุบันนี้ ผาพื้นเมืองของไทย ในภาคตางๆ กำลังไดรับการอนุรักษฟนฟู
และพัฒนา รวมท้ังไดรับการสงเสริมใหนำมาใชสอยในชีวิตประจำวันกันอยางกวางขวางมาก ดังนั้น
จึงเกิดมีการผลิตผาพ้ืนเมืองในลักษณะอุตสาหกรรมโรงงาน โดยมีบริษัทจางชางทอ ทำหนาท่ีทอผา
ดว ยมอื ตามลวดลายทีก่ ำหนดให โรงงาน หรือบรษิ ัทจดั เสน ไหม หรอื เสน ดา ย ที่ยอ มสีเสรจ็ แลว มาให
ทอ เพื่อเปนการควบคุมคุณภาพ บางแหงจะมีคนกลางรับซื้อผาจากชางทออิสระ ซ่ึงเปนผูปนดาย
ยอมสี และทอตามลวดลายท่ีตองการเองที่บาน แตคนกลางเปนผูกำหนดราคา ตามคุณภาพ และ
ลวดลายของผา ที่ตลาดตองการ ในบางจังหวัดมีกลุมแมบานชางทอผาท่ีรวมตัวกันทอผาเปนอาชีพ
เสริม และนำออกขายในลักษณะสหกรณ เชน กลุมทอผาของศิลปาชีพ อยางไรก็ตามในสภาพท่ีได
กลาวมาแลวขางตนน้ัน เปนการทอ เพ่ือขายเปนหลัก ดังน้ันจึงไดมีการปรับปรุงพัฒนาสีสัน คุณภาพ
และลวดลาย ใหเขา กับรสนิยมของตลาด

13

- การทอผาแบบพื้นบา นพืน้ เมอื ง ในภมู ภิ าคตา งๆ
ในปจจุบันการทอผาพื้นบานพ้ืนเมืองหลายแหงยังทอลวดลายสัญลักษณ
ดั้งเดิม โดยเฉพาะในชุมชน ที่มีเช้ือสายชาติพันธุบ างกลมุ ที่กระจายตัวกนั อยูใ นภาคตางๆ ของประเทศ
ไทย ศิลปะการทอผาของกลุมชนเหลานี้ จึงนับวาเปนเอกลักษณเฉพาะกลุมอยูจนถึงทุกวันน้ี หากจะ
แบงผาพ้ืนเมืองของกลุมชนเหลานี้ ตามภาคตางๆ เพ่ือให เห็นภาพชัดเจนข้ึน ก็อาจจะแบงคราวๆ ได
ดงั นี้

ก. การทอผาในภาคเหนือแถบลานนาไทย
จังหวัดเชียงราย พะเยา ลำพูน ลำปาง แพร นาน เชียงใหม และ
แมฮองสอน โดยเฉพาะในกลุมชาวไทยโยนก หรือไทยยวน และชาวไทยล้ือ ซ่ึงเปนกลุมชนด้ังเดิมของ
ลานนาไทย มีความเช่ือเร่ืองการตั้งถ่ินฐาน ในสภาพแวดลอมท่ีเปนภูเขา และมีทางน้ำไหล ผูหญิงไทย
ยวน และไทยล้ือในปจจุบันน้ี ยังรักษาวัฒนธรรมการทอผา ในรูปแบบ และลวดลายที่สืบทอดกันมา
โดยเฉพาะการทอ ซน่ิ ตนี จก ผา ขติ และผา ท่ใี ชเ ทคนคิ "เกาะ" เปนตน

ภาพ 1 ผา ท่ีทอเปน ลวดลายดว ยเทคนคิ ขติ เรยี กวา ผาขิต
ทมี่ า https://saranukromthai.or.th

นอกจากนี้ ยังมีชนกลุมชาติพันธุตางๆ ที่ไมใชกลุมท่ีพูดภาษาตระกูลไท
อาศัยอยูในแถบภาคเหนือบริเวณลานนาไทย เชน ล้ือ ลัวะ กะเหรี่ยง ไทยใหญ มอญ และไทยภูเขา
เผาตางๆ เชน แมว มูเซอ อีกอ เยา ลีซอ เปนตน ชนกลุมนอย เหลานี้ ตางก็มีวัฒนธรรมการทอผาซ่ึง
สวนใหญ เปนผาฝาย และตกแตงเปนลวดลายสัญลักษณที่แสดงเอกลักษณเผาพันธุของกลุมชนของ
ตนเอง ทง้ั ส้ิน

14

ภาพ 2 ผามัดหม่ีสมยั ใหมท อี่ ำเภอบานหมี่
ทมี่ า https://saranukromthai.or.th
การทอผาไหมยกดอก และการทอซ่ินไหม ตอตีนจก ยกด้ินเงินด้ินทองน้ัน
รูจ ักกันในหมูเจานายชน้ั สูงในภาคเหนอื ซ่ึงไดฝกอบรมใหหญิงชาวบานตามหมูบานหลายแหง เชน ใน
จังหวัดเชียงใหม และลำพูน รูจักทอ จนทำกันเปนอุตสาหกรรมในหมูบานหลายแหง จนถึงทุก
วนั นี้ เปนท่ีนาสังเกตวาผาที่ทอโดยกลุมชนตางๆ ในภาคเหนือน้ี ตา งกลุมตางก็มีเอกลักษณของตนเอง
จนผทู ่ีคุน เคย ก็สามารถจะแยกออก และช้ใี หเห็นความแตกตา งจากกนั ได

ภาพ 3 ผา ตนี จกเกา ของชาวบานลา นนา
ทีม่ า https://saranukromthai.or.th

15

ภาพ 4 ผา้ หลบไทยยวนและไทยลือ้
ทมี่ า https://pthaisilk.blogspot.com
ข. การทอผา ในภาคกลาง
ในภาคกลางตอนบน (จังหวัดพิษณุโลก พิจิตร อุตรดิตถ และ สุโขทัย)
และภาคกลางตอนลาง (จังหวัดอุทัยธานี ชัยนาท สุพรรณบุรี สระบุรี ลพบุรี นครปฐม ราชบุรี
เพชรบุรี ฯลฯ) มีกลุมชนชาวไทยยวนและชาว ไทยลาว อพยพไปต้ังถิ่นฐานอยูในชวงตางๆ ของ
ประวัติศาสตรไทย พวกไทยลาวนั้น มีหลายเผา เชน พวน โซง ผูไท คร่ัง ฯลฯ ซ่ึงอพยพยายถิ่นเขามา
เพราะสงคราม หรือสาเหตุอื่นๆ คนไทยพวกนี้ยังรักษาวัฒนธรรม และเอกลักษณเฉพาะถ่ินไวได
โดยเฉพาะวัฒนธรรมการทอผาของผูหญิงท่ีใชเทคนิคการทำตีนจก และขิต เพื่อตกแตงเปน ลวดลาย
บนผาที่ใชนุงในเทศกาลตางๆ หรือ ใชทำท่ีนอน หมอน ผาหม ผาเช็ดหนา ผาขาวมา ฯลฯ แมวาใน
ปจจุบันสภาพเศรษฐกิจและสังคม เปลี่ยนไปมาก คนไทยเหลาน้ีก็ยังยึดอาชีพทอผา เปนอาชีพรองตอ
จากการทำนาซึ่งเปนอาชีพหลัก และเชนเดียวกันกับผาในภาคเหนือ ลวดลายท่ี ตกแตงบนผืนผาท่ีทอ
โดยกลุมชนตางเผากันใน ภาคกลางน้ี ก็มีลักษณะและสีสันแตกตางกัน จนผูท่ีศึกษาคุนเคย สามารถ
จะระบแุ หลงที่ผลติ ผา ไดจากลวดลายและสี

16

ภาพ 5 ผา ตีนจกบานคูบวั ราชบรุ ี
ท่มี า https://thaiunique.wordpress.com

ภาพ 6 ผา ทอบานดอนบอลายรวงขาว อา งทอง
ทม่ี า https://www.openbase.in.th

17

ภาพ 7 ผา ฝายลายสายฟา สพุ รรณบุรี
ที่มา https://www.openbase.in.th
ค. การทอผาในภาคอีสาน
ในภาคอีสานมีชุมชนตั้งถนิ่ ฐานโดยอาศัยบริเวณที่มีความอุดมสมบูรณจาก
ลำหวย หนองบึง หรือแมน้ำ กลุมคนไทยเช้ือสายลาวเปนชนกลุมใหญของภาคอีสาน กระจายกันอยู
ตามจังหวัดตางๆ และมีวฒั นธรรมการทอผา อันเปนประเพณีของผูหญิง ท่ีสืบทอดกันมาชานานเกือบ
ทุกชุมชน แตละกลุมแตละเผา ก็จะมีลักษณะและลวดลายการทอผา ที่แปลกเปน ของตัวเองอยาง
ชัดเจน โดยเฉพาะผา มัดหมี่ ผาขิต และผาไหมหางกระรอก กลมุ คนไทยเชอ้ื สายลาว ในอสี านอาจแบง
ครา วๆ ไดดงั นี้
กลมุ จงั หวัดเลย นครราชสีมา ชัยภมู ิ
กลมุ จังหวัดหนองคาย อดุ รธานี ขอนแกน
กลุมจงั หวัดนครพนม สกลนคร กาฬสนิ ธุ
กลุมจังหวดั อบุ ลราชธานี ยโสธรรอ ยเอด็ มกุ ดาหารมหาสารคาม
นอกจากกลุมคนไทยเชื้อสายลาวแลว ในภาคอีสานยังมีชนกลุมอื่นๆ เชน
ขา กระโซ กะเลิง สวย และเขมรสูง โดยเฉพาะคนไทยเชื้อสายเขมรน้ัน กระจายกันอยูในบริเวณ
จังหวัดศรีสะเกษ สุรินทร และบุรีรัมย และมีประเพณีการทอผาท่ีสวยงามสืบทอดกันมาชานาน
โดยเฉพาะในจังหวัดสุรินทรมีหมูบานท่ีมีช่ือเสียงหลายหมูบานทอผาชนิดตางๆ เชน ผาปูมแบบเขมร
ผาหมโ่ี ฮล ผาอมั ปรม ผาลายสาคู เปนตน

18

ภาพ 8 ผาขิดภาคอสี าน
ท่ีมา https://www.isangate.com

ภาพ 9 ผามดั หมี่ภาคอีสาน
ทม่ี า https://www.isangate.com

19

ภาพ 10 ผา หางกระรอกภาคอีสาน
ทีม่ า https://www.isangate.com
ง. การทอผา ในภาคใต
ภาคใตมีแหลงทอผาที่มีชื่อเสียงหลายแหง โดยเฉพาะแหลงทอผายกดิ้น
เงินดิ้นทอง ซึ่งสันนิษฐานวา ไดรับอิทธิพลจากชาวมุสลิม ชาวอาหรับ ท่ีมาคาขายตั้งแตสมัยโบราณ
และตอมาผายกเงินยกทอง ไดกลายเปนท่ีนิยมในหมูชนชั้นสูงของอาณาจักรไทย ในภาคกลาง บรรดา
พวกเจาเมือง และขาราชการหัวเมืองภาคใต จึงตางสนับสนุนใหลูกหลาน และชาวบานทอกันอยาง
เปนล่ำเปนสัน โดยเฉพาะท่ีเมืองนครศรีธรรมราช เมืองสงขลา และท่ีตำบลพุมเรียง อำเภอไชยา
จังหวัดสุราษฎรธานี ลวนเคยเปนแหลงทอผา ยก ที่มีช่อื เสียงมากในอดีต เปนท่ีกลาวขวัญถึง และนิยม
กันมากในหมูขุนนาง สมัยอยุธยา ธนบุรี และรัตนโกสินทร ปจจุบันผายกเมืองนคร มีผูบริจาคใหแก
พิพิธภัณฑสถานแหงชาติ นครศรีธรรมราช และจัดแสดงใหประชาชนชมอยูในหองผาของพิพิธภัณฑ
จำนวนมาก แตชางทอที่มีช่ือเสียงเสียชีวิตไปแลวเปนสวนใหญ และมีผูสืบทอดความรูไวนอยมาก จึง
ไมม ีการทอกันเปนลำ่ เปนสนั เหมือน สมัยโบราณ

20

ภาพ 11 ผา ยกนครศรีธรรมราช
ทม่ี า https://www.qsds.go.th

ภาพ 12 ผาทอนาหมน่ื ศรี ตรัง
ท่ีมา https://www.qsds.go.th

21

ภาพ 13 ผา พมุ เรยี ง สรุ าษฎรธานี
ทีม่ า https://www.qsds.go.th
นอกจากผายกดิ้นเงินดิ้นทองแลว ก็มีการทอผาพื้นบานพื้นเมืองใชกัน
หลายแหงในภาคใต เชน ทอผาขาวมา ผาฝายยกดอก ผาหางกระรอก ผาโสรง ผาตาเล็ดงา เปนตน
ปจจุบันนี้ก็ไดม กี ารฟนฟ ูสงเสรมิ และทอผา สำหรับใชส อยในชวี ติ ประจำวนั อยหู ลายแหง เชน ที่เกาะ
ยอ จงั หวดั สงขลา และทตี่ ำบลพมุ เรียง จังหวัดสุราษฎรธานี เปน ตน
2.1.5 ลวดลายและสญั ลกั ษณใ นผา ไทย
ผาพ้ืนบานพ้ืนเมืองของไทยที่ทอกันตามทองถ่ินตางๆ ในปจจุบันน้ีเต็มไปดวยลวดลาย และ
สัญลักษณตางๆ มากมาย ซึ่งผใู ชผา ในยคุ ปจจุบนั อาจไมเ ขาใจความหมาย และมองไมเหน็ คุณคา
ลวดลายและสัญลักษณเหลานี้ บางลายกม็ ีชื่อเรียกสบื ตอ กันมาหลายช่วั คน บางชอื่ ก็เปนภาษาทอ งถ่ิน
ไมเปนท่ีเขาใจของคนไทยในภาคอ่ืนๆ เชน ลายเอ้ีย ลายบักจัน ฯลฯ บางช่ือก็เรียกกันมาโดยไมรู
ประวัติ เชน ลายแมงมุม ลายปลาหมึก ซึ่งแมแตผูทอก็อธิบายไมไดวาทำไมจึงเรืยกชื่อนั้น บาง
ลวดลายก็มีผูต้ังช่ือใหใหม เชน ลาย "ขอพระเทพ" เปนตน สัญลักษณ และลวดลายบางอยาง ก็เชือม
โยงกับคติและความเชื่อของคนไทยพ้ืนบาน ที่นับถือสืบตอกันมาหลายๆ ชั่วอายุคน และยังสามารถ
เช่ือมโยงกับลวดลายที่ปรากฏอยูในศิลปะอ่ืนๆ เชน บนจิตรกรรมฝาผนัง และสถาปตยกรรม หรอื บาง
ทกี ม็ ีกลา วถงึ ในตำนานพืน้ บา น และในวรรณคดี เปนตน
บางลวดลายก็เปนคติรวมกับความเชือ่ สากล และปรากฏอยูในศิลปะของหลายชาติ เชน ลาย
ขอ หรือลายกนหอย เปนตน ซ่ึงนับวาเปนลายเกาแกแตโบราณของหลายๆ ประเทศท่ัวโลก หากเรา
รูจักสังเกต และศึกษาเปรียบเทียบแลว ก็จะเขาใจลวดลาย และสัญลักษณในผาพื้นเมืองของไทยได
มากข้ึน และมองเห็นคุณคาไดลึกซึ้งข้ึน เพ่ืองายตอการทำความเขาใจ เราอาจจะแบงลวดลายตางๆ
ไดดงั น้ี

22

1) ลวดลายตน แบบ
ผาพื้นเมืองของไทยเกือบทุกผืนจะปรากฏลวดลายพ้ืนฐานบางลายอยางซ้ำแลวซ้ำเลา
ลวดลายเหลาน้ี เปนลายงายๆ ซึ่งปรากฏอยูบนศิลปะพื้นบานประเภทอ่ืนๆ เชน เคร่ืองปนดินเผา
เคร่ือง จักสาน ฯลฯ ทั้งในประเทศไทย และในประเทศอื่น ๆ ลายท่ีปรากฏอยูบนผืนผาพ้ืนเมืองของ
ไทย อาจจะแยกไดด งั นี้

- ลายเสนตรง หรือเสนขาด ในทางตรงยาว หรือทางขวาง เสนเดียว หรือหลายๆ
เสน ขนานกัน ลายเสนตรงทางขวางเปนลายผาท่ีใชกันทั่วไปในแถบลานนาไทยมาแลวแตโบราณ จะ
เห็นไดจากจิตรกรรมวัดภูมินทร จังหวัดนาน และวิหารลายคำ วัดพระสิงห จังหวัดเชียงใหม ลาย
เสนตรงทางยาวมักพบในผานุงของคนไทยกลุมลาวโซง ลาวพวน เปนตน ในภาคอีสาน ลายเสนตรง
ยาวสลบั กบั ลายอน่ื ๆ จะปรากฏอยใู นผา มดั หมี่ ท้ังไหมและฝาย และบอยคร้งั เราจะพบผามดั หมีอ่ ีสาน
เปนลายเสนตอท่ีมีลักษณะเหมือนฝนตกเปนทางยาวลงมา หรือที่ประดับอยู ในผาตีนจก เปนเสนขาด
เหมือนฝนตก หรือลายเสนขาดขวางเหมือนเปนทางเดินของน้ำ เปนตน ลายเสนตรงท้ังเสนขวางและ
เสน ดง่ิ นั้น ยงั เปนลวดลายทพ่ี บในผาของพวกลัวะ และพวกกะเหรีย่ งอีกดวย

ภาพ 14 ลายเสน ตรง ลายซกิ แซก ลายตะขอ
ที่มา https://saranukromthai.or.th

23

ภาพ 15 ลายฝนตก
ท่มี า https://saranukromthai.or.th

ภาพ 16 ลายตน ไผ
ทมี่ า https://saranukromthai.or.th
- ลายฟน ปลา ลายน้ีปรากฏอยูตามเชิงผาของตนี จกและ ผา ขติ ตลอดจนเปน ลาย
เชิงของซิ่นมัดหมี่ของผา ที่ทอในทุก ๆ ภาคของประเทศไทย ชาวบานทาง ภาคอีสานเรียกวา "ลาย
เอ้ีย" ลายฟนปลา อาจจะปรากฏในลักษณะทางขวาง หรือทางยาวก็ได บางครั้งจะพบผามัดหม่ีที่
ตกแตงดวยลายฟนปลา ท้ังผืนก็มี นอกจากน้ีผาของชาวเขาเผามงทาง ภาคเหนือ จะใชลายฟนปลา
ประดับผา อยูบอ ย ๆ

24

ภาพ 17 ลายฟน ปลา :ผา ตนี จก ลายฟนปลา
ทมี่ า https://saranukromthai.or.th

- ลายสี่เหลี่ยมขนมเปยกปูน หรือลายกากบาท เกิดจากการขีดเสนตรงทางเฉียง
หลายๆ เสนตัดกัน ทำใหเกิดกากบาท หรือตารางสี่เหลี่ยม ขนมเปยกปูนหลายๆ รูปติดตอกัน ลายน้ี
พบอยูบนผาจก ผาขิต และผามัดหมี่ โดยทั่วไปทุกภาคของไทย ในลาวและอินโดนีเซีย และบนพรม
ตะวันออกกลาง ยังพบบนลวดลายผาของชาวเขา เผามง กะเหร่ียง ในประเทศไทย และสาธารณรัฐ
ประชาชนจีนดว ย

ภาพ 18 ลายพญานาคหรอื งู และปราสาท :ผา ขติ ลายนาคและปราสาท
ทม่ี า https://saranukromthai.or.th

25

- ลายขดเปนวงเหมือนกนหอย หรือตะขอ ลายนี้พบอยูทั่วไปเชนกัน บนผาจก
ผาขิต และผามัดหม่ีของทุกภาค ชาวบานภาคเหนือ และภาคอีสานเรียกวา "ลายผักกูด" ซ่ึงเปนช่ือ
ของพชื ตระกูลเฟรนชนดิ หน่ึง ในซาราวกั ของประเทศมาเลเซยี ก็เรียกวาลาย "ผกั กดู " เชน กนั

ลวดลายตนแบบท้ัง 4 ลายท่ีกลาวมาขางตนน้ัน เปนลวดลายท่ีมีในภูมิภาคเอเซีย
ตะวันออกเฉียงใต มาตั้งแตสมัยกอนประวัติศาสตร และยังพบวาเปนลวดลายที่ตกแตงอยูบนภาชนะ
เครอ่ื งปน ดินเผาโบราณ ท่ีขุดพบ ที่โคกพนม และที่บานเชียงอีกดว ย ลายกนหอย (spiral) และลายตัว
ขอ (hook) เปนลวดลาย และสัญลักษณที่เกาแกมากในเอเชีย พบในบอเนียว และหมูเกาะตางๆ ใน
ประเทศอินโดนเี ซีย และพบในศิลปะของพวกเมารี ในประเทศนิวซแี ลนดอกี ดวย สำหรับท่ีบานเชยี งก็
พบหลักฐานสำคัญเปนแมพิมพดินเผา เขาใจวาใชกล้ิงพิมพลายผา ซ่ึงมีลายเปนเสนขวาง เสนยาว
และเสนฟน ปลาดว ย

2) ลวดลายที่พฒั นาจากตนแบบจนเปน ภาพทีส่ ่อื ความหมายได
จากลวดลายตนแบบขางตน ซึง่ เปนลายงายๆ ที่มนุษยอาจจะคิดขึ้นโดยธรรมชาติ ไดมี
การพัฒนาประดิษฐเสริมตอจนเปนรูปรางที่ชัดเจนขึ้น จนผูดูสามารถเขาใจความหมายไดลวดลาย
ทีพ่ ัฒนาจนสอ่ื ความหมายได มปี รากฏอยูในผาพืน้ เมอื งของไทยอยางมากมาย

- จากเสนตรง/เสนขาด ไดมีการพฒั นาขึ้นมาเปนลายท่ีเก่ียวกบั น้ำและความอุดม
สมบรู ณตา ง ๆ ในชมุ ชนเกษตรกรรม

- ลายฟน ปลา ไดม ีการพฒั นาเปน รปู ตาง ๆ
- กากบาทและขนมเปยกปูน ไดม ีการพัฒนาเปนรปู ลายตา ง ๆ

ภาพ 19 ผา ขติ ลายกากบาท
ที่มา https://saranukromthai.or.th

26

รูปขนมเปยกปูนภายในบรรจุรูปดาว 8 เหล่ียม และภายในของดาว 8 เหล่ียม
มักจะมีกากบาทเสนตรงอยู หรือบางทีก็ยอลงเหลือขนมเปยกปูน กากบาทนั้นเปนลายที่พัฒนาที่พบ
เห็นบอยในตีนจก และขิตของลานนา และในมัดหม่ีของภาคอีสาน นอกจากน้ี ยังพบในผาของหลาย
ประเทศ เชื่อกันวา ลวดลายดังกลาวเปนสัญลักษณของดวงอาทิตย หรือโคมไฟ ในภาค อีสานเรียก
ลายน้ีในผามัดหมี่วา ลายโคม ลายน้ีมีลักษณะขนมเปยกปูนผสมกับลายขอ หรือขนมเปยก มีขาย่ืน
ออกมา 8 ขา พบในผาตีนจกหรือขิต และมัดหมี่ เรียกชื่อกันตาง ๆ เชน ลายแมงมุม หรือลาย
ปลาหมึก บางทีลายน้ี อาจจะมีขาเพียง 4 ขา เรียกวา ลายปู ปรากฏบนผายกดอก หรือผามัดหม่ี ซึ่ง
บางแหงนิยมเรยี กวา ลายดอกแกว หรอื ลายดอกพิกุล

ภาพ 20 ผา ขิตลายขนมเปย กปูน
ทม่ี า https://saranukromthai.or.th
- จากลายตัวขอหรอื กนหอย ไดม คี นนำมาเปนลายตางๆ
ลายน้ีปรากฏอยูทั่วไปบนผาจกและขิตของไทยลื้อในภาคเหนือ และบนลายมัดหมี่
ของภาคอีสาน มักจะเรียกวา ลายขอหรือขอนาค เพราะตอๆ มาพัฒนาเปนลายนาคเกี้ยว หรือลาย
นาคชูสน ลายนี้ปรากฏบนผาตีนจกของลานนาเกือบทุกผืน มักจะเขาใจวา เปนนกหรือหงสหรือหาน
และมักจะปรากฏอยูเปนคูๆ โดยมีลายเหมือนฝนตกอยูขางบน และมีลายภูเขา หรือลายน้ำไหลอยู
ขางลางดวย ลายนกนย้ี งั ปรากฏบนผา ของไทยลื้อ เชน ผาเช็ดหนา
ลายน้ีพบบอยๆ ตามเชิงผาตีนจกของภาคเหนือ และผาของชาวเขา และยังพบบอยๆ บนผา และพรม
ของประเทศอ่ืนๆ ในประเทศไทยยังไม มีใครอธิบายลายน้ีไวชัดเจน นอกจากวาเปนลาย ท่ีพัฒนามา
จากลายขอ หรือลายกน หอย บางคนเหน็ วา เปนสัญลักษณข องกบและลกู ออด

27

ภาพ 21 ลายนาคและปราสาท
ที่มา https://saranukromthai.or.th
3) ลวดลายทีเ่ ช่อื มโยงกับคตคิ วามเชือ่ ของคนไทย
ลวดลายและสัญลักษณตางๆ ท่ีปรากฏอยู ในศิลปะผาทอไทยน้ัน เช่ือกันวา มีความ
เช่ือมโยงกับคติความเชื่อของคนไทย ท่ีสืบทอดกันมาแตโบราณ เราอาจศึกษาเปรียบเทียบลวดลาย
สัญลักษณเหลานี้ กับสัญลักษณอยางเดียวกันท่ีปรากฏอยูในศิลปะประเภทอื่นๆ เชน ในจิตรกรรม
ประติมากรรม สถาปต ยกรรม และแมแ ตใน ตำนานพน้ื บา นท่ีเลา ขานสบื ตอกันมา หรอื ใน วรรณกรรม
ตา งๆ ลวดลายที่เชื่อมโยงกับความ เชื่อพื้นบานไทยอยางเหน็ ไดชัด มดี ังน้ี
สัญลักษณงูหรือนาค งูหรือนาคปรากฏอยูในลายผาพ้ืนเมืองของคนไทยกลุมตางๆ
เกือบทุกภูมิภาคของประเทศ โดยเฉพาะในลานนา และในอีสาน นอกจากนี้ยังพบในศิลปะของกลุม
คนที่พูดภาษาตระกูลไท ที่อาศัยอยูนอกดินแดนของไทยในปจจุบัน เชน ในสิบสองปนนา ในลาวอีก
ดว ย
นักวิชาการหลายคนเชื่อวา งูหรือนาคเปนสัญลักษณสำคัญรวมกันของสังคมท่ีมี
วัฒนธรรมน้ำ ดังน้ันงูหรือนาค จึงปรากฏอยูในศิลปะ และคติความเช่ือของหลายๆ ประเทศมาแต
โบราณกาล
ในศิลปะการทอผาของชาวไทยในลานนา และในอีสาน แมในสิบสองปนนาของ
สาธารณรัฐประชาชนจีน ในรัฐฉานของพมา และในลาว ก็มักจะเต็มไปดวยสัญลักษณงูหรือนาค
ประดับประดาในที่ตางๆ เชน ในผาขิตของชาวไทยลื้อ ในจังหวัดนาน และจังหวัดเชียงราย มักจะมี
ลายท่ีเรียกกันมากมายหลายชื่อ เชน ลายงูลอย ลาย นาคปราสาท ลายขอนาค ลายนาคกระโจม ใน
ผา มัดหม่ีของอีสานก็มักจะมีงูและลายนาคในชื่อ ตางๆ กันอีก เชน ลายนาคปก ลายนาคเก้ียว ลาย
นาคชสู น ฯลฯ

28

ในแถบลุมแมน้ำโขง คนไทย และคนลาว ตางมีความเช่ือสืบทอดกันมาเร่ืองพญานาค
ซึ่งอาศัยอยูที่เมืองบาดาล ใตแมน้ำโขง จนกระทั่งทุกวันนี้ผูคนในแถบน้ันก็ยังเชื่อวา เวลามีงานบุญ
ประเพณี เชน งานไหลเรือไฟ พญานาคก็จะข้ึนมาเลนลูกไฟดวย ดังท่ีมีผูเห็นลูกไฟข้ึนจากลำน้ำ
ในชวงเทศกาลงานไหลเรือไฟเปน ประจำเกือบทุกป

สญั ลักษณนกหรือหานหรือหงส นกหรือหงสเปนสัญลักษณส ำคัญท่ีปรากฏอยูในศิลปะ
ผาทอพ้ืนบาน ในภาคเหนือของไทยเปนสวนใหญ นอกจากนี้ก็มีปรากฏมากในผาทอมือของลาวสิบ
สองปน นา และในหมพู วกคนไทในเวยี ดนาม

ในสถาปตยกรรมลานนา และลานชาง จะพบนกหรือหงสเปนองคประกอบที่สำคัญ
ประดบั อยูบนหลงั คาโบสถ คูกบั สญั ลักษณนาค หรือบางแหงกม็ แี ตหงสป ระดับอยตู ามจดุ ตา งๆ ในวดั

ในสิบสองปนนา สัญลักษณนกหรือหงสหรือนกยูง จะปรากฏอยูทั่วไปทั้งในจิตรกรรม
สถาปต ยกรรม และบนผืนผา นกยูงเปน สัญลักษณท ่รี ัฐบาลจีนปจจุบันไดนำมาใชเปนสัญลักษณของยู
นาน และไดมีการประดิษฐนาฏลีลาสมัยใหม ซ่ึงใชแสดงเปนสัญลักษณของชาวไทล้ือในสิบสองปนนา
เรยี กวา ระบำนกยงู

ในพมา หงสเปนสัญลักษณท่ีสำคัญ พบในศาสนสถาน และในโบราณวัตถุที่เก่ียวเน่ือง
กบั ราชวงศพ มา

ในผาตีนจกท่ีทำดวยฝายจากหาดเสี้ยว ในอำเภอศรีสัชนาลัย จังหวัดสุโขทัย จาก
อำเภอ น้ำอาง จังหวัดอุตรดิตถ จากอำเภอคูบัว จังหวัด ราชบุรี และซิ่นตีนจกท้ังไหมและฝายของ
จังหวัด เชียงใหม รวมท้ังซิ่นท่ีมีตีนจกด้ินเงินดิ้นทอง ลวนแตเต็มไปดวยสัญลักษณ นกคู หรือ หงสคู
กนิ นำ้ รวมกัน เปน องคประกอบเลก็ ๆ ของตีนจกแทบจะทุกชน้ิ

ภาพ 22 ผาตนี จก ลายกากบาท (พระอาทติ ย) พระจันทร และนก
ท่มี า https://saranukromthai.or.th

29

ภาพ 23 ผา ขติ ลายนกฮกู ผา ขิตลายนกฮกู ผาขิตลายนกฮูกผาขติ ลายนกฮกู
ทีม่ า https://saranukromthai.or.th

นอกจากน้ีในตุงหรือธงที่ชาวไทยพื้นเมือง แถบจังหวัดนาน และเชียงราย ถวายวัดใน
งานบุญ มักจะมีลายปราสาท ลายตนไม ฯลฯ ประดับอยู เปนลายใหญๆ แตก็จะตองมีองคประกอบ
เปนนกหรอื หงสอ ยูเปน จำนวนมากเชน กนั

หงสนี้ตามคติไทย และคติฮินดู-พุทธ ถือวาเปนสัตวท่ีเก่ียวของกับตำนานในศาสนา
เชน หงส เปนพาหนะของพระพรหม เปนตน และในศิลปะไทยก็ถือวาหงสเปนของสูง จึงไดเชิญมา
เปนสัญลักษณของเรือพระราชพิธี คือ เรือสุพรรณหงส ซึ่งใชในพระราชพิธีพยุหยาตราชลมารค จวบ
จนทกุ วนั น้ี

ศิลปะการทอผาของไทยในภาคตางๆ ท่ียังมีผูสืบทอดเทคนิคการทอ อนุรักษ และ
พัฒนากนั อยู ไดแ ก

การทอลายขิต คือ การคัดเก็บยกเสนดาย ยืนพิเศษ ใหเกิดเปนลวดลาย แลวสอด
เสนดายพุงไปตลอดแนวของความกวางของหนาผา ทำใหเกิดลายขิตในแตละแถวเปนลายขิตสี
เดยี วกัน

การยก เปนเทคนิคการทอยกลายใหเห็นเดนชัด มีลักษณะคลายกับการทอลายขิต แต
ใชเ สนพุงพเิ ศษ เชน ไหม ด้นิ เงิน ด้ินทอง มชี าย มีเชิง ซงึ่ ข้นั ตอนยงุ ยากกวา ผา ทอลายขิตมาก

การจก เปนเทคนิคการทอลวดลายบนผืนผา ดวยวิธีการเพ่ิมดายพุงพิเศษเขาไป
ขณะที่ทอเปนชวงๆ ไปติดตอกันตลอดหนากวางของผา กระทำโดยใชไมหรือขนเมนหรือนิ้วมือ ยก
หรือจกดวยเสนยืนข้ึน แลวสอดเสนพุงพิเศษตอไป ตามจังหวะของลวดลาย สามารถสลับสีได
หลากหลายสี

30

การทอลายน้ำไหล เปนเทคนิคการทอ แบบลายขัดธรรมดา แตใชดายหลากสีพุงเกาะ
เก่ียวกันเปนชวงๆ ใหเกิดจังหวะของลายน้ำไหล เปนลักษณะเฉพาะของชาวเมืองนาน เรียกกรรมวิธี
การทอน้ีวา "ลวง" แตชาวไทล้ือ อำเภอเชียงของ และเชียงคำ จังหวัดเชียงราย เรียกวา"เกาะ" เทคนิค
น้อี าจดดั แปลงพัฒนาเปนลายอืน่ ๆ เรียกวา ลายผกั แวน ลายจรวด ฯลฯ เปน ตน

ภาพ 24 ผาลายน้ำไหล
ที่มา https://saranukromthai.or.th
การยกมุก เปนเทคนิคการทอ โดยใชเสนยืนพิเศษเพิ่มบนกี่ทอผา ลายยกบนผาเกิด
จากการใชตะกอ ลอยยกดายยืนพิเศษ ลวดลายที่เกิดจากเทคนิคนี้คลายกันมากกับลวดลายท่ีเกิดจาก
เทคนิค ขิต จก แทบจะแยกไมไดเลยสำหรับผูที่ไมเขาใจเรื่องเทคนิคการทอผาที่ลึกซ้ึง ชาวไทยพวนท่ี
ตำบลหาดเสี้ยว จังหวัดสุโขทัย และท่ี อำเภอ ลับแล จังหวัดอุตรดิตถ ใชเทคนิคนี้ในการทอ สวนที่
เปนตวั ซน่ิ บางครง้ั อาจจะนำเชิงซน่ิ มาตอ เปนตนี จกเรยี กวา ซนิ่ มุก
การมัดหม่ี เปนเทคนิคการมัดเสน พุง หรือเสน ยนื ใหเปนลวดลายดวยเชอื กกลว ย หรือ
เชือกฟาง กอนนำไปยอมสี แลวกรอดายใหเรียงตามลวดลาย รอยใสเชือก แลวนำมาทอ จะไดลาย
มัดหม่ีที่เปนทางกวางของผา เรียกวา มัดหม่ีลเสนพุง ซ่ึงเปนที่นิยมในบานเรา มีการทำผามัดหม่ีเสน
ยืนบางในบางจังหวัดเชนจังหวัดเชียงใหม แมฮองสอน ราชบุรี เพชรบุรี สวนใหญเปนผา ชาวเขา บาง
ผืนใชการทอสลับกับลายขิต ซึ่งชวย เพ่ิมความวิจิตรงดงามใหแกผืนผา (สารานุกรมไทยสำหรับ
เยาวชน : ม.ม.ป.)

31

ภาพ 25 ผามดั หมีส่ รุ ินทร
ท่มี า https://saranukromthai.or.th
2.1.6 ผาฝายทอ งถ่นิ จงั หวัดลำพนู
ผาฝายทองถ่ินจงั หวดั ลำพูน ถือเปน แหลงผา ฝายท่ีเกาแกแ ละมคี ุณภาพสงู ยอนเวลาไปในชวง
ป พ.ศ. 2500 ยุคน้ัน อำเภอปา ซาง จงั หวัดลำพนู มชี ่ือเสยี งเล่อื งลอื ไกลในการทอผา สมัยกอนหากคน
จากทางใต (กรุงเทพฯ) จะเดินทางมาเชียงใหมตองใชถนนผาน อำเภอปาซาง จึงทำใหชุมชนตลอด
สองฝงถนนปาซาง – ลำพูน เจริญรุงเรืองรวดเร็ว เปดโรงงานทอผาขึ้นเปนจำนวนมาก เพราะผูท่ีเดิน
ทางผาน โดยเฉพาะนักทองเท่ียว ท่ีเดินทางมาเชียงใหมจะแวะซื้องานหัตถกรรมผาฝายทอมือติดไม
ติดมือเสมอ เม่ือตลาดผาทอ เฟองฟู สงผลให หมูบานหลายแหงใน อำเภอปาซางรับฝายจากอำเภอ
ปา ซางมาทอภายในหมูบาน
หมูบานที่มีช่ือเสียงในการผลิตผาฝายของอำเภอปาซาง ไดแก บานดอนหลวง, บานปาบุก
และบานหนองเงอื ก ที่นำฝายมาปนทอเปนงานหัตถกรรมผาพ้ืนเมืองประจำชุมชน บรรดาหญิงสาวใน
หมูบานหนองเงือกมัก จะทอฝายดวยมือโดยใชกีท่ อแบบโบราณ บริเวณใตถุนบานเพื่อสงไปยัง อำเภอ
ปา ซาง ลวดลายของฝา ยทอมือยังคงอัตลักษณเ ดิมจากบรรพบุรุษ ใสใจในทกุ ขัน้ ตอน จงึ มีความงดงาม
เนื้อผามีมิติ มีความเรียบหรู ดูมีชีวิตชีวา ผาฝายทอมือจะมีทั้งแบบผืนท่ีใชในการตัดเย็บเสื้อผา ผาถุง
และผลิตภัณฑจากผาฝา ย นำไปเปนของฝากของทร่ี ะลกึ ไดอ ีกดวย
ปจจุบันบานหนองเงือกไดรับคัดเลือกรวมเปนแกนนำของเครือขายกลุมผาทอ จังหวัดลำพูน
รวมกับบานดอนหลวง การทอผาฝาย และกรรมวิธีถายทอด สืบสานจากรุนสูรุน และการสรางสรรค
ลวดลายด้ังเดิมมาประยุกตใหท นั ยุคทันสมยั เพิ่มความสลบั ซบั ซอน และเลน สสี ันในลวดลาย เชน ลาย
เกล็ดเตาลูกอม – เตาหมู – เตาจิ๋ว – เตาตา, ลายดอกชาง, ลายดอกนก, ลายดอกบัวเครือ, ลายดอก
ขอลายไทย เปนตน

32

สงผลใหผาฝายทอมือจาก “บานหนองเงือก” “บานดอนหลวง” และ “บานปาบุก” มี
ความงาม มีความหลากหลายและทันสมัย เปนหมูบานที่มีวัฒนธรรมพ้ืนบานท่ีโดดเดนเปนแหลงผลิต
ผาฝายทอมือ หัตถกรรมพ้ืนบาน แหลงใหญสุดอีกแหงของไทย สำหรับบานปาบุกจะมีความแตกตาง
ดวยการรังสรรคงานผาบาติก มัดยอม อันเปนเอกลักษณ จนกระทั่งหลายภาค สวนไมวาจะเปน
จังหวัด, ทองถิ่น และชุมชน รวมถึงหนวยงานตาง ๆ ในจังหวัดไดสงเสริมกิจกรรม การจัดงาน
เพื่อกระตุนตลาดผาพื้นเมือง ใหเปนท่ียอมรับกันอยางแพรหลายท้ังในประเทศและตางประเทศ
(เชยี งใหมน ิวส : 2563)

ภาพ 26 ผาฝา้ ยสีพนื้ ลาํ พนู
ทีม่ า https://thai.tourismthailand.org

ภาพ 27 ผาลายปลา
ท่ีมา https://mgronline.com

33

ภาพ 28 ผาเตา่ หมู่
ท่ีมา https://mgronline.com

ภาพ 29 ผา ลายเกล็ดเตา่
ทม่ี า https://mgronline.com

34

ภาพ 30 ผา ลายดอกชาง
ทม่ี า https://www.chiangmainews.co.th

ภาพ 31 ผา ลายดอกนก
ทม่ี า https://www.chiangmainews.co.th

35

ภาพ 32 ผาลายดอกขอลายไทย
ท่มี า https:// https://mgronline.com
2.2 อปุ กรณใ นการบรกิ ารเคร่อื งดมื่ ในอาคารปฏบิ ตั กิ ารโรงแรมวทิ ยาลยั อาชวี ศกึ ษาเชียงใหม
อาคารปฏิบัติการโรงแรมวิทยาลัยอาชีวศึกษาเชียงใหมมีอุปกรณมาตรฐานที่ใชในการบริการ
เครอ่ื งด่ืม ดงั นี้
2.2.1 เคร่ืองแกว (Glassware) ใชสำหรับใสเครื่องด่ืมชนิดตาง ๆ โดยแยกประเภทได ดังน้ี
(นฐั พล กลน่ั วารี : 2563)
1) ชนดิ ของเคร่อื งด่มื ทเี่ สริ ฟ โดยทว่ั ไปสามารถแบง ไดเปน 4 ประเภท
- แกวไมมีกานและมฐี านวาง
- แกวมีกานและมีฐาน
- แกว ทม่ี ีจานรอง ไดแ ก แกวชารอ น กาแฟรอน ฯลฯ
- แกวแฟนซี หมายถึงแกวที่มีการออกแบบมาเปนพิเศษ มีลวดลายหรือการ
เลือกใชเฉพาะโอกาสเทานั้น เหมาะสำหรับการนํามาประดับโตะอาหารท่ีตองการตกแตงใหมีจุดเดน
เฉพาะ
2) ปริมาณท่ีเหมาะสมของเครื่องดื่มท่ีจะเสิรฟ เคร่ืองด่ืมแตละชนิดในปริมาณท่ี
แตกตางกนั สามารถแบง ไดดงั น้ี
- แกวทใี่ ชใสเครอื่ งด่มื ประเภทสปรติ
- แกว ท่ีใชใ สเ ครือ่ งดืม่ ประเภทเชอรรแ่ี ละพอรต
- แกวที่ใชใสไวนแดงและไวนขาว เชน Red-wine , White-wine , Bordeaux ,
Red-wine Sniffer

36

- แกวที่ใชใสแชมเปญและสปารกลิ้ งไวน เชน Champagne , Sparkling Wine ,
Champagne Saucer , Flute

- แกวท่ใี ชใสบรน่ั ดแี ละคอนยคั เชน Brandy , Cognac
- แกว ที่ใสลเิ คียว เชน Small Sniffer , Aperitif , Liqueur – แกวที่ใชใ สค อกเทล
- แกวที่ใชใสเบียร เชน Short Beer , Pilsner Beer , Tall Beer , Beer Tulip ,
Beer Tankard

ภาพ 33 แกว ประเภทตาง ๆ
ท่มี า https://trainingreform.com
2.2.2 ถาดเสิรฟ (Service tray) เปนอุปกรณที่สำคัญเปนอยางย่ิงในการใหบริการ เพราะจะ
ใชขนยายอาหารเคร่ืองดื่ม และภาชนะตาง ๆ ในการบริการ สำหรับถาดท่ีใชในการบริการตองปูดวย
ผารองถาด ถาดเสิรฟเครื่องด่ืมกันล่ืนจะมีเสนผาศูนยกลางประมาณ 35 - 40 ซม. พ้ืนดานเปนยางกัน
ลน่ื สามารถเอยี งไดประมาณ 15 องศาโดยแกวไมล ่นื (Anti - slip bar tray)

ภาพ 34 ถาดเสริ ฟ
ท่ีมา https://trainingreform.com

37

2.2.3 เหยือกน้ำ (Jugs) ที่ใชในการเสิรฟเคร่ืองด่ืม เหยือกน้ำควรผูกผาเช็ดปาก รอบตัว
เหยอื กเพอ่ื กันนำ้ หยด หรอื พับผาเช็ดปากเปน รูปดอกบวั เพื่อรองเหยอื กนำ้ เหยือกน้ำสามารถแบง ตาม
วสั ดุ 3ประเภทคือ

1) เหยือกน้ำพลาสติก มีราคาที่ถูกที่สุดแตในดานของการใชงาน มีแนวโนมที่จะเกิด
คราบ เกิดกล่ิน และยังมีพลาสติกหลายประเภทถือวาไมปลอดภัยสำหรับการใชงาน เชน BPA ท่ีเปน
สารประกอบทั่วไปที่มีอยูในพลาสติก เปนที่ทราบกันดีวา BPA สงผลเสียตอสุขภาพของบุคคลและ
องคการอาหารและยาไดอ อกคำเตือนและขอใหผ ูบริโภคระวังสารประกอบน้ี อีกท้ังพลาสติกยังไมดตี อ
สิ่งแวดลอ ม

ภาพ 35 เหยอื กนำ้ พลาสตกิ
ทม่ี า https://trainingreform.com
2) เหยือกน้ำแกว เหยือกแกวจะอยูไดนานมาก สามารถรีไซเคิลไดและสามารถใชซ้ำ
แลว ซำ้ อกี และยังเห็นเคร่ืองดื่มที่บรรจไุ ว แตมโี อกาสทจี่ ะเสยี หายจากการตกแตกได

ภาพ 36 เหยือกนำ้ แกว
ทม่ี า https://trainingreform.com

38

3) เหยือกน้ำโลหะ เปนเหยือกน้ำที่มีความทนทานสูงและสามารถทำหนาที่เปนฉนวน
ทดี่ มี าก แตเ หยอื กน้ำสแตนเลสเกรดสำหรบั อาหารมกั มรี าคาสูง และมกั มองเหน็ เครอ่ื งดืม่ ทีบ่ รรจไุ ว

ภาพ 37 เหยือกนำ้ โลหะ
ที่มา https://trainingreform.com
เหยือกน้ำที่ใชอาคารปฏิบัติการโรงแรมวิทยาลัยอาชีวศึกษาเชียงใหม เปนเหยือกน้ำสแตนเล
สมีความทนทาน และขนาดมาตรฐานท่ีใชในสถานประกอบการโรงแรมสวนใหญ เหมาะใชในการฝก
ปฏิบัติการของนักศึกษากอนไปฝกประสบการณในสถานประกอบการ การฝกใชงานอุปกรณในการ
บริการเคร่อื งด่ืมจากอาคารปฏบิ ัตกิ ารโรงแรมวิทยาลยั อาชวี ศกึ ษาเชียงใหมจึงเหมือนเปนการฝกความ
พรอมในการทำงานเบอื้ งตนน้นั เอง
2.3 วิธกี ารใชผ าพนั เหยอื ก
การใชผาพันเหยือกในอาคารปฏิบัติการโรงแรมวิทยาลัยอาชีวศึกษาเชียงใหม เปนการพันผา
รอบตัวเหยอื กเพื่อกันนำ้ หยดสะดวกในการเสริ ฟใหก บั ลูกคา ทัง้ นีก้ ารพนั ผาพันเหยือกมีขน้ั ตอนดังน้ี
2.3.1 เตรียมผา ซบั น้ำส่เี หลยี่ มผนื ผา

ภาพ 38 เตรยี มผาซับน้ำสเี่ หล่ยี มผนื ผา
ทม่ี า จามอู เซยี มราย (2563)

39

2.3.2 พับผา ใหเปนสามเหลี่ยม

ภาพ 39 พบั ผา ใหเปนสามเหลี่ยม
ที่มา จา มอู เซยี มราย (2563)

2.3.3 นำผาท่ีพับไวมาพันเหยือกน้ำโดยกะขนาดใหเหมาะสม

ภาพ 40 การกะขนาดผาพันเหยอื กน้ำกับเหยอื กน้ำ
ที่มา จา มอู เซยี มราย (2563)


Click to View FlipBook Version