The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

นางสาวณัฏฐินี เหล็กเทศ
วิทยาลัยอาชีวศึกษาเชียงใหม่
สาขาวิชาการโรงแรม

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by ณัฏฐินี เหล็กเทศ, 2021-03-10 10:45:22

โครงการผ้าพันเหยือกจากผ้าฝ้ายท้องถิ่น

นางสาวณัฏฐินี เหล็กเทศ
วิทยาลัยอาชีวศึกษาเชียงใหม่
สาขาวิชาการโรงแรม

Keywords: โครงการผ้าพันเหยือกจากผ้าฝ้ายท้องถิน

40

2.3.4 เก็บมุมและจดั ระเบียบผาใหเหมาะสมกับขนาดเหยอื กและสะดวกกบั การใชงาน

ภาพ 41 เตรยี มผา ซบั น้ำสี่เหล่ียมผืนผา
ทม่ี า จา มอู เซยี มราย (2563)

2.3.5 พนั ผา ใหร อบเหยือกนำ้ กะขนาดใหพอดีกับเหยอื กน้ำ

ภาพ 42 พันผา ใหรอบเหยอื กน้ำ
ที่มา จามอู เซยี มราย (2563)

41

2.3.6 มดั ผา รอบเหยอื กน้ำใหแ นน ไมใ หหลดุ ในขณะใชง าน

ภาพ 43 มดั ผา รอบเหยอื กน้ำ
ท่มี า จามอู เซยี มราย (2563)

2.3.7 เกบ็ ชายผาพันเหยอื กน้ำใหสวยงามและสะดวกตอ การใชง าน

ภาพ 44 เก็บชายผาพนั เหยือกน้ำ
ท่มี า จา มอู เซยี มราย (2563)

42

2.3.8 เม่ือปฏิบัติตามข้ันตอนการพันเหยือกน้ำของอาคารปฏิบัติการโรงแรมวิทยาลัยจะได
รปู แบบการพนั ผาดงั ภาพ

ภาพ 45 ผาพนั เหยอื กน้ำเมอื่ ปฏบิ ตั ติ ามข้นั ตอนการพันเหยอื กน้ำ
ที่มา จามอู เซยี มราย (2563)

2.4 การตดั เย็บ,การเย็บดน ,การเนา
2.4.1 การตัดเย็บ(ณฏั ฐวรัตถ แสนเมอื งมา : 2563)
การตัดเย็บเบื้องตน ตอ งเรียนรกู ารส่ิงตาง ๆ ทต่ี องใชในการตัดเยบ็ ตงั ตอ ไปนี้
1) การเรยี นรกู ารจดั เตรียมอปุ กรณต าง ๆ
- เตารดี และแผนรองรดี
- ที่เลาะผา จะใชเมือ่ เกดิ ความผิดพลาดข้ึนโดยเลาะดายท่ีเยบ็ ผิดออก
- ชอลก เพ่อื ทำจุดกำหนดบนผนื ผา จะไดร ูว า ตรงไหนเยบ็ ตรงไหนตัดออก
- กรรไกร ทจ่ี ะใชต ัดผาเทา น้นั
- กระดาษลอกลายสำหรบั การทาบแพทเทิรน และปรับแพทเทิรนในระหวางเย็บ
- ไมบ รรทดั สำหรับวดั เวลาประกอบช้นิ สว น
- สายวดั
- เข็ม เพอ่ื ปกตรึงผาใหอ ยูในตำแหนง กอนจะเรม่ิ เย็บ แตค วรใชเข็มแตนอยเพราะ

มันสามารถทำใหผาเบยี้ วผดิ รปู ได

43

ภาพ 46 อุปกรณตา ง ๆ ทีต่ อ งจดั เตรยี มในการตัดเย็บ
ที่มา : https://www.bloggang.com

2) การจดั เตรยี มจกั รเย็บผา และการเรียนรวู ิธีการใชง าน

ภาพ 47 จกั รเยบ็ ผา
ทม่ี า : https://www.bloggang.com
2.4.2 การเย็บดน
การเย็บดน เปนวิธีการเย็บดวยมืออีกแบบหนึ่งท่ีสามารถนำมาใชแทนเปนการเย็บจักร และ
ในการเย็น บางคร้ังตองอาศัยการดนแทนการเย็บจักรไดดี การเย็บดนบางอยางทำไดสวยงามและ
เรียบรอ ยทนทาน

44

การดนมีหลายชนิด ที่นิยมใชมี 3 ชนิด คือ การเย็บดนธรรมดาหรือดนตลุย การเย็บดนถอย
หลงั การเยบ็ ดนถอยหลังแบบดำน้ำ

1) การเย็บดนธรรมดาหรือเย็บดนตลุย มีลักษณะเหมือนการเนาแบบเทากันแตมี
ระยะส้ันกวาใช ในการเย็บท่ัวไป เชน เย็บพับริมผา เย็บผา 2 ชิ้นใหติดกัน ในบางครั้งใชแทนจักรได
โดยการทำ 2 คร้งั ดนสลับท่ีกัน ใชกับผาเน้ือบาง เชน การทำเสือ้ เด็ก และใชเปนการตกแตงเส้ือผาให
สวยงาม มีวิธีการทำ โดยแทงเข็มข้ึนลงบนผาใหมีระยะสั้นๆ เสมอกันเปนเสนตรง (เหมือนการเนา
แบบเทากันแตมีระยะสั้นกวา) ถาใชเข็มยาวจะทำไดรวดเร็ว เพราะการแทงเข็มข้ึนลงได 2-3 คร้ังแลว
ดึงเข็มขึ้นครั้งหน่ึง ใหฝเข็มเสมอกัน ตลอดท้ังแนวท่ีจะเย็บ ถาตองการใชแทนฝเข็มจักรใหเร่ิมตนทำ
คร้ังแรกจนสดุ แนวตะเขบ็ แลวยอนกลบั แทงเขม็ สลบั กับครง้ั แรกจนถึงจดุ เร่มิ ตน

ภาพ 48 การเย็บดน ธรรมดาหรอื เยบ็ ดนตลุย
ที่มา : http://4.bp.blogspot.com

2) การเย็บดนถอยหลัง เปนการเย็บดวยมือ ท่ีมีความคงทนเหมือนการเย็บดวยจักร
ใชเ ย็บในสวน ทตี่ องการความคงทนมากกวาดนธรรมดาหรือดนตลยุ การทำดนถอยหลงั โดยวิธีนำผาที่
เนาติดกันแลวมา แทงเพ่ิมขึ้นทางซายมือหางจากจุดเร่ิมตนประมาณ 0.3 เซนติเมตร แลวแทงเข็มลง
ยอนกลับมาท่ีจุดเริ่มตน พรอมกันน้ันก็แทงเข็มขึ้นทางดานหนาใหหางจากจุดเดิมประมาณ 0.3
เซนติเมตร แลวดึงดายข้ึนให ถาตองการใหมีความถ่ีมากขึ้นอาจใชชวงหางระหวางจุดที่แทงเข็มสั้นลง
หรอื ใชแ นวลกู กล้ิงเปนระยะ การแทงเขม็ ทำเชน น้ีตลอดแนวท่ีตอ งการเยบ็ ลักษณะดานหนา เหมือนฝ
เข็มจกั ร ดานหลงั จะมีดา ยซอน กันมาก

45

ภาพ 49 การเยบ็ ดน ถอยหลงั
ท่ีมา : http://4.bp.blogspot.com
3) การเย็บดนถอยหลงั แบบดำน้ำ เปนการเย็บแบบดน ถอยหลังอีกแบบหน่ึงท่ีนำมาใช
ในการติดซิป บนผาเนื้อบางหรือผูท่ียังเย็บจักรไมชํานาญ บางคร้ังการดนถอยหลังแบบดำน้ำนำมาใช
ในการเย็บตอลูกไม วิธีการโดยระยะท่ียอนกลับหลัง จะมีระยะสั้นๆ แทงเข็มขามเสนดายใหมี
ระยะหา งจากรอยเดิมไมเกิน 0.5 เซนติเมตร ทำเชน นจ้ี นเสร็จ

ภาพ 50 การเยบ็ ดน ถอยหลงั แบบดำนำ้
ที่มา : http://4.bp.blogspot.com

46

2.4.3 การเนา
การเนา การเนาเปนการเย็บช่ัวคราวกอนการเย็บดวยจักร การเย็บดวยมือ หรือเนาทํา
ตําแหนง เครื่องหมายท่ีตองการ หรือการเนาเพ่ือการลองตัว การเนาเพ่ือใหผารองในติดกับผาตัวนอก
การเนามีหลายชนิด แตที่นิยมใชกันเสมอมี 4 ชนิด ไดแก การเนาเทากัน การเนาไมเทากัน
การเนาแบบชางเสื้อ การเนาแบบเฉลียง

1) การเนาเทากัน คือ การเนาเสมอกันและเหมือนกันท้ังสองดาน ใชเนาผาสองชิ้นให
ติดกัน ตองการเนาผาช้ินใหญใหพอดีกับผาชิ้นเล็ก หรือเนาผาท่ีมีเสนโคง เชน เนาติดซิป เนาเขาปก
เนาเขา วงแขนเสื้อ โดยแทงเข็มข้ึนลงใหทั้งเสนดายบนและเสนดายลางเทากัน วิธีน้ีจะทําใหทั้งดาย
บนและลาง เหมอื นกัน ใชเ นาผา สองชิน้ ใหต ดิ กันเมือ่ ตอ งการ

ภาพ 51 การเนาเทากนั
ทม่ี า : http://4.bp.blogspot.com
2) การเนาไมเทากัน คือ การเนาถี่หางสลับกันใชในการเนาชายเส้ือ เนาประกอบตัว
เสื้อ เนาเปนเสนพับชายเส้ือ ปลายแขนเสื้อหรือชายกระโปรงในเย็บประกอบตัวเสื้อเพื่อการลองตัว
หรือเนาแนวเสนเย็บ โดยแทงเพิ่มขึ้นลงบนผาใหแนวยาวอยูดานบนและแนวสนั้ อยูดา นลาง แทงเข็มถ่ี
หางสลับกนั วิธนี ี้ทำได รวดเร็วกวา วิธีแรก แนวถ่ีดานลางชวยใหผา แนบตดิ กนั แนวหา งดานบนชวยให
เห็นเปนเสน ยาวใชเ ปน เสนนำ ในการเย็บจกั ร

47

ภาพ 52 การเนาไมเทากัน
ท่ีมา : http://4.bp.blogspot.com
3) การเนาแบบชางเส้ือ การเนาแบบชางเสื้อมี 2 ลักษณะ คือ การเนาแบบชางเส้ือ
สตรี และการเนาแบบเสือ้ ชางเสื้อชาย
- การเนาแบบชางเสื้อสตรี เปนการเนาที่มีลักษณะการใชฝเข็มยาว 1 ครั้ง และฝ
เข็มสั้น 2 ครั้ง การเนาในลักษณะน้ีเหมาะกับการเนาตะเข็บที่มีความยาวมากๆ และผาทั้งสองช้ินมี
ความยาวเทากัน
- การเนาแบบชางเส้ือชาย เปนการเนาท่ีมีลักษณะคลายการเนาแบบสตรี มักจะ
ใชกับผา เนื้อหนา เชน ผาขนสัตว ท่ีไมสามารถกดรอยได การเนาจะท้ิงดายหลวมเปนหวงและเนา
หนึ่งฝเข็มสลับกับ ดายดึงหนึ่งฝเข็ม ตามแนวตะเข็บที่ตองกดรอย แลวแยกผา 2 ชิ้นน้ันออกจากกัน
ตัดดายเนาตรงกลางระหวาง ผา 2 ชิ้น รอยดายเนานี้ใชแทนการกล้ิงกดรอย โดยแทงเข็มกาวยาว 1
คร้ัง กาวส้ัน 2 คร้ัง กาวยาว 1 คร้ัง สลับกันไปเล่ือยๆ วธิ ีนี้ทำไดรวดเร็วมาก ถาใชเข็มยาวและจะชวย
ใหผาแนบกันได เพราะชวงส้ันมากกวา ดานบนจะเห็นเปนแนวยาว 1 เสน แนวสั้น 2 เสน และแนว
สนั้ อยดู านลาง 3 เสน

48

ภาพ 53 การเนาแบบชา งเสื้อ
ท่มี า : http://4.bp.blogspot.com
4) การเนาแบบเฉียง คือ การเนาดานหนาเปนทแยง 45 องศา ดานหลังจะเห็นเปน
แนวตั้งตรงใชเพ่ือเชื่อมผาใหติดกัน เชน เนาเช่ือมรังดุมเจาะดวยผาเนาปากกระเปาเส้ือสูทในขณะ
เจาะเพ่ือไมใหแยกเสยี รูปและการเนาเพื่อใหผา ในติดกับผาตัวนอกหรอื ตดิ กับซบิ ในใหม คี วามทรงตวั ดี
และเนาเพ่ือใหผาหลาย ๆ ช้ินติดกัน โดยการแทงเข็มทางขวามือ แทงเข็นทแยงลงเปนแนวเอียงลง
หางลงมาเล็กนอยทางขวามือ พรอมทั้งแทงเข็มข้ึนใหแนวตรงระดับเดียวกับจุดแรกจะเกิดเปนแนว
เอียงทางดานหนา ทางดานหลังจะเปนแนวขวางถาทำใหแนวทแยงเล็กนอย ดานหนาจะเห็นเปนแนว
เฉียงยาวและทางดานหลังจะเปนเพยี งจดุ เลก็ ๆ

ภาพ 54 การเนาแบบเฉียง
ท่ีมา : http://4.bp.blogspot.com

49

2.5 งานศึกษา / งานวจิ ัยทเ่ี กีย่ วขอ ง
สคราญนิตย เล็กสุทธ์ิ (2561) ผลการวิจัยพบวา 1) ทุนเดิม : กลุมผาฝายทอมือบานหนอง

เงือกเปนการทอผาฝายท่ีใชยอมสีจากวัตถุดิบธรรมชาติ เนนกรรมวิธีและขั้นตอนที่ไดรับการสืบสาน
สืบทอดมาจากบุพการี เปนวิธีการทอผาแบบดั้งเดิม ลวดลายของผาฝายมีมากมายหลากหลายมีทั้ง
ลวดลายแบบด้ังเดิมและลวดลายประยุกต ซึ่งการทางานครั้งนี้ไดนาหลักธรรมทางพุทธศาสนามา
ประยุกตใช คือ หลักพละ 5 ไดแก ศรัทธาวิริยะ สติ สมาธิ และปญญา 2) สถานการณและปจจัย/
เง่ือนไขท่ีสงผลตอการทอผา : กลุมผาฝายทอมือบานหนองเงือก ไดรับการสนับสนุนและสงเสริมจาก
หนวยงานภาครัฐแตยังประสบปญหาดานการตลาดและความรูความเขาใจของสมาชิกในกลุม ทั้งใน
ดานการผลิตท่ีปจจุบันหันมาใชเครื่องจักรมากข้ึน การยอมสีผาดวยสารเคมี ขาดการพัฒนารูปแบบ
ผลิตภัณฑ ใหเปนที่นิยมตามยุคสมัย ถูกตัดราคาโดยผูคารายอื่น ขาดผูสืบทอดเน่ืองจากตาม
ขนบธรรมเนียมประเพณีและความเชื่อบานหนองเงือก หากมีผูเสียชีวิตจะตองนาเสื้อผาเผาตามไป
ดวย ทาใหลวดลายผาฝายสูญหายไปและไมมีการสืบทอดการทอลวดลายนั้น 3) แนวทางการพัฒนา
การอนุรกั ษ และการสืบสานภมู ิปญญาการทอผาฝายท่สี อดคลองกับหลักพุทธธรรมของกลุมผาฝา ยทอ
มือ โดยจดั ทาหลักสตู รภมู ิปญญาทองถิน่ ใหเ ดก็ และเยาวชนมีสว นรว มในการสบื สานการทอผา ฝา ยทอ
มือ รวมกันรื้อฟน ฟนฟู เอกลักษณของผาฝายทอมือใหกลับมามีความสำคัญอีกคร้ัง พัฒนาและ
ประยุกตผาฝายทอมือใหเหมาะสมกับยุคสมัยปจจุบัน ประกาศยกยองเชิดชูผูทรงภูมิปญญาทองถิ่น
การจัดการดา นการคมุ ครองลขิ สิทธิ์ ภมู ิปญญาทองถิ่นใหเปน มรดกทางปญ ญาสบื ไป

กิตติพงษ เกียรติวิภาค (2559) การวิจัยในคร้ังน้ีไดทำการศึกษาและลงพ้ืนท่ีสำรวจรูปแบบ
การแปรรูปผลิตภัณฑจากผาฝายทอมือท่ีชุมชนผาฝายทอมือบานดอนหลวงและละแวกใกลเคียง
(จังหวัดลำพูนและจังหวัดเชียงใหม)รวมถึงการสมั ภาษณความตองการและลักษณะการพัฒนารูปแบบ
ผลิตภัณฑจากกลุมรานคา ผูผลิตและผูจำหนายสินคาจากผาฝายทอมือบานดอนหลวง เพ่ือใหขอมูล
และผลลัพธท ี่ไดกลับไปตอยอด พฒั นาใหต รงกับกลมุ เปาหมายและความตองการของสังคมในปจจุบัน
โดยใชทฤษฎีการสรางภาพลักษณผลิตภัณฑ และแนวโนมในการออกแบบเขามาชวยในการวิเคราะห
และพัฒนาผลิตภัณฑซ่ึงผลงานจากการศึกษาท่ีไดทำการออกแบบและพัฒนาจำแนกไดเปน 2 กลุม
ไดแ ก การออกแบบและพัฒนาเครอื่ งนงุ หม (เส้ือผา สำหรับเด็ก)จำนวน 25 รูปแบบ และการออกแบบ
กระเปาสตรีจำนวน 25 รูปแบบ ซ่ึงผลงานท่ีไดรับการออกแบบ ใชขอบเขตการออกแบบคือตองมี
คุณคาของธรรมชาติหรืองานหัตถกรรม, มีเอกลักษณและศิลปวัฒนธรรมของทองถ่ิน, วัสดุ และ
กรรมวิธีการผลิตของทองถิ่น, ผลิตไดจริง ใชสอยดีเหมาะสมกับวัสดุทองถ่ิน, ความสวยงามและความ
นาสนใจและรูปแบบแปลกใหมสะดุดตา ซ่ึงผลจากการแจกแบบสอบถามกลุมประชากร เพ่ือ
ทำการศึกษาความคิดเห็นและความพึงพอใจ(4P) ท่ีมีตอผลิตภัณฑจากการแปรรูปผาฝายทอมือท่ี
ไดรับการออกแบบและพัฒนาแลวจำนวน 350 คน พบวา ภาพรวมกลุมตัวอยางมีทัศนคติเชิงบวกใน

50

ระดับมากที่สุดตอผลิตภัณฑ ( = 4.27) โดยประเด็นที่ กลุมตัวอยางเห็นดวยสูงท่ีสุดไดแก ผลิตภัณฑ
จากผาฝายทอมือสามารถตอยอดพัฒนารูปแบบและลวดลายในอนาคตได( = 4.41) รองลงมาอีก 4
อนั ดับไดแกผลิตภัณฑจากผาฝายทอมือสะทอนการพัฒนาผลิตภัณฑตนแบบใหมีมูลคาเพิ่มมากข้ึน( =
4.37), ผลิตภัณฑจากผาฝายทอมือมีรูปแบบและการประยุกตท่ีสวยงามและเปนท่ีดึงดูดใจ /
ผลิตภัณฑจากผาฝายทอมือเปนการใชเทคนิคภูมิปญญาทองถ่ินแบบเดิมมาใชในการสรางผลิตภัณฑ
ใหม ( = 4.35), ผลิตภัณฑจากผาฝายทอมือ สามารถพัฒนาเปนสินคาท่ีเพิ่มมูลคาทางเศรษฐกิจใหกับ
ชุมชนได( = 4.34), ผลิตภัณฑจากผาฝายทอมือสะทอนความเปนเอกลักษณและลักษณะเฉพาะของ
ความเปนทองถิ่นไดอยางชัดเจน ( = 4.33)และภาพรวมความพึงพอใจตอผลิตภัณฑผาฝายทอมือที่
ไดรับการออกแบบสรางสรรคท่ีไดรับการออกแบบสรางสรรคใหมท้ังหมดจากการวิจัยอยูในระดับมาก
(คาเฉลี่ย 8.23 จากคะแนนเต็ม 10)

จุรวี รรณ จันพลา และคณะ (2559) การวิจัยเร่ือง การพฒั นารปู แบบผลิตภณั ฑผาทอไทยทรง
ดาเพ่ือสรางมูลคาเพิ่มตามแนวทางเศรษฐกิจสรางสรรค ผลการวิจัยพบวา การศึกษาและสังเคราะห
แนวคิดการสรางมูลคาเพ่ิมของผลิตภัณฑผาทอไทยทรงดำ พบวาในการออกแบบเก่ียวกับผลิตภัณฑ
จากผาทอไทยทรงดาน้ัน อันดับแรกผูออกแบบตองคำนึงถึงหลักการออกแบบโดยท่ัวไปท่ีสำคัญคือ
ประโยชนใชสอย อีกสวนหน่ึงที่มีความสำคัญท่ีนักออกแบบจะตองคำนึงถึงคือ การคงเอกลักษณและ
การส่ือความหมายของลวดลายและสีสันตางๆ ตามความเชื่อของชาวไทยทรงดำเนื่องจากลายผาไทย
ทรงดำมีลายตางๆ ไมมาก และมีการใชสีสันที่จำกัด การออกแบบผลิตภัณฑจากผาทอไทยทรงดำจึง
ตองมีความระมัดระวังเปนพิเศษ โดยเฉพาะในเรื่องของการคงเอกลักษณของชาวไทยทรงดำและ
ความแตกตางของวัฒนธรรมความเช่ือของแตละพ้ืนที่ๆ มีความแตกตางกัน และ คณะผูวิจัยได
ดำเนินการพัฒนารูปแบบผลิตภัณฑจากผาทอไทยทรงดำ 4 ชนิดดังน้ี 1) หมอนอิง 2) กลองกระดาษ
ทิชชู 3) กระเปาสตรี และ 4) เสื้อผา ตามผลการศึกษาความตองการผลิตภัณฑผาทอไทยทรงดำของ
กลุมลูกคาเปาหมายใน 5 พื้นที่ ซ่ึงพบวากลุมลูกคาเปาหมายมีความตองการผลิตภัณฑจากผาทอไทย
ทรงดำสูงสุดลำดับแรกไดแก (1) หมอนอิง (2) กลองกระดาษ ทิชชู (3) กระเปาสตรี (4) เสื้อ และ (5)
กางเกง ในสวนของระดับราคาของผลิตภัณฑผาทอไทยทรงดาที่กลุมลูกคาเปาหมายตองการมากท่ีสุด
คือ 201 – 300 บาทตอ ชน้ิ

ใจภักดิ์ บุรพเจตนา (2559) การพัฒนาผลิตภัณฑส่ิงทอประเภทของท่ีระลึก ของชุมชนบาน
หาดเส้ียว ผูวิจัยไดสำรวจความตองการเบื้องตน และสรุป วิเคราะหความตองการของผบู รโิ ภคในดาน
ตาง ๆ จากผลสรุปดังกลาว จึงใชร ูปแบบลวดลายท่ีผสมผสานระหวางแบบดั้งเดิมกับการประยุกตใหม
โดยนำลวดลายตนแบบที่ไดจากการทำวิจัย ในป 2553 มาใชเปนลวดลายหลกั ในการออกแบบ โดยใช
เฉพาะโครงราง ของลาย เพื่อคงลักษณะแบบดัง้ เดมิ บางสวนไวร วมกับการกำหนดกลุมสีใหมใ หมคี วาม
กลมกลืน ออนหวาน สดใสและดูหรูหรา เทคนิคการผลิตลวดลายใชนวัตกรรมการพิมพดวยระบบ

51

ดิจิตอล และการพิมพระบบสกรีนลายดวยสีฟรอยสามารถผลิตไดรวดเร็ว ชวยลดตนทุนการผลิตลง
ทำใหสนิ คามีราคาไมสูง รวมการปก ตกแตงลวดลายดวยวัสดุตางๆ ท่ีชวยเพิ่มความประณีต สวยงามท่ี
ดูเปน สินคาท่ีใชกรรมวิธีสมัยใหมแตยังคงมีลักษณะของงานฝมือรวมอยูดวย ในดานประเภทของ
ผลิตภัณฑออกแบบเปนผลิตภัณฑประเภท เครื่องใชและเครื่องประดับตกแตง ไดแก หมอนอิงรูปทรง
สามเหลี่ยมและส่ีเหล่ียม กระเปารูปทรงสามเหลี่ยมและหาเหล่ียม รวมถึง กลองผาเอนกประสงค
3 ขนาด ดานวัสดทุ น่ี ำมาใชมี 2 ชนิด คือผาฝายจากใยธรรมชาตทิ ี่มคี ุณสมบัตนิ มุ เปนธรรมชาติสะดวก
ใน การดูแลรักษา และผาไหมซาติน ผาไหมญี่ปุนจากใยสังเคราะหเปนผาท่ีสะดวกในการใชงาน มี
ผวิ สัมผัส นมุ มันวาว ใหความรูส ึก หรหู รา เหมาะสมกับการผลิตเปน ของท่ีระลึก และมรี าคาไมสงู ทำ
ใหสามารถควบคุมตนทุนการผลิตใหมีราคาที่เหมาะสม เฉลี่ย ระหวางราคา 100–1,000 บาท ซึ่งเปน
ความตองการโดยรวม จากผลสรุปแบบสอบถามผูบริโภค จากผลงานตนแบบการพัฒนาผลิตภัณฑส่ิง
ทอประเภทของที่ระลึก ของชุมชนบานหาดเสี้ยว จังหวัดสุโขทัย นอกจากจะเปน แนวทางในการ
พัฒนาส่ิงทอพื้นถิ่นใหมีรูปแบบเหมาะสมกับความนิยมในปจจุบันแลว ยังเปนทางเลือกสำหรับ
ผูบริโภคที่นิยมสินคา เชิงวัฒนธรรม รวมถึงเปนประโยชนเชิงวิชาการ ที่สามารถนำผลการวิจัยไปตอ
ยอด พัฒนาแนวคิด และนำไปใชเปนแนวทางในการ ออกแบบในการพัฒนางานดานสิ่งทอพื้นถิ่นใน
รูปแบบอืน่ ๆ ท้ังนเ้ี พื่อเปนการสง เสรมิ สินคาตามนโยบายเศรษฐกจิ สรางสรรคข องประเทศตอ ไป

สุจินดา เจียมศรีพงษ และคณะ (2558) ผลการวิจัยพบวา ผลิตภัณฑจากภูมิปญญาทองถ่ิน
นับวันจะสูญหายไป เนื่องจากไมมีผูสืบทอด และไมเปนที่นิยมของคนรุนหลัง ทำใหลดการผลิตลง
ประกอบกบั มีการเปลี่ยนแปลงในกระบวนการผลิตจากการทอมอื เปนทอดวยเครื่องจักร ทำใหปรมิ าณ
การผลิตผาทอมีมากขึ้นและเร็วขึ้น ทำใหราคาผาทอที่ผลิตโดยเครื่องจักรมีราคาถูกกวาผาทอมือ
ผูบริโภคสวนใหญหันไปใชผลิตภัณฑผาทอท่ีผลิตโดยเคร่ืองจักรแทนสงผลถึงการผลิตแบบดั้งเดิม
ดังนั้น การพัฒนาผลิตภัณฑจากภูมิปญญาทองถิ่นใหกลับมานิยมอีกครั้ง จำเปนตองทำการสราง
ผลิตภัณฑเหลานี้ใหเกิดการยอมรับ ตระหนักถึงคุณคาและมูลคาของผลิตภัณฑมากขึ้น จึงทำใหเกิด
การอนุรักษผลิตภัณฑที่เกิดจากภูมิปญญาทองถ่ินใหคงอยูกับชุมชน และทำใหชุมชนมีรายไดเพิ่มขึ้น
วัตถุประสงคของการศึกษาน้ี เพ่ือคนหาเอกลักษณและการส่ือความหมายของลวดลายผาทอลาย
โบราณ และเพ่ือสรางมูลคาเพิ่มโดยการพัฒนาผลิตภัณฑจากผาทอลายโบราณสูเชิงพาณิชย โดย
ทำการศึกษาเชิงคุณภาพโดยใชกลุมประชากร กลุมทอผาบานภูผักไซ ตำบลหินฮาว อำเภอหลมเกา
จังหวัดเพชรบูรณ จำนวน 25 ครัวเรือน ผลการวิจัย พบวา เอกลักษณของลวดลายผาไทยโบราณของ
กลุมบานภูผักไซนั้น เปนผาซ่ินหัวแดงตีนกาน มีเอกลักษณเฉพาะตัว มีลายจำนวน 12 ลายบนผืน
เดียวกัน ไดแ ก ลายนาค ลายหงษ ลายหมากจับ (เด่ียว/คู) ลายตุม ลายขอ ลายหอประสาท ลายเอี่ยว
ลายขาเปย ลายเฟยง (คว่ำ/หงาย) ลายค่ัน ลายดอกแกว ลายดอกผักแวน เรียกวา ลายหมี่ครัว และ
แนวทางในการสรางมูลคาเพิ่มสูเชิงพาณิชยเนน การสรางคุณคาทางดานผลิตภัณฑ จาก 5 แนวทาง

52

คอื การปรบั ลดจำนวนลวดลายบนผืนผาลง การพฒั นาลายเดียวใหเ ปนลายใหม จนไดพ ัฒนาเปน ลาย
ดอกผักแวน และลายหอปราสาทเปนผลิตภัณฑใหม คือ ลายภูผาไชย และลายดอกผักไซ และได
ทดลองนำผลิตภัณฑใหม คือ ลายผาที่ไดพัฒนาจากลายโบราณเดิม พัฒนาเปนหมอนอิง โซฟา ที่ใส
ไอแพท เปน ตน และการสรา งโลโกใหกบั ผลติ ภณั ฑผ าทอเพอ่ื สรา งการจดจำ

53

บทท่ี 3
วธิ ดี ำเนนิ การ

โครงการครง้ั นม้ี วี ตั ถุประสงคเ พอ่ื พัฒนารูปแบบผลติ ภณั ฑผาฝายทองถ่นิ ใหเ หมาะสมกับการ
ใชง านของอาคารฝก ปฏิบัติการโรงแรม เพอ่ื สรา งผลติ ภณั ฑผ า พนั เหยอื กจากผา ฝา ยทอ งถ่ินใหส ะดวก
ตอการใชงานอาคารฝกปฏิบัตกิ ารโรงแรม และเพ่ือเพิ่มมูลคา ใหผา ฝายทอ งถิ่นเปนผลติ ภัณฑผา พัน
เหยอื กเพือ่ การบริการ ซง่ึ ผูจดั ทำโครงการไดดำเนินการศกึ ษาดังนี้

3.1 กลมุ ตวั อยาง
3.2 เครอื่ งมอื ท่ใี ชในดำเนินโครงการ
3.3 ขน้ั ตอนการดำเนนิ โครงการ
3.4 การเกบ็ รวบรวมขอมูล
3.5 สถิตแิ ละการวเิ คราะหขอมลู

3.1 กลมุ ตวั อยาง
กลุมตัวอยางของโครงการผาพันเหยือกจากผาฝายทองถิ่น ไดแก กลุมอาจารย /บุคลากร

และนกั เรียน นกั ศกึ ษาสาขาวชิ าการโรงแรมวิทยาลัยอาชีวศึกษาเชยี งใหม จำนวน 50 คน โดยวธิ ีการ
เลอื กแบบการสมุ ตัวอยางแบบงาย

3.2 เครอ่ื งมอื ที่ใชใ นดำเนินโครงการ
3.2.1 แบบสำรวจรปู แบบผาพันเหยือก โครงการผา พันเหยอื กจากผาฝา ยทอ งถ่นิ
3.2.2 แบบสอบถามความพึงพอใจการใชผาพันเหยือก โครงการผาพันเหยือกจากผาฝาย

ทอ งถิ่น
ผูจดั ทำโครงการใชแบบสำรวจรูปแบบผาพันเหยือก แบบความพึงพอใจการใชผา พันเหยอื ก

เปนเครื่องมือเพื่อรวบรวมขอมูลจากกลุมตัวอยาง เพื่อสอบถามความคิดเห็นตาง ๆ ซึ่งมีการเก็บ
รวบรวมขอมูลจากการสำรวจรปู แบบผาพันเหยอื ก และแบบสอบถามความคิดเห็นเกีย่ วกับความพงึ
พอใจของผาพันเหยือกจากผาฝายทองถิ่น โดยผูจัดทำโครงการไดแยกแบบสำรวจรูปแบบผาพัน
เหยือก และแบบสอบถามความพงึ พอใจการใชผ า พนั เหยอื กออกเปน สวน ดงั น้ี

แบบสำรวจรูปแบบผา พนั เหยือก ประกอบไปดวย 2 สวน
สว นท่ี 1 ขอ มูลสว นบคุ คลของผูตอบแบบสอบถาม โดยสอบถามเก่ียวกบั เพศ สถานะภายใน
วทิ ยาลัย โดยทผ่ี ูตอบไดเ ลือกตอบตามความเปน จริง (Check-list)
สว นที่ 2 ขอมูลเกย่ี วกบั การสำรวจรูปแบบผาพนั เหยือก ผจู ัดทำโครงการไดใชม าตราวัดแบบ
คาความถี่ และคารอ ยละ

54

แบบสอบถามความพึงพอใจการใชผ า พนั เหยอื ก ประกอบไปดวย 3 สวน
สวนที่ 1 ขอมูลสวนบุคคลของผูตอบแบบสอบถาม โดยสอบถามเกี่ยวกับเพศ สถานะใน
วิทยาลยั โดยท่ีผตู อบไดเ ลือกตอบตามความเปน จริง (Check-list)
สวนที่ 2 ขอ มลู เก่ียวกบั การตอบแบบสอบถามความคิดเหน็ ผูจัดทำโครงการไดใชมาตราวัด
แบบ Rating scale 5 ระดับ ตามมาตราวัดแบบลิเคิรท (Likert’s Scale) อางจาก ทัศนีย วงคสอน
(2562) ในการวดั ระดับความพงึ พอใจ ดังน้ี
5 หมายถึง มากที่สดุ
4 หมายถึง มาก
3 หมายถงึ ปานกลางหรอื พอใช
2 หมายถงึ นอยหรอื ตำ่ กวา มาตรฐาน
1 หมายถึง นอ ยทสี่ ดุ หรือตองปรบั ปรงุ แกไข
เกณฑก ารประเมินแบบสอบถามความคดิ เห็น มี 5 ระดับโดยผูจ ดั ทำโครงการไดเลือกวิธีการ
ของเร็นสสิ เอ ลเิ คริ ท ดังน้ี (Likert, Rensis A.) อา งจาก ทศั นยี  วงคส อน (2562)
4.50 – 5.00 หมายถึง เห็นดว ยอยรู ะดับมากทีส่ ดุ
3.50 – 4.49 หมายถึง เห็นดวยอยรู ะดบั มาก
2.50 – 3.49 หมายถึง เห็นดวยอยูร ะดบั ปานกลาง
1.50 – 2.49 หมายถึง เห็นดว ยอยูระดับนอ ย
1.00 – 1.49 หมายถึง เหน็ ดว ยอยรู ะดับนอ ยมาก
สวนท่ี 3 ขอเสนอแนะซ่ึงเปน คำถามปลายเปด เพอ่ื ใหผตู อบแบบสอบถามแสดงความคิดเห็น
การสรางเครอ่ื งมือในการเก็บรวบรวมขอ มูลครงั้ นี้ โดยมกี ารสรา งเครื่องมือดงั นี้
1) ศกึ ษาแนวคิด ทฤษฎี เก่ยี วกับผา ฝายทองถ่ิน การพันผา พันเหยอื ก และความพึงพอใจการ
ใชผาพนั เหยือก และความคดิ เห็นของผตู อบแบบสอบถาม
2) ผูจัดทำโครงการไดจัดทำแบบสำรวจรูปแบบผาพันเหยือก เกี่ยวกับรูปทรง สี ลวดลาย
และการแสดงสัญลักษณของวทิ ยาลยั และจัดทำแบบสอบถามความพึงพอใจการใชผ า พนั เหยือก
3) นำแบบสอบถามที่จัดทำขึ้นใหกับอาจารยประจำวิชา เพื่อตรวจสอบความถูกตองตาม
เน้ือหาและนำมาปรบั ปรงุ แกไ ขใหสมบรู ณ
4) นำแบบสอบถามท่ีปรบั ปรุงแกไ ขแลว เสนอตออาจารยประจำวิชาอกี ครั้ง เพื่อตรวจสอบ
ความเทีย่ งตรงของเนื้อหาพรอมพจิ ารณาความถูกตองชัดเจนของภาษาท่ใี ช

3.3 ข้ันตอนการดำเนนิ โครงการ
1) การวางแผน (P)
- กำหนดช่อื เรือ่ งและศึกษารวบรวมขอมลู ปญ หา ความสำคัญของโครงการ

55

- เขียนแบบเสนอโครงการ
- ขออนุมตั ิโครงการ
2) ข้นั ตอนการดำเนนิ การ (D)
- จัดทำแบบสำรวจรูปแบบผาพันเหยือก เกี่ยวกับรูปทรง สี ลวดลาย และการแสดง
สัญลักษณของวิทยาลัย สอบถามความคิดเห็นของอาจารย/บุคลากรในแผนก และนักศึกษา
ฝกปฏบิ ัติการอาคารโรงแรม
- ศกึ ษา ออกแบบ / ตดั เยบ็ ผาพันเหยอื กจากผาฝา ยทอ งถิน่ ประเมนิ ผลและปรบั รปู แบบ
- ตัดเย็บผาพันเหยอื กจากผาฝา ยทองถ่นิ ประเมนิ ผลและปรบั รปู แบบ
- ทดลองใชผ าพันเหยือกจากผา ฝา ยทอ งถน่ิ
3) ขน้ั ตอนการตรวจสอบ (C)
- ใหกลุมอาจารย/บุคลากรในแผนก และนักศึกษาฝกปฏิบัติการอาคารโรงแรมทดลอง
ใชงานผาพนั เหยอื กจากผา ฝา ยทอ งถิน่
- ประเมินความพงึ พอใจผูใ ชง านผาพนั เหยอื กจากผา ฝา ยทอ งถ่ิน
4) ข้นั ตอนประเมินติดตามผล (A)
- สรปุ ผลการประเมนิ ความพงึ พอใจผูใชงานผาพันเหยอื กจากผาฝา ยทอ งถิน่
- จดั ทำเลมโครงการ
- นำเสนอและเผยแพรใ หกบั อาคารปฏิบัตกิ ารโรงแรม วทิ ยาลยั อาชวี ศึกษาเชยี งใหม

3.4 การเกบ็ รวบรวมขอมูล
ผจู ัดทำโครงการไดดำเนินการเก็บรวบรวมขอ มลู การทำโครงการนี้ อยางเปน ขัน้ ตอนดังน้ี
3.4.1 ผจู ดั ทำโครงการประเมินแบบสำรวจรูปแบบผาพันเหยอื ก เกี่ยวกับรูปทรง สี ลวดลาย

และการแสดงสัญลักษณของวิทยาลัย โดยวิธีการแสกนคิวอารโคด ใหผูตอบแบบสอบถามออนไลน
ตอบแบบสอบถามดว ยตนเอง แลว จดั ทำรปู แบบผา พนั เหยอื กตามรูปแบบจากแบบสำรวจ

3.4.2 ผูจัดทำโครงการทำการแจกแบบสอบถามใหกับกลุม ตัวอยางไดแกอาจารย/บคุ ลากร
นกั เรียน-นักศกึ ษา สาขาวชิ าการโรงแรมวทิ ยาลยั อาชีวศึกษาเชียงใหม โดยวธิ ีการแสกนควิ อารโ คด ให
ผตู อบแบบสอบถามออนไลนตอบแบบสอบถามดวยตนเอง

3.4.3 การรวบรวมแบบสอบถาม ผูจดั โครงการไดรวบรวมแบบสอบถามดวยตนเอง
3.4.4 ตรวจสอบความสมบูรณของแบบสอบถาม เพอ่ื นำขอมูลไปวเิ คราะหทางสถิติ
3.5 สถติ แิ ละการวิเคราะหขอ มลู
ขอมลู ที่ไดจ ากการรวบรวม ผจู ดั ทำโครงการไดทำการตรวจสอบความเรียบรอยสมบูรณของ
แบบสอบถาม และนำขอมูลมาประมวลผลวิเคราะหดวยโปรแกรมคอมพิวเตอรสำเร็จรูปสำหรับ
การคิดคารอ ยละ การหาคา เฉลี่ย (Mean) ดังนี้

56

3.5.1 การวิเคราะหข อมูลสว นท่ี 1 ขอมูลสว นบคุ คลในการวเิ คราะห ไดแ ก การหาคาความถี่
(Frequency) และคารอ ยละ (Percentage)
สูตรการหาคารอยละ

เมอื่ P แทน รอยละ
F แทน ความถท่ี ่ีตอ งการแปลคา ใหเ ปนรอยละ
n แทน จำนวนขอ มูลทง้ั หมด

3.5.2 การวิเคราะหขอมูลสวนที่ 2 แบบสอบถามความพึงพอใจของผูทดลองใชงาน คือ กลุม
อาจารย /บุคลากร และนักเรยี น นักศึกษาสาขาวชิ าการโรงแรมวิทยาลัยอาชีวศกึ ษาเชยี งใหม จำนวน
50 คน

ในการวิเคราะห ไดแก การหาคาเฉลย่ี (Mean) และเบ่ยี งเบนมาตรฐาน (SD)
สูตรการหาคา เฉลยี่

เมอื่ x แทน คาเฉล่ยี
∑x แทน ผลรวมทัง้ หมดของความถ่ี คณู คะแนน
N แทน ผลรวมทงั้ หมดของความถซ่ี ึ่งมคี าเทา กบั จำนวนขอมลู ทงั้ หมด

สูตรการหาสว นเบยี่ งเบนมาตรฐาน

เมือ่ S.D. แทน สว นเบีย่ งเบนมาตรฐาน

N แทน จำนวนคูทัง้ หมด
X แทน คะแนนแตละตัวในกลุม ขอมลู
∑x แทน ผลรวมของความแตกตางของคะแนนแตละคู

57

3.5.3 การวิเคราะหขอมูล สวนที่ 3 ขอเสนอแนะ ซึ่งเปนคำถามปลายเปดเพื่อใหผูตอบ
แบบสอบถามความพงึ พอใจเกี่ยวกบั การใชงานผา พันเหยือกจากผาฝา ยทอ งถ่ิน โดยผจู ดั ทำโครงการ
ไดว เิ คราะหข อ มูลในรปู แบบเชิงพรรณนาบรรยายตามเหตุผลของผตู อบแบบสอบถาม

58

บทที่ 4
ผลการดำเนินการ

โครงการคร้ังน้ีมีวัตถุประสงคเพ่ือพัฒนารูปแบบผลิตภัณฑผาฝายทองถ่ินใหเหมาะสมกับ
การใชในงานบริการอาหารและเคร่ืองดื่มของอาคารฝกปฏิบัติการโรงแรม เพ่ือสรางผลิตภัณฑ

ผา พันเหยอื กจากผาฝา ยทอ งถิน่ ใหสะดวกตอการใชง านอาคารฝก ปฏิบัตกิ ารโรงแรม และเพ่ือเพิ่มมลู คา
ใหผาฝายทองถ่ินเปนผลิตภัณฑผาพันเหยือกเพ่ือการบริการอาหารและเครื่องดื่ม ผูจัดทำโครงการ
ไดม ผี ลการดำเนนิ การศกึ ษาแบงเปน 3 ตอน ดังน้ี

ตอนท่ี 1 ผลการวเิ คราะหการสำรวจรปู แบบผา พนั เหยอื กสำหรบั ใชในงานบรกิ ารอาหารและ
เครื่องดม่ื

ตอนท่ี 2 ผลการวิเคราะหแบบสอบถามความพึงพอใจการใชผาพันเหยือกในงานบริการ

อาหารและเครอ่ื งด่ืม
ตอนที่ 3 ผลการวิเคราะหขอเสนอแนะการใชผา พันเหยอื ก

ตอนที่ 1 ผลการวิเคราะหการสำรวจรูปแบบผาพันเหยือกสำหรับใชในงานบริการอาหารและ
เครื่องดม่ื

ผูจัดทำโครงการไดศึกษาขอมูลสวนบุคคล และรูปแบบผาพันเหยือกเกี่ยวกับรูปทรงของ

ผาพันเหยือก สี วัสดุท่ีใช ลักษณะและรูปแบบการแสดงโลโกในผาพันเหยือก ไดผลการวิเคราะห

ดังน้ี

ตารางที่ 1 แสดงคา ความถ่ีและรอ ยละของผลสำรวจรูปแบบผาพันเหยอื กจำแนกตามดา นเพศของผูใหข อมูล

เพศ จำนวน (คน) รอ ยละ
ชาย 11 22.00

หญงิ 39 78.00
รวม 50 100.00

จากตารางท่ี 1 ผลการวิเคราะหคาความถ่ีและรอ ยละของการสำรวจรูปแบบผาพันเหยือก
สำหรบั ใชใ นงานบรกิ ารอาหารและเครือ่ งดื่มจำแนกตามเพศของใหข อ มลู พบวา ผใู หขอ มลู สวนใหญเ ปน

เพศหญงิ จำนวน 39 คน คดิ เปนรอ ยละ 78.00 และเพศชาย จำนวน 11 คน คิดเปนรอ ยละ 22.00

59

ตารางที่ 2 แสดงคาความถี่และรอยละของผลสำรวจรูปแบบผาพันเหยือกจำแนกตามสถานะใน

วทิ ยาลัยอาชีวศึกษาเชียงใหมของผูใหข อมลู

สถานะในวิทยาลยั จำนวน (คน) รอยละ

นักศึกษา 46 92.00

อาจารย/ บคุ ลากรทางการศกึ ษา 4 8.00

รวม 50 100.00

จากตารางที่ 2 ผลการวิเคราะหขอมูลคาความถี่และรอยละของผลสำรวจรปู แบบผาพันเหยือก
สำหรับการใชในงานบริการอาหารและเครื่องดม่ื จำแนกตามสถานะในวิทยาลัยอาชีวศกึ ษาเชียงใหม
ของผูใหขอมูล พบวาผูใหขอมูลสวนใหญเปนนักศึกษา จำนวน 46 คน คิดเปนรอยละ 92.00 และ
อาจารย/ บคุ ลากรทางการศกึ ษา จำนวน 4 คน คดิ เปนรอ ยละ 8.00

ตารางท่ี 3 แสดงคา ความถแี่ ละรอ ยละของผลสำรวจรปู แบบผาพนั เหยอื กจำแนกตามรปู ทรงของผาพันเหยอื ก

รายการ จำนวน (คน) รอยละ
รูปทรงผา สามเหล่ียม 46 92.00

รปู ทรงผาสี่เหลี่ยมผืนผา 4 8.00
รวม 50 100.00

จากตารางท่ี 3 แสดงคาความถ่ีและรอยละของผลสำรวจรูปแบบผาพันเหยือกจำแนกตาม
รปู ทรงของผา พันเหยอื ก พบวา ผใู หข อมูลสว นใหญเ หน็ วาผาพนั เหยอื กควรมีรูปทรงเปน ผา สามเหลยี่ ม
จำนวน 46 คน คดิ เปนรอยละ 92.00 และรูปทรงเปน ผาส่ีเหล่ียมผืนผา จำนวน 4 คน คิดเปน รอยละ 8.00

ตารางท่ี 4 แสดงคา ความถ่ีและรอยละของผลสำรวจรูปแบบผาพันเหยอื กจำแนกตามสีท่ีใชทำผา พันเหยอื ก

สมี วง รายการ จำนวน (คน) รอ ยละ
สขี าว รวม 23 46.00
สคี รมี 11 22.00
สดี ำ
สีนำ้ เงนิ 14 28.00
สีชมพู 0 0.00

2 4.00
0 0.00
50 100.00

60

จากตารางท่ี 4 แสดงคาความถ่แี ละรอยละของผลสำรวจรูปแบบผาพันเหยือกจำแนกตามสี
ท่ีใชทำผาพันเหยือก พบวาผูใหขอมูลมีความคิดเห็นเกี่ยวกับสีที่ใชทำผาพันเหยือกเรียงตามลำดับ

จากมากไปนอย คือ สีมวง จำนวน 23 คน คิดเปนรอยละ 46.00 รองลงมา สีครีม จำนวน 14 คน
คิดเปนรอยละ 28.00, สีขาว จำนวน 11 คน คิดเปนรอยละ 22.00 และสีน้ำเงิน จำนวน 2 คน
คิดเปน รอยละ 4.00 สว นสีดำ และสชี มพูไมมีผูใดมคี วามเห็นใหใ ชส ีในการทำผา พนั เหยือก

ตารางที่ 5 แสดงคาความถ่ีและรอยละของผลสำรวจรูปแบบผาพันเหยือกจำแนกตามลักษณะของ
ผาที่ใชทำผา พนั เหยอื ก

รายการ จำนวน (คน) รอ ยละ
สีพืน้ ลวดลายธรรมดา 27 54.00

ผาฝา ยลายสายฝน 14 28.00
ผาฝายพมิ พล ายดอกไม 5 10.00

ผา ฝายพมิ พล ายดอกสไตลญป่ี ุน 2 4.00
ผา ฝายพิมพล ายใบไม 1 2.00

ผาฝายพมิ พลายจุด 1 2.00
รวม 50 100.00

จากตารางที่ 5 แสดงคาความถี่และรอยละของผลสำรวจรูปแบบผาพันเหยือกจำแนกตาม
ลักษณะของผาทใ่ี ชทำผาพันเหยือก พบวา ผูใหข อมลู มคี วามคดิ เหน็ เก่ยี วกับลักษณะทใ่ี ชท ำผาพันเหยือก
เรียงตามลำดับจากมากไปนอย คือ สีพื้น ลวดลายธรรมดา จำนวน 27 คน คิดเปนรอยละ 54.00
รองลงมาเปนผาฝายลายสายฝน จำนวน 14 คน คิดเปนรอยละ 28.00, ผาฝายพิมพลายดอกไม

จำนวน 5 คน คดิ เปนรอยละ 10.00, ผาฝายพิมพลายดอกสไตลญี่ปุน จำนวน 2 คน คิดเปนรอ ยละ
4.00 และผาฝา ยพมิ พล ายใบไม กับผาฝายพมิ พลายจุด จำนวนเทา กันท่ี จำนวน 1 คน คิดเปน รอ ยละ
2.00 ตามลำดับ

61

ตารางที่ 6 แสดงคาความถแี่ ละรอยละของผลสำรวจรูปแบบผา พันเหยอื กจำแนกตามรปู แบบลวดลาย
ของโลโก

รายการ จำนวน (คน) รอยละ
ตราวทิ ยาลยั 6 12.00
ตราแผนกโรงแรม 41 82.00

ลายดอกไม 2 4.00
ลายไทย 1 2.00
50 100.00
รวม

จากตารางที่ 6 แสดงคาความถ่ีและรอยละของผลสำรวจรูปแบบผาพันเหยือกจำแนกตาม
รูปแบบลวดลายของโลโกทจี่ ะแสดงบนผาพนั เหยือก พบวา ผูใหข อ มลู สวนใหญมีความคดิ เห็นวาควร

แสดงโลโกเปนตราแผนกโรงแรม จำนวน 41 คน คิดเปนรอยละ 82.00 รองลงมาเปนตราวิทยาลัย
จำนวน 6 คน คิดเปนรอยละ 12.00, ลายดอกไม จำนวน 2 คน คิดเปนรอ ยละ 4.00 และลายไทย
จำนวน 1 คน คดิ เปน รอ ยละ 2.00 ตามลำดับ

ตารางที่ 7 แสดงคา ความถ่ีและรอยละของผลสำรวจรูปแบบผาพันเหยือกจำแนกตามรปู แบบการจัดทำ
โลโกท ี่แสดงบนผา พันเหยอื ก

รายการ จำนวน (คน) รอ ยละ
สกีน 10 20.00

ปก 40 80.00
รวม 50 100.00

จากตารางท่ี 7 แสดงคาความถี่และรอยละของผลสำรวจรูปแบบผาพันเหยือกจำแนกตาม
รูปแบบการจัดทำโลโกที่จะแสดงในผาพันเหยือก พบวาผูใหขอมูลสวนใหญมีความคิดเห็นวา

ควรปกโลโก จำนวน 40 คน คิดเปนรอยละ 80.00 และสกนิ จำนวน 10 คน คดิ เปนรอ ยละ 20.00

62

ตารางที่ 8 แสดงคา ความถแ่ี ละรอยละของผลสำรวจรปู แบบผา พันเหยือกจำแนกตามการออกแบบผา
ทั้งสองดาน

รายการ จำนวน (คน) รอ ยละ
ทั้งสองดานควรมสี ีเดยี วกัน 46 92.00
ดานละสี 4 8.00
50 100.00
รวม

จากตารางท่ี 8 แสดงคาความถ่ีและรอยละของผลสำรวจรูปแบบผาพันเหยือกจำแนกตาม
การออกแบบผา ทง้ั สองดาน พบวา ผใู หข อมูลสวนใหญมีความคิดเหน็ วา ผา พนั เหยือกควรมีสเี ดยี วกัน

ทั้งสองดา น จำนวน 46 คน คดิ เปนรอ ยละ 92.00 และดา นละสี จำนวน 4 คน คิดเปน รอยละ 8.00

ตารางท่ี 9 แสดงคาความถแ่ี ละรอยละของผลสำรวจรปู แบบผา พันเหยอื กจำแนกตามการใชว สั ดุติดยึด

ผา พันเหยือก

รายการ จำนวน (คน) รอ ยละ

ตีนตุกแก 40 80.00

กระดุมตดิ 4 8.00

กระดุมตะกรอ 3 6.00

กระดุมแมเ หล็ก 2 4.00

กระดมุ แปะ 1 2.00

รวม 50 100.00

จากตารางท่ี 9 แสดงคาความถี่และรอยละของผลสำรวจรูปแบบผาพันเหยือกจำแนกตาม
การใชวัสดุติดยึดผาพันเหยือก พบวาผูใหขอมูลสวนใหญควรใชวัสดุติดยึดจากตีนตุกแกมากที่สุด
จำนวน 40 คน คิดเปนรอ ยละ 80.00 รองลงมาควรติดกระดุม จำนวน 4 คน คิดเปนรอ ยละ 8.00,

ใชกระดุมตะกรอ จำนวน 3 คน คิดเปนรอยละ 6.00, กระดุมแมเหล็ก จำนวน 2 คน คิดเปนรอ ยละ
4.00 และกระดมุ แปะ จำนวน 1 คน คดิ เปน รอยละ 2.00 ตามลำดับ

63

ตอนท่ี 2 ผลการวิเคราะหแบบสอบถามความพึงพอใจการใชผาพันเหยือกในงานบริการอาหาร
และเครอ่ื งดืม่

ตารางท่ี 10 ตารางแสดงผลการวเิ คราะหข อมูลสว นบุคคลคา ความถี่และรอ ยละตวั แปรดานเพศของ

ผูตอบแบบสอบถาม

เพศ จำนวน (คน) รอยละ

ชาย 16 32.00

หญิง 34 68.00

รวม 50 100.00

จากตารางท่ี 10 ผลการวเิ คราะหขอ มูลสวนบุคคลคา ความถ่แี ละรอ ยละตวั แปรดานเพศของ
ผูตอบแบบสอบถาม พบวาผูใหขอ มูลสวนมากเปนเพศหญิง จำนวน 34 คน คิดเปนรอยละ 68.00 และ

เพศชาย จำนวน 16 คน คดิ เปนรอยละ 32.00

ตารางที่ 11 ตารางแสดงผลการวเิ คราะหข อมลู สวนบคุ คลคา ความถ่แี ละรอ ยละตัวแปรดานสถานะใน
วิทยาลยั ศึกษาเชียงใหมของผูตอบแบบสอบถาม

สถานะในวทิ ยาลยั จำนวน (คน) รอยละ
นักเรียนระดับ ปวช. 12 24.00
นักศึกษาระดับ ปวส. 34 68.00

อาจารย/บคุ ลากรทางการศกึ ษา 4 8.00
รวม 50 100.00

จากตารางท่ี 11 ผลการวเิ คราะหข อมูลสวนบุคคลคาความถแ่ี ละรอยละตัวแปรดา นสถานะ
ในวิทยาลัยศึกษาเชยี งใหมข องผูตอบแบบสอบถาม พบวา ผูตอบแบบสอบถามสว นใหญเปนนักศึกษา
ระดับ ปวส. จำนวน 34 คน คิดเปนรอยละ 68.00, รองลงมานักเรียนระดับ ปวช. จำนวน 12 คน

คดิ เปนรอ ยละ 24.00 และอาจารย/ บุคลากรทางการศกึ ษาจำนวน4คนคดิ เปน รอยละ 8.00 ตามลำดบั

64

ตารางที่ 12 แสดงผลการวิเคราะหค าเฉลี่ย และสว นเบี่ยงเบนมาตรฐานของผตู อบแบบสอบถามความ
พงึ พอใจการใชผ า พนั เหยอื กสำหรบั การใชใ นงานบรกิ ารอาหารและเครือ่ งดมื่

ท่ี รายการ คา เฉลย่ี S.D. การแปลผล
1 ความสวยงามของผาพันเหยือกจากผา ฝายทอ งถ่นิ


4.52 0.57 มากที่สุด

2 แสดงเคร่อื งหมายโลโกสาขาวิชาการโรงแรมเปน เอกลักษณเฉพาะ 4.56 0.54 มากที่สดุ

เหมาะสมท่ีจะใชงานในอาคารปฏิบัตกิ ารโรงแรมของวทิ ยาลัย

3 สขี องผาฝายและลายปก มีความสวยงามแสดงความเปนลานนาได 4.52 0.57 มากทส่ี ดุ

อยางลงตวั

4 การทำความสะอาดงา ยและจัดเก็บสะดวก 4.50 0.64 มากทส่ี ุด

5 มีความกระชับแนบพอดีกับเหยอื กนำ้ 4.42 0.75 มาก

6 แกปญหาไอน้ำซึมจากเหยอื กได 4.36 0.77 มาก

7 ประหยดั เวลากวาการใชผาพันเหยอื กแบบเดิม 4.62 0.56 มากทส่ี ุด

8 เมอ่ื ซกั แลว ยงั คงรปู ทรงและความสวยงามดงั เดิม 4.12 0.93 มาก

9 สะดวกในการนำมาใชง านในการบริการอาหารและเครือ่ งดื่ม 4.64 0.52 มากทส่ี ุด

10 เปน การเพ่ิมมูลคา ของผาฝายทอ งถ่นิ เพิม่ รปู แบบและชองทางการ 4.34 0.82 มาก

จำหนายใหกับธรุ กจิ รา นอาหารและโรงแรมได

ภาพรวม 4.46 0.14 มาก

จากตารางที่ 12 ผลการวิเคราะหคาเฉลี่ยและสวนเบ่ียงเบนมาตรฐานของผูตอบแบบสอบถาม

ความพึงพอใจการใชผาพันเหยือกสำหรับการใชในงานบริการอาหารและเครื่องด่ืม พบวา

ผูตอบแบบสอบถามมคี วามพึงพอใจตอผา พันเหยอื กในระดับมาก (ภาพรวม x�=4.46) เม่อื จำแนกเปน

รายขอพบวาในเร่ืองความสะดวกในการนำมาใชงานในการบริการอาหารและเคร่ืองด่ืมได

ระดับมากที่สุด (x� = 4.64) รองลงมา การป ระ ห ยัด เวล าก วาก าร ใชผาพันเหยือกแบบเดิม

ระดับมากท่ีสุด (x� = 4.62) แสดงเคร่ืองหมายโลโกสาขาวิชาการโรงแรมเปนเอกลักษณเฉพาะ

เหมาะสมท่ีจะใชงานในอาคารปฏิบัติการโรงแรมของวิทยาลัย ระดับมากที่สุด (x� = 4.56)

ความสวยงามของผาพันเหยือกจากผาฝายทองถิ่นและสีของผาฝายและลายปกมีความสวยงาม

แสดงความเปนลา นนาไดอยา งลงตัวเทากนั ระดับมากท่สี ุด (x� = 4.52) และการทำความสะอาดงา ย

และจดั เกบ็ สะดวก ระดับมากท่ีสดุ (x� = 4.50) ผูใหขอมูลมคี วามพงึ พอใจระดบั มาก คือ ผา พนั เหยือก

มีความกระชับแนบพอดีกับเหยือกน้ำ ระดับมาก (x� = 4.42) แกปญหาไอน้ำซึมจากเหยือกได

65

ระดับมาก (x� = 4.36) เปนการเพิ่มมูลคาของผาฝายทองถิ่นเพ่ิมรูปแบบและชองทางการจำหนาย
ใหกับธุรกิจรานอาหารและโรงแรมได ระดับมาก (x� = 4.32) และเม่ือซักแลวยังคงรูปทรงและ
ความสวยงามดังเดิม ระดบั มาก (x� = 4.12) ตามลำดบั

ตอนท่ี 3 ผลการวิเคราะหขอเสนอแนะการใชผาพันเหยอื ก

ผูตอบแบบสอบถามมคี วามคิดเหน็ หลังจากการใชผา พนั เหยอื กจากผา ฝายทอ งถนิ่ ดงั นี้
ดานความสวยงาม ผาพันเหยือกมีเอกลักษณท่ีโดดเดน เปนโลโกเฉพาะของแผนกโรงแรม
สขี องผาสวยงามตัดกบั ลายปก บนผาพนั เหยือก
ดานประโยชนใชสอย ผาพันเหยือกสามารถใชงานไดจริง มีความสะดวกรวดเร็วกวา
ผาพันเหยือกแบบเดิม และงายตอการทำความสะอาดซักลาง และผูตอบแบบสอบถาม 1 ราย
มคี วามคดิ เห็นวาควรปรบั ปรุงในเรอื่ งลายปกมเี ยอะจนเกินไปไมส มดลุ กับขนาดของผา พันเหยือก

66

บทที่ 5
สรปุ ผล อภปิ รายผลและขอเสนอแนะ

โครงการครั้งนี้มีวัตถุประสงคเพื่อพัฒนารูปแบบผลิตภัณฑผาฝายทองถิ่นใหเหมาะสมกบั
การใชงานของอาคารฝกปฏิบัติการโรงแรม เพื่อสรางผลิตภัณฑผาพันเหยือกจากผาฝายทองถ่ิน
ใหสะดวกตอการใชงานอาคารฝกปฏิบัติการโรงแรม และเพื่อเพิ่มมูลคาใหผาฝายทองถิ่นเปน
ผลิตภัณฑผาพันเหยือกเพื่อการบริการ กลุมตัวอยางที่ใชในการดำเนินโครงการ คือ กลุมอาจารย /
บุคลากร และนักเรียน นกั ศึกษา สาขาวชิ าการโรงแรม วทิ ยาลยั อาชีวศกึ ษาเชยี งใหม จำนวน 50 คน
เครอื่ งมือท่ใี ชในการดำเนินการนป้ี ระกอบไปดว ย แบบสำรวจรปู แบบผาพนั เหยือก และแบบสอบถาม
ความพึงพอใจการใชผาพันเหยือก การใชในงานบริการอาหารและเครื่องด่ืม ผลของการดำเนิน
โครงการมีดงั นี้

สรุปผล
การสำรวจรูปแบบผา พนั เหยอื กการใชใ นงานบริการอาหารและเครือ่ งด่ืม ผใู หข อมลู สวนมาก

เปนเพศหญงิ รอ ยละ 78.00 มสี ถานะในวทิ ยาลัยเปนนักศึกษา รอยละ 92.00 ผลการสำรวจรปู แบบ
เกี่ยวกับสีที่ใชทำผาพันเหยือกคือ สีมวง รอยละ 46.00 ลักษณะของผาที่ใชทำผาพันเหยือกควรใช
สพี ้นื ลายผา ธรรมชาติ รอยละ 54.00 สวนรปู แบบของโลโกทจี่ ะแสดงบนผาพนั เหยอื ก ควรแสดงโลโก
เปนตราแผนกโรงแรม รอยละ 82.00 และปกโลโกลงบนผา รอ ยละ 80.00 ผาพันเหยอื กนำ้ ในชิน้ งาน
ควรมสี ีเดียวกันทั้งสองดา น รอ ยละ 92.00 วสั ดตุ ิดยึดควรใชตนี ตกุ แก รอ ยละ 80.00

ความพึงพอใจการใชผาพนั เหยือกของอาคารฝก ปฏบิ ตั ิการโรงแรม สำหรบั การใชในงานบริการ
อาหารและเครอ่ื งดื่ม ผูตอบแบบสอบถามสวนมากเปน เพศหญงิ รอ ยละ 68.00 มีสถานะในวิทยาลัย
เปนนักศึกษาระดบั ปวส. รอยละ 68.00 จากการใชงานของผา พันเหยอื กมีความพึงพอใจตอผาพัน
เหยือกในระดับมากท่ีสุดในเร่ืองความสะดวกในการใชงาน (x� = 4.64) รองลงมาการประหยัดเวลา
กวาการใชผาพันเหยือกแบบเดิม (x� = 4.62) และแสดงเครือ่ งหมายโลโกสาขาวิชาการโรงแรมเปน
เอกลักษณเ ฉพาะเหมาะสมที่จะใชง านในอาคารปฏบิ ัตกิ ารโรงแรมของวทิ ยาลัย (x� = 4.56)

อภปิ รายผล
ผลการใชงานผาพันเหยือกสำหรับการใชในงานบริการอาหารและเครื่องด่ืม พบวา

ผูต อบแบบสอบถามมคี วามพึงพอใจตอ ผาพันเหยอื กในระดบั มาก (ภาพรวม x�=4.46) เม่อื จำแนกเปนรายขอ
พบวาในเรื่องความสะดวกในการนำมาใชงานในการบริการอาหารและเครื่องดื่มไดระดับมากที่สุด

67

(x� = 4.64) เพราะในการพันผาแบบเดิมมีขั้นตอนหลายขั้นตอนจากการน้ำผาสี่เหลี่ยมมาพับเปน
สามเหลีย่ มแลวนำมาพันรอบเหยอื กมัดใหแ นน ทงั้ น้ีตอ งกะขนาดใหส วยงานผาพันเหยือกจึงจะออกมา
ในรูปแบบพอดแี ละสวยงาม (ตามวธิ ีการพนั ผา พนั เหยอี กในบทที่ 2)

รองลงมา การประหยัดเวลากวาการใชผาพันเหยือกแบบเดิม ระดับมากที่สุด (x� = 4.62)
เพราะในการพันผาแบบเดิมมีวธิ ีการพันหลายขั้นตอน (ตามวิธีการพันผาพันเหยีอกในบทท่ี 2) และ
กอนใชงานตองจัดระเบียบผาพันเหยือกใหพอดีกับเหยือกและสวยงาม ในชวงเวลาที่เรงรีบผาพัน
เหยือกแบบเดิมอาจตอ งใชเวลาในการพันเหยอื กนาน

การแสดงเครื่องหมายโลโกสาขาวิชาการโรงแรมเปนเอกลักษณเฉพาะเหมาะสมที่จะใช
ในงานบริการอาหารและเครื่องดื่มของอาคารปฏิบัติการโรงแรมของวิทยาลัยอาชีวศึกษาเชียงใหม
ระดบั มากท่สี ุด (x� = 4.56) การแสดงเครื่องหมายสญั ลกั ษณเปนการบอกถงึ ทีม่ าของชนิ้ งาน ซึ่งถามี
การนำไปใชง านในสถานท่ตี าง ๆ ภายนอกอาคารปฏิบัติงานโรงแรมกจ็ ะสามารถจดั เก็บคืนมาไดงาย
และยังเปน เอกลักษณข องอาคารปฏิบตั กิ ารโรงแรมดว ย

ความสวยงามของผา พนั เหยอื กจากผาฝา ยทอ งถิ่น สขี องผาฝา ย และลายปก มคี วามสวยงาม
แสดงความเปน ลา นนาไดอยางลงตัวเทากันท่ี ระดับมากที่สุด (x� = 4.52) เพราะผาฝายมีเอกลักษณ
เฉพาะตัวการทอจะมีลายในเนื้อผาที่มาจากเสนฝายมีความงดงาม และมีมิติที่เปนเอกลักษณของ
การทอแตล ะครงั้ สีมว งเขม ของผาฝายกับลายปกสเี หลอื งทองมสี ีสันที่ตัดกันดงึ ความเดนของลายปก
สัญลักษณของแผนกโรงแรมขึ้นมาเปนเอกลักษณเฉพาะตัว สอดคลองกับ (เชียงใหมนิวส : 2563)
ผาฝา ยมักมีอัตลักษณความงดงาม เนอ้ื ผา มมี ติ ิ มคี วามเรยี บหรู ดูมชี ีวติ ชีวา

การทำความสะอาดงายและจดั เก็บสะดวก ระดับมากที่สุด (x� = 4.50) เพราะผาพนั เหยอื ก
มีรูปแบบแตกตางจากผาพันเหยอื กแบบเดิม นั่นคือผา พันเหยือกแบบเดิมมลี ักษณะรูปทรงส่ีเหลี่ยม
แลวนำมาพับเปนสามเหลี่ยม สีของผาเปนสีขาว สวนผาพันเหยือกแบบใหมมีรูปทรงสามเหลี่ยม
สีของผาเปน สมี วง จึงทำความสะอาดหลังจากการใชงานงายกวาแบบเดิมที่เปนสีขาว ประกอบกบั
ผาฝายมีคุณสมบัติในการระบายอากาศที่ดีแหงงา ยจัดเก็บสะดวกกวาเดิม สอดคลอง (วิกิพีเดีย : 2563)
คุณสมบตั ขิ องผาฝาย คือ ระบายอากาศดมี าก ความยดื หยุนสูง นุมสบายซักลา งทำความสะอาดงาย

ผใู หข อมูลมคี วามพงึ พอใจระดบั มาก คือ ผา พันเหยอื กมคี วามกระชบั แนบพอดีกับเหยือกน้ำ
(x� = 4.42) การตัดเย็บผาพันเหยือกครั้งนี้ไดวัดขนาดและตัดเย็บใหพอดีกับขนาดเหยือกของอาคาร
ปฏิบัตงิ านโรงแรมโดยเฉพาะจึงมีความกระชับแนบพอดกี ับเหยือกน้ำ

68

แกปญหาไอนำ้ ซมึ จากเหยอื กได ระดบั มาก (x� = 4.36) เพราะคุณสมบตั ขิ องผา ฝา ยเปน ผา ท่ี
สามารถดูดซบั นำ้ ไดดีแหงเร็ว เมอื่ มไี อนำ้ ซมึ จากเหยอื กออกมาทั้งนีเ้ นื่องมาจากผาพันเหยือกน้ำจาก
โครงการมกี ารตดั เยบ็ สามช้ันดวยกัน จงึ มคี วามหนาเพยี งพอท่จี ะดูดซบั ไอน้ำท่ซี ึมออกจากเหยือกได
ในขณะใชง าน สอดคลองกบั (วิกพิ ีเดีย : 2563) คณุ สมบัตทิ ่ีดขี องผา ฝา ย คอื การดดู ซับนำ้ ดี ซบั เหง่ือ
และระบายอากาศไดดี สามารถซับเหงือ่ ไดดเี ย่ียม

การเพ่มิ มูลคา ของผาฝายทองถิ่นเพิม่ รูปแบบและชองทางการจำหนายใหก ับธุรกิจรานอาหาร
และโรงแรมได ระดบั มาก (x� = 4.32) การออกแบบผลิตภณั ฑใหม ๆ ตอยอดจากผลิตภัณฑทองถ่ิน
อยางผาฝายพันเหยือกนั้นก็เปนอีกอยางที่เพิ่มมูลคาผาฝายจากการที่จำหนายเปนผืนอยางเดียว
การพัฒนารูปแบบผายฝายใหเปนเครื่องใชที่หนวยงานตาง ๆ หรือครัวเรือนนำไปใชงานไดใน
ชีวิตประจำวันนาจะเปนชองทางอีกชองทางหนึ่งในการเพิ่มมูลคา และชองทางการจัดจำหนาย
ใหเพิ่มมากขึ้น สอดคลองกับ (จุรีวรรณ จันพลา :2559) แนวคิดการสรางมูลคาเพิ่มของผลิตภัณฑ
ผาทอไทย พบวา ในการออกแบบเกี่ยวกบั ผลติ ภัณฑจ ากผาทอไทยอันดบั แรกผูออกแบบตองคำนึงถึง
หลักการออกแบบโดยทั่วไปที่สำคัญคือประโยชนใชสอย อีกสวนหนึ่งทีม่ ีความสำคัญที่นักออกแบบ
จะตอ งคำนึงถงึ คือ การคงเอกลกั ษณและการสอื่ ความหมายของลวดลายและสีสนั

เมื่อซักแลวยังคงรูปทรงและความสวยงามดังเดิม (x� = 4.12) ในการนำผาฝายมาทำ
ผาพันเหยือกครั้งนี้ กอนการตัดเย็บตองนำไปซักกอน เพ่ือใหผาคงรูปทั้งนี้คุณสมบัติของผาฝาย
ในการซักครั้งแรก มักจะมีการหดตวั เสมอ สอดคลองกับ (วิกิพเี ดีย : 2563) ผาฝายจะมีการหดตวั เม่ือ
ผา นการซักคร้งั แรก ดงั นั้นกอนการตัดเย็บควรซักกอนเพ่อื ดูความคงตัวของผา ตามลำดับ

ขอเสนอแนะโครงการ
1) ขอ เสนอแนะ
ผตู อบแบบสอบถามมคี วามคดิ เหน็ หลงั จากการใชผาพนั เหยือกจากผาฝา ยทอ งถนิ่ ดงั น้ี
ดานความสวยงาม ผาพันเหยือกมีเอกลักษณที่โดดเดนเปนโลโกเฉพาะของแผนกโรงแรม

สีของผา สวยงามตัดกบั ลายปก บนผา พันเหยือก
ดานประโยชนใ ชสอย ผาพันเหยือกสามารถใชงานในการพันเหยือกนำ้ ไดจริงดูดซับน้ำไดดี

(วิกิพีเดีย : 2563) มีความสะดวกรวดเรว็ กวาผาพันเหยือกแบบเดิม และงายตอการทำความสะอาด
และผตู อบแบบสอบถาม 1 รายมีความคิดเห็นวา ควรปรบั ปรุงในเร่ืองลายปก มีเยอะจนเกินไปไมส มดุล
กบั ขนาดของผา พันเหยอื ก

69

2) ขอเสนอแนะในการศกึ ษาครง้ั ตอไป
การใชผาที่เปนเอกลักษณของชุมชนตาง ๆ ของผูที่สนใจทำโครงการ เชน ผาพันถังใสน้ำ
ขนาด 20 ลิตร ผารองถาด และผาเนปกิ้นทเ่ี ปนอปุ กรณที่ใชใ นโรงแรมวิทยาลยั เปน การแสดงผลงาน
การออกแบบผลติ ภณั ฑใหมแ ละสรางมลู คา เพ่มิ ของผาในชมุ ชน

70

บรรณานุกรม

กติ ติพงษ เกยี รตวิ ิภาค. (2559). การศึกษาและพัฒนาการนำผา ฝา ยทอมือ มาประยุกตใชในการ
สรา งสรรคเ พือ่ พัฒนาผลติ ภณั ฑ กรณีศกึ ษา: กลุมหมูบา นผา ฝา ยทอมอื บา นดอนหลวง
อำเภอปาซาง จงั หวัดลำพนู . (วิทยานพิ นธป รญิ ญามหาบัณฑิต). กรงุ เทพฯ:
มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร.

ใจภกั ด์ิ บรุ พเจตนา. (2559). การพัฒนาผลิตภัณฑส ง่ิ ทอประเภทของที่ระลึก ของชมุ ชนบา นหาด
เสย้ี ว จงั หวดั สโุ ขทยั . วารสารวิชาการศลิ ปะสถาปต ยกรรมศาสตรม หาวิทยาลยั นเรศวร. ปท ี่
7 ฉบับท่ี 1 มกราคม – มิถุนายน 2559.

จุรีวรรณ จันพลา, วลี สงสุวงค, เพ็ญสินี กิจคา, สุรีรัตน วงศสมิง. (2559). การพัฒนารูปแบบ
ผลิตภัณฑผาทอไทยทรงดำเพื่อสรางมูลคาเพิ่มตามแนวทาง เศรษฐกิจสรางสรรค.
วารสารวิชาการVeridian E –Journal, Silpakorn University ฉบับภาษาไทยสาขา
มนุษยศาสตร สังคมศาสตร และศิลปะ ปที่ 9 ฉบับที่ 2 เดือนพฤษภาคม – สิงหาคม พ.ศ.
2559

ณัฏฐว รัตถ แสนเมืองมา. “วิธกี ารตัดเย็บ,การเย็บดน ,การเนา”. (ระบบออนไลน) แหลง ขอมูล.
www.sites.google.com/site/fabricanddressedup/2-1-wasdu-thi-chi-ni-kar-tad-
yeb-seuxpha. สบื คน วันท่ี 10 มกราคม 2564.

ผาทอไทย. (ระบบออนไลน) แหลงขอ มลู . www.guru.sanook.com/2312/ สบื คนวนั ที่ 22
พฤศจิกายน 2563.

ผา ทอบานดอนบอลายรวงขา ว. (ระบบออนไลน) แหลง ขอ มูล. www.isangate.com. สบื คน วนั ท่ี
10 มกราคม 2564.

ผา ฝา ย. (ระบบออนไลน) แหลง ขอ มลู . www.th.wikipedia.org. สบื คน วนั ที่ 10 มกราคม 2564.
ผาและอญั มณไี ทย. (ระบบออนไลน) แหลงขอ มลู . www.thaiunique.wordpress.com.

สืบคนวันท่ี 10 มกราคม 2564.
ผาไหมไทย 4 ภาค. (ระบบออนไลน) แหลง ขอ มลู . www.pthaisilk.blogspot.com.

สืบคนวนั ท่ี 10 มกราคม 2564.
วิวัฒนาการของการทอผาในประเทศไทย. (ระบบออนไลน)์ แหลง ขอมูล.

www.saranukromthai.or.th. สบื คน วันท่ี 10 มกราคม 2564.
ศลิ ปะการทอผา พ้นื เมืองของไทยในปจ จุบนั . (ระบบออนไลน) แหลงขอ มลู .

www.trueplookpanya.com/blog/content/64605 สบื คนวนั ที่ 22 พฤศจกิ ายน 2563

71

สคราญนิตย เลก็ สุทธ.์ิ (2561). การสบื สานภูมปิ ญ ญาทองถิ่นผา ฝา ยทอมือทสี่ อดคลอ งกบั หลักพทุ ธ
ธรรมของกลมุ ผา ฝา ยทอมือบา นหนองเงือก ตำบลแมแ รง อำเภอปาซาง จังหวดั ลำพนู .
(วิทยานิพนธป รญิ ญามหาบณั ฑิต). ธนบรุ ี: มหาวทิ ยาลัยธนบรุ ี

สุจินดา เจียมศรพี งษ และคณะ. (2558). การสรางมลู คาเพม่ิ ของผลิตภณั ฑจ ากภูมิปญญาทอ งถน่ิ
ไทย: กรณศี ึกษาผา ทอลายโบราณ. (วทิ ยานพิ นธป รญิ ญามหาบัณฑิต). พษิ ณโุ ลก:
มหาวิทยาลัยนเรศวร.

อุปกรณก ารตัดเยบ็ . (ระบบออนไลน) แหลงขอมลู . www.bloggang.com. (10 มกราคม 2564
สืบคน).

อุปกรณมาตรฐานทใี่ ชใ นการบริการเคร่อื งดม่ื . (ระบบออนไลน) แหลงขอมูล.
www.trainingreform.com. (10 มกราคม 2564 สืบคน).

72

ภาคผนวก

ประกอบดว ยรายละเอยี ดตา ง ๆ ดังน้ี
ภาคผนวก ก แบบนำเสนอโครงรา งโครงการ
ภาคผนวก ข เคร่ืองมอื ทใ่ี ชใ นการเกบ็ รวบรวมขอมลู
ภาคผนวก ค รูปภาพประกอบการเผยแพรโ ครงการ
ภาคผนวก ง แบบรายงานผลการนำไปใชประโยชน

73

ภาคผนวก ก
แบบนำเสนอโครงรางโครงการ

74

75

แบบเสนอโครงการ

1. ชื่อโครงการ ผา พันเหยือกจากผา ฝา ยทอ งถิ่น

2. ผจู ัดทำโครงการ นางสาวณฎั ฐนิ ี เหลก็ เทศ ระดบั ชัน้ ประกาศนยี บตั รวิชาชพี ขัน้ สูง

ชนั้ ปท ี่ 2 หอง 2 สาขาวิชาการโรงแรม ประเภทวิชาอตุ สาหกรรม

ทอ งเทย่ี ว

3. ครทู ่ปี รึกษาโครงการ นางสาวนพรรณพ ดวงแกวกูล
4. ความเปน มาและความสำคัญของโครงการ

ผาทอพื้นเมือง จัดเปนผลติ ภัณฑท่ีแตละ ครัวเรือนสามารถทำการผลิตเองได สำหรบั ใชใน

การนุง เปนผาซิ่น หรือทำเปนผาหมสำหรับใชคลุมไหลข องสตรี หรือทำเปนผาขาวมาของสภุ าพบุรุษ

ใชในชีวติ ประจำวันในแตละครวั เรือนเทา นั้น ซ่ึงการทอผาสมัยโบราณนนั้ สตรีจะทำการทอผา ในยาม

ท่ีวา งจากการทำการผลิตสินคาหลักของครัวเรือน คือ การทำนา ทำไร (สุจินดา เจียมศรีพงษ และ

คณะ, 2558) ในภาคเหนือ ผาฝายทอของภาคเหนือมคี วามโดดเดนท่ีเปน เอกลักษณของแตละชุมชน

แตลักษณะของสินคา และผลิตภัณฑท่ีไดใชผาฝายทอมือมาสรางสรรค มาทำการแปรรูปที่มีอยู

มักจะมรี ูปแบบของผลิตภัณฑทเี่ หมอื นเดิม และคลายคลึงกนั มาเปนระยะเวลาที่นาน ไมมีการรเิ ร่ิม

สรางสรรคพัฒนา และออกแบบใหเกิดความแตกตางแปลกใหมหรือนาสนใจ ทำใหแตละกลุมผลิต

สินคา ผลิตภัณฑท่ีแปรรูปจากผาฝายทอมือในรูปแบบเดิม ๆ ออกมามากเกินความจำเปน

(กิตติพงษ เกียรติวิภาค, 2559) การพัฒนารูปแบบผลิตภัณฑ และการหากลุมลูกคาใหม ๆ เชน

กลมุ รานอาหาร โรงแรม หรอื ในกลุมที่ตอ งชเู อกลักษณข องทองถ่ินและความเปน ผาทอพน้ื เมืองนาจะ

เปน อกี แนวทางหนง่ึ ทจี่ ะตอ ยอดธรุ กิจผาฝา ยตอไปได

อาคารฝกปฏิบัติการโรงแรมวิทยาลัยอาชีวศึกษาเชียงใหม เปนสถานที่ใชในการ

ฝกปฏิบัติการของนักศึกษาสาขาวิชาการโรงแรม ซ่ึงในการฝกปฏิบัติงานของนักศึกษาสาขาวิชา

การโรงแรม จะประกอบดวย 4 งานสำคัญไดแก งานบริการตอนรับสวนหนา งานแมบาน งานครัว

ประกอบอาหาร และบริการอาหารและเครือ่ งดื่ม ซง่ึ ในงานบริการอาหารและเครอ่ื งดื่มนน้ั นกั ศกึ ษาที่

ฝกปฏิบัติงานในอาคารฝกปฏิบัติการโรงแรมจำเปนท่ีจะตองฝกการใหบริการอาหารและเคร่ืองดื่ม

แกแขก ในการใหบริการอาหารและเคร่ืองด่มื แกแขกนั้นจะตองมีการรินน้ำด่ืม โดยปญ หาท่ีผูจัดทำ

โครงการพบคอื ปญหาการนำผามาพันเยอื กนำ้ ของนกั ศึกษาฝกปฏิบตั ิแตละคนก็มีวิธีการพบั ผาพนั ผา

พันเหยือกในรูปแบบที่ถูกตองและไมถูกตองปะปนกัน ทำใหการพับผาพันเยือกน้ำออกมาไมได

มาตรฐานเกิดรูปแบบที่ออกมาในแตล ะครง้ั ไมเหมอื นกัน และไมสวยงาม

ผูจัดทำโครงการไดเล็งเห็นถึงปญ หาขางตน จึงไดนำเสนอโครงการผาพันเหยือกจากผาฝาย

ทองถนิ่ เพ่อื แกปญ หาโดยพฒั นารปู แบบผลิตภัณฑผาพนั เหยือกจากผาฝายทองถนิ่ ใหเ หมาะสม และ

สะดวกตอการใชงานของอาคารฝกปฏิบัติการโรงแรม เพิ่มมูลคาใหผาฝายทองถิ่นจากผลติ ภัณฑผา

76

พันเหยือก อีกทั้งยังชูเอกลักษณผาฝายของทองถ่ินใหเปนท่ีรูจักแกแขกผูท่ีเขามาพักและเยี่ยมชม
อาคารฝกปฏบิ ัติการโรงแรม และหากมีผูสนใจผลิตภัณฑผาพันเหยือกจากผาฝายทองถิ่นก็สามารถ
ตอยอดเปน ธรุ กจิ ของทร่ี ะลกึ ของอาคารฝก ปฏบิ ัติการโรงแรมไดในโอกาสตอไป

5. วตั ถปุ ระสงคของโครงการ
1) เพื่อพัฒนารูปแบบผลิตภัณฑผาฝายทองถิ่นใหเหมาะสมกับการใชงานของอาคาร

ฝก ปฏิบัตกิ ารโรงแรม
2) เพื่อสรางผลิตภัณฑผาพันเหยือกจากผาฝายทองถ่ินใหสะดวกตอการใชงานอาคาร

ฝก ปฏบิ ัตกิ ารโรงแรม
3) เพ่ือเพ่มิ มลู คา ใหผ าฝายทอ งถนิ่ เปนผลติ ภณั ฑผาพันเหยอื กเพือ่ การบริการ

6. ขอบเขตโครงการ
เปา หมายของโครงการ
1) เชิงปรมิ าณ
- ผลิตภัณฑผา พนั เหยอื กจากผาฝา ยทอ งถ่นิ จำนวน 24 ผืน
2) เชิงคุณภาพ
- ไดผลติ ภัณฑผา พันเหยอื กจากผาฝายทองถ่นิ ทงี่ ายและสะดวกจากการใชง าน และเพ่มิ

มลู คาใหผ า ฝายทองถน่ิ
3) ระยะเวลาและสถานทใี่ นการดำเนินงาน
ระยะเวลาดำเนินงาน ต้งั แตว ันท่ี 16 พฤศจกิ ายน 2563 ถึง 28 กุมภาพนั ธ 2564
สถานท่ดี ำเนนิ งาน - อาคารปฏิบตั ิการโรงแรม วิทยาลัยอาชีวศกึ ษาเชยี งใหม
- ทีอ่ ยูอ าศัยของผูจัดทำ บา นเลขท่ี 61 ม.13 ตำบลบานเหวน
อำเภอหางดง จงั หวดั เชยี งใหม 50230

7. ประโยชนท ่ีคาดวาจะไดร บั
1) อาคารปฏบิ ัติการโรงแรมมผี าพันเหยือกจากผา ฝายทม่ี ีเอกลกั ษณเฉพาะ
2) สรา งเปนรายไดจัดจำหนา ยเปน ของฝากของท่ีระลกึ แกผมู าใชบริการอาคารฝกปฏิบตั ิการ

โรงแรม

8. นิยามศัพท
ผาพันเหยือกจากผา ฝายทองถ่ิน เปนการนำผาฝายทองถิ่นมาทำเปนผาพันเหยือกที่มีความ

สะดวกในการใชงาน โดยตัดเย็บดวยผาฝายทองถิ่น และใชผาซับอีกช้ัน แลวใชแถบหนามเตย
(แถบตนี ตกุ แก) ตดิ แทนการพนั / มดั เหยือก

77

9. วธิ กี ารดำเนินโครงการ
1) การวางแผน (P)

- กำหนดชอ่ื เร่ืองและศึกษารวบรวมขอมลู ปญ หา ความสำคัญของโครงการ
- เขยี นแบบเสนอโครงการ
- ขออนุมตั โิ ครงการ

2) ขัน้ ตอนการดำเนินการ (D)
- ศกึ ษา ออกแบบ / ตดั เยบ็ ผาพันเหยอื กจากผา ฝา ยทอ งถ่นิ ประเมนิ ผลและปรบั รปู แบบ
- ตัดเย็บผาพันเหยอื กจากผา ฝา ยทอ งถ่ิน ประเมนิ ผลและปรบั รูปแบบ

- ทดลองใชผ า พนั เหยอื กจากผา ฝา ยทอ งถิน่
3) ขั้นตอนการตรวจสอบ (C)

- ใหกลมุ อาจารยใ นแผนก และนักศึกษาฝก ปฏิบตั ิการอาคารโรงแรมทดลองใชงาน

ผาพนั เหยือกจากผาฝายทอ งถิน่
- ประเมนิ ความพงึ พอใจผูใชงานผาพันเหยอื กจากผา ฝายทอ งถ่นิ

4) ขั้นตอนประเมินติดตามผล (A)

- สรปุ ผลการประเมนิ ความพงึ พอใจผูใชง านผา พันเหยือกจากผาฝา ยทอ งถน่ิ
- จดั ทำเลมโครงการ
- นำเสนอและเผยแพรใหกบั อาคารปฏบิ ัติการโรงแรม วิทยาลยั อาชีวศึกษาเชียงใหม

10. แผนดำเนินโครงการ

ลำดบั ข้ันตอนดำเนินงาน ระยะเวลาดำเนินการ (สปั ดาหท ่ี 1 – 18)
(P D C A)
1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 17 18

1. การวางแผน (P)

- กำหนดชอื่ เรื่องและศกึ ษารวบรวม

ขอมลู ปญ หา ความสำคญั ของ

โครงการ

- เขยี นแบบเสนอโครงการ

- ขออนุมตั ิโครงการ

2.ข้นั ตอนการดำเนินการ (D)

- ศกึ ษา ออกแบบ / ตัดเยบ็ ผา พัน

เหยือกจากผาฝายทองถน่ิ

ประเมินผลและปรบั รูปแบบ

- ตัดเยบ็ ผาพนั เหยือกจากผา ฝาย

ทองถิ่น ประเมนิ ผลและปรบั รปู แบบ

- ทดลองใชผ าพันเหยือกจากผาฝา ย

ทอ งถ่นิ

78

ลำดับขนั้ ตอนดำเนินงาน ระยะเวลาดำเนนิ การ (สัปดาหท ี่ 1 – 18)

(P D C A) 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 17 18

3. ขนั้ ตอนการตรวจสอบ (C)

- ใหกลุมอาจารยใ นแผนก และ

นกั ศึกษาฝก ปฏิบัตกิ ารอาคาร

โรงแรมทดลองใชงานผา พันเหยือก

จากผาฝา ยทองถ่นิ

- ประเมนิ ความพึงพอใจผใู ชงานผา

พันเหยือกจากผาฝา ยทองถิน่

4. ข้นั ตอนประเมินติดตามผล (A)

- สรปุ ผลการประเมนิ ความพงึ พอใจ

ผูใชงานผา พนั เหยอื กจากผา ฝา ย

ทองถ่ิน

- จดั ทำเลม โครงการ

- นำเสนอและเผยแพรใ หก บั อาคาร

ปฏบิ ตั กิ ารโรงแรม วทิ ยาลัย

อาชีวศกึ ษาเชียงใหม

11.งบประมาณ จำนวน 2,000 บาท
รายจา ย

- ผา ฝา ย 900 บาท

- ผา ซับ 300 บาท

- คาออกแบบ ตัดเยบ็ และปก โลโก 600 บาท

- เอกสารการพมิ พ 200 บาท

รวมงบประมาณ 2,000 บาท

(สองพนั บาทถวน)

หมายเหตุ
* ขอความอนเุ คราะหทดสอบการใชอ ปุ กรณ (เหยอื กนำ้ ) จากแผนกวชิ าการโรงแรม วทิ ยาลยั

อาชีวศึกษาเชยี งใหม

** งบประมาณทใ่ี ชทง้ั หมดผดู ำเนินโครงการเปนผรู บั ผดิ ชอบเองทง้ั สนิ้

12. การติดตามประเมินผล
- แบบประเมนิ ความพึงพอใจของผทู ท่ี ดลองใชผา พนั เหยอื กจากผาฝายทอ งถ่นิ

79

13. เอกสารอา งอิง
กิตติพงษ เกียรติวิภาค. “การศึกษาและพัฒนาการนำผาฝายทอมือ มาประยุกตใชใน

การสรางสรรคเพื่อพัฒนาผลิตภัณฑ กรณีศึกษา: กลุมหมูบาน ผาฝายทอมือบานดอนหลวง
อำเภอปาซาง จังหวดั ลำพนู ”. กรุงเทพฯ : ศลิ ปกรรมสาร ปท่ี 11 ฉบบั ท่ี 1 คณะศิลปกรรมศาสตร
มหาวิทยาลยั ธรรมศาสตร. (2559).

ตระกลู พันธ พชั รเมธา. “การสรา งภาพลกั ษณผ ลิตภณั ฑเ พ่ือกำหนดแนวคิด การออกแบบ”.
กรุงเทพฯ : ศลิ ปกรรมสาร ปท ี่ 9 ฉบบั ที่ 1 คณะศิลปกรรมศาสตรมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร. (2557).

ผา ทอไทย. (ระบบออนไลน) แหลง ขอ มลู . https://guru.sanook.com/2312/ สบื คนวนั ท่ี
22 พฤศจิกายน 2563

ศิลปะการทอผาพื้นเมอื งของไทยในปจ จบุ ัน. (ระบบออนไลน) แหลงขอ มลู .
https://www.trueplookpanya.com/blog/content/64605 สบื คน วนั ท่ี 22 พฤศจกิ ายน 2563

สจุ ินดา เจียมศรพี งษ และคณะ. “การสรา งมลู คา เพม่ิ ของผลิตภัณฑจากภูมิปญ ญาทองถิน่
ไทย: กรณศี กึ ษาผา ทอลายโบราณ”. คณะบรหิ ารธรุ กิจ เศรษฐศาสตรและการสอื่ สาร มหาวิทยาลัย
นเรศวร. (2558)

จุรีวรรณ จันพลา, วลี สงสุวงค, เพญ็ สนิ ี กจิ คา, สรุ รี ัตน วงศส มงิ . การพัฒนารปู แบบ
ผลติ ภณั ฑผ า ทอไทยทรงดำเพื่อสรางมลู คาเพ่มิ ตามแนวทาง เศรษฐกิจสรางสรรค.
วารสารวิชาการVeridian E –Journal, Silpakorn University ฉบบั ภาษาไทยสาขามนุษยศาสตร
สังคมศาสตร และศลิ ปะ ปท ่ี 9 ฉบบั ที่ 2 เดอื นพฤษภาคม – สงิ หาคม พ.ศ.2559

ใจภักด์ิ บุรพเจตนา. การพัฒนาผลติ ภัณฑส่ิงทอประเภทของทรี่ ะลกึ ของชมุ ชนบานหาด
เสย้ี ว จงั หวดั สุโขทยั . วารสารวชิ าการศิลปะสถาปตยกรรมศาสตรม หาวิทยาลยั นเรศวร ปที่ 7 ฉบับที่
1 มกราคม – มิถนุ ายน 2559

80

ภาคผนวก ข
เคร่อื งมอื ท่ใี ชในการเก็บรวบรวมขอมลู

81

แบบสำรวจรปู แบบผา พนั เหยือก
โครงการผา พันเหยอื กจากผาฝายทองถ่ิน

https://docs.google.com/forms/d/10R5DKnNndWA7Z0z585aBH5PSf1EZHHliTcRYT4sQyn8/edit
แบบสอบถามความพึงพอใจการใชผ า พันเหยอื ก
โครงการผา พนั เหยอื กจากผาฝายทอ งถน่ิ

https://docs.google.com/forms/d/1u6PPYhXcou9-nrdpXINYo1LeYn6isTJjFKen7YM00WA/edit

82

ภาคผนวก ค
รปู ภาพประกอบการเผยแพรโ ครงการ

83

การเผยแพรโครงการ

งานรอ ยหตั ถาบรู ณาการสานสูวชิ าชพี นิทรรศการวันวชิ าการ
วิทยาลยั อาชีวศกึ ษาเชียงใหม ปการศกึ ษา 2563

84

การเผยแพรโครงการ

งานนทิ รรศการอาชวี ศิลปกรรม’63
วทิ ยาลัยอาชีวศกึ ษาเชียงใหม ปการศกึ ษา 2563

85

ภาคผนวก ง
แบบรายงานผลการนำไปใชประโยชน

86

รายงานผลการนำไปใชป ระโยชน

 ดานวิชาชีพ  ดา นการเรยี นการสอน

ชื่อผลงาน ผา พันเหยือกน้ำจากผา ฝา ยทอ งถ่นิ
เจา ของผลงาน นางสาวณัฏฐินี เหลก็ เทศ

วัน เดอื น ป การนำไปใชป ระโยชน สถานท่ี หลกั ฐาน

....................... .................................................. .................................... ......................................

....................... .................................................. .................................... ......................................

....................... .................................................. .................................... ......................................

....................... .................................................. .................................... ......................................

....................... .................................................. .................................... ......................................

....................... .................................................. .................................... ......................................

....................... .................................................. .................................... ......................................

....................... .................................................. .................................... ......................................

....................... .................................................. .................................... ......................................

....................... .................................................. .................................... ......................................

....................... .................................................. .................................... ......................................

....................... .................................................. .................................... ......................................

....................... .................................................. .................................... ......................................

....................... .................................................. .................................... ......................................

....................... .................................................. .................................... ......................................

....................... .................................................. .................................... ......................................

....................... .................................................. .................................... ......................................

87

ประวตั ผิ จู ัดทำ

ชอื่ -สกุล นางสาวณฏั ฐินี เหลก็ เทศ
ช่ือโครงการ ผาพนั เหยือกจากผาฝายทอ งถน่ิ
สาขาวชิ า การโรงแรม
ประเภทวชิ า อุตสาหกรรมทองเทย่ี ว

ประวตั ิ

ประวัติสว นตัว

วนั -เดอื น-ปเกดิ 9 เมษายน 2540

อายุ 23 ป

ท่ีอยูป จจบุ ัน 61 หมู 13 ตำบลบานแหวน อำเภอหางดง จังหวดั เชยี งใหม 50230

ประวัตกิ ารศกึ ษา
ป พ.ศ.2555 จบการศึกษาระดบั มัธยมศึกษาชนั้ ปท ่ี 3 โรงเรียนทุงกวาววทิ ยาคม ตำบลทงุ กวาว

อำเภอเมืองปาน จงั หวัดลำปาง
ป พ.ศ2560 จบการศกึ ษาระดบั ชั้น ปวช. ประเภทวิชาพาณชิ ยกรรม สาขาวชิ าการบญั ชี

วทิ ยาลยั เทคโนโลยชี รินรตั นล ำพนู อำเภอเมอื ง จงั หวดั ลำพนู
ป พ.ศ2563 กำลังศกึ ษาระดับชนั้ ปวส 2/2 ประเภทวิชาอสุ าหกรรมทอ งเทีย่ ว สาขาวิชาการ

โรงแรม วทิ ยาลยั อาชวี ศึกษาเชียงใหม


Click to View FlipBook Version