The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by Yukung, 2021-03-22 13:30:12

รวม5บท

รวม5บท

ระบบหายใจ

จัดทำโดย
นายวายุ ประสพรตั นโชค

ม.5/5 เลขท่ี 10
เสนอ

คุณครู พชรกมล พูลลาย
โรงเรียนอยธุ ยาวทิ ยาลัย

กลอ งเสียง (Larynx)

เปน อวัยวะในคอของสตั วเ ลี้ยงลูกดวยน้ำนมทีท่ ำหนาทใ่ี นการปองกัน
ทอ ลม แล ะการทำใหเ กดิ เสยี ง ในกลอ งเสยี งมสี ายเสียงแทห รือเสนเสียงแท
ซึ่งอยูใตบ รเิ วณทคี่ อหอย แยกออกเปน ทอ ลมและหลอดอาหาร

คอหอย (Pharynx)

เปนทอทมี่ รี ปู รา งคลายกรวย ดา นบนเชือ่ มตอกับโพรงจมูก
ดานหนาเช่อื มตอกบั ชองปากดา นลางเชื่อมตอกับกลอ งเสยี ง
ตอเนอื่ งกบั หลอดลมและหลอดอาหาร
เปนเสนทางท่ีใชรว มระหวางอากาศและอาหาร

เครอ่ื งสไปโรมเิ ตอร (spirometer)

เปน เคร่ืองซึง่ จะวัดปรมิ าตรอากาศเขา และออกจากปอด
สามารถบนั ทึกเปน กราฟ (Spirogram)
แสดงความสัมพนั ธร ะหวา งปรมิ าตรและเวลา

ถงุ ลม (Alveolus)

หนาทห่ี ลกั ของถงุ ลมในปอดคอื การแลกเปลี่ยนแกส จากถุงลมไปยงั หลอดเลือดฝอย
เพอื่ ใหฮีโมโกลบนิ ในเลอื ดจับตัวกับออกซเิ จนและนำพาไปยงั สว นตางๆ ของรางกาย
โดยใชการแพรซ งึ่ การแพรจ ะเกดิ ขนึ้ ไดด ขี ้นี อยูก ับความบางของผนงั และชน้ื ของถงุ ลม

หลอดลม (Trachea)

เปน สวนหนึ่งของระบบหายใจ มีหนา ทหี่ ลกั คือ การนำสงอากาศ
จากภายนอกรางกายเขาสปู อดเพื่อทำหนา ทใี่ นการแลกเปลี่ยน
กาซออกซเิ จนเขาสูเ ลอื ดและนำกาซคารบอนไดออกไซดอ อกจากรา งกาย
หลอดลมของมนุษยเ ร่ิมตงั้ แตส ว นทีต่ อ จากกลอ งเสยี ง (Larynx) ลงไปสน้ิ สุดท่ีถุงลม

โพรงจมกู (Nasal cavity)

เปน ทพ่ี ักของอากาศกอนจะถูกสูดเขาปอด
ทำหนา ทีค่ วบคุมอุณหภูมแิ ละความชน้ึ ของอากาศ
โดย หลอดเลือดฝอยชงึ่ มอี ยมู ากมายตามแผนเย่อื เมอื ก
จะถายเทความรอนออกมาทำใหอ ากาศชุมชน้ื
แผนเยื่อเมือกเองก็จะทำหนา ทป่ี รับความชน้ื ใหก บั อากาศพรอม
ท้ังดกั จบั ฝนุ ละอองทีเ่ ล็ดลอดผา นขนจมูกเขา ไป

รจู มกู (N ostril)

คือ รทู ่เี ปนทางผานเขา ออกของอากาศเขาสูโพรงจมกู จากน้ันอากาศ
จะถูกสง ผา นเขาไปยังหลอดลมและเขา สูปอดเพอ่ื ทำการแลกเปลี่ยนแกส
นอกจากอากาศแลว รูจมูกยงั เปน ทางออกของน้ำมกู
หรอื เศษอาหารทีเ่ กิดจากการสำลักอีกดวย

โรคปอดบวม(Pneumonia)

หมายถึงภาวะปอดซึ่งเกิดการอักเสบ ซงึ่ อาจเปน เชอ้ื แบคทเี รยี เช้อื ไวรัส
ซ่ึงในสภาวะที่ผิดปกตอิ าจจะเกดิ จาก เชื้อรา และ พยาธิ
เมอ่ื เปน ปอดบวม จะมหี นอง และสารน้ำอยางอ่ืนในถงุ ลม
ทำใหร า งกายไมส ามารถรับ oxygen
ทำใหรา งกายขาด oxygen และอาจถงึ แกชีวติ ได

โรคหอบหดื (Asthma)

เปนโรคที่เกิดจากการอกั เสบเรอื้ รงั ของหลอดลม
ทำใหเ ย่ือบุและผนงั หลอดลมตอบสนองตอสิง่ กระตนุ
จากภายใน และจากสง่ิ แวดลอมมากกวา ปกติ
สง ผลใหหายใจไมส ะดวกและมีเสียงหวดี เหนือ่ ยหอบ ไอเรอื้ รงั
แนนหนาอก โดยเฉพาะตอนกลางคืนและชวงเชา มดื

ฮีโมโกลบนิ (Hemoglobin)

คอื สวนหน่งึ ของระบบไหลเวียนโลหิตซึ่งเปนโปรตนี สำคญั
จะอยใู นเมด็ เลอื ดแดงและชวยนำออกซเิ จนไปเลยี้ งสว นตา งๆของรา งกาย
องคป ระกอบสำคัญของเฮโมโกลบินคือ ฮมี (Heme)



ระบบยอ ยอาหาร

จัดทำโดย
นายวายุ ประสพรัตนโชค
ชั้น ม.5/5 เลขที่ 10

เสนอ
คณุ ครู พชรกมล พูลลาย
โรงเรยี นอยุธยาวทิ ยาลยั

กระเพาะอาหาร (Stomach)

เปน อวยั วะของทางเดนิ อาหารท่ีเกี่ยวของกบั กระบวนการยอยอาหารท่ผี านการเคี้ยวภายในชอ งปาก
มาแลวกระเพาะอาหารยงั เปนอวัยวะทมี่ ีสภาพแวดลอมเปนกรด โดยมักจะมีคาพเี อชอยูที่ 1-4
โดยข้ึนกบั อาหารที่รับประทานและปจจัยอื่น ๆ
นอกจากน้ีในกระเพาะอาหารยังมีการสรา งเอนไซมเพื่อชว ยในการยอยอาหารอีกดวย

การกนิ (Ingestion)

การกนิ หรือ การบรโิ ภค
เปน การนำอาหารเขาสูรางกาย
ทำใหรางกายเจริญเตบิ โตและมีพลังงาน

กลองเสยง (Larynx)

กลอ งเสย ง หรอื ลารงิ ซ (larynx) เปน อวัยวะในคอของสต วเ ลีย้ งลกู ดว ยนำ้ นม
ทำหนาที่ในการปองกันทอลม (trachea) และการทำใหเกดิ เสย ง
ในกลอ งเสยงมีสายเสยงแทหรือเสน เสย งแท (vocal fold)
ซง่ึ อยใู ตบริเวณทค่ี อหอย (pharynx)
แยกออกเปน ทอลมและหลอดอาหาร (esophagus)

การดดู ซึม (Absorption)

ในทางเคมี คือปรากฏการณหรือกระบวนการทางเคมหี รือฟส กส
ท่ีอะตอม, โมเลกลุ หรอื ไอออนเขาไปในสวนท่เี ปน เนื้อใน
ของวสั ดทุ ่เี ปนแกส , ของเหลวหรือของแขง็
การดูดซึมน้นั เปน กระบวนการทีแ่ ตกตางจากการดดู ซับ

การถายอจุ จาระ (Defaecation)

การถายอุจจาระเปน ขัน้ สดุ ทายของการยอยอาหาร
โดยสง มชี วี ิตกำจัดของเสยทง้ั ที่เปนของแข็ง
ก่งึ แขง็ กง่ึ เหลวและ/หรอื ของเหลว
จากทางเดนิ อาหารโดยทางทวารหนัก

การยอ ย (Digestion)

หมายถึงการแปรสภาพของสารอาหารท่ีมีโมเลกุลใหญแ ละละลายนำ้ ไมไ ด
ใหเ ปน สารอาหารที่มีโมเลกลุ เลก็ ลงจนสามารถละลายนำ้ และดดู ซึม
เขาสกู ระแสเลอื ดนำไปใชประโยชนได โดยอาศยั กระบวนการทางเชิงกล
และกระบวนการทางเคมีหมายถึงการแปรสภาพของสารอาหารที่มโี มเลกลุ ใหญ
และละลายน้ำไมได ใหเปน สารอาหารท่ีมโี มเลกลุ เล็กลงจนสามารถละลายน้ำ
และดูดซมึ เขาสูกระแสเลือดนำไปใชประโยชนได

เกลอื นำ้ ดี (Bile salt)

คอื เกลือโซเดียมไกลโคคอเลตและโซเดียมทอโรคอเลต
มีบทบาทในการทำหนาท่ีเปนอมิ ลั ซไิ ฟอิงเอเจนต
ชวยในการยอ ยและดูดซมึ ไขมันและน้ำมนั ในลำไสเ ล็ก

คอหอย (Pharynx)

สวนของคอตรงเหนือลูกกระเดือกขึน้ มา
เปนทางรวมของระบบทางเดินอาหาร
และระบบทางเดินอากาศหายใจ.

ตับออน (Pancreas)

เปนอวยั วะซง่ึ เปน ตอมในระบบยอ ยอาหาร
และระบบตอมไรทอในสต วมกี ระดกู สน หลัง
ในมนษุ ย ตับออนอยูในชอ งทองหลงั กระเพาะอาหาร
เปนตอ มไรท อ ซงึ่ ผลิตฮอรโ มนส�คัญหลายชนดิ
รวมถึงอินซลู ิน กลูคากอน โซมาโตสเตติน
และแพนครเิ อติกพอลเิ พพไทดซ ่ึงไหลเวยี นอยใู นเลอื ด

วิลลสั (Villus)

ตุม หรอื ขนขนาดเลก็ ทย่ี ่ืนออกมาจากผิวดา นในของทางเดนิ อาหาร
พบมากทล่ี ำไสเลก็ ภายในตุมหรอื ขนเหลาน้ีจะมีเสน เลือดฝอย
ซ่งึ ทำหนา ท่รี บั อาหารที่ยอ ยแลว เพ่ือลำเลียงไปยังเซลลต าง ๆ ในรา งกาย

ไสต รง (Rectum)

คอื บริเวณทมี่ ีความยาวประมาณ 6 นิว้ สดุ ทา ยของลำไสใหญ
โดยตอ กบั ทวารหนัก (Anal Canal)
ลำไสตรงมีหนา ท่ีเก็บของเสยทีเ่ หลือ
จากการดดู ซมึ สารอาหารทม่ี ีประโยชนเขาสรู างกาย

ไสตงิ่ (Appendix)

ไสตงิ่ เปน อวัยวะสว นหนึง่ ของทางเดินอาหาร
ลกั ษณะเปน ทอปลายตันยาวประมาณ 3-4 น้วิ
หนา ทข่ี องไสตง่ิ ยงั ไมท ราบแนชัด
แตเชอื่ วาอาจมหี นา ที่เกีย่ วกบั ระบบภูมิคุมกนั

หลอดอาหาร (Esophagus)

ทำหนา ทส่ี ง อาหาร ไมม ตี อ มทที่ ำหนาที่สรางน้ำยอ ย
เมื่ออาหารผานลงสูหลอดอาหารจะทำใหเ กิดการหดตัว
ตดิ ตอ กันเปน ลกู คลน่ื ของผนงั กลามเนือ้ หลอดอาหาร
ไลใ หอาหารตกลงสกู ระเพาะอาหาร

อะมีโบไซต (Amoebocyte)

เปนเซลลขนาดใหญก วา คอลลารเซลล
พบท่วั ไปบรเิ วณผนังลำตัวของฟองนำ้
อาหารจำพวกแบคทเี รียและอนิ ทรยี สาร
ขนาดเล็กไมเ กิน 1 ไมครอนทป่ี ะปนอยูใ นน้ำ

อะไมเลส (Amylase)

เปนเอนไซม (enzyme) ชนิดหนึ่งทีส ามารถไฮโดรไลซ
พนั ธะในโมเลกลุ ของสตารช (starch) ใหม ีขนาดของโมเลกุลเลก็ ลง
ทำใหไดเปนเดกซท รนิ (dextrin) และน้ำตาล (sugar) ไดแซก็ คาไรด
เชน มอลโทส (maltose) มอโนแซก็ คาไรด เชน กลโู คส (glucose)

อิมลั ชนั (Emulsion)

หมายถึง ระบบคอลลอยด (colloid)
ท่ีประกอบดวยเหลวตัง้ แต 2 ชนิดขน้ึ ไป
ซ่ึงปกตไิ มผสมเปนเนือ้ เดียวกัน เชน น้ำกับน้ำมนั

เอนเทอโรไคเนส (Enterokinase)

เปน เอนไซมจ ากเซลลบ ุผนังลำไสเ ล็ก
ไมไ ดท ำหนาทย่ี อยอาหาร
แตทำหนาทเ่ี ปลยี่ นทรปิ ซิโนเจนใหเปน ทรปิ ซนิ

ไอเลียม (Ileum)
คือสวนของลำไสเลก็ สว นลา งสดุ
ที่ตออยูก บั ลำไสใ หญ

ฮอรโมนเเกสตริน (Gastrin)

แกสทรนิ เปน ฮอรโมนเปปไทด
ท่ชี ว ยกระตุนการหลงั่ กรดในกระเพาะอาหาร
โดยเซลลขางขมอ มของกระเพาะอาหาร
และชว ยในการเคลื่อนไหวของกระเพาะอาหาร

ไฮโดรไลซสิ (hydrolysis)

ปฏกิ ริ ยิ าระหวางเกลอื กับน้ำ ซ่ึงเกลือเปน อิเลก็ โทรไลต
แกเ มื่อละลายนำ้ แลวจะแตกตวั ออกเปนไอออนบวกและลบ
ดังนน้ั สมบตั ขิ องสารละลายเกลือจึง
ขน้ึ อยูกบั ไอออนบวกและลบในสารละลายน้ัน



ระบบหมนุ เวยี นเลอื ดเเละระบบนำ้ เหลอื ง

เเกรนนโู ไซต (Granulocyte)

เปน เซลลเ มด็ เลือดขาวท่ีมีแกรนลู อยูภ ายในเซลล แบง ยอยไดเปน
นวิ โตรฟล (neutrophil) มีหนาที่ทำลายสิง่ แปลกปลอมดวยวธิ ีฟาโกไซโตซิส
อีโอซโิ นฟล (eosinophil) มหี นา ทีท่ ำลายสิ่งแปลกปลอม และยับย้ังการสรา งสารกอ ภมู แิ พ
เบโซฟล (basophil) มหี นา ที่ปอ งกันไมใ หเ ลือดแขง็ ตัว และหล่ังสารฮิสตามนี

โกลบลู นิ (Globulin)

คอื โปรตีนสำคญั ของ Total protein อกี ตวั หนึ่งที่ลอ งลอยอยใู นพลาสมาหรือใน
กระแสเลอื ด ซง่ึ มปี รมิ าณรองลงมาจาก Albumin โดยมีบทบาทในฐานะเปน วัตถดุ ิบพ้นื ฐาน
ใหร างกายใชส รางสารชีวโมเลกลุ ประเภทโปรตีนเพ่อื ประโยชนในการดำรงชีวติ อยางเปนปกตสิ ขุ

พลาสมา (Plasma)

คือ สวนประกอบของโลหิตทีม่ ลี กั ษณะเปน ของเหลวสเี หลืองใสซ่ึงประกอบไปดว ยสารโปรตีน
ไดแก อัลบูมนิ โกลบลู ิน อมิ มโู นโกลบูลนิ ปจจัยการแขง็ ตวั ของเลอื ด เปนตน
ซงึ่ มีสวนสำคญั ในการรกั ษาปริมาณน้ำภายในหลอดเลอื ด
ตอ ตา นเชื้อโรค และชวยในการแข็งตวั ของเลอื ด ตามลำดับ

ตอ มนำ้ เหลือง (Lymph node)

เปน เน้อื เยอื่ ในระบบน้ำเหลอื ง โดยมีลกั ษณะเปน กอ นเล็กๆรูปไข นุม เคล่อื นที่ไดเ ลก็ นอ ย
มขี นาดเล็กเปนมิลลิเมตร ในภาวะปกติมักคลำไมพบเพราะจะอยปู นไปกบั เน้ือเยอื่ ไขมัน
และเน้ือเย่อื เกย่ี วพันตา งๆ ตอ มน้ำเหลอื งจะมีกระจายอยูท ่ัวตวั ในทุกอวัยวะยกเวนในสมอง

มหี นา ที่สำคญั คอื เปน ตวั ดักจบั ส่งิ แปลกปลอมตางๆ

น้ำเหลือง (Lymph)

คือของเหลวทห่ี มุนเวียนอยใู นระบบนำ้ เหลอื ง นำ้ เหลืองเกดิ ขนึ้ เมอ่ื สารนำ้ แทรก
มารวมกันผา นหลอดน้ำเหลืองฝอย แลวถูกสงตอผา นทอ น้ำเหลอื ง
ไปยงั ตอมน้ำเหลอื งกอ นทีใ่ นทายทสี่ ุดจะถูกผสมรวมกบั เลอื ด
ทีบ่ ริเวณหลอดเลือดดำใตกระดกู ไหปลารา ซา ยหรอื ขวา

เวน (Vein)

เปน หลอดเลอื ดทนี่ ำเลือดจากสว นตา ง ๆ ของรา งกายเขา สหู ัวใจ
เลือดทีอ่ ยใู นหลอดเลอื ดนเ้ี ปน เลอื ดทมี่ ปี ริมาณแกสคารบอนไดออกไซดส งู
ยกเวน เลือดทีน่ ำจากปอดมายงั หวั ใจ จะเปนเลอื ดท่มี ีปริมาณแกส ออกซิเจนสูง

ภายในหลอดเลอื ดนี้จะมลี ิน้ ปองกนั ไมใหเ ลือดไหลยอ นกลับ

เวนาคาวา (Vena Cava)

คือ หลอดเลือดดำที่มหี นา ท่ีรับเลอื ดเสยี จากสว นตางๆของรางกายเขา
สูหวั ใจหองขวาเพือ่ สงตอไปยงั ปอด แบง เปน 2 เสน

ไดแก หลอดเลอื ดเวนาคาวาดานบน (superior vena cava)
และหลอดเลือดเวนาคาวาดานลาง (inferior vena cava)

อัลบูมิน (Albumin)

คอื โปรตนี ชนิดหนงึ่ ทพี่ บไดใ นเลอื ด (ประมาณ 50% ของโปรตีนท่พี บในเลอื ด)
มีหนาที่ในการสรา งและซอ มแซมสว นตา งๆ ของรางกาย
มบี ทบาทสำคัญในระบบภูมิคมุ กนั ตอ สูกับการติดเช้ือ

เอออรตา (Aorta)

เปนหลอดเลอื ดแดงทใี่ หญท สี่ ุดในรางกายมนุษย เริม่ ตน จากหัวใจหอ งลา งซา ย
ทอดยาวลงไปในชองทอ ง และแยกออกเปนหลอดเลอื ดแดงทีเ่ ล็กลงมาสองเสน
ไดแ ก หลอดเลือดแดงกระดูกปกสะโพกรว ม เอออรตานำเลอื ดทม่ี ีออกซเิ จนสงู ไปเลี้ยงสว นตา งๆ

ของรางกายโดยระบบการไหลเวียนเลี้ยงกาย

เเอนตเิ จน (Antigen)

คอื สารใด ๆ ท่กี ระตุนใหเ กิดปฏิกิริยาตอบสนองทางภูมิคุม กันแบบปรบั ตัว
แอนติเจนมักเปนสารทแี่ ปลกปลอมหรือเปน พษิ ตอรางกาย (เชน ตวั เช้ือแบคทเี รีย)

ซึ่งเมื่อเขา มาในรางกายแลว จะถกู จับโดยแอนติบอดที ีม่ คี วามจำเพาะ



ระบบภมู ิคมุ กนั

การอกั เสบ (Inflammation)

เปนการตอบสนองทางชีวภาพทซี่ บั ซอนของเน้ือเย่อื หลอดเลอื ดตอ สิ่งกระตุน
ท่ีเปนอันตราย เชนเชื้อโรค เซลลท ่ีเสือ่ มสภาพ หรือการระคายเคอื ง
ซึ่งเปนความพยายามของสง่ิ มชี วี ติ ทจ่ี ะนำส่งิ กระตุนดงั กลาวออกไป
และซอ มแซมเนอื้ เยือ่ ทถ่ี ูกทำลาย

เซลลความจำ (Memory cell)

ทำหนา ท่ีจดจำลักษณะของแอนตเิ จนแตละชนิดที่เคยเขาสูรา งกาย
และหากมแี อนตเิ จนชนดิ เดมิ เขาสรู า งกายอกี คร้ัง รา งกายจะมกี ารตอบสนอง

ดว ยการสรา งแอนติบอดีขึ้นไดอยางรวดเร็ว

เซลลที (T cell)

มีจดุ กำเนดิ จากเซลลตงั้ ตนในไขกระดูก และพัฒนาเปนเซลลท ีในตอ มไทมสั
ดงั นน้ั จงึ เรียกเซลลที ทีลมิ โฟไซตเ ก่ยี วขอ งกบั ระบบภมู คิ ุม กนั แบบอาศัยเซลล

บนผิวเซลลท มี ตี วั รบั ทจี่ ำเพาะ ที่จะจับกับแอนติเจนทีแ่ ตกตางกนั
ดังน้นั จงึ มีเซลลทีหลายชนิดที่จะจดจำแอนตเิ จนแตล ะชนดิ ทีเ่ ปนสิง่ แปลกปลอม

เซลลทีทที่ ำลายเซลลเ เปลกปลอม (Cytotoxic T cell)

บางทเี รยี ก เซลลท ีนักฆา หรือเซลลทีที่ทำลายส่ิงแปลกปลอม
ทำหนาที่จะจำเซลล ทมี่ ีแอนติเจนแปลกปลอมอยบู นผิวเซลลน น้ั
และทำลายเซลลเหลานั้น เชน เซลลมะเรง็ เซลลต ดิ เช้อื ไวรัส

เซลลจากอวยั วะท่รี า งกายไดร บั การปลูกถาย

เซลลท ีผูช ว ย (Helper T cell)

ชวยเซลลทชี นิดอื่นรวมทงั้ เซลลบ ีในการตอตา น
แอนติเจนท่แี ปลกปลอมเขามาในรางกาย
โดยกระตนุ เซลลบ ใี หสรางแอนตบิ อดอี อกมาตอตานเชอื้ โรค

เซลลโฮสต (Host cell)

หมายถงึ เซลลท ใ่ี ชร ับดเี อ็นเอหรอื ยนี เพ่ือใหเกิดการเปล่ยี นแปลงสารพนั ธุก รรม
และทำใหแ สดงคุณลกั ษณะทต่ี องการซง่ึ เซลลเจาบานที่นยิ มนำมาใช
ในการรบั ดเี อ็นเอจากการดดั แปลงพนั ธุกรรม
ไดแ กแบคทเี รยี E.coliเปนตนนอกจากเซลลเจา บานท่เี ปน แบคทีเรยี
ทีถ่ กู ใชทดลองในหอ งทดลองแลวในธรรมชาตสิ ิง่ มชี วี ิตตา งๆ
ก็สามารถเปนเซลลเจา บานไดเชนกัน

ไซโตไคน (Cytokine)

คอื โปรตีนท่ใี ชในการส่ือสารภายในระบบภมู คิ ุม กัน
ทงั้ แบบระบบภมู คิ ุม กนั ทว่ั ไป และระบบภมู คิ มุ กันเฉพาะ
ไซโตไคนสรางข้นึ จากเซลลหลายชนิด โดยไซโตไคนช นิดหน่ึงๆ

สามารถทำปฏกิ ริ ยิ าในรา งกายมนษุ ยไดม ากมาย

ทลี ิมโฟไซต (T lymphocyte)

เปน เม็ดเลอื ดขาวลมิ โฟไซตทส่ี รา งจากเซลลต นกำเนดิ ในไขกระดกู
เมอ่ื เมด็ เลือดขาวนี้ไปอยทู ต่ี อมไทมสั จะถูกชักนำใหเกิดการเปลี่ยนแปลง

ไดเปน เซลลตั้งตนและเปลยี่ นแปลงตอ ไปเปน เซลลลิมโฟไซตชนิดที
ซึง่ ทำหนาทีเ่ ปนเซลลภูมคิ มุ กันทีส่ ะกดกลนื กนิ หรอื ทำลายส่งิ แปลกปลอม

ทเ่ี ขา สูเนอ้ื เยื่อของรางกาย

แมคโครฟาจ (Macrophage)

เปน เซลลเม็ดเลือดขาวชนดิ หนึ่งในรา งกายมนุษย เปนดา นแรก
ในการปอ งกันรา งกายจากการบกุ รุกของเชือ้ โรคภายนอก

ทำงานโดยการกลนื กินยอยทำลายสิง่ แปลกปลอมแลว
ผลิตแอนติเจน ทส งออกไปทำใหภ ูมิคมุ กัน

โรคลปู ส (Lupus)

เปน อาการอกั เสบแบบเรือ้ รังทเี่ กิดขนึ้ เมอื่ ระบบภมู ิคมุ กนั ของรา งกาย
หนั มาโจมตเี น้ือเยอ่ื และอวัยวะตา งๆ การอกั เสบจากโรคลูปส
อาจเกดิ ขน้ึ กบั ระบบรา งกายตางๆ มากมาย
รวมทงั้ ขอตอ ผวิ หนงั ไต เม็ดเลอื ด สมอง หวั ใจและปอด
นอกจากนี้ยงั สามารถทำใหเ กิดภาวะสมองขาดเลอื ดไดด ว ย



ระบบขับถา ย

การกรอง (filtration)

เปน การแยก ทางกล เพื่อแยกอนภุ าคของแข็งที่ไมละลาย
ซ่งึ แขวนลอยอยูในสารละลายออกจากสวนทีเ ปนของเหลว
โดยใหข องเหลวทม่ี ีสวนผสมของทง้ั ของแขง็ และของเหลวไหลผาน
ตวั แผน กรองซงึ่ มหี นา ทก่ี ักของแขง็ ท่ีมีขนาดใหญกวา ขนาดรู
ของตัวแผน กรองไวแ ละปลอยใหส ว นที่เปนของเหลวไหลผาน

โกลเมอรูลสั (Glomerulus)

เปนกระจุกหลอดเลอื ดฝอย ทำหนาที่กรองเลือดข้นั แรก
อยูท่ีจุดเรม่ิ ตน ของหนวยไต ซึ่งเปน โครงสรางรูปทอ ทม่ี ีหนา ที่กรองเลอื ด
แลว สรางเปน ปสสาวะในไต โกลเมอรลู ัสมโี บวแมนแคปซูล ลอมอยู
น้ำเลือดกรองผา นหลอดเลอื ดฝอยของโกลเมอรูลัสเขา สโู บวแมนแคปซลู
แลวโบวแ มนแคปซูลไลของเหลวท่ีผา นการกรองเขาสูหลอดไตฝอย

ซึ่งยังเปน สว นหนงึ่ ของหนว ยไต

คล่นื เสียงความถส่ี งู (Ultrasound)

เปนคลื่นความดนั เสียงแกวงกวัดไปมาซ่งึ มคี วามถส่ี งู กวาขดี จำกดั บน
ของพิสยั การไดย ินของสตปิ จอบฉะนน้ั ความเสยี งความถ่สี งู
จึงมิไดแยกจากเสยี ง "ปกต"ิ (ท่มี นุษยไดย ิน)

ดวยคณุ สมบตั ทิ างกสมรรถภาพ เพียงแตมนษุ ยไ มสามารถไดสัมผัสเทา น้ัน

ไต (Kidney)

เปนอวยั วะรปู ถั่วซึง่ มหี นา ทคี่ วบคุมสำคัญหลายอยางในสตั วมกี ระดูกสันหลงั
ไตนำโมเลกุลอินทรยี ส ว นเกิน (เชน กลูโคส) ออก

และดวยฤทธิ์น้เี องที่เปน การทำหนาทที่ ที่ ราบกันดีทีส่ ุดของไต
คือ การขบั ของเสยี จากเมแทบอลิซมึ ออกจากรางกาย
ไตเปน อวยั วะสำคัญในระบบปสสาวะและยงั มีหนาทธี่ ำรงดลุ

ทอ ไต (Ureter)

เปนทอเกดิ จากใยกลา มเนอื้ เรยี บซึง่ ลำเลียงปส สาวะจากไต
สูกระเพาะปส สาวะ ในผใู หญ ทอไตปกตยิ าว 25–30 เซนติเมตร
และมีเสนผานศนู ยก ลางประมาณ 3–4 มิลลิเมตร ในทางมญิ ชวิทยา

ทอไตมเี นือ้ เย่ือบุผวิ ชนิดแปรเปลย่ี นและชั้นกลา มเนื้อเรียบ
เพิ่มในสว นปลายหนง่ึ ในสามเพื่อชวยบบี รดู

นวิ่ ในไต (Kidney Stones)

คอื โรคท่ีเกดิ จากแรธาตุแข็งชนิดตาง ๆ ทร่ี วมตัวกนั เปน กอ น
กอนน่ิวมีชนดิ และขนาดทแ่ี ตกตางกันไป โดยมกั เกดิ ข้นึ บริเวณไต
หากกอ นน่วิ มขี นาดใหญจนไปปด กน้ั และสรา งแผลบาดเจ็บท่ีทอไต
และอาจสง ผลใหป สสาวะออกมาเปน เลอื ด และอาจสรางความเจบ็ ปวดทรมาน

หนวยไต (Nephron)

เปนโครงสรา งพืน้ ฐานและหนว ยทำงานพื้นฐานของไต
มหี นาที่หลกั คือควบคุมสมดลุ ของสารน้ำและสารตางๆ
ในรา งกาย เชน โซเดยี ม ผานการกรองเลอื ดทผ่ี า นหนวยไต
ดดู กลบั สารทต่ี องการ และขับสารทไ่ี มตอ งการท้ิงผานทางปส สาวะ

หวงเฮนเล (loop of Henle)

มลี กั ษณะโคงรูปตัวยู มีหนาท่ีปรบั ของเหลวท่ีกรองไดทจ่ี ะกลายเปน ปส สาวะ
ใหมีความเขม ขนหรอื เจอื จางอยา งเหมาะสมและดดู สารทีเ่ ปน
ประโยชนกลับ เชน นำ้ โซเดียม คลอไรด

แอลโดสเตอโรน (aldosterone)

เปน สเตอรอยดฮ อรโมนทีส่ รางขึ้นจากตอ มแอดรนี าลคอรเทกซ
เพอ่ื ควบคุมภาวะสมดุลของนำ้ และอเิ ล็กโทรไลตใ นเลือด
เชน โซเดยี มและโพแทสเซียมไอออน

ไฮโพทาลามัส (Hypothalamus)

ทำหนา ทสี่ ำคัญ คือ เปน ศูนยควบคุมอณุ หภมู ขิ องรางกาย
การนอนหลบั การเตนของหวั ใจ ความดนั เลือดความหิว ความอ่มิ
นอกจากนย้ี ังมีหนาทเี่ ปนศนู ยควบคมุ อารมณ และความรสู กึ ตางๆ

เชน โศกเศรา ดใี จ ความรูสึกทางเพศ


Click to View FlipBook Version