The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

ม.1 หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 หน่วยพื้นฐานของสิ่งมีชีวิต (ปี กศ.2565)

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by ดิเรกฤทธิ์ ยุเหล็ก, 2022-07-23 10:02:35

ม.1 หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 หน่วยพื้นฐานของสิ่งมีชีวิต (ปี กศ.2565)

ม.1 หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 หน่วยพื้นฐานของสิ่งมีชีวิต (ปี กศ.2565)

1

แผนการจดั การเรยี นรู้ที่ 1

หนว่ ยการเรียนรูท้ ่ี 2 หนว่ ยพืน้ ฐานของสง่ิ มชี วี ิต เรือ่ ง เซลล์และการค้นพบเซลล์

กลมุ่ สาระการเรยี นรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

รหัสวิชา ว 21101 รายวิชา วทิ ยาศาสตร์ 1 ช้ัน ม.1 เวลาเรียน 3 ช่วั โมง

ภาคเรียนท่ี 1 ปกี ารศกึ ษา 2565 ครูผูส้ อน นายดิเรกฤทธิ์ ยเุ หลก็ ตำแหนง่ ครู คศ.1

ใช้สอนวัน....................... ท่ี............ เดือน.................................... พ.ศ. .........................

*************************************

1. มาตรฐานการเรยี นรู้/ ตัวชว้ี ัด

มาตรฐาน ว 1.2 เขา้ ใจสมบัติของสิ่งมีชวี ติ หนว่ ยพ้ืนฐานของสง่ิ มชี วี ติ การลำเลยี งสารผ่านเซลล์ความสมั พนั ธข์ อง
โครงสรา้ งและหนา้ ท่ขี องระบบต่างๆของสตั วแ์ ละมนษุ ยท์ ท่ี ำงานสัมพันธ์กนั ความสัมพนั ธ์ของโครงสรา้ งและหนา้ ท่ี
ของอวยั วะต่างๆของพืชท่ที ำงานสัมพนั ธ์กันรวมทง้ั นำความร้ไู ปใชป้ ระโยชน์
ตวั ชีว้ ัด

ว 1.2 ม.1/1 เปรยี บเทียบรปู รา่ งและโครงสรา้ งของเซลล์พชื และเซลล์สัตว์รวมท้ังบรรยายหนา้ ท่ขี องผนงั
เซลล์ เย่อื หุ้มเซลลไ์ ซโทพลาซมึ นวิ เคลียสแวคิวโอลไมโทคอนเดรียและคลอโรพลาสต์

ว 1.2 ม.1/2 ใช้กล้องจุลทรรศน์ใชแ้ สงศึกษาเซลล์และโครงสรา้ งต่างๆภายในเซลล์

2. สาระสำคญั
สงิ่ มีชวี ติ จะดำรงชีวติ อยู่ไดจ้ ะตอ้ งประกอบดว้ ยหน่วยยอ่ ยเลก็ ๆ ท่เี รียกว่า เซลล์ เซลลข์ องสงิ่ มีชีวติ

มีขนาดเล็กมาก มองดว้ ยตาเปลา่ ไม่เห็น การศึกษาส่วนประกอบของเซลลจ์ งึ จำเปน็ ตอ้ งใชก้ ล้องจุลทรรศนเ์ ป็น
อุปกรณ์ช่วยขยายขนาดของเซลล์ ทำใหศ้ ึกษารูปร่างและลกั ษณะของเซลล์ได้ชัดเจนยง่ิ ขน้ึ

3. จดุ ประสงค์การเรียนรู้
ดา้ นความรู้ (K)
1. อธบิ ายความหมายของเซลล์และการคน้ พบเซลล์ได้
2. อธิบายวธิ ใี ชก้ ล้องจุลทรรศนเ์ พ่ือศึกษาลักษณะของเซลลไ์ ด้
3. อธบิ ายลักษณะ รูปรา่ งและสว่ นประกอบของเซลลพ์ ชื และเซลล์สัตว์ภายใต้
กล้องจุลทรรศน์ได้

2

ด้านทกั ษะกระบวนการ (P)
ใช้กล้องจุลทรรศนไ์ ด้

คุณลักษณะอนั พึงประสงค์ (A)
การร่วมแสดงความคิดเหน็ และยอมรับฟงั ความคิดเหน็ ของผู้อน่ื ความมเี หตผุ ล

การทำงานรว่ มกับผู้อน่ื ได้อย่างสร้างสรรค์

4. สาระการเรียนรู้
1. เซลลแ์ ละการคน้ พบเซลล์
2. วิธใี ช้กล้องจลุ ทรรศน์เพอื่ ศึกษาลกั ษณะของเซลล์

5. กระบวนการจัดการเรยี นรู้ (กระบวนการสืบเสาะหาความร้)ู
ชวั่ โมงท่ี 1

ขน้ั สรา้ งความสนใจ
1. ครูถามนักเรยี นวา่ ร่างกายของคนเราหรอื สัตว์ประกอบข้ึนดว้ ยส่วนประกอบใดบา้ ง และ

หนว่ ยท่ีเล็กทีส่ ุดท่ีประกอบขึ้นเปน็ ร่างกายคอื อะไร
2. ครูและนักเรยี นรว่ มกันอภปิ รายในประเด็น
-เซลล์คอื อะไร
-นกั วิทยาศาสตร์ทคี่ ้นพบเซลลค์ นแรกเป็นใคร
-นักเรยี นจะศกึ ษาลกั ษณะของเซลลไ์ ด้อยา่ งไร
3. ครูนำอภิปรายถงึ การใชอ้ ุปกรณ์ที่ชว่ ยในการมองเห็น ได้แก่ แว่นขยาย

กลอ้ งจุลทรรศน์ และกล้องโทรทรรศน์ นกั เรยี นรว่ มกนั อภิปรายจำแนกรายละเอยี ดถึงความแตกต่าง
ในการเลอื กใชป้ ระโยชน์จากอปุ กรณด์ ังกล่าว จากน้ันให้นกั เรียนศกึ ษาส่วนประกอบและการใชก้ ลอ้ ง
จุลทรรศน์ จากใบความรู้ เร่อื ง กล้องจุลทรรศน์ คิดลำดับเหตุการณ์ขน้ั ตอนการใช้กล้องจุลทรรศนศ์ ึกษาสิง่ ท่ี
มองไม่เหน็ ดว้ ยตาเปล่า

4. ครูสาธิตการใชก้ ลอ้ งจลุ ทรรศน์และอธบิ ายประเภท ส่วนประกอบ และวธิ ีการใช้กลอ้ ง
จลุ ทรรศน์ให้นกั เรยี นเขา้ ใจ

ขน้ั สำรวจและคน้ หา
1. นักเรยี นแบ่งกลุ่ม กลมุ่ ละ 4 คน โดยคละเพศและความสามารถ และแจ้งให้นกั เรยี น

ทราบวา่ ผลงานของนกั เรียนคอื ผลงานของกลุ่ม โดยให้นักเรียนแตล่ ะกลมุ่ มหี มายเลขประจำตัว เช่น คนที่ 1
หมายเลข 1 คนที่ 2 หมายเลข 2 คนท่ี 3 หมายเลข 3 และคนที่ 4 หมายเลข 4 และให้สมาชิกแต่ละกล่มุ แบ่ง
หนา้ ทก่ี นั ทำงานตามหมายเลขที่ได้

3
หมายเลข 1 อา่ นกจิ กรรมใบความรู้
หมายเลข 2 ตรวจอปุ กรณ์ วเิ คราะห์ขอ้ มูล
หมายเลข 3 ทำการทดลอง ทำกิจกรรม
หมายเลข 4 บันทกึ ผลการทดลอง ตอบคำถาม
2. ใหต้ วั แทนกลุ่มรับกล้องจลุ ทรรศน์พรอ้ มอุปกรณไ์ ปศึกษากลมุ่ ละ 1 ชดุ นักเรยี น
ใช้กระบวนการกลมุ่ อภิปรายและสรุปเก่ียวกบั ส่วนประกอบและวธิ ีใชก้ ล้องจลุ ทรรศน์ จากใบงาน เรอ่ื ง การใช้
กล้องจุลทรรศน์

ชว่ั โมงที่ 2

ข้นั อธิบายและลงขอ้ สรุป
1. นกั เรยี นแต่ละกล่มุ สง่ ตวั แทนมานำเสนอผลการทดลองหนา้ ชัน้ เรียน
2. ครแู ละนักเรยี นร่วมกนั อภปิ รายผลการทดลอง โดยใชแ้ นวคำถาม ต่อไปนี้
-เมื่อนักเรยี นใชเ้ ลนสใ์ กลว้ ตั ถุกำลงั ขยายตำ่ และเลนส์ใกลว้ ตั ถกุ ำลงั ขยายสงู

ภาพท่ปี รากฏในกล้องจลุ ทรรศนแ์ ตกตา่ งกันอย่างไร
-ลกั ษณะของภาพ ท่ปี รากฏในกล้องจุลทรรศน์เปน็ อย่างไร
-ถา้ ต้องการเลอ่ื นภาพลงด้านล่างไปทางขวา จะตอ้ งเลื่อนสไลด์ไปทางใด

3. นักเรียนและครูรว่ มกนั สรุปผลการทดลอง โดยให้ได้ขอ้ สรุปดังนี้
-จากผลการทดลองพบวา่ เมอื่ นำสไลด์ มาสอ่ งดดู ว้ ยกลอ้ งจุลทรรศน์ ภาพท่ีปรากฏจะมี

ขนาดใหญก่ ว่าภาพทีเ่ หน็ ดว้ ยตาเปล่า และลักษณะของภาพจะเปน็ ภาพกลับซา้ ยไปขวา และกลับบนลงล่าง

ชวั่ โมงท่ี 3

ขนั้ ขยายความรู้
1. ใหน้ กั เรียนที่นัง่ ใกล้กันจับคูก่ นั ศกึ ษาใบความรู้ เรื่อง เซลล์และการคน้ พบเซลล์
2. นกั เรยี นและครูรว่ มกนั สรปุ เกย่ี วกบั ความหมายของเซลล์ การคน้ พบเซลลก์ ารใชก้ ลอ้ ง

จลุ ทรรศน์ เพอื่ ศกึ ษาลักษณะของเซลล์ ลกั ษณะและรปู รา่ งของเซลล์สงิ่ มีชีวติ และการจดั ระบบของเซลลเ์ พ่ือ
ทำหน้าท่ีเฉพาะ ทไี่ ดจ้ ากการเรียน และการปฏิบัติกจิ กรรม

ขั้นประเมนิ
1. นักเรียนร่วมกนั แสดงความคดิ เห็นถงึ ประโยชนท์ ่ีไดร้ ับจากการปฏบิ ตั ิกิจกรรม และการนำ

ความรู้ท่ีได้ไปใช้ประโยชน์
2. ให้นักเรียนทำแบบฝึกหัด

4

6. สื่อ / แหลง่ การเรยี นรู้
1. สื่อสิง่ พมิ พ์ และเว็บไซต์ตา่ ง ๆ ทางอินเทอร์เน็ตที่เกีย่ วข้อง
2. ใบงาน เรื่อง การใช้กลอ้ งจลุ ทรรศน์
3. ใบความรู้ เร่อื ง กล้องจุลทรรศน์
4. ใบความรู้ เรือ่ ง เซลล์และการคน้ พบเซลล์
5. ห้องสมดุ

7. การวัดและประเมินผล

สิ่งทีต่ อ้ งการประเมิน วธิ กี ารวดั ผล เครือ่ งมือทใ่ี ช้ เกณฑ์การผา่ น
ในการวัดผล การประเมนิ ผล

ความรู้

1.อธิบายความหมายของ การตรวจผลงาน แบบประเมนิ การตรวจ ไดค้ ะแนนเฉลี่ย รอ้ ยละ
ผลงาน 60 ขึน้ ไป
เซลล์และการคน้ พบ

เซลลไ์ ด้

2.อธบิ ายวธิ ีใช้กล้อง

จุลทรรศนเ์ พือ่ ศกึ ษา

ลกั ษณะของเซลล์ได้

3.อธิบายลกั ษณะ รปู ร่าง

และสว่ นประกอบของ

เซลลพ์ ชื และเซลล์สตั ว์

ภายใต้

กลอ้ งจลุ ทรรศนไ์ ด้

ทกั ษะ

กระบวนการสบื เสาะ - การนำเสนอผลงาน - แบบประเมนิ การ ได้คะแนนเฉล่ยี ร้อยละ
นำเสนอผลงาน 60 ข้ึนไป
หาความรู้ - แบบประเมินพฤตกิ รรม
การทำงานกลมุ่
- สังเกตพฤตกิ รรมการ

ทำงานกลมุ่

คุณลักษณะอันพึง

ประสงค์

ความสนใจใฝร่ ู้ ความ สงั เกตพฤติกรรม แบบประเมนิ พฤติกรรม ได้คะแนนเฉลี่ย 2 (ดี)

มุง่ มัน่ อดทน รายบคุ คล รายบคุ คล ข้ึนไป

8. บันทกึ หลงั การจดั การเรียนรู้ 5
8.1 ผลการจัดการเรียนรู้
ผ้เู รยี นทผ่ี า่ นตวั ชวี้ ัด/ผลการเรยี นรู้ จำนวน...............คน คิดเป็นรอ้ ยละ.................
ผเู้ รียนท่ีไมผ่ ่านตัวช้ีวดั /ผลการเรยี นรู้ จำนวน...............คน คิดเป็นร้อยละ.................

เลขที่ของนกั เรียนท่ีสอบไมผ่ ่านตวั ช้ีวดั ..................................................................................................
............................................................................................................................................................................

สาเหตุที่ไมผ่ า่ น .....................................................................................................................................
............................................................................................................................................................................

แนวทางแก้ปญั หา..................................................................................................................................
............................................................................................................................................................................

ผู้เรียนทม่ี ีความสามารถพิเศษ ได้แก่ ....................................................................................................
............................................................................................................................................................................

แนวทางการพัฒนา/ส่งเสริม..................................................................................................................
............................................................................................................................................................................

ผเู้ รยี นไดร้ บั ความรู้ (K) ในเรือ่ ง ............................................................................................................
ผู้เรียนเกดิ ทกั ษะกระบวนการ (P) ในเรื่อง............................................................................................
ผเู้ รียนมีคุณธรรม จริยธรรม ค่านยิ ม (A) ในเร่ือง.................................................................................

8.2 ปัญหาอปุ สรรค
............................................................................................................................................................................
............................................................................................................................................................................

8.3 ขอ้ เสนอแนะและแนวทางแกป้ ญั หา
............................................................................................................................................................................
............................................................................................................................................................................

ลงช่อื .......................................................ครูผู้สอน
(นายดเิ รกฤทธิ์ ยุเหล็ก)
ตำแหน่ง ครู คศ.1

วันท่ี............เดอื น..........................พ.ศ. ................

6
9. ความคิดเห็นของผ้บู ริหารสถานศกึ ษา/ผทู้ ่ีได้รับมอบหมาย
............................................................................................................................................................................
............................................................................................................................................................................
............................................................................................................................................................................

ลงช่ือ......................................หวั หน้ากล่มุ สาระการเรียนรู้
(นางสาวพัสราภรณ์ พลู แจ้ง)

วนั ท.่ี ...........เดือน..........................พ.ศ. ................

รับทราบผลการจัดการเรียนรู้

ลงชื่อ....................................................... ลงช่อื ......................................................
(...............................................) (นายวริ ชั ต์ จำปาทอง)

ตำแหน่ง รองผอู้ ำนวยการสถานศึกษา ฝ่ายบริหารวิชาการ ตำแหนง่ ผอู้ ำนวยการสถานศกึ ษา
วันท.่ี ...........เดอื น..........................พ.ศ. ........... วันท่.ี ...........เดอื น..........................พ.ศ. ..........

7

ใบงาน

เร่อื ง การใชก้ ล้องจลุ ทรรศน์

จดุ ประสงค์

1. บอกหนา้ ท่ีและสว่ นประกอบของกล้องจลุ ทรรศนไ์ ด้

2. ใชแ้ ละเก็บรักษากลอ้ งจลุ ทรรศนไ์ ด้ถูกตอ้ ง

3. ระบขุ นาดของวตั ถุ และบนั ทกึ ภาพของวตั ถทุ ีเ่ หน็ จากกลอ้ งจลุ ทรรศนไ์ ด้

อปุ กรณ์

1. กลอ้ งจลุ ทรรศน์ 1 กลอ้ ง

2. สไลดแ์ ละกระจกปดิ สไลด์ 1 ชดุ

3. หลอดหยด 1 อัน

4. น้ำ 1 ลบ.ซม.

วิธีการทดลอง

1. ใชม้ อื ทถ่ี นัดจับท่แี ขนของกล้องจุลทรรศน์ อีกมือรองรับน้ำหนกั ทีฐ่ านกล้อง

วางกล้องลงบนโต๊ะพน้ื เรียบ

2. หมุนเลนสใ์ กลว้ ตั ถกุ ำลังขยายตำ่ มาไว้ตรงตำแหน่งวตั ถทุ ่ีจะดู

3. ปรบั กระจกใต้กล้องเพื่อรบั แสงสวา่ งท่พี อเหมาะให้ผ่านเขา้ สชู่ อ่ งรบั แสงวางสไลด์ลงบนแผน่ วาง

สไลด์ให้ตรงกบั ชอ่ งรบั แสง

4. มองด้านข้างของแท่นวางวัตถุในแนวระนาบ หมนุ ปุม่ ปรบั ภาพหยาบเพอ่ื เลือ่ นเลนส์ใกลว้ ัตถุให้

ลงไปอยใู่ นตำแหนง่ ตำ่ สดุ

5. มองผา่ นเลนสใ์ กล้ตาโดยลืมตาทง้ั 2 ขา้ ง หมนุ ปุ่มปรบั ภาพหยาบในเลนสเ์ ลือ่ นห่างจากสไลด์

จนกระทง่ั มองเหน็ ภาพของวตั ถุ

6. หมุนปมุ่ ปรับภาพละเอียดเพอื่ ให้เห็นภาพชัดเจนยิ่งข้นึ

7. ขยายภาพให้มีขนาดใหญ่ขนึ้ โดยหมุนเลนส์ใกลว้ ัตถุกำลังขยายปานกลางและกำลังขยายสงู เข้า

มาไวต้ รงตำแหน่งวัตถุท่จี ะดตู ามลำดบั ปรบั ภาพให้ชัดเจนข้ึนด้วยปมุ่ ปรบั ภาพละเอียด (หา้ มใช้ปุม่ ปรับภาพ

หยาบกบั เลนสว์ ตั ถุทีม่ ีกำลังขยายสูง)

8. บนั ทกึ กำลังขยายของภาพวัตถุจากกำลังขยายของเลนสใ์ กล้ตาคณู ด้วยกำลงั ขยายของเลนส์ใกล้

วัตถุ

9. บันทกึ ภาพที่ปรากฏจากกล้องจุลทรรศน์

8

แบบบันทกึ ใบงาน
เร่อื ง การใชก้ ล้องจลุ ทรรศน์

กลมุ่ ท.ี่ ........................สมาชิก 1............................................... 2.............................................
3............................................... 4.............................................
5............................................... 6.............................................

วตั ถุประสงค์.......................................................................................................................................
ปัญหา.................................................................................................................................................
สมมตฐิ าน..........................................................................................................................................

บนั ทึกผลการทดลอง

1. ลกั ษณะภาพทป่ี รากฏจากกล้องจุลทรรศน์

2. กำลังขยายของภาพ
......................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................

9

ใบความรู้
เรื่อง กลอ้ งจลุ ทรรศน์

ในปัจจบุ ันกลอ้ งจลุ ทรรศนใ์ ช้แสงไดร้ บั การพัฒนาใหม้ ปี ระสิทธภิ าพดียง่ิ ขึ้นกว่าในอดตี
กลอ้ งจลุ ทรรศนใ์ ช้แสงทด่ี ีในปจั จุบัน มีกำลงั ขยายประมาณ 2,000 เทา่ เปน็ กล้องจุลทรรศน์ใช้แสงแบบ
เชงิ ประกอบในทน่ี ี้จะกล่าวถงึ กล้องจุลทรรศนใ์ ช้แสงเพยี ง 2 ชนดิ คอื

1. กล้องจุลทรรศนใ์ ชแ้ สงแบบเชิงประกอบ (compound light microscope) เป็นกล้อง
จลุ ทรรศน์ชนิดที่ใช้เลนส์หลายอนั และมีกำลังขยายต่างๆ กนั จะเหน็ ภาพวตั ถุไดโ้ ดยมีการสะท้อนแสงจากวตั ถุ
เข้าสูเ่ ลนส์ ประกอบด้วย เลนส์ 2 ชุด คอื เลนส์ใกลว้ ัตถุ (objective lens) และเลนส์ใกล้ตา (ocular lens
หรอื eyepiece) กำลงั ขยายของภาพคอื ผลคูณของกำลังขยายของเลนส์ใกลว้ ตั ถุกบั กำลังขยายของเลนส์ใกล้
ตา ความสามารถในการแจกแจงรายละเอยี ดของภาพของกล้องจลุ ทรรศน์ขน้ึ อยู่กบั คุณสมบัติของเลนส์ และ
แสงต้นกำเนดิ

ภาพกลอ้ งจลุ ทรรศนใ์ ช้แสงแบบเชิงประกอบชนดิ ตา่ งๆ
ทม่ี า : http://www.ponpe.com/index

2. กลอ้ งจลุ ทรรศน์อิเลก็ ตรอนเปน็ กลอ้ งจุลทรรศน์ที่มีกำลังขยายสงู มาก เพราะใช้ลำแสงอเิ ล็กตรอน
แทนแสงปกติ และใช้สนามแม่เหล็กไฟฟา้ แทนเลนสแ์ ก้ว เป็นกลอ้ งท่ีใช้ศึกษาโครงสร้างและสว่ นประกอบของ
เซลลไ์ ดอ้ ย่างละเอยี ด แบง่ ออกเป็น 2 ประเภท

2.1 กล้องจลุ ทรรศน์อิเลก็ ตรอนแบบสอ่ งผ่าน
(transmission electron microscope หรอื TEM) กล้องจุลทรรศนช์ นดิ นม้ี ีราคาแพงมาก และการใช้

10
งานจะซับซ้อนมากกว่ากล้องจลุ ทรรศนท์ ่กี ล่าวมาขา้ งต้น โดยใชอ้ ิเล็กตรอนเป็นแหล่งกำเนดิ แสงและให้ผา่ น
ตวั อย่างทีม่ ขี นาดบางมาก ๆ ใชแ้ ผน่ แมเ่ หล็กแทนเลนสแ์ ก้ว สามารถขยายภาพได้ 200,000 ถงึ
500,000 เปน็ ภาพ 2 มติ ิ (two dimensional image) สามารถดรู ายละเอียดภายในได้เช่นเดียวกับกล้อง
จุลทรรศน์ใช้แสงแบบเชงิ ประกอบ

ภาพกลอ้ งจุลทรรศนอ์ ิเลก็ ตรอนแบบสอ่ งผา่ น (transmission electron microscope)
2.2 กลอ้ งจุลทรรศน์อิเล็กตรอนแบบสอ่ งกราด (Scanning electron microscope หรือ

SEM) กล้องจลุ ทรรศนช์ นดิ นี้ลำแสงอเิ ล็กตรอนจะตกกระทบเฉพาะผิวด้านนอกของวตั ถุ ภาพท่ีเห็น
จะเห็นได้เฉพาะผิวนอก เป็น 3 มิติ กล้องชนิดนแี้ มว้ าจะมีความสามารถในการเห็นภาพต่ำกว่ากลอ้ ง
จลุ ทรรศน์อิเลก็ ตรอนแบบส่องผา่ นและสามารถเห็นเฉพาะผิวนอกของวตั ถกุ ็ตามแต่ภาพท่เี ห็นจะได้
รายละเอยี ดมากกว่าและชัดเจน ซ่ึงเป็นประโยชน์อยา่ งยง่ิ สำหรบั นักชวี วทิ ยาทจี่ ะศกึ ษาโครงสรา้ ง
ของสง่ิ มีชีวิตได้ดียงิ่ ข้ึน

11

ภาพกล้องจลุ ทรรศน์อิเลก็ ตรอนแบบสอ่ งกราด (scanning electron microscope)

ส่วนประกอบของกลอ้ งจุลทรรศน์
สว่ นทเี่ ป็นตวั กล้อง ประกอบดว้ ย
1. ลำกลอ้ ง (body tube) เปน็ สว่ นทเี่ ชอ่ื มต่อระหวา่ งเลนสใ์ กล้ตากบั เลนส์ใกลว้ ัตถุ มหี น้าที่

ปอ้ งกันไม่ใหแ้ สงจากภายนอกรบกวน
2. แขน (arm) เป็นส่วนทีท่ ำหน้าที่ยึดระหวา่ งลำกล้องและฐานกล้องเปน็ ตำแหนง่ ท่ีใช้จับกลอ้ ง

ในขณะเคลือ่ นย้ายกลอ้ งจลุ ทรรศน์
3. แท่นวางสไลด์ (stage) เป็นแท่นทใ่ี ชว้ างสไลด์ (slide) ตวั อยา่ งทต่ี ้องการศึกษาท่ตี รงกลางแท่น

วางสไลดจ์ ะมชี อ่ งให้แสงส่องทะลุจากเลนส์รวมแสงไปยงั เลนส์ใกลว้ ัตถแุ ละเลนส์ใกล้ตา
4. ท่ีหนบี สไลด์ (stage clips) เป็นแผ่นโลหะใช้จับหรอื หนีบสไลด์ให้ตดิ อยู่กับแท่นวางสไลด์ ป้องกัน

ไม่ใหแ้ ผ่นสไลดเ์ ล่อื นหลุดจากแทน่ วางสไลด์ แต่กล้องรนุ่ ใหมม่ กั มีทยี่ ดึ สไลด์ชนดิ ใช้มอื หมุนเลือ่ นแผ่นสไลด์
(mechanical stage) แทนท่หี นีบสไลด์ เพอื่ ควบคมุ การเล่อื นสไลด์ไปทางดา้ นบน ด้านลา่ ง ด้านขวา หรือ
ด้านซ้าย

5. ฐาน (base) เป็นส่วนลา่ งสดุ ของกล้องจลุ ทรรศน์ ทำหนา้ ทีร่ บั นำ้ หนักตัวกล้องทั้งหมด
6. แป้นหมุนเลนส์ (revolving nosepiece) เป็นแป้นกลมหมุนไดซ้ ่งึ มเี ลนส์ใกล้วัตถุติดอยูท่ ำหน้าที่
หมนุ เปล่ยี นกำลงั ขยายของเลนส์ใกล้วัตถตุ ามท่ตี ้องการ

12

สไลด์ (Slide) สไลด์ทว่ั ไปมีขนาด 7.5 cm X 2.5cm. หนาประมาณ 1-2 mm.
สไลดท์ ำดว้ ยแก้วเพื่อทเ่ี ราจะสามารถใชแ้ สงจากท้ังดา้ นล่างและดา้ นบน
ในการศกึ ษาไดอ้ ยา่ งสะดวก
ภาพสไลด์แบบตา่ งๆ

วธิ ีการใชก้ ล้องจลุ ทรรศน์ใช้แสงแบบเชิงประกอบ
1. การเคล่อื นย้ายกล้องจลุ ทรรศน์

การเคลือ่ นย้ายกล้องจุลทรรศน์ ทำไดโ้ ดยใช้มอื ข้างหนง่ึ จบั ท่แี ขนกล้อง มืออีกขา้ งหน่งึ รอง
ใต้ฐานกลอ้ ง รักษาระดับใหก้ ลอ้ งอยู่ในสภาพตัง้ ตรงตลอดการเคลื่อนยา้ ย เพ่อื ป้องกนั การล่ืนหลดุ ของเลนส์
ใกลต้ า ไมเ่ คลือ่ นย้ายกลอ้ งจุลทรรศน์โดยการลากไปบนพ้ืนโต๊ะ แรงกระเทือนอาจมผี ลต่อระบบเลนส์ได้วาง
กล้องจลุ ทรรศน์ให้ห่างจากขอบโต๊ะปฏบิ ัตกิ ารพอสมควรท่ีจะทำงานได้สะดวก

2. ก่อนเร่มิ ใชก้ ลอ้ งจลุ ทรรศน์ ให้ตรวจสอบกลอ้ งจุลทรรศน์ดังตอ่ ไปนี้
- สายไฟถกู พับเกบ็ หรอื พนั อย่กู ับฐานของกลอ้ ง
- สวติ ซ์เปิดปดิ หลอดไฟที่ฐานกล้องอย่ใู นตำแหนง่ “ปดิ ”
- สวิตซเ์ พิ่มความเข้มของแสงอยตู่ ำแหน่งตำ่ สดุ ในกรณที ี่เปน็ กลอ้ งจุลทรรศน์แบบใช้กระจก
เงา กระจกตอ้ งปรับอยู่ในแนวต้ังฉากเพ่อื ลดการเกาะของฝุน่ ในอากาศ
- แท่นวางสไลดถ์ ูกเลื่อนอยใู่ นตำแหนง่ ต่ำสุด ในกรณีท่ีแท่นวางสไลดม์ ตี วั เลอ่ื นสไลด์ต้องปรบั
ตำแหน่งใหแ้ กนของตัวเลอื่ นสไลดย์ ื่นออกมาจากแทน่ วางสไลด์ให้นอ้ ยทส่ี ุด
- เลนส์รวมแสงถกู เลอื่ นอยใู่ นตำแหนง่ ตำ่ สุด
- เลนส์ใกล้วตั ถุที่มกี ำลงั ขยายต่ำสดุ อยู่ในแนวเดียวกบั เลนสร์ วมแสง
- หากเป็นกล้องจุลทรรศน์ท่ีสามารถปรบั ระยะห่างระหวา่ งตาและปรบั แก้สายตาเอียงได้ ต้องเลื่อน
เลนส์ใกลต้ าให้เข้ามาใกล้กันมากท่ีสดุ และหมุนให้ตัวปรับแก้สายตาเอียงอยู่ในตำแหนง่ “ 0 ”

13

ใบความรู้
เซลลแ์ ละการค้นพบเซลล์

การค้นพบเซลล์

อนั ตน ฟนั เลเวนฮุก (Anton Van Leewenhock)

นกั วิทยาศาสตร์ชาวดัทซ์ เปน็ ผู้ประดษิ ฐ์กล้องจลุ ทรรศนเ์ ปน็ คนแรกคอื อันตน ฟัน
เลเวนฮกุ (Anton Van Leewenhock) เขาใชก้ ล้องจลุ ทรรศนส์ อ่ งดูหยดน้ำ ทำให้คน้ พบส่ิงมชี ีวติ
ท่ไี ม่สามารถมองเหน็ ไดด้ ้วยตาเปลา่ เป็นคร้งั แรก

14

รอเบริ ต์ฮกุ (Robert Hooke)
พ.ศ. 2208 รอเบริ ต์ ฮุก (Robert Hooke) นกั พฤกษศาสตร์ชาวองั กฤษไดป้ ระดิษฐ์กล้องจุลทรรศน์
ทม่ี กี ำลงั ขยายสูงประมาณ 270 เท่า มาใช้ศึกษาชิ้นไม้คอรก์ ทผี่ า่ นเปน็ แผ่นบาง ๆ พบวา่ ชิ้นไมค้ อรก์ ประกอบ
ไปดว้ ยชอ่ งขนาดเลก็ มากมายเรียงตดิ กัน ชอ่ งเหล่านมี้ ีลักษณะเป็นรปู สี่เหลี่ยมเกอื บกลม เขาเรยี กแต่ละช่อง
นน้ั ว่า เซลล์ (cell) ซง่ึ แปลว่า หอ้ งวา่ ง

15

ดวิ โทรเชท์ (Dutrochet)
พ.ศ. 2367 ดิวโทรเชท์ (Dutrochet) นกั พฤกษศาสตร์ชาวฝร่งั เศสไดศ้ ึกษาเน้ือเยอ่ื พชื
และสตั ว์พบว่าประกอบไปดว้ ยเซลล์

16

รอเบิรต์ บราวน์ ( Robert Brown)
พ.ศ. 2374 รอเบริ ต์ บราวน์ (Robert Brown) นกั พฤกษศาสตรช์ าวองั กฤษศกึ ษาเซลล์
พบก้อนกลมเล็ก ๆ อยตู่ รงกลางเซลลพ์ ืช เรียกก้อนกลมน้ันวา่ นวิ เคลียส

17

มัดทอิ ัส ยาคบ ชไลเดน (Matthias Jakob Schleiden)
พ.ศ. 2381 มดั ทอิ ัส ยาคบ ชไลเดน (Matthias Jakob Schleiden) นกั พฤกษศาสตร์
ชาวเยอรมนั ค้นพบวา่ เนอ้ื เยอ่ื พืชทกุ ชนดิ ประกอบไปด้วยเซลล์

18

เทโอดอร์ ชวานน์ (Theoder Schwann)
พ.ศ. 2382 เทโอดอร์ ชวานน์ (Theoder Schwann) นกั สัตวศาสตรช์ าวเยอรมันพบวา่ เนื้อเย่อื
สัตวท์ ุกชนิดประกอบดว้ ยเซลล์
ชวานน์และชไลเดน จงึ รวมกนั ต้งั ทฤษฏเี ซลลข์ ้นึ มาซง่ึ มใี จความสำคัญวา่ “สง่ิ มีชีวิตท้ังหลาย
ประกอบดว้ ยเซลล์ และเซลล์คือหนว่ ยพ้ืนฐานของส่งิ มชี ีวิตทุกชนิด”

19

แบบฝึกหัด

คำชี้แจง ให้นกั เรยี นเลือกคำตอบท่ีถกู ตอ้ งเพียงคำตอบเดียว
1. นักวิทยาศาสตร์คนใด เปน็ คนตั้งทฤษฏเี ซลล์
ก. หลุย ปาสเตอร์
ข. ชาลส์ ดาร์วิน
ค. รอเบิรต์ ฮกุ
ง. เทโอดอร์ ชวนั น์
2. ถา้ ต้องการจะปรับภาพในกลอ้ งจลุ ทรรศน์ใหม้ ีขนาดใหญข่ น้ึ จะต้องทำอย่างไร
ก. ปรับแสงของกล้องให้มากขน้ึ
ข. หมุนป่มุ ปรับภาพละเอียด
ค. หมุนปมุ่ ปรบั ภาพหยาบ
ง. เปล่ียนเลนส์ใกล้วตั ถุให้มีกำลังขยายมากขึน้
3. ถ้าใช้เลนส์ใกล้ตากำลังขยาย 10 X เลนส์ใกล้วตั ถุกำลงั ขยาย 40 X จะขยายวตั ถไุ ดก้ ่เี ทา่
ก. 40 เท่า
ข. 10 เท่า
ค. 400 เท่า
ง. 50 เท่า
4. ขอ้ ความใดถูกตอ้ ง
ก. สิ่งมชี ีวิต 1 ชนดิ มี 1 เซลล์
ข. เซลล์เป็นหนว่ ยท่เี ล็กที่สุดของสง่ิ มชี วี ติ ทกุ ชนิด
ค. เซลล์หลายๆ เซลลม์ ารวมกันเรยี กวา่ อวัยวะ
ง. เซลล์เปน็ ส่ิงแรกท่ีศกึ ษาพบ
5. เซลลช์ นดิ เดียวกันท่ีมารวมกลุ่มกันเพ่อื ทำหน้าทอี่ ย่างใดอยา่ งหนึ่ง เรียกวา่
ก. ระบบ
ข. เน้อื เย่อื
ค. อวัยวะ
ง. กลมุ่ เซลล์

20

เฉลยแบบฝกึ หัด

1.ตอบ ง.
2.ตอบ ง.
3.ตอบ ค.
4.ตอบ ข.
5.ตอบ ข.

21

แผนการจดั การเรยี นรู้ที่ 2

หนว่ ยการเรยี นรู้ท่ี 2 หน่วยพนื้ ฐานของสิง่ มชี วี ิต เรื่อง เซลลพ์ ืชและเซลล์สัตว์

กลมุ่ สาระการเรยี นรู้วิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี

รหัสวิชา ว 21101 รายวชิ า วิทยาศาสตร์ 1 ชัน้ ม.1 เวลาเรียน 3 ช่วั โมง

ภาคเรียนท่ี 1 ปกี ารศกึ ษา 2565 ครูผู้สอน นายดิเรกฤทธ์ิ ยเุ หลก็ ตำแหน่ง ครู คศ.1

ใช้สอนวัน....................... ท่.ี ........... เดอื น.................................... พ.ศ. .........................

*************************************

1. มาตรฐานการเรยี นรู้/ ตัวชว้ี ดั
มาตรฐาน ว 1.2 เขา้ ใจสมบัติของสง่ิ มชี วี ติ หน่วยพ้ืนฐานของสงิ่ มชี ีวิตการลำเลยี งสารผา่ นเซลลค์ วามสมั พันธ์ของ
โครงสร้างและหนา้ ท่ขี องระบบต่างๆของสตั ว์และมนุษยท์ ที่ ำงานสมั พนั ธก์ ันความสัมพันธข์ องโครงสรา้ งและหน้าท่ี
ของอวัยวะตา่ งๆของพชื ท่ที ำงานสมั พันธก์ ันรวมทงั้ นำความรไู้ ปใช้ประโยชน์
ตัวชว้ี ัด

ว 1.2 ม.1/1 เปรียบเทยี บรูปรา่ งและโครงสร้างของเซลลพ์ ืชและเซลล์สตั วร์ วมท้ังบรรยายหนา้ ที่ของผนงั
เซลล์ เยอื่ ห้มุ เซลลไ์ ซโทพลาซึมนิวเคลยี สแวควิ โอลไมโทคอนเดรยี และคลอโรพลาสต์

ว 1.2 ม.1/2 ใชก้ ลอ้ งจลุ ทรรศนใ์ ช้แสงศึกษาเซลล์และโครงสรา้ งตา่ งๆภายในเซลล์
ว 1.2 ม.1/3 อธบิ ายความสัมพันธร์ ะหว่างรปู ร่างกับการทำหนา้ ท่ขี องเซลล์
ว 1.2 ม.1/4 อธบิ ายการจัดระบบของสิ่งมชี ีวิตโดยเร่ิมจากเซลล์เน้ือเยื่ออวยั วะระบบอวัยวะจนเปน็
สิง่ มีชีวิต

2. สาระสำคัญ
เซลล์พชื คอื หน่วยของสิง่ มชี ีวติ ทเ่ี ล็กท่ีสุดของพืช มีส่วนประกอบสำคญั คือผนังเซลล(์ Cell Wall) ท่ี

แข็งแรงท่ีหอ่ ห้มุ ชั้นนอกสดุ ของเซลล์ (Cell) มรี ูปร่างเซลล์ (Cell)เป็นเหล่ยี ม และเซลล์มีคลอโรพลาสต์
(Chloroplast) เปน็ ออร์แกแนลล์ (Organelle) ที่เป็นองคป์ ระกอบสำคญั ของพืช นอกนั้นเซลล์พืชกม็ อี งค์ประกอบ
คลา้ ยๆกับเซลล์ทวั่ ไป คือ มีเย่อื หุ้มเซลล์ (Cell Membrane), นิวเคลียส (Nucleus), ไซโทพลาซมึ (Cytoplasm) ที่
ประกอบไปดว้ ยออรแ์ กแนลล์ (Organelle) ตา่ งๆ เช่น กอลจิ คอมเพล็กซ์ (Golgi Complex), ไรโบโซม
(Ribosome), เอนโดพลาสมกิ เรติคูลัม (Endoplasmic Reticulum, ER), ไมโทคอนเดรยี (Mitochondria)เปน็ ต้น
นอกนั้นเซลลพ์ ืชกจ็ ะมอี อรแ์ กแนลล์ (Organelle) ทช่ี อื่ แวคิวโอล (Vacuole) ทม่ี ีขนาดใหญก่ ว่าของเซลลส์ ัตวม์ าก

เซลลส์ ัตว์ คือ หน่วยของสงิ่ มีชีวติ ท่เี ล็กทสี่ ุดของสัตว์ มรี ปู รา่ งกลมๆมนๆรๆี มคี วามอ่อนนุ่ม ไมเ่ ปน็ เหล่ยี ม
ไม่มคี ลอโรพลาสต์ (Chloroplast)และไม่มผี นงั เซลล์ (Cell Wall) แบบท่ีมีอยู่ในเซลลพ์ ชื ไม่มแี วคคิวโอล หรือ มีแต่

22
มขี นาดเล็กจนไม่สามารถมองเหน็ ไดช้ ัด หรือ มจี ะมอี ยใู่ นเซลล์สัตว์ชั้นต่ำ มักจะไม่ค่อยพบในเซลล์สัตว์ชัน้ สูง ในเซลล์
สตั ว์มักจะพบไลโซโซม (Lysosome) ซึง่ แตกตา่ งจากพชื ท่ีจะมี ไลโซโซม (Lysosome) ในพชื บางชนิดเทา่ นั้น และ
ในเซลล์สัตวก์ ม็ ักจะพบเซนทรโิ อล (Centriole) ท่ีไมม่ ีในเซลล์พืช
3. จดุ ประสงค์การเรยี นรู้

ด้านความรู้ (K)
1. อธิบายหน้าท่ีของส่วนประกอบสำคัญของเซลลพ์ ืชและเซลล์สตั ว์ได้
2. เปรียบเทียบสว่ นประกอบสำคญั ของเซลล์พืชและเซลล์สตั ว์
ดา้ นทักษะกระบวนการ (P)
1. ทดลอง
2. การจำแนก
คณุ ลกั ษณะอันพึงประสงค์ (A)
การรว่ มแสดงความคดิ เหน็ และยอมรับฟังความคิดเห็นของผอู้ ่นื ความมเี หตุผล การทำงานรว่ มกบั
ผ้อู ืน่ ได้อยา่ งสรา้ งสรรค์

4. สาระการเรยี นรู้
1. โครงสรา้ งของเซลล์
2. ส่วนประกอบสำคัญของเซลลพ์ ชื และเซลลส์ ัตว์

5. กระบวนการจัดการเรยี นรู้ (กระบวนการสืบเสาะหาความรู้)
ช่วั โมงท่ี 1

ขน้ั สรา้ งความสนใจ
1. ครแู ละนักเรยี นร่วมกนั สนทนาเก่ยี วกบั เรื่องท่ีเรยี นผ่านมาแล้วให้นักเรยี นชว่ ยกันคดิ วา่

เซลล์ของส่ิงมีชีวติ นอกจากจะมลี ักษณะและรูปร่างทแ่ี ตกต่างกนั แล้ว จะมโี ครงสรา้ งของเซลลเ์ หมอื นหรือ
แตกตา่ งกันหรอื ไม่ อยา่ งไร

2. ครูและนกั เรียนรว่ มกนั อภปิ รายคำตอบของนกั เรียน
3. นักเรยี นดูตัวอย่างเซลลข์ องส่ิงมชี ีวิตเซลล์เดยี ว เชน่ พารามีเซียม อะมีบา จากสไลด์ถาวร
เพอื่ ใหผ้ เู้ รียนรบั รวู้ า่ น่ันคือสงิ่ มีชีวติ ทีป่ ระกอบดว้ ยเซลลเ์ พยี ง 1 เซลล์
4. ครูให้ความรวู้ ่าสิง่ มชี วี ติ เชน่ คน สัตว์ ตน้ ไม้ประกอบดว้ ยเซลล์จำนวนมาก จากนน้ั ให้
นักเรียนร่วมกนั อภิปรายวา่ รา่ งกายของคน สตั ว์ ตน้ ไม้ ประกอบด้วยอวยั วะหรอื ส่วนสำคญั อะไรบา้ ง
5. ใหน้ กั เรียนคาดคะเนว่า เซลล์ของส่งิ มีชวี ติ แต่ละชนิดและเซลลจ์ ากแตล่ ะสว่ นของร่างกาย มี
รูปร่างลักษณะและสว่ นประกอบเหมือนกันหรือไม่

23
6. ให้นักเรียนคน้ หาคำตอบโดยศึกษาและทำการทดลอง ตามใบงาน เรอ่ื ง โครงสร้างของเซลล์
ขัน้ สำรวจและค้นหา
1. นกั เรยี นแบง่ กลมุ่ กล่มุ ละ 4 คน โดยคละเพศและความสามารถ และแจง้ ให้นักเรียนทราบ
วา่ ผลงานของนักเรยี น คอื ผลงานของกลมุ่ โดยให้นักเรียนแต่ละกลุม่ มีหมายเลขประจำตวั เชน่ คนท่ี 1
หมายเลข 1 คนท่ี 2 หมายเลข 2 คนท่ี 3 หมายเลข 3 และคนท่ี 4 หมายเลข 4 และใหส้ มาชิกแต่ละกลมุ่ แบ่ง
หน้าที่กันทำงานตามหมายเลขท่ไี ด้

หมายเลข 1 อา่ นกจิ กรรมใบความรู้ ใบงาน
หมายเลข 2 ตรวจอปุ กรณ์ วิเคราะหข์ อ้ มูล
หมายเลข 3 ทำการทดลอง ทำกิจกรรม
หมายเลข 4 บนั ทกึ ผลการทดลอง ตอบคำถาม
2. นักเรียนแต่ละกลมุ่ ศกึ ษาและทำการทดลอง เรอ่ื งโครงสรา้ งของเซลล์ ทำการทดลอง
เก็บรวบรวมขอ้ มลู และบนั ทกึ ผลการทดลอง แลว้ ชว่ ยกันเขยี นรายงาน การทดลอง

ชั่วโมงที่ 2

ข้นั อธบิ ายและลงขอ้ สรปุ
1. นกั เรียนแต่ละกลมุ่ ส่งตวั แทนมานำเสนอผลการทดลองหนา้ ชั้นเรยี น
2. นักเรยี นช่วยกันตอบคำถาม ต่อไปน้ี
-เซลลพ์ ชื และเซลล์สตั ว์ที่นำมาศกึ ษามรี ูปรา่ งลักษณะและสว่ นประกอบทเี่ หมือนหรือ

แตกตา่ งกนั
-เซลลพ์ ชื มีลกั ษณะอยา่ งไร
-เซลล์สัตวม์ ลี กั ษณะอยา่ งไร

3. นกั เรียนร่วมกนั สรุปผลการทดลอง โดยให้ไดข้ อ้ สรุปดังนี้
- จากการทดลองจะพบวา่ เซลล์พชื ต่างชนดิ กันจะมีรูปรา่ งตา่ งกันเล็กน้อย แต่สว่ นใหญ่

จะมรี ูปร่างเป็นรูปเหล่ยี ม ในเซลลเ์ ยอ่ื หอมจะมีนวิ เคลยี สขนาดใหญ่เหน็ ไดช้ ดั เจน แตไ่ มพ่ บคลอโรพลาสต์
สว่ นเซลล์สาหรา่ ยหางกระรอกพบคลอโรพลาสต์มากมาย สำหรับเซลลส์ ัตว์จะมีรูปร่างคอ่ นข้างกลม
ในเซลล์เยื่อบุข้างแก้มพบนิวเคลียสภายในเซลล์ แตไ่ ม่พบคลอโรพลาสต์เหมอื นในเซลล์พชื

4. ให้นกั เรยี นศึกษาสว่ นประกอบและหนา้ ที่ของเซลลพ์ ืชและเซลลส์ ัตวใ์ นใบความรู้
เรอ่ื ง โครงสรา้ งของเซลล์ แล้วรว่ มกันอภปิ รายในหวั ข้อดงั กล่าวโดยครชู ว่ ยอธิบายเพิ่มเติม

5. ให้นักเรยี นช่วยกนั เปรยี บเทยี บความแตกตา่ งของส่วนประกอบของเซลลพ์ ืช และเซลลส์ ัตว์
แลว้ เขยี นเป็นแผนที่ความคดิ

24

ชวั่ โมงที่ 3

ขน้ั ขยายความรู้
1. ครอู ธิบายเพิ่มเติมเก่ียวกับการจัดระบบในรา่ งกายของพืชและสัตว์ การเปรียบเทียบ

สว่ นประกอบของเซลลพ์ ชื และเซลล์สัตว์ แล้วใหน้ ักเรียนร่วมกันอภปิ รายเพิ่มเตมิ เชน่
พชื และสัตวเ์ ป็นสง่ิ มีชวี ิตหลำยเซลล์มีกำรจดั ระบบโดยเร่มิ จากเซลล์ไปเปน็ เน้อื เย่อื อวยั วะ

ระบบอวยั วะและสิ่งมีชีวติ ตามลำดบั เซลลห์ ลายเซลลม์ ารวมกันเป็นเนอ้ื เย่ือเนือ้ เยือ่ หลายชนิดมารวมกัน
และทำงานรว่ มกันเปน็ อวัยวะอวัยวะต่างๆทำงานร่วมกันเปน็ ระบบอวัยวะระบบอวัยวะทุกระบบทำงาน
ร่วมกนั เปน็ สิง่ มีชีวติ

2. ใหน้ กั เรียน ทำกจิ กรรมใบงาน เร่อื ง เซลล์พชื และเซลล์สตั ว์ เสรจ็ แล้วให้ช่วยกันเฉลยคำตอบ
ขั้นประเมนิ

ให้นกั เรยี นทำแบบฝึกหัด

6. ส่ือ /แหล่งการเรียนรู้
1. สอื่ สง่ิ พิมพ์ และเวบ็ ไซต์ตา่ ง ๆ ทางอินเทอรเ์ น็ตท่ีเกีย่ วข้อง
2. ภาพแสดงลักษณะของเซลล์พืชและเซลลส์ ัตว์
3. ภาพแสดงโครงสร้างพืน้ ฐานของเซลลส์ ิ่งมีชีวติ
4. อปุ กรณก์ ารทดลองของแตล่ ะกจิ กรรมในการจดั การเรยี นรู้แต่ละคร้งั
5. ใบงาน เรอ่ื ง โครงสรา้ งของเซลล์
6. ใบงาน เรอ่ื ง เซลลพ์ ืชและเซลล์สัตว์
7. ใบความรู้ เรื่อง โครงสร้างของเซลล์
8. ห้องสมุด

25

7. การวัดและประเมนิ ผล

ส่งิ ท่ตี อ้ งการประเมิน วิธกี ารวดั ผล เครอ่ื งมอื ท่ีใช้ เกณฑก์ ารผา่ น
ในการวัดผล การประเมนิ ผล

ความรู้

1.อธิบายหนา้ ท่ีของ การตรวจผลงาน แบบประเมินการตรวจ ไดค้ ะแนนเฉลย่ี รอ้ ยละ
ผลงาน 60 ขน้ึ ไป
ส่วนประกอบสำคัญของ

เซลล์พชื และเซลล์สตั วไ์ ด้

2.เปรยี บเทยี บ

ส่วนประกอบสำคญั ของ

เซลลพ์ ืชและเซลล์สัตว์

ทกั ษะ

กระบวนการสืบเสาะ - การนำเสนอผลงาน - แบบประเมินการ ได้คะแนนเฉลี่ย รอ้ ยละ
นำเสนอผลงาน 60 ข้ึนไป
หาความรู้ - แบบประเมนิ พฤตกิ รรม
การทำงานกลุ่ม
- สังเกตพฤตกิ รรมการ

ทำงานกลุ่ม

คุณลกั ษณะอนั พึง

ประสงค์

ความสนใจใฝร่ ู้ ความ สงั เกตพฤติกรรม แบบประเมินพฤตกิ รรม ได้คะแนนเฉลีย่ 2 (ดี)

มุ่งมนั่ อดทน รายบคุ คล รายบุคคล ขึ้นไป

8. บนั ทึกหลงั การจดั การเรยี นรู้ 26
8.1 ผลการจดั การเรียนรู้
ผู้เรยี นทผี่ า่ นตัวชี้วัด/ผลการเรยี นรู้ จำนวน...............คน คดิ เปน็ ร้อยละ.................
ผเู้ รยี นที่ไม่ผา่ นตัวชี้วัด/ผลการเรียนรู้ จำนวน...............คน คดิ เป็นรอ้ ยละ.................

เลขที่ของนักเรียนทส่ี อบไม่ผ่านตวั ชี้วัด..................................................................................................
............................................................................................................................................................................

สาเหตุที่ไมผ่ า่ น .....................................................................................................................................
............................................................................................................................................................................

แนวทางแกป้ ญั หา..................................................................................................................................
............................................................................................................................................................................

ผู้เรยี นทีม่ คี วามสามารถพิเศษ ไดแ้ ก่ ....................................................................................................
............................................................................................................................................................................

แนวทางการพัฒนา/ส่งเสรมิ ..................................................................................................................
............................................................................................................................................................................

ผเู้ รยี นได้รับความรู้ (K) ในเรอ่ื ง ............................................................................................................
ผู้เรียนเกิดทกั ษะกระบวนการ (P) ในเรอ่ื ง............................................................................................
ผเู้ รยี นมีคุณธรรม จริยธรรม ค่านยิ ม (A) ในเรื่อง.................................................................................

8.2 ปัญหาอุปสรรค
............................................................................................................................................................................
............................................................................................................................................................................

8.3 ขอ้ เสนอแนะและแนวทางแก้ปญั หา
............................................................................................................................................................................
............................................................................................................................................................................

ลงช่ือ.......................................................ครูผู้สอน
(นายดิเรกฤทธ์ิ ยุเหลก็ )
ตำแหน่ง ครู คศ.1

วนั ท.่ี ...........เดือน..........................พ.ศ. ................

27
9. ความคิดเห็นของผ้บู ริหารสถานศึกษา/ผ้ทู ่ีได้รบั มอบหมาย
............................................................................................................................................................................
............................................................................................................................................................................
............................................................................................................................................................................

ลงช่ือ......................................หวั หน้ากลุม่ สาระการเรยี นรู้
(นางสาวพัสราภรณ์ พลู แจ้ง)

วนั ที.่ ...........เดอื น..........................พ.ศ. ................

รบั ทราบผลการจัดการเรียนรู้

ลงชอื่ ....................................................... ลงชอื่ ......................................................
(..................................................) (นายวิรัชต์ จำปาทอง)

ตำแหน่ง รองผ้อู ำนวยการสถานศึกษา ฝา่ ยบรหิ ารวิชาการ ตำแหนง่ ผู้อำนวยการสถานศกึ ษา
วันท่ี............เดือน..........................พ.ศ. ........... วันที่............เดอื น..........................พ.ศ. ..........

28

ใบงาน
เรือ่ ง โครงสรา้ งของเซลล์

จดุ ประสงค์
1. เตรยี มสไลดเ์ ซลลเ์ พ่ือนำไปศึกษาโดยใช้กลอ้ งจุลทรรศน์ได้
2. สงั เกต วาดรปู บันทึกลกั ษณะต่าง ๆ ของเซลล์ และสรปุ เกย่ี วกับรปู ร่างลกั ษณะและ

ส่วนประกอบต่าง ๆ ของเซลลพ์ ืชและเซลล์สัตว์ได้

อุปกรณ์ 1 หวั
1. หวั หอม 1 สาย
2. สาหรา่ ยหางกระรอก 1 ชดุ
3. สไลด์และกระจกปดิ สไลด์ 1 ชุด
4. ใบมดี โกน 1 กลอ่ ง
5. ไมจ้ ้ิมฟัน 1 กล้อง
6. กลอ้ งจลุ ทรรศน์ 1 อัน
7. หลอดหยด 10 ลูกบาศก์เซนติเมตร
8. นำ้ 10 ลกู บาศกเ์ ซนติเมตร
9. โซเดียมคลอไรด์ 10 ลูกบาศกเ์ ซนติเมตร
10. เอทิลแอลกอฮอล์ 70%

วธิ ีการทดลอง
1. ศกึ ษาเซลล์ของเย่อื หอม
1.1หยดนำ้ ลงบนสไลด์ 1-2 หยด ให้พอท่วม
1.2ลอกเย่ือด้านในของกลบี หวั หอม วางลงบนหยดน้ำ แล้วปิดดว้ ยกระจกปดิ สไลด์ ระวังอย่าให้

มฟี องอากาศ
1.3ยอ้ มสีเย่อื หอมโดยหยดสารละลายไอโอดนี 1 หยด
1.4นำไปตรวจดูดว้ ยกล้องจุลทรรศน์ โดยใชเ้ ลนสใ์ กลว้ ตั ถกุ ำลังขยายต่ำและ

กำลังขยายสูงตามลำดบั วาดรูปและชสี้ ่วนประกอบของเซลล์ลงในบันทกึ ผลการทดลอง
2. ศกึ ษาเซลลส์ าหร่ายหางกระรอก โดยนำใบอ่อนบริเวณยอดมาวางบนหยดนำ้ บนสไลด์ ปดิ ทบั

ด้วยกระจกปิดสไลดแ์ ละดำเนินการเช่นเดยี วกับข้อ 1.4
3. ศกึ ษาเซลล์เยือ่ บขุ ้างแกม้

29
3.1หยดสารละลายโซเดียมคลอไรด์ (NaCI) ลงบนสไลด์ 1 หยด
3.2ใช้ปลายไมจ้ ้มิ ฟันด้านป้ายจุ่มเอทลิ แอลกอฮอล์ 70% ท้งิ ใหแ้ หง้ สักครู่ นำไป ขดู เบา ๆ ที่
ผวิ เยือ่ บุข้างแก้มในปาก แลว้ นำมาเกลย่ี ใหก้ ระจายบนสไลด์
3.3ดำเนนิ การเชน่ เดยี วกบั ข้อ 1.3 และ 1.4

หมายเหตุ
1. ใบสาหร่ายหางกระรอกทใ่ี ช้ในการทดลองต้องเป็นใบอ่อน เพอ่ื จะได้เห็นโครงสร้างภายในได้

ชดั เจน
2. สาหรา่ ยหางกระรอกที่นำมาใชใ้ นการทดลองแต่ละตน้ จะตอ้ งใหม้ ีส่วนยอดอ่อนตดิ มาด้วย และ

ควรแช่ไว้ในนำ้ ตลอดเวลา

3. หัวหอมทีใ่ ช้ในการทดลองให้ใช้ส่วนเยอ่ื ท่ีอยดู่ ้านในของหวั หอม โดยคอ่ ย ๆ ดึงแต่ละชัน้ ออกมา
4. การหยดน้ำหรือสารละลายชนิดตา่ ง ๆ ลงบนสไลด์ใหห้ ยดพอทว่ ม อย่าให้เลอะออกมานอก
กระจกปิดสไลด์ เม่อื ใช้เสร็จแล้วใหล้ ้างและเช็ดสไลด์ กระจกปดิ สไลดใ์ ห้สะอาดและแหง้ กอ่ นเก็บ
5. กล้องจลุ ทรรศน์ให้วางในที่ท่ีมีแสงสวา่ งเพยี งพอ และปรบั กระจกใตก้ ลอ้ งเพ่ือใหแ้ สงสวา่ งผ่าน
เข้าสู่ลำกลอ้ งให้พอเหมาะ
6. กำลังขยายของกล้องจุลทรรศน์ท่เี หมาะสมในการทดลองน้ี คอื 400 เท่า

30

แบบบนั ทึกผลใบงาน
เรอื่ ง โครงสรา้ งของเซลล์

กลมุ่ ท่.ี ........................สมาชิก 1............................................... 2.............................................
3............................................... 4.............................................
5............................................... 6.............................................

ชอ่ื พืช ลกั ษณะและส่วนประกอบของเซลล์ วาดรูป
สาหรา่ ย
หางกระรอก

หวั หอม

เซลลเ์ ยอื่ บุ
ข้างแก้ม

31
คำถามหลังการทดลอง

1. อธิบายลักษณะและส่วนประกอบสำคัญของเซลล์หัวหอมแดงและเซลล์ของใบสาหรา่ ยหาง
กระรอกจากการสังเกตจากกล้องจุลทรรศน์และการสบื ค้นขอ้ มลู
……………………………………………………………………………………………..………………………………………………….
……………………………………………………………………………………….……………………………………………………….

2. จากการศกึ ษาเซลล์ภายใตก้ ล้องจุลทรรศน์ ส่วนประกอบใดท่พี บในเซลล์ของใบสาหร่ายหาง
กระรอก แต่ไม่พบในเซลล์ของหัวหอมแดง
……………………………………………………………………………………………………………………………………………….
………………………………………………………………………………………..…………………………………………………….

3. ในการศกึ ษาเซลลพ์ ืชและเซลล์สัตว์ นักเรยี นคิดว่าเหตุใดจึงต้องหยดสารละลายไอโอดีน
………………………………………………………………………………………………….………………………………………….
……………………………………………………………………………………………….…………………………………………….

4. อธบิ ายลักษณะและส่วนประกอบสำคญั ของเซลลเ์ ยอ่ื บุข้างแก้ม
……………………………………………………………………………………………………………………………..……………….
…………………………………………………………………………………………………………………………….……………….

5. อธิบายพร้อมทัง้ เปรยี บเทยี บรูปรา่ งและส่วนประกอบของเซลล์เยือ่ หวั หอมแดง
เซลล์ของใบสาหร่ายหางกระรอก และเซลล์เยื่อบุข้างแกม้
……………………………………………………………………………………………………………….…………………………….
…………………………………………………………………………………………………………………………………………….
สรปุ ผลการทดลอง
………………………………………………………………………………………………….………………………………………….
………………………………………………………………………………………………….………………………………………….
…………………………………………………………………………………………………………………………………………….
…………………………………………………………………………………………………………………………………………….
…………………………………………………………………………………………………..……………………………………….

32

เฉลยใบงาน
เรอ่ื ง โครงสร้างของเซลล์

เซลล์ทีน่ ำมาศกึ ษา

เยอื่ หอม สาหร่ายหางกระรอก

เยื่อบุขา้ งแกม้

คำถามหลงั การทดลอง
1. อธิบายลกั ษณะและสว่ นประกอบสำคัญของเซลล์หัวหอมแดงและเซลล์ของใบสาหร่ายหาง

กระรอกจากการสังเกตจากกลอ้ งจลุ ทรรศน์และการสบื คน้ ขอ้ มูล
ตอบ เซลลห์ วั หอมแดงและเซลล์ของใบสาหร่ายหางกระรอกมีลักษณะเป็นรูปเหลีย่ ม

สว่ นประกอบทส่ี ำคัญของเซลลห์ ัวหอมแดงทีส่ งั เกตจากดา้ นในออกสดู่ ้านนอกตามลำดับ คือ นิวเคลียส ไซ

33
โทพลาซึม เยอื่ หุม้ เซลล์ ผนังเซลล์ และเซลล์ของใบสาหรา่ ยหางกระรอกประกอบด้วย นิวเคลียส ไซโทพลาซมึ
คลอโรพลาสต์ เย่ือหมุ้ เซลล์ และผนังเซลล์

2. จากการศึกษาเซลลภ์ ายใตก้ ล้องจลุ ทรรศน์ สว่ นประกอบใดท่พี บในเซลลข์ องใบสาหรา่ ยหาง
กระรอก แต่ไม่พบในเซลล์ของหวั หอมแดง

ตอบ สว่ นประกอบท่มี ีลกั ษณะเป็นเมด็ สเี ขยี วเลก็ ๆทเ่ี รียกว่าคลอโรพลาสตซ์ ึ่งไมพ่ บ
สว่ นประกอบน้ีในเซลลข์ องหวั หอมแดง

3. ในการศึกษาเซลล์พืชและเซลล์สัตว์ นักเรียนคิดวา่ เหตใุ ดจงึ ตอ้ งหยดสารละลายไอโอดีน
ตอบ เพ่ือใหส้ ังเกตส่วนประกอบของเซลลไ์ ด้ชดั เจนยง่ิ ขึ้น

4. อธิบายลักษณะและส่วนประกอบสำคัญของเซลล์เย่ือบุขา้ งแก้ม
ตอบ มีรูปร่างเป็นเหล่ยี มคล้ายรปู ลกู บาศกแ์ ต่ไม่เป็นเหลีย่ มชดั เจนเหมอื นในเซลล์พืช

ส่วนประกอบท่ีสำคญั ของเซลล์เยอ่ื บุข้างแกม้ เรยี งจากด้านในไปยังด้านนอก คือ นิวเคลียส ไซโทพลาซมึ และ
เยื่อหุม้ เซลล์

5. อธบิ ายพรอ้ มท้งั เปรยี บเทียบรูปร่างและสว่ นประกอบของเซลลเ์ ยอื่ หัวหอมแดงเซลลข์ องใบ
สาหรา่ ยหางกระรอก และเซลลเ์ ยอื่ บุขา้ งแกม้

ตอบ รปู ร่างของเซลล์หัวหอมแดงและเซลลข์ องใบสาหร่ายหางกระรอกเป็นเซลลท์ ี่มเี หล่ยี ม
ชดั เจน ส่วนเซลล์เย่ือบุข้างแกม้ คล้ายรปู ลูกบาศก์แต่ไม่เป็นเหลย่ี มชัดเจนเหมือนกบั เซลลพ์ ชื ส่วนประกอบ
สำคัญท่ีมเี หมอื นกันในเซลล์ทงั้ สามชนิด คอื นิวเคลียสไซโทพลาซึม และเยือ่ หมุ้ เซลล์สว่ นประกอบท่ี
เหมอื นกันระหว่างเซลล์หวั หอมแดงและเซลลข์ องใบสาหรา่ ย หางกระรอก คือ นวิ เคลยี ส ไซโทพลาซมึ
เยือ่ หมุ้ เซลลแ์ ละผนงั เซลล์ และส่วนประกอบทตี่ ่างกนั คือ เซลล์หัวหอมแดงไม่มคี ลอโรพลาสตแ์ ต่เซลล์ของใบ
สาหรา่ ยหางกระรอกมคี ลอโรพลาสต์สำหรับเซลล์เยอ่ื บขุ ้างแก้มซ่งึ เปน็ เซลลส์ ัตว์จะแตกตา่ งจากเซลล์ของใบ
สาหรา่ ยหางกระรอกและเซลลห์ วั หอมแดงซึง่ เปน็ เซลล์พชื กล่าวคือ เซลลเ์ ยื่อบุขา้ งแก้มไม่มีผนังเซลล์และ
คลอโรพลาสต์

สรปุ ผลการทดลอง
1. เซลลม์ รี ปู ร่างลักษณะต่างๆกัน โดยเซลล์พืชทว่ั ไปจะเปน็ รูปเหลีย่ ม สว่ นเซลล์สัตว์

รปู รา่ งไมเ่ ปน็ เหลยี่ มชัดเจนเหมอื นเซลลพ์ ืช
2. เซลล์พืชมีส่วนประกอบเรียงจากด้านนอกเขา้ หาด้านใน คอื ผนังเซลล์ เยื่อหุ้มเซลล์

ไซโทพลาซึม และนิวเคลียส และในเซลลบ์ างชนดิ เช่น เซลล์สาหร่ายหางกระรอก พบเม็ดสเี ขียวจำนวนมาก
เรียกว่า คลอโรพลาสต์ลอยอยู่ในไซโทพลาซมึ เซลล์สัตว์มีส่วนประกอบเหมอื นกับเซลลพ์ ืช คือ นวิ เคลียส ไซ
โทพลาซมึ และเยอื่ หมุ้ เซลล์ แตไ่ ม่มีผนงั เซลล์และคลอโรพลาสต์

34

ใบงาน
เรอ่ื ง เซลลพ์ ืชและเซลล์สตั ว์

คำชี้แจง ให้นักเรียนปฏบิ ตั กิ ิจกรรมตอ่ ไปน้ี

1. เปรียบเทียบความเหมอื นและความแตกต่างระหวา่ งโครงสรา้ งของเซลล์พชื และเซลลส์ ัตว์

โครงสรา้ งของเซลล์ ชนิดของเซลล์

ผนังเซลล์ เซลล์พืช เซลล์สตั ว์
เยอื่ หมุ้ เซลล์
ไซโทพลาซึม
นิวเคลียส
คลอโรพลาสต์

2. เขยี นผังความคดิ (Mind Mapping) แสดงโครงสรา้ งของเซลล์พชื และเซลลส์ ตั ว์

35

เซลลพ์ ืช

เซลลส์ ตั ว์

36

เฉลย ใบงาน
เรือ่ ง เซลล์พชื และเซลลส์ ัตว์

คำชแี้ จง ให้นกั เรียนปฏบิ ตั ิกจิ กรรมตอ่ ไปน้ี

1. เปรียบเทยี บความเหมอื นและความแตกตา่ งระหวา่ งโครงสรา้ งของเซลลพ์ ืชและเซลล์สัตว์

2.

โครงสรา้ งของเซลล์ ชนิดของเซลล์

เซลลพ์ ืช เซลลส์ ตั ว์

ผนังเซลล์ มี ไม่มี

เยอ่ื หุม้ เซลล์ มี มี

ไซโทพลาซมึ มี มี

นวิ เคลยี ส มี มี

คลอโรพลาสต์ มี ไมม่ ี

37

2. เขยี นผงั ความคิด (Mind Mapping) แสดงโครงสร้างของเซลลพ์ ืชและเซลล์สัตว์

เซลล์พืช

เยอื่ หมุ้ เซลล์ ภายในเยื่อหุ้มเซลล์

ผนังเซลล์ เยื่อเลอื กผ่าน เปน็ เม็ด ไม่เปน็ เมด็
เซลล์สตั ว์
(ของเหลว)

ไซโทพลาซมึ
นิวเคลียส คลอโรพลาสต์

เย่อื หุ้มเซลล์ ภายในเยอื่ หุ้มเซลล์

เปน็ เม็ด ไม่เปน็ เมด็
นวิ เคลยี ส (ของเหลว)
ไซโทพลาสซมึ

38

ใบความรู้
เรอ่ื ง โครงสร้างของเซลล์

หน้าทแ่ี ละส่วนประกอบของเซลล์

เซลล์ของส่งิ มชี ีวิตแตล่ ะชนิดมคี วามแตกต่างกันทั้ง
รูปร่าง ขนาดและหนา้ ที่ ทุกเซลลม์ ีสว่ นประกอบภายในเซลล์คล้ายคลึงกันมาก ประกอบด้วย นิวเคลียส เยื่อ
หุ้มเซลล์ และโซโทพลาซมึ
แตล่ ะส่วนประกอบดว้ ยรายละเอียดดังน้ี

1. นวิ เคลียสเป็นโครงสรา้ งท่สี ำคัญของเซลลท์ ุกชนดิ จะมรี ปู รา่ งเปน็ ทรงกลมและมเี ย่อื หุ้ม 2 ชน้ั
หนา้ ท่ีสำคัญของนวิ เคลียส คือเปน็ ศูนยก์ ลางในการควบคุมขบวนการต่างๆของเซลล์ เช่นการสืบพนั ธ์ุ
การแบง่ เซลล์ การสังเคราะห์โปรตนี และควบคุมการถ่ายทอดลักษณะทางพนั ธุกรรม จากพ่อแมไ่ ปยงั ลกู หลาน
ภายในนิวเคลียสประกอบด้วย

- นิวคลโี อลัส เป็นส่วนที่ประกอบดว้ ยสารดอี อกซีไรโบนวิ คลอี กิ แอซกิ หรือ DNA
- โครมาติน มีลกั ษณะเปน็ รา่ งแหซ่งึ มี DNA หรอื ยนี และโปรตนี เป็นองคป์ ระกอบทำหนา้ ที่
ควบคมุ การสงั เคราะห์โปรตีนและลกั ษณะตา่ งๆของสง่ิ มีชวี ิตซึง่ ถ่ายทอดไปสรู่ นุ่ ลูกรนุ่ หลาน
2. เย่ือหุ้มเซลล์ เปน็ เยื่อบาง ๆทหี่ ุ้มโพรโตพลาซึมประกอบด้วยสาร 2 ชนดิ คอื ไขมนั กับโปรตีน
ทำหนา้ ท่ีควบคมุ ปรมิ าณและชนดิ ของสารทผ่ี ่านเขา้ และออกจากเซลล์ เช่นสารทม่ี โี มเลกลุ ขนาดเล็กได้แก่ นำ้
น้ำตาลกลโู คส กรดอะมิโน อากาศ ฯลฯ ส่วนสารท่ีมีโมเลกลุ ใหญ่จะผ่านเข้าออกไมไ่ ดไ้ ดแ้ กค่ าร์โบไฮเดรต
โปรตีน และไขมัน
3. ไซโทพลาซึม เป็นของเหลวรอบ ๆ นวิ เคลยี ส มหี นา้ ท่ีเปน็ ของเหลวหลอ่ เล้ียงเซลล์ และมี
องค์ประกอบต่าง ๆ ทที่ ำหน้าที่เฉพาะของเซลลป์ ระกอบไปดว้ ยอาหารซ่ึงไดแ้ ก่ น้ำตาล ไขมัน โปรตีน และ
ของเสีย แต่ไมร่ วมนวิ เคลียส

39

สว่ นประกอบของเซลล์และหน้าท่ขี องส่วนประกอบของเซลล์พืช

เซลลพ์ ืช คอื หนว่ ยท่ีเลก็ ทส่ี ุดของพชื เซลล์มอี ยู่ในทุกส่วนของ พชื

อาจจะมรี ปู รา่ ง หน้าที่ และส่วนประกอบแตกต่างกันบา้ ง แต่โดยทั่วไปเซลลม์ ีสว่ นประกอบดงั น้ี

1. ผนงั เซลล์ มหี น้าท่เี พิ่มความแข็งแรงและปอ้ งกนั อนั ตรายใหแ้ ก่เนอ้ื เยอื่ พชื ผนงั เซลล์เป็นสารพวก

เซลลูโลส ซ่ึงเป็นคาร์โบไฮเดรตทมี่ ีโมเลกุลใหญ่ ผนังเซลล์มเี ฉพาะในเซลลพ์ ชื

2. เยือ่ หมุ้ เซลล์ มีลกั ษณะเป็นเยอ่ื บาง ๆ ซง่ึ เป็นสารประเภทโปรตีนและไขมัน ทำหน้าทหี่ อ่ หุม้ ไซ

โทพลาซึมให้รวมกันอยไู่ ด้ และทำหนา้ ทค่ี วบคมุ ปริมาณและชนิดของสารทผี่ ่านเข้าออกจากเซลล์ เชน่ น้ำ

อากาศ ของเสีย เกลอื แร่ และอื่นๆ

3. ไซโทพลาซึม เป็นของเหลวที่อย่รู อบๆนิวเคลยี ส ประกอบด้วยสารประกอบหลายชนิด เชน่

นำ้ ตาล โปรตนี ไขมนั คาร์โบไฮเดรต และเกลอื แร่ชนิดตา่ ง ๆ ในไซโทพลาซมึ มเี ม็ดสีเขียว เรยี กว่า คลอโรพ

ลาสต์ ซง่ึ ภายในมนี ำ้ และโมเลกลุ ของสารสีเขยี ว เรียกว่า คลอโรฟลิ ล์ ซ่ึงใช้

ในการสังเคราะหด์ ้วยแสงของพืช

4. นิวเคลียส มีลกั ษณะค่อนข้างกลม ทำหนา้ ที่ควบคมุ การทำงานของเซลล์ การเจริญเตบิ โตและ

การถา่ ยทอดลักษณะทางพนั ธุกรรมจากพอ่ แม่ไปสูล่ กู หลาน

หน้าทขี่ องส่วนประกอบของเซลล์สตั ว์

40
เซลล์สัตว์ คือหน่วยท่ีเล็กท่ีสุดของสตั ว์ ซึ่งมีอย่ใู นทกุ ๆ สว่ นของสตั ว์ อาจจะมรี ูปร่างขนาด
และลักษณะแตกต่างกันออกไป ตามแต่ชนิดและหนา้ ทข่ี องเซลล์ เช่น เซลล์กล้ามเนือ้ และเซลล์ประสาทมี
ลักษณะเปน็ เสน้ ยาว เซลล์เม็ดเลือดแดงของกบมลี ักษณะรเี ปน็ รูปไข่มีนิวเคลยี ส ตรงกลาง แตเ่ ซลล์เม็ดเลอื ด
แดงของสัตว์เลี้ยงลกู ด้วยนมมีลักษณะกลมและไม่มนี วิ เคลยี ส
เซลลส์ ัตวก์ ็เช่นเดยี วกบั เซลล์พืช คือประกอบดว้ ยสว่ นท่เี ป็นนวิ เคลยี สและไซโทพลาซึม แต่ในไซ
โทพลาซมึ ของเซลล์สัตวไ์ ม่มีคลอโรพลาสต์ จึงเป็นเหตุผลหน่ึงทีส่ ัตว์สรา้ งอาหารเองไมไ่ ด้
นอกจากนี้เซลล์สตั วย์ ังต่างจากเซลล์สัตวอ์ ีกประการหนึง่ คอื เซลล์สัตวไ์ มม่ ีผนังเซลล์ มีแตเ่ ย่อื ห้มุ
เซลล์ ล้อมรอบไซโทพลาซึมเทา่ นั้น

\
ภาพเซลล์สัตว์

แสดงโครงสรา้ งและสว่ นประกอบของเซลลพ์ ืช
และสตั ว์

41

สรุปโครงสร้างและสว่ นประกอบของเซลล์พืชและเซลล์สัตว์

โครงสร้าง เซลล์พืช เซลลส์ ัตว์

1.สว่ นห่อหุ้มเซลล์

- เยื่อหมุ้ เซลล์ มี มี

- ผนงั เซลล์ มี ไมม่ ี

2. นิวเคลยี ส มี มี

3. ไซโทพลาซึม

- ร่างแหเอนโดพลาซมึ มี มี

- ไมโทคอนเดรีย มี มี

- กอลจคิ อมเพลกซ์ มี มี

- แวควิ โอล มม

- คลอโรพลาสต์ มี ไมม่ ี

- เซนทรโิ อ ไมม่ ี มี

- ไรโบโซม มี มี

- ไลโซโซม ไม่มี มี

4. ความแขง็ แรง แข็งแรง อยู่ได้นาน มักออ่ นนุม่

5. รูปร่างของเซลล์ รูปเหลี่ยม รูปกลมรี

ตาราง แสดงความแตกตา่ งระหว่างเซลล์พืชกบั เซลล์สัตว์

ความแตกตา่ งของเซลล์พชื และเซลลส์ ัตว์

เซลลพ์ ชื เซลล์สัตว์

- มรี ปู รา่ งเปน็ เหล่ยี ม - มรี ูปรา่ งกลม หรอื รี

- มผี นงั เซลล์อยดู่ ้านนอก - ไมม่ ผี นังเซลล์ แต่มีสาร เคลอื บเซลล์ อยู่ดา้ นนอก

- มีคลอโรพลาสต์ ภายในเซลล์ - ไมม่ ีคลอโรพลาสต์

- ไมม่ เี ซนทรโิ อล - มีเซนทรโิ อลใช้ในการแบ่งเซลล์

- แวคคิวโอลมีขนาดใหญ่ มองเหน็ ไดช้ ัดเจน - แวคควิ โอลมขี นาดเล็ก มองเห็นได้ไมช่ ัดเจน

- ไมม่ ไี ลโซโซม - มีไลโซโซม

แบบฝึกหดั 42
ข.
คำชี้แจง ใหน้ ักเรยี นเลอื กคำตอบทีถ่ ูกท่ีสดุ เพียงคำตอบเดยี ว

1. สว่ นประกอบของเซลลท์ ่พี บในเซลลพ์ ืชแตไ่ มพ่ บในเซลล์สตั ว์คอื อะไร

ก. นิวเคลียส ข. เยอื่ หุ้มเซลล์

ค. ไซโทพลาซึม ง. คลอโรพลาสต์

2. สว่ นประกอบของเซลลท์ ีพ่ บเฉพาะในเซลล์พืชคอื อะไร

ก. ผนงั เซลล์ ข. นวิ เคลยี ส

ค. เย่ือหุ้มเซลล์ ง. ไซโทพลาซมึ

3. ส่วนประกอบของเซลลพ์ ชื ส่วนใดท่ีทำหน้าที่คล้ายยาม

ก. ผนงั เซลล์ ข. นวิ เคลยี ส

ค. เย่อื หมุ้ เซลล์ ง. ไซโทพลาซมึ

4. เซลล์ข้อใดที่ ไมม่ ี นวิ เคลยี สเป็นส่วนประกอบ

ก. เซลลป์ ระสาท ข. เซลลก์ ล้ามเน้ือ

ค. เซลลเ์ ยือ่ บุข้างแกม้ ง. เซลล์เมด็ เลือดแดง

5. ขอ้ ใดเปน็ หน้าท่ีของนิวเคลียส

ก. ควบคุมการถา่ ยทอดลักษณะทางพันธุกรรม

ควบคุมการผ่านเขา้ ออกของสารภายในเซลล์

ค. ป้องกันอันตรายและช่วยใหเ้ ซลล์คงรูปอย่ไู ด้

ง. สังเคราะหด์ ้วยแสง

6. โครงสรา้ งใดท่ีชว่ ยให้เซลล์พืชมคี วามแขง็ แรงและคงรปู อยู่ได้

ก. เซลลโู ลส ข. เยอื่ หุ้มเซลล์

ค. คอลลาเจน ง. ผนงั เซลล์

7. ขอ้ ความใดถูกต้อง

ก. คลอโรพลาสตพ์ บในเซลล์พืช คลอโรฟิลล์พบในเซลลส์ ัตว์

ข. คลอโรพลาสตเ์ ป็นออรแ์ กเนลล์ คลอโรฟิลลเ์ ปน็ รงควตั ถุ

ค. ทง้ั คลอโรพลาสต์และคลอโรฟลิ ล์พบในเซลล์สัตว์

ง. ท้ังคลอโรพลาสตแ์ ละคลอโรฟลิ ล์ใหส้ ีเขยี ว

43

เฉลยแบบฝกึ หัด

1. ง
2. ก
3. ค
4. ง
5. ก
6. ง
7. ข

44

แผนการจดั การเรยี นรู้ที่ 3

หนว่ ยการเรียนรูท้ ี่ 2 หน่วยพ้ืนฐานของส่งิ มีชีวติ เร่ือง รปู ร่างและลัษณะของเซลล์

กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี

รหัสวิชา ว 21101 รายวิชา วทิ ยาศาสตร์ 1 ชนั้ ม.1 เวลาเรียน 3 ชวั่ โมง

ภาคเรียนท่ี 1 ปกี ารศึกษา 2565 ครูผู้สอน นายดเิ รกฤทธ์ิ ยเุ หล็ก ตำแหน่ง ครู คศ.1

ใช้สอนวนั ....................... ที่............ เดอื น.................................... พ.ศ. .........................

*************************************

1. มาตรฐานการเรยี นร/ู้ ตวั ชี้วดั
มาตรฐาน ว 1.2 เข้าใจสมบัตขิ องสิ่งมีชวี ิตหน่วยพ้นื ฐานของสง่ิ มชี วี ติ การลำเลยี งสารผ่านเซลล์ความสัมพนั ธ์ของ
โครงสรา้ งและหนา้ ที่ของระบบต่างๆของสัตว์และมนษุ ยท์ ท่ี ำงานสัมพันธ์กันความสัมพันธ์ของโครงสร้างและหน้าที่
ของอวัยวะตา่ งๆของพชื ทที่ ำงานสัมพนั ธ์กันรวมทง้ั นำความรู้ไปใชป้ ระโยชน์
ตัวช้ีวัด

ว 1.2 ม.1/1 เปรียบเทียบรูปรา่ งและโครงสรา้ งของเซลลพ์ ืชและเซลลส์ ัตวร์ วมทั้งบรรยายหน้าทข่ี องผนงั
เซลล์ เยอ่ื หุม้ เซลลไ์ ซโทพลาซึมนิวเคลยี สแวคิวโอลไมโทคอนเดรียและคลอโรพลาสต์

ว 1.2 ม.1/2 ใช้กล้องจุลทรรศน์ใช้แสงศกึ ษาเซลล์และโครงสร้างต่างๆภายในเซลล์

2. สาระสำคญั
ส่ิงมีชวี ิตท่มี เี ซลล์เพียงเซลล์เดียวเราเรียกว่า สงิ่ มชี ีวิตเซลล์เดียว ส่วนสิ่งมีชวี ติ ที่ประกอบขึน้ จากเซลล์

หลายเซลลม์ ารวมกลมุ่ กนั เป็นรูปร่าง เราเรียกวา่ ส่ิงมีชวี ติ หลายเซลล์

3. จดุ ประสงค์การเรียนรู้
ดา้ นความรู้ (K)

1. อธิบายรูปรา่ งลักษณะของเซลล์ของส่ิงมีชีวิตเซลล์เดียวและเซลลข์ องส่ิงมชี ีวติ หลายเซลล์ได้
2. บอกประโยชน์ท่ีได้รบั จากการศกึ ษาเร่ืองเซลล์ของสง่ิ มชี วี ิตได้
ด้านทักษะกระบวนการ (P)
1. ทักษะการสงั เกต
2. ทกั ษะการจำแนกประเภท
คุณลกั ษณะทพ่ี งึ ประสงค์
มคี วามรับผิดชอบ

45

4. สาระการเรยี นรู้
รปู ร่างและลษั ณะของเซลล์

5. กระบวนการจัดการเรียนรู้ (กระบวนการสบื เสาะหาความร)ู้
ชัว่ โมงที่ 1

1. ขนั้ สรา้ งความสนใจ
1.1 ใหน้ ักเรยี นยกตัวอย่างเซลลพ์ ืชและเซลล์สัตวท์ ม่ี ีรูปรา่ งแตกตา่ งไปเพอ่ื ทำหนา้ ทพ่ี ิเศษ

เช่น เซลลป์ ระสาทของสตั ว์ เซลลป์ ากใบของพืช
2. ข้นั สำรวจและค้นหา
2.1 ครแู บ่งกลมุ่ นักเรยี นเปน็ 9 กลมุ่ โดยให้แต่ละกลุ่มใช้กล้องจลุ ทรรศนศ์ ึกษาเซลล์จาก

สไลด์สำเร็จตามทีไ่ ด้รบั มอบหมายกลุ่มละ 1 ลักษณะ จำนวน 9 ลกั ษณะ คอื เซลล์ปากใบ เซลล์
แพลิเซด เซลล์ไซเลม็ เซลล์ขนราก เซลล์ประสาท เซลล์กระดกู เซลล์เม็ดเลอื ดแดง เซลล์กล้ามเน้อื และเซลล์
อสจุ ิ

2.2 นกั เรยี นแตล่ ะกลุ่มเขยี นปา้ ยแสดงฐานในการศึกษารูปรา่ งของเซลล์ เช่น ฐานศึกษา
รปู ร่างของเซลลป์ ากใบ เป็นตน้

2.3 นกั เรียนแต่ละกลมุ่ แลกเปล่ยี นเรียนรู้กนั ศกึ ษารปู ร่างของเซลล์ท่ีเปล่ยี นไปทำหนา้ ทีพ่ เิ ศษ
วาดรูปตามทส่ี งั เกตเห็น

ช่วั โมงท่ี 2

3. ขนั้ อธิบายและลงขอ้ สรปุ
3.1 ครนู ำอภิปรายสรุปใหน้ กั เรยี นซักถามขอ้ สงสัย
3.2 ครูนำเสนอรปู ลักษณะของสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียวกับส่ิงมีชีวิตหลายเซลล์ ให้นักเรียน
เปรียบเทียบความแตกตา่ งของกลุม่ สิง่ มีชีวิต 2 กล่มุ
3.3 ตัวแทนนักเรียนนำเสนอผลการวเิ คราะหเ์ ปรียบเทียบลกั ษณะของส่งิ มชี วี ติ เซลล์
เดยี วกบั ส่งิ มีชวี ิตหลายเซลล์

3.4 นกั เรยี นและครูร่วมกนั อภปิ รายสรุปรปู รา่ งลักษณะของเซลล์ของส่ิงมีชวี ิตเซลล์เดยี วและเซลล์
ของสง่ิ มีชวี ติ หลายเซลล์

ชว่ั โมงท่ี 3
4. ขนั้ ขยายความรู้

ใหน้ ักเรยี นสืบคน้ ข้อมูลรูปร่างลักษณะของเซลลเ์ พ่ิมเติมจากใบความรู้ เรื่อง รปู รา่ งลกั ษณะ
ของเซลล์ ท่ีได้ศึกษาในห้องเรยี นแลว้ นำข้อมลู มาจัดป้ายนิเทศ

46
5. ขัน้ ประเมิน
1. ครูและนักเรยี นร่วมกันแสดงความคิดเห็น เกยี่ วกบั ประโยชน์ทีไ่ ด้รบั จากการปฏิบัติ
กจิ กรรม และการนำความร้ทู ไ่ี ดไ้ ปใช้ประโยชน์
2. ทดสอบความเข้าใจของนกั เรยี น โดยการให้ตอบคำถาม เชน่ รูปร่างลกั ษณะของเซลล์ของสิง่ มชี วี ิต
เซลล์เดียวและเซลล์ของสง่ิ มีชีวิตหลายเซลล์เหมือนหรือแตกตา่ งกันอยา่ งไร

6. สื่อ / แหล่งการเรียนรู้
1. ส่ือสิ่งพมิ พ์ และเวบ็ ไซต์ต่าง ๆ ทางอินเทอรเ์ น็ตท่ีเกย่ี วขอ้ ง
2. ใบความรู้ เรื่อง รปู ร่างลกั ษณะของเซลล์
3. หอ้ งสมดุ

7. การวดั และประเมินผล

สง่ิ ทตี่ ้องการประเมิน วธิ ีการวดั ผล เคร่อื งมือท่ีใช้ เกณฑก์ ารผา่ น
ในการวดั ผล การประเมนิ ผล

ความรู้ การตรวจผลงาน แบบประเมินการตรวจ ได้คะแนนเฉล่ยี รอ้ ยละ
1. อธบิ ายรปู ร่าง ผลงาน 60 ข้นึ ไป
ลักษณะของเซลล์ของ - การนำเสนอผลงาน
สิง่ มชี วี ติ เซลล์เดียวและ - สงั เกตพฤตกิ รรมการ - แบบประเมนิ การ ได้คะแนนเฉลย่ี ร้อยละ
เซลล์ของสงิ่ มชี ีวติ หลาย ทำงานกลุม่ นำเสนอผลงาน 60 ขึ้นไป
เซลลไ์ ด้ สังเกตพฤตกิ รรม - แบบประเมนิ พฤตกิ รรม
2.บอกประโยชน์ที่ไดร้ ับ รายบุคคล การทำงานกล่มุ
จากการศกึ ษาเรอื่ งเซลล์
ของสง่ิ มีชวี ิตได้ แบบประเมนิ พฤตกิ รรม ได้คะแนนเฉลี่ย 2 (ด)ี
ทกั ษะ
กระบวนการสืบเสาะ รายบุคคล ข้นึ ไป
หาความรู้

คุณลักษณะอนั พงึ
ประสงค์
ความสนใจใฝ่รู้ ความ
ม่งุ มั่น อดทน

8. บันทึกหลังการจัดการเรยี นรู้ 47
8.1 ผลการจดั การเรยี นรู้
ผู้เรียนทผี่ ่านตัวชีว้ ัด/ผลการเรียนรู้ จำนวน...............คน คิดเปน็ ร้อยละ.................
ผ้เู รยี นทไี่ มผ่ า่ นตวั ช้วี ดั /ผลการเรียนรู้ จำนวน...............คน คิดเป็นรอ้ ยละ.................

เลขท่ีของนักเรียนท่ีสอบไมผ่ ่านตัวชีว้ ัด..................................................................................................
............................................................................................................................................................................

สาเหตุท่ไี ม่ผา่ น .....................................................................................................................................
............................................................................................................................................................................

แนวทางแก้ปญั หา..................................................................................................................................
............................................................................................................................................................................

ผู้เรียนที่มีความสามารถพิเศษ ได้แก่ ....................................................................................................
............................................................................................................................................................................

แนวทางการพัฒนา/ส่งเสริม..................................................................................................................
............................................................................................................................................................................

ผเู้ รียนได้รบั ความรู้ (K) ในเรอ่ื ง ............................................................................................................
ผู้เรยี นเกดิ ทกั ษะกระบวนการ (P) ในเร่อื ง............................................................................................
ผ้เู รียนมีคุณธรรม จรยิ ธรรม ค่านยิ ม (A) ในเรอ่ื ง.................................................................................

8.2 ปญั หาอปุ สรรค
............................................................................................................................................................................
............................................................................................................................................................................

8.3 ขอ้ เสนอแนะและแนวทางแก้ปญั หา
............................................................................................................................................................................
............................................................................................................................................................................

ลงชอื่ .......................................................ครูผู้สอน
(นายดเิ รกฤทธ์ิ ยเุ หล็ก)
ตำแหน่ง ครู คศ.1

วันท.ี่ ...........เดือน..........................พ.ศ. ................

48
9. ความคิดเหน็ ของผบู้ รหิ ารสถานศกึ ษา/ผทู้ ่ีได้รบั มอบหมาย
............................................................................................................................................................................
............................................................................................................................................................................
............................................................................................................................................................................

ลงช่ือ......................................หวั หน้ากลุ่มสาระการเรียนรู้
(นางสาวพสั ราภรณ์ พลู แจ้ง)

วนั ที่............เดอื น..........................พ.ศ. ................

รับทราบผลการจัดการเรยี นรู้

ลงชื่อ....................................................... ลงชื่อ......................................................
(...............................................) (นายวิรชั ต์ จำปาทอง)

ตำแหนง่ รองผูอ้ ำนวยการสถานศกึ ษา ฝ่ายบริหารวชิ าการ ตำแหนง่ ผอู้ ำนวยการสถานศกึ ษา
วนั ท.่ี ...........เดือน..........................พ.ศ. ........... วันท่ี............เดอื น..........................พ.ศ. ..........

49

ใบความรู้
เรื่อง รูปร่างลักษณะของเซลล์

รูปรา่ งของเซลล์
ส่ิงมีชีวติ ทุกชนดิ ไมว่ ่าจะมขี นาดเลก็ หรอื ใหญก่ ็ตาม จะประกอบด้วยหนว่ ยท่เี ลก็ ท่ีสดุ แตม่ ี

ความสำคัญต่อชีวิตมากท่ีสุดเรียกว่า เซลล์ (Cell )
เซลล์ (Cell ) คอื หนว่ ยเล็ก ๆ ของส่งิ มีชีวติ ซึง่ เปน็ สว่ นประกอบพน้ื ฐานทสี่ ำคัญ

ของสง่ิ มีชีวิต เซลล์ของสิ่งมชี วี ติ อาจมีรปู รา่ งและส่วนประกอบทแี่ ตกตา่ งกันเพอื่ ความเหมาะสมกับหนา้ ที่การ
งาน

สงิ่ มีชีวิตมีทัง้ สิ่งมีชีวติ เซลลเ์ ดยี วและสิง่ มีชวี ิตหลายเซลล์เซลลข์ องสิง่ มชี ีวิตเหล่านจ้ี ะมี ลักษณะ
และรปู ร่างแตกต่างกัน ดงั น้ี

1. สง่ิ มชี ีวิตที่มเี ซลลเ์ พยี งเซลล์เดยี ว เรยี กวา่ ส่งิ มีชีวติ เซลลเ์ ดียว สิง่ มีชวี ิตเหลา่ นมี้ ีขนาดเล็ก
มาก มองดว้ ยตาเปลา่ ไม่เหน็ การศกึ ษาต้องใชก้ ล้องจุลทรรศน์สอ่ งดู สามารถทำกิจกรรมทุกอยา่ งทส่ี ่งิ มีชวี ิต
ทัว่ ๆ ไปทำได้ เช่น เคลื่อนไหว กินอาหาร สืบพันธ์ุ เช่น

1.1 อะมบี า รปู ร่างไมแ่ น่นอน เคลอ่ื นท่โี ดยใช้ ขาเทียม

1.2 พารามีเซียม รูปรา่ งเรยี วยาว คล้ายรองเท้าแตะ มขี นรอบ ๆ ตวั และใช้ขนในการ
เคลอ่ื นที่

50

1.3 ยกู ลนี า รูปร่างรียาว มีแฟลกเจลลา (แส้) อยบู่ รเิ วณดา้ นบนซง่ึ ใช้ในการเคลือ่ นที่

2. สิง่ มชี ีวิตท่ีมีเซลล์หลายเซลล์ มารวมกนั เป็นรูปร่างโดยแตล่ ะเซลลจ์ ะมรี ปู ร่างและหนา้ ที่
แตกต่างกนั แต่มีการทำงานประสานกนั ของเซลล์ทั้งหมดที่ประกอบกันเป็นรูปร่างอันมีผลทำให้สิ่งมชี ีวติ นนั้ ๆ
สามารถดำรงชีวติ อย่ไู ด้ นอกจากนัน้ เซลล์ใหม่จะเกิดจากกระบวนการแบง่ เซลล์ของเซลล์ที่มีชีวติ อยู่ก่อน และ
เซลล์ใหม่จะได้รับการถา่ ยทอด ลักษณะทางพันธกุ รรม จากเซลลเ์ ดิมด้วย เรียกสงิ่ มีชีวติ เหล่าน้วี า่ ส่งิ มชี ีวติ
หลายเซลล์ ไดแ้ ก่ พชื สตั ว์ มนุษย์ และเห็ดรา เซลล์ของส่ิงมีชีวติ หลายเซลลท์ มี่ ีขนาดเลก็ มาก มองดว้ ยตา
เปลา่ ไม่เหน็ ได้แก่

2.1 เซลลส์ ตั ว์ เชน่
2.1.1 เซลล์เมด็ เลอื ดแดงของกบและปลา มีรูปร่างรเี ป็นรปู ไขและมนี วิ เคลียสใหญ่อยู่

ตรงกลาง ทำหนา้ ท่ีลำเลียงแกส๊ ไปยงั เซลล์ต่างๆของร่างกาย


Click to View FlipBook Version