The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

หลักสูตรสมเด็จย่า ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by kaewmaneekoson3122, 2021-10-20 05:13:17

หลักสูตรสมเด็จย่า ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3

หลักสูตรสมเด็จย่า ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3

หลกั สตู รสมเดจ็ ย่า
ชนั้ ประถมศึกษาปี ที่ 3

ป.3

โรงเรยี นตำรวจตระเวนชำยแดนบำ้ นควนตะแบก
324 หมูท่ ี่ 9 ต.เกำะเต่ำ อ.ปำ่ พะยอม จ.พทั ลุง

เอกสารประกอบหลกั สูตรโรงเรียนตํารวจตระเวนชายแดน

หลกั สูตรสมเด็จย่า

ชนั ประถมศึกษาปี ที$ ๓

ผูจ้ ดั ทํา
กองบญั ชาการตํารวจตระเวนชายแดน

สถาบนั ราชภฏั สกลนคร
๒๕๔๗

สารบญั หนา้

คาํ นาํ ๑
ความเป็นมาของหลักสตู รและชุดการเรียนการสอน ๓
คาํ ช"ีแจงการใช้ชุดการเรียนการสอน ๔
ข"ันตอนการใช้ชุดการเรียนการสอน ๖
แผนการสอนท)ี ๑ ๑๒
แผนการสอนท)ี ๒ ๑๘
แผนการสอนท)ี ๓ ๒๒
แผนการสอนท)ี ๔ ๒๗
แบบทดสอบ ๓๐
เอกสารอ้างองิ (๑) – (๓๒)
ภาคผนวก

- เน"ือหาเร)ืองสมเดจ็ ย่า
- ใบความรู้
- คาํ กล่าวถวายรายงานและกราบบังคมทูล
- เพลงพระม)ิงขวญั บคุ คลสาํ คญั ของโลก
- เพลงวนั เข้าพรรษา
- เพลงวันวสิ าขบชู า
- เพลงความสะอาด
- คณะกรรมการจัดทาํ หลักสตู รสมเดจ็ ย่า

คาํ นาํ

เอกสารคู่มือการใช้ชุดการเรียนการสอนน"ี จัดทําข"ึนเพ)ือใช้เป็ นส)ือ
ประกอบการเรียนการสอนตามหลักสูตรสมเดจ็ ย่า กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา
ศาสนา และวัฒนธรรม ระดับช"ันประถมศึกษาปี ท)ี ๑ ถึงช"ันประถมศึกษาปี ท)ี ๖
ในโรงเรียนตาํ รวจตระเวนชายแดน เพ)ือให้ผู้สอนใช้เป็นแนวทางในการจัดกจิ กรรม
การเรียนการสอนให้เป็นไปตามเจตนารมณ์ของหลักสตู รสมเดจ็ ย่า

ส่วนประกอบของเอกสารคู่มือการใช้ ชุดการเรียนการสอนหลักสูตร
สมเดจ็ ย่า ประกอบด้วย ความเป็นมาของหลกั สตู รและชุดการเรียนการสอน คาํ ช"ีแจง
การใช้ชุดการเรียนการสอน ข"ันตอนการใช้ชุดการเรียนการสอน แผนการสอน
ช"ันประถมศึกษาปี ท)ี ๑-๖ และภาคผนวกซ)ึงประกอบด้วยใบความรู้ ใบงาน แบบฝึกหัด
เป็นต้น กิจกรรมท)ีนาํ เสนอไว้ในคู่มือฯ มุ่งเน้นให้ผู้เรียนได้เรียนรู้ และตระหนัก
ในความสาํ คัญรวมถึงพระมหากรุณาธิคุณของสมเดจ็ ย่า ท)ีทรงมีต่อโรงเรียนตํารวจ
ตระเวนชายแดน ให้ผู้เรียนได้เรียนรู้แบบมีสว่ นร่วมและปฏบิ ัติจริงมากท)สี ุด ท"งั น"ีผู้สอน
จะต้องศึกษาจุดประสงค์ของการสอนเป็นหลักในการจดั กจิ กรรม และปรับ/ยดื หยุ่นให้
สอดคล้องกบั สาระการเรียนรู้ และเวลาเรียนแต่ละระดบั ช"ัน

เอกสารคู่มือการใช้ชุดการเรียนการสอนฉบับน"ี ได้ปรับปรุงตามข้อ-
เสนอแนะของผู้ทรงคุณวุฒิ และผู้เช)ียวชาญด้านหลักสูตรและการสอนเป็ นคร"ังท)ี ๓
หากผู้สอนนาํ ไปใช้แล้วมีข้อเสนอแนะประการใด คณะผู้จัดทาํ ยินดีรับฟังและแก้ไข
ให้ถูกต้องเหมาะสมต่อไป

คณะผู้จดั ทาํ
๒๐ กุมภาพันธ์ ๒๕๔๗



คู่มอื การใชช้ ดุ การเรียนการสอน

หลกั สูตรสมเด็จย่า
ชนั ประถมศึกษาปี ที# ๖

ความเป็ นมาของหลกั สูตรและชดุ การเรียนการสอน

หลกั สตู รสมเดจ็ ย่า เกดิ ขึนจากแนวพระปรารภของสมเดจ็ พระเทพ
รัตนราชสดุ าฯ สยามบรมราชกมุ ารี เม&อื ครังท&ี พล.ต.ท. คาํ รณ ลยี วณชิ ผบช.ตชด.
และ พล.ต.ต.สมศักด-ิ บปุ ผาสวุ รรณ รอง ผบช.ตชด. (ตาํ แหน่งในขณะนัน) ได้เข้า
เฝ้ า พระองค์ทา่ น เม&ือวนั ท&ี ๒๕ มถิ ุนายน ๒๕๔๓ ณ พระตาํ หนกั ปรายเนนิ เพ&ือ
กราบบังคมทลู เชิญเสดจ็ เป็นองคป์ ระธานเปิ ดงานเฉลิมฉลองครบรอบ ๑๐๐ ปี วัน
คล้ายวนั พระราชสมภพ สมเดจ็ พระศรีนครินทราบรมราชชนนี ในวนั ท&ี ๑๓ ตลุ าคม
๒๕๔๓ ณ ศูนย์วฒั นธรรมแห่งชาติ สมเดจ็ พระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี
ได้ทรงปรารภกบั คณะผู้เข้าเฝ้ ามใี จความตอนหน&ึงว่า…สปช.ได้กาํ หนดหลกั สตู รให้
นกั เรียนประถมศึกษา ได้ศกึ ษาประวตั ิท่านปรีดี พนมยงค์ นกั เรียนโรงเรียนตาํ รวจ
ตระเวนชายแดน ควรจะได้ศึกษาและรู้จกั สมเดจ็ ย่าด้วย…

จากแนวพระปรารภ ของสมเดจ็ พระเทพรัตนราชสดุ าฯ สยามบรมราช
กุมารี นี กองบัญชาการตาํ รวจตระเวนชายแดน ได้มอบหมายให้กองกาํ กบั การตาํ รวจ
ตระเวนชายแดนแต่ละแห่ง นาํ ไปริเร&ิมจดั ทาํ หลกั สตู รสมเดจ็ ย่า (สมเดจ็ พระศรีนคริน
ทราบรมราชชนนี) เพ&ือใช้สอนในโรงเรียนตาํ รวจตระเวนชายแดน

สถาบันราชภฏั สกลนคร ได้รับการประสานจาก กก.ตชด.๒๓ โดย
ผกก.ตชด.๒๓ (พ.ต.อ.โชติ ไทยย&ิง) ขอความร่วมมอื ในการสร้างหลกั สตู รสมเดจ็ ย่า
โดยมุ่งเน้นให้นกั เรียนโรงเรียนตาํ รวจตระเวนชายแดน ได้เรียนรู้และตระหนกั ใน
พระมหากรุณาธคิ ณุ ท&สี มเดจ็ ย่าทรงมีต่อครู นักเรียน และครอบครัวตาํ รวจตระเวน
ชายแดน สถาบนั ราชภฏั สกลนคร จึงได้แต่งตังคณะทาํ งาน ศกึ ษา รวบรวม พระราช
ประวัติ พระราชกรณยี กจิ ของสมเดจ็ ย่า และได้จดั ทาํ หลักสตู รสมเดจ็ ย่า ขึน ทดลอง
ใช้ครังแรกในโรงเรียนตาํ รวจตระเวนชายแดน สงั กดั กก.ตชด.๒๓ จาํ นวน ๔ โรงเรียน



เม&ือเดือนพฤษภาคม ๒๕๔๕ โดยทาํ เป็นชุดการเรียนการสอน ใช้ช&ือชุดว่า “ชุดสดุดี

สมเดจ็ ย่า” ประกอบด้วยพระราชประวตั สิ มเดจ็ ย่า ๖ ตอน และพระราชกรณียกจิ

ของสมเดจ็ ย่า ๖ ด้าน ผลจากการทดลองใช้ชุดการเรียนการสอนครังนัน พบว่า เนือหา

มากและยากเกนิ ไปสาํ หรับนักเรียนโรงเรียนตาํ รวจตระเวนชายแดน กจิ กรรมการเรียน

การสอนท&กี าํ หนดไว้มรี ายละเอยี ดน้อย ยากต่อการนาํ ไปใช้ คณะทาํ งานจงึ ได้นาํ ชุด

การเรียนการสอนดังกล่าวมาปรับปรุงใหม่ โดยปรับปรุงเฉพาะชันประถมศึกษาปี ท&ี ๑,

๒ และ ๓ ก่อน ใช้ช&ือใหม่ว่า หลกั สูตรและชุดการเรียนการสอนเรื#องสมเด็จย่า ได้ให้

ครูโรงเรียนตาํ รวจตระเวนชายแดน ทดลองสอนสาธติ ถวายสมเดจ็ พระเทพ

รัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกมุ ารี เม&ือครังเสดจ็ เย&ียมโรงเรียนตาํ รวจตระเวน

ชายแดนในสงั กดั กก.ตชด.๒๓ ท&จี งั หวดั นครพนมเม&ือวนั ท&ี ๑๐–๑๒ กมุ ภาพันธ์

๒๕๔๖ ซ&ึงได้รับความสนพระทยั จากพระองคท์ ่านมาก หลังจากนันคณะทาํ งานได้

ปรับปรงุ หลกั สูตรจนครบทกุ ระดบั ชัน และนาํ ไปทดลองใช้ในโรงเรียนตาํ รวจตระเวน

ชายแดน สงั กดั กก.ตชด.๒๓ จังหวัดสกลนคร นครพนม และมุกดาหาร รวม ๘

โรงเรียน ภายหลงั การทดลองใช้ได้รวบรวมผลการประเมนิ นาํ มาปรับปรุงหลักสตู ร

อกี ครังหน&ึง

เม&ือวันท&ี ๒๘ พฤษภาคม ๒๕๔๖ คณะทาํ งานได้นาํ เสนอหลักสตู ร
สมเดจ็ ย่า ต่อท&ปี ระชุมผู้บริหารของกองบญั ชาการตาํ รวจตระเวนชายแดน และผู้แทน
จากสาํ นักพระราชวงั ณ กองบัญชาการตาํ รวจตระเวนชายแดน กรงุ เทพมหานคร ได้รับ
คาํ ชมเชยและข้อเสนอแนะ ซ&ึงเป็นประโยชน์ต่อการปรับปรุง/พัฒนาหลกั สตู รสมเดจ็ ย่า
เพ&ิมมากขึน หลงั จากนันคณะทาํ งาน ได้นาํ หลักสตู รสมเดจ็ ย่าและชุดการเรียนการ
สอนมาปรับปรงุ และนาํ เข้าส่ทู &ปี ระชุมคณะกรรมการท&ปี รึกษา ผู้ทรงคณุ วฒุ ิ รวมทงั
ผู้เช&ียวชาญด้านการพัฒนาหลักสตู รและการสอนของสถาบนั ราชภฏั สกลนคร เพ&ือ
พิจารณาให้ข้อคิดเหน็ อกี ครังหน&ึง และได้นาํ ข้อสรุปจากท&ปี ระชุมทงั ๒ ครัง ตลอดจน
ข้อเสนอแนะของผู้เช&ียวชาญด้านการพัฒนาหลกั สตู รและการสอน มาปรับปรุงเพ&ิมเติม
ให้เป็นหลกั สตู รและชุดการเรียนการสอนท&สี มบูรณ์ และนาํ เสนอต่อท&ปี ระชุมผู้บริหาร
ของกองบญั ชาการตาํ รวจตระเวนชายแดน ผู้แทนจากสาํ นักพระราชวงั ผู้แทนจาก
สาํ นักงานคณะกรรมการการอดุ มศึกษาครังสดุ ท้าย เม&ือวนั ท&ี ๔ มีนาคม ๒๕๔๗ เพ&ือ
พิจารณาให้ข้อคิดเหน็ ท&ปี ระชุมสรุปให้สถาบนั ราชภัฏสกลนคร นาํ หลักสตู รสมเดจ็ ย่า



ไปจัดทาํ ต้นฉบบั ท&สี มบูรณ์ส่งให้กองบัญชาการตาํ รวจตระเวนชายแดน เพ&ือจดั ทาํ
เอกสารเผยแพร่ต่อไป

คําชีแจงการใชช้ ดุ การเรียนการสอน

ชุดการเรียนการสอนนีจัดทาํ ขึนสาํ หรับใช้สอนในโรงเรียนตาํ รวจตระเวน
ชายแดน ในระดับชันประถมศึกษาปี ท&ี ๑-๖ ตามหลกั สตู รสมเดจ็ ย่า กลุ่มสาระการ
เรียนรู้สงั คมศกึ ษา ศาสนาและวัฒนธรรม เนือหาสาระท&นี าํ มาจดั ประสบการณ์การ
เรียนรู้ให้กบั ผู้เรียน ประกอบด้วย

๑. ความสาํ คัญของสมเดจ็ ย่า
๒. พระราชประวตั ิของสมเดจ็ ย่า
๓. พระราชกรณยี กจิ ของสมเดจ็ ย่า
๔. สมเดจ็ ย่ากบั งานอดเิ รก
๕. พระราชจริยวัตรของสมเดจ็ ย่า
การจดั ชุดการเรียนการสอน แยกเป็น ๖ ชุด ตามระดับชันเรียน (ป.๑–
ป.๖) ภายในชุด (Package) แต่ละชุดมสี &อื การเรียนรู้ ท&จี ดั ไว้เพ&ือเป็นแนวทางให้
ผู้สอนใช้สอนได้สะดวก เม&ือผู้สอนศกึ ษาด้วยตนเองแล้ว สามารถนาํ ไปใช้สอนได้ทนั ที
หรือผูส้ อนอาจพจิ ารณาปรบั ปรงุ ดดั แปลง เพิม# เติม ตดั ทอนกิจกรรมการเรียนรู้
ต่างๆ ไดต้ ามความเหมาะสม ภายใตห้ ลกั การจัดการเรียนรูท้ ี#เนน้ ผูเ้ รียนเป็ น
สาํ คญั และแนวการจดั การเรียนการสอนตามหลกั สูตรสมเดจ็ ย่า
ชุดการเรียนการสอน ประกอบด้วย
๑. คู่มือการใช้ชุดการเรียนการสอน

- ความเป็นมาของหลักสตู รและชุดการเรียนการสอน
- คาํ ชีแจงการใช้ชุดการเรียนการสอน
- แผนการเรียนรู้
๒. ใบความรู้ / ใบงาน / แบบฝึกหัด
๓. บตั รภาพ / บัตรคาํ / แถบประโยค
๔. แผนภมู เิ พลง
๕. แบบทดสอบ
๖. หนังสอื สมเดจ็ ย่า แม่ฟ้ าหลวง
(สาํ หรับส&อื เสริมอ&นื ๆ เช่น แถบวีดิทศั น์ เร&ืองอุทยานสมเดจ็ พระศรี



นครินทราบรมราชชนนี แถบบนั ทกึ เสยี งเพลงสดุดสี มเดจ็ ย่า หลกั สตู รสมเดจ็ ย่า คณะ
ผู้จัดทาํ ได้แยกออกจาก Package มอบให้โรงเรียนไว้โรงเรียนละ ๑ ชุด)

ขนั ตอนการใชช้ ดุ การเรียนการสอน

เพ&ือให้การจัดกจิ กรรมการเรียนการสอนหลกั สตู รสมเดจ็ ย่า ประสบ-
ความสาํ เรจ็ และเป็นไปตามเจตนารมณ์ของคณะผู้จัดทาํ หลักสตู ร ผู้สอนควรปฏบิ ตั ดิ งั นี

๑. ศกึ ษาเอกสารหลักสตู รสมเดจ็ ย่า คู่มือการใช้หลักสตู รและชุดการ
เรียนการสอน อา่ นหนงั สอื สมเดจ็ ย่า แม่ฟ้ าหลวง ให้เข้าใจ

๒. ตรวจสอบความพร้อมของชุดการสอนว่าสมบูรณ์หรือไม่ ภายในชุด
มสี &อื การเรียนรู้ครบถ้วน พร้อมท&จี ะใช้สอนหรือไม่

๓. ศกึ ษารายละเอยี ด เนือหาสาระการเรียนรู้ และจุดประสงค์ เฉพาะ
ชันท&จี ะสอน ให้เข้าใจ

๔. ทดลองใช้ส&อื ภายในชุดการสอน กอ่ นลงมือสอนจริง และพิจารณา
จดั ทาํ จดั หาส&อื การเรียนรู้เพ&ิมเตมิ ตามความเหมาะสม

๕. แบบทดสอบท&กี าํ หนดไว้ในชุดการสอน อาจนาํ ไปใช้ทดสอบก่อน
และ/หรือหลงั สอนกไ็ ด้ ทงั นีเพ&ือทราบพัฒนาการของเดก็ ภายหลงั การเรียนรู้

๖. ผู้สอนต้องตรวจแบบฝึกหัดตามใบงานของผู้เรียนทุกคน แล้วคืน
ใบงานให้ผู้เรียนและอธบิ ายเพ&ิมเติมในสว่ นท&นี กั เรยี นทาํ ไม่ถูกต้อง

๗. กจิ กรรมการเรียนรู้และอตั ราเวลาเรียนท&กี าํ หนดไว้ ผู้สอนสามารถ
ปรับเปล&ียนได้ตามความเหมาะสมกบั สภาพการณ์ โดยยดึ การให้ผู้เรียนมสี ว่ นร่วมใน
กจิ กรรมให้มากท&สี ดุ

๘. การจดั กจิ กรรมการเรียนรู้ เป็นแบบบรู ณาการ ผู้สอนต้องพยายาม
สร้างความตระหนกั ให้ผู้เรียนเหน็ ความสาํ คญั และสาํ นกึ ในพระมหากรุณาธคิ ณุ ของ
สมเดจ็ ย่า ตลอดจนน้อมนาํ เอาพระราชจริยวตั รของพระองคท์ า่ นมายึดถอื ปฏบิ ตั เิ ป็น
แบบอย่าง โดยจดั กจิ กรรมให้หลากหลายมากท&สี ดุ

๙. ผู้สอนควรศกึ ษาคาํ กล่าวถวายรายงานของข้าราชการ และนักเรียน
ในการรับเสดจ็ สมเดจ็ พระเทพรัตนราชสดุ าฯ สยามบรมราชกมุ ารี ให้เข้าใจ และฝึก
ทกั ษะการกล่าวถวายรายงานฯ ให้กบั นักเรียน (ป.๓ – ๖) ทกุ ครังเม&ือมีเวลาเหลอื จาก
การสอนท้ายช&ัวโมง



๑๐. หลงั จากใช้ชุดการเรียนการสอนแล้วทุกครัง ผู้สอนจะต้องรวบรวม
ส&อื การเรียนรู้ทกุ ชินเกบ็ เข้าท&ใี ห้เรียบร้อย เพ&ือความสะดวกในการนาํ ไปใช้ในโอกาส
ต่อไป

แผนการสอน เรืองสมเดจ็ ย่า

ชนั ประถมศึกษาปี ที ๓
เวลาเรียน ๔ ชวั โมง



แผนการสอนที ๑ เรืองสมเดจ็ ย่า
ชนั ประถมศึกษาปี ที ๓
เวลาเรียน ๑ ชวั โมง

สาระการเรียนรู้
๑. ความสําคญั ของสมเด็จยา่
- ในฐานะเป็นพระราชมารดาของพระมหากษัตริย์
- ทรงได้รับการประกาศเกยี รติคุณให้เป็นบคุ คลสาํ คัญของโลก
๒. พระราชประวตั ิ
- ชาติกาํ เนดิ
- การศึกษา

จุดประสงค์ เพ,ือให้ผู้เรียนสามารถแสดงพฤติกรรมต่อไปน3ไี ด้
๑. บอกความสาํ คญั และความสมั พันธข์ องสมเดจ็ ย่ากบั พระเจ้าอยู่หัวได้
๒. ช3ีพระบรมฉายาลกั ษณ์ของสมเดจ็ ย่าได้ถูกต้อง
๓. บอกพระนามเดิมของสมเดจ็ ย่าได้
๔. เล่าชาติกาํ เนิดของสมเดจ็ ย่าได้
๕. เล่าประวตั กิ ารศกึ ษาของสมเดจ็ ย่าได้
๖. ช3ีภาพพระนามาภไิ ธยย่อของสมเดจ็ ย่าพร้อมท3งั บอกความหมายได้
๗. เขียนพระนามเตม็ ของสมเดจ็ ย่าได้ถกู ต้อง



กิจกรรมการเรียนรูแ้ ละสือการเรียนรู้

กิจกรรมการเรียนรู้ สือการเรียนรู้

๑. ครูสนทนากบั นักเรียนถงึ เร,ืองคุณย่าว่า เรามคี ณุ ย่า

กนั ทุกคน เพราะคุณย่า คอื คณุ แม่ของคณุ พ่อของ

เรา ครูกม็ ีคณุ ย่าพวกเธอทกุ คนล้วนมีคณุ ย่า บางคน

โชคดที ,ไี ด้อยู่กบั คุณย่า เพราะมีโอกาสปรนนบิ ัติ

รับใช้คณุ ย่า แต่บางคนคุณย่าท่านเสยี ชวี ติ แล้ว จาก

น3ันครูให้นกั เรียน เล่าประสบการณ์เก,ยี วกบั คุณย่า

ของตน ๒-๓ คน ว่าแต่ละคนได้รับความรักความ

เมตตาจากคุณย่าอย่างไร

๒. ครสู อนลาํ ดบั เครือญาติ ให้นักเรียนรู้จกั คุณป่ ู - แผนภมู ิเครือญาติ แสดง

คณุ ย่า คณุ ตา คุณยาย โดยอธบิ ายประกอบการใช้ พ่อแม่ ป่ ู ย่า ตา ยาย

แผนภมู ิเครือญาติ

๓. ครูเน้นให้นักเรียนตระหนักในพระคณุ ของคณุ ป่ ู

คณุ ย่า คุณตา คุณยาย เพราะท่านเล3ียงดพู ่อแม่

เรามา และท่านรักเรามาก

๔. ครูบอกให้นกั เรียนทราบว่า วนั น3ีครจู ะให้นกั เรียน

รู้จักคุณย่าท,ยี ,ิงใหญ่ และสาํ คญั ย,ิง ทา่ นเป็นคณุ ย่า

ของพวกเราทุกคน เป็นคณุ ย่าของชาวไทยท3งั

ประเทศ ทุกคนเรียกทา่ นว่า “สมเดจ็ ย่า”

๕. ครูแสดงภาพสมเดจ็ ย่าให้นักเรียนดู แล้วบอกให้ - ภาพสมเดจ็ ย่า

ทราบว่าน,ีคือภาพของสมเดจ็ ย่าท,คี รพู ดู ถึง ครถู าม - ภาพรัชกาลท,ี ๙

นกั เรียนว่า ใครรู้จักทา่ นผู้น3ีบ้าง เคยเหน็ ภาพน3ี - ภาพสมเดจ็ พระราชนิ ี

ท,ไี หน ท,โี รงเรียนของเรามไี หม นกั เรียนดู แล้ว

ถามว่า “ภาพน3ีล่ะรู้จกั ไหม เป็นภาพใคร”

เม,ือนักเรียนตอบได้ถูกต้อง เช่นตอบว่า เป็นภาพ

พระบาทสมเดจ็ พระเจ้าอยู่หัวรัชกาลปัจจุบันหรือ

ภาพของพระเจ้าแผ่นดิน หรือภาพในหลวง จากน3ัน

ครูบอกให้นกั เรียนทราบว่า “ในหลวง” คือ พ่อของ



กิจกรรมการเรียนรู้ สือการเรียนรู้

คนไทยท3งั ชาติ สว่ น“พระราชินี” เป็นแม่ของคน

ไทยท3งั ชาติ

๖. ครชู 3ไี ปท,ภี าพของ สมเดจ็ ย่า แล้วบอกให้นักเรียน - ภาพสมเดจ็ ย่า

ทราบว่า ท่านผู้น3ีเป็นคุณแม่ของในหลวง เป็น

คุณแม่ของพระมหากษตั ริย์ไทยรัชกาลปัจจุบนั

๗. ครแู สดงภาพสมเดจ็ ย่า เสดจ็ เย,ียมราษฎรในถ,ิน - ภาพพระราชกรณยี กจิ

ทรุ กนั ดาร ภาพสมเดจ็ ย่าพระราชทานส,งิ ของช่วย สมเดจ็ ย่าเสดจ็ เย,ียมราษฎร

เหลอื เดก็ และตาํ รวจตระเวนชายแดนให้นกั เรียน ในถ,ินทรุ กนั ดาร , สมเดจ็ ย่า

สงั เกตภาพ แล้วร่วมกนั อภปิ รายถงึ พระมหากรณุ า- พระราชทานสง,ิ ของช่วยเหลอื

ธคิ ุณของสมเดจ็ ย่าท,มี ีต่อครู และนักเรียนโรงเรียน เดก็ และตาํ รวจตระเวน-

ตชด. ท,ไี ด้พระราชทานทรัพยส์ ว่ นพระองค์ เพ,ือนาํ ชายแดน

ไปสร้างโรงเรียนตาํ รวจตระเวนชายแดน รวมท3งั ได้

พระราชทานอปุ กรณก์ ารเรียนการสอนท,จี าํ เป็นให้

กบั เดก็ นกั เรียนด้วย

๘. ครถู ามนกั เรียนว่า “นกั เรียนอยากทราบพระราช - ใบความรู้ เร,ืองชาติกาํ เนดิ

ประวตั ขิ องสมเดจ็ ย่าหรือไม่” “ถ้าอยากทราบ ครูจะ

ให้เพ,ือนๆ ท,อี า่ นหนงั สอื เกง่ มาอา่ นให้นักเรียนฟัง

ให้นักเรียนต3ังใจฟังแล้วจาํ เร,ืองราวให้ได้ แล้วครจู ะ

พานักเรียนเล่นเกมสนุกๆ”

๙. ให้นักเรียนแบ่งออกเป็น ๒ กลุ่ม ครูติดบัตรคาํ ท,ี - บัตรคาํ สมเดจ็ ย่า บุตรี

เก,ยี วข้องกบั ชาติกาํ เนดิ ของสมเดจ็ ย่า บนกระดาน สามญั ชน นายชู นางคาํ

ดาํ หรือกระเป๋ าผนงั (ได้แก่ สมเดจ็ ย่า บตุ รี สามัญ ๒๑ ตุลาคม พ.ศ. ๒๔๔๓

ชน นายชู นางคาํ ๒๑ ตุลาคม พ.ศ. ๒๔๔๓ นนทบรุ ี สงั วาลย์

นนทบุรี สงั วาลย์) แล้วบอกนักเรียนว่า “คาํ เหล่าน3ี

เก,ยี วข้องกบั พระราชประวตั ิของสมเดจ็ ย่า เม,ือเพ,ือน

อ่านใบความรู้ท,คี รูกาํ หนดให้จบ ให้นกั เรียนจาํ ให้ดี

ว่าบตั รคาํ เหล่าน3ีเก,ยี วข้องกบั สมเดจ็ ย่าอย่างไร ให้



กิจกรรมการเรียนรู้ สือการเรียนรู้

แต่ละกลุ่มส่งตัวแทนออกมาจับบัตรคาํ ๑ ใบ แล้ว

เล่าให้เพ,ือนฟัง กลุ่มใดจับบัตรคาํ มาเล่าได้มากท,สี ดุ

และถูกต้องท,สี ดุ จะเป็นฝ่ ายชนะ

๑๐. ครแู ละนักเรียนร่วมกนั เรียงลาํ ดบั เร,ืองราวเก,ยี ว

กบั ชาตกิ าํ เนดิ ของสมเดจ็ ย่าอกี คร3ังหน,ึง โดยการ

ต3ังคาํ ถามให้นักเรียนตอบ แล้วเขียนคาํ ตอบลงบน

กระดาน เช่น

- สมเดจ็ ย่าเดมิ เป็นสามญั ชน คาํ ว่า สามญั ชน

แปลว่าอะไร ใครทราบบ้าง

- สมเดจ็ ย่าเกดิ ท,จี งั หวดั อะไร

- สมเดจ็ ย่าเกดิ เม,ือไร

- สมเดจ็ ย่ามชี ,ือเดมิ ว่าอย่างไร

- สมเดจ็ ย่าเป็นบุตรีของใคร

ฯลฯ

๑๑. ครเู ล่าชวี ติ การศกึ ษาของ สมเดจ็ ย่าท,ที รงเรียน - บตั รคาํ พยาบาล

จบวิชาพยาบาลของไทย และได้รับทนุ ไปเรียน สหรัฐอเมริกา

พยาบาลเพ,ิมเติมท,ปี ระเทศ สหรัฐอเมริกา (แสดง

บัตรคาํ พยาบาล สหรัฐอเมริกา) เน้นให้เดก็ เหน็

ถงึ ความพยายาม ความเอาใจใสต่ ่อการศึกษาของ

สมเดจ็ ย่า ท,นี กั เรียนควรเอาแบบอย่าง

๑๒. ครถู ามนกั เรียนว่า อาชีพพยาบาล เป็นอาชีพท,ี

ดหี รือไม่ดี/ไม่ดีอย่างไร นกั เรียนอยากเป็นพยาบาล

หรือไม่ ทาํ ไมจงึ อยาก/ไม่อยากเป็น พยาบาลม-ี

หน้าท,อี ย่างไร

๑๓. ครูถามต่อไปว่า

- นกั เรียนเคยได้ยินไหมว่า สมเดจ็ ย่าทรงได้รับการ

ยกย่องให้เป็นบุคคลสาํ คัญของโลก

๑๐

กจิ กรรมการเรียนรู้ สือการเรียนรู้

- นกั เรียนคดิ ว่าการเป็นคนสาํ คัญของโลก จะต้อง

เป็ นคนอย่างไร

เม,ือนกั เรียนร่วมกนั แสดงความคดิ เหน็ แล้ว ครูช่วย

เสริมความรู้ต่อไปว่า

สมเดจ็ ย่าทรงปฏบิ ัติพระราชกรณียกจิ ตลอด

พระชนม์ชีพ เช่น

- ช่วยเหลอื ประชาชนท,ยี ากไร้

- ช่วยให้ประชาชนมีอาชีพ

- ช่วยให้ประชาชนมีความเป็นอยู่ท,ดี ขี 3ึน

- มคี วามเมตตา เอ3อื เฟ3ื อเผ,ือแผ่และเสยี สละ

ฯลฯ

ด้วยเหตุน3ีจงึ ทรงได้รับการประกาศเกยี รตคิ ณุ โดย

องคก์ ารศึกษาวิทยาศาสตร์และวัฒนธรรมแห่ง

สหประชาชาติ(UNESCO)ให้ทรงเป็นบุคคลสาํ คญั

ของโลกประจําปี พุทธศกั ราช ๒๕๔๓–๒๕๔๔

๑๔. ครูและนักเรียนร่วมกนั สรปุ ถงึ ความสาํ คญั ของ - ภาพพระนามาภไิ ธยย่อ สว.

สมเดจ็ ย่า ชาตกิ าํ เนดิ และการศกึ ษา ให้นักเรียน - ใบงานท,ี ๓.๑

ดูภาพพระนามาภิไธยย่อของสมเดจ็ ย่า บอก

ความหมาย แล้วทาํ กจิ กรรม ตามใบงานท,ี ๓.๑

การวดั ผลและประเมนิ ผล

๑. การวดั ผล
๑.๑ สงั เกตความสนใจในการเรียนและการร่วมกจิ กรรมกลุ่ม
๑.๒ สงั เกตกระบวนการทาํ งานของแต่ละคน
๑.๓ ตรวจผลงาน จากใบงาน และแบบฝึกหัดท,กี าํ หนดให้

๒. การประเมนิ ผล
ประเมินผลหลงั เรียน โดยใช้เกณฑผ์ ่านร้อยละ ๗๐ ข3ึนไป

๑๑

ใบงานที ๓.๑

คาํ สงั ให้นักเรียนใช้ใบไม้ดอกไม้ แกะ ฉกี หรือตัด เป็นช3ินเลก็ ๆ
ปะติดลงบนภาพพระนามาภไิ ธยย่อ สว. ให้สวยงามพร้อมท3งั
เขียนพระนามเตม็ ของสมเดจ็ ย่าใต้ภาพ

……………………………………………………………………………………………………………………….
ชือ- สกลุ ……………………………………………………………………...เลขที…………………ชนั …………………
โรงเรียน ……………………………………………………………………………………………………………………………

๑๒

แผนการสอนที ๒ เรืองสมเด็จย่า
ชนั ประถมศึกษาปี ที ๓
เวลาเรียน ๑ ชวั โมง

สาระการเรียนรู้
๑. พระราชประวตั ิ
- ชีวิตสมรส
- ทรงเป็นพระราชชนนี

จุดประสงค์ เพ,ือให้ผู้เรียนสามารถแสดงพฤตกิ รรมต่อไปน3ไี ด้
๑. เล่าชีวิตสมรสของสมเดจ็ ย่าได้
๒. บอกพระนามของสมเดจ็ พระบรมราชชนกได้
๓. บอกปี พ.ศ. ท,สี มเดจ็ ย่าอภิเษกสมรสได้
๔. บอกจาํ นวน, พระนามของพระราชธดิ าและพระราชโอรส ของสมเดจ็ ย่าได้
๕. บอกความหมายของคาํ ราชาศพั ทท์ ,กี าํ หนดให้ได้ถกู ต้อง
๖. เล่าเร,ืองราวของสมเดจ็ ย่าในช่วงท,ที รงเป็นพระราชชนนีได้

กจิ กรรมการเรียนรูแ้ ละสือการเรียนรู้

กิจกรรมการเรียนรู้ สือการเรียนรู้

๑. นักเรียนร่วมกนั ร้องเพลง “พระม,ิงขวญั บคุ คล

สาํ คญั ของโลก” และอภปิ รายความหมายของเพลง

ให้นกั เรียนตระหนกั ในความสาํ คัญของสมเดจ็ ย่า

๒. ทบทวนพระราชประวัติ ตอนชาติกาํ เนิด และการ - บตั รคาํ และบัตรภาพ

ศกึ ษา ท,เี รียนมาแล้ว (ตามแผนการสอนท,ี ๑) โดย ตามแผนการสอนท,ี ๑

การแสดงบัตรคาํ และบัตรภาพให้นกั เรียนดู พร้อม

กบั ต3ังคาํ ถาม เช่น

- ภาพน3ีเก,ยี วข้องกบั สมเดจ็ ย่าอย่างไร

- คาํ น3ีหมายถงึ อะไร เก,ยี วข้องกบั สมเดจ็ ย่าอย่างไร

ฯลฯ

๑๓

กิจกรรมการเรียนรู้ สือการเรียนรู้

๓. ครเู รียงลาํ ดับบัตรคาํ บนกระดานตามเหตกุ ารณ์

กอ่ น-หลัง ใช้ไม้ช3ีบตั รคาํ แล้วให้นักเรียนช่วยกนั เล่า

ถงึ ชาติกาํ เนิด และการศกึ ษาของสมเดจ็ ย่าอกี คร3ัง

หน,ึง

๔. แบ่งนักเรียนออกเป็นกลุ่มๆ ละ ๓-๕ คน ให้ทาํ - ใบงานท,ี ๓.๒

กจิ กรรมตามใบงานท,ี ๓.๒ (คาํ ส,งั ท,ี ๑) ดงั น3ี (คาํ สง,ั ท,ี ๑)

๑) อา่ นใบความรู้เร,ืองชวี ติ สมรสของสมเดจ็ ย่า

๒) หาความหมายของคาํ ราชาศพั ทจ์ ากเน3ือ

เร,ืองท,อี ่านและคาํ ท,กี าํ หนดให้

๓) ตอบคาํ ถามเก,ยี วกบั ชวี ิตสมรสของสมเดจ็ ย่า

๔) ส่งตวั แทนกลุ่มนาํ เสนอหน้าช3ัน

๕. นกั เรียนท3งั ช3ันร่วมกนั สรปุ ความรู้ลงบนแผนภมู ิ

ดังน3ี

แผนภมู ชิ วี ิตสมรส

พระราชธดิ า และพระราชโอรสในสมเดจ็ ย่า - บัตรภาพ และบตั รคาํ

สมเดจ็ + สมเดจ็ สมเดจ็ ย่า,สมเดจ็ พระราชบิดา,
ย่า พระราชบิดา สมเดจ็ พระเจ้าพ,ีนางเธอเจ้าฟ้ า
กลั ยาณิวฒั นา,พระบาทสมเดจ็

………………………. …………………………. พระเจ้าอยู่หัวอานนั ทมหิดล,

พระบาทสมเดจ็ พระเจ้าอยู่หัว

สมเดจ็ รัชกาล รัชกาล ภมู พิ ลอดุลยเดช

พระเจ้า ท,ี ๘ ท,ี ๙

พ,ีนางเธอ

…………………….. ……………………….. …………………….
๖. ครูใช้ไม้ช3ีภาพและข้อความบนแผนภมู ิให้นกั เรียน
อา่ นพร้อมกนั แล้วนาํ แผนภมู ไิ ปติดไว้ท,ปี ้ ายนิเทศ
หน้าช3ันเรียน

๑๔

กจิ กรรมการเรียนรู้ สือการเรียนรู้

๗. ครแู สดงภาพ สมเดจ็ ย่า-พระราชธดิ า-พระราช - ภาพสมเดจ็ ย่า, พระราช

โอรสขณะทรงพระเยาว์ พร้อมท3งั ถามนกั เรียนว่าน,ี ธดิ า, พระราชโอรส ท,ฉี าย

เป็นภาพใครเอย่ ? (นกั เรียนตอบ สมเดจ็ ย่า สมเดจ็ ร่วมกนั

พระเจ้าพ,ีนางเธอ รัชกาลท,ี ๘ รัชกาลท,ี ๙) - ใบความรู้ เร,ืองทรงเป็น

ครูถามต่อไปว่า “แล้วสมเดจ็ พระราชบิดา พระราชชนนี

หรือสมเดจ็ พระบรมราชชนก หายไปไหน ทาํ ไมไม่มี

ในภาพ ใครทายถกู บ้าง” เม,ือนกั เรียนตอบถกู บ้าง

ผดิ บ้าง หรือไม่ทราบบ้าง ครจู งึ เฉลยคาํ ตอบ โดย

ส่มุ ให้นกั เรียนท,อี า่ นหนงั สอื เก่งและคล่องท,สี ดุ ในช3ัน

ออกมาอา่ นใบความรู้เร,ือง ทรงเป็นพระราชชนนี ให้

เพ,ือนฟัง

๘. ครูและนักเรียนร่วมกนั อภปิ รายและสรปุ เน3ือหา

เฉพาะประเดน็ สาํ คัญ แล้วทบทวนความรู้ ความ

เข้าใจของนกั เรียนโดยการต3ังคาํ ถาม ดงั น3ี

- ทาํ ไมสมเดจ็ ย่าจึงไม่อยู่ในประเทศไทยใน

ช่วงท,พี ระราชธิดาและพระราชโอรส ยังทรงพระเยาว์

- สมเดจ็ ย่านาํ พระราชธดิ า และพระราชโอรส

ไปอยู่ท,เี มอื งใด ประเทศใด

- รัชกาลท,ี ๘ ข3ึนครองราชย์เม,ือพระชนมายุ

เทา่ ใด

- ทาํ ไมรัชกาลท,ี ๘ จงึ ข3ึนครองราชย์ ท3งั ๆ ท,ี

ยงั ทรงพระเยาว์

- เพราะเหตใุ ด ชาวไทยจึงเรียกสมเดจ็ ย่าว่า

พระราชชนนี

๙. ให้นักเรียนทาํ กจิ กรรมาตามใบงานท,ี ๓.๒ - ใบงานท,ี ๓.๒

(คาํ ส,งั ท,ี ๒) (คาํ สง,ั ท,ี ๒)

๑๕

การวดั ผลและประเมินผล

๑. การวดั ผล
๑.๑ สงั เกตความสนใจในการเรียนและการร่วมกจิ กรรมกลุ่ม
๑.๒ สงั เกตกระบวนการทาํ งานของแต่ละคน
๑.๓ ตรวจผลงาน จากใบงาน และแบบฝึกหัดท,กี าํ หนดให้

๒. การประเมนิ ผล
ประเมนิ ผลหลังเรียน โดยใช้เกณฑผ์ ่านร้อยละ ๗๐ ข3ึนไป

๑๖

ใบงานที ๓.๒

คําสงั ที ๑ ให้นักเรียนอา่ นใบความรู้เร,ือง ชวี ติ สมรสของสมเดจ็ ย่าให้
เข้าใจแล้วทาํ กจิ กรรมต่อไปน3ี

๑.๑ โยงเส้นจากคาํ ราชาศพั ทด์ ้านซ้ายมือไปยังความหมายด้านขวามอื
ท,สี มั พันธก์ นั

อภิเษกสมรส ช,ือ

พระนาม ลูกสาว

พระราชบิดา พ่อ

พระราชมารดา ลกู ชาย

พระราชโอรส แต่งงาน

พระราชธดิ า แม่

๑.๒ จงเตมิ คาํ ลงในช่องว่างให้สมบูรณ์
๑) สมเดจ็ ย่าอภิเษกสมรส เม,ือวนั ท,…ี ………เดอื น……………….พ.ศ. ……………
๒) สมเดจ็ ย่าอภิเษกสมรส กบั …………………………………………………………………..
๓) สมเดจ็ ย่ามีพระราชธดิ า…………องค์ และพระราชโอรส…………..องค์
คือ …………………………………………………………………………………………………………
.………………………………………………………………………………………………………..
………………………………………………………………………………………………………….

ชือ- สกลุ ………………………………………………………………..……………เลขที…………………ชนั ……………
โรงเรียน ……………………………………………………………………………………………………………………………

๑๗

คาํ สงั ที ๒ จงเลอื กคาํ ตอบท,ถี กู ต้องท,สี ดุ เพียงคาํ ตอบเดียว โดยวงกลม
รอบตัวอกั ษร ก ข หรือ ค

๑) สมเดจ็ ย่านาํ พระราชธดิ า และพระราชโอรสไปอยู่ท,ปี ระเทศใด
ก. องั กฤษ
ข. สหรัฐอเมริกา
ค. สวสิ เซอร์แลนด์

๒) ทาํ ไมสมเดจ็ ย่าจึงต้องนาํ พระราชธิดาและพระราชโอรสไปอยู่
ต่างประเทศ
ก. เกดิ การปฏวิ ตั ิในประเทศไทย
ข. อยากให้พระราชธดิ าและพระราชโอรสพดู ภาษาองั กฤษได้
ค. อยากให้พระราชธดิ าและพระราชโอรสมคี วามรู้มากๆ

๓) รัชกาลท,ี ๘ ข3ึนครองราชย์ เม,ือพระชนมายุเทา่ ใด
ก. ๘ พรรษา
ข. ๙ พรรษา
ค. ๑๐ พรรษา

๔) รัชกาลท,ี ๘ ทรงมพี ระนามว่าอย่างไร
ก. สมเดจ็ เจ้าฟ้ ามหิดลอดลุ ยเดช
ข. สมเดจ็ พระเจ้าอยู่หัวอานนั ทมหิดล
ค. สมเดจ็ พระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว

๕) เม,ือรัชกาลท,ี ๘ เป็นพระมหากษัตริย์ สมเดจ็ ย่าในขณะน3ันทรง
พระนามว่าอย่างไร
ก. หม่อมสงั วาลย์ มหิดล ณ อยุธยา
ข. พระราชชนนีศรีสงั วาลย์
ค. พระบรมราชชนก

ชือ- สกลุ ………………………………………………………………..……………เลขที…………………ชนั ……………
โรงเรียน ……………………………………………………………………………………………………………………………

๑๘

แผนการสอนที ๓ เรืองสมเด็จยา่
ชนั ประถมศึกษาปี ที ๓
เวลาเรียน ๑ ชวั โมง

สาระการเรียนรู้

๑. พระราชกรณยี กจิ
- สมเดจ็ ย่ากบั โรงเรียน ตชด.
- สมเดจ็ ย่ากบั การช่วยเหลอื ประชาชน
- สมเดจ็ ย่ากบั งานด้านการแพทย์และสาธารณสขุ

จุดประสงค์ เพ,ือให้ผู้เรียนสามารถแสดงพฤติกรรมต่อไปน3ี
๑. ร้องเพลงพระม,ิงขวัญบคุ คลสาํ คัญของโลกได้
๒. อธบิ ายพระราชกรณียกจิ ของสมเดจ็ ย่าต่อโรงเรียน ตชด.ได้
๓. อธบิ ายพระราชกรณยี กจิ ของสมเดจ็ ย่ากบั การช่วยเหลอื ประชาชนได้
๔. บอกสาเหตทุ ,สี มเดจ็ ย่าได้รับสมัญญานาม “สมเดจ็ ย่า”และ“แม่ฟ้ าหลวง”ได้
๕. เล่าท,มี าและความสาํ คญั ของ พอ.สว.ได้
๖. เขยี นความรู้สกึ ท,มี ีต่อสมเดจ็ ย่าได้

๑๙

กิจกรรมการเรียนรูแ้ ละสือการเรียนรู้

กิจกรรมการเรียนรู้ สือการเรียนรู้

๑. ครนู าํ เข้าส่บู ทเรียนโดยให้นักเรียนร้องเพลง - เทปเพลง “พระม,ิงขวัญ

“พระม,ิงขวัญบคุ คลสาํ คัญของโลก” ประกอบเทป บคุ คลสาํ คญั ของโลก”

เพลง

๒. ครูสนทนากบั นกั เรียนถึงสาระของเน3ือเพลงท,รี ้อง

โดยถามนกั เรียนว่า นกั เรียนทราบถงึ อะไรบ้างและ

มคี วามรู้สกึ อย่างไร และฝึกทาํ ท่าทางประกอบเพลง

๓. ทบทวนความรู้เร,ืองสมเดจ็ ย่า ท,ไี ด้เรียนมาแล้วใน - ภาพสมเดจ็ ย่า

แผนการเรียนท,ี ๑ และ ๒ โดยการซักถามให้ - บตั รคาํ จากแผน ๑,๒

นกั เรียนตอบ หรือการชูภาพ บตั รคาํ เก,ยี วกบั

สมเดจ็ ย่าในแผนการเรียนท,ี ๑,๒ ให้นักเรียน

อธบิ าย

๔. ครสู รปุ ให้นกั เรียนตระหนักในความสาํ คญั ของ

สมเดจ็ ย่าท,เี ป็นพระมารดาของพระมหากษัตริย์

ไทย ๒ พระองค์ เป็นท3งั พ่อ และแม่ผู้ประเสริฐ

จนเป็นท,ยี อมรับเป็นบคุ คลสาํ คญั ของไทยและของ

โลก

๕. แจ้งให้นักเรียนทราบว่า วนั น3ีเราจะศึกษาเร,ือง - ภาพสมเดจ็ ย่า

สมเดจ็ ย่าต่อจากคร3ังท,แี ล้ว โดยครูแสดงภาพ - ภาพพระราชกรณยี กจิ

พระราชกรณยี กจิ ของสมเดจ็ ย่าเก,ยี วกบั โรงเรียน - กระเป๋ าผนงั

ตชด. และพระราชกรณียกจิ ในการช่วยเหลือราษฎร - บัตรคาํ สมเดจ็ ย่า,

ในชนบทท,หี ่างไกล และชาวไทยภเู ขา จนชาวไทย แม่ฟ้ าหลวง

ภเู ขารัก- เทดิ ทนู และเรียกสมเดจ็ ย่าว่า “แม่ฟ้ า

หลวง” ส่วนชาวไทยทว,ั ไปเรียกพระองคว์ ่า “สมเดจ็

ย่า” (ครูแสดงบตั รคาํ “แม่ฟ้ าหลวง” “สมเดจ็ ย่า”)

๖. ครตู 3ังข้อสงั เกตให้นกั เรียนแสดงความคิดเหน็ ใน

ประเดน็ ปัญหาว่า “ทาํ ไมโรงเรียน ตชด.ทกุ โรงเรียน

จึงมีพระบรมฉายาลักษณ์ หรือ ภาพของสมเดจ็ ย่า

๒๐

กิจกรรมการเรียนรู้ สือการเรียนรู้

แสดงไว้ให้นักเรียนตชด. สกั การะ” โดยให้นกั เรียน

แสดงความคิดเหน็ เป็นรายบคุ คล

๗. ครอู ธบิ ายพระราชกรณยี กจิ ของสมเดจ็ ย่าต่อการ

ช่วยเหลือโรงเรียน ตชด. เพ,ิมเติม โดยเน้นให้

นกั เรียนเหน็ ถงึ พระมหากรุณาธคิ ุณของสมเดจ็ ย่าท,ี

ทรงเป็นห่วงเดก็ และเยาวชนในถ,ินทรุ กนั ดาร เช่น

พวกเรานกั เรียน โรงเรียน ตชด.

๘. ครแู สดงบตั รคาํ อกั ษรย่อ พอ.สว. บนกระเป๋ าผนัง - บตั รคาํ พอ.สว.

แล้วถามนักเรียนว่า ใครรู้จกั และเข้าใจอกั ษรย่อน3ี - กระเป๋ าผนงั

เพียงใด มคี วามหมายอย่างใด - ภาพพระราชกรณยี กจิ เก,ยี ว

๙. ครอู ธบิ ายพระราชกรณียกจิ สมเดจ็ ย่ากบั งานด้าน กบั งานด้านการแพทยแ์ ละ

การแพทย์และสาธารณสขุ ประกอบภาพพระราช สาธารณสขุ (พอ.สว.)

กรณียกจิ ดังกล่าว

๑๐. ครูถามความรู้สกึ ของนกั เรียน ท,มี ตี ่อสมเดจ็ ย่า

ช3ใี ห้นักเรียนตอบ ๓-๕ คน

๑๑. ให้นกั เรียนเขยี นความรู้สกึ ของตนเองท,มี ตี ่อ - ใบงานท,ี ๓.๓

สมเดจ็ ย่า ส่งในช,ัวโมงหรือเป็นการบ้าน

๑๒. ทาํ แบบทดสอบ - แบบทดสอบ

การวดั ผลและประเมินผล

๑. การวดั ผล
๑.๑ สงั เกตความสนใจในการเรียนและการร่วมกจิ กรรมกลุ่ม
๑.๒ สงั เกตกระบวนการทาํ งานของแต่ละคน
๑.๓ ตรวจผลงาน จากใบงาน และแบบฝึกหัดท,กี าํ หนดให้

๒. การประเมนิ ผล
ประเมนิ ผลหลังเรียน โดยใช้เกณฑผ์ ่านร้อยละ ๗๐ ข3ึนไป

๒๑

ใบงานที ๓.๓

คําสงั ให้นักเรียนเขยี นความรู้สกึ ท,ตี นเองมีต่อสมเดจ็ ย่า

…………………………………………………………………………………………………………………..
…………………………………………………………………………………………………………………..
…………………………………………………………………………………………………………………..
…………………………………………………………………………………………………………………..
…………………………………………………………………………………………………………………..
…………………………………………………………………………………………………………………..
…………………………………………………………………………………………………………………..
…………………………………………………………………………………………………………………..
…………………………………………………………………………………………………………………..
…………………………………………………………………………………………………………………..

ชือ- สกลุ …………………………………………………………………………เลขที………………ชนั ………………..
โรงเรียน ……………………………………………………………………………………………………………………………

๒๒

แผนการสอนที ๔ เรืองสมเด็จย่า
ชนั ประถมศึกษาปี ที ๓
เวลาเรียน ๑ ชวั โมง

สาระการเรียนรู้
๑. พระราชจริยวตั รของสมเดจ็ ยา่
- ด้านการศาสนา
- ด้านการรักษาความสะอาด

จุดประสงค์ เพ,ือให้ผู้เรียนสามารถแสดงพฤตกิ รรมต่อไปน3ไี ด้
๑. ร้องเพลงเก,ยี วกบั วนั สาํ คัญทางพระพทุ ธศาสนาได้อย่างน้อย ๑ เพลง
๒. บอกพระราชจริยวตั รของสมเดจ็ ย่าด้านการศาสนาได้
๓. บอกพระราชจริยวัตรของสมเดจ็ ย่าด้านการรักษาความสะอาดได้
๔. บอกประโยชนข์ องการปฏบิ ตั ิตนด้านการศาสนา และการรักษาความสะอาด
ได้
๕. เล่าประสบการณ์การไปวดั หรือทาํ บญุ ในโอกาสต่างๆ ได้
๖. ระบกุ จิ กรรมท,นี กั เรียนชอบปฏบิ ัตเิ ก,ยี วกบั การศาสนาได้
๗. สวดมนต์แบบย่อได้อย่างคล่องแคล่ว
๘. ร้องเพลงความสะอาดได้
๙. ทาํ ความสะอาดห้องเรียน หรือเกบ็ เศษกระดาษรอบบริเวณโรงเรียนได้
สะอาดเรียบร้อย

๒๓

กจิ กรรมการเรียนรูแ้ ละสือการเรียนรู้

กิจกรรมการเรียนรู้ สือการเรียนรู้

๑. นักเรียนร่วมกนั ร้องเพลงวนั สาํ คญั ทางพระพทุ ธ- - เพลงวนั สาํ คัญทางศาสนา

ศาสนา (เพลงใดกไ็ ด้) ๑ เพลง หากนักเรียนสว่ น

ใหญ่ไม่ได้นบั ถอื ศาสนาพุทธ ครอู าจใช้บทเพลง

เก,ยี วกบั ศาสนาท,นี ักเรียนนบั ถือ มาให้นกั เรียนร่วม

กนั ขบั ร้องได้

๒. นักเรียนร่วมกนั อภปิ รายความหมายของเพลง

และสรุปถึงการมุ่งทาํ ความดี อนั เป็นหลกั ธรรมของ

ทุกศาสนา

๓. ครูแสดงภาพสมเดจ็ ย่า ภาพพระราชจริยวัตรของ - ภาพสมเดจ็ ย่า

สมเดจ็ ย่าเก,ยี วกบั การศาสนา เช่น ภาพสมเดจ็ ย่า - ภาพพระราชจริยวัตรของ

ถวายอาหารบิณฑบาตร ภาพสมเดจ็ ย่ากบั งานป3ัน สมเดจ็ ย่าด้านการศาสนา

พระพทุ ธรูป ฯลฯ และต3ังคาํ ถาม เช่น

- ภาพน3ีเป็นภาพใคร

- ท่านกาํ ลังทาํ อะไร

- นักเรียนเคยทาํ เหมือนท่านหรือไม่

- ลองเล่าซิว่าเคยทาํ อะไรบ้าง

- ทาํ ไมจงึ ต้องทาํ เช่นน3ัน

- การทาํ เช่นน3ัน เกดิ ผลดีต่อเราหรือไม่ อย่างไร

- นักเรียนสวดมนต์ ได้หรือไม่ ลองทอ่ งบทสวด

มนตพ์ ร้อมกนั ซิ

ฯลฯ

๔. ครใู ห้นักเรียนอา่ นบัตรคาํ ศาสนา วดั พระพทุ ธ- - บัตรคาํ ศาสนา วดั

รปู สวดมนต์ แล้วให้นกั เรียนแต่งประโยคใหม่จาก พระพุทธรูป สวดมนต์

คาํ ท,คี รกู าํ หนดให้ เช่น - บัตรกลุ่มคาํ ตามสาระ

การเรียนรู้ข้อ ๔

ศาสนา นับถอื พุทธ ฉนั = ฉนั นับถอื ศาสนาพุทธ

๒๔ สือการเรียนรู้

กจิ กรรมการเรียนรูแ้ ละสือการเรียนรู้
กิจกรรมการเรียนรู้

แม่ วัด ไป ชอบ = แม่ชอบไปวัด

กราบ ยาย พระพุทธรปู = ยายกราบพระพทุ ธรูป

ฉัน เช้า ตอน สวดมนต์ = ฉันสวดมนต์ตอนเช้า

๕. นกั เรียนช่วยกนั เขียนประโยคท,แี ต่งใหม่ลงใน - ใบงานท,ี ๓.๔
กระดาษ (ใบงาน ๓.๔) แล้วนาํ ไปติดป้ ายนิเทศ - แผนภมู ิเพลงความสะอาด
๖. ครูและนกั เรียนร่วมกนั เฉลยคาํ ตอบ และให้การ
เสริมแรงนกั เรียนท,เี ขียนหนงั สอื สวย และแต่ง
ประโยคได้ถกู ต้อง
๗. ครแู สดงภาพพระราชจริยวตั รของสมเดจ็ ย่า
เก,ยี วกบั การรักษาความสะอาด พร้อมท3งั เล่า
เหตกุ ารณท์ ,สี มเดจ็ ย่าทรงปฏบิ ตั ิ เช่น
- ทรงเกบ็ เศษกระดาษท,ที 3งิ เกล,ือนกลาด
- ทรงเกบ็ ก้นบหุ ร,ีท,คี นโยนท3งิ ไว้ตามพ3ืน

ฯลฯ
๘. นกั เรียนร่วมกนั แสดงความรู้สกึ ต่อกจิ กรรมท,ี
สมเดจ็ ย่าทรงปฏบิ ตั ใิ นข้อ ๗ ครถู ามนกั เรียนว่า
สมเดจ็ ย่าทาํ ถูกต้องหรือไม่ คนท,ที 3งิ เศษกระดาษ
ถุงพลาสตกิ ก้นบหุ ร,ีไม่เป็นท,เี ป็นทาง เป็นการ
กระทาํ ท,ถี กู ต้องหรือไม่ ถ้านักเรียนเหน็ คนท3งิ ขยะ
ไม่เป็นท,ี นักเรียนควรทาํ อย่างไร
๙. ครูและนกั เรียนร่วมกนั สรุป นาํ ไปสกู่ ารรักษา
ความสะอาดห้องเรียน โตะ๊ เก้าอ3ี กระดานดาํ

๒๕

กจิ กรรมการเรียนรูแ้ ละสือการเรียนรู้

กจิ กรรมการเรียนรู้ สือการเรียนรู้

บริเวณโรงเรียน และให้นักเรียนร่วมกนั ร้องเพลง

ความสะอาด

๑๐. แบ่งนกั เรียนออกเป็นกลุ่มย่อยๆ ๓-๔ กลุ่ม - ถงุ ใสข่ ยะ

มอบหมายให้ทาํ ความสะอาดห้องเรียน บริเวณ - ไม้กวาด

โรงเรียน ห้องนาํ3 และโรงอาหาร โดยครูร่วมวางแผน - ถงั นาํ3

การทาํ งานพร้อมๆ กบั นกั เรียน - ผ้าถพู 3ืน, ผ้าเชด็ โต๊ะ

การวดั ผลและประเมนิ ผล
๑. สงั เกตความสนใจ
๒. ซกั ถามความเข้าใจ
๓. ตรวจแบบฝึกหัดจากใบงาน

๒๖

ใบงานที ๓.๔

คาํ สงั ให้นกั เรียนเรียงคาํ จากกรอบส,เี หล,ียมแต่ละกรอบใหม่ ให้เป็น
ประโยคท,สี มบรู ณ์ โดยเขยี นประโยคลงในช่องท,กี าํ หนดให้

ศาสนา นับถอื พทุ ธ ฉนั =

แม่ วัด ไป ชอบ =

กราบ ยาย พระพุทธรูป =

ฉัน เช้า ตอน สวดมนต์ =

ชือ- สกุล …………………………………………………………………………เลขที………………ชนั ………………..
โรงเรียน ……………………………………………………………………………………………………………………………

๒๗

แบบทดสอบ เรืองสมเดจ็ ยา่
ชนั ประถมศึกษาปี ที ๓

คาํ สงั ให้นกั เรียนอ่านคาํ ถามแล้ววงกลมล้อมรอบตวั อกั ษร ก ข หรือ ค
ท,เี ป็นคาํ ตอบเพียงข้อเดยี ว

๑. สมเดจ็ ย่ามีช,ือเดมิ ว่าอย่างไร
ก. ชู ข. คาํ ค. สงั วาลย์

๒. สมเดจ็ ย่าเกดิ ท,จี งั หวดั ใด
ก. ธนบุรี ข. ชลบุรี ค. นนทบรุ ี

๓. บิดาของสมเดจ็ ย่าช,ืออะไร
ก. ชู ข. คาํ ค. สงั วาลย์

๔. มารดาของสมเดจ็ ย่าช,ืออะไร
ก. ชู ข. คาํ ค. สงั วาลย์

๕. พระนามาภไิ ธยย่อ สว. หมายถงึ อะไร
ก. ศรีสงั วาลย์
ข. สมเดจ็ พระศรีนครินทราบรมราชชนนี
ค. สมเดจ็ พระศรีสวรินทราบรมราชชนนี

๖. สมเดจ็ ย่าทรงศกึ ษาวชิ าชีพใด
ก. พยาบาล ข. แพทย์ ค. ครู

๗. สมเดจ็ ย่าอภเิ ษกสมรสกบั ใคร
ก. สมเดจ็ เจ้าฟ้ ามหิดลอดุลยเดช
ข. พระบาทสมเดจ็ พระเจ้าอยู่หัวอานันทมหิดล
ค. พระบาทสมเดจ็ พระเจ้าอยู่หัวภมู ิพลอดลุ ยเดช

๘. สมเดจ็ ย่าทรงมพี ระราชธดิ า และพระราชโอรส รวมกนั ก,อี งค์
ก. ๒ องค์
ข. ๓ องค์
ค. ๔ องค์

๒๘

๙. พระราชธดิ าของสมเดจ็ ย่า มีพระนามว่าอย่างไร

ก. สมเดจ็ พระศรีนครินทราบรมราชชนนี

ข. สมเดจ็ พระพ,ีนางเธอเจ้าฟ้ ากลั ยาณิวฒั นา

ค. สมเดจ็ พระราชชนนศี รีสงั วาลย์

๑๐. พระราชโอรสองค์แรกของสมเดจ็ ย่า คอื ใคร

ก. สมเดจ็ เจ้าฟ้ ามหิดลอดุลยเดช

ข. พระบาทสมเดจ็ พระเจ้าอยู่หัวอานันทมหิดล

ค. พระบาทสมเดจ็ พระเจ้าอยู่หัวภมู พิ ลอดลุ ยเดช

๑๑. สมเดจ็ ย่านาํ พระราชธดิ า และพระราชโอรสไปอยู่ท,ปี ระเทศใด

ก. องั กฤษ ข. สหรัฐอเมริกา ค. สวิสเซอร์แลนด์

๑๒. ทาํ ไมสมเดจ็ ย่าจงึ ต้องนาํ พระราชธดิ าและพระราชโอรสไปอยู่ต่างประเทศ

ก. เกดิ การปฏวิ ตั ิในประเทศไทย

ข. อยากให้พระราชธดิ าและพระราชโอรสพดู ภาษาองั กฤษได้

ค. อยากให้พระราชธดิ าและพระราชโอรสมีความรู้มากๆ

๑๓. รัชกาลท,ี ๘ ข3ึนครองราชย์ เม,ือพระชนมายุเทา่ ใด

ก. ๘ พรรษา ข. ๙ พรรษา ค. ๑๐ พรรษา

๑๔. รัชกาลท,ี ๘ ทรงมีพระนามว่าอย่างไร

ก. สมเดจ็ เจ้าฟ้ ามหิดลอดุลยเดช

ข. สมเดจ็ พระเจ้าอยู่หัวอานันทมหิดล

ค. สมเดจ็ พระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว

๑๕. เม,ือรัชกาลท,ี ๘ เป็นพระมหากษัตริย์ สมเดจ็ ย่าในขณะน3ันทรงพระนาม

ว่าอย่างไร

ก. หม่อมสงั วาลย์ มหิดล ณ อยุธยา

ข. พระราชชนนีศรีสงั วาลย์

ค. พระบรมราชชนก

๑๖. สมเดจ็ ย่ามคี วามสาํ คัญต่อโรงเรียนตชด. อย่างไร

ก. พระราชทานทรัพย์สร้างโรงเรียนตชด. และช่วยเหลืออุปกรณ์การเรียน

ข. เป็นผู้ต3ังช,ือโรงเรียนตชด. ทกุ โรง

ค. ปลกู ต้นไม้ต่างๆ ให้โรงเรียนตชด.

๒๙

๑๗. ข้อใด ไม่ใช่ พระราชกรณียกจิ ของสมเดจ็ ย่า

ก. ส่งเสริมการศึกษาเดก็ และเยาวชนในถ,ินทรุ กนั ดาร

ข. เสรจ็ เย,ียมและพระราชทานความช่วยเหลือประชาชน

ค. ต่อส้แู ละปราบปรามการค้ายาเสพตดิ

๑๘. ใครเป็นผู้ถวายพระนาม “แม่ฟ้ าหลวง” แก่สมเดจ็ ย่า

ก. ชาวไทยทว,ั ไป ข. ชาวไทยภเู ขา ค. ชาวอสี าน

๑๙. หน่วยแพทย์อาสาสมเดจ็ พระราชชนนีศรีสงั วาลย์ ใช้อกั ษรย่อ

ว่าอย่างไร

ก. สว. ข. พ.สว. ค. พอ.สว.

๒๐. หน่วยแพทยอ์ าสาสมเดจ็ พระราชชนนศี รีสงั วาลย์ ทาํ หน้าท,อี ะไร

ก. ช่วยเหลือ รักษาพยาบาลประชาชนในถ,ินทรุ กนั ดารตามชายแดน

ข. ช่วยเหลอื เดก็ นักเรียนตามโรงเรียนต่างๆ ทว,ั ประเทศ

ค. ดแู ล รักษาสขุ ภาพของสมเดจ็ พระราชชนนศี รีสงั วาลย์

***************************

๓๐

เอกสารอา้ งอิง

กองบัญชาการตาํ รวจตระเวนชายแดน. ๔๐ ปี โรงเรียน ตชด. กรงุ เทพมหานคร :
บริษทั โอ. เอส. พร3ินต3ิง เฮ้าส,์ ๒๕๓๙.
. ตชด. สดุดี ๑๐๐ ปี สมเดจ็ ยา่ . กรงุ เทพมหานคร : โรงพิมพ์แห่ง
จุฬาลงกรณม์ หาวิทยาลยั , ๒๕๔๓.
. ใตร้ ่มพระบารมี ๕๐ ปี ตชด. กรงุ เทพมหานคร : โรงพิมพ์แห่ง
จุฬาลงกรณ์มหาวทิ ยาลัย, ๒๕๔๖.
. ศรีนครินทราปูชา. กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพ์ตาํ รวจ, ๒๕๔๗.

กองวรรณกรรมและประวตั ศิ าสตร์. ราชสดุดสี มเดจ็ พระศรีนคริทราบรมราช-
ชนนี. กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพ์ครุ สุ ภา, ๒๕๓๙.

กลั ยาณิวฒั นา, สมเดจ็ พระเจ้าพ,ีนางเธอ กรมหลวงนราธวิ าสราชนครินทร์.
“คาํ ปรารภ”. สมเดจ็ ยา่ ของปวงชน. กรุงเทพมหานคร : มลู นธิ ิพอ.สว.,
๒๕๓๓.
. แม่เล่าใหฟ้ ัง. กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพ์อมรินทร์การพิมพ์,
๒๕๒๕.

เจมส์ อาร์ท, บริษทั . นอ้ มราํ ลกึ แสนอาลยั สมเดจ็ ย่า แม่ฟ้ าหลวงของปวงชน.
กรงุ เทพมหานคร : บริษทั เจมส์ อาร์ท, ๒๕๓๘.

พระราชภาวนาวกิ รมและคณะ. พระบรมราชชนนิยานุสสรณีย.์ กรงุ เทพมหานคร:
บริษทั เจ.ฟิ ล์ม โปรเซส จาํ กดั , ๒๕๓๙.

ไพโรจน์ อยู่มณเฑยี ร. หลกั ราชาศพั ท.์ กรุงเทพมหานคร : บริษัท เยลโล่
การพิมพ์, ๒๕๔๐.

มานพ เมฆพระยูรทอง. พระนามสมเดจ็ พระเจา้ อยูห่ วั กบั สหประชาชาติเนืองใน
โอกาสฉลองสริ ิราชสมบตั ิครบ ๕๐ ปี . กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพ์เทคนคิ
๑๙, ๒๕๔๐.

มลู นธิ แิ พทย์อาสาสมเดจ็ พระศรีนครินทราบรมราชชนนี. สมเดจ็ ย่าของปวงชน.
กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพ์กรงุ เทพ, ๒๕๓๓.

๓๑

ราชบณั ฑติ ยสถาน. พจนานุกรมฉบบั ราชบณั ฑิตยสถาน พ.ศ. ๒๕๔๒.
กรุงเทพมหานคร : ศิริวฒั นาอนิ เตอร์ปร3ินท,์ ๒๕๔๖.

เรืองยศ ไชยโรจน์. “๙๒ พรรษา สมเดจ็ ย่ากบั ความก้าวหน้าของดอยตงุ ”.
หนงั สอื พมิ พไ์ ทยรฐั . ฉบบั วันท,ี ๒๑ ตุลาคม ๒๕๓๕, หน้า ๒๔.

วารี อมั ไพรวรรณ. สมเดจ็ พระศรีนครินทราบรมราชชนนี สมเดจ็ ยา่ แม่ฟ้ า
หลวง. กรุงเทพมหานคร : สาํ นักพิมพ์ภทั รินทร์, ๒๕๓๘.

ศุภรัตน์ เลศิ พาณิชย์กุล. พระมามลายโศก เหลอื สขุ เล่ม ๒.
กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพ์กรุงเทพ. ๒๕๔๑.

ศูนยป์ ฏบิ ัตกิ ารลกู เสอื ชาวบ้าน. ประวตั ิศาสตรล์ ูกเสอื ชาวบา้ นในพระบรมราชา
นุเคราะห.์ กรุงเทพมหานคร : โมเดอร์นเพรสการพิมพ์. ๒๕๓๐.

สถาบนั ราชภฏั สวนสนุ นั ทา. เอกสารประกอบชดุ วิชาการเรียนรูภ้ าษาไทย สงั คม
ศึกษาและการสมั มนาสําหรบั ครูประถม. กรงุ เทพมหานคร :
สาํ นกั พัฒนาการฝึกหัดครู. ๒๕๔๖.

สมาคมวางแผนครอบครัวแห่งประเทศไทย. สมเด็จพระศรีนครินทราบรมราช
ชนนีกบั การพฒั นาคุณภาพประชากร. กรุงเทพมหานคร :
ถาวรการพิมพ์, ๒๕๒๘.

สาํ นกั งานเสริมสร้างเอกลกั ษณ์ของชาติ สาํ นักเลขาธกิ ารนายกรัฐมนตรี. สมเดจ็ -
พระศรีนครินทราบรมราชชนนี : สมเดจ็ ยา่ ของแผน่ ดนิ .
กรุงเทพมหานคร : ด่านสทุ ธาการพิมพ์, ๒๕๓๙.

สาํ นกั พระราชวงั . เสดจ็ ฯ พชิ ิตดอยอินทนนท์ ๒๖ เมษายน ๒๕๐๗.
กรุงเทพมหานคร : บวรสารการพิมพ์, ๒๕๓๑.

ใบความรู้

ชาติกําเนิดของสมเดจ็ ยา่

“สมเด็จยา่ ” เป็นพระสมัญญานามของ สมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี
ทรงมพี ระนามเดิมว่า “สงั วาลย”์ เสดจ็ พระราชสมภพเมือวนั อาทติ ยท์ ี ๒๑ ตุลาคม
พทุ ธศกั ราช ๒๔๔๓ ทจี ังหวดั นนทบรุ ี ในครอบครัวสามญั ชนทปี ระกอบอาชีพเป็น
ช่างทอง ทรงมีพีน้องรวม ๔ คน โดยทรงเป็นบุตรคนที ๓ ของพระชนกชือ “ชู” และ
พระชนนีชือ “คํา” ท/งั น/ีพระภคินีและพระเชษฐาของพระองค์ได้ถึงแกอ่ นิจกรรมต/ังแต่
วัยเยาว์ ส่วนพระอนุชา “ถมยา” ได้มีชวี ิตอยู่ต่อมาจนอายุราว ๒๗-๒๘ ปี จงึ ถงึ
แกก่ รรมลงด้วยโรคเยือหุ้มสมองอกั เสบ

ครอบครัวของพระชนกชูและพระชนนคี าํ ได้พาํ นกั อยู่ทจี งั หวดั นนทบรุ ี เป็น
เวลานานเทา่ ใดไม่ปรากฏ แต่เมือสมเดจ็ ย่าทรงจาํ ความได้กพ็ บว่าครอบครัวของ
พระองค์ได้ย้ายมาต/ังถินฐานอยู่ทซี อยวดั อนงค์ บริเวณเชิงสะพานสมเดจ็ พระพทุ ธ
ยอดฟ้ าจุฬาโลก ย่านฝังธนบุรีแล้ว โดยบ้านทที รงพาํ นักเป็นเหมอื นห้องแถวช/ัน
เดียว กอ่ ด้วยอฐิ มงุ หลังคากระเบ/ือง สมเดจ็ ย่าทรงเป็นกาํ พร้าต/ังแต่ยังเยาว์ เนือง
ด้วยพระชนกชูได้ถงึ แก่กรรมลงในขณะทสี มเดจ็ ย่ายังทรงเลก็ อยู่ พระชนนีคาํ จึงต้อง
รับภาระในการเล/ียงดสู มเดจ็ ย่าและพระอนุชาโดยลาํ พังต่อมา

๒๔

ใบความรู้

ทรงเป็ นพระราชชนนี

ในตอนเช้ามืดวนั ที ๒๔ มิถุนายน พ.ศ.๒๔๗๕ คณะราษฎร์ ได้ทาํ การปฏวิ ตั ิ

เปลียนแปลงการปกครองจากระบอบสมบรู ณาญาสทิ ธริ าชย์มาเป็นระบอบ

ประชาธปิ ไตย พระบาทสมเดจ็ พระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงยอมรับทจี ะเป็นพระมหา

กษตั ริย์ภายใต้การปกครองระบอบใหม่น/ี สมเดจ็ พระศรีสวรินทราบรมราชเทวี

พระพันวสั สาอยั ยกิ าเจ้า ทรงตดั สนิ พระทยั ให้หม่อมสงั วาลย์ พระธดิ า พระโอรส ไป

พาํ นักณ เมืองโลซาน ประเทศสวติ เซอร์แลนด์ พระองคต์ ้องรับภาระในการอบรม

เล/ียงดพู ระธิดา และพระโอรสท/งั ๓ พระองค์โดยลาํ พัง

เมือวนั ที ๒ มนี าคม พ.ศ. ๒๔๗๗ พระบาทสมเดจ็ พระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรง

ประกาศสละราชสมบัติ ด้วยเหตทุ พี ระองคไ์ ม่ทรงมีพระราชโอรสและพระราชธดิ า

รัฐบาลไทยในสมยั น/ันจงึ ได้กราบบงั คมทลู อญั เชญิ พระวรวงศเ์ ธอพระองค์เจ้าอานนั ท

มหิดล พระชนมายุ ๙ พรรษา พระราชโอรสองค์โตในสมเดจ็ เจ้าฟ้ ามหิดลอดลุ ยเดช

กรมหลวงสงขลานครินทร์ (พระบรมราชชนก) กบั หม่อมสงั วาลย์ มหิดล ณ อยุธยา

ข/ึนครองราชย์ เป็นพระมหากษตั ริย์รัชกาลที ๘ ทาํ ให้ฐานะของหม่อมสงั วาลย์

เปลียนเป็น พระราชชนนศี รีสงั วาลย์ ต่อมาสมเดจ็ พระเจ้าอยู่หัวอานนั ทมหิดลได้ทรง

พระกรณุ าโปรดเกล้าฯ สถาปนาพระราชชนนศี รีสงั วาลย์ข/ึนเป็น สมเดจ็ พระราชชนนีศรี

สงั วาลย์ ทรงดาํ รงพระยศเป็นพระบรมวงศ์ฝ่ ายในช/ันสงู เมือวนั ที ๑๖ พฤศจกิ ายน

พทุ ธศกั ราช ๒๔๘๑

๒๕

คํากล่าวถวายรายงานและกราบบงั คมทูลในการรบั เสด็จ
สมเด็จพระเทพรตั นราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี

๑. คาํ ถวายรายงาน สมเดจ็ พระเทพรัตนราชสดุ าฯ สยามบรมราชกมุ ารี
(สาํ หรับข้าราชการ ทหาร ตาํ รวจ)

“ขอพระราชทานกราบบงั คมทูลทราบฝ่ าละอองพระบาท
ข้าพระพุทธเจ้า ……………………………(ยศ, ชือ, ตาํ แหน่ง) ………………………………….
พระพุทธเจ้าข้า ขอรับด้วยเกล้าด้วยกระหม่อม”

๒. คาํ ถวายรายงาน สมเดจ็ พระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี
(สาํ หรับผู้มีตาํ แหน่งในการถวายความปลอดภัย)

“ขอพระราชทานกราบบงั คมทูลทราบ ฝ่ าละอองพระบาท
ข้าพระพทุ ธเจ้า ……………………….. (ตาํ แหน่งในการถวายความปลอดภยั )
พระพุทธเจ้าข้า ขอรับด้วยเกล้าด้วยกระหม่อม”

๓. คาํ กราบบังคมทลู สมเดจ็ พระเทพรัตนราชสดุ าฯ สยามบรมราชกมุ ารี

“ขอพระราชทานกราบบังคมทูลทราบ ฝ่ าละอองพระบาท
ข้าพระพทุ ธเจ้า …………………………. (ชือ, สกุล, ตาํ แหน่ง)
ด้วยเกล้าด้วยกระหม่อม หรือ ควรมิควรแล้วแต่จะทรงพระกรณุ าโปรดเกล้า
โปรดกระหม่อม”

ความหมายของคํากราบบงั คมทูล

- ขอพระราชทานกราบบังคมทลู ใช้เป็นคาํ ข/ึนต้นกอ่ นประโยคอนื ๆ
- ฝ่ าละอองพระบาท เป็นคาํ สรรพนามแทนพระบรมวงศ์ (สมเดจ็ พระเทพ
รัตนราชสดุ าฯ สยามบรมราชกมุ ารี)
- ข้าพระพทุ ธเจ้า เป็นคาํ สรรพนามแทนผู้กราบบงั คมทูล (ความหมาย
เช่นเดียวกบั ข้าพเจ้า, ดิฉัน)
- ด้วยเกล้าด้วยกระหม่อม หรือ ควรมิควรแล้วแต่จะทรงพระกรณุ าโปรดเกล้า
โปรดกระหม่อม ใช้เป็นคาํ ลงท้ายเมือกล่าวจบ

๒๖

เพลงพระมิง+ ขวญั บุคคลสาํ คญั ของโลก

คาํ รอ้ ง – ทาํ นอง : น.ท.พยงค์ มกุ ดา ร.น.
เรียบเรียงเสียงประสาน : วชิ ยั ต่อเนือง (อนุชิตสงคราม)
บรรเลง – ขบั รอ้ ง : วงดนตรีกรมประชาสมั พนั ธ์

สมเดจ็ ยา่ แม่ฟ้ าหลวง ของปวงไทย
ผู้ทรงพระคณุ ยิงใหญ่ สุดนาํ วจคี าํ ใด กล่าวขาน
ภารกจิ อทุ ศิ พระองค์ ทรงงาน
ป่ าดอยเขาสงู ตระหง่าน บกุ แดนทุรกนั ดาร ไม่ครันคร้าม

ดอยท/งั ปวง แม่ฟ้ าหลวง ทรงพันผูก
เขาทุกลูก แม่ฟ้ าหลวง ทรงบุกข้าม
พระกรุณา ข้ามฟ้ าข้ามดอย ลอยเหน็ เด่นงาม
ดอยตุงสยาม เชยี งราย หมายถงึ ธง

สมเดจ็ ย่า คู่ฟ้ าเหมือนธงไตรรงค์
โลกถวายพระนามสงู สง่ เทดิ องคพ์ ระชนนี ศรีนครินทร์

*สมเดจ็ ย่า คู่ฟ้ าเหมือน ธงไตรรงค์
โลกถวายพระนาเมพสลงู งสส่งดุดเทสี ดิ มอเงดคจ็ พ์ ยร่าะชนนี ศรีนครินทร์

พระเกคยี ํารรตอ้ ิคงุณ:ท่วตมัดฟต้ าอนพมราะจการกุณเพาทลง่วพมดระินมิงขวญั บคุ คลสาํ คญั ของโลก
สมเดจ็ พระศรีนคโรดินยทรนา.ทบ.พรยมงรคา์ชชมนกุ นดี ามริง.ขนว.ญั
คอื บุคทคาํ ลนสอาํ งคัญ: รขาอตงรโีปลกระเอดยบั ดาวสองช/ัน

(ซา/ํ *)

๒๗

เพลงวนั เขา้ พรรษา

วนั เข้าพรรษา พุทธวาจาทา่ นขานไข

พระสงฆ์ศกึ ษาธรรม ฤดูฝนพราํ ห้ามไปไกล

แรมคาํ เดอื นแปดตลอดไป สามเดอื นค้างได้วัดเดยี วเอย

เพลงวนั วิสาขบูชา

วันวิสาขบูชา วันสาํ คญั ศาสนาสบื มานาน
พระพทุ ธองค์ ท่านประสตู ิ ตรัสรู้ ผ่องผุด และนพิ พาน
วันเพญ็ เดือนหกล้วนตรงกนั ทาํ บญุ ให้ทานเวียนเทยี นเอย

เพลงความสะอาด

ลา มะลลิ า ข/ึนต้นเป็นมะลซิ ้อน พอแตกใบออ่ นเป็นมะลลิ า
บ้านเรือนจะสะอาด (ซา/ํ ) ต้องถตู ้องกวาดอยู่ทกุ เวลา
โรงเรียนจะสะอาด (ซา/ํ ) ต้องหมันเกบ็ กวาด ตลอดเวลา

๒๘

คณะกรรมการจดั ทําหลกั สูตรสมเดจ็ ย่า

คณะที+ปรึกษา กองบญั ชาการตํารวจตระเวนชายแดน

๑. พล.ต.ท. สาโรจน์ ปัญญา ผบช.ตชด.
๒. พล.ต.ต. สมศกั ดSิ
๓. พล.ต.ต. ฉตั รพล แขวงโสภา รอง ผบช.ตชด.
๔. พล.ต.ต. บวร
๕. พล.ต.ต. ถาวร คคั โนภาส รอง ผบช.ตชด.
๖. พล.ต.ต. วรพจน์
๗. พล.ต.ต. ธรี ะเดช สงคศิริ รอง ผบช.ตชด.
๘. พล.ต.ต. นิพนธ์
๙. พล.ต.ต. เธยี รชยั จันทร์ย/ิม รอง ผบช.ตชด.
๑๐. พล.ต.ต. ดเิ รก
๑๑. พล.ต.ต. นพรัตน์ อนิ ทเส รอง ผบช.ตชด.
๑๒. พล.ต.ต. สทุ นิ
๑๓. พล.ต.อ. เฉลมิ ชยั รอดโพธSทิ อง รอง ผบช.ตชด.
๑๔. พ.ต.อ. ธาํ รง
๑๕. พ.ต.อ. ชยั ธชั ศริ ิวงศ์ รอง ผบช.ตชด.
๑๖. พ.ต.อ. ยุทธนา
๑๗. พ.ต.อ. โกสนิ ทร์ เอยี มรักษา รอง ผบช.ตชด.
๑๘. พ.ต.อ. เอนก
๑๙. พ.ต.อ. โชติ พงษภ์ มร รอง ผบช.ตชด.
๒๐. พ.ต.อ. ปรีชา
๒๑. พ.ต.ท. ประจวบ มีปรีชา ผบก.อก.ตชด.
๒๒. พ.ต.ท. คูณ
๒๓. พ.ต.ท. บวร เขยี วรัตน์ ผบก.ตชด.ภาค ๒
๒๔. พ.ต.ท. ปราโมทย์
๒๕. พ.ต.ต. นรินทร์ พิมลศรี รอง ผบก.อก.ตชด.

สาริกลั ยะ รอง ผบก.ตชด.ภาค ๒

ยอดอานนท์ รอง ผบก.ตชด.ภาค ๒

ตงุ คะเสน รอง ผบก.ตชด.ภาค ๒

เทยี มทศั น์ รอง ผบก.ตชด.ภาค ๒

ณ นคร ผกก.๕ บก.อก.ตชด.

ไทยยิง ผกก.ตชด.๒๑

บญุ สขุ ผกก.ตชด.๒๓

จรูญธรรม รอง ผกก.ตชด.๒๓

โคตาสตู ร รอง ผกก.๕ บก.อก.ตชด.

มุทขอนแกน่ ผบ.ร้อย(สบ.๒)ร้อย ตชด.๒๓๒

ตระกูลโชคเสถยี ร สว.ผ.๕ กก.ตชด.๒๓

เกษกาญจนานุช อดตี สว.ผ.๕ กก.ตชด.๒๓

๒๙

๒๖. พ.ต.ท. หญงิ อมั พร โอฬารสกลุ สว.ผ.๒ กก.๕ บก.อก.ตชด.
๒๗. ร.ต.อ.หญิง เสาวนยี ์ เรืองสภุ าชาติ รอง สว.ผ.๒ กก.๕ บก.อก.ตชด.
๒๘. อาจารย์ กติ ติ ขันธมิตร สาํ นักงานโครงการสมเดจ็ พระเทพรัตน

ราชสดุ าฯ สยามบรมราชกุมารี (สสท.)
๒๙. อาจารย์ อภสิ ทิ ธSิ พึงพร สาํ นกั งานโครงการสมเดจ็ พระเทพรัตน

ราชสดุ าฯ สยามบรมราชกุมารี (สสท.)

คณะที+ปรึกษา สถาบนั ราชภฏั สกลนคร

๑. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.วัฒนา สวุ รรณไตรย์ อธกิ ารบดี

๒. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ นพิ นธ์ อนิ สนิ อดีตอธกิ ารบดี

๓. นายพิศษิ ฐ์ แสงวงศ์ รองอธกิ ารบดฝี ่ ายกจิ การพิเศษ

๔. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.สเุ ทพ การุณย์ลญั จกร คณบดีคณะครุศาสตร์

คณะกรรมการดาํ เนนิ งาน

๑. นายคมสนั อดุ มสารเสวี หัวหน้าคณะกรรมการดาํ เนนิ งาน
๒. นางลดั ดา พนัสนอก กรรมการ
๓. นางสาวสายใจ มาลยั กรอง กรรมการ
๔. นายยงยศ วงศ์แพงสอน กรรมการ
๕. ดร.ปัญญา นาแพงหมืน กรรมการ
๖. ร.ต.อ. มานะ ดรเถือน กรรมการ
๗. ร.ต.อ. เชดิ ชูพงศ์ วงศรียา กรรมการ
๘. ด.ต. ธนากร คัฒมาตร กรรมการ
๙. นางลดั ดาศรี อุดมสารเสวี กรรมการและเลขานุการ
๑๐. ส.ต.ต.หญิง ปาริชาติ บัวรอด กรรมการและผู้ช่วยเลขานุการ
๑๑. นางสาวอจั ฉรา ประมาพันธ์ กรรมการและผู้ช่วยเลขานุการ

๓๐

ผูท้ รงคณุ วุฒิ / ผูเ้ ชีย+ วชาญดา้ นหลกั สูตรและการสอน
สถาบนั ราชภฏั สกลนคร

๑. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.วฒั นา สวุ รรณไตรย์ อธกิ ารบดี
๒. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.พนมพร จนิ ดาสมุทร์ รองอธกิ ารบดีฝ่ ายวชิ าการ
๓. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ วันเพญ็ จันทร์เจริญ รองคณบดีคณะครุศาสตร์
๔. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ รังสรรค์ บุษยะมา ข้าราชการบาํ นาญ
๕. ดร.ประยูร บุญใช้ รองคณบดีคณะครุศาสตร์

๓๑

รายชือ+ ผูเ้ ขา้ ประชมุ พฒั นาปรบั ปรุงหลกั สูตรสมเดจ็ ยา่

คร:งั ที+ ๑
วนั ที+ ๒๘ พฤษภาคม ๒๕๔๖
ณ กองบญั ชาการตํารวจตระเวนชายแดน กรงุ เทพฯ

---------------

๑. พล.ต.ต. สมศกั ดSิ แขวงโสภา รอง ผบช.ตชด.
๒. พล.ต.ต. เธยี รชัย เอยี มรักษา รอง ผบช.ตชด.
๓. พล.ต.ต. ดเิ รก พงษภ์ มร รอง ผบช.ตชด.
๔. พล.ต.ต. นพรัตน์ มปี รีชา ผบก.อก.ตชด.
๕. พ.ต.อ. เฉลมิ ชยั พิมลศรี รอง ผบก.อก.ตชด.
๖. พ.ต.อ. ชัยธชั ยอดอานนท์ รอง ผบก.ตชด.ภาค ๒
๗. พ.ต.อ. เอนก ณ นคร ผกก.๕ บก.อก.ตชด.
๘. พ.ต.ท. คูณ โคตาสตู ร รอง ผกก.๕ บก.อก.ตชด.
๙. พ.ต.ท. สมศกั ดSิ ศรีบุญเรือง รอง ผกก.๕ บก. อก.ตชด.
๑๐. พ.ต.ท. ประจวบ จรูญธรรม รอง ผกก.ตชด.๒๓
๑๑. พ.ต.ต. นรินทร์ เกษกาญจนานุช อดตี สว.ผ.๕ กก.ตชด.๒๓
๑๒. อาจารย์ กติ ติ ขนั ธมติ ร สาํ นกั งานโครงการสมเดจ็ พระ-
เทพรัตนราชสดุ าฯ สยามบรมราช
๑๓. อาจารย์ อภสิ ทิ ธSิ พึงพร กมุ ารี (สสท.)
สาํ นกั งานโครงการสมเดจ็ พระ-
๑๔. อาจารย์ คมสนั อุดมสารเสวี เทพรัตนราชสดุ าฯ สยามบรมราช
๑๕. อาจารย์ ลัดดาศรี อดุ มสารเสวี กุมารี (สสท.)
๑๖. อาจารย์ ยงยศ วงศแ์ พงสอน สถาบนั ราชภฏั สกลนคร
สถาบันราชภัฏสกลนคร
สถาบนั ราชภัฏสกลนคร

รายชือ+ ผูเ้ ขา้ ประชมุ พฒั นาปรบั ปรุงหลกั สูตรสมเดจ็ ยา่

๓๒

คร:งั ที+ ๒
วนั ที+ ๔ มนี าคม ๒๕๔๗
ณ กองบญั ชาการตํารวจตระเวนชายแดน กรุงเทพฯ

---------------

๑. พล.ต.ต. สมศกั ดSิ แขวงโสภา รอง ผบช.ตชด.
รอง ผบก.อก.ตชด.
๒. พ.ต.อ. เฉลิมชัย พิมลศรี ผกก.๕ บก.อก.ตชด.
รอง ผกก.๕ บก. อก.ตชด.
๓. พ.ต.อ. เอนก ณ นคร รอง ผกก.ตชด.๒๓
รอง สว.กก.๕ บก.อก.ตชด.
๔. พ.ต.ท. พีระศกั ดSิ กลีบจนั ทร์ รอง สว.ผ.๕ กก.ตชด.๒๓
สถาบันราชภฏั สกลนคร
๕. พ.ต.ท. ประจวบ จรญู ธรรม สถาบันราชภฏั สกลนคร
สถาบนั ราชภฏั สกลนคร
๖. ร.ต.อ.หญงิ เสาวนีย์ เรืองสภุ าชาติ สถาบันราชภัฏนครศรีธรรมราช
สาํ นักงานคณะกรรมการการอดุ ม
๗. ร.ต.อ. เชิดชูพงศ์ วงศรียา ศึกษา
สาํ นกั งานคณะกรรมการการอุดม
๘. อาจารย์ คมสนั อดุ มสารเสวี ศึกษา
สาํ นกั งานโครงการสมเดจ็ พระ-
๙. อาจารย์ ลัดดาศรี อดุ มสารเสวี เทพรัตนราชสดุ าฯ สยามบรมราช
กมุ ารี (สสท.)
๑๐. อาจารย์ ยงยศ วงศแ์ พงสอน

๑๑. ผศ.ณรงค์ อุ้ยนอง

๑๒. น.ส.สภุ าพร ศรีหามี

๑๓. นางกรรณกิ าร์ ภิรมยร์ ัตน์

๑๔. อาจารย์ อภสิ ทิ ธSิ พึงพร

ภาคผนวก



เนือหา
เรือง “สมเดจ็ ยา่ ”

หลกั สูตร ป.๑- ป.๖ โรงเรียนตํารวจตระเวนชายแดน กก.ตชด.๒๓

ความสาํ คญั ของสมเด็จยา่

สมเดจ็ ย่า ทรงเป็นพระราชชนนี ผ้ใู ห้กาํ เนดิ และถวายการอภิบาลเล#ียงดู
พระมหากษัตริย์ผู้ทรงคุณอนั ประเสริฐย,ิงต่อคนไทยถึงสองพระองค์ โดยเฉพาะอย่างย,ิง
พระบาทสมเดจ็ พระเจ้าอยู่หัวภมู พิ ลอดลุ ยเดช พระมหากษตั ริยร์ ัชกาลปัจจุบันผู้ทรง
เป็นศนู ย์รวมยึดเหน,ียวจิตใจของคนไทยท#งั ชาติ ตลอดพระชนม์ชีพของสมเดจ็ ย่า
พระองค์ท่านได้ทรงทุ่มเทพระวรกาย และพระราชทานทรัพย์ส่วนพระองค์ เพ,ือ
ช่วยเหลอื ราษฎรไทยผู้ยากไร้ ท,อี าศยั อยู่ในถน,ิ ทรุ กนั ดารห่างไกลความเจริญให้พ้น
จากความทุกข์ยาก และทรงปฏบิ ัติพระราชภารกจิ ต่างๆ มากมาย

นอกจากน#ันสมเดจ็ ย่ายังทรงเลง็ เหน็ ว่า การศึกษาเป็นสง,ิ สาํ คญั ท,ที าํ ให้เยาวชน
ในชนบทมีความรู้ ความคดิ และสติปัญญาท,เี ฉลียวฉลาด อนั จะเป็นปัจจยั สาํ คัญใน
การพัฒนาชนบท เม,ือทรงทราบว่ากองกาํ กบั การตาํ รวจตระเวนชายแดนมีโครงการท,ี
จะสร้างโรงเรียนในเขตพ#ืนท,ตี ามแนวชายแดน จงึ ได้พระราชทานทรัพย์ส่วนพระองค์
เพ,ือนาํ ไปสร้างโรงเรียนตาํ รวจตระเวนชายแดน และได้พระราชทานช,ือโรงเรียนตามช,ือ
ผู้บริจาคเงินในการจัดสร้างด้วย เม,ือโรงเรียนแต่ละแห่งสร้างเสรจ็ แล้ว พระองคก์ จ็ ะ
เสดจ็ ฯ ไปทรงเปิ ดโรงเรียนแห่งน#ันด้วยพระองค์เอง พร้อมกบั พระราชทานอุปกรณ์
การเรียนการสอนท,จี าํ เป็นให้กบั เดก็ นักเรียนด้วย

ถึงแม้ว่าสมเดจ็ ย่าจะทรงเจริญพระชนมายุมากข#ึน กม็ ไิ ด้ทอดท#งิ โรงเรียนตาํ รวจ
ตระเวนชายแดน พระองค์ได้ทรงฝากให้สมเดจ็ พระเทพรัตนราชสดุ าฯ สยามบรมราช
กมุ ารี ทรงช่วยดแู ลแทน ดงั พระราชกระแสท,วี ่า “ยา่ แก่แลว้ ไปไหนไม่ค่อยไหว ถา้
สมเดจ็ พระเทพฯ เสดจ็ ฯ ก็ใหเ้ ยียมแทนยา่ ดว้ ย” นบั เป็นพระมหากรณุ าธคิ ุณท,ที รง
มีต่อเยาวชนในท้องถ,ินชนบทห่างไกลเป็ นล้ นพ้ น



จากพระราชกรณยี กจิ ท,ที รงบาํ เพญ็ ตลอดพระชนม์ชีพ สมเดจ็ ย่าจึงได้รับการ
ประกาศเฉลิมพระเกยี รติคณุ จาก UNESCO ให้ทรงเป็นบคุ คลสาํ คญั ของโลกประจาํ ปี
พทุ ธศักราช ๒๕๔๓ - ๒๕๔๔

พระราชประวตั ิ

ชาติกาํ เนิด

“สมเดจ็ ย่า” เป็นพระสมัญญานามของ สมเดจ็ พระศรีนครินทราบรมราชชนนี
ทรงมพี ระนามเดิมว่า “สงั วาลย”์ เสดจ็ พระราชสมภพเม,ือวนั อาทติ ยท์ ,ี ๒๑ ตุลาคม
พุทธศักราช ๒๔๔๓ ท,จี งั หวดั นนทบุรี ในครอบครัวสามัญชนท,ปี ระกอบอาชพี เป็น
ช่างทอง ทรงมีพ,ีน้องรวม ๔ คน โดยทรงเป็นบุตรคนท,ี ๓ ของพระชนกช,ือ “ชู” และ
พระชนนชี ,ือ “คาํ ” ท#งั น#ีพระภคนิ แี ละพระเชษฐาของพระองคไ์ ด้ถงึ แกอ่ นิจกรรมต#ังแต่
วัยเยาว์ สว่ นพระอนุชา “ถมยา” ได้มีชีวติ อยู่ต่อมาจนอายุราว ๒๗-๒๘ ปี จึงถงึ
แกก่ รรมลงด้วยโรคเย,ือหุ้มสมองอกั เสบ

ครอบครัวของพระชนกชูและพระชนนคี าํ ได้พาํ นกั อยู่ท,จี ังหวัดนนทบุรี เป็น
เวลานานเทา่ ใดไม่ปรากฏ แต่เม,ือสมเดจ็ ย่าทรงจาํ ความได้กพ็ บว่าครอบครัวของ
พระองค์ได้ย้ายมาต#ังถ,ินฐานอยู่ท,ซี อยวดั อนงค์ บริเวณเชิงสะพานสมเดจ็ พระพุทธ
ยอดฟ้ าจุฬาโลก ย่านฝ,ังธนบุรีแล้ว โดยบ้านท,ที รงพาํ นกั เป็นเหมือนห้องแถวช#ัน
เดยี ว กอ่ ด้วยอฐิ มุงหลังคากระเบ#ือง สมเดจ็ ย่าทรงเป็นกาํ พร้าต#ังแต่ยงั เยาว์ เน,ือง
ด้วยพระชนกชูได้ถงึ แก่กรรมลงในขณะท,สี มเดจ็ ย่ายังทรงเลก็ อยู่ พระชนนีคาํ จึงต้อง
รับภาระในการเล#ียงดูสมเดจ็ ย่าและพระอนุชาโดยลาํ พังต่อมา


Click to View FlipBook Version