The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

หลักสูตรสมเด็จย่า ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by kaewmaneekoson3122, 2021-10-21 03:16:47

หลักสูตรสมเด็จย่า ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6

หลักสูตรสมเด็จย่า ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6

หลกั สตู รสมเดจ็ ย่า
ชนั้ ประถมศึกษาปี ที่ 6

ป.6

โรงเรยี นตำรวจตระเวนชำยแดนบำ้ นควนตะแบก
324 หมูท่ ี่ 9 ต.เกำะเต่ำ อ.ปำ่ พะยอม จ.พทั ลงุ

เอกสารประกอบหลกั สูตรโรงเรียนตํารวจตระเวนชายแดน

หลกั สูตรสมเด็จย่า

ชนั ประถมศึกษาปี ที$ ๖

ผูจ้ ดั ทํา
กองบญั ชาการตํารวจตระเวนชายแดน

สถาบนั ราชภฏั สกลนคร

๒๕๔๗

สารบญั หนา้

คาํ นาํ ๑
ความเป็นมาของหลักสตู รและชุดการเรียนการสอน ๓
คาํ ช"ีแจงการใช้ชุดการเรียนการสอน ๔
ข"ันตอนการใช้ชุดการเรียนการสอน ๖
แผนการสอนท)ี ๑ ๑๑
แผนการสอนท)ี ๒ ๑๕
แผนการสอนท)ี ๓ ๒๐
แผนการสอนท)ี ๔ ๒๖
แผนการสอนท)ี ๕ ๓๒
แผนการสอนท)ี ๖ ๓๗
เอกสารอ้างองิ (๑) – (๕๕)
ภาคผนวก

- เน"ือหาเร)ืองสมเดจ็ ย่า
- ใบความรู้
- คาํ กล่าวถวายรายงานและกราบบงั คมทูล
- เพลงพระม)ิงขวัญบคุ คลสาํ คญั ของโลก
- เพลงค่านา"ํ นม
- เพลงความสะอาด
- เพลงทาํ ดีได้ดี
- คณะกรรมการจดั ทาํ หลกั สตู รสมเดจ็ ย่า

คาํ นาํ

เอกสารคู่มือการใช้ชุดการเรียนการสอนน"ี จัดทําข"ึนเพ)ือใช้เป็ นส)ือ
ประกอบการเรียนการสอนตามหลักสูตรสมเดจ็ ย่า กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา
ศาสนา และวฒั นธรรม ระดับช"ันประถมศกึ ษาปี ท)ี ๑ ถงึ ช"ันประถมศึกษาปี ท)ี ๖ ใน
โรงเรียนตํารวจตระเวนชายแดน เพ)ือให้ผู้สอนใช้เป็ นแนวทางในการจัดกิจกรรม
การเรียนการสอนให้เป็นไปตามเจตนารมณข์ องหลกั สตู รสมเดจ็ ย่า

ส่วนประกอบของเอกสารคู่มือการใช้ ชุดการเรียนการสอนหลักสูตร
สมเดจ็ ย่า ประกอบด้วย ความเป็นมาของหลกั สตู รและชุดการเรียนการสอน คาํ ช"ีแจง
การใช้ชุดการเรียนการสอน ข"ันตอนการใช้ชุดการเรียนการสอน แผนการสอน
ช"ันประถมศึกษาปี ท)ี ๑-๖ และภาคผนวกซ)ึงประกอบด้วยใบความรู้ ใบงาน แบบฝึกหัด
เป็นต้น กจิ กรรมท)ีนาํ เสนอไว้ในคู่มือฯ มุ่งเน้นให้ผู้เรียนได้เรียนรู้ และตระหนัก
ในความสาํ คัญรวมถึงพระมหากรุณาธิคุณของสมเดจ็ ย่า ท)ีทรงมีต่อโรงเรียนตํารวจ
ตระเวนชายแดน ให้ผู้เรียนได้เรียนรู้แบบมสี ว่ นร่วมและปฏบิ ัติจริงมากท)สี ุด ท"งั น"ีผู้สอน
จะต้องศกึ ษาจุดประสงค์ของการสอนเป็นหลักในการจัดกจิ กรรม และปรับ/ยืดหยุ่นให้
สอดคล้องกบั สาระการเรียนรู้ และเวลาเรียนแต่ละระดับช"ัน

เอกสารคู่มือการใช้ชุดการเรียนการสอนฉบับน"ี ได้ปรับปรงุ ตามข้อ-
เสนอแนะของผู้ทรงคุณวุฒิ และผู้เช)ียวชาญด้านหลักสูตรและการสอนเป็ นคร"ังท)ี ๓
หากผู้สอนนาํ ไปใช้แล้วมีข้อเสนอแนะประการใด คณะผู้จัดทาํ ยินดีรับฟังและแก้ไข
ให้ถูกต้องเหมาะสมต่อไป

คณะผู้จัดทาํ
๒๐ กุมภาพันธ์ ๒๕๔๗



คู่มอื การใชช้ ดุ การเรียนการสอน

หลกั สูตรสมเด็จย่า
ชนั ประถมศึกษาปี ที# ๖

ความเป็ นมาของหลกั สูตรและชดุ การเรียนการสอน

หลกั สตู รสมเดจ็ ย่า เกดิ ขึนจากแนวพระปรารภของสมเดจ็ พระเทพ
รัตนราชสดุ าฯ สยามบรมราชกมุ ารี เม&อื ครังท&ี พล.ต.ท. คาํ รณ ลยี วณชิ ผบช.ตชด.
และ พล.ต.ต.สมศักด-ิ บปุ ผาสวุ รรณ รอง ผบช.ตชด. (ตาํ แหน่งในขณะนัน) ได้เข้า
เฝ้ า พระองค์ทา่ น เม&ือวนั ท&ี ๒๕ มถิ ุนายน ๒๕๔๓ ณ พระตาํ หนกั ปรายเนนิ เพ&ือ
กราบบังคมทลู เชิญเสดจ็ เป็นองคป์ ระธานเปิ ดงานเฉลิมฉลองครบรอบ ๑๐๐ ปี วัน
คล้ายวนั พระราชสมภพ สมเดจ็ พระศรีนครินทราบรมราชชนนี ในวนั ท&ี ๑๓ ตลุ าคม
๒๕๔๓ ณ ศูนย์วฒั นธรรมแห่งชาติ สมเดจ็ พระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี
ได้ทรงปรารภกบั คณะผู้เข้าเฝ้ ามใี จความตอนหน&ึงว่า…สปช.ได้กาํ หนดหลกั สตู รให้
นกั เรียนประถมศึกษา ได้ศกึ ษาประวตั ิท่านปรีดี พนมยงค์ นกั เรียนโรงเรียนตาํ รวจ
ตระเวนชายแดน ควรจะได้ศึกษาและรู้จกั สมเดจ็ ย่าด้วย…

จากแนวพระปรารภ ของสมเดจ็ พระเทพรัตนราชสดุ าฯ สยามบรมราช
กุมารี นี กองบัญชาการตาํ รวจตระเวนชายแดน ได้มอบหมายให้กองกาํ กบั การตาํ รวจ
ตระเวนชายแดนแต่ละแห่ง นาํ ไปริเร&ิมจดั ทาํ หลกั สตู รสมเดจ็ ย่า (สมเดจ็ พระศรีนคริน
ทราบรมราชชนนี) เพ&ือใช้สอนในโรงเรียนตาํ รวจตระเวนชายแดน

สถาบันราชภฏั สกลนคร ได้รับการประสานจาก กก.ตชด.๒๓ โดย
ผกก.ตชด.๒๓ (พ.ต.อ.โชติ ไทยย&ิง) ขอความร่วมมอื ในการสร้างหลกั สตู รสมเดจ็ ย่า
โดยมุ่งเน้นให้นกั เรียนโรงเรียนตาํ รวจตระเวนชายแดน ได้เรียนรู้และตระหนกั ใน
พระมหากรุณาธคิ ณุ ท&สี มเดจ็ ย่าทรงมีต่อครู นักเรียน และครอบครัวตาํ รวจตระเวน
ชายแดน สถาบนั ราชภฏั สกลนคร จึงได้แต่งตังคณะทาํ งาน ศกึ ษา รวบรวม พระราช
ประวัติ พระราชกรณยี กจิ ของสมเดจ็ ย่า และได้จดั ทาํ หลักสตู รสมเดจ็ ย่า ขึน ทดลอง
ใช้ครังแรกในโรงเรียนตาํ รวจตระเวนชายแดน สงั กดั กก.ตชด.๒๓ จาํ นวน ๔ โรงเรียน



เม&ือเดือนพฤษภาคม ๒๕๔๕ โดยทาํ เป็นชุดการเรียนการสอน ใช้ช&ือชุดว่า “ชุดสดุดี

สมเดจ็ ย่า” ประกอบด้วยพระราชประวตั สิ มเดจ็ ย่า ๖ ตอน และพระราชกรณียกจิ

ของสมเดจ็ ย่า ๖ ด้าน ผลจากการทดลองใช้ชุดการเรียนการสอนครังนัน พบว่า เนือหา

มากและยากเกนิ ไปสาํ หรับนักเรียนโรงเรียนตาํ รวจตระเวนชายแดน กจิ กรรมการเรียน

การสอนท&กี าํ หนดไว้มรี ายละเอยี ดน้อย ยากต่อการนาํ ไปใช้ คณะทาํ งานจงึ ได้นาํ ชุด

การเรียนการสอนดังกล่าวมาปรับปรุงใหม่ โดยปรับปรุงเฉพาะชันประถมศึกษาปี ท&ี ๑,

๒ และ ๓ ก่อน ใช้ช&ือใหม่ว่า หลกั สูตรและชุดการเรียนการสอนเรื#องสมเด็จย่า ได้ให้

ครูโรงเรียนตาํ รวจตระเวนชายแดน ทดลองสอนสาธติ ถวายสมเดจ็ พระเทพ

รัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกมุ ารี เม&ือครังเสดจ็ เย&ียมโรงเรียนตาํ รวจตระเวน

ชายแดนในสงั กดั กก.ตชด.๒๓ ท&จี งั หวดั นครพนมเม&ือวนั ท&ี ๑๐–๑๒ กมุ ภาพันธ์

๒๕๔๖ ซ&ึงได้รับความสนพระทยั จากพระองค์ท่านมาก หลังจากนันคณะทาํ งานได้

ปรับปรงุ หลกั สูตรจนครบทกุ ระดบั ชัน และนาํ ไปทดลองใช้ในโรงเรียนตาํ รวจตระเวน

ชายแดน สงั กดั กก.ตชด.๒๓ จงั หวัดสกลนคร นครพนม และมุกดาหาร รวม ๘

โรงเรียน ภายหลงั การทดลองใช้ได้รวบรวมผลการประเมิน นาํ มาปรับปรุงหลักสตู ร

อกี ครังหน&ึง

เม&ือวันท&ี ๒๘ พฤษภาคม ๒๕๔๖ คณะทาํ งานได้นาํ เสนอหลักสตู ร
สมเดจ็ ย่า ต่อท&ปี ระชุมผู้บริหารของกองบญั ชาการตาํ รวจตระเวนชายแดน และผู้แทน
จากสาํ นักพระราชวงั ณ กองบัญชาการตาํ รวจตระเวนชายแดน กรุงเทพมหานคร ได้รับ
คาํ ชมเชยและข้อเสนอแนะ ซ&ึงเป็นประโยชน์ต่อการปรับปรุง/พัฒนาหลักสตู รสมเดจ็ ย่า
เพ&ิมมากขึน หลงั จากนันคณะทาํ งาน ได้นาํ หลักสตู รสมเดจ็ ย่าและชุดการเรียนการ
สอนมาปรับปรงุ และนาํ เข้าส่ทู &ปี ระชุมคณะกรรมการท&ปี รึกษา ผู้ทรงคุณวฒุ ิ รวมทงั
ผู้เช&ียวชาญด้านการพัฒนาหลักสตู รและการสอนของสถาบันราชภฏั สกลนคร เพ&ือ
พิจารณาให้ข้อคิดเหน็ อกี ครังหน&ึง และได้นาํ ข้อสรุปจากท&ปี ระชุมทงั ๒ ครัง ตลอดจน
ข้อเสนอแนะของผู้เช&ียวชาญด้านการพัฒนาหลกั สตู รและการสอน มาปรับปรุงเพ&ิมเติม
ให้เป็นหลกั สตู รและชุดการเรียนการสอนท&สี มบูรณ์ และนาํ เสนอต่อท&ปี ระชุมผู้บริหาร
ของกองบญั ชาการตาํ รวจตระเวนชายแดน ผู้แทนจากสาํ นักพระราชวงั ผู้แทนจาก
สาํ นักงานคณะกรรมการการอดุ มศึกษาครังสดุ ท้าย เม&ือวนั ท&ี ๔ มีนาคม ๒๕๔๗ เพ&ือ
พิจารณาให้ข้อคิดเหน็ ท&ปี ระชุมสรุปให้สถาบันราชภัฏสกลนคร นาํ หลกั สตู รสมเดจ็ ย่า



ไปจดั ทาํ ต้นฉบับท&สี มบูรณส์ ่งให้กองบัญชาการตาํ รวจตระเวนชายแดน เพ&ือจัดทาํ
เอกสารเผยแพร่ต่อไป

คําชีแจงการใชช้ ดุ การเรียนการสอน

ชุดการเรียนการสอนนีจดั ทาํ ขึนสาํ หรับใช้สอนในโรงเรียนตาํ รวจตระเวน
ชายแดน ในระดับชันประถมศึกษาปี ท&ี ๑-๖ ตามหลักสตู รสมเดจ็ ย่า กลุ่มสาระการ
เรียนรู้สงั คมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม เนือหาสาระท&นี าํ มาจดั ประสบการณ์การ
เรียนร้ใู ห้กบั ผู้เรียน ประกอบด้วย

๑. ความสาํ คญั ของสมเดจ็ ย่า
๒. พระราชประวัตขิ องสมเดจ็ ย่า
๓. พระราชกรณยี กจิ ของสมเดจ็ ย่า
๔. สมเดจ็ ย่ากบั งานอดิเรก
๕. พระราชจริยวัตรของสมเดจ็ ย่า
การจดั ชุดการเรียนการสอน แยกเป็น ๖ ชุด ตามระดบั ชันเรียน (ป.๑–
ป.๖) ภายในชุด (Package) แต่ละชุดมสี &อื การเรียนรู้ ท&จี ัดไว้เพ&ือเป็นแนวทางให้
ผู้สอนใช้สอนได้สะดวก เม&ือผู้สอนศึกษาด้วยตนเองแล้ว สามารถนาํ ไปใช้สอนได้ทนั ที
หรือผูส้ อนอาจพจิ ารณาปรบั ปรงุ ดดั แปลง เพิม# เติม ตดั ทอนกจิ กรรมการเรียนรู้
ต่างๆ ไดต้ ามความเหมาะสม ภายใตห้ ลกั การจัดการเรียนรูท้ ี#เนน้ ผูเ้ รียนเป็ น
สําคญั และแนวการจัดการเรียนการสอนตามหลกั สูตรสมเด็จย่า
ชุดการเรียนการสอน ประกอบด้วย
๑. คู่มอื การใช้ชุดการเรียนการสอน

- ความเป็นมาของหลักสตู รและชุดการเรียนการสอน
- คาํ ชีแจงการใช้ชุดการเรียนการสอน
- แผนการเรียนรู้
๒. ใบความรู้ / ใบงาน / แบบฝึกหัด
๓. บตั รภาพ / บัตรคาํ / แถบประโยค
๔. แผนภมู ิเพลง
๕. แบบทดสอบ
๖. หนังสอื สมเดจ็ ย่า แม่ฟ้ าหลวง
(สาํ หรับส&อื เสริมอ&นื ๆ เช่น แถบวีดทิ ศั น์ เร&ืองอุทยานสมเดจ็ พระศรี



นครินทราบรมราชชนนี แถบบันทกึ เสยี งเพลงสดุดสี มเดจ็ ย่า หลกั สตู รสมเดจ็ ย่า คณะ
ผู้จดั ทาํ ได้แยกออกจาก Package มอบให้โรงเรียนไว้โรงเรียนละ ๑ ชุด)

ขนั ตอนการใชช้ ดุ การเรียนการสอน

เพ&ือให้การจัดกจิ กรรมการเรียนการสอนหลกั สตู รสมเดจ็ ย่า ประสบ-
ความสาํ เรจ็ และเป็นไปตามเจตนารมณ์ของคณะผู้จัดทาํ หลักสตู ร ผู้สอนควรปฏบิ ตั ิดงั นี

๑. ศึกษาเอกสารหลกั สตู รสมเดจ็ ย่า คู่มือการใช้หลกั สตู รและชุดการ
เรียนการสอน อ่านหนงั สอื สมเดจ็ ย่า แม่ฟ้ าหลวง ให้เข้าใจ

๒. ตรวจสอบความพร้อมของชุดการสอนว่าสมบูรณ์หรือไม่ ภายในชุด
มสี &อื การเรียนรู้ครบถ้วน พร้อมท&จี ะใช้สอนหรือไม่

๓. ศกึ ษารายละเอยี ด เนือหาสาระการเรียนรู้ และจุดประสงค์ เฉพาะ
ชันท&จี ะสอน ให้เข้าใจ

๔. ทดลองใช้ส&อื ภายในชุดการสอน ก่อนลงมือสอนจริง และพิจารณา
จัดทาํ จัดหาส&อื การเรียนรู้เพ&ิมเตมิ ตามความเหมาะสม

๕. แบบทดสอบท&กี าํ หนดไว้ในชุดการสอน อาจนาํ ไปใช้ทดสอบก่อน
และ/หรือหลังสอนกไ็ ด้ ทงั นีเพ&ือทราบพัฒนาการของเดก็ ภายหลังการเรียนรู้

๖. ผู้สอนต้องตรวจแบบฝึกหัดตามใบงานของผู้เรียนทุกคน แล้วคนื
ใบงานให้ผู้เรียนและอธบิ ายเพ&ิมเตมิ ในสว่ นท&นี กั เรียนทาํ ไม่ถูกต้อง

๗. กจิ กรรมการเรียนรู้และอตั ราเวลาเรียนท&กี าํ หนดไว้ ผู้สอนสามารถ
ปรับเปล&ียนได้ตามความเหมาะสมกบั สภาพการณ์ โดยยดึ การให้ผู้เรียนมีส่วนร่วมใน
กจิ กรรมให้มากท&สี ดุ

๘. การจดั กจิ กรรมการเรียนรู้ เป็นแบบบรู ณาการ ผู้สอนต้องพยายาม
สร้างความตระหนกั ให้ผู้เรียนเหน็ ความสาํ คัญ และสาํ นึกในพระมหากรุณาธคิ ุณของ
สมเดจ็ ย่า ตลอดจนน้อมนาํ เอาพระราชจริยวัตรของพระองคท์ ่านมายดึ ถือปฏบิ ตั ิเป็น
แบบอย่าง โดยจัดกจิ กรรมให้หลากหลายมากท&สี ดุ

๙. ผูส้ อนควรศึกษาคาํ กล่าวถวายรายงานของขา้ ราชการ และ
นกั เรียนในการรบั เสด็จ สมเด็จพระเทพรตั นราชสดุ าฯ สยามบรมราชกมุ ารี ให้
เขา้ ใจ และฝึ กทกั ษะการกล่าวถวายรายงานฯ ใหก้ บั นกั เรียน (ป.๓ – ๖) ทกุ ครงั
เมือ# มีเวลาเหลือจากการสอนทา้ ยชวั# โมง (อ่านภาคผนวก)



๑๐. หลงั จากใช้ชุดการเรียนการสอนแล้วทุกครัง ผู้สอนจะต้องรวบรวม
ส&อื การเรียนรู้ทกุ ชินเกบ็ เข้าท&ใี ห้เรียบร้อย เพ&ือความสะดวกในการนาํ ไปใช้ในโอกาส
ต่อไป

แผนการสอน เรืองสมเดจ็ ย่า

ชนั ประถมศึกษาปี ที ๖
เวลาเรียน ๖ ชวั โมง



แผนการสอนที ๑ เรืองสมเด็จย่า
ชนั ประถมศึกษาปี ที ๖
เวลาเรียน ๑ ชวั โมง

สาระการเรียนรู้
๑. ความสาํ คญั ของสมเดจ็ ยา่
- ในฐานะทรงเป็นพระราชมารดาของพระมหากษัตริย์
- ทรงได้รับการประกาศเกยี รติคณุ ให้เป็นบุคคลสาํ คัญของโลก
๒. พระราชประวตั ิ
- ชาตกิ าํ เนิด
- การศึกษา
- ชีวติ สมรส

จุดประสงค์ เพ-ือให้ผู้เรียนสามารถแสดงพฤติกรรมต่อไปน4ีได้
๑. บอกความสาํ คญั ของสมเดจ็ ย่าในฐานะท-ที รงเป็นพระมารดาของ
พระมหากษตั ริยไ์ ทยรัชกาลปัจจุบันได้
๒. บอกท-มี าของการท-สี มเดจ็ ย่าทรงได้รับการประกาศเกยี รติคุณให้เป็นบคุ คล
สาํ คญั ของโลกได้
๓. บอกและเขียนพระนามเดมิ ของสมเดจ็ ย่าได้
๔. เล่าชาตกิ าํ เนิดของสมเดจ็ ย่าท-เี ป็นสามญั ชนได้
๕. บอกและเขียนช-ือบิดามารดาของสมเดจ็ ย่าได้
๖. เล่าประวัติการศกึ ษาของสมเดจ็ ย่าได้พอสงั เขป
๗. บอกและเขียนพระนามของสมเดจ็ พระราชบิดาท-อี ภเิ ษกสมรสกบั
สมเดจ็ ย่าได้
๘. บอกและเขียนพระนามของพระราชธิดา พระราชโอรสของสมเดจ็ ย่าได้



กจิ กรรมการเรียนรู้ และสือการเรียนรู้

กจิ กรรมการเรียนรู้ สือการเรียนรู้

๑. ครูนาํ เทปเพลง “พระม-ิงขวญั บุคคลสาํ คัญของโลก” - เทปเพลง “พระม-ิงขวญั

เปิ ดให้นักเรียนฟัง ๑-๒ เท-ยี ว แล้วถามนักเรียนว่า บุคคลสาํ คญั ของโลก”

เน4ือเพลงกล่าวถึงใคร มีใจความว่าอย่างไร ครูนาํ - แผนภมู เิ พลง “พระม-ิง

อภิปรายเน4ือหาจากเพลงเพ-ิมเตมิ เพ-ือให้นักเรียน ขวญั บุคคลสาํ คัญของโลก”

ทราบว่า สมเดจ็ ย่าทรงเป็นบุคคลสาํ คญั ของโลก โดย

ได้รับการประกาศเฉลิมพระเกยี รตคิ ุณจากใคร เพราะ

อะไร (อ่านใบความรู้หน้า (๒๓) เพ-ิมเตมิ แล้วให้

นกั เรียนเรียนร่วมกนั ร้องเพลง ๒-๓ เท-ยี ว

๒. สนทนาเร-ืองสมาชกิ ในครอบครัวโดยใช้แผนภมู ิ - ภาพสมเดจ็ ย่า

เครือญาติ เพ-ือเช-ือมโยงไปสพู่ ระราชวงศข์ องสมเดจ็ - แผนภมู ิเครือญาติ

ย่าโดยเน้นถึงความสมั พันธข์ องสมเดจ็ ย่ากบั พระบาท - แผนภมู ิพระราชวงศข์ อง

สมเดจ็ พระเจ้าอยู่หัว พร้อมท4งั แสดงภาพและบตั รคาํ สมเดจ็ ย่า

พระนามพระราชวงศข์ องสมเดจ็ ย่าประกอบ และ - บตั รคาํ “สมเดจ็ ย่า”

อธบิ ายเน้นถึงการเป็นพระราชชนนี การเป็นสมเดจ็ ย่า - ภาพพระบาทสมเดจ็

ของชนชาวไทย และการท-ที รงมพี ระมหากรณุ าธคิ ุณ พระเจ้าอยู่หัว และบัตรคาํ

ต่อโรงเรียน ตชด. อย่างย่อ พระนาม

๓. ให้นักเรียนศกึ ษาพระราชประวัติของสมเดจ็ ย่า จาก - ภาพสมเดจ็ พระเจ้าพ-ีนาง

วีดทิ ศั น์ เร-ืองอุทยานสมเดจ็ พระศรีนครินทราบรม เธอ และบตั รคาํ พระนาม

ราชชนนี แล้วตอบคาํ ถามต่อไปน4ี - ภาพของรัชกาลท-ี ๘

- สมเดจ็ ย่าเกดิ เม-ือไร พระนามเดิมคอื อะไร และบตั รคาํ พระนาม

- บิดา มารดาของสมเดจ็ ย่าช-ืออะไร - วดี ทิ ศั นเ์ ร-ืองอุทยานสมเดจ็

- สมเดจ็ ย่าเรียนจบทางด้านไหน พระศรีนครินทราบรม

ราชชนนี



กจิ กรรมการเรียนรู้ สือการเรียนรู้
- สมเดจ็ ย่าอภิเษกสมรสกบั ใคร
- สมเดจ็ ย่ามพี ระราชธดิ า พระราชโอรส - บัตรคาํ ช-ือบดิ า, นายชู,
ช-ือมารดา, นางคาํ , วัน เดือน
ก-พี ระองค์ มีพระนามอย่างไรบ้าง ปี เกดิ , ๒๑ ต.ค. ๒๔๔๓,
ฯลฯ พระนามเดิม, สงั วาลย์,
การศกึ ษา, พยาบาล, สมเดจ็
๔. นักเรียนร่วมกนั สรปุ ความรู้จากการศกึ ษาพระราช พระราชบิดา, สมเดจ็ เจ้าฟ้ า
ประวตั ิของสมเดจ็ ย่า โดยนาํ บัตรคาํ ท-มี คี วามสมั พันธ์ มหิดลอดลุ ยเดช, พระราช
เก-ยี วข้องกนั ไปติดเป็นคู่ๆ บนกระเป๋ าผนงั เช่น โอรส, พระบาทสมเดจ็ พระ
เจ้าอยู่หัวอานันทมหิดล,
ช-ือบิดา นายชู พระบาทสมเดจ็ พระ
เจ้าอยู่หัวภมู ิพลอดลุ ยเดช,
ช-ือมารดา นางคาํ พระราชธดิ า,สมเดจ็ พระเจ้า
พ-ีนางเธอเจ้าฟ้ ากลั ยาณิ
วนั เดือน ปี เกดิ ๒๑ ต.ค. ๒๔๔๓ วัฒนา

พระนามเดมิ สงั วาลย์

การศกึ ษา พยาบาล

สมเดจ็ พระราชบิดา สมเดจ็ เจ้าฟ้ ามหิดลอดุลยเดช
บิดา

พระราชโอรส พระบาทสมเดจ็ พระเจ้าอยู่หัว
พระราชธดิ า อานันทมหิดล

พระบาทสมเดจ็ พระเจ้าอยู่หัว
ภมู ิพลอดุลยเดช

สมเดจ็ พระเจ้าพ-ีนางเธอ
เจ้าฟ้ ากลั ยาณิวัฒนา



กิจกรรมการเรียนรู้ สือการเรียนรู้

๕. ให้นกั เรียนรวบรวมความคิดแต่งประโยคเป็นความ - บตั รคาํ ท-แี สดงไว้ในข้อ ๔

เรียงปากเปล่า เล่าถงึ พระราชประวัตขิ องสมเดจ็ ย่า - กระเป๋ าผนัง

โดยใช้บตั รคาํ ท-จี ดั แสดงไว้บนกระเป๋ าผนงั เป็นส-ือนาํ

๖. ครเู สริมความคิดของนักเรียนโดยเน้นให้นักเรียน - ภาพสมเดจ็ ย่าพระราชทาน

ตระหนักในความสาํ คัญของสมเดจ็ ย่าท-ที รงเป็น ส-งิ ของให้กบั โรงเรียน ตชด.

พระราชชนนขี องพระมหากษตั ริย์ไทยถงึ ๒ พระองค์

คอื รัชกาลท-ี ๘ และรัชกาลท-ี ๙ รวมถงึ การท-ที รงมี

พระมหากรุณาธคิ ณุ เสยี สละทรัพยส์ ว่ นพระองค์ สร้าง

โรงเรียน ตชด. ให้นักเรียนได้มีท-เี รียนหนังสอื

๗. นกั เรียนร่วมกนั ร้องเพลง “พระม-ิงขวัญบคุ คล - แผนภมู ิเพลง “พระม-ิง

สาํ คญั ของโลก” ขวญั บุคคลสาํ คัญของโลก”

๘. ให้นักเรียนทาํ กจิ กรรมตามใบงานท-ี ๖.๑ - ใบงานท-ี ๖.๑

การวดั ผลและประเมนิ ผล

๑. การวดั ผล
๑.๑ สงั เกตความสนใจในการเรียนและการร่วมกจิ กรรมกลุ่ม
๑.๒ สงั เกตกระบวนการทาํ งานของแต่ละคน
๑.๓ ตรวจผลงาน จากใบงาน และแบบฝึกหัดท-กี าํ หนดให้

๒. การประเมนิ ผล
ประเมนิ ผลหลงั เรียน โดยใช้เกณฑผ์ ่านร้อยละ ๗๐ ข4ึนไป

๑๐

ใบงานที ๖.๑

คําสงั จงเตมิ คาํ หรือข้อความลงในช่องว่างให้ได้ในความสมบรู ณ์

๑. สมเดจ็ ย่ามพี ระนามเดมิ ว่า ………………………………………………………………………………………….
๒. มารดาของสมเดจ็ ย่า ช-ือ ……………………………………………………………………………………………..
๓. บดิ าของสมเดจ็ ย่า ช-ือ…………………………………………………………………………………………………..
๔. สมเดจ็ ย่าเกดิ ท-จี งั หวัด ………………………….. วันท-…ี ….. เดอื น …….……… พ.ศ. ………………
๕. พระนามเตม็ ของสมเดจ็ ย่า คือ ……………………………………………………………………………………
๖. โรงเรียนท-สี มเดจ็ ย่าเข้าศกึ ษาเป็นโรงเรียนแรกได้แก่ …………………………………………………
๗. เม-ือพระมารดาของสมเดจ็ ย่าถงึ แกอ่ นิจกรรม สมเดจ็ ย่าอายุ …………………………………ปี
๘. สมเดจ็ ย่าเข้าเรียนพยาบาลคร4ังแรกท-ี …………………………………….. เม-ืออายุ ………………ปี
๙. สมเดจ็ ย่าได้รับทนุ ไปศกึ ษาต่อวิชาพยาบาลท-ปี ระเทศ ………………………………………………
๑๐. สมเดจ็ ย่าทรงเป็นพระมารดาของพระมหากษตั ริยไ์ ทย ๒ พระองค์

คือ ……………………………………………………………..และ ……………………………………………………….
๑๑. พระนามเตม็ ของพระราชบดิ าท-อี ภเิ ษกสมรสกบั สมเดจ็ ย่า

คอื ……………………………………………………………..……………………………………………………………….
๑๒. สมเดจ็ ย่า มีพระราชธดิ า และพระราชโอรส รวม ……………… พระองค์ ได้แก่

……………………………………………………………..…………………………………………………………………….
……………………………………………………………..…………………………………………………………………….
……………………………………………………………..…………………………………………………………………….

ชือ-สกุล ………………………………………..…………………………. เลขที …………………. ชนั ………………
โรงเรียน …………………………………………………………………………………………………………………

๑๑

แผนการสอนที ๒ เรืองสมเด็จย่า
ชนั ประถมศึกษาปี ที ๖
เวลาเรียน ๑ ชวั โมง

สาระการเรียนรู้
๑. พระราชประวตั ิของสมเดจ็ ยา่
- ทรงเป็นพระราชชนนี
- ทรงอภบิ าลดแู ลยุวกษตั ริย์
- ทรงสญู เสยี พระราชโอรส “อานนั ทมหิดล”

จุดประสงค์ เพ-ือให้ผู้เรียนสามารถแสดงพฤติกรรมต่อไปน4ีได้
๑. เล่าเก-ยี วกบั พระราชวงศ์ของสมเดจ็ ย่าได้พอสงั เขป
๒. เล่าถงึ การทรงเป็นพระราชชนนีของสมเดจ็ ย่าได้
๓. อธบิ ายถงึ พระราชภารกจิ ท-สี มเดจ็ ย่าทรงอภิบาลดแู ลยุวกษัตริย์
๔. เล่าถงึ เหตุการณก์ ารสญู เสยี พระราชโอรสอานันทมหิดล
๕. จัดแสดงแผนภมู ิผลงานการศกึ ษาพระราชประวัตโิ ดยใช้พระบรม
ฉายาลกั ษณ์ และบัตรพระนามสมเดจ็ ย่า พระราชธิดา พระราชโอรส
และพระราชนัดดาได้อย่างถูกต้อง
๖. บอกความหมายของคาํ ราชาศพั ทจ์ ากเร-ืองท-เี รียนได้

๑๒

กจิ กรรมการเรียนรู้ และสือการเรียนรู้ สือการเรียนรู้
กิจกรรมการเรียนรู้ - ภาพ และบตั รคาํ พระนาม
ของสมเดจ็ ย่า, สมเดจ็ พระ
๑. ทบทวนความรู้เร-ืองพระราชประวัติของสมเดจ็ ย่าท-ี ราชบิดา
เรียนมาแล้วในแผนการสอนท-ี ๑ โดยใช้ภาพและ - ภาพสมเดจ็ ย่ากบั พระราช
บตั รคาํ ประกอบคาํ ถาม ธดิ า และพระราชโอรส
๒. สนทนาถึงพระราชประวตั ขิ องสมเดจ็ ย่าเพ-ิมเตมิ
ดงั น4ี - ใบความรู้ เร-ือง ทรงเป็น
- ทรงเป็นพระราชชนนี พระราชชนนี, ทรงอภบิ าล
- ทรงอภบิ าลดแู ลยุวกษตั ริย์ ดูแลยุวกษตั ริย์, ทรงสญู เสยี
๓. แบ่งนักเรียนออกเป็น ๔ กลุ่ม แจกใบความรู้และ พระราชโอรส “อานันท
ใบงาน ๖.๒ ให้นักเรียนแต่ละกลุ่มศึกษาและทาํ มหิดล”
กจิ กรรม ตามหัวข้อต่อไปน4ี - ใบงานท-ี ๖.๒

กลุ่มท-ี ๑ ทรงเป็นพระราชชนนี - ภาพกจิ กรรมต่างๆ ตาม
กลุ่มท-ี ๒ ทรงอภิบาลดูแลยุวกษัตริย์ บัตรเน4ือหาของแต่ละกลุ่ม
กลุ่มท-ี ๓ ทรงสญู เสยี พระราชโอรส - วัสดอุ ุปกรณ์, เคร-ืองมือ
อานันทมหิดล ท-ใี ช้ในการจดั ป้ ายนเิ ทศ
กลุ่มท-ี ๔ รวบรวมคาํ ราชาศัพทแ์ ละความ
หมายท-เี ก-ยี วข้องกบั พระราชประวตั ขิ องสมเดจ็ ย่า
๔. แต่ละกลุ่มส่งตัวแทนออกมาสรุปเน4ือหาท-กี ลุ่ม
รับผิดชอบหน้าช4ัน ครูและนกั เรียนอ-นื ซักถาม และ
เสนอแนะเพ-ิมเติม
๕. นกั เรียนแต่ละกลุ่มนาํ ผลการศึกษา (ตามข้อ ๔) /
รายงาน ติดแสดงท-ปี ้ ายนิเทศโดยมีผลงานหลักดังน4ี
กลุ่มท-ี ๑ จัดแสดงภาพสมเดจ็ ย่าพร้อมท4งั
พระราชธดิ า และพระราชโอรส เขยี นใต้ภาพ
“ทรงเป็นพระราชชนนี” และสรุปเน4ือหาตามใบงาน
กลุ่มท-ี ๒ จัดแสดงภาพสมเดจ็ ย่าทรงอภบิ าล
ดูแลยุวกษตั ริย์ เขยี นใต้ภาพ “ทรงอภิบาลดแู ลยุว
กษัตริย์” และสรุปเน4ือหาตามใบงาน

๑๓ สือการเรียนรู้

กจิ กรรมการเรียนรู้
กลุ่มท-ี ๓ จัดแสดงภาพสมเดจ็ ย่า รัชกาลท-ี ๘
เขยี นใต้ภาพ “ทรงสญู เสยี พระราชโอรส” และสรุป
เน4ือหาตามใบงาน
กลุ่มท-ี ๔ เขยี นคาํ ราชาศพั ทแ์ ละความหมาย
(ถ้ามภี าพประกอบด้วยจะดีมาก) จัดแสดงบนป้ าย
นเิ ทศ
๖. ครแู ละนักเรียนร่วมกนั สรุปเน4ือหาท-เี รียนมาแล้ว
ท4งั หมด

การวดั ผลและประเมนิ ผล

๑. การวดั ผล
๑.๑ สงั เกตความสนใจในการเรียนและการร่วมกจิ กรรมกลุ่ม
๑.๒ สงั เกตกระบวนการทาํ งานของแต่ละคน
๑.๓ ตรวจผลงาน จากใบงาน และแบบฝึกหัดท-กี าํ หนดให้

๒. การประเมินผล
ประเมินผลหลังเรียน โดยใช้เกณฑผ์ ่านร้อยละ ๗๐ ข4ึนไป

๑๔

ใบงานที ๖.๒

คําสงั ให้นักเรียนแบ่งกลุ่มออกเป็น ๔ กลุ่ม ศกึ ษาใบความรู้
และทาํ กจิ กรรมต่อไปน4ี

กลุ่มท-ี ๑ - ศกึ ษาเร-ือง “ทรงเป็ นพระราชชนนี”
- จัดแสดงภาพสมเดจ็ ย่าพร้อมท4งั สมเดจ็ พระราชบดิ า พระราชธดิ า
และพระราชโอรส เขียนใต้ภาพ “ทรงเป็นพระราชชนนี” และ
สรปุ เน4ือหาส4นั ๆ ตดิ ป้ ายนิเทศ

กลุ่มท-ี ๒ - ศึกษาเร-ือง ทรงอภิบาลดูแลยุวกษตั ริย์
- จดั แสดงภาพสมเดจ็ ย่าขณะดูแลพระราชธดิ า พระราชโอรส
เม-ือทรงพระเยาว์ เขยี นใต้ภาพ “ทรงอภบิ าลดูแลยุวกษตั ริย์”
และสรุปเน4ือหาส4นั ๆ ติดป้ ายนิเทศ

กลุ่มท-ี ๓ - ศึกษาเร-ือง ทรงสูญเสยี พระราชโอรสอานนั ทมหิดล
- จัดแสดงภาพสมเดจ็ ย่า ภาพรัชกาลท-ี ๘ เขยี นใต้ภาพ “ทรงสญู
เสยี พระราชโอรส” และสรุปเน4ือหาส4นั ๆ ติดป้ ายนเิ ทศ

กลุ่มท-ี ๔ - ศกึ ษา รวบรวมคาํ ราชาศัพทเ์ ก-ยี วกบั พระราชประวัติของสมเดจ็ ย่า
หาความหมายของคาํ (ถ้ามภี าพประกอบด้วยจะดีมาก) นาํ ไป
ติดแสดงไว้บนป้ ายนิเทศ

๑๕

แผนการสอนที ๓ เรืองสมเดจ็ ย่า
ชนั ประถมศึกษาปี ที ๖
เวลาเรียน ๑ ชวั โมง

สาระการเรียนรู้
๑. พระราชประวตั ิ
- ทรงเป็นสมเดจ็ พระศรีนครินทราบรมราชชนนี
- พระราชนัดดาของสมเดจ็ ย่า
- สมเดจ็ ย่าเสดจ็ สวรรคต

จุดประสงค์ เพ-ือให้ผู้เรียนสามารถแสดงพฤติกรรมต่อไปน4ีได้
๑. บอกท-มี าของพระนาม “สมเดจ็ พระศรีนครินทราบรมราชชนนไี ด้
๒. บอกจาํ นวนและเขียนพระนามของพระราชนัดดาของสมเดจ็ ย่าได้
๓. บอกพระนามพระราชนดั ดาของสมเดจ็ ย่าท-ที รงปฏบิ ตั ิพระราชกรณยี กจิ
เก-ยี วกบั โรงเรียนตาํ รวจตระเวนชายแดน แทนสมเดจ็ ย่าได้ถูกต้อง
๔. เล่าเหตุการณท์ -สี มเดจ็ ย่าทรงประชวรจนสวรรคตได้
๕. เขยี นคาํ กลอนสดุดสี มเดจ็ ย่าได้
๖. บอกความหมายของคาํ ศัพทเ์ ก-ยี วกบั พระราชประวัติของสมเดจ็ ย่าตามท-ี
กาํ หนดให้ได้

๑๖

กจิ กรรมการเรียนรู้ และสือการเรียนรู้

กจิ กรรมการเรียนรู้ สือการเรียนรู้

๑. ครูนาํ ภาพเก-ยี วกบั สมเดจ็ ย่า พระบรมราชชนก - ภาพสมเดจ็ ย่า พระบรม

รัชกาลท-ี ๘ รัชกาลท-ี ๙ พระพ-ีนางเธอในอริ ิยาบทและ ราชชนก รัชกาลท-ี ๘

เหตกุ ารณ์ต่างๆ ติดบนกระดานดาํ หรือกระเป๋ าผนงั รัชกาลท-ี ๙ สมเดจ็ พระเจ้า

ชวนนักเรียนสนทนาถึงพระราชประวตั ิของสมเดจ็ ย่า พ-ีนางเธอ

ท-เี รียนมาแล้ว โดยต4ังคาํ ถามว่า

- ภาพน4ีเก-ยี วข้องกบั สมเดจ็ ย่าอย่างไร

- ใครจะเล่าเหตุการณท์ -เี รียนมาแล้ว ท-เี ก-ยี ว

ข้องกบั ภาพน4ไี ด้บ้าง

หลังจากนกั เรียนช่วยกนั เล่าเหตกุ ารณ์เก-ยี วกบั

พระราชประวัติของสมเดจ็ ย่าต4ังแต่ ชาติกาํ เนดิ จนถึง

ทรงสญู เสยี พระราชโอรสอานันทมหิดล แล้วครแู ละ

นักเรียนร่วมกนั สรปุ อกี คร4ังหน-ึง

๒. แบ่งนกั เรียนออกเป็น ๓ กลุ่ม ให้นกั เรียนแต่ละ - ใบความรู้ เร-ืองทรงเป็น

กลุ่มอ่านใบความรู้ และศกึ ษาค้นคว้าพระราชประวัติ สมเดจ็ พระศรีนครินทราบรม

วัติสมเดจ็ ย่าเพ-ิมเติมจากห้องสมุด ทาํ รายงานและ ราชชนนี พระราชนัดดาของ

เตรียมนาํ เสนอต่อช4ันเรียนตามหัวข้อท-กี าํ หนดใน สมเดจ็ ย่า สมเดจ็ ย่าเสดจ็

ใบงานท-ี ๖.๓ ดงั น4ี สวรรคต

กลุ่มท-ี ๑ ทรงเป็นสมเดจ็ พระศรีนครินทรา

บรมราชชนนี

กลุ่มท-ี ๒ พระราชนดั ดาของสมเดจ็ ย่า

กลุ่มท-ี ๓ สมเดจ็ ย่าเสดจ็ สวรรคต

๓. นกั เรียนแต่ละกลุ่มสง่ ตวั แทนออกมารายงานผล

การศึกษาหน้าช4ัน ครแู ละนกั เรียนอ-นื ซกั ถามและ

เสนอแนะเพ-ิมเติม

๔. นกั เรียนนาํ ผลการศกึ ษา/รายงาน ติดแสดงท-ปี ้ าย

นเิ ทศ

๑๗

กิจกรรมการเรียนรู้ สือการเรียนรู้
๕. ครพู านกั เรียนร้องเพลง สมเดจ็ ย่าพระม-ิงขวญั - ใบงานท-ี ๖.๓
บุคคลสาํ คญั ของโลก โดยให้ทกุ คนยนื ตรง และร้อง
เพลง ๑ เท-ยี ว
๖. ให้นักเรียนเขยี นคาํ กลอนสดดุ ีสมเดจ็ ย่า
๗. นักเรียนทาํ กจิ กรรมตามใบงานท-ี ๖.๓ ดงั น4ี

๑) ให้บอกความหมายของคาํ ราชาศัพทท์ -ี
กาํ หนดให้

๒) ให้นาํ คาํ ราชาศัพทไ์ ปแต่งประโยคท-เี ก-ยี ว
ข้องกบั พระราชประวตั ิของสมเดจ็ ย่า

๓) ตอบคาํ ถามท-กี าํ หนดให้
๘. นักเรียนประเมินความรู้ด้วยตนเอง โดยครรู ่วมกบั
นักเรียนเฉลยคาํ ตอบ

การวดั ผลและประเมินผล

๑. การวดั ผล
๑.๑ สงั เกตความสนใจในการเรียนและการร่วมกจิ กรรมกลุ่ม
๑.๒ สงั เกตกระบวนการทาํ งานของแต่ละคน
๑.๓ ตรวจผลงาน จากใบงาน และแบบฝึกหัดท-กี าํ หนดให้

๒. การประเมนิ ผล
ประเมนิ ผลหลังเรียน โดยใช้เกณฑผ์ ่านร้อยละ ๗๐ ข4ึนไป

๑๘

ใบงานที ๖.๓

คําสงั ที ๑ ๑) จงเขียนความหมายของคาํ ราชาศพั ทต์ ่อไปนี

พระบรมราชชนก = ………………………………………………………………………..
พระราชนัดดา = ………………………………………………………………………..
สวรรคต = ………………………………………………………………………..
ประชวร = ………………………………………………………………………..
โรคพระหทยั = ………………………………………………………………………..
ถวายพระเพลงิ = ………………………………………………………………………..

๒) จงแต่งประโยคโดยใชค้ าํ ราชาศพั ทต์ ่อไปนี

พระบรมราชชนก ……………………………………………………………………………………

พระราชนัดดา ……………………………………………………………………………………

สวรรคต ……………………………………………………………………………………

ประชวร ………………………………………………………………………………….

โรคพระหทยั ………………………………………………………………………………….

ถวายพระเพลงิ …………………………………………………………………………………..

๓) จงตอบคําถามต่อไปนี
๑. ใครเป็นผู้ถวายพระนาม สมเดจ็ พระศรีนครินทราบรมราชชนนี

……………………………………………………………………………………………………………

๒. พระบรมราชชนกมพี ระนามเตม็ ว่าอย่างไร
……………………………………………………………………………………………………………

๑๙
๓. พระราชนัดดาของสมเดจ็ ย่าท-ปี ระสตู แิ ด่พระบาทสมเดจ็ พระเจ้า

อยู่หัวภมู ิพลอดลุ ยเดชกบั สมเดจ็ พระนางเจ้าสริ ิกติ ตTิ มีก-พี ระองค์
ทรงพระนามว่าอย่างไร
……………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………..
…………………………………………………………………………………………………………..
…………………………………………………………………………………………………………..
…………………………………………………………………………………………………………..
๔. สมเดจ็ ย่าทรงประชวรด้วยโรคอะไร ก่อนเสดจ็ สวรรคต
………………………………………………………………………………………………………………
๕. สมเดจ็ ย่าเสดจ็ สวรรคตในปี ใด รวมพระชนมายุของสมเดจ็ ย่า
ก-พี รรษา
………………………………………………………………………………………………………………

ชือ-สกลุ ………………………………………..………………………. เลขที …………………. ชนั ……………….
โรงเรียน …………………………………………………………………………………………………………………………….

๒๐

แผนการสอนที ๔ เรืองสมเด็จย่า
ชนั ประถมศึกษาปี ที ๖
เวลาเรียน ๑ ชวั โมง

สาระการเรียนรู้
๑. พระราชกรณยี กจิ
- สมเดจ็ ย่ากบั โรงเรียนตาํ รวจตระเวนชายแดน
- สมเดจ็ ย่ากบั การช่วยเหลอื ประชาชน
- สมเดจ็ ย่ากบั งานแพทยแ์ ละสาธารณสขุ
- สมเดจ็ ย่ากบั กจิ การลูกเสอื ชาวบ้าน
- สมเดจ็ ย่ากบั งานอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติ

จุดประสงค์ เพ-ือให้ผู้เรียนสามารถแสดงพฤติกรรมต่อไปน4ไี ด้
๑. เล่าถงึ พระราชกรณยี กจิ ของสมเดจ็ ย่าต่อโรงเรียนตาํ รวจตระเวนชายแดนได้
๒. ยกตัวอย่างพระราชกรณียกจิ ของสมเดจ็ ย่าด้านการช่วยเหลอื ประชาชนได้
๓. บอกความหมายของ พอ.สว. และท-มี าของโรงพยาบาลนวฒุ ิสมเดจ็ ย่าได้
๔. บอกความสาํ คญั ของหน่วยแพทยอ์ าสาสมคั รสมเดจ็ พระราชชนนศี รีสงั วาลย์
ได้
๕. อธบิ ายความหมายของ มวส.ได้
๖. เล่าถึงพระราชกรณียกจิ ของสมเดจ็ ย่าท-มี ีต่อกจิ การลูกเสอื ชาวบ้านได้
๗. เขยี แผนผงั ความคดิ (Mind Map) เก-ยี วกบั พระราชกรณยี กจิ ของสมเดน็ ย่า
ได้
๘. ยกตวั อย่างงานอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติของสมเดจ็ ย่าได้
๙. วางแผนทาํ กจิ กรรมเพ-ืออนุรักษท์ รัพยากรธรรมชาติภายในโรงเรียนของ
ตนได้

๒๑

กจิ กรรมการเรียนรู้ และสือการเรียนรู้

กิจกรรมการเรียนรู้ สือการเรียนรู้

๑. ครูให้นกั เรียนน-ังล้อมกนั เป็นวงกลม ชวนสนทนา

ทบทวนความรู้ความเข้าใจเก-ยี วกบั พระราชประวัติ

ของสมเดจ็ ย่า ต4ังแต่เร-ืองชาตกิ าํ เนิด จนถึงสมเดจ็ ย่า

เสดจ็ สวรรคต โดยใช้เทคนิคการเล่าเร-ืองรอบวง โดย

ให้นักเรียนเล่าพระราชประวตั ิของสมเดจ็ ย่า คนละ

๑ ประโยค เรียงลาํ ดับเหตกุ ารณ์ก่อน – หลัง ให้ได้

ใจความสมบูรณ์ ตวั อย่างเช่น

นกั เรียนคนท-ี ๑ สมเดจ็ ย่ามชี -ือเดิมว่า สงั วาลย์

นกั เรียนคนท-ี ๒ สมเดจ็ ย่ามมี ารดา ช-ือ นางคาํ

นกั เรียนคนท-ี ๓ สมเดจ็ ย่ามีบิดา ช-ือ นายชู

นักเรียนคนท-ี ๔ ………………………………………………….

……………………………………………………………………………..

……………………………………………………………………………..

นกั เรียนคนสดุ ท้าย (เล่าสรุปเก-ยี วกบั การ

สวรรคตของสมเดจ็ ย่า)

ครูส่มุ เรียกนกั เรียน ๑ คน ออกมาเล่าสรุปพระราช

ประวัตติ 4ังแต่ต้นจนจบ แล้วให้การเสริมแรงด้วยการ

ปรบมอื

๒. ครูนาํ ภาพพระราชกรณยี กจิ ของสมเดจ็ ย่า เก-ยี วกบั

งานด้านต่างๆ มาให้นกั เรียนดทู ลี ะภาพ แล้วแจกให้ - ภาพพระราชกรณยี กจิ ของ

นักเรียนส่งต่อกนั ไปดทู กุ คน โดยครูบอกให้นักเรียน สมเดจ็ ย่าด้านต่างๆ (จาํ นวน

สงั เกตภาพ และอ่านตวั อกั ษร/ข้อความใต้ภาพด้วย ๑๐–๑๕ ภาพ)

ว่าเป็นภาพเก-ยี วกบั อะไร (นกั เรียน ๒–๓ คนต่อภาพ

๑ ภาพ)

๓. ครนู าํ แถบบัตรคาํ พระราชกรณียกจิ ด้านต่างๆ ไป - บัตรคาํ สมเดจ็ ย่ากบั

ติดท-กี ระดานดาํ ดังน4ี โรงเรียนตชด. ,สมเดจ็ ย่ากบั

การช่วยเหลือประชาชน,

๒๒

กิจกรรมการเรียนรู้ สือการเรียนรู้
- สมเดจ็ ย่ากบั โรงเรียน ตชด. สมเดจ็ ย่ากบั งานด้าน
- สมเดจ็ ย่ากบั การช่วยเหลือประชาชน การแพทย์และสาธารณสขุ ,
- สมเดจ็ ย่ากบั งานแพทยแ์ ละสาธารณสขุ สมเดจ็ ย่ากบั กจิ การลกู เสอื
- สมเดจ็ ย่ากบั กจิ การลูกเสอื ชาวบ้าน ชาวบ้าน, สมเดจ็ ย่ากบั งาน
- สมเดจ็ ย่ากบั งานอนุรักษท์ รัพยากรธรรมชาติ อนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติ
๔. นกั เรียนร่วมกนั สงั เกตภาพ แล้วนาํ ภาพท-ตี นถืออยู่ - แถบบตั รคาํ สมเดจ็ ย่ากบั
ไปตดิ ท-กี ระดาน ให้ตรงกบั แถบบัตรคาํ พระราช- โรงเรียนตชด., สมเดจ็ ย่ากบั
กรณียกจิ แต่ละด้าน เช่น การช่วยเหลือประชาชน ฯลฯ
- บตั รภาพพระราชกรณียกจิ
สมเดจ็ ย่ากบั โรงเรียน ตชด. ของสมเดจ็ ย่าในด้านต่างๆ

สมเดจ็ ย่ากบั การช่วยเหลอื ประชาชน

ฯลฯ
๕. ครูและนกั เรียนร่วมกนั พิจารณาผลงานว่านักเรียน - แถบบัตรคาํ และบัตร
ติดภาพได้ตรงกบั แถบบตั รคาํ หรือไม่ ถ้าไม่ถกู ต้องให้ ภาพจากกจิ กรรมข้อ ๔
ช่วยกนั แก้ไขให้ถกู แล้วอภปิ รายภาพร่วมกนั โดยครู
ใช้คาํ ถามนาํ ดงั น4ี
- ภาพน4ีเป็นภาพเก-ยี วกบั อะไร
- มีใครเก-ยี วข้องบ้าง
- ทาํ ไมสมเดจ็ ย่าจึงเข้าไปเก-ยี วข้องกบั ภาพเหล่าน4ี
- นกั เรียนคิดว่าสมเดจ็ ย่าเป็นบุคคลท-ชี าวโลกควร
ยกย่องหรือไม่

ฯลฯ

๒๓

กิจกรรมการเรียนรู้ สือการเรียนรู้

๖. แบ่งนกั เรียนออกเป็น ๕ กลุ่ม ให้ศกึ ษาใบความรู้ - ใบความรู้ เร-ือง สมเดจ็ ย่า

และนาํ เสนอรายงานหน้าช4ันเรียน ดงั น4ี กบั โรงเรียนตชด. , สมเดจ็ ย่า

กลุ่มท-ี ๑ ศึกษาใบความรู้เร-ือง สมเดจ็ ย่ากบั กบั การช่วยเหลือประชาชน,

โรงเรียนตชด. สมเดจ็ ย่ากบั งานด้าน

กลุ่มท-ี ๒ ศกึ ษาใบความร้เู ร-ือง สมเดจ็ ย่ากบั การ การแพทยแ์ ละสาธารณสขุ ,

ช่วยเหลือประชาชน สมเดจ็ ย่ากบั กจิ การลกู เสอื

กลุ่มท-ี ๓ ศกึ ษาใบความรู้เร-ือง สมเดจ็ ย่ากบั งาน ชาวบ้าน, สมเดจ็ ย่ากบั งาน

ด้านการแพทยแ์ ละสาธารณสขุ อนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติ

กลุ่มท-ี ๔ ศึกษาใบความรู้เร-ือง สมเดจ็ ย่ากบั กจิ การ

ลกู เสอื ชาวบ้าน

กลุ่มท-ี ๕ สมเดจ็ ย่ากบั งานอนุรักษท์ รัพยากร

ธรรมชาติ

๗. นักเรียนแต่ละกลุ่มสง่ ตัวแทนออกมาสรปุ ความรู้ท-ี

ตนศกึ ษาหน้าช4ันเรียน แล้วร่วมกนั เขียนแผนผงั

ความคิด (Mind Map) เก-ยี วกบั พระราชกรณียกจิ

ของสมเดจ็ ย่า

ตัวอย่างเช่น

พระราชกรณยี กจิ
ของสมเดจ็ ย่า

๘. ให้นักเรียนแต่ละกลุ่มวางแผนทาํ กจิ กรรมเพ-ือ - ใบงาน ๖.๔
อนุรักษท์ รัพยากรธรรมชาติ ภายในโรงเรียน เช่น
ปลูกไม้ดอกไม้ประดบั ปลูกไม้ยนื ต้น พรวนดิน,
รดนา4ํ ต้นไม้ เป็นต้น และให้แต่ละกลุ่มเขียนรายงาน

๒๔ สือการเรียนรู้

กจิ กรรมการเรียนรู้
การดาํ เนินกจิ กรรม (ใบงาน ๖.๔) โดยครกู าํ หนด
หัวข้อให้ ดังน4ี
- ช-ือกจิ กรรม
- ช-ือผู้ร่วมงาน
- วัตถุประสงค์
- ข4ันตอนการดาํ เนินงาน
- ผลท-ไี ด้รับ
- ปัญหาและข้อเสนอแนะ

การวดั ผลและประเมนิ ผล

๑. การวดั ผล
๑.๑ สงั เกตความสนใจในการเรียนและการร่วมกจิ กรรมกลุ่ม
๑.๒ สงั เกตกระบวนการทาํ งานของแต่ละคน
๑.๓ ตรวจผลงาน จากใบงาน และแบบฝึกหัดท-กี าํ หนดให้

๒. การประเมนิ ผล
ประเมนิ ผลหลงั เรียน โดยใช้เกณฑผ์ ่านร้อยละ ๗๐ ข4ึนไป

๒๕

ใบงานที ๖.๔

คําสงั ให้นักเรียนแต่ละกลุ่มวางแผนการทาํ กจิ กรรมเพ-ืออนุรักษ์
ทรัพยากรธรรมชาติภายในโรงเรียน กลุ่มละ ๑ กจิ กรรม
แล้วเขยี นรายงานการดาํ เนนิ กจิ กรรม ตามหัวข้อต่อไปน4ี
- ช-ือกจิ กรรม
- ช-ือผู้ร่วมงาน
- วัตถุประสงค์
- ข4ันตอนการดาํ เนินงาน
- ผลท-ไี ด้รับ
- ปัญหาและข้อเสนอแนะ

๒๖

แผนการสอนที ๕ เรืองสมเด็จย่า
ชนั ประถมศึกษาปี ที ๖
เวลาเรียน ๑ ชวั โมง

สาระการเรียนรู้
๑. พระราชกรณียกิจ
- สมเดจ็ ย่ากบั การสงเคราะห์ตาํ รวจตระเวนชายแดน
๒. งานอดเิ รก
- ทรงโปรดอยู่ตามเขาลาํ เนาป่ า
- สมเดจ็ ย่ากบั งานด้านศลิ ปะ
- สมเดจ็ ย่ากบั งานด้านกฬี า

จุดประสงค์ เพ-ือให้ผู้เรียนสามารถแสดงพฤติกรรมต่อไปน4ไี ด้
๑. เล่าพระราชกรณยี กจิ ของสมเดจ็ ย่าในการสงเคราะห์ ตชด. ได้
๒. บอกช-ือพระราชนัดดาท-ปี ฏบิ ตั ิพระราชภารกจิ แทนสมเดจ็ ย่าได้
๓. เล่าถงึ กจิ กรรมท-สี มเดจ็ ย่าทรงโปรดเม-ืออยู่ตามเขาลาํ เนาป่ าได้
๔. ยกตวั อย่างงานอดเิ รกของสมเดจ็ ย่าด้านศลิ ปะ ได้อย่างน้อย ๓ งาน
๕. ประดิษฐ์อกั ษร “สมเด็จพรศรีนครินทราบรมราชชนนี” โดยใช้ดอกไม้ และ
ใบไม้แห้งได้อย่างสวยงาม
๖. บอกช-ือกฬี าท-สี มเดจ็ ย่าทรงโปรดมากท-สี ดุ ได้
๗. จัดป้ ายนเิ ทศแสดงภาพพระราชกรณยี กจิ และงานอดิเรกของสมเดจ็ ย่าได้
๘. เขียนเรียงความแสดงความรู้สกึ ท-มี ตี ่อสมเดจ็ ย่าในหัวข้อ สมเดจ็ ย่ากบั
โรงเรียนตาํ รวจตระเวนชายแดนได้

๒๗

กิจกรรมการเรียนรู้ และสือการเรียนรู้

กิจกรรมการเรียนรู้ สือการเรียนรู้

๑. ทบทวนเน4ือหาท-เี รียนมาแล้ว(ในแผนการสอนท-ี ๔)

เก-ยี วกบั พระราชกรณียกจิ ของสมเดจ็ ย่าโดยใช้คาํ ถาม

- พระราชกรณยี กจิ ของสมเดจ็ ย่ามีอะไรบ้าง

- นักเรียนประทบั ใจในพระราชกรณียกจิ ของ

สมเดจ็ ย่าด้านใดมากท-สี ดุ เพราะเหตใุ ด

๒. ครแู จ้งให้นักเรียนทราบว่า “ยงั มพี ระราชกรณยี กจิ

ของสมเดจ็ ย่าท-สี าํ คัญย-ิง ท-เี ก-ยี วข้องกบั ครอบครัวของ

ตาํ รวจตระเวนชายแดนโดยตรง อยากทราบหรือไม่

ว่าเป็นพระราชกรณียกจิ เก-ยี วกบั เร-ืองใด”

๓. ครแู จกใบความรู้เร-ือง “สมเดจ็ ย่ากบั การสงเคราะห์ - ใบความรู้ เร-ืองสมเดจ็ ย่า

ตาํ รวจตระเวนชายแดน” ให้นกั เรียนอา่ นในใจ กบั การสงเคราะห์ตาํ รวจ

ตระเวนชายแดน

๔. ส่มุ นกั เรียนออกมาสรปุ เน4ือหาท-อี ่าน ดงั น4ี

นักเรียนคนท-ี ๑ สรุปเน4ือหาย่อหน้าท-ี ๑

นักเรียนคนท-ี ๒ สรุปเน4ือหาย่อหน้าท-ี ๒

นกั เรียนคนท-ี ๓ สรปุ เน4ือหาย่อหน้าท-ี ๓

นกั เรียนคนท-ี ๔ สรุปเน4ือหาย่อหน้าท-ี ๔

และให้นักเรียนท4งั ช4ันช่วยกนั เล่าเสริมให้ได้

เน4ือความท-ถี กู ต้องสมบรู ณ์

๕. เปล-ียนบรรยากาศภายในห้องเรียนโดยให้นักเรียน - ภาพสมเดจ็ ย่า

ยกเก้าอ4มี าน-ังล้อมเป็นวง สมมตุ วิ ่านกั เรียนเป็น

ตาํ รวจตระเวนชายแดน แล้วน-ังตรงน4ีคอื สมเดจ็ ย่า

(ครูถือพระบรมฉายาลักษณส์ มเดจ็ ย่าไว้) ครเู ล่าให้

นักเรียนฟังว่า ช่วงท-สี มเดจ็ ย่ามชี วี ติ อยู่ ทรงโปรด

อยู่ตามเขาลาํ เนาป่ า โปรดความสะอาด ความเป็น

ระเบียบ ถ้าเหน็ เศษกระดาษ ก้นบหุ ร-ี ถงุ พลาสตกิ

ถูกท4งิ ตามพ4ืนดิน กจ็ ะก้มลงเกบ็ เอง

๒๘

กิจกรรมการเรียนรู้ สือการเรียนรู้

ครถู ามนักเรียนว่า

- ใครชอบอยู่ตามป่ าเขาบ้าง /

ทาํ ไมจงึ ชอบ-ไม่ชอบ

- ใครชอบความสะอาดบ้าง / ทาํ ไมจงึ ชอบ

- สมเดจ็ ย่าเกบ็ เศษกระดาษ ถงุ พลาสติก เป็นสง-ิ

ดีหรือไม่

- นกั เรียนควรปฏบิ ัตเิ หมอื นสมเดจ็ ย่าหรือไม่

ฯลฯ

๖. ครูเล่าต่อไปว่า สมเดจ็ ย่าทรงรับส-งั ให้ตาํ รวจตระเวน

ชายแดนท-ตี ามเสดจ็ และคอยอารักขาพระองค์ ร้อง

เพลงตาํ รวจตระเวนชายแดนถวาย ตามด้วยเพลง

ลูกทงุ่ หรือบางคร4ังกร็ ้องลิเกถวาย เป็นท-สี าํ ราญ

พระราชหฤทยั มาก ครูถามนกั เรียนว่า

- ใครชอบร้องเพลงบ้าง

- ร้องเพลงตาํ รวจตระเวนชายแดนได้ไหม

- ร้องเพลงลกู ทุ่งได้ไหม

- เคยดลู เิ กหรือเปล่า / ร้องลเิ กเป็นไหม

ฯลฯ

ครูให้นกั เรียน ๑-๒ คน ร้องเพลงท-ตี นเองถนัดให้

เพ-ือนๆ ฟัง โดยเพ-ือนนักเรียนเป็นผู้ปรบมอื ให้

จังหวะตามไปด้วย

๗. ครนู าํ ภาพงานศลิ ปะของสมเดจ็ ย่า ภาพสมเดจ็ ย่า - ภาพงานศลิ ปะของ

กาํ ลงั น-ังทาํ งานศลิ ปะ มาให้นักเรียนดู แล้วถาม สมเดจ็ ย่า

นกั เรียนว่า - ภาพสมเดจ็ ย่ากาํ ลงั

- น-ีภาพอะไร ทรงงานด้านศิลปะ

- สมเดจ็ ย่ากาํ ลงั ทาํ อะไร

- สมเดจ็ ย่าเกง่ ไหม

๒๙

กจิ กรรมการเรียนรู้ สือการเรียนรู้

- นักเรียนชอบทาํ งานอย่างท-สี มเดจ็ ย่าทาํ หรือไม่

ครูเล่าให้นักเรียนทราบว่า สมเดจ็ ย่ามไิ ด้ทรงศกึ ษา

ทางศิลปะมาโดยตรง แต่พระปรีชาสามารถส่วน

พระองคใ์ นด้านศิลปะมีมากมายหลายแขนง เช่น งาน

ป4ัน งานปัก งานวาด งานประดิษฐ์ต่างๆ (ครแู สดง

ภาพผลงานของสมเดจ็ ย่าให้นักเรียนดูประกอบการ

เล่า) พร้อมท4งั เสริมว่า สมเดจ็ ย่ายังได้ถกั ผ้าพันคอ

สาํ หรับกนั หนาวเพ-ือพระราชทานให้แก่ทหาร ตาํ รวจ

และบรรดาอาสาสมัครท-ปี ฏบิ ตั ริ าชการตามแนว

ชายแดน เป็นท-รี ะลึกและของขวัญอกี ด้วย

๘. ครถู ามนกั เรียนว่า นักเรียนอยากทาํ งานเกง่ เหมอื น

สมเดจ็ ย่าหรือไม่ ใครชอบงานช4ินใดของสมเดจ็ ย่าบ้าง

วันน4ีครจู ะลองให้นักเรียนประดิษฐ์ช4ินงานคนละ ๑

ช4ิน ตอนท้ายช-ัวโมงจะแจกใบงานให้ ตอนน4ีเรามา

รู้จกั งานอดิเรกด้านกฬี าของสมเดจ็ ย่ากนั ก่อน

๙. ครูถามนกั เรียนต่อไปว่า

- ใครทราบบ้างว่า สมเดจ็ ย่าทรงโปรดกฬี าอะไรบ้าง - ภาพสมเดจ็ ย่าทรงสกี ข-ีม้า

และเล่นเปตอง

- ถ้าไม่ทราบ ลองดภู าพน4ีซิ (ครแู สดงภาพสมเดจ็ - ใบความรู้ งานอดเิ รกด้าน

ย่าทรงสกี ข-ีม้า และทรงเล่นเปตอง) กฬี า

- กฬี าท-สี มเดจ็ ย่าทรงโปรดมีหลายอย่าง นกั เรียน

ทราบไหมว่า กฬี าท-ที รงโปรดมากท-สี ดุ และสมเดจ็ ย่า

เคยเล่นกบั ตาํ รวจตระเวนชายแดนบ่อยๆ คือกฬี า

ประเภทใด เม-ือนกั เรียนสงั เกตภาพกจ็ ะเหน็ ภาพ

สมเดจ็ ย่าทรงเล่นเปตองกบั ตาํ รวจตระเวนชายแดน

ครจู ึงให้นักเรียน ๑ คน อ่านใบความรู้เก-ยี วกบั งาน

อดิเรกด้านกฬี าให้เพ-ือนๆ ฟัง แล้วร่วมกนั สรุป

๓๐

กจิ กรรมการเรียนรู้ สือการเรียนรู้
๑๐. ให้นกั เรียนทาํ กจิ กรรม ตามใบงานท-ี ๖.๕ - ใบงานท-ี ๖.๕
(คาํ ส-งั ในใบงานท-ี ๖.๕ ข้อ ๒ และ ๓ ถ้านักเรียนมี
เวลาน้อย อาจสอนบูรณาการไปกบั กลุ่มวชิ าอ-นื กไ็ ด้)
๑๑. ทดสอบ

การวดั ผลและประเมินผล

๑. การวดั ผล
๑.๑ สงั เกตความสนใจในการเรียนและการร่วมกจิ กรรมกลุ่ม
๑.๒ สงั เกตกระบวนการทาํ งานของแต่ละคน
๑.๓ ตรวจผลงาน จากใบงาน และแบบฝึกหัดท-กี าํ หนดให้

๒. การประเมนิ ผล
ประเมินผลหลังเรียน โดยใช้เกณฑผ์ ่านร้อยละ ๗๐ ข4ึนไป

๓๑

ใบงานที ๖.๕

คําสงั

๑. ให้นักเรียนประดิษฐ์อักษร “สมเดจ็ พระศรีนครินทราบรมราชชนนี” ลงบน
กระดาษวาดเขยี น โดยใช้ดอกไม้-ใบไม้แห้ง ปะติด – ตกแต่งตัวอกั ษรให้
สวยงาม

๒. ให้นกั เรียนเขยี นเรียงความส4นั ๆ แสดงความร้สู กึ ท-มี ตี ่อสมเดจ็ ย่าในหัวข้อ
สมเดจ็ ย่ากบั โรงเรียนตาํ รวจตระเวนชายแดน แล้วนาํ ไปตดิ ใต้ภาพประดิษฐ์
อกั ษรท-บี อร์ดในช4ันเรียน

๓. ให้นกั เรียนแบ่งกลุ่มออกเป็น ๒ กลุ่ม ไปศกึ ษาและรวบรวมภาพเก-ยี วกบั
พระราชกรณยี กจิ และงานอดเิ รกของสมเดจ็ ย่า แล้วนาํ มาจัดป้ ายนเิ ทศ
ในช่วงวันประสตู ิ หรือวนั เสดจ็ สวรรคตของสมเดจ็ ย่า

๓๒

แผนการสอนที ๖ เรืองสมเดจ็ ยา่
ชนั ประถมศึกษาปี ที ๖
เวลาเรียน ๑ ชวั โมง

สาระการเรียนรู้
๑. พระราชจริยวตั รของสมเด็จย่า
- ด้านการศาสนา
- ด้านการรักษาความสะอาด
- ด้านความประหยัด
- ด้านความเอ4อื เฟ4ื อเผ-ือแผ่
- ด้านการใช้เวลาว่างให้เป็นประโยชน์

จุดประสงค์ เพ-ือให้ผู้เรียนสามารถแสดงพฤติกรรมต่อไปน4ีได้
๑. บอกความหมายของพระราชจริยวัตรได้
๒. ยกตวั อย่างพระราชจริยวตั รของสมเดจ็ ย่าด้านการศาสนาได้
๓. ยกตัวอย่างพระราชจริยวัตรของสมเดจ็ ย่าด้านการรักษาความสะอาดได้
๔. ยกตวั อย่างพระราชจริยวตั รของสมเดจ็ ย่าด้านความประหยดั ได้
๕. ยกตวั อย่างพระราชจริยวตั รของสมเดจ็ ย่าด้านความเอ4อื เฟ4ื อเผ-ือแผ่ได้
๖. ยกตัวอย่างพระราชจริยวัตรของสมเดจ็ ย่าด้านการใช้เวลาว่างให้เป็น
ประโยชน์ได้
๗. เล่าประสบการณท์ -นี กั เรียนปฏบิ ตั ติ ามแนวพระราชจริยวตั รของสมเดจ็ ย่าได้
๘. เขียนแผนผงั ความคิด (Mind Map) แสดงพระราชจริยวตั รของสมเดจ็ ย่า
ด้านต่างๆ ได้
๙. เขียนแผนผงั ความคดิ (Mind Map) แสดงกจิ กรรมท-นี ักเรียนควรปฏบิ ัติ
ตามแนวพระราชจริยวตั รของสมเดจ็ ย่าได้
๑๐. ร้องเพลงทาํ ดีได้ดี เพลงความเอ4อื เฟ4ื อเผ-ือแผ่ และเพลงหน้าท-เี ดก็ แล้ว
สามารถสรุปความหมายของเพลงเพ-ือนาํ ไปใช้ปฏบิ ตั ไิ ด้

๓๓

กิจกรรมการเรียนรูแ้ ละสือการเรียนรู้ สือการเรียนรู้
กจิ กรรมการเรียนรู้ - เทปเพลงพระม-ิงขวัญ
บคุ คลสาํ คัญของโลก
๑. นักเรียนฟังเพลงพระม-ิงขวญั บคุ คลสาํ คญั ของโลก
จากแถบบันทกึ เสยี ง และร้องพร้อมกนั ๑ เท-ยี ว

๒. ครแู สดงภาพพระราชจริยวตั รของสมเดจ็ ย่า - ภาพพระราชจริยวัตรของ

ด้านต่างๆ คือ สมเดจ็ ย่าด้านต่างๆ

- ด้านการศาสนา

- ด้านการรักษาความสะอาด

- ด้านความประหยัด

- ด้านความเอ4อื เฟ4ื อเผ-อื แผ่

- ด้านการใช้เวลาว่างให้เป็นประโยชน์

๓. ให้นกั เรียนร่วมกนั แสดงความคดิ เหน็ โดยให้

นกั เรียนบอกว่าเป็นภาพใคร กาํ ลงั ทาํ อะไร ทาํ เม-ือไร

ทาํ เพ-ืออะไร นักเรียนดภู าพแล้วอยากทาํ เหมือนทา่ น

หรือไม่ เพราะอะไร เป็นต้น

๔. แบ่งนกั เรียนออกเป็น ๕ กลุ่ม ครูจาํ แนกภาพแต่ละ - บัตรคาํ แสดงพระราชจริย-

ภาพออกเป็นพระราชจริยวัตร ๕ ด้าน (ตามสาระการ วัตรของสมเดจ็ ย่า ท4งั ๕ ด้าน

เรียนรู้) ติดภาพบนกระเป๋ าผนัง แล้วให้ตัวแทน - กระเป๋ าผนงั

แต่ละกลุ่ม เลือกหยบิ ภาพท-ตี ้องการกลุ่มละ ๑ ชุด - ใบความรู้เร-ืองพระราชจริย

๕. ครแู จกใบความรู้ เร-ืองพระราชจริยวัตรของสมเดจ็ วัตรของสมเดจ็ ย่า ๕ ด้าน

ย่า ให้นกั เรียนอา่ น (กลุ่มละ ๑ เร-ือง ตามภาพท-เี ลือก

ไว้)

๖. นกั เรียนเขียนแผนผงั ความคิด (Mind Map) ตาม - ใบงานท-ี ๖.๖ คาํ ส-งั ท-ี ๑

คาํ สง-ั ในใบงานท-ี ๖.๖ คาํ ส-งั ท-ี ๑ แล้วส่งตัวแทนออก - สเี มจกิ เลก็

นาํ เสนอหน้าช4ันทุกกลุ่ม

๗. ครแู ละนกั เรียนร่วมกนั อภปิ ราย เพ-ิมเตมิ และสรปุ

พระราชจริยวัตรของสมเดจ็ ย่า

๓๔

กจิ กรรมการเรียนรู้ สือการเรียนรู้

๘. ครแู จกใบงานท-ี ๖.๖ คาํ ส-งั ท-ี ๒ ให้นักเรียนปฏบิ ตั ิ - ใบงานท-ี ๖.๖ คาํ สง-ั ท-ี ๒

ดังน4ี - สเี มจิกเลก็

- ให้นักเรียนร่วมกนั คิดกจิ กรรมท-คี วรปฏบิ ัตติ าม

แนวพระราชจริยวตั รของสมเดจ็ ย่าทกุ ด้าน

- เขยี นแผนผังความคิด แล้วสง่ ตวั แทน (คนท-ี ๒)

ออกนาํ เสนอหน้าช4ันทกุ กลุ่ม

๙. ครแู ละนกั เรียนร่วมกนั สรปุ โดยนาํ แผนผงั ความคดิ - กระดาษชาร์ท

ท4งั หมดมาหลอมรวมกนั ไว้ในแผ่นเดียว เป็นความคดิ - สเี มจิกใหญ่, เลก็

ของนักเรียนท4งั ช4ัน ให้นักเรียนนาํ ไปตดิ ป้ ายนเิ ทศ

๑๐. นักเรียนร่วมกนั ร้องเพลงทาํ ดไี ด้ดี เพลงความ - แผนภมู ิเพลง ทาํ ดีได้ดี,

เอ4อื เฟ4ื อเผ-ือแผ่และเพลงหน้าท-เี ดก็ แล้วสรปุ ความ เพลงความเอ4อื เฟ4ื อเผ-ือแผ่,

หมายของเพลง และการนาํ ไปปฏบิ ตั ิจริงในชวี ติ หน้าท-เี ดก็

ประจาํ วนั - เคร-ืองบันทกึ เสยี ง

- แถบบันทกึ เสยี ง

การวดั ผลและประเมินผล
๑. สงั เกตความสนใจ
๒. ซักถามความเข้าใจ
๓. ตรวจแบบฝึกหัดจากใบงาน

กิจกรรมเสนอแนะ
ครูผู้สอนควรศึกษาแผนการสอนล่วงหน้าให้ละเอยี ดและออกข้อสอบ เพ-ือ

ทดสอบก่อนเรียน และ/หรือหลงั เรียนให้ครอบคลุมเน4ือหาตามความเหมาะสม
ใบงานเก-ยี วกบั พระราชจริยวัตรของสมเดจ็ ย่าด้านต่างๆ ให้ครเู ลือกดเู น4ือหา

จากหนังสอื อา่ นเสริมสมเดจ็ ย่าแม่ฟ้ าหลวง นาํ มาเป็นใบความรู้ ซ-ึงมหี ลายเร-ืองท-ี
สมั พันธก์ บั พระราชจริยวัตรด้านต่างๆ

๓๕

ใบงานที ๖.๖

คาํ สงั ที ๑ ให้นกั เรียนอ่านใบความรู้ท-กี าํ หนดให้ แล้วเขยี นแผนผงั ความคดิ
เร-ืองพระราชจริยวัตรของสมเดจ็ ย่า ดังน4ี

กลุ่มที ๑ ด้านการศาสนา
กลุ่มที ๒ ด้านการรักษาความสะอาด
กลุ่มที ๓ ด้านความประหยัด
กลุ่มที ๔ ด้านความเอ4อื เฟ4ื อเผ-ือแผ่
กลุ่มที ๕ ด้านการใช้เวลาว่างให้เป็นประโยชน์

๓๖

ใบงานที ๖.๖

คําสงั ที ๒ ให้นกั เรียนร่วมกนั คดิ กจิ กรรมท-คี วรปฏบิ ัติตามแนว
พระราชจริยวัตรของสมเดจ็ ย่าทุกด้าน แล้วเขยี นเป็นแผนผงั
ความคิด โดยออกแบบและระบายสใี ห้สวยงาม

กลุ่มที ……… ชือ – สกุล ๑. …………………………………………………………………………………………….
๒. …………………………………………………………………………………………….
๓. …………………………………………………………………………………………….
๔. …………………………………………………………………………………………….
๕. …………………………………………………………………………………………….

๓๗

เอกสารอา้ งอิง

กองบญั ชาการตาํ รวจตระเวนชายแดน. ๔๐ ปี โรงเรียน ตชด. กรุงเทพมหานคร :
บริษัท โอ. เอส. พร4ินต4ิง เฮ้าส,์ ๒๕๓๙.
. ตชด. สดุดี ๑๐๐ ปี สมเด็จยา่ . กรงุ เทพมหานคร : โรงพิมพ์แห่งจุฬา
ลงกรณ์มหาวทิ ยาลัย, ๒๕๔๓.
. ใตร้ ่มพระบารมี ๕๐ ปี ตชด. กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพ์แห่งจุฬา
ลงกรณม์ หาวทิ ยาลัย, ๒๕๔๖.
. ศรีนครินทราปูชา. กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพ์ตาํ รวจ, ๒๕๔๗.

กองวรรณกรรมและประวัติศาสตร์. ราชสดุดีสมเดจ็ พระศรีนคริทราบรมราช-
ชนนี. กรงุ เทพมหานคร : โรงพิมพ์คุรสุ ภา, ๒๕๓๙.

กลั ยาณิวัฒนา, สมเดจ็ พระเจ้าพ-ีนางเธอ กรมหลวงนราธวิ าสราชนครินทร์.
“คาํ ปรารภ”. สมเดจ็ ยา่ ของปวงชน. กรุงเทพมหานคร : มูลนธิ ิ พอ.สว.,
๒๕๓๓.
. แม่เล่าใหฟ้ ัง. กรงุ เทพมหานคร : โรงพิมพ์อมรินทร์การพิมพ์,
๒๕๒๕.

เจมส์ อาร์ท, บริษัท. นอ้ มราํ ลึกแสนอาลยั สมเด็จย่า แม่ฟ้ าหลวงของปวงชน.
กรงุ เทพมหานคร : บริษัท เจมส์ อาร์ท, ๒๕๓๘.

พระราชภาวนาวกิ รมและคณะ. พระบรมราชชนนิยานุสสรณีย.์ กรงุ เทพมหานคร:
บริษัท เจ.ฟิ ลม์ โปรเซส จาํ กดั , ๒๕๓๙.

ไพโรจน์ อยู่มณเฑยี ร. หลกั ราชาศพั ท.์ กรุงเทพมหานคร : บริษัท เยลโล่
การพิมพ์, ๒๕๔๐.

มานพ เมฆพระยูรทอง. พระนามสมเดจ็ พระเจา้ อยูห่ วั กบั สหประชาชาติเนืองใน
โอกาสฉลองสริ ิราชสมบตั ิครบ ๕๐ ปี . กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพ์เทคนิค
๑๙, ๒๕๔๐.

มูลนิธแิ พทยอ์ าสาสมเดจ็ พระศรีนครินทราบรมราชชนนี. สมเด็จยา่ ของปวงชน.
กรงุ เทพมหานคร : โรงพิมพ์กรงุ เทพ, ๒๕๓๓.

ราชบัณฑติ ยสถาน. พจนานุกรมฉบบั ราชบณั ฑิตยสถาน พ.ศ. ๒๕๔๒.
กรงุ เทพมหานคร : ศิริวัฒนาอนิ เตอร์ปร4ินท,์ ๒๕๔๖.

๓๘

เรืองยศ ไชยโรจน์. “๙๒ พรรษา สมเดจ็ ย่ากบั ความก้าวหน้าของดอยตงุ ”.
หนงั สอื พิมพไ์ ทยรฐั . ฉบบั วนั ท-ี ๒๑ ตุลาคม ๒๕๓๕, หน้า ๒๔.

วารี อมั ไพรวรรณ. สมเดจ็ พระศรีนครินทราบรมราชชนนี สมเดจ็ ยา่ แม่ฟ้ า
หลวง. กรงุ เทพมหานคร : สาํ นกั พิมพ์ภัทรินทร์, ๒๕๓๘.

ศุภรัตน์ เลิศพาณชิ ยก์ ุล. พระมามลายโศก เหลอื สุข เล่ม ๒.
กรงุ เทพมหานคร : โรงพิมพ์กรงุ เทพ. ๒๕๔๑.

ศนู ยป์ ฏบิ ตั กิ ารลูกเสอื ชาวบ้าน. ประวตั ิศาสตรล์ ูกเสือชาวบา้ นในพระบรมราชา
นุเคราะห.์ กรงุ เทพมหานคร : โมเดอร์นเพรสการพิมพ์. ๒๕๓๐.

สถาบนั ราชภฏั สวนสนุ ันทา. เอกสารประกอบชดุ วิชาการเรียนรูภ้ าษาไทย สงั คม
ศึกษาและการสมั มนาสาํ หรบั ครูประถม. กรุงเทพมหานคร : สาํ นักพัฒนา
การฝึกหัดครู. ๒๕๔๖.

สมาคมวางแผนครอบครัวแห่งประเทศไทย. สมเดจ็ พระศรีนครินทราบรมราช
ชนนกี บั การพฒั นาคุณภาพประชากร. กรุงเทพมหานคร : ถาวรการพิมพ์,
๒๕๒๘.

สาํ นกั งานเสริมสร้างเอกลกั ษณข์ องชาติ สาํ นกั เลขาธกิ ารนายกรัฐมนตรี. สมเด็จ-
พระศรีนครินทราบรมราชชนนี : สมเด็จยา่ ของแผ่นดนิ .
กรุงเทพมหานคร : ด่านสทุ ธาการพิมพ์, ๒๕๓๙.

สาํ นักพระราชวัง. เสด็จฯ พชิ ิตดอยอินทนนท์ ๒๖ เมษายน ๒๕๐๗.
กรุงเทพมหานคร : บวรสารการพิมพ์, ๒๕๓๑.

๒๓

ใบความรู้

ความสาํ คญั ของสมเดจ็ ย่า

สมเดจ็ ย่า ทรงเป็นพระราชชนนี ผ้ใู ห้กาํ เนดิ และถวายการอภิบาลเล#ียงดู
พระมหากษตั ริยผ์ ู้ทรงคุณอนั ประเสริฐย,ิงต่อคนไทยถึงสองพระองค์ โดยเฉพาะอย่างย,ิง
พระบาทสมเดจ็ พระเจ้าอยู่หัวภมู ิพลอดลุ ยเดช พระมหากษตั ริยร์ ัชกาลปัจจุบันผู้ทรง
เป็นศูนย์รวมยดึ เหน,ียวจติ ใจของคนไทยท#งั ชาติ ตลอดพระชนม์ชีพของสมเดจ็ ย่า
พระองคท์ า่ นได้ทรงทมุ่ เทพระวรกาย และพระราชทานทรัพยส์ ่วนพระองค์ เพ,ือ
ช่วยเหลอื ราษฎรไทยผู้ยากไร้ ท,อี าศัยอยู่ในถ,นิ ทุรกนั ดารห่างไกลความเจริญให้พ้น
จากความทุกข์ยาก และทรงปฏบิ ัติพระราชภารกจิ ต่างๆ มากมาย

นอกจากน#ันสมเดจ็ ย่ายังทรงเลง็ เหน็ ว่า การศกึ ษาเป็นส,งิ สาํ คัญท,ที าํ ให้เยาวชน
ในชนบทมีความรู้ ความคดิ และสติปัญญาท,เี ฉลียวฉลาด อนั จะเป็นปัจจัยสาํ คัญใน
การพัฒนาชนบท เม,ือทรงทราบว่ากองกาํ กบั การตาํ รวจตระเวนชายแดนมีโครงการท,ี
จะสร้างโรงเรียนในเขตพ#ืนท,ตี ามแนวชายแดน จงึ ได้พระราชทานทรัพย์ส่วนพระองค์
เพ,ือนาํ ไปสร้างโรงเรียนตาํ รวจตระเวนชายแดน และได้พระราชทานช,ือโรงเรียนตามช,ือ
ผู้บริจาคเงินในการจัดสร้างด้วย เม,ือโรงเรียนแต่ละแห่งสร้างเสรจ็ แล้ว พระองคก์ จ็ ะ
เสดจ็ ฯ ไปทรงเปิ ดโรงเรียนแห่งน#ันด้วยพระองค์เอง พร้อมกบั พระราชทานอุปกรณ์
การเรียนการสอนท,จี าํ เป็นให้กบั เดก็ นักเรียนด้วย

ถงึ แม้ว่าสมเดจ็ ย่าจะทรงเจริญพระชนมายุมากข#ึน กม็ ไิ ด้ทอดท#งิ โรงเรียนตาํ รวจ
ตระเวนชายแดน พระองค์ได้ทรงฝากให้สมเดจ็ พระเทพรัตนราชสดุ าฯ สยามบรมราช
กมุ ารี ทรงช่วยดแู ลแทน ดังพระราชกระแสท,วี ่า “ยา่ แก่แลว้ ไปไหนไม่ค่อยไหว ถา้
สมเดจ็ พระเทพฯ เสด็จฯ กใ็ หเ้ ยีย& มแทนย่าดว้ ย” นบั เป็นพระมหากรณุ าธคิ ณุ ท,ที รง
มตี ่อเยาวชนในท้องถ,ินชนบทห่างไกลเป็นล้นพ้น

สมเดจ็ ย่าทรงได้รับการประกาศเฉลมิ พระเกยี รติคุณ โดยองคก์ ารศกึ ษาวิทยา-
ศาสตร์และวฒั นธรรมแห่งสหประชาชาติ (UNESCO) ให้ทรงเป็นบุคคลสาํ คัญของโลก
ประจาํ ปี พทุ ธศกั ราช ๒๕๔๓–๒๕๔๔ อนั เน,ืองมาจากพระราชกรณียกจิ ท,ที รงบาํ เพญ็
ตลอดพระชนม์ชีพ ในการพัฒนาคณุ ภาพชวี ติ และความเป็นอยู่ของปวงชนชาวไทยให้
ดีข#ึน

๒๔

ใบความรู้

ชาติกําเนดิ ของสมเด็จยา่

“สมเด็จยา่ ” เป็นพระสมัญญานามของ สมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี
ทรงมพี ระนามเดิมว่า “สงั วาลย”์ เสดจ็ พระราชสมภพเม,ือวนั อาทติ ยท์ ,ี ๒๑ ตุลาคม
พทุ ธศกั ราช ๒๔๔๓ ท,จี ังหวัดนนทบรุ ี ในครอบครัวสามัญชนท,ปี ระกอบอาชพี เป็น
ช่างทอง ทรงมพี ,ีน้องรวม ๔ คน โดยทรงเป็นบุตรคนท,ี ๓ ของพระชนกช,ือ “ชู” และ
พระชนนชี ,ือ “คาํ ” ท#งั น#ีพระภคนิ ีและพระเชษฐาของพระองคไ์ ด้ถงึ แก่อนจิ กรรมต#ังแต่
วยั เยาว์ สว่ นพระอนุชา “ถมยา” ได้มีชวี ติ อยู่ต่อมาจนอายุราว ๒๗-๒๘ ปี จึงถงึ
แก่กรรมลงด้วยโรคเย,ือหุ้มสมองอกั เสบ

ครอบครัวของพระชนกชูและพระชนนีคาํ ได้พาํ นักอยู่ท,จี งั หวัดนนทบุรี เป็น
เวลานานเทา่ ใดไม่ปรากฏ แต่เม,ือสมเดจ็ ย่าทรงจาํ ความได้กพ็ บว่าครอบครัวของ
พระองคไ์ ด้ย้ายมาต#ังถ,ินฐานอยู่ท,ซี อยวัดอนงค์ บริเวณเชิงสะพานสมเดจ็ พระพุทธ
ยอดฟ้ าจุฬาโลก ย่านฝ,ังธนบุรีแล้ว โดยบ้านท,ที รงพาํ นักเป็นเหมือนห้องแถวช#ัน
เดียว กอ่ ด้วยอฐิ มุงหลังคากระเบ#ือง สมเดจ็ ย่าทรงเป็นกาํ พร้าต#ังแต่ยงั เยาว์ เน,ือง
ด้วยพระชนกชูได้ถึงแก่กรรมลงในขณะท,สี มเดจ็ ย่ายังทรงเลก็ อยู่ พระชนนีคาํ จึงต้อง
รับภาระในการเล#ียงดูสมเดจ็ ย่าและพระอนุชาโดยลาํ พังต่อมา

๒๕

ใบความรู้

การศึกษา

สมเดจ็ ย่า ทรงเข้าศึกษาในโรงเรียนวดั อนงคารามเป็นแห่งแรก หลงั จากน#ัน
ได้ย้ายไปเรียนต่อท,โี รงเรียนศึกษานารี และเม,ือพระชนมายุราว ๗-๘ พรรษา ได้ถกู
นาํ ข#ึนถวายตวั เป็นข้าหลวง ณ สวนส,ฤี ดใู นพระราชวังดุสติ ต่อมาได้ทรงพาํ นกั อยู่ท,ี
บ้านพระพ,ีเล#ียงของสมเดจ็ พระบรมราชชนกและถูกส่งไปศึกษาทโ,ี รงเรียนสตรีวิทยา
ขณะน#ัน สมเดจ็ ย่าทรงมีพระชนมายุราว ๙ พรรษา พระชนนีคาํ ได้ถงึ แกอ่ นิจกรรม

ในปี พุทธศักราช ๒๔๕๖ สมเดจ็ ย่าได้ทรงเข้าเป็นนักเรียนพยาบาล ณ โรงเรียน
แพทยผ์ ดุงครรภแ์ ละหญิงแห่งศิริราช ท#งั ๆ ท,มี ีพระชนมายุเพียง ๑๓ พรรษา เท่าน#ัน
จึงทรงเป็นนกั เรียนพยาบาลท,มี ีอายุน้อยท,สี ดุ ในเวลาน#ัน

ในช่วงท,สี มเดจ็ ย่าทรงฝึกงานการพยาบาลอยู่น#ัน เป็นระยะเวลาท,ที างราชการ
ได้พยายามปรับปรงุ งานด้านการแพทยแ์ ละสาธารณสขุ ให้แพร่หลายและมีประสทิ ธภิ าพ
มากย,ิงข#ึน พระเจ้าบรมวงศเ์ ธอ กรมขุนชยั นาทนเรนทร (ซ,ึงต่อมาทรงดาํ รงพระยศ
เป็น สมเดจ็ พระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระยาชยั นาทนเรนทร) ได้ทรงคัดเลือกนักเรียน
แพทย์และนักเรียนพยาบาลอย่างละ ๒ คน ให้ไปศึกษาต่อท,ปี ระเทศสหรัฐอเมริกา
ด้วยทุนของสมเดจ็ พระมหิตลาธเิ บศร อดุลยเดชวิกรม บรมราชชนก ท,พี ระราชทาน
ให้แก่นักเรียนแพทย์ และทนุ ของสมเดจ็ พระศรีสวรินทราบรมราชเทวี พระพันวสั สา
อยั ยิกาเจ้า ท,พี ระราชทานให้แกน่ กั เรียนพยาบาล ซ,ึงนักเรียนพยาบาล “สงั วาลย”์
และนักเรียนพยาบาล “อบุ ล” ได้รับการคดั เลือกให้ไปศกึ ษาท,ปี ระเทศสหรัฐอเมริกา
ในคร#ังน#ี

๒๖

ใบความรู้

ชีวิตสมรส

ในช่วงท,สี มเดจ็ ย่าศึกษาต่อในวิชาพยาบาลท,ปี ระเทศสหรัฐอเมริกา ทา่ นได้พบ
กบั สมเดจ็ เจ้าฟ้ ามหิดลอดุลยเดช กรมหลวงสงขลานครินทร์ พระราชโอรสของ
พระบาทสมเดจ็ พระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลท,ี ๕ กบั สมเดจ็ พระศรีสวรินทราบรม
ราชเทวี (สมเดจ็ พระพันวสั สาอยั ยิกาเจ้า) ท,เี สดจ็ ไปศกึ ษาวิชาแพทย์ และได้อภิเษก
สมรส เม,ือวันท,ี ๑๐ กนั ยายน พ.ศ.๒๔๖๓ โดยมพี ระบาทสมเดจ็ พระเจ้าอยู่หัว
รัชกาลท,ี ๖ มาพระราชทานนาํ# สงั ข์ ณ วังสระประทมุ ภายหลงั อภเิ ษกสมรส ฐานะ
ของสมเดจ็ ย่า จากนางสาวสงั วาลย์ เป็น หม่อมสงั วาลย์ มหิดล ณ อยธุ ยา มพี ระราช
ธดิ า และพระราชโอรส รวม ๓ พระองค์ คือ

๑. สมเดจ็ พระเจ้าพ,ีนางเธอเจ้าฟ้ ากลั ยาณวิ ฒั นากรมหลวงนราธวิ าส
ราชนครินทร์

๒. พระบาทสมเดจ็ พระเจ้าอยู่หัวอานนั ทมหิดล (รัชกาลท,ี ๘)
๓. พระบาทสมเดจ็ พระเจ้าอยู่หัวภมู ิพลอดุลยเดช (รัชกาลท,ี ๙)

๒๗

ใบความรู้

ทรงเป็ นพระราชชนนี

ในตอนเช้ามดื วันท,ี ๒๔ มิถุนายน พ.ศ.๒๔๗๕ คณะราษฎร์ ได้ทาํ การปฏวิ ัติ

เปล,ียนแปลงการปกครองจากระบอบสมบูรณาญาสทิ ธริ าชย์มาเป็นระบอบ

ประชาธิปไตย พระบาทสมเดจ็ พระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงยอมรับท,จี ะเป็นพระมหา

กษัตริยภ์ ายใต้การปกครองระบอบใหม่น#ี สมเดจ็ พระศรีสวรินทราบรมราชเทวี

พระพันวัสสาอยั ยกิ าเจ้า ทรงตดั สนิ พระทยั ให้หม่อมสงั วาลย์ พระธดิ า พระโอรส ไป

พาํ นักณ เมืองโลซาน ประเทศสวิสเซอร์แลนด์ พระองค์ต้องรับภาระในการอบรม

เล#ียงดพู ระธิดา และพระโอรสท#งั ๓ พระองค์โดยลาํ พัง

เม,ือวันท,ี ๒ มนี าคม พ.ศ. ๒๔๗๗ พระบาทสมเดจ็ พระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรง

ประกาศสละราชสมบัติ ด้วยเหตุท,พี ระองค์ไม่ทรงมีพระราชโอรสและพระราชธดิ า

รัฐบาลไทยในสมยั น#ันจึงได้กราบบงั คมทลู อญั เชิญพระวรวงศ์เธอพระองคเ์ จ้าอานนั ท

มหิดล พระชนมายุ ๙ พรรษา พระราชโอรสองค์โตในสมเดจ็ เจ้าฟ้ ามหิดลอดลุ ยเดช

กรมหลวงสงขลานครินทร์ (พระบรมราชชนก) กบั หม่อมสงั วาลย์ มหิดล ณ อยุธยา

ข#ึนครองราชย์ เป็นพระมหากษัตริย์รัชกาลท,ี ๘ ทาํ ให้ฐานะของหม่อมสงั วาลย์

เปล,ียนเป็น พระราชชนนีศรีสงั วาลย์ ต่อมาสมเดจ็ พระเจ้าอยู่หัวอานันทมหิดลได้ทรง

พระกรุณาโปรดเกล้าฯ สถาปนาพระราชชนนศี รีสงั วาลยข์ #ึนเป็น สมเดจ็ พระราชชนนศี รี

สงั วาลย์ ทรงดาํ รงพระยศเป็นพระบรมวงศ์ฝ่ ายในช#ันสงู เม,ือวนั ท,ี ๑๖ พฤศจิกายน

พุทธศกั ราช ๒๔๘๑

๒๘

ใบความรู้

ทรงอภิบาลดูแลยุวกษตั ริย์

หลังส#นิ พระชนมข์ องสมเดจ็ เจ้าฟ้ ามหิดลอดลุ ยเดช หรือสมเดจ็ พระบรมราช
ชนก ในปี พ.ศ. ๒๔๗๒ แล้ว สมเดจ็ ย่า หรือ หม่อมสงั วาลย์ มหิดล ณ อยุธยา
ขณะน#ัน พระชนมายุ ๒๙ พรรษา ต้องทรงรับพระราชภาระในการอภบิ าลบาํ รุงพระ
ราชธดิ า พระราชโอรส ถงึ ๓ พระองค์ โดยทาํ หน้าท,ใี นฐานะ “พ่อ” และ “แม่” ผู้
ประเสริฐ ยึดหลักในการอภิบาล ๒ ประการ คอื เด็กตอ้ งมีอนามยั สมบูรณ์ และเดก็
ตอ้ งอยู่ในระเบยี บวินยั โดยไม่บงั คบั เขม้ งวดมากเกนิ ไป นอกจากน#ีสมเดจ็ ย่ายัง
ทรงอบรม
สงั& สอน ใหพ้ ระราชธิดา พระราชโอรส เป็ นเดก็ ดี มมี ารยาทดี และมเี หตุผล ย,ิง
เม,ือหม่อมสงั วาลย์ มหิดล เปล,ียนฐานะเป็นพระราชชนนี การอภิบาลว่าท,ี
พระมหากษัตริย์ พระองคน์ ้อย เป็นพระราชภารกจิ ท,ยี ,ิงใหญ่ ทง#ั น#ีเพราะมพี ระราช
ประสงค์อนั แรงกล้าท,จี ะให้พระบาทสมเดจ็ พระเจ้าอยู่หัวท,เี สดจ็ ข#ึนครองราชย์ภายใต้
การปกครองระบอบประชาธปิ ไตย ทรงสามารถปฏบิ ตั หิ น้าท,ปี ระมุขของชาติให้ได้
ประโยชนเ์ ตม็ ท,ี มิใช่เพียงแต่รับราชสมบัติแล้วมิทรงทะนุบาํ รงุ อาณาประชาราษฎร์
จากพระปณิธานน#ีเองทาํ ให้สมเดจ็ ย่าต้องทรงเพ,ิมความเอาพระทยั ใส่ในการอบรมเล#ียง
ดูพระราชธดิ า และพระราชโอรสมากย,ิงข#ึนเป็นเทา่ ทวีคูณ ซ,ึงการถวายอภบิ าลองคย์ ุ
วกษตั ริย์ของสมเดจ็ ย่าน#ัน เป็นท,ยี อมรับจากท#งั พระบรมวงศานุวงศ์ และประชาชน
โดยท,วั ไป


Click to View FlipBook Version