The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by piyathida261, 2023-02-17 23:19:41

การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน รายวิชาชีววิทยา เรื่อง การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม โดยใช้รูปแบบการจัดการเรียนรู้สืบเสาะ แบบ 5E ร่วมกับการใช้เกม สำหรับนักเรียน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 โรงเรียนท่าข้ามวิทยาคม

การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน รายวิชาชีววิทยา

95 แบบประเมินคุณภาพด้านทักษะกระบวนการ (P) แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่อง การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม คำชี้แจง ตรวจคำตอบของผู้เรียนจากใบกิจกรรมและให้คะแนนตามเกณฑ์การให้คะแนน พร้อมบันทึกคะแนน ลงแบบบันทึก เกณฑ์การประเมินระดับคุณภาพด้านทักษะกระบวนการ ประเด็นการ ประเมิน เกณฑ์การให้ระดับคุณภาพ ดี (3) พอใช้ (2) ปรับปรุง (1) 1. การวางแผน ค้นคว้าข้อมูลจาก แหล่งการเรียนรู้ วางแผนที่จะค้นคว้าข้อมูลจาก แหล่งการเรียนรู้ที่หลากหลาย เชื่อถือได้และมีการเชื่อมโยงให้เห็น เป็นภาพรวม แสดงให้เห็นถึง ความสัมพันธ์ของวิธีการทั้งหมด วางแผนที่จะค้นคว้าข้อมูลจาก แหล่งการเรียนรู้ที่หลากหลาย และ เหมาะสมแต่ไม่มีการเชื่อมโยงให้ เห็นเป็นภาพรวม วางแผนที่จะค้นคว้าข้อมูลจาก แหล่งการเรียนรู้โดยมีครูหรือผู้อื่น แนะนำบ้าง 2. การเก็บรวบรวม ข้อมูล เก็บรวบรวมข้อมูลตามแผนที่ กำหนดทุกประการ เก็บรวบรวมข้อมูล โดยคัดเลือกและ/หรือประเมิน ข้อมูล เก็บรวบรวมข้อมูลโดยไม่มีการ คัดเลือกและ/หรือประเมินข้อมูล 3. การจัดกระทำ ข้อมูลและการ นำเสนอ จัดกระทำข้อมูลอย่างเป็นระบบมี การเชื่อมโยงให้เห็นเป็นภาพรวม และนำเสนอด้วยแบบต่าง ๆ อย่าง ชัดเจนถูกต้อง จัดกระทำข้อมูลอย่างเป็นระบบ มี ก า ร จ ำ แ น ก ข ้ อ ม ู ล ใ ห ้ เ ห็ น ความสัมพันธ์ นำเสนอด้วยแบบ ต่าง ๆ ได้อย่างถูกต้อง จัดกระทำข้อมูลอย่างเป็นระบบมี ยกตัวอย่างเพิ่มเติมให้เข้าใจง่าย และนำเสนอด้วยแบบต่าง ๆ แต่ยัง ไม่ถูกต้อง เกณฑ์การตัดสินคุณภาพ ช่วงคะแนน ระดับคุณภาพ 9 ดีมาก 8- 6 ดี 5 - 3 พอใช้ ต่ำกว่า 3 ปรับปรุง ผู้เรียนต้องผ่านเกณฑ์การตัดสินคุณภาพอยู่ในระดับคุณภาพดีจึงจะผ่านการประเมินทักษะกระบวนการ


96 แบบบันทึกคะแนนด้านทักษะกระบวนการ (P) กลุ่ม เลขที่ ชื่อ - สกุล ประเด็นประเมิน (รายการประเมินข้อที่) รวม คะแนน ระดับ คุณภาพ ผลการ ประเมิน การวางแผน ค้นคว้าข้อมูล (3 คะแนน) การเก็บรวบรวม ข้อมูล (3 คะแนน) การจัดกระทำ ข้อมูลและการ นำเสนอ (3 คะแนน) 3 2 1 3 2 1 3 2 1 ลงชื่อ.............................................ผู้ประเมิน ….........../…................/…............


97 แบบสังเกตประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์(A) แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่อง การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม คำชี้แจง สังเกตพฤติกรรมของผู้เรียนและให้คะแนนตามเกณฑ์การให้คะแนน พร้อมบันทึกคะแนนลงแบบบันทึก เกณฑ์การประเมินระดับคุณภาพด้านคุณลักษณะอันพึงประสงค์ ประเด็นการประเมิน เกณฑ์การให้ระดับคุณภาพ ดี (3) พอใช้ (2) ปรับปรุง (1) 1. มีความตั้งใจเรียนรู้ และปฏิบัติกิจกรรม ตั้งใจเรียน เอาใจใส่ และมี ความเพียร พยายามในการ เรียนรู้ ตั้งใจเรียน เอาใจ ใส่และมี ความเพียรพยายามใน การ เรียนรู้ ไม่ค่อยตั้งใจเรียน เอาใจใส่และ มี ความเพียรพยายามในการ เรียนรู้ 2. ส่งงานตามกำหนด มี ความรับผิดชอบ มีความรับผิดชอบต่องาน ส่งงานตรงต่อเ ว ล า ที่ กำหนด ส่งงานไม่ตรงเวลา ไม่ส่งงานที่ได้รับหมอบหมาย เกณฑ์การตัดสินคุณภาพ ช่วงคะแนน ระดับคุณภาพ 6 ดีมาก 5 - 4 ดี 3 - 2 พอใช้ ต่ำกว่า 2 ปรับปรุง ผู้เรียนต้องผ่านเกณฑ์การตัดสินคุณภาพอยู่ในระดับคุณภาพดีจึงจะผ่านการประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์


98 แบบบันทึกคะแนนด้านคุณลักษณะอันพึงประสงค์ (A) กลุ่ม เลขที่ ชื่อ - สกุล ประเด็นประเมิน (รายการประเมินข้อที่) รวม คะแนน ระดับ คุณภาพ ผลการ ประเมิน มีความตั้งใจเรียนรู้ และปฏิบัติกิจกรรม (3 คะแนน) ส่งงานตามกำหนด มี ความรับผิดชอบ (3 คะแนน) 3 2 1 3 2 1 ลงชื่อ.............................................ผู้ประเมิน ….........../…................/…............


99 แบบประเมินผลการเรียนของนักเรียน แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่อง การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม ตัวชี้วัด ว 1.3 ม.4/2 อธิบายหลักการถ่ายทอดลักษณะที่ถูกควบคุมด้วยยีนที่อยู่บนโครโมโซมเพศ และมัลติเปิลแอลลีล คำชี้แจง การประเมินผลการเรียนของนักเรียนใช้แบบประเมินผลการเรียนของนักเรียนในด้านความรู้ ด้านทักษะกระบวนการ และด้านคุณลักษณะอันพึงประสงค์ โดยผลการประเมินกำหนดเป็นผ่าน/ไม่ผ่าน ตามเกณฑ์กำหนดระดับมาตรฐานผลการเรียนรู้ ดังนี้ ด้านที่ประเมิน คะแนนเต็ม เกณฑ์ที่ใช้วัดประเมินผล 1. ด้านความรู้ (K) 9 ผ่านเกณฑ์ร้อยละ 80 ขึ้นไป หรือ ระดับดีขึ้นไป 2. ด้านทักษะกระบวนการ (P) 9 ผ่านเกณฑ์ร้อยละ 80 ขึ้นไป หรือ ระดับดีขึ้นไป 3. ด้านคุณลักษณะอันพึงประสงค์(A) 6 ผ่านเกณฑ์ร้อยละ 80 ขึ้นไป หรือ ระดับดีขึ้นไป รวมคะแนนผลการเรียนรู้ทั้ง 3 ด้าน 24 ผ่านเกณฑ์ร้อยละ 80 ขึ้นไป หรือ ระดับดีขึ้นไป การประเมินผลการเรียนของนักเรียน เลข ที่ เลข ประจำตัว ชื่อ - สกุล ชั้น..... คะแนน รวม คะแนน ผลประเมิน K P A ผ่าน ไม่ผ่าน


100 บันทึกหลังแผน ผลการประเมิน จำแนกผลการประเมินผลการเรียนรู้เป็นรายด้าน คือ ด้านความรู้ ด้านทักษะกระบวนการ และด้าน คุณลักษณะอันพึงประสงค์ ดังนี้ 1. ด้านความรู้ ระดับบุคคล จำนวนนักเรียนทั้งหมด ........ คน มีผลการเรียนรู้อยู่ที่ระดับมาตรฐาน ดีมาก จำนวน ....... คน คิดเป็นร้อยละ ...... ที่ระดับมาตรฐาน ดี จำนวน ...... คน คิดเป็นร้อยละ ...... ที่ระดับมาตรฐาน พอใช้ จำนวน ...... คน คิดเป็น ร้อยละ ...... และที่ระดับมาตรฐาน ต้องปรับปรุง จำนวน ...... คน คิดเป็นร้อยละ ...... ระดับชั้นเรียน นักเรียนที่มีผลการเรียนรู้อย่างน้อยตั้งแต่ระดับมาตรฐาน ดีจำนวน ....... คน ถือว่าผ่านเกณฑ์ การประเมินผลการเรียนรู้คิดเป็นร้อยละ ...... และมีนักเรียนที่มีผลการเรียนรู้ต่ำกว่าระดับมาตรฐาน ดีจำนวน ...... คน ถือว่า ไม่ผ่านเกณฑ์การประเมินผลการเรียนรู้คิดเป็นร้อยละ ....... ดังนั้น ถือว่าการจัดประสบการเรียนรู้ด้านความรู้ของแผน การจัดการเรียนรู้ ประสบความสำเร็จ ไม่ประสบความสำเร็จตามจุดประสงค์การเรียนรู้ 2. ด้านทักษะกระบวนการ ระดับบุคคล จำนวนนักเรียนทั้งหมด ........ คน มีผลการเรียนรู้อยู่ที่ระดับมาตรฐาน ดีมาก จำนวน ....... คน คิดเป็นร้อยละ ...... ที่ระดับมาตรฐาน ดี จำนวน ...... คน คิดเป็นร้อยละ ...... ที่ระดับมาตรฐาน พอใช้ จำนวน ...... คน คิดเป็น ร้อยละ ...... และที่ระดับมาตรฐาน ต้องปรับปรุง จำนวน ...... คน คิดเป็นร้อยละ ...... ระดับชั้นเรียน นักเรียนที่มีผลการเรียนรู้อย่างน้อยตั้งแต่ระดับมาตรฐาน ดีจำนวน ....... คน ถือว่าผ่านเกณฑ์ การประเมินผลการเรียนรู้คิดเป็นร้อยละ ...... และมีนักเรียนที่มีผลการเรียนรู้ต่ำกว่าระดับมาตรฐาน ดีจำนวน ...... คน ถือว่า ไม่ผ่านเกณฑ์การประเมินผลการเรียนรู้คิดเป็นร้อยละ ....... ดังนั้น ถือว่าการจัดประสบการเรียนรู้ด้านความรู้ของแผน การจัดการเรียนรู้ ประสบความสำเร็จ ไม่ประสบความสำเร็จตามจุดประสงค์การเรียนรู้ 3. ด้านคุณลักษณะอันพึงประสงค์ ระดับบุคคล จำนวนนักเรียนทั้งหมด ........ คน มีผลการเรียนรู้อยู่ที่ระดับมาตรฐาน ดีมาก จำนวน ....... คน คิดเป็นร้อยละ ...... ที่ระดับมาตรฐาน ดี จำนวน ...... คน คิดเป็นร้อยละ ...... ที่ระดับมาตรฐาน พอใช้ จำนวน ...... คน คิดเป็น ร้อยละ ...... และที่ระดับมาตรฐาน ต้องปรับปรุง จำนวน ...... คน คิดเป็นร้อยละ ...... ระดับชั้นเรียน นักเรียนที่มีผลการเรียนรู้อย่างน้อยตั้งแต่ระดับมาตรฐาน ดีจำนวน ....... คน ถือว่าผ่านเกณฑ์ การประเมินผลการเรียนรู้คิดเป็นร้อยละ ...... และมีนักเรียนที่มีผลการเรียนรู้ต่ำกว่าระดับมาตรฐาน ดีจำนวน ...... คน ถือว่า ไม่ผ่านเกณฑ์การประเมินผลการเรียนรู้คิดเป็นร้อยละ ....... ดังนั้น ถือว่าการจัดประสบการเรียนรู้ด้านความรู้ของแผน การจัดการเรียนรู้ ประสบความสำเร็จ ไม่ประสบความสำเร็จตามจุดประสงค์การเรียนรู้


101 ผลการจัดประสบการณ์การเรียนรู้ ............................................................................................................................. ................................................. .............................................................................................................................................................................. ............................................................................................................................. ................................................. ปัญหา/อุปสรรค ............................................................................................................................. ................................................. .............................................................................................................................................................................. ............................................................................................................................. ................................................. ข้อเสนอแนะ/แนวทางแก้ไข ............................................................................................................................. ................................................. ................................................................................................................................................ .............................. ..................................................................................................... ......................................................................... ลงชื่อ .......................................... ผู้สอน (นางสาวปิยธิดา อภิชัย) บันทึกความเห็นของผู้ตรวจสอบแผนการจัดการเรียนรู้ ............................................................................................................................. ................................................. .............................................................................................................................................................................. ............................................................................................................................. ................................................. ลงชื่อ ............................................. ผู้ตรวจ (นางสาวณัฐชิยา ธนานุสนธิ์) ครู/อาจารย์พี่เลี้ยง


102 บันทึกความเห็นของหัวหน้ากลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ........................................................................................................... ................................................................... ............................................................................................................................. ................................................. ............................................................................................................................................ .................................. ลงชื่อ ............................................. ผู้ตรวจ (นางยุพิน ตาลำ) หัวหน้ากลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ฯ


103 ภาคผนวก ง สื่อประกอบการจัดการเรียนรู้ สื่อประกอบการจัดการเรียนรู้เพื่อพัฒนาผลสัมฤทธิ์การเรียนรู้ เรื่อง การถ่ายทอดลักษณะทาง พันธุกรรม ของผู้เรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 โรงเรียนท่าข้ามวิทยาคม มีดังนี้ 1. ใบกิจกรรม จำนวน 6 ชิ้น 2. ใบความรู้ จำนวน 2 ชิ้น 3. เกมประกอบการจัดการเรียนรู้จำนวน 3 เกม โดยสื่อประกอบการจัดการเรียนรู้ทั้ง 3 ประเภทนี้ สามารถแสดงรายละเอียดดังนี้(หน้าถัดไป)


75 ใบกิจกรรมที่ 1 การสืบค้นข้อมูลหลักการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม ชื่อ - สกุล……………………………………………………………… ชั้น .......... เลขที่ .............. ชื่อ - สกุล……………………………………………………………… ชั้น .......... เลขที่ .............. ชื่อ - สกุล……………………………………………………………… ชั้น .......... เลขที่ .............. ชื่อ - สกุล……………………………………………………………… ชั้น .......... เลขที่ .............. ชื่อ - สกุล……………………………………………………………… ชั้น .......... เลขที่ .............. ชื่อ - สกุล……………………………………………………………… ชั้น .......... เลขที่ .............. ชื่อ - สกุล……………………………………………………………… ชั้น .......... เลขที่ .............. ชื่อ - สกุล……………………………………………………………… ชั้น .......... เลขที่ .............. คำสั่ง/คำชี้แจง ให้นักเรียนสืบค้นข้อมูลจากใบความรู้แหล่งเรียนรู้ออนไลน์ต่าง ๆ และตอบคำถามต่อไปนี้ การศึกษาพันธุศาสตร์ของเมนเดล 1. สาเหตุที่เมนเดลเลือกใช้ถั่วลันเตา (Pisum sativum) ในการศึกษาด้านพันธุศาสตร์ .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. แหล่งที่มา : ......................................................................................................................................................... 2. รูปแบบของยีนเรียกว่า .............................. มี 2 ลักษณะ คือ .............................................................................................................................................................................. มักเขียนแทนด้วยอักษรภาษาอังกฤษพิมพ์ใหญ่ เช่น ........................................................................................... .............................................................................................................................................................................. มักเขียนแทนด้วยอักษรภาษาอังกฤษพิมพ์เล็ก เช่น ............................................................................................. หากแอลลีลที่เป็นคู่เหมือนกัน เช่น TT หรือ tt เรียกว่า....................................................................................... แหล่งที่มา : .........................................................................................................................................................


76 3. กฎของเมนเดล มีใจความสำคัญดังนี้ กฎข้อที่ 1 ............................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................................ .. กฎข้อที่ 2 ............................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. ................................................................................................................................. ............................................. แหล่งที่มา : ......................................................................................................................................................... 4. ระดับการข่มกันของยีนแบบต่าง ๆ .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. ........................................................................................................................................................................... ... .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................. ................ .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. ................................................................................................................................................. ............................. แหล่งที่มา : ......................................................................................................................................................... 5. ข้อสรุปจากการวิเคราะห์ของเมนเดล .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. แหล่งที่มา : .........................................................................................................................................................


77 ใบกิจกรรมที่ 2 คำศัพท์ที่ควรทราบในการศึกษาพันธุศาสตร์ ชื่อ - สกุล……………………………………………………………… ชั้น .......... เลขที่ .............. ชื่อ - สกุล……………………………………………………………… ชั้น .......... เลขที่ .............. คำสั่ง/คำชี้แจง 1. ให้นักเรียนเล่นเกมหาคำศัพท์ในตารางโดยเล่นในเว็บไซต์ wordwall.net ตามที่ครูส่งลิงก์ให้ 2. ให้นักเรียนเลือกคำศัพท์ที่เกี่ยวกับพันธุศาสตร์มาเติมให้สัมพันธ์กับความหมายที่กำหนดให้ คำศัพท์พื้นฐาน ความหมายและรายละเอียดที่สำคัญ แบ่งออกเป็น โครโมโซมร่างกาย (Autosome) และโครโมโซมเพศ (Sex chromosome) เป็นหน่วยควบคุมลักษณะทางพันธุกรรม และเป็นส่วนหนึ่งของโครโมโซมหรือส่วนหนึ่งบนสาย DNA ตำแหน่งหนึ่ง ๆ ของยีนที่อยู่บนโครโมโซมหรือสาย DNA รูปแบบต่าง ๆ ของยีนที่พบใน locus เดียวกันของโครโมโซม แอลลีลเด่น ใช้สัญลักษณ์เป็นอักษรภาษาอังกฤษ ตัวพิมพ์ใหญ่ เช่น A, T หรือ R ส่วนแอลลีลด้อย ใช้สัญลักษณ์เป็นอักษรภาษาอังกฤษตัวพิมพ์เล็ก เช่น a, t, r ยีนที่มีแอลลีลเหมือนกันทั้งคู่ นิยมเรียกว่าพันธุ์แท้ มี 2 แบบ แอลลีลเด่น เช่น AA, TT แอลลีลด้อย เช่น aa, tt ยีนที่มีแอลลีลต่างชนิดกัน นิยมเรียกว่าพันธุ์ทาง เช่น Aa, Tt, Rr ลักษณะที่ปรากฏออกมาหรือแสดงออกมา เป็นได้ลักษณะที่อยู่ภายนอก เช่น สีดอกไม้ ลักยิ้ม ถั่วผิวเรียบ หรือ ลักษณะที่อยู่ภายใน เช่น หมู่เลือด เป็นการอธิบายฟีโนไทป์ในรูปแบบข้อมูลทางพันธุกรรม เขียนคู่ยีนโดยใช้สัญลักษณ์เป็นอักษรภาษาอังกฤษ เช่น AA, Aa, aa, DD, Dd, dd, TT, Tt, tt, RR, Rr, rr เป็นต้น เป็นตัวควบคุมลักษณะให้แสดงลักษณะออกมาเสมอไม่ว่าจะเป็นพันธุ์แท้หรือพันธุ์ทาง ลักษณะเด่นเป็น ฟีโนไทป์ของยีนเด่น ซึ่งแสดงออกในรุ่นลูกเสมอหรือรุ่นต่อไปเสมอ ลักษณะด้อยเป็นฟีโนไทป์ของยีนด้อย ถ้ามีแอลลีลเด่นอยู่กับด้อยจะแสดงลักษณะเป็นยีนแฝง โครโมโซม ยีน โลคัส ยีนเด่น ยีนด้อย โฮโมไซกัสยีน แอลลีล ฟีโนไทป์ จีโนไทป์ เฮเทอโรไซกัสยีน


78 ใบกิจกรรมที่3 การผสมหลายลักษณะ ชื่อ - สกุล……………………………………………………………… ชั้น .......... เลขที่ .............. ชื่อ - สกุล……………………………………………………………… ชั้น .......... เลขที่ .............. ชื่อ - สกุล……………………………………………………………… ชั้น .......... เลขที่ .............. ชื่อ - สกุล……………………………………………………………… ชั้น .......... เลขที่ .............. คำสั่ง/คำชี้แจง การอธิบายและลงข้อสรุปข้อมูลการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมการผสม 2 ลักษณะ มี ทั้งหมด 2 ตอน ตอนที่ 1 ให้นักเรียนนำข้อมูลที่ได้จากการสืบค้นมาจัดกระทำและสื่อความหมายในรูปแบบแผนผังความคิด โดยมีหัวข้อดังนี้ลักษณะทางพันธุกรรมที่เป็นส่วนขยายของพันธุศาสตร์เมนเดล การผสมหลายลักษณะ


79 ตอนที่ 2 ให้เขียนจีโนไทป์และฟีโนไทป์จากลักษณะที่กำหนดให้ถูกต้อง 2. มะเขือเทศสีแดงเป็นลักษณะเด่น (R) ผลสีเหลืองเป็นลักษณะด้อย (r) และต้นสูงเป็นลักษณะเด่น (T) ต้นเตี้ย เป็นลักษณะด้อย (t) เมื่อผสมพันธุ์มะเขือเทศต้นหนึ่งมีจีโนไทป์RrTT กับต้นที่มีจีโนไทป์rrTt จงหาอัตราส่วน ฟีโนไทป์และจีโนไทป์ของรุ่นลูก ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… 3. กระต่ายขนสีดำเป็นลักษณะเด่น (B) ขนสีน้ำตาลเป็นลักษณะด้อย (b) และขนสั้นเป็นลักษณะเด่น (S) ขน ยาวเป็นลักษณะด้อย (s) ในการผสมระหว่างกระต่าย Homozygous ขนสีดำยาว และ Homozygous ขนสี น้ำตาลสั้น จงหาจีโนไทป์และฟีโนไทป์ของรุ่น F1 ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………


80 ใบกิจกรรมที่ 4 มัลติเพิลแอลลีล ชื่อ - สกุล……………………………………………………………… ชั้น .......... เลขที่ .............. คำสั่ง/คำชี้แจง การอธิบายและลงข้อสรุปข้อมูลการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม มีทั้งหมด 2 ตอน ตอนที่ 1 ให้นักเรียนตอบคำถามต่อไปนี้ให้ถูกต้อง 1. เติมเซลล์สืบพันธุ์และจีโนไทป์ลงในช่องว่างให้ถูกต้อง 1.2 1.1 1.3 P : จีโนไทป์รุ่นพ่อแม่ พ่อ แม่ G : เซลล์สืบพันธุ์ F : จีโนไทป์รุ่นลูก แม่ F : จีโนไทป์รุ่นลูก G : เซลล์สืบพันธุ์ P : จีโนไทป์รุ่นพ่อแม่ พ่อ F : จีโนไทป์รุ่นลูก G : เซลล์สืบพันธุ์ P : จีโนไทป์รุ่นพ่อแม่ พ่อ แม่


81 2. ศึกษาภาพแล้วตอบคำถาม ถั่วฝักสีเขียว ฝักสีเหลือง 2.1 จีโนไทป์ของรุ่นพ่อแม่ของฝักสีเขียวและสีเหลืองจะเป็นอย่างไรได้บ้าง............................................. 2.2 รุ่นลูกจะมีจีโนไทป์และฟีโนไทป์เป็นอย่างไร หากพ่อมีจีโนไทป์เป็น Bb............................................ 2.3 ถ้าทั้งสองฝักมีจีโนไทป์แบบโฮโมไซกัส จะเขียนจีโนไทป์ออกมาได้อย่างไรบ้าง................................. ตอนที่ 2 จากโจทย์ให้นักเรียนแสดงวิธีทำในการพิจารณาลักษณะที่เป็นไปได้ที่จะเกิดขึ้นตามที่กำหนดให้ 1. ถั่วลันเตาลักษณะเมล็ดสีเหลืองเป็นลักษณะเด่นต่อลักษณะเมล็ดสีเขียว ในการผสมพันธุ์ภายในดอก เดียวกันของต้นที่มีลักษณะเมล็ดสีเหลืองที่เป็นเฮเทอโรไซกัสทั้งคู่ จงหาร้อยละของรุ่นลูก F1 ที่มีลักษณะ เมล็ดสีเขียว วิธีทำ .................................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................................. ตอบ .................................................................................................................................................................. 2. ถ้าพ่อมีหมู่เลือด AB โดยมีจีโนไทป์เป็น I A I B และแม่มีหมู่เลือดเป็น B โดยมีจีโนไทป์ เป็น I B i ลูกมีโอกาส เกิดออกมาเป็นหมู่เลือดอะไรบ้าง วิธีทำ .................................................................................................................................................................. ................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................. ..................... .................................................................................................................................................................. ตอบ .................................................................................................................................................................. X P : รุ่นพ่อแม่ F1 : จีโนไทป์รุ่นลูก G : เซลล์สืบพันธุ์ P : จีโนไทป์รุ่นพ่อแม่ พ่อ แม่ X กำหนดให้ ..... แทน ยีนของเมล็ดสีเหลือง ….. แทน ยีนของเมล็ดสีเขียว ฟีโนไทป์รุ่นลูก


82 ใบกิจกรรมที่ 5 ลักษณะควบคุมด้วยยีนหลายคู่ ชื่อ - สกุล……………………………………………………………… ชั้น .......... เลขที่ .............. คำสั่ง/คำชี้แจง การอธิบายและลงข้อสรุปข้อมูลลักษณะควบคุมด้วยยีนหลายคู่มีทั้งหมด 2 ตอน ตอนที่ 1 ให้นักเรียนพิจารณาข้อความทำเครื่องหมาย / ลงหน้าข้อความที่ถูกต้อง และทำเครื่องหมาย X ลง หน้าข้อความที่ผิด ................1. ลักษณะที่ควบคุมด้วยยีนหลายคู่ คือ เป็นลักษณะทางพันธุกรรมอย่างหนึ่งที่ควบคุมด้วยยีนหลาย คู่ ที่อยูโลคัสเดียวกันมาทำงานร่วมกัน เพื่อควบคมลักษณะใดลักษณะหนึ่งของสิ่งมีชีวิต ................2. ลักษณะที่ควบคุมด้วยยีนหลายคู่ มักจะมีการแสดงออกของยีนแบบสะสม (additive effect ................3. ลักษณะที่มีการแปรผันแบบต่อเนื่อง ได้ลักษณะเชิงคุณภาพ แต่ลักษณะที่มีการแปรผัน แบบต่อเนื่องได้ลักษณะเชิงปริมาณ ................4. ลักษณะที่มีการแปรผันแบบไม่ต่อเนื่อง แต่ละฟิโนไทป์จะแสดงออกแตกต่างกันอย่างชัดเจน ................5. ไอคิวของมนุษย์เป็นลักษณะทางพันธุกรรมที่มีอิทธิพลของสิ่งแวดล้อมเข้ามาเกี่ยวข้องด้วยgene) ตอนที่ 2 ให้นักเรียนพิจารณาลักษณะที่กำหนดให้แล้วจำแนกประเภทของการแปรผันทางพันธุกรรม โครโมโซม การมีลักยิ้ม น้ำหนัก การมีติ่งหู ระบบหมู่เลือด ABO สีผิว ผิวเผือก สีดอกถั่วลันเตา ไอคิวของมนุษย์ การแปรผันแบบต่อเนื่อง การแปรผันแบบไม่ต่อเนื่อง


83 ใบกิจกรรมที่ 6 การถ่ายทอดยีนบนโครโมโซมเพศ ชื่อ - สกุล……………………………………………………………… ชั้น .......... เลขที่ .............. คำสั่ง/คำชี้แจง ให้นักเรียนตอบคำถามทบทวนความรู้เดิม จากนั้นศึกษาภาพที่กำหนดให้แล้วตอบคำถาม • คำถามทบทวนความรู้เดิม ในเซลล์ของสิ่งมีชีวิตจะพบสารพันธุกรรมหรือยีนที่ส่วนใด ………………………………………………………………………………………………………………………………................................ • จากภาพที่ 1 จงตอบคำถาม ภาพ เซลล์สืบพันธุ์เพศชายและเพศหญิงและจำนวนโครโมโซมภายหลังการปฏิสนธิ ที่มา : https://www.trueplookpanya.com/learning/detail/34012


84 คำถาม 1. เซลล์สืบพันธุ์ของคนเราถูกสร้างขึ้นใด……………………………………………………………………………….……………….. 2. การแบ่งเซลล์เพื่อสร้างเซลล์สืบพันธุ์ แบ่งเซลล์แบบใด…………………………………………………………………………. 3. เซลล์ของมนุษย์มีโครโมโซมกี่แท่ง.............................................................................................. ...................... 4. เซลล์สืบพันธุ์ เมื่อแบ่งเซลล์เสร็จสิ้นแล้วเซลล์อสุจิกับเซลล์ไข่จะมีโครโมโซมกี่แท่ง......................................... 5. ร่างกายของคนเราเกิดมาได้อย่างไร.............................................................................................. ................... • จากภาพที่ 2 จงตอบคำถาม ภาพ กระบวนการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม ที่มา : https://tuemaster.com/blog/ชีววิทยา-พันธุกรรม-โครโ/ คำถาม 1. ในเซลล์สืบพันธุ์ของพ่อ (อสุจิ) และ แม่ (ไข่) นั้นมีอะไร………………………………………………………………………….. 2. ลูกได้รับยีนมาจากใคร......................................................................................................... ............................. 3. ยีนมีการถ่ายทอดจากรุ่นหนึ่งไปอีกรุ่นหนึ่งผ่านทางใด…………………………………………………………………………… 4. สิ่งใดที่ควบคุมลักษณะทางพันธุกรรมที่ทำให้เรามีลักษณะบางอย่างเหมือนพ่อและแม่………………………………


85 เฉลยใบกิจกรรมที่ 1 การสืบค้นข้อมูลหลักการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม ชื่อ - สกุล……………………………………………………………… ชั้น .......... เลขที่ .............. ชื่อ - สกุล……………………………………………………………… ชั้น .......... เลขที่ .............. ชื่อ - สกุล……………………………………………………………… ชั้น .......... เลขที่ .............. ชื่อ - สกุล……………………………………………………………… ชั้น .......... เลขที่ .............. ชื่อ - สกุล……………………………………………………………… ชั้น .......... เลขที่ .............. ชื่อ - สกุล……………………………………………………………… ชั้น .......... เลขที่ .............. ชื่อ - สกุล……………………………………………………………… ชั้น .......... เลขที่ .............. ชื่อ - สกุล……………………………………………………………… ชั้น .......... เลขที่ .............. คำสั่ง/คำชี้แจง ให้นักเรียนสืบค้นข้อมูลจากใบความรู้ รวมทั้งแหล่งเรียนรู้ออนไลน์ต่าง ๆ และตอบคำถาม ต่อไปนี้ให้ถูกต้อง การศึกษาพันธุศาสตร์ของเมนเดล 1. สาเหตุที่เมนเดลเลือกใช้ถั่วลันเตา (Pisum sativum) ในการศึกษาด้านพันธุศาสตร์ 1) เป็นพืชที่มีดอกสมบูรณ์เพศ/ผสมตัวเอง (self-fertilized) ซึ่งสามารถสร้างพันธุ์แท้ได้ง่าย หรือจะทำการ ผสมข้ามพันธุ์ (cross-fertilized) เพื่อสร้างลูกผสมก็ทำได้ง่ายโดยวิธีผสมโดยใช้มือช่วย (hand pollination) 2) เป็นพืชที่หาได้ง่าย ปลูกง่าย เจริญเติบโตได้เร็ว อายุสั้น ใช้เวลาปลูกตั้งแต่ปลูกจนถึงเก็บเกี่ยวภายในหนึ่งฤดู ปลูก (growing season) หรือประมาณ 3 เดือน เท่านั้น และยังให้เมล็ดในปริมาณที่มากด้วย 3) เป็นพืชที่มีลักษณะทางพันธุกรรมที่แตกต่างกันชัดเจนหลายลักษณะ ซึ่งในการทดลองดังกล่าว เมนเดลได้นำมาใช้ 7 ลักษณะด้วยกัน 2. รูปแบบของยีนเรียกว่า แอลลีล (Allele) มี 2 ลักษณะ คือ 1) แอลลีลเด่น (dominant allele) คือ แอลลีลที่ควบคุมลักษณะเด่นและแสดงลักษณะนั้น ๆ ออกมาได้อาจ เรียกว่า ‘ยีนเด่น’ มักเขียนแทนด้วยอักษรภาษาอังกฤษพิมพ์ใหญ่ เช่น T 2) แอลลีลด้อย (recessive allele) คือ แอลลีลที่ควบคุมลักษณะด้อย ไม่สามารถแสดงลักษณะออกมาได้ อาจ เรียกว่า ‘ยีนด้อย’ มักเขียนแทนด้วยอักษรภาษาอังกฤษพิมพ์เล็ก เช่น t แอลลีลที่เป็นคู่เหมือนกัน เช่น TT หรือ tt เรียกว่า Homozygous (พันธุ์แท้) แอลลีลทั้งคู่ต่างกัน เช่น Tt เรียกว่า Heterozygous (ลูกผสมหรือพันทาง)


86 3. กฎของเมนเดล มีใจความสำคัญดังนี้ กฎข้อที่ 1 กฎแห่งการแยก ยีนแต่ละคู่ที่ควบคุมแต่ละลักษณะทางพันธุกรรมจะแยกตัวจากกันเป็นอิสระไปสู่ เซลล์สืบพันธุ์แต่ละเซลล์การผสมพันธุ์ที่พิจารณาเพียงลักษณะเดียวจากการเกิดลูกรุ่น F2 อัตราส่วนลักษณะ เด่นต่อด้อย คือ 3 : 1 แสดงว่ายีนแต่ละคู่จะต้องแยกออกจากกันไปอยู่กันคนละเซลล์สืบพันธุ์ เรียกว่า การผสม โดยพิจารณายีนคู่เดียว (monohybrid cross) ทำให้ทราบจีโนไทป์ของ F2 คือ 1 : 2 : 1 (Homozygous dominant : Heterozygous : Homozygous recessive) TT Tt tt กฎข้อที่ 2 กฎแห่งการรวมกลุ่มอย่างอิสระ ในการสร้างเซลล์สืบพันธุ์ จะมีการรวมกลุ่มของหน่วยควบคุม ลักษณะทางพันธุกรรมซึ่งการรวมกลุ่มนี้ เกิดขึ้นอย่างอิสระ เมนเดลได้ศึกษาการถ่ายทอดลักษณะโดยพิจารณาจากยีน 2 คู่ (dihybrid cross) เซลล์สืบพันธุ์จะมีการ รวมกลุ่มของหน่วยพันธุกรรมของลักษณะต่าง ๆ อย่างอิสระ จึงทำให้สามารถทำนายผลที่เกิดขึ้นในรุ่นลูกรุ่น หลานได้ เราสามารถใช้สูตรหาชนิดเซลล์สืบพันธุ์ คือ 2n (n = จำนวนคู่ของ heterozygous gene หรือ ยีนที่ แตกต่างกัน) ถั่วลันเตามีจีโนไทป์ RrYy จะสร้างเซลล์สืบพันธุ์ที่มียีนต่างกันได้กี่แบบ วิธีที่ 1 ใช้สูตรชนิดเซลล์สืบพันธุ์ 2n = 22= 4 ชนิด วิธีที่ 2 ใช้กฎแห่งการรวมกลุ่มโดยอิสระ 4. ระดับการข่มกันของยีนแบบต่าง ๆ 1) การข่มสมบูรณ์ (Complete dominance) homozygous และ heterozygous ที่แสดงลักษณะเด่น และ การถ่ายทอดของเมนเดล คือ AA และ Aa แสดงลักษณะเด่นเช่นเดียวกัน ส่วน aa เป็น homozygous ที่แสดง ลักษณะด้อย เช่น ถั่วลันเตาทั้ง 7 ลักษณะ 2) การข่มไม่สมบูรณ์ ( Incomplete dominance) heterozygous แสดงลักษณะกลางระหว่าง 2 แอลลีล อยู่นอกเหนือการถ่ายทอดแบบเมนเดล คือ Aa เด่น 50% ด้อย 50% เช่น สีของดอกคาร์เนชั่น สีของดอกลิ้นมังกร 3) การข่มร่วมกัน (Codominance) heterozygous แสดงลักษณะของแอลลีลทั้งสองออกมาพร้อมกัน อยู่นอกเหนือการถ่ายทอดแบบเมนเดล เช่น หมู่เลือด A B O คือ I A I A , IA i, IB I B , IB i, IA I B เด่น 100% ii ด้อย 100%


87 5. ข้อสรุปจากการวิเคราะห์ของเมนเดล 1) การถ่ายทอดลักษณะหนึ่งลักษณะใดของสิ่งมีชีวิตถูกควบคุมโดยปัจจัย (fector) เป็นคู่ ๆ ต่อมาปัจจัย เหล่านั้นถูกเรียกว่า ยีน (gene) 2) ยีนที่ควบคุมลักษณะต่าง ๆ จะอยู่กันเป็นคู่ ๆ และสามารถถ่ายทอดไปยังรุ่นต่อไปได้ 3) ลักษณะแต่ละลักษณะจะมียีนควบคุม 1 คู่ โดยมียีนหนึ่งมาจากพ่อและอีกยีนมาจากแม่ 4) เมื่อมีการสร้างเซลล์สืบพันธุ์ (gamete) ยีนที่อยู่เป็นคู่ ๆ จะแยกออกจากกันไปอยู่ในเซลล์สืบพันธุ์ของแต่ละ เซลล์และ ยีนเหล่านั้นจะเข้าคู่กันได้ใหม่อีกในไซโกต 5) ลักษณะที่ไม่ปรากฏในรุ่น F1 ไม่ได้สูญหายไปไหนเพียงแต่ไม่สามารถแสดงออกมาได้ 6) ลักษณะที่ปรากฏออกมาในรุ่น F1 มีเพียงลักษณะเดียวเรียกว่า ลักษณะเด่น (dominant) ส่วนลักษณะที่ ปรากฏในรุ่น F2 และมีโอกาสปรากฏในรุ่นต่อไปได้น้อยกว่า เรียกว่า ลักษณะด้อย (recessive) 7) ในรุ่น F2 จะได้ลักษณะเด่นและลักษณะด้อยปรากฏออกมาเป็นอัตราส่วน เด่น : ด้อย = 3 : 1


88 เฉลยใบกิจกรรมที่ 2 คำศัพท์ที่ควรทราบในการศึกษาพันธุศาสตร์ ชื่อ - สกุล……………………………………………………………… ชั้น .......... เลขที่ .............. ชื่อ - สกุล……………………………………………………………… ชั้น .......... เลขที่ .............. คำสั่ง/คำชี้แจง 1. ให้นักเรียนเล่นเกมหาคำศัพท์ในตารางโดยเล่นในเว็บไซต์ wordwall.net ตามที่ครูส่งลิงก์ให้ 2. ให้นักเรียนเลือกคำศัพท์ที่เกี่ยวกับพันธุศาสตร์มาเติมให้สัมพันธ์กับความหมายที่กำหนดให้ คำศัพท์พื้นฐาน ความหมายและรายละเอียดที่สำคัญ โครโมโซม (Chromosome) แบ่งออกเป็น โครโมโซมร่างกาย (Autosome) และโครโมโซมเพศ (Sex chromosome) ยีน (Gene) เป็นหน่วยควบคุมลักษณะทางพันธุกรรม และเป็นส่วนหนึ่งของโครโมโซมหรือส่วนหนึ่งบนสาย DNA โลคัส (Locus) ตำแหน่งหนึ่ง ๆ ของยีนที่อยู่บนโครโมโซมหรือสาย DNA แอลลีล (Allele) รูปแบบต่าง ๆ ของยีนที่พบใน locus เดียวกันของโครโมโซม แอลลีลเด่น ใช้สัญลักษณ์เป็น อักษรภาษาอังกฤษตัวพิมพ์ใหญ่ เช่น A, T หรือ R ส่วนแอลลีลด้อย ใช้สัญลักษณ์เป็นอักษร ภาษาอังกฤษตัวพิมพ์เล็ก เช่น a, t, r โฮโมไซกัส (Homozygous) ยีนที่มีแอลลีลเหมือนกันทั้งคู่ นิยมเรียกว่าพันธุ์แท้ มี 2 แบบ แอลลีลเด่น เช่น AA, TT แอลลี ลด้อย เช่น aa, tt เฮเทอโรไซกัส (Heterozygous) ยีนที่มีแอลลีลต่างชนิดกัน นิยมเรียกว่าพันธุ์ทาง เช่น Aa, Tt, Rr ฟีโนไทป์ (Phenotype) ลักษณะที่ปรากฏออกมาหรือแสดงออกมา เป็นได้ลักษณะที่อยู่ภายนอก เช่น สีดอกไม้ ลักยิ้ม ถั่วผิวเรียบ หรือลักษณะที่อยู่ภายใน เช่น หมู่เลือด จีโนไทป์ (Genotype) เป็นการอธิบายฟีโนไทป์ในรูปแบบข้อมูลทางพันธุกรรม เขียนคู่ยีนโดยใช้สัญลักษณ์เป็นอักษร ภาษาอังกฤษ เช่น AA, Aa, aa, DD, Dd, dd, TT, Tt, tt, RR, Rr, rr เป็นต้น ยีนเด่น (Dominant gene) เป็นตัวควบคุมลักษณะให้แสดงลักษณะออกมาเสมอไม่ว่าจะเป็นพันธุ์แท้หรือพันธุ์ทาง ลักษณะเด่นเป็นฟีโนไทป์ของยีนเด่น ซึ่งแสดงออกในรุ่นลูกเสมอหรือรุ่นต่อไปเสมอ ยีนด้อย (Recessive gene) ลักษณะด้อยเป็นฟีโนไทป์ของยีนด้อย ถ้ามีแอลลีลเด่นอยู่กับด้อยจะแสดงลักษณะเป็นยีนแฝง โครโมโซม ยีน โลคัส ยีนเด่น ยีนด้อย โฮโมไซกัสยีน แอลลีล ฟีโนไทป์ จีโนไทป์ เฮเทอโรไซกัสยีน


89 เฉลยใบกิจกรรมที่3 การผสมหลายลักษณะ ชื่อ - สกุล……………………………………………………………… ชั้น .......... เลขที่ .............. ชื่อ - สกุล……………………………………………………………… ชั้น .......... เลขที่ .............. ชื่อ - สกุล……………………………………………………………… ชั้น .......... เลขที่ .............. ชื่อ - สกุล……………………………………………………………… ชั้น .......... เลขที่ .............. คำสั่ง/คำชี้แจง การอธิบายและลงข้อสรุปข้อมูลการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมการผสม 2 ลักษณะ มี ทั้งหมด 2 ตอน ตอนที่ 1 ให้นักเรียนนำข้อมูลที่ได้จากการสืบค้นมาจัดกระทำและสื่อความหมายในรูปแบบแผนผังความคิด โดยมีหัวข้อดังนี้ลักษณะทางพันธุกรรมที่เป็นส่วนขยายของพันธุศาสตร์เมนเดล การผสมหลายลักษณะ Two or more genes assort independently—that is, each pair of alleles segregates independently of any other pair of alleles—during gamete formation (ยีนที่เป็นคู่กันเมื่อแยกออกจากกันแล้ว แต่ละยีนจะไปกับยีนอื่นใดก็ได้อย่างอิสระ) เช่น สิ่งมีชีวิตที่มีรูปแบบของ Gene แบบ YyRr จะสามารถสร้างเซลล์สืบพันธุ์ได้4 แบบ แต่ละแบบมี โอกาศในการสร้างเท่ากับ 1/4 ได้แก่ เซลล์สืบพันธุ์ที่มีgene YR, เซลล์สืบพันธุ์ที่มีgene Yr, เซลล์สืบพันธุ์ที่มี gene yR และเซลล์สืบพันธุ์ที่มีgene yr ดังนั้นหากนำ F1 ที่มีGenotype แบบ YyRr มาผสมกันเอง เซลล์สืบพันธุ์ทั้ง 4 แบบ ของต้นพ่อและ ต้นแม่ จะสามารถปฏิสนธิกันอย่างสุ่ม และได้F2 ที่มีPhenotype เมล็ดกลมสีเหลือง : เมล็ดกลมสีเขียว : เมล็ดขรุขระสีเหลือง : เมล็ดขรุขระสีเขียว เท่ากับ 9:3:3:1 ตามลำดับ ดังรูป รูปที่ 2.8 แสดง การสร้างเซลล์สืบพันธุ์ตามกฎข้อที่ 2 ของเมนเดล ดัดแปลงมาจาก : Reece et al., 2017


90 วิธีทำ ใช้ตารางพันเนตต์ หาเซลล์สืบพันธุ์ RrTT ได้ 2 แบบ คือ RT และ rT , เซลล์สืบพันธุ์ rrTt ได้ 2 แบบ คือ rT และ rt RT rT rT RrTT ผลแดง ต้นสูง rrTT ผลเหลือง ต้นสูง rt RrTt ผลแดง ต้นสูง rrTt ผลเหลือง ต้นสูง ตอบ รุ่นลูกมีผลแดง ต้นสูง : ผลเหลือง ต้นสูง อัตราส่วน 1 : 1 และ จีโนไทป์ RrTT : rrTT : RrTt : rrTt อัตราส่วน 1 : 1 : 1 : 1 วิธีทำ หาเซลล์สืบพันธุ์ BBss ได้ Bs, เซลล์สืบพันธุ์ bbSS ได้ bS ตอบ จีโนไทป์ในรุ่น F1 คือ BbSs และฟีโนไทป์คือ ขนสีดำสั้น ตอนที่ 2 ให้เขียนจีโนไทป์และฟีโนไทป์จากลักษณะที่กำหนดให้ถูกต้อง 2. มะเขือเทศสีแดงเป็นลักษณะเด่น (R) ผลสีเหลืองเป็นลักษณะด้อย (r) และต้นสูงเป็นลักษณะเด่น (T) ต้นเตี้ย เป็นลักษณะด้อย (t) เมื่อผสมพันธุ์มะเขือเทศต้นหนึ่งมีจีโนไทป์RrTT กับต้นที่มีจีโนไทป์rrTt จงหาอัตราส่วน ฟีโนไทป์และจีโนไทป์ของรุ่นลูก ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… 3. กระต่ายขนสีดำเป็นลักษณะเด่น (B) ขนสีน้ำตาลเป็นลักษณะด้อย (b) และขนสั้นเป็นลักษณะเด่น (S) ขน ยาวเป็นลักษณะด้อย (s) ในการผสมระหว่างกระต่าย Homozygous ขนสีดำยาว และ Homozygous ขนสี น้ำตาลสั้น จงหาจีโนไทป์และฟีโนไทป์ของรุ่น F1 ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………


91 เฉลยใบกิจกรรมที่ 4 มัลติเพิลแอลลีล ชื่อ - สกุล……………………………………………………………… ชั้น .......... เลขที่ .............. คำสั่ง/คำชี้แจง การอธิบายและลงข้อสรุปข้อมูลการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม มีทั้งหมด 2 ตอน ตอนที่ 1 ให้นักเรียนตอบคำถามต่อไปนี้ให้ถูกต้อง 1. เติมเซลล์สืบพันธุ์และจีโนไทป์ลงในช่องว่างให้ถูกต้อง 1.2 1.1 1.3 P : จีโนไทป์รุ่นพ่อแม่ พ่อ แม่ G : เซลล์สืบพันธุ์ F : จีโนไทป์รุ่นลูก แม่ F : จีโนไทป์รุ่นลูก G : เซลล์สืบพันธุ์ P : จีโนไทป์รุ่นพ่อแม่ พ่อ F : จีโนไทป์รุ่นลูก G : เซลล์สืบพันธุ์ P : จีโนไทป์รุ่นพ่อแม่ พ่อ แม่ AA A A A A A A a a a A A v a AA AA AA Aa Aa Aa Aa AA Aa Aa aa


92 2. ศึกษาภาพแล้วตอบคำถาม ถั่วฝักสีเขียว ฝักสีเหลือง 2.1 จีโนไทป์ของรุ่นพ่อแม่ของฝักสีเขียวและสีเหลืองจะเป็นอย่างไรได้บ้าง............................................. 2.2 รุ่นลูกจะมีจีโนไทป์และฟีโนไทป์เป็นอย่างไร หากพ่อมีจีโนไทป์เป็น Bb............................................ 2.3 ถ้าทั้งสองฝักมีจีโนไทป์แบบโฮโมไซกัส จะเขียนจีโนไทป์ออกมาได้อย่างไรบ้าง................................. ตอนที่ 2 จากโจทย์ให้นักเรียนแสดงวิธีทำในการพิจารณาลักษณะที่เป็นไปได้ที่จะเกิดขึ้นตามที่กำหนดให้ 1. ถั่วลันเตาลักษณะเมล็ดสีเหลืองเป็นลักษณะเด่นต่อลักษณะเมล็ดสีเขียว ในการผสมพันธุ์ภายในดอก เดียวกันของต้นที่มีลักษณะเมล็ดสีเหลืองที่เป็นเฮเทอโรไซกัสทั้งคู่ จงหาร้อยละของรุ่นลูก F1 ที่มีลักษณะ เมล็ดสีเขียว วิธีทำ .................................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................................. ตอบ .................................................................................................................................................................. X P : รุ่นพ่อแม่ F1 : จีโนไทป์รุ่นลูก G : เซลล์สืบพันธุ์ P : จีโนไทป์รุ่นพ่อแม่ พ่อ แม่ X ฟีโนไทป์รุ่นลูก กำหนดให้ ..... แทน ยีนของเมล็ดสีเหลือง ….. แทน ยีนของเมล็ดสีเขียว ฝักสีเขียว BB Bb / ฝักสีเหลือง bb Bb bb / ฝักสีเขียว และฝักสีเหลือง ฝักสีเขียว BB / ฝักสีเหลือง bb Y y Yy Yy Y y Y y YY Yy Yy yy สีเหลือง และ สีเขียว ในอัตราส่วน 3 : 1 หรือร้อยละ 75 : ร้อยละ 25 รุ่นลูก F1 จะมีลักษณะเมล็ดสีเขียว ร้อยละ 25


93 เฉลยใบกิจกรรมที่ 5 ลักษณะควบคุมด้วยยีนหลายคู่ ชื่อ - สกุล……………………………………………………………… ชั้น .......... เลขที่ .............. คำสั่ง/คำชี้แจง การอธิบายและลงข้อสรุปข้อมูลลักษณะควบคุมด้วยยีนหลายคู่มีทั้งหมด 2 ตอน ตอนที่ 1 ให้นักเรียนพิจารณาข้อความทำเครื่องหมาย / ลงหน้าข้อความที่ถูกต้อง และทำเครื่องหมาย X ลง หน้าข้อความที่ผิด ................1. ลักษณะที่ควบคุมด้วยยีนหลายคู่ คือ เป็นลักษณะทางพันธุกรรมอย่างหนึ่งที่ควบคุมด้วยยีนหลาย คู่ ที่อยูโลคัสเดียวกันมาทำงานร่วมกัน เพื่อควบคมลักษณะใดลักษณะหนึ่งของสิ่งมีชีวิต ................2. ลักษณะที่ควบคุมด้วยยีนหลายคู่ มักจะมีการแสดงออกของยีนแบบสะสม (additive effect ................3. ลักษณะที่มีการแปรผันแบบต่อเนื่อง ได้ลักษณะเชิงคุณภาพ แต่ลักษณะที่มีการแปรผัน แบบต่อเนื่องได้ลักษณะเชิงปริมาณ ................4. ลักษณะที่มีการแปรผันแบบไม่ต่อเนื่อง แต่ละฟิโนไทป์จะแสดงออกแตกต่างกันอย่างชัดเจน ................5. ไอคิวของมนุษย์เป็นลักษณะทางพันธุกรรมที่มีอิทธิพลของสิ่งแวดล้อมเข้ามาเกี่ยวข้องด้วยgene) ตอนที่ 2 ให้นักเรียนพิจารณาลักษณะที่กำหนดให้แล้วจำแนกประเภทของการแปรผันทางพันธุกรรม โครโมโซม การมีลักยิ้ม การมีติ่งหู ระบบหมู่ เลือด ABO น้ำหนัก สีผิว ผิวเผือก สีดอกถั่วลันเตา ไอคิวของมนุษย์ การแปรผันแบบต่อเนื่อง การแปรผันแบบไม่ต่อเนื่อง การมีลักยิ้ม น้ำหนัก สีผิว ไอคิวของมนุษย์ โครโมโซม การมีติ่งหู ระบบหมู่เลือด ABO ผิวเผือก สีดอกถั่วลันเตา


94 เฉลยใบกิจกรรมที่ 6 การถ่ายทอดยีนบนโครโมโซมเพศ ชื่อ - สกุล……………………………………………………………… ชั้น .......... เลขที่ .............. คำสั่ง/คำชี้แจง ให้นักเรียนตอบคำถามทบทวนความรู้เดิม จากนั้นศึกษาภาพที่กำหนดให้แล้วตอบคำถาม • คำถามทบทวนความรู้เดิม ในเซลล์ของสิ่งมีชีวิตจะพบสารพันธุกรรมหรือยีนที่ส่วนใด ………………………………………………………………………………………………………………………………................................ • จากภาพที่ 1 จงตอบคำถาม ภาพ เซลล์สืบพันธุ์เพศชายและเพศหญิงและจำนวนโครโมโซมภายหลังการปฏิสนธิ ที่มา : https://www.trueplookpanya.com/learning/detail/34012 นิวเคลียสหรือโครโมโซม


95 คำถาม 1. เซลล์สืบพันธุ์ของคนเราถูกสร้างขึ้นใด……………………………………………………………………………….……………….. 2. การแบ่งเซลล์เพื่อสร้างเซลล์สืบพันธุ์ แบ่งเซลล์แบบใด…………………………………………………………………………. 3. เซลล์ของมนุษย์มีโครโมโซมกี่แท่ง.................................................................................................................... 4. เซลล์สืบพันธุ์ เมื่อแบ่งเซลล์เสร็จสิ้นแล้วเซลล์อสุจิกับเซลล์ไข่จะมีโครโมโซมกี่แท่ง......................................... 5. ร่างกายของคนเราเกิดมาได้อย่างไร.............................................................................................. ................... • จากภาพที่ 2 จงตอบคำถาม ภาพ กระบวนการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม ที่มา : https://tuemaster.com/blog/ชีววิทยา-พันธุกรรม-โครโ/ คำถาม 1. ในเซลล์สืบพันธุ์ของพ่อ (อสุจิ) และ แม่ (ไข่) นั้นมีอะไร………………………………………………………………………….. 2. ลูกได้รับยีนมาจากใคร......................................................................................................... ............................. 3. ยีนมีการถ่ายทอดจากรุ่นหนึ่งไปอีกรุ่นหนึ่งผ่านทางใด…………………………………………………………………………… 4. สิ่งใดที่ควบคุมลักษณะทางพันธุกรรมที่ทำให้เรามีลักษณะบางอย่างเหมือนพ่อและแม่……………………………… แบบไมโอซิส 46 แท่ง 23 แท่ง เกิดจากการปฏิสนธิกันของเซลล์สืบพันธุ์ของพ่อ (อสุจิ) กับเซลล์สืบพันธุ์ของแม่ (ไข่) ยีน เซลล์สืบพันธุ์ ได้รับยีนครึ่งหนึ่งจากพ่อและอีกครึ่งหนึ่งจากแม่ ยีน


96 ใบความรู้ การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม คำสั่ง/คำชี้แจง ให้นักเรียนสแกน QR code เข้าไปศึกษาความรู้เกี่ยวกับการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมหรือศึกษาจากแหล่งเรียนรู้ออนไลน์อื่น ๆ เพื่อใช้เป็นแหล่งข้อมูลสำหรับใช้สืบค้นและนำไปตอบคำถามให้ถูกต้อง


97 เกมที่ใช้ประกอบการจัดการเรียนรู้ Word Search (เกมหาคำศัพท์ในตาราง) https://app.wizer.me/category/worksheet/B9LX0Wkhamsaphththiikhwrruuainkaarsueksaaphanthusaastr


98 Matching Games (เกมส์จับคู่)


99 Board Game (เกมกระดาน) สวมบทบาทเป็น “เมนเดล” ที่ทำการทดลองปลูกถั่วลันเตา เพื่อไขความลับเกี่ยวกับการถ่ายทอด ลักษณะทางพันธุกรรมสุดลึกลับของธรรมชาติ เมนเดลบาทหลวงชาวออสเตรียทำการทดลองปลูกถั่วลันเตา โดยสังเกตลักษณะของต้นถั่วลันเตา รุ่นพ่อแม่ (P) ลูกรุ่นที่ 1 (F1) และลูกรุ่นที่ 2 (F2) พบว่า เมื่อรุ่นพ่อแม่ที่ผสมกัน 2 ลักษณะ ได้ลูกรุ่นที่ 1 ลักษณะเดียวเท่านั้น เกิดเป็นข้อสงสัยว่า อีกลักษณะหนึ่งหายไปไหน และเมื่อลูกรุ่นที่ 1 ผสมกันเอง ได้ลูกรุ่นที่ 2 สองลักษณะ ซึ่งอัตราส่วนของลักษณะที่ปรากฏในรุ่นที่ 1 ต่อ ลักษณะที่หายไปจะเป็น 3:1 เมนเดลพบว่าเมื่อ ทำการทดลองกับถั่วลันเตา 7 ลักษณะจำนวน 7 ปี ได้ผลการทดลองลูกรุ่นที่ 1 และลูกรุ่นที่ 2 คล้ายกัน วันนี้นักเรียนจะมาสวมบทบาทของเมนเดลในการทำการทดลองผสมถั่วลันเตา ในวันนี้ที่เราโชคดี ที่ความลับของการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมได้เปิดออก เราจะมาเรียนรู้ผ่านบอร์ดเกม “วันหนึ่งฉันชื่อเมนเดล” กัน


100 อุปกรณ์ที่ใช้ในบอร์ดเกมวันหนึ่งฉันชื่อเมนเดล 1. แผ่นบอร์ดเกมวันหนึ่งฉันชื่อเมนเดล สำหรับใช้เป็นที่วางการ์ด 2. การ์ดลักษณะทางพันธุกรรมของต้นถั่วลันเตา 7 ลักษณะ 14 แบบ การ์ดแต่ละใบจะแสดง ภาพ ลักษณะทางพันธุกรรม ชื่อลักษณะทางพันธุกรรมภาษาอังกฤษ และจุด โดยลักษณะทางพันธุกรรมใน แต่ละแบบจะใช้สีกรอบเหมือนกัน จุดขาวกับจุดดำแทนลักษณะเด่นกับลักษณะด้อย เช่น การ์ด ลักษณะทางพันธุกรรมสีของดอกถั่วลันเตาจะใช้กรอบสีม่วงอ่อน โดยดอกสีม่วงจะมีภาพดอกสีม่วง กำกับด้วยคำว่า Purple จุดสีดำ แสดงว่า ดอกสีม่วงเป็นลักษณะเด่น ดอกสีขาวจะมีภาพดอกสีขาว กำกับด้วยคำว่า White จุดสีขาว แสดงว่า ดอกสีม่วงเป็นลักษณะด้อย 3. การ์ดรูปแบบคู่ของแอลลีล มี 3 แบบ ได้แก่ BB Homozygous Dominance, Bb Heterozygous และ bb Homozygous Recessive 4. การ์ด P & G มี 2 แบบ ได้แก่ การ์ด P Phenotype และ การ์ด G Genotype 5. การ์ดพิเศษ มี 5 แบบ ได้แก่ การ์ดยกเลิกการผสม การ์ดนี้ใช้สำหรับยกเลิกการผสม คนที่ลงการ์ด ก่อนหน้าทั้งหมดจะต้องทิ้งการ์ดลงกองกลาง การ์ดสลับตำแหน่งผู้เล่น การ์ดนี้ใช้สำหรับสลับ ตำแหน่งผู้เล่นตามที่ผู้ลงการ์ดต้องการ การ์ดรับเงิน การ์ดนี้ผู้เล่นจะได้รับเงิน 4 เหรียญ การ์ดเสียเงิน


101 ผู้เล่นคนอื่นต้องเสียเงิน 4 เหรียญให้กองกลาง และการ์ดเมนเดล ผู้ลงการ์ดสามารถยกเลิกการ์ดที่ ผู้เล่นลงก่อนหน้าและเลือกลักษณะทางพันธุกรรมตามที่ต้องการ 6. เงิน ใช้ฟิวเจอร์บอร์ดแทนเหรียญ 7. ลูกเต๋า วิธีดำเนินกิจกรรม 1. ผู้เล่น 6 คน ต่อบอร์ดเกม 1 ชุด (3 ทีม ทีมละ 2 คน) 2. ผู้เล่นแต่ละทีมทอยลูกเต๋า คนที่ได้แต้มมากที่สุดจะเป็นผู้เล่นทีมที่ 1 ทีมที่ได้แต้มรองลงมาจะเป็นผู้ เล่นทีมที่ 2 และคนที่ได้แต้มน้อยที่สุดจะเป็นผู้เล่นทีมที่ 3 โดยผู้เล่นทีมที่ 1 และ 2 จะเป็นรุ่นพ่อแม่ (P) และผู้เล่นทีมที่ 3 จะเป็นรุ่นลูก (F) 3. ผู้เล่นได้รับเงิน ทีมละ 40 เหรียญ การ์ดลักษณะทางพันธุกรรมของต้นถั่วลันเตา การ์ดรูปแบบคู่ของ แอลลีล การ์ด P & G และ การ์ดพิเศษ อย่างละ 10 ใบต่อทีม โดยการสุ่ม 4. ผู้เล่นทีมที่ 1 ลง การ์ดลักษณะทางพันธุกรรมของต้นถั่วลันเตา และการ์ดรูปแบบคู่ของแอลลีล ให้สัมพันธ์ อย่างละ 1 ใบ โดยถ้าเป็นลักษณะเด่นดูได้จากจุดสีดำ จะลงการ์ดรูปแบบคู่ของแอลลีล ได้ 2 แบบ ได้แก่ BB Homozygous Dominance หรือ Bb Heterozygous ถ้าเป็นลักษณะด้อยดูได้ จากจุดสีขาวจะลงการ์ดรูปแบบคู่ของแอลลีลได้ 1 แบบ ได้แก่ bb Homozygous Recessive 5. ผู้เล่นทีมที่ 2 ลงการ์ดลักษณะทางพันธุกรรมของต้นถั่วลันเตา ให้สัมพันธ์กับผู้เล่นทีมที่ 1 และลงการ์ด รูปแบบคู่ของแอลลีลให้สัมพันธ์กับการ์ดลักษณะทางพันธุกรรมของต้นถั่วลันเตา เช่น ถ้าผู้เล่นทีมที่ 1 ลงการ์ดลักษณะทางพันธุกรรมเป็นสีดอกของต้นถั่นลันเตา ผู้เล่นทีมที่ 2 ต้องลงการ์ดลักษณะทาง พันธุกรรมเป็นสีดอกของต้นถั่นลันเตา


102 6. ผู้เล่นทีมที่ 3 ลงการ์ดลักษณะทางพันธุกรรมของต้นถั่วลันเตา และการ์ดรูปแบบคู่ของแอลลีล ให้สัมพันธ์กับการผสมของผู้เล่นทีมที่ 1 และผู้เล่นทีมที่ 2 (รุ่นพ่อแม่) 7. ผู้เล่นทีมที่ 3 ลงการ์ด P & G เพื่อใช้สำหรับการคิดเงิน ถ้าลงการ์ด P Phenotype จะต้องคิดเงินตาม อัตราส่วนของฟีโนไทป์ ถ้าลงการ์ด G Genotype จะต้องคิดเงินตามอัตราส่วนของจีโนไทป์ ดังตัวอย่าง 8. ถ้าผู้เล่นทีมที่ 3 ไม่สามารถลงการ์ดลักษณะทางพันธุกรรมของต้นถั่วลันเตา หรือการ์ดรูปแบบคู่ของ แอลลีล ให้สัมพันธ์กับการผสมของผู้เล่นทีมที่ 1 และผู้เล่นทีมที่ 2 (รุ่นพ่อแม่) ได้ ถ้าผู้เล่นทีมที่ 3 ลงได้เพียงการ์ดลักษณะทางพันธุกรรมต้องจ่ายเงินตามอัตราส่วนของฟีโนไทป์ให้กับผู้เล่นทีมที่ 1 และ ผู้เล่นทีมที่ 2 และถ้าผู้เล่นทีมที่ 3 ลงได้เพียงการ์ดรูปแบบคู่ของแอลลีลต้องจ่ายเงินตามอัตราส่วนของ จีโนไทป์ให้กับผู้เล่นทีมที่ 1 และ ผู้เล่นทีมที่ 2 9. ถ้าผู้เล่นทีมที่ 3 ไม่สามารถลงการ์ดลักษณะทางพันธุกรรมของต้นถั่วลันเตา และการ์ดรูปแบบคู่ของ แอลลีล ให้สัมพันธ์กับการผสมของผู้เล่นทีมที่ 1 และผู้เล่นทีมที่ 2 (รุ่นพ่อแม่) ได้เลย ผู้เล่นทีมที่ 3 ต้องเสียเงินให้ผู้เล่นทีมที่ 1 และ 2 ทีมละ 4 เหรียญ 10. ถ้าผู้เล่นทีมที่ 1 และ 2 ไม่สามารถลงการ์ดลักษณะทางพันธุกรรมของต้นถั่วลันเตาหรือการ์ดรูปแบบคู่ ของแอลลีลได้ให้สุ่มการ์ดลักษณะทางพันธุกรรม หรือการ์ดรูปแบบคู่ของแอลลีล จนกว่าจะลงการ์ดได้ 11. เมื่อเล่นครบ 1 รอบ ให้ทิ้งการ์ดที่ลงก่อนหน้าทั้งหมดลงกองกลาง ผู้เล่นทั้งหมดจะได้รับการ์ดลักษณะ ทางพันธุกรรมของต้นถั่วลันเตาและการ์ดรูปแบบคู่ของแอลลีลทีมละ 1 ใบ โดยการสุ่ม และเงินทีมละ 2 เหรียญ และเปลี่ยนตำแหน่งผู้เล่นทีมที่ 3 เป็นผู้เล่นทีมที่ 1 ผู้เล่นทีมที่ 1 เป็นผู้เล่นทีมที่ 2 และ ถ้าผู้เล่นทีมที่ 3 ถ้าผู้เล่นทีมที่ 3 ถ้าผู้เล่นทีมที่ 3 ถ้าผู้เล่นทีมที่ 2 ถ้าผู้เล่นทีมที่ 1 ผู้เล่นทีมที่ 1 ผู้เล่นทีมที่ 2 ผู้เล่นทีมที่ 2 ผู้เล่นทีมที่ 1 ผู้เล่นทีมที่ 3 ทีมละ 3 เหรียญ ผู้เล่นทีมที่ 3 ทีมละ 2 เหรียญ


103 ผู้เล่นทีมที่ 2 เป็นผู้เล่นทีมที่ 1 โดยเปลี่ยนตำแหน่งของผู้เล่นไปเรื่อย ๆ ตามลำดับทุกครั้งที่เล่นครบ 1 รอบ 12. ผู้เล่นทีมที่ 2 และ 3 สามารถลงการ์ดพิเศษ ได้ก่อนลงการ์ดลักษณะทางพันธุกรรมของต้นถั่วลันเตา และการ์ดรูปแบบคู่ของแอลลีล โดยเมื่อลงการ์ดพิเศษผลของการ์ดพิเศษจะทำงาน กรณีของการ์ด ยกเลิกการผสมและการ์ดเมนเดล การ์ดที่ผู้เล่นลงก่อนหน้าจะเป็นโมฆะและต้องทิ้งการ์ดลงกองกลาง การชนะเกมวันหนึ่งฉันชื่อเมนเดล ถ้าผู้เล่นทีมใดล่มละลายไม่มีเงินเหลืออยู่ ผู้เล่นทีมที่มีเงินมากที่สุดจะเป็นผู้ชนะ บอร์ดเกมวันหนึ่งฉันชื่อเมนเดลจะช่วยส่งเสริมการเรียนรู้ในมาตรฐานและตัวชี้วัดในระดับชั้น มัธยมศึกษาปีที่ 4 ว 1.3 ม.4/2 อธิบายหลักการถ่ายทอดลักษณะที่ถูกควบคุมด้วยยีนที่อยู่บนโครโมโซมเพศ และมัลติเปิลแอลลีล โดยอาศัยการอธิบายการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมจากการผสมโดยพิจารณา ลักษณะเดียวที่แอลลีลเด่นข่มแอลลีลด้อยอย่างสมบูรณ์ และอธิบายการเกิดจีโนไทป์และฟีโนไทป์ของลูกและ คำนวณอัตราส่วนการเกิดจีโนไทป์และฟีโนไทป์ได้ นำไปใช้หลังจากสอนการคำนวณอัตราส่วนจีโนไทป์และฟีโนไทป์เพื่อตรวจสอบความเข้าใจของ นักเรียนและเปิดโอกาสให้นักเรียนได้สร้างสรรค์โจทย์ในการผสมลักษณะทางพันธุกรรมของต้นถั่วลันเตา บอร์ด เกมวันหนึ่งฉันชื่อเมนเดลจะทำให้นักเรียนเพลิดเพลินกับการเรียนวิทยาศาสตร์ การคำนวณที่เป็นยาขมของ นักเรียนผ่านการเล่นเกม และสามารถนำไปพัฒนาต่อในการผสมมากกว่า 1 ลักษณะ แผ่นกระดาน


104 ตัวอย่างการ์ดที่ใช้เล่นเกม


105


106 ภาคผนวก จ ประวัติผู้ทำวิจัย ประวัติผู้ทำวิจัย ชื่อ - สกุล : นางสาวปิยธิดา อภิชัย วัน เดือน ปีเกิด : วันที่ 23 ตุลาคม พ.ศ. 2542 ที่อยู่ : บ้านเลขที่ 127/3 หมู่ 6 ตำบลวังหงส์อำเภอเมือง จังหวัดแพร่ 54000 ประวัติการศึกษา ปี พ.ศ. 2557 : สำเร็จการศึกษาระดับมัธยมศึกษาตอนต้น จากโรงเรียนพัฒนาประชาอุปถัมภ์อำเภอหนองม่วงไข่ จังหวัดแพร่ ปี พ.ศ. 2558 : สำเร็จการศึกษาระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย จากโรงเรียนพัฒนาประชาอุปถัมภ์อำเภอหนองม่วงไข่ จังหวัดแพร่ ปี พ.ศ. 2561 - 2565 : เข้าศึกษาต่อในระดับปริญญาตรี 5 ปี มหาวิทยาลัยราชภัฏอุตรดิตถ์ คณะครุศาสตร์สาขาชีววิทยา ประวัติการฝึกประสบการณ์วิชาชีพ ฝึกประสบการณ์วิชาชีพครู 1 : โรงเรียนบ้านหนองม่วงไข่อำเภอหนองม่วงไข่จังหวัดแพร่ ฝึกประสบการณ์วิชาชีพครู 2 : โรงเรียนวัดบ้านเกาะ อำเภอพิชัย จังหวัดแพร่ ฝึกประสบการณ์วิชาชีพครู 3 : โรงเรียนท่าข้ามวิทยาคม อำเภอเมือง จังหวัดแพร่


Click to View FlipBook Version