The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

Best practice-การพัฒนาและส่งเสริมทักษะกระบวนการคิดผ่านการเรียนรู้แบบSTEM

โดย....
นางสาวปาจรีย์ สนิทรักษา
ครูผู้ช่วย
โรงเรียนบ้านปากคลองโรงนาค
สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาชลบุรีเขต 1

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search

Best practice-การพัฒนาและส่งเสริมทักษะกระบวนการคิดผ่านการเรียนรู้แบบSTEM

Best practice-การพัฒนาและส่งเสริมทักษะกระบวนการคิดผ่านการเรียนรู้แบบSTEM

โดย....
นางสาวปาจรีย์ สนิทรักษา
ครูผู้ช่วย
โรงเรียนบ้านปากคลองโรงนาค
สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาชลบุรีเขต 1

การพฒั นาและสง่ เสรมิ ทกั ษะกระบวนการคิด
ผา่ นการเรยี นรแู้ บบ STEM

นางสาวปาจรีย์ สนิทรกั ษา
ครูผ้ชู ่วย

โรงเรยี นบ้านปากคลองโรงนาค
สำนักงานเขตพืน้ ทก่ี ารศึกษาประถมศึกษาชลบุรีเขต ๑

แบบรายงานวธิ ปี ฏบิ ตั ทิ เ่ี ปน็ เลิศ (Best Practice) ปกี ารศึกษา ๒๕๖๓

ช่อื ผู้รบั ผิดชอบ : นางสาวปาจรยี ์ สนิทรักษา และคณะ

โรงเรียน : บา้ นปากคลองโรงนาค ตำบลอ่างศิลา อำเภอเมอื ง จังหวัดชลบุรี

ชื่อผลงาน : การพฒั นาและส่งเสรมิ ทักษะกระบวนการคิดผ่านการเรยี นรูแ้ บบ STEM

1. ความสำคัญของนวัตกรรม/วธิ ีการปฏบิ ตั ทิ ่เี ปน็ เลิศ (Best Practice)
ความก้าวหน้าทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีเป็นไปอย่างรวดเร็ว ทำให้คุณภาพทางการศึกษาของ

ผ้เู รียน ซง่ึ ก็คือการสร้างโอกาสใหผ้ ู้เรียนไดร้ ับความรทู้ างดา้ นวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ในการเสริมสร้างให้
มีความรสู้ ูงข้นึ เพือ่ ให้ผ้เู รียนมคี วามพรอ้ มอย่างเตม็ ศักยภาพทีจ่ ะดำรงชวี ติ อยู่ได้ในโลกยุคโลกาภิวัตน์

เพื่อการตอบสนองต่อสถานการณ์ดังกล่าว กล่มุ สาระการเรยี นรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี โรงเรียน
บ้านปากคลองโรงนาค จึงส่งเสริมความเป็นเลิศและพัฒนาทางการศึกษาให้กับผู้เรียน โดยจัดกิจกรรมการ
เรียนการสอนที่เน้นให้นักเรียนได้ลงมือปฏิบัติฝึกทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ หาเหตุและผลได้อย่าง
เตม็ ที่ ดังน้ันจงึ ได้มีการจัดการเรยี นการสอนแบบ STEM เพอ่ื ม่งุ เน้นการพัฒนาและส่งเสริมทักษะกระบวนการ
ทางวิทยาศาสตร์ให้แก่ผู้เรียน เพื่อให้นักเรียนได้รู้จักการคิดวิเคราะห์ การค้นหาเหตุและผลทางวิทยาศาสตร์
รวมถงึ การพฒั นาศกั ยภาพของตนเองให้มปี ระสิทธิภาพยิ่งขนึ้

๒. จดุ ประสงค์และเป้าหมายของการดำเนินงาน
๒.๑ จดุ ประสงค์
2.1.๑ เพอ่ื ส่งเสรมิ ใหผ้ เู้ รียนมีความสามารถในการคดิ วิเคราะห์
2.๑.2 เพือ่ สง่ เสรมิ ใหผ้ เู้ รยี นมีความสามารถในการคดิ อย่างมวี ิจารณญาณ
2.๑.3 เพื่อสง่ เสริมใหผ้ เู้ รยี นมีความสามารถในอภปิ รายแลกเปลยี่ นและแสดงความคดิ เห็น
2.๑.4 เพื่อส่งเสรมิ ให้ผูเ้ รยี นมคี วามสามารถในการคิดแกป้ ัญหา
๒.๑.๕ เพื่อสง่ เสรมิ ให้ผ้เู รยี นมคี วามสามารถในการคิดสร้างสรรคแ์ ละสรา้ งนวตั กรรม
๒.๒ เป้าหมาย
ผู้เรียนระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ ๑ – ๖ โรงเรียนบ้านปากคลองโรงนาค จำนวน ๑๑๐ คน ให้มี

ความสามารถในการคิดวเิ คราะห์ คดิ อยา่ งมวี จิ ารณญาณ อภปิ รายแลกเปลีย่ นความคิดเห็น สามารถแก้ปัญหา
และสร้างสรรค์นวัตกรรมเป็นไปตามเกณฑ์ของสถานศึกษา ประกอบไปด้วยความสามารถในการสื่อสาร
ความสามารถในการคิด ความสามารถในการแก้ปัญหา ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต และความสามารถ
ในการใชเ้ ทคโนโลยี

๓. กระบวนการผลติ นวัตกรรม
ดำเนินการตามกระบวนการ PDCA ดงั น้ี

ข้ันท่ี ๑ ขน้ั เตรยี มการ (Plan)
๑. ศกึ ษาวิสัยทศั น์ พันธกจิ และนโยบายของโรงเรียน ที่สอดคล้องกับการสง่ เสริมทักษะการคดิ ให้แก่ผู้เรยี น
๒. ศึกษาเอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวกับการพัฒนาทักษะกระบวนการคิดผ่านการเรียนรู้แบบ STEM

มาบรู ณาการในการจดั กจิ กรรมการเรียนการสอนในโรงเรียน
๓. ให้ความรู้แก่บุคลากรครูและนักเรียนให้มีความรูเ้ กี่ยวกับการจัดการเรียนการสอนแบบ STEM ที่บูรณา

การในรายวิชาต่างๆ พร้อมทงั้ เห็นประโยชนใ์ นการนำการจัดการเรยี นการสอนแบบ STEM มาใชป้ ระโยชน์
๔. ดำเนินการสร้างรูปแบบการจัดการเรียนการสอนแบบ STEM Education ภายใต้รูปแบบ PAKKLONG

STEM Model ดังน้ี
P Participation : การมสี ่วนร่วม เกิดจากการมสี ่วนรว่ มของบุคลากรทกุ คนในโรงเรยี น
A Awareness : การสร้างความตระหนัก การสร้างความตระหนักว่าผู้เรียนทุกคนสามารถพัฒนาทักษะ
กระบวนการคดิ ได้
K Knowledge : ความรู้ ผู้บริหารสถานศึกษาและครูผู้สอนมีความรู้ความเข้าใจในการจัดการเรียนการสอน
แบบ STEM
K Kindness : ความมนี ำ้ ใจ ของครูผู้สอนทกุ คนในการดแู ลชว่ ยเหลอื กันในด้านตา่ งๆ
L –Learning : การแสวงหาความรู้ ผู้บริหารสถานศึกษาและครูผู้สอนมีการพัฒนาความรู้ตัวเองในเรื่องท่ี
เกย่ี วข้องกบั การจัดการเรยี นรู้แบบ STEM อย่างสม่ำเสมอ
O Organization : การทำงานเป็นองค์กร บุคลากรทุกคนในสถานศึกษาร่วมมือกันในการจัดการเรียนรู้แบบ
STEM ใหส้ อดคล้องกับในทุกรายวิชา
N Network : การสรา้ งเครอื ข่าย แลกเปล่ียนข้อมูลดว้ ยระบบเครอื ข่ายต่างๆ
G Good governance : มีหลักธรรมาภบิ าลในการดำเนนิ งาน
S Science : การนำความรู้ทเี่ ก่ียวขอ้ งกบั วิทยาศาสตรม์ าใชใ้ นการจัดการเรียนการสอน
T Technology : การนำความร้ทู เี่ ก่ียวข้องกบั เทคโนโลยีมาใชใ้ นการจัดการเรียนการสอน
E Engineering : การนำความรู้ทีเ่ กี่ยวขอ้ งกบั วิศวกรรมมาใชใ้ นการจัดการเรียนการสอน
M Mathematic : การนำความรู้ที่เกี่ยวขอ้ งกบั คณิตศาสตร์มาใช้ในการจัดการเรยี นการสอน

ข้ันท่ี ๒ ขัน้ ดำเนนิ การ (D0)
จัดการเรียนการสอนรูปแบบ STEM โดยบูรณาการอยใู่ นทกุ รายวชิ า ซ่งึ ขนั้ ตอนในการจดั การเรยี นรมู้ ีดงั น้ี
ขน้ั ตอนที่ ๑ ระบปุ ญั หาในชีวิตจริง โดยผู้เรยี นจะเปน็ ผตู้ งั้ คำถามในส่ิงท่ีตนเองสงสัย อยากรู้ ซึ่งส่ิงที่

สงสัยนั้นจะเป็นส่ิงที่เกิดขึ้นในชีวติ จริง วิธีการตัง้ คำถามสามารถใช้ทักษะการตั้งคำถามดว้ ยหลัก 5W 1H เมื่อ
เกิดสถานการณ์ปญั หาหรือความตอ้ งการ

ขั้นตอนที่ ๒ รวบรวมข้อมูลและแนวคิดที่เกี่ยวข้อง รวบรวมความรู้ ข้อมูลที่เกี่ยวข้อง ที่ใช้ในการ
แก้ปัญหาท่ีเกิดขนึ้ ในขน้ั ที่ ๑ โดยสามารถหาขอ้ มูลต่างๆได้จากแหลง่ เรียนรภู้ ายในโรงเรียน เชน่ หอ้ งสมุด ห้อง
คอมพวิ เตอร์ เปน็ ตน้

ขน้ั ตอนที่ ๓ ออกแบบวิธกี ารแก้ปญั หา การนำข้อมูลท่รี วบรวมได้ในขัน้ ตอนท่ี ๒ มาสร้างชิน้ งานหรือ
วิธีการในการแก้ปัญหา โดยคำนงึ ถงึ ทรัพยากร ขอ้ จำกดั และเง่ือนไขต่างๆ

ขั้นตอนที่ ๔ วางแผนและดำเนินการแก้ปัญหา การกำหนดลำดับขั้นตอนในการสร้างชิ้นงานหรือ
วธิ กี ารในการการแกไ้ ขปญั หา

ขั้นตอนที่ ๕ ทดสอบ ประเมินผล และปรับปรุง นำชน้ิ งานหรอื วิธกี ารท่ีได้ไปใช้ในการแก้ปัญหา โดย
นำผลทไ่ี ด้มาใช้ในการปรับปรงุ ชน้ิ งานหรือวธิ ีการทีใ่ ชใ้ นการแกป้ ญั หาให้มปี ระสิทธภิ าพมากยงิ่ ขน้ึ

ขัน้ ตอนที่ ๖ นำเสนอวิธกี ารแก้ปัญหา ผลการแกป้ ัญหา หรือผลการพฒั นานวตั กรรม การนำเสนอ
แนวคดิ และข้ันตอนการแก้ปญั หาของการสรา้ งช้นิ งานหรือการพัฒนาวธิ ีการ ใหผ้ อู้ ่ืนเขา้ ใจและได้ข้อเสนอแนะ
เพ่อื การพัฒนาต่อไป

ขน้ั ที่ ๓ ตรวจสอบการดำเนนิ งาน (Check)
มีการดำเนนิ การนำนวตั กรรมท่ผี ลติ ไปทดลองใช้ ในโรงเรียน พรอ้ มท้ังมกี ารดำเนินการมีการประเมนิ กำกับ

ตดิ ตามหาประสิทธภิ าพของนวัตกรรมก่อนนำไปใช้จรงิ จากการสงั เกตพฤติกรรม และการประเมนิ คุณลักษณะ
ที่พึงประสงค์เป็นระยะ ๆ อย่างต่อเนื่อง เพื่อนำผลที่ได้รับไปใช้ในการปรับปรุงแก้ไขให้เกิดความสมบูรณ์
ครบถว้ น และดยี งิ่ ขึน้ เพ่ือให้ได้นวตั กรรมทีม่ ีประสทิ ธิภาพ จึงจะนำไปใชจ้ ริง

ขัน้ ที่ ๔ สรปุ ผลกจิ กรรมและการประเมินผลกิจกรรม (Action)
มีการดำเนินการประเมิน กำกับ ติดตามหาประสิทธิภาพของนวัตกรรมนำไปใช้จริง จากการสังเกต

พฤติกรรม และการประเมินจากการสังเกตพฤติกรรม และการประเมินทักษะกระบวนการคิดเป็นระยะ ๆ
อยา่ งตอ่ เน่ือง

4. ผลการดำเนนิ งาน/ผลสมั ฤทธิ/์ ประโยชนท์ ไ่ี ด้รบั
๔.๑ ผลการดำเนนิ งาน
การดำเนินงานตามนวัตกรรม “การพัฒนาและส่งเสริมทักษะกระบวนการคิดผ่านการเรียนรู้แบบ

STEM” มผี ลการดำเนนิ งานดงั น้ี
๔.๑.๑ เชงิ ปรมิ าณ
๑. ผู้เรียนร้อยละ 9๗.๐๖ มีความสามารถในการคิดวิเคราะห์ คิดอย่างมีวิจารณญาณ อภิปราย

แลกเปลี่ยนความคิดเห็น สามารถแก้ปัญหา และสร้างสรรค์นวัตกรรมเป็นไปตามเกณฑ์ของสถานศึกษา

ประกอบไปด้วยความสามารถในการสื่อสาร ความสามารถในการคิด ความสามารถในการแก้ปัญหา
ความสามารถในการใช้ทักษะชีวติ และความสามารถในการใชเ้ ทคโนโลยี

๔.๑.๒ เชงิ คณุ ภาพ
ผู้เรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ ๑ – ๖ โรงเรียนบ้านปากคลองโรงนาค ความสามารถในการคิดวิเคราะห์
คิดอย่างมีวิจารณญาณ อภิปรายแลกเปลี่ยนความคิดเห็น สามารถแก้ปัญหา และสร้างสรรค์นวัตกรรมเป็นไป
ตามเกณฑ์ของสถานศึกษา
๔.๒ ผลสมั ฤทธิ์

๔.๓ ประโยชนท์ ไี่ ด้รับ
๔.๓.๑ ผเู้ รยี นไดพ้ ฒั นาทักษะกระบวนการคดิ อยา่ งสรา้ งสรรคใ์ ห้แกต่ นเอง
๔.๓.๒ ครูผู้สอนได้ศึกษาเรียนรูก้ ารจัดการเรียนการสอนรูปแบบใหม่ และสามารถพัฒนารูปแบบการ

สอนของตนเองให้ดียงิ่ ขน้ึ

5. ปัจจัยไปสคู่ วามสำเร็จ
๕.๑ ด้านการบริหารและการจดั การ โรงเรียนบ้านปากคลองโรงนาคได้มีพัฒนาเพิ่มประสิทธิภาพของ

ครูและบุคลากรทางการศึกษา ในรูปแบบของการอบรม ประชุมเชิงปฏิบัติการ ทัศนศึกษา จัดนิทรรศการ
ศกึ ษาดงู านแลกเปลี่ยนเรยี นรู้ เพ่ือนำมาพฒั นาและจดั กิจกรรมของโรงเรยี นให้มีคุณภาพ

๕.๒ การกำหนดภาระหนา้ ท่ขี องแต่ละฝ่ายงานให้เกดิ ความชัดเจน เพื่อให้เกดิ แรงหนนุ และพลังการ
ทำงานอย่างสรา้ งสรรคต์ อ่ กนั

๕.๓ ฝ่ายบริหารมีภาวะผู้นำ และมีทัศนคตทิ ่ีดี และมคี วามเข้าใจในเร่ืองการพฒั นาทักษะกระบวนการ
คิด

๕.๔ การมีทัศนคติหรือมุมมองเชิงบวกต่อคุณธรรมเป้าหมาย ร่วมกันกำหนดพฤติกรรมบ่งชี้เชิงบวก
และลงมือปฏิบตั ิ

๕.๕ ความร่วมมือ ร่วมใจ ที่เกิดจากการร่วมมือกันทำกิจกรรมอย่างต่อเนื่องด้วยความสุข และเห็น
คุณค่าของสงิ่ ที่ทำ

๖. เง่ือนไขความสำเร็จ
๖.1 การเสริมสร้างภาวะผู้นำ เพื่อให้เกิดแรงหนุนและพลังการทำงาน โดยสร้างความตระหนัก

การรับรยู้ อมรบั เข้าใจในบรบิ ทและสภาพการเปล่ียนแปลง
๖.2 การนำระบบเทคโนโลยีมาใชใ้ นการสนับสนุนการดำเนินงานให้มีความคลอ่ งตัว
๖.3 การกำกับติดตาม การประเมินและรายงาน และการวิจัยเป็นฐานในการพัฒนาคุณธรรมของ

โรงเรยี น

ลงชือ่ ...........................................ผู้รายงาน
( นางสาวปาจรยี ์ สนิทรักษา )

ครผู ู้ช่วย โรงเรียนบา้ นปากคลองโรงนาค

๗. ขอ้ เสนอแนะจากผู้อำนวยการโรงเรยี นบา้ นปากคลองโรงนาค

............................................................................................................................. .................................................
.................................................................................. ............................................................................................
................................................................................................................. .............................................................

ลงชอื่ .....................................................
( นางสาวบุญเอ้ือ เอย่ี มรตั น์ )

ผู้อำนวยการโรงเรยี นบา้ นปากคลองโรงนาค

ภาคผนวก

ภาพการจดั การเรยี นการสอนแบบ STEM ในแตล่ ะรายวิชา

ภาพการจดั การเรยี นการสอนแบบ STEM ในแตล่ ะรายวิชา

ภาพกิจกรรมวนั วิทยาศาสตร์ ประจำปกี ารศกึ ษา ๒๕๖๓


Click to View FlipBook Version