แผนการจัดการเรยี นรู้ภาษาไทย
ภาคเรียนท่ี ๒
ชนั้ มธั ยมศกึ ษาปีที่ ๒
หน่วยท่ี ๒ โคลงสุภาษิต
โดย
นางสาวรตั นา มากอำไพ
ครูผูช้ ่วย
โรงเรียนครนพิทยาคม
อำเภอสวี จังหวดั ชมุ พร สงั กดั สำนักงานเขตพ้ืนท่ีการศกึ ษา
มัธยมศึกษาสรุ าษฎรธ์ านี ชมุ พร
แผนผงั ความคิดการบูรณาการการเรยี นรภู้ ายในกลุ่มสาระ
แผนผงั ความคิดการบรู ณาการ นอกกล่มุ สาระ
การเรยี นรู้
แผนการจดั การเรียนร้ทู ี่ 2.๑
กลมุ่ สาระการเรยี นรภู้ าษาไทย ชั้นมธั ยมศกึ ษาปีที่ ๒
หนว่ ยท่ี 2 โคลงสุภาษติ เวลา ๗ ชั่วโมง
เรอื่ ง ฟังคดิ พินจิ เร่อื ง เวลา ๑ ชว่ั โมง
ใช้สอนวันที่ ....................................................................................................................
.
มาตรฐานท่ี ท ๓.๑ สามารถเลอื กฟังและดู อยา่ งมีวจิ ารณญาณ และพดู แสดงความรู้
ความคดิ ความร้สู กึ ในโอกาสต่างๆ อยา่ งมวี จิ ารณญาณและสร้างสรรค์
ตวั ชี้วดั
ท ๓.๑ ม.๒/๑ พดู สรุปใจความสำคญั ของเรื่องที่ฟงั และดู
ท ๓.๑ ม.๒/๒ วเิ คราะห์ขอ้ เท็จจริง ข้อคดิ เหน็ และความนา่ เชื่อถือของข่าวสารจากสื่อต่างๆ
ท ๓.๑ ม.๒/๖ มมี ารยาทในการฟัง การดู และการพูด
สาระการเรียนรแู้ กนกลาง
ตวั ช้ีวัด สาระการเรยี นรู้แกนกลาง/ทอ้ งถิ่น
ความรู้ (K) ทกั ษะ/กระบวนการ (P) คณุ ลกั ษณะ (A)
ท ๓.๑ ม.๒/๑ พูดสรุป การพดู สรุปความ ฝึกพดู สรุปความ - มมี ารยาทในการพดู
ใจความสำคญั ของเร่อื งท่ี - มีมารยาทในการฟงั
ฟังและดู การดู
ท ๓.๑ ม.๒/๒ วเิ คราะห์ วเิ คราะห์ข้อเท็จจรงิ - ฝึกพูดวิเคราะห์ข้อเท็จจรงิ - มมี ารยาทในการพูด
ข้อเท็จจรงิ ขอ้ คิดเหน็ และ และข้อคดิ เหน็ และข้อคิดเห็น
ความนา่ เช่อื ถือของ
ขา่ วสารจากสื่อตา่ งๆ
ท ๓.๑ ม.๒/๖ มี หลกั การฟัง การดู ฝึกพูด ฟัง และดู -มมี ารยาทในการพูด
มารยาทในการฟัง การดู และการพูด การฟังและการดู
และการพดู
สาระสำคญั
การฟังเชงิ วิเคราะห์ วจิ ารณ์ หมายถงึ การฟังสารดว้ ยความเอาใจใส่พจิ ารณาไตรต่ รอง แยกแยะสาร
ออกเปน็ สว่ น ๆ อย่างถีถ่ ้วน เพื่อให้เขา้ ใจเรื่องในหลายแง่หลายมุมโดยแยกข้อเทจ็ จริงและขอ้ คิดเห็นออกจาก
กนั แล้วติ – ชม หรอื ประเมินค่าส่งิ ที่ไดฟ้ ังนั้น เพอื่ นำไปใช้ในชวี ิตประจำวนั
สาระการเรียนรู้
การฟงั เร่ืองโคลงสุภาษติ พระราชนพิ นธพ์ ระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลา้ เจา้ อยหู่ ัว
กระบวนการจัดการเรยี นรู้
๑. ครแู จ้งตัวช้ีวัดและนกั เรยี นทำแบบทดสอบกอ่ นการเรยี นรู้
๒. ครอู ่านตัวอย่างโคลงสุภาษติ อื่นๆ มาใหน้ ักเรียนรจู้ ักและสนทนากบั นกั เรียนเรอื่ ง “โคลง
สภุ าษิต พระราชนพิ นธ์พระบาทสมเด็จพระจลุ จอมเกล้าเจ้าอย่หู ัว” ว่ากลา่ วถงึ เรื่องอะไร มปี ระวัตแิ ละความ
เปน็ มาอย่างไร การอ่านโคลงสุภาษติ พระราชนพิ นธ์พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยหู่ วั ควรอ่าน
อย่างไรจึงจะเขา้ ใจลกึ ซ้ึง
๔. ให้นักเรียนคนใดคนหนึ่งหรือหลายคน อ่านเรอ่ื ง “โคลงสภุ าษติ พระราชนพิ นธ์
พระบาทสมเดจ็ พระจลุ จอมเกลา้ เจา้ อยหู่ ัว” ใหเ้ พื่อน ๆ ฟังหรอื ครเู ปดิ เครื่องบันทกึ เสียง เรอื่ ง “โคลง
สุภาษิต พระราชนพิ นธ์พระบาทสมเด็จพระจลุ จอมเกลา้ เจ้าอย่หู วั ” ใหน้ ักเรยี นฟัง
๕. ครูนำแผนภมู ิความหมายของศัพท์ และถ้อยคำสำนวนจากเร่อื ง “โคลงสุภาษิต พระราช
นพิ นธพ์ ระบาทสมเดจ็ พระจุลจอมเกลา้ เจา้ อยูห่ ัว” มาตดิ บนกระดานดำ ให้นกั เรยี นศกึ ษาความหมายของ
คำศัพท์
๖. แบ่งนักเรยี นออกเป็น ๕ กลุม่ ใหแ้ ตล่ ะกลุ่มศึกษาเร่ืองต่อไปนี้
กลุ่ม ๑ จบั ประเด็นสำคัญของเรอ่ื ง
กลุ่ม ๒ บอกจดุ ประสงค์ของเร่อื ง
กลมุ่ ๓ จดั ลำดับเหตกุ ารณ์ของเรอ่ื ง
กลุม่ ๔ สรปุ เน้อื เรอื่ ง
กลมุ่ ท่ี ๕ ประวัตผิ ู้แตง่
๗. ใหน้ กั เรียนแต่ละกลมุ่ ส่งตัวแทนมารายงานหน้าช้ัน พร้อมสง่ เอกสารทีค่ รู เพ่ือเก็บไวใ้ น
แฟม้ สะสมงาน
๘. นักเรยี นชว่ ยกนั ซักถามเร่ืองราวท้งั หมดจากกล่มุ ตา่ ง ๆ เพ่ือเป็นการสรปุ บทเรยี น
๙. นักเรียนทำบัตรกิจกรรมการเรียนรู้
๑๐. มอบหมายให้นกั เรยี นไปอา่ นหนงั สอื เพ่ิมเตมิ เปน็ การบ้าน
สอื่ / แหล่งเรียนรู้
ลำดับท่ี รายการสือ่ กจิ กรรมทใ่ี ช้ แหล่งทไ่ี ดม้ า
๑ ครูจดั ทำ
๒ แบบทดสอบก่อน-หลังเรยี น นักเรียนทำแบบทดสอบก่อนเรียน ครจู ัดทำ
๓ แผนภูมิความหมายของคำศัพท์ นกั เรียนศกึ ษาและอ่าน ครจู ดั หา
และสำนวนจากเรือ่ ง
หนงั สอื เรยี น ชดุ วรรณคดี นกั เรียนดูภาพและฝึกอ่าน
วิจกั ษ์ ชน้ั ม.๒ นกั เรยี นฝึกการฟัง ครจู ดั ทำ
๔ เครื่องบันทึกเสยี ง
๕ แบบประเมินการสังเกต บนั ทึกการสังเกตพฤติกรรม ครูจัดทำ
พฤติกรรม
การวดั ผลและประเมินผล
กจิ กรรม-พฤติกรรมที่ เครือ่ งมอื ทใี่ ช้ใน วธิ กี ารประเมิน เกณฑ์การประเมนิ
การประเมนิ
ประเมิน
แบบทดสอบก่อนเรียน ตรวจงานรายบุคคล ร้อยละ ๗๐ ขน้ึ ไป
๑. นักเรียนทำแบบทดสอบ
ก่อนเรยี น แบบประเมนิ รายกลมุ่ สังเกตรายกลมุ่ รอ้ ยละ ๗๐ ขนึ้ ไป
ตรวจงานรายกล่มุ รอ้ ยละ ๗๐ ขนึ้ ไป
๒. นกั เรยี นนำเสนอหนา้ ชน้ั แบบประเมินพฤตกิ รรมและ
เรียน ผลงานระหวา่ งเรยี น
๓. ประเมินพฤติกรรมและ
ผลงานระหวา่ งเรยี น
กจิ กรรมเสนอแนะ
ในกิจกรรมการสอนภาษาไทยทุกชั่วโมง ครูตอ้ งกวดขนั ให้นักเรียนใช้ตวั เลขไทย เพื่อใหเ้ กิดความ
เคยชินและตดิ เป็นนสิ ัย อีกท้ังใหม้ คี วามภมู ิใจในการใช้ตวั เลขไทย อนั เปน็ สมบตั ิของชาติ
บนั ทกึ ผลหลงั การจดั การเรียนรู้
๑. ผลการจัดการเรียนรู้ตามผลการเรยี นรู้ทีค่ าดหวัง
นกั เรียนทัง้ หมด ....................คน
– ผา่ นเกณฑ์การประเมินระดับดี ............ คน คิดเปน็ ร้อยละ ...............
– ผา่ นเกณฑ์การประเมนิ ระดับปานกลาง – คน คดิ เปน็ ร้อยละ .................
– ไม่ผ่านเกณฑ์การประเมินระดบั ปรับปรุง – คน คิดเปน็ ร้อยละ ...............
๒. ผลการประเมินพฤติกรรมระหวา่ งเรยี น
............................................................................................................................. ...........................
............................................................................................................................. .................................................
..............................................................................................................................................................................
......................................................................................................................... ......................................
๓. ปัญหาและอุปสรรคระหวา่ งการจัดกจิ กรรมการเรียนการสอน
............................................................................................................................. ...........................
....................................................................................................................................................
๔. การปรบั ปรุงแกไ้ ข
......................................................................................................................... ..................
............................................................................................................................. ....................................
๕. ข้อคิดเห็นและข้อเสนอแนะเพม่ิ เตมิ
........................................................................................................................................................
............................................................................................................................. ..........................................
ลงชือ่ ..........................................................ผ้สู อน
(นางสาวรัตนา มากอำไพ)
ครผู ู่ชว่ ย
ความเหน็ ของผู้อำนวยการโรงเรียน
..................................................................................................................................................... ...
............................................................................................................................. .................................................
............................................................................................................................. .................................................
................................................................................................................................................................. .............
...................................................................................................................... ........................................................
............................................................................................ ...........................................................
ลงช่อื .................................................ผตู้ รวจสอบ
( นายพิเชษฐ์ ทับทอง )
ผู้อำนวยการโรงเรยี นครนพทิ ยาคม
บัตรกจิ กรรมการเรียนรู้
คำชีแ้ จง ใหน้ ักเรียนตอบคำถามต่อไปนี้ใหถ้ กู ต้อง
๑. นกั เรียนคิดวา่ ส่งิ ใดทสี่ ำคัญที่สุดในเรือ่ ง“โคลงสภุ าษติ พระราชนพิ นธพ์ ระบาทสมเดจ็ พระจลุ จอมเกลา้
เจ้าอยหู่ ัว ”
………………………………………..……………………………………………………………..
…..…………………………………………………………………..………………………………
๒. นักเรียนคดิ ว่า“โคลงสุภาษติ พระราชนิพนธพ์ ระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจา้ อย่หู วั ”มกี ลวธิ ีการ
เขียนอยา่ งไรบ้าง
………………………………………..……………………………………………………………..
…..…………………………………………………………………..………………………………
………………………………………..……………………………………………………………..
…..…………………………………………………………………..………………………………
๓. นักเรียนคดิ ว่าเมอื่ อา่ นเรื่อง “โคลงสุภาษิต พระราชนิพนธพ์ ระบาทสมเดจ็ พระจุลจอมเกลา้ เจา้ อยูห่ ัว ”
แล้วให้ประโยชนอ์ ย่างไรบา้ ง
………………………………………..……………………………………………………………..
…..…………………………………………………………………..………………………………
………………………………………..……………………………………………………………..
…..…………………………………………………………………..………………………………
๔. นกั เรียนคิดวา่ เรอ่ื ง “โคลงสภุ าษิต พระราชนพิ นธ์พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หวั ” ให้
ขอ้ คดิ อย่างไร
………………………………………..……………………………………………………………..
…..…………………………………………………………………..………………………………
………………………………………..……………………………………………………………..
…..…………………………………………………………………..………………………………
แบบทดสอบก่อนเรียน-หลงั เรียน
คำชี้แจง ให้นักเรียนเขียนเครื่องหมายถูกหน้าข้อความที่นักเรียนคิดว่าถูกต้อง และ เขียนเครื่องหมายผิด
หน้าข้อท่นี ักเรยี นคิดวา่ ผิด
..............๑ ผ้ทู ี่ประสบความสำเรจ็ มักจะมีหลักธรรมประจำใจเพื่อเป็นแนวทางในการดำเนินชวี ิต แนวทาง
ต่าง ๆ เปน็ ขอ้ คิดท่นี ักปราชญแ์ ตโ่ บราณไดร้ วบรวมไว้ ดังปรากฏในโคลงสภุ าษติ โสฬสไตรยางค์
.............. ๒ โคลงสุภาษิตโสฬสไตรยางค์ เดิมเป็นสุภาษิตภาษาอังกฤษ พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้า
เจ้าอยู่หัวทรงพระกรุณาโปรดเกล้าโปรดกระหม่อมให้กวีในราชสำนกั แปลและประพนั ธ์เป็นโคลงภาษาไทย
...............๓ โคลงสภุ าษิตโสฬสไตรยางค์เปน็ โคลงส่สี ภุ าพ ซึ่งมีบทนำ ๑ บท เน้ือเร่อื ง ๑๖ บท และบทสรุป
๑ บท บอกจำนวนสภุ าษติ ว่ามี ๑๖ หมวด หมวดละ ๓ ข้อ รวมเปน็ ๔๘ ขอ้
...............๔ ในพระราชนิพนธ์น้ี “ไตรยางค์” หมายถึงจำนวนสิ่งท่ีควรแสวงหาหรือควรละเว้น ซึ่งในโคลง
แต่ละบทจะมีอยู่ ๓ สิ่ง
...............๕ สามส่ิงควรรัก ได้แก่ ความกล้า ความสุภาพ และความรักใคร่ สามสง่ิ ควรชม ไดแ้ ก่ อำนาจ
เกียรตยิ ศ และ มมี ารยาทดี
...............๖ โคลงสุภาษติ นฤทุมนาการมบี ทนำ ๑ บท เนอื้ เร่อื ง 4 บท และบทสรุป ๑ บท
.............. ๗ ช่อื ว่า ทศนฤทุมนาการ หมายถึง “กจิ ๑๐ ประการทผี่ ปู้ ระพฤตยิ ังไม่เคยเสยี ใจ”
...............๘ โคลงสุภาษิตนฤทุมนาการ เป็นข้อแนะนำทั้งทางด้านมโนกรรม (การคิด) วจีกรรม (การพูด)
และกายกรรม (การกระทำ) ซ่ึงครอบคลุมและเหมาะสมที่จะเป็นเกราะป้องกันผู้ประพฤติมิให้ต้องเสียใจ
เพราะส่งิ ทีต่ นคิด พูด และกระทำ
............... ๙ พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ได้ทรงพระราชนิพนธ์แปลนิทานอิสปไว้ ๒๔ เรื่อง
และทรงพระราชนิพนธ์โคลงสุภาษิตประกอบนิทาทนร่วมกับกวีอีก ๓ ท่าน โคลงสุภาษิตดังกล่าวรวมเรียกว่า
โคลงสภุ าษิตอศิ ปปกรณำ
............... ๑๐ อิศป หรือ อีสป (Aesop) เป็นชื่อนักโทษชาวกรีก เล่ากันว่า อีสปเป็นทาสผู้มีร่างกายพิกล
พิการ แต่ชาญฉลาด มกั ยกนิทานขึน้ มาเลา่ เพ่อื เปรยี บเปรย หรอื เตือนสตใิ ห้ผู้อื่นได้คิด
เฉลยทดสอบก่อนเรียน-หลงั เรียน
คำชี้แจง ให้นักเรียนเขียนเครื่องหมายถูกหน้าข้อความท่ีนักเรียนคิดว่าถูกต้อง และ เขียนเครื่องหมายผิด
หน้าขอ้ ท่ีนกั เรยี นคดิ วา่ ผดิ
...............๑ ผู้ที่ประสบความสำเร็จมักจะมีหลักธรรมประจำใจเพื่อเป็นแนวทางในการดำเนินชีวิต
แนวทางต่าง ๆ เปน็ ข้อคดิ ท่ีนกั ปราชญแ์ ตโ่ บราณได้รวบรวมไว้ ดงั ปรากฏในโคลงสภุ าษิตโสฬสไตรยางค์
............... ๒ โคลงสุภาษิตโสฬสไตรยางค์ เดิมเป็นสุภาษิตภาษาอังกฤษ พระบาทสมเด็จพระ
จุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงพระกรุณาโปรดเกล้าโปรดกระหม่อมให้กวีในราชสำนักแปลและประพันธ์เป็นโคลง
ภาษาไทย
...............๓ โคลงสุภาษิตโสฬสไตรยางค์เป็นโคลงส่ีสุภาพ ซ่ึงมีบทนำ ๑ บท เน้ือเร่ือง ๑๖ บท และ
บทสรปุ ๑ บท บอกจำนวนสุภาษติ ว่ามี ๑๖ หมวด หมวดละ ๓ ข้อ รวมเป็น ๔๘ ขอ้
...............๔ ในพระราชนิพนธ์นี้ “ไตรยางค์” หมายถึงจำนวนส่ิงท่ีควรแสวงหาหรือควรละเว้น ซึ่งใน
โคลงแต่ละบทจะมีอยู่ ๓ สง่ิ
...............๕ สามสิ่งควรรัก ได้แก่ ความกล้า ความสุภาพ และความรักใคร่ สามสิ่งควรชม ได้แก่
อำนาจ เกยี รตยิ ศ และ มมี ารยาทดี
...............๖ โคลงสุภาษิตนฤทุมนาการมีบทนำ ๑ บท เนอื้ เรอ่ื ง 4 บท และบทสรปุ ๑ บท
............... ๗ ช่อื ว่า ทศนฤทุมนาการ หมายถงึ “กิจ ๑๐ ประการท่ีผู้ประพฤตยิ งั ไมเ่ คยเสยี ใจ”
...............๘ โคลงสุภาษิตนฤทุมนาการ เปน็ ข้อแนะนำทั้งทางด้านมโนกรรม (การคิด) วจกี รรม (การพูด)
และกายกรรม (การกระทำ) ซ่ึงครอบคลุมและเหมาะสมที่จะเป็นเกราะป้องกันผู้ประพฤติมิให้ต้องเสียใจ
เพราะสิง่ ทต่ี นคิด พดู และกระทำ
............... ๙ พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ได้ทรงพระราชนิพนธ์แปลนิทานอิสปไว้ ๒๔ เรื่อง
และทรงพระราชนิพนธ์โคลงสุภาษิตประกอบนิทาทนร่วมกับกวีอีก ๓ ท่าน โคลงสุภาษิตดังกล่าวรวมเรียกว่า
โคลงสภุ าษติ อิศปปกรณำ
............... ๑๐ อิศป หรือ อีสป (Aesop) เป็นช่ือนักโทษชาวกรกี เลา่ กนั วา่ อสี ปเปน็ ทาสผู้มีรา่ งกายพกิ ล
พิการ แตช่ าญฉลาด มักยกนทิ านขน้ึ มาเลา่ เพอ่ื เปรยี บเปรย หรือเตือนสตใิ ห้ผ้อู นื่ ไดค้ ิด
แผนการจดั การเรียนรู้ท่ี 2.๒
กล่มุ สาระการเรียนรู้ภาษาไทย ชั้นมัธยมศกึ ษาปที ี่ ๒
หนว่ ยท่ี 2 โคลงสภุ าษติ เวลา ๗ ชวั่ โมง
เร่ือง อา่ นคิดวเิ คราะห์เรือ่ ง เวลา ๑ ช่วั โมง
ใช้สอนวนั ที่ ....................................................................................................................
.
มาตรฐานที่ ท ๑.๑ ใช้กระบวนการอ่านสร้างความรแู้ ละความคิด เพ่ือนำไปใชต้ ัดสนิ ใจ
มาตรฐานที่ ท ๓.๑
แก้ปญั หาในการดำเนนิ ชวี ติ และมนี ิสัยรกั การอ่าน
สามารถเลือกฟังและดู อยา่ งมีวิจารณญาณ และพูดแสดงความรู้
ความคดิ ความรสู้ ึกในโอกาสตา่ งๆ อยา่ งมวี ิจารณญาณและสร้างสรรค์
ตวั ช้ีวัด
ท ๑.๑ ม.๒/๒ จับใจความสำคญั สรุปความและอธบิ ายรายละเอยี ด จากเร่ืองทอ่ี า่ น
ท ๑.๑ ม.๒/๘ มีมารยาทในการอ่าน
ท ๓.๑ ม.๒/๕ พูดรายงานเรื่อง หรอื ประเดน็ ที่ศึกษาค้นควา้
สาระการเรยี นรู้แกนกลาง
ตวั ชีว้ ัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง/ท้องถนิ่
ความรู้ (K) ทักษะ/กระบวนการ (P) คณุ ลักษณะ (A)
ท ๑.๑ ม.๒/๒ จับใจความ - หลกั การอ่าน - ฝกึ ทกั ษะการอา่ นจับ - อ่านจบั ใจความและ
สำคญั สรปุ ความและ จบั ใจความและ ใจความและสรปุ ความ สรุปความไดถ้ ูกต้อง
อธิบายรายละเอยี ด จาก สรุปความ
เรอื่ งท่ีอา่ น
ท ๑.๑ ม.๒/๘ มีมารยาท - หลกั การอ่าน - ฝกึ อ่านทัง้ ร้อยแก้ว - มีมารยาทใน
ในการอ่าน และรอ้ ยกรอง การอ่าน
ท ๓.๑ ม.๒/๕ พูด หลกั การพูดรายงาน ฝึกพดู รายงานจาก -มมี ารยาทในการพูด
รายงานเรื่อง หรือประเด็น การคน้ คว้า
ที่ศึกษาค้นควา้
สาระสำคญั
การอา่ นวเิ คราะหเ์ น้ือหาจากบทเรียน เปน็ การเพ่ือจับใจความสำคัญแลว้ แสดงความคดิ เห็นเชงิ
วิเคราะห์และประเมนิ คา่ เป็นพ้นื ฐานทจ่ี ำเปน็ ในการศึกษาหาความรู้ จงึ ควรฝึกฝนให้เกิดความชำนาญ จน
สามารถวเิ คราะห์และแสดงความคิดเห็น ในงานเขยี นทุกประเภทได้
สาระการเรยี นรู้
การอา่ นบทวเิ คราะหจ์ ากบทเรยี นเร่ือง “โคลงสภุ าษิต พระราชนพิ นธ์พระบาทสมเด็จพระ
จุลจอมเกล้าเจา้ อย่หู วั ” แลว้ แสดงความคิดเหน็ เชิงวิเคราะหแ์ ละประเมนิ ค่า
กระบวนการจัดการเรยี นรู้
๑. ครูและนกั เรยี นสนทนาทบทวนบทเรยี นจากชว่ั โมงทีผ่ ่านมา
๒. แบ่งนกั เรยี นออกเปน็ กลุ่ม ๖ กลมุ่ (สมาชกิ ตามความเหมาะสม) แล้วให้แต่ละกลุ่ม
อ่านบทวเิ คราะห์ ดังนี้
กลุม่ ที่ ๑ โคลงสภุ าษติ โสฬสไตรยางค์
กล่มุ ที่ ๒ โคลงสภุ าษิตนฤทุมนาการ
กลมุ่ ที่ ๓ โคลงสุภาษิตอศี ปปกรณำ เรื่อง “ราชสหี ก์ บั หนู”
กลุ่มท่ี ๔ โคลงสุภาษติ อีศปปกรณำ เรื่อง “บดิ ากับบตุ รท้ังหลาย”
กลุ่มท่ี ๕ โคลงสภุ าษิตอีศปปกรณำ เร่ือง “สุนัขปา่ กับลูกแกะ”
กลุ่มท่ี ๖ โคลงสุภาษติ อศี ปปกรณำ เรื่อง “กระตา่ ยกบั เตา่ ”
แลว้ ใหน้ กั เรียนแต่ละกลุ่มสรุปใจความสำคญั และแสดงความคิดเห็นเชิงวเิ คราะห์จากเรื่อง “โคลง
สุภาษิต พระราชนพิ นธ์พระบาทสมเดจ็ พระจลุ จอมเกลา้ เจ้าอยูห่ ัว”
๓. ใหแ้ ต่ละกลุ่มออกมานำเสนอผลของการระดมสมองใหเ้ พื่อนฟัง โดยใช้วิธีจบั ฉลาก เมอ่ื
เสนอดว้ ยการพูดจบแลว้ ใหท้ ุกกลมุ่ ส่งรายงานที่ครู
๔. นำสิง่ ที่เหมอื นกัน และแตกต่างกนั ของแตล่ ะกล่มุ มาแสดงใหน้ ักเรยี นเห็นถึงความ
หลากหลายของความคิด ซึง่ ขึน้ อยู่กับเหตผุ ล
๕. ใหน้ ักเรยี นทำบตั รกิจกรรมการเรียนรู้เร่ือง “โคลงสภุ าษิต พระราชนพิ นธ์พระบาทสมเดจ็
พระจลุ จอมเกลา้ เจ้าอย่หู วั ” เสร็จแลว้ สง่ ใหค้ รตู รวจ
๖. ครูและนกั เรียนช่วยกันสรุปบทเรยี น
๗. มอบหมายให้นักเรียนไปทำแบบฝึกหัดเปน็ การบ้านและอ่านหนงั สอื เพ่ิมเติมเปน็ การบ้าน
สอ่ื / แหล่งเรยี นรู้
ลำดบั ที่ รายการส่ือ กิจกรรมท่ีใช้ แหล่งทไ่ี ด้มา
๑ นักเรียนทำบัตรกจิ กรรม ครูจัดทำ
๒ บัตรกจิ กรรมการเรยี นรู้ นักเรียนดภู าพและฝึกอ่าน ครูจัดหา
๓ หนงั สือเรียน ชุด วรรณคดี ตรวจสอบ ครูจัดทำ
วิจกั ษ์ ชน้ั ม.๒
เฉลยบัตรกิจกรรมการเรียนรู้ ครูจดั ทำ
๔ แบบประเมนิ การสงั เกต บนั ทกึ การสังเกตพฤติกรรม
พฤติกรรม
การวดั ผลและประเมนิ ผล
กิจกรรม-พฤติกรรมท่ี เครื่องมอื ท่ใี ช้ใน วิธกี ารประเมิน เกณฑ์การประเมนิ
ประเมิน การประเมิน
๑. นักเรยี นทำกจิ กรรมกลมุ่
๒. นักเรยี นทำบตั รกจิ กรรม แบบประเมนิ รายกลุ่ม สังเกตรายกลุม่ ร้อยละ ๗๐ ขึ้นไป
การเรยี นรู้
แบบประเมนิ การสงั เกต ตรวจงานรายบคุ คล ร้อยละ ๗๐ ขน้ึ ไป
๓. ประเมนิ พฤติกรรมและ
ผลงานระหว่างเรยี น พฤติกรรม และแบบ
ประเมินผลงาน
แบบประเมินพฤติกรรมและ ตรวจงานรายกลมุ่ ร้อยละ ๗๐ ขึ้นไป
ผลงานระหว่างเรยี น
กิจกรรมเสนอแนะ
............................................................................................................................. ...................................
................................................................................................................................................................
............................................................................................................................. ..........................
บันทึกผลหลงั การจดั การเรียนรู้
๑. ผลการจัดการเรยี นรูต้ ามผลการเรยี นรู้ทีค่ าดหวัง
นกั เรียนทงั้ หมด ....................คน
– ผ่านเกณฑ์การประเมินระดับดี ............ คน คิดเป็นรอ้ ยละ ...............
– ผา่ นเกณฑ์การประเมินระดับปานกลาง – คน คิดเป็นร้อยละ .................
– ไมผ่ า่ นเกณฑก์ ารประเมินระดับปรับปรุง – คน คดิ เป็นร้อยละ ...............
๒. ผลการประเมนิ พฤติกรรมระหวา่ งเรียน
............................................................................................................................. ...........................
............................................................................................................................. .................................................
..............................................................................................................................................................................
.........................................................................................................................
๓. ปัญหาและอุปสรรคระหว่างการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน
............................................................................................................................. ...........................
....................................................................................................................................................
๔. การปรบั ปรุงแก้ไข
............................................................................................................................. ..............
............................................................................................................................. ....................................
๕. ขอ้ คิดเห็นและข้อเสนอแนะเพิม่ เติม
........................................................................................................................................................
............................................................................................................................. .......................
ลงชื่อ..........................................................ผสู้ อน
(นางสาวรัตนา มากอำไพ )
ครผู ชู้ ว่ ย
ความเหน็ ของผู้อำนวยการโรงเรยี น
................................................................................................................................................. .......
............................................................................................................................ ..................................................
............................................................................................................................. .................................................
............................................................................................................................................................. .................
.................................................................................................................. ............................................................
............................................................................................
ลงชอ่ื .................................................ผ้ตู รวจสอบ
( นายพิเชษฐ์ ทบั ทอง )
ผอู้ ำนวยการโรงเรียนครนพทิ ยาคม
บัตรกจิ กรรมการเรียนรู้ท่ี ๑
ใหน้ กั เรยี นพจิ ารณาโคลงสุภาษิตต่อไปน้ี แล้วตอบคำถาม
โคลงท่ปี ระทับใจ
เพราะทาความดีทวั่ ไป
ทาดีไป่ เลือกเวน้ ผใู้ ด ใดเฮย
แต่ผกู ไมตรีไป รอบขา้ ง
ทาคณุ อดุ หนุนใน การชอบ ธรรมนา
ไร้ศตั รูปองมลา้ ง กลบั ซอ้ งสรรเสริญ
๑.๑ ประทับใจเพราะเหตใุ ด จงบอกเหตุผล
……………………………………………………………………………………………………….
……………………………………………………………………………………………………….
๑.๒ บอกสำนวน สภุ าษิต หรอื คำพังเพย ท่ีมีความหมายสัมพันธ์กับโคลงที่ประทบั ใจ
……………………………………………………………………………………………………….
……………………………………………………………………………………………………….
๑.๓ ถอดคำประพันธ์ และเรียบเรียงถ้อยคำสำนวนให้สละสลวยดว้ ยสำนวนของนกั เรยี นเอง
……………………………………………………………………………………………………….
……………………………………………………………………………………………………….
บตั รกจิ กรรมการเรียนรู้ท่ี ๒
ความรู้คู่เปรียบด้วย กาลงั กายแฮ
สุจริตคือเกราะบงั ศาสตร์พ้อง
อาวุธ
ปัญญาประดุจดงั อาจแกล้วกลางสนาม
กุมสติต่างโล่ป้อง
๑. ให้นักเรียนถอดคำประพันธม์ าพอเขา้ ใจ
……………………………………………………………………………………………………….
……………………………………………………………………………………………………….
……………………………………………………………………………………………………….
……………………………………………………………………………………………………….
……………………………………………………………………………………………………….
……………………………………………………………………………………………………….
๒. นกั เรยี นคดิ ว่าบทประพนั ธ์ขา้ งต้นนีบ้ รรยายเก่ยี วกบั อะไรบา้ ง และส่ิงทบี่ รรยาย
ใหข้ ้อคดิ คตเิ ตือนใจอย่างไรบ้าง
……………………………………………………………………………………………………….
……………………………………………………………………………………………………….
……………………………………………………………………………………………………….
……………………………………………………………………………………………………….
……………………………………………………………………………………………………….
……………………………………………………………………………………………………….
……………………………………………………………………………………………………….
……………………………………………………………………………………………………….
บตั รกจิ กรรมการเรียนรู้ที่ ๑
ใหน้ กั เรยี นพิจารณาโคลงสุภาษติ ตอ่ ไปน้ี แล้วตอบคำถาม
โคลงท่ีประทบั ใจ
เพราะทาความดีทวั่ ไป
ทาดีไป่ เลือกเวน้ ผใู้ ด ใดเฮย
แต่ผกู ไมตรีไป รอบขา้ ง
ทาคุณอุดหนุนใน การชอบ ธรรมนา
ไร้ศตั รูปองมลา้ ง กลบั ซอ้ งสรรเสริญ
๑.๑ ประทับใจเพราะเหตใุ ด จงบอกเหตุผล
“การทำความดี” คำส้นั ๆ แตม่ ีความหมายกว้างครอบคลุมท้ัง กาย วาจา ใจ ใครทีส่ ามารถ
ประพฤตปิ ฏิบตั ไิ ด้ชีวติ จะมีแต่ความสขุ ความเจรญิ มีแตค่ นรักใคร่
๑.๒ บอกสำนวน สุภาษิต หรอื คำพงั เพย ท่ีมคี วามหมายสมั พนั ธ์กับโคลงทีป่ ระทับใจ
ทำดไี ด้ดี ทำช่ัวได้ช่ัว.........................................................................................................................
๑.๓ ถอดคำประพันธ์ และเรียบเรยี งถ้อยคำสำนวนให้สละสลวยด้วยสำนวนของนกั เรียนเอง
การทำความดี ควรทำกบั บุคคลท่ัวไปเสมอกัน รู้จักผูกไมตรกี ับคนรอบขา้ ง ทำแตส่ ง่ิ ท่ีถูกต้องตาม
หลักคณุ ธรรม กจ็ ะมีแต่ผู้แซ่ซ้องสรรเสรญิ ไม่มีศัตรูปองร้าย……………………………………………….
(เฉลยตามความคิดเหน็ ของนักเรียน และอยู่ในดุลยพินิจของครผู ู้สอน) ..........................................................
บตั รกจิ กรรมการเรียนรู้ที่ ๒
๑. ใหน้ กั เรียนถอดคำประพนั ธ์มาพอเข้าใจ
(อย่ใู นดุลพินิจของครู )
๒. นักเรียนคิดว่าบทประพนั ธ์ขา้ งต้นนบี้ รรยายเกย่ี วกับอะไรบ้าง และสิง่ ท่บี รรยายให้ขอ้ คิดคตเิ ตือนใจอยา่ งไร
บ้าง
(อยู่ในดุลพนิ จิ ของครู )
แผนการจดั การเรียนรู้ที่ 2.๓
กลมุ่ สาระการเรยี นรูภ้ าษาไทย ช้นั มธั ยมศึกษาปที ่ี ๒
หนว่ ยท่ี 2 โคลงสุภาษติ เวลา ๗ ชว่ั โมง
เรอื่ ง อา่ นคิดวเิ คราะห์เร่ืองราว เวลา ๑ ช่วั โมง
ใชส้ อนวันที่ ....................................................................................................................
.
มาตรฐานที่ ท ๑.๑ ใช้กระบวนการอา่ นสรา้ งความรแู้ ละความคิด เพ่ือนำไปใชต้ ัดสนิ ใจแก้ปญั หา
มาตรฐานที่ ท ๒.๑ ในการดำเนนิ ชวี ิตและมนี ิสัยรกั การอ่าน
มาตรฐานท่ี ท ๔.๑ ใช้กระบวนการเขียนเขยี นส่ือสาร เขียนเรยี งความ ยอ่ ความ และเขียนเร่อื งราวในรูปแบบ
ต่างๆ เขียนรายงานข้อมลู สารสนเทศและรายงานการศกึ ษาค้นควา้ อย่างมีประสิทธภิ าพ
เข้าใจธรรมชาตขิ องภาษาและหลกั ภาษาไทย การเปลีย่ นแปลงของภาษาและพลงั
ของภาษา ภูมิปัญญาทางภาษาและรักษาภาษาไทยไว้เป็นสมบัติของชาติ
ตัวชว้ี ัด
ท ๑.๑ ม.๒/๑ อ่านออกเสียงบทร้อยแก้วและบทร้อยกรองได้ถูกตอ้ ง
ท ๒.๑ ม.๒/๗ เขยี นวเิ คราะห์ วจิ ารณแ์ ละแสดงความรู้ความคิดเหน็ หรือโต้แย้งในเรื่องท่ีอา่ นอยา่ งมี
เหตผุ ล
ท ๔.๑ ม.๒/๔ ใช้คำราชาศพั ท์
สาระการเรยี นรแู้ กนกลาง
สาระการเรียนรู้แกนกลาง/ทอ้ งถิ่น
ตวั ช้ีวดั ความรู้ (K) ทกั ษะ/กระบวนการ คุณลกั ษณะ (A)
(P)
ท ๑.๑ ม.๒/๑ อา่ นออกเสยี งบท - หลกั การอา่ นออก - ฝึกทกั ษะการอ่านออก -มมี ารยาทในการอ่าน
รอ้ ยแกว้ และบทร้อยกรองได้ เสยี งร้อยแก้วและ เสียงร้อยแกว้ และร้อย -อา่ นได้ถกู ต้องชัดเจน
ถกู ต้อง ร้อยกรอง กรอง ตามหลกั การอ่าน
ท ๒.๑ ม.๒/๗ เขียนวเิ คราะห์ - หลักการเขียน - ฝึกเขยี นวิเคราะห์ - เขียนถกู ต้อง
วจิ ารณ์ แสดง สวยงาม
วจิ ารณ์และแสดงความรูค้ วาม วเิ คราะห์ วจิ ารณ์ ความคดิ เห็นหรือ
โต้แยง้ - มีมารยาทใน
คดิ เห็นหรอื โตแ้ ยง้ และแสดงความ การเขยี น
ฝกึ ใชค้ ำราชาศัพท์
ในเร่อื งท่ีอา่ นอยา่ งมีเหตุผล คดิ เห็นหรือโต้แย้ง - ใช้คำราชาศพั ท์ได้
ท ๔.๑ ม.๒/๔ ใช้คำราชาศพั ท์ การใช้คำราชาศัพท์
ถกู ต้องเหมาะสม ตาม
ระดบั ของบคุ คล
สาระสำคัญ
การอ่านเพื่อจับใจความสำคัญ เป็นพนื้ ฐานที่จำเป็นในการศึกษาหาความรู้ จึงควรฝึกฝนใหเ้ กดิ ความ
ชำนาญจนสามารถจับใจความสำคญั ในงานเขยี นทุกประเภท
สาระการเรียนรู้
การอ่านบทวเิ คราะห์จากบทเรยี นเรื่อง “โคลงสภุ าษิต พระราชนิพนธ์พระบาทสมเดจ็ พระ
จุลจอมเกล้าเจ้าอยหู่ ัว” แสดงความคิดเห็นเชิงวิเคราะหแ์ ละประเมินค่า
กระบวนการจดั การเรยี นรู้
๑. ครูและนกั เรียนสนทนาทบทวนบทเรยี นจากชวั่ โมงที่ผา่ นมาโดยการถามความหมายจากบัตร
คำ
๒. แบง่ นกั เรียนออกเปน็ กล่มุ ๖ กล่มุ (สมาชิกของกลุม่ ตามความเหมาะสม) แลว้ ใหแ้ ตล่ ะ
กลมุ่ อ่านในใจ ดังน้ี
กลุ่มที่ ๑ โคลงสภุ าษติ โสฬสไตรยางค์
กล่มุ ท่ี ๒ โคลงสุภาษิตนฤทุมนาการ
กลมุ่ ท่ี ๓ โคลงสุภาษติ อศี ปปกรณำ เร่ือง “ราชสหี ์กับหน”ู
กลุ่มที่ ๔ โคลงสุภาษิตอศี ปปกรณำ เร่ือง “บดิ ากบั บตุ รท้ังหลาย”
กลุ่มที่ ๕ โคลงสุภาษติ อีศปปกรณำ เร่ือง “สุนขั ปา่ กบั ลูกแกะ”
กลุ่มที่ ๖ โคลงสุภาษติ อีศปปกรณำ เร่ือง “กระต่ายกบั เตา่ ”
แล้วใหน้ กั เรยี นแตล่ ะกลุ่มสรุปใจความสำคญั และแสดงความคิดเหน็ จากเร่ือง “โคลงสภุ าษิต พระราชนิพนธ์
พระบาทสมเด็จพระจลุ จอมเกล้าเจา้ อยู่หวั ”
๓. ใหแ้ ต่ละกลุ่มออกมานำเสนอผลของการระดมสมองให้เพ่ือนฟงั โดยใช้วธิ ีจับฉลาก เมือ่
เสนอด้วยการพูดจบแล้ว ใหท้ ุกกลุม่ สง่ รายงานที่ครู
๔. นำสง่ิ ท่เี หมอื นกัน และแตกตา่ งกนั ของแตล่ ะกล่มุ มาแสดงใหน้ ักเรียนเห็นถึงความ
หลากหลายของความคิด ซ่งึ ขึน้ อยู่กับเหตุผล
๕. ใหน้ ักเรียนทำบตั รกิจกรรมการเรยี นรู้ เสรจ็ แล้วสง่ ใหค้ รูตรวจ
๖. ครูและนกั เรยี นช่วยกันสรปุ บทเรยี น
๘. มอบหมายใหน้ ักเรยี นไปอา่ นหนังสอื หรือศึกษาค้นควา้ เพม่ิ เติม เรอื่ งโคลงสภุ าษิต พระราช
นพิ นธพ์ ระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลา้ เจา้ อยหู่ วั เป็นการบ้าน
สอ่ื / แหล่งเรยี นรู้
ลำดบั ท่ี รายการส่ือ กิจกรรมทใี่ ช้ แหล่งทไ่ี ด้มา
๑ นักเรียนทำบัตรกิจกรรม ครูจัดทำ
๒ บตั รคำ นกั เรียนทำบตั รกจิ กรรม ครูจดั ทำ
๓ นกั เรียนดูภาพและฝึกอา่ น ครูจัดหา
บตั รกจิ กรรมการเรียนรู้
๔ ตรวจสอบ ครจู ัดทำ
๕ หนังสอื เรียน ชดุ วรรณคดี บันทกึ การสงั เกตพฤติกรรม ครจู ดั ทำ
วิจกั ษ์ ช้นั ม.๒
เฉลยบัตรกจิ กรรมการเรยี นรู้
แบบประเมนิ การสังเกต
พฤติกรรม
การวัดผลและประเมนิ ผล
กจิ กรรม-พฤติกรรมท่ี เครือ่ งมอื ท่ีใช้ใน วธิ ีการประเมนิ เกณฑ์การประเมิน
ประเมิน การประเมนิ
๑. นักเรยี นนำเสนอ
๒. นักเรียนทำบัตรกจิ กรรม แบบประเมนิ รายกลมุ่ สงั เกตรายกลุ่ม รอ้ ยละ ๗๐ ข้นึ ไป
การเรียนรู้
แบบประเมินการสังเกต ตรวจงานรายบุคคล รอ้ ยละ ๗๐ ข้นึ ไป
๓. ประเมินพฤติกรรมและ
ผลงานระหวา่ งเรยี น พฤติกรรม และแบบ
ประเมนิ ผลงาน
แบบประเมนิ พฤตกิ รรมและ ตรวจงานรายกล่มุ ร้อยละ ๗๐ ข้ึนไป
ผลงานระหวา่ งเรยี น
กจิ กรรมเสนอแนะ
............................................................................................................................. ...................................
............................................................................................................................. ...................................
.................................................................................. .....................................................................
บนั ทกึ ผลหลังการจัดการเรยี นรู้
๑. ผลการจดั การเรยี นรูต้ ามผลการเรยี นรู้ท่ีคาดหวัง
นกั เรียนทั้งหมด ....................คน
– ผา่ นเกณฑ์การประเมินระดับดี ............ คน คดิ เปน็ รอ้ ยละ ...............
– ผ่านเกณฑ์การประเมินระดับปานกลาง – คน คดิ เปน็ ร้อยละ .................
– ไมผ่ ่านเกณฑ์การประเมนิ ระดับปรับปรงุ – คน คิดเปน็ ร้อยละ ...............
๒. ผลการประเมนิ พฤตกิ รรมระหว่างเรยี น
......................................................................................................... ...............................................
............................................................................................................................. .................................................
................................................................................................................................................................ ..............
..................................................................................................................... ....
๓. ปญั หาและอุปสรรคระหวา่ งการจัดกจิ กรรมการเรียนการสอน
............................................................................................................................. ...........................
....................................................................................................................................................
๔. การปรับปรุงแกไ้ ข
............................................................................................................................. ..............
............................................................................................................................. ....................................
๕. ขอ้ คดิ เหน็ และข้อเสนอแนะเพิ่มเติม
........................................................................................................................................................
............................................................................................................................. .......................
ลงชื่อ..........................................................ผูส้ อน
( นางสาวรตั นา มากอำไพ)
ครผู ชู้ ่วย
ความเห็นของผู้อำนวยการโรงเรยี น
............................................................................................................................................... .........
.......................................................................................................................... ....................................................
............................................................................................................................. .................................................
........................................................................................................................................................... ...................
................................................................................................................ ..............................................................
............................................................................................
ลงชื่อ.................................................ผู้ตรวจสอบ
( นายพเิ ชษฐ์ ทับทอง )
ผ้อู ำนวยการโรงเรยี นครนพิทยาคม
บตั รกจิ กรรมการเรียนรู้
ใหน้ กั เรียนเปรยี บเทียบความหมายของโคลงสุภาษติ นฤทุมนาการ กบั สภุ าษิตและสำนวนท่กี ำหนดโดย
เขียนโคลงใหส้ มั พนั ธ์กับสุภาษติ สำนวนท่ีใหม้ า
๑. หูเบา ๒. ทาดีไดด้ ี
…………………………………………… ………………………………………………
…………………………………………… ………………………………………………
…………………………………………… ………………………………………………
…………………………………………… ………………………………………………
…………………………………………… ………………………………………………
๓. พดู ไปสองไพเบ้ีย น่ิงเสียตาลึงทอง
……………………………………………
……………………………………………
……………………………………………
……………………………………………
……………………………………………
๔. ใหท้ า่ นท่านจกั ใหต้ อบสนอง
……………………………………………
……………………………………………
……………………………………………
……………………………………………
……………………………………………
๕. กระตา่ ยต่ืนตมู
……………………………………………
……………………………………………
……………………………………………
……………………………………………
……………………………………………
เฉลยบตั รกจิ กรรมการเรียนรู้
ใหน้ ักเรียนเปรียบเทยี บความหมายของโคลงสุภาษติ นฤทมุ นาการ กับสภุ าษิตและสำนวนทก่ี ำหนดโดย
เขยี นโคลงใหส้ ัมพันธก์ บั สุภาษิต สำนวนท่ใี หม้ า
๑. หูเบา
เพราะถามฟังความก่อนตดั สิน
ยนิ คดีมีเรื่องนอ้ ย ใหญไ่ ฉน ก็ดี
ยงั บล่ งเห็นไป เด็ดดว้ น
ฟังตอบขอบคาไข คิดใคร่ ครวญนา ๒. ทาดีไดด้ ี
ห่อนตดั สินหว้ นหว้ น เหตดุ ว้ ยเบาความ เพราะความดีทว่ั ไป
ทาดีไป่ เลือกเวน้ ผใู้ ด ใดเฮย
แตผ่ กู ไมตรีไป รอบขา้ ง
ทาคุณอดุ หนุนใน การชอบ ธรรมนา
ไร้ศตั รูปองมลา้ ง กลบั ซอ้ งสรรเสริญ
๓. พดู ไปสองไพเบ้ีย น่ิงเสียตาลึงทอง
เพราะอดพูดในเวลาโกรธ
สามารถอาจหา้ มงด วาจา ตนเฮย
ปางเมื่อยงั โกรธ ข่นุ แคน้
หยดุ คิดพิจารณา แพช้ นะ ก่อนนา
ชอบผิดคิดเห็นแมน้ ไม่ย้งั เสียความ
๔. ใหท้ า่ นทา่ นจกั ให้ตอบสนอง
เพราะไดก้ รุณาตอ่ คนท่ีถึงอบั จน
กรุณานรชาติผู้ พอ้ งภยั พบิ ตั ิเฮย
ช่วยรอดปลอดความกษยั สวา่ งร้อน
ผลจกั เพ่มิ พูนใน อนาคต กาลแฮ
ชนจกั ชูช่ือชอ้ น ป่ าง เบ้ืองปัจจุบนั
๕. กระตา่ ยตื่นตูม
เพราะไม่หลงเช่ือวา่ ร้าย
อีกหน่ึงไป่ เช่ือถอ้ ย คาคน ถือแฮ
บอกเล่าข่าวเหตุผล เร่ืองร้าย
สืบสวนประกอบจน แจ่มเทจ็ จริงนา
ยงั บด่ ่วนยกั ยา้ ย ต่ืนเตน้ ก่อนกาล
แผนการจดั การเรียนรทู้ ี่ 2.๔
กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ชั้นมัธยมศึกษาปที ี่ ๒
หน่วยท่ี 2 โคลงสุภาษติ เวลา ๗ ชวั่ โมง
เรื่อง อา่ นคลอ่ งเขียนถูก เวลา ๑
ชว่ั โมง
ใชส้ อนวนั ท่ี ....................................................................................................................
.
มาตรฐานที่ ท ๑.๑ ใช้กระบวนการอ่านสร้างความรแู้ ละความคิด เพ่ือนำไปใชต้ ดั สินใจแก้ปัญหา
มาตรฐานท่ี ท ๒.๑ ในการดำเนนิ ชวี ิตและมนี สิ ัยรกั การอา่ น
มาตรฐานที่ ท ๔.๑ ใชก้ ระบวนการเขียนเขยี นสื่อสาร เขียนเรียงความ ย่อความ และเขียนเรอ่ื งราวในรูปแบบ
ตา่ งๆ เขียนรายงานข้อมูลสารสนเทศและรายงานการศกึ ษาคน้ ควา้ อยา่ งมปี ระสิทธิภาพ
เขา้ ใจธรรมชาตขิ องภาษาและหลักภาษาไทย การเปลยี่ นแปลงของภาษาและพลงั
ของภาษา ภูมิปญั ญาทางภาษาและรักษาภาษาไทยไวเ้ ป็นสมบตั ิของชาติ
ตวั ช้ีวดั
ท ๑.๑ ม.๒/๑ อา่ นออกเสียงบทรอ้ ยแก้วและบทร้อยกรองไดถ้ ูกต้อง
ท ๒.๑ ม.๒/๗ เขียนวเิ คราะห์ วิจารณแ์ ละแสดงความรู้ความคิดเห็นหรือโต้แย้งในเร่ืองท่ีอ่านอย่างมี
เหตุผล
ท ๔.๑ ม.๒/๔ ใชค้ ำราชาศัพท์
สาระการเรียนรแู้ กนกลาง
สาระการเรียนรูแ้ กนกลาง/ท้องถ่นิ
ตัวช้วี ัด ความรู้ (K) ทกั ษะ/กระบวนการ คุณลกั ษณะ (A)
(P)
ท ๑.๑ ม.๒/๑ อา่ นออกเสยี งบท - หลกั การอา่ นออก - ฝกึ ทกั ษะการอ่านออก -มีมารยาทในการอ่าน
ร้อยแก้วและบทร้อยกรองได้ เสยี งร้อยแก้วและ เสียงรอ้ ยแกว้ และรอ้ ย -อ่านได้ถูกต้องชัดเจน
ถูกต้อง รอ้ ยกรอง กรอง ตามหลักการอา่ น
ท ๒.๑ ม.๒/๗ เขียนวเิ คราะห์ - หลักการเขียน - ฝกึ เขียนวเิ คราะห์ - เขยี นถกู ต้อง
วิจารณ์และแสดงความรู้ความ วเิ คราะห์ วจิ ารณ์ วจิ ารณ์ แสดง สวยงาม
คดิ เห็นหรือโตแ้ ย้ง และแสดงความ ความคดิ เห็นหรือ
ในเร่อื งท่ีอ่านอยา่ งมีเหตุผล คดิ เห็นหรอื โต้แยง้ โต้แยง้ - มมี ารยาทใน
การเขียน
ท ๔.๑ ม.๒/๔ ใช้คำราชาศพั ท์ การใช้คำราชาศัพท์ ฝึกใชค้ ำราชาศัพท์ - ใช้คำราชาศัพท์ได้
ถูกต้องเหมาะสม ตาม
ระดบั ของบุคคล
สาระสำคญั
การเรียนร้คู ำ คำยาก ข้อความและสำนวนภาษาไทยในบทเรยี นและนำไปใช้ให้ถูกต้อง ถือเปน็ การ
พฒั นาทักษะทางภาษาทผ่ี เู้ รียนควรไดร้ บั การฝึกฝน เพอ่ื พัฒนาทักษะใหถ้ ูกต้อง จึงจะทำให้การเรียนรู้ภาษา
เปน็ ไปดว้ ยดีและเกิดการพฒั นาตามมา
สาระการเรยี นรู้
๑. อ่าน และเขยี นคำ คำยาก ขอ้ ความ และสำนวนในบทเรียน
๒. การนำคำ คำยาก ขอ้ ความและสำนวนภาษาในบทเรียนไปใช้ใหเ้ กดิ ประโยชน์
กระบวนการเรียนรู้
๑. นักเรียนเลม่ เกม “การเลือกใช้คำแตง่ ประโยค” (ยืดหยุน่ ได้ตามความเหมาะสม)
๒. นกั เรยี นแบ่งกลุ่มออกเปน็ กลุ่มตามความสมัครใจ (ตามความเหมาะสม)
๓. นำบัตรคำใหม่และคำยากในบทเรยี น ติดทกี่ ระเป๋าผนังและให้นักเรยี นทุกคนฝึกอา่ น
รว่ มกนั อภิปรายความหมายบันทกึ ลงสมดุ
๔. แจกบัตรคำใหม่คำยากในบทเรยี นใหน้ กั เรยี นแต่ละกล่มุ ได้ศกึ ษาและฝึกอา่ น
๕. นักเรยี นทุกกลมุ่ หาคำใหม่ศัพทจ์ ากหน่วยที่ ๕ แล้วชว่ ยกนั แตง่ ประโยคใหม่ โดยไม่ใหซ้ ำ้
กนั กลมุ่ ละ ๕ คำ แลว้ บันทกึ ลงสมดุ แลว้ ส่งตวั แทนกลมุ่ นำเสนอผลงานหน้าชน้ั เรยี น
๖. ครูและนกั เรยี นร่วมกนั ตรวจผลงานของแตล่ ะกลุ่ม พร้อมท้งั อภปิ รายสรุปการเลือกใช้คำ
ให้ถูกต้องตามความหมาย ปรบมือและกล่าวให้คำชมเชยกลุ่ม ท่แี ตง่ ประโยค ได้ถกู ต้อง
๗. นักเรยี นแข่งขันกนั เขยี นคำ กลุม่ คำ สำนวนภาษา บนกระดานดำกลมุ่ ใดเขยี นได้มาก
เขยี นถูกต้อง เป็นฝ่ายชนะ
๘. มอบหมายให้นักเรยี นทำกิจกรรมนอกเวลา โดยการรวบรวมคำใหม่ในบทเรยี นแลว้
หาความหมายจากพจนานุกรม แลว้ แต่งประโยคแล้วนำผลงานส่งให้ครตู รวจ
๙. ครูและนกั เรียนช่วยกนั สรุปบทเรียน จากการแขง่ ขนั กนั เขยี นคำ และกล่มุ คำ
บนกระดานดำ โดยให้นักเรียนตอบคำถาม ดังน้ี
- นักเรียนรูไ้ หมว่าคำเหลา่ นี้เป็นคำชนดิ ใด
- คำเหล่านี้ทำหน้าที่ในประโยคอะไรได้บ้าง
- คำเหลา่ น้สี ามารถนำไปใช้แต่งประโยคได้อย่างไรบ้าง
- นกั เรยี นคดิ ว่าจะนำคำเหลา่ น้ีไปใช้เปน็ ประโยชนท์ างภาษาไดอ้ ยา่ งไรหรอื ไม่ ฯลฯ
๑๐. นักเรยี นทำบัตรกิจกรรมการเรียนรู้
ส่อื / แหล่งเรยี นรู้
ลำดับท่ี รายการส่อื กิจกรรมทใ่ี ช้ แหลง่ ท่ีไดม้ า
๑ นักเรยี นทำบตั รกิจกรรม ครูจดั ทำ
๒ บัตรคำ นกั เรยี นทำบัตรกิจกรรม ครจู ดั ทำ
๓ นักเรยี นดภู าพและฝึกอ่าน ครจู ัดหา
บตั รกิจกรรมการเรียนรู้
๔ ตรวจสอบ ครูจัดทำ
๕ หนงั สือเรียน ชดุ วรรณคดี บันทกึ การสังเกตพฤติกรรม ครจู ัดทำ
วจิ ักษ์ ชั้น ม.๒
เฉลยบัตรกิจกรรมการเรยี นรู้
แบบประเมนิ การสงั เกต
พฤติกรรม
การวัดผลและประเมนิ ผล
กจิ กรรม-พฤติกรรมท่ี เครอ่ื งมือทใี่ ช้ใน วิธกี ารประเมิน เกณฑก์ ารประเมนิ
ประเมิน การประเมิน
๑. นักเรียนนำเสนอ
๒. นกั เรียนทำบัตรกจิ กรรม แบบประเมนิ รายกลมุ่ สังเกตรายกลุ่ม รอ้ ยละ ๗๐ ข้นึ ไป
การเรยี นรู้
แบบประเมินการสังเกต ตรวจงานรายบคุ คล รอ้ ยละ ๗๐ ขน้ึ ไป
๓. ประเมนิ พฤติกรรมและ
ผลงานระหว่างเรยี น พฤติกรรม และแบบ
ประเมนิ ผลงาน
แบบประเมินพฤตกิ รรมและ ตรวจงานรายกลุม่ รอ้ ยละ ๗๐ ขึ้นไป
ผลงานระหว่างเรยี น
กจิ กรรมเสนอแนะ
............................................................................................................................. ...................................
........................................................................................ ........................................................................
............................................................................................................................. ..........................
บนั ทกึ ผลหลังการจดั การเรยี นรู้
๑. ผลการจัดการเรยี นรตู้ ามผลการเรยี นรทู้ ่ีคาดหวัง
นักเรยี นทั้งหมด ....................คน
– ผ่านเกณฑ์การประเมนิ ระดับดี ............ คน คิดเปน็ ร้อยละ ...............
– ผ่านเกณฑ์การประเมินระดับปานกลาง – คน คิดเป็นร้อยละ .................
– ไม่ผ่านเกณฑก์ ารประเมนิ ระดับปรับปรงุ – คน คดิ เปน็ ร้อยละ ...............
๒. ผลการประเมนิ พฤตกิ รรมระหว่างเรยี น
................................................................................................................. .......................................
............................................................................................................................. .................................................
........................................................................................................................................................................ ......
.........................................................................................................................
๓. ปัญหาและอปุ สรรคระหว่างการจดั กิจกรรมการเรียนการสอน
............................................................................................................................. ...........................
....................................................................................................................................................
๔. การปรบั ปรุงแกไ้ ข
............................................................................................................................. ..............
............................................................................................................................. ....................................
๕. ขอ้ คิดเหน็ และข้อเสนอแนะเพมิ่ เติม
........................................................................................................................................................
............................................................................................................................. .......................
ลงชื่อ..........................................................ผสู้ อน
( นางสาวรัตนา มากอำไพ)
ครูผู้ชว่ ย
ความเห็นของผู้อำนวยการโรงเรียน
................................................................................................................................................. .......
............................................................................................................................ ..................................................
............................................................................................................................. .................................................
............................................................................................................................................................. .................
.................................................................................................................. ............................................................
............................................................................................
ลงช่อื .................................................ผู้ตรวจสอบ
( นายพเิ ชษฐ์ ทับทอง )
ผอู้ ำนวยการโรงเรียนครนพทิ ยาคม
บตั รกจิ กรรมการเรียนรู้
๑. ใหน้ ักเรยี นนำคำทกี่ ำหนดให้เตมิ ลงในชอ่ งวา่ งใหส้ มบูรณพ์ ร้อมแสดงเหตุผล
อกตญั ญู ชวั่ เลวทราม หนา้ เน้ือใจเสือ
ฤษยา ความหยง่ิ กาเริบ เกียจคร้าน
พลนั รักพลนั จืด ความดุร้าย วาจาฟ่ันเฝื อ
๑. หยอกหยาบแลแสลงฤาขอ้ คอ มารยา๒. ยอ
Three Things to Hate Three Things to Despise
……………………………… ………………………………
……………………………… ………………………………
……………………………… ………………………………
……………………………… ………………………………
๓. ……………………………… ๔. ………………………………
Three Things to Suspect Three Things to Avoid
…………………………… ………………………………
…………………………… ………………………………
…………………………… ………………………………
…………………………… ………………………………
…………………………… ………………………………
……………
………………………………………
………………………………………
………………………………………
………………………………………
………………………………………
……………………………………..
เฉลยบัตรกจิ กรรมการเรียนรู้
๑. ให้นักเรยี นนำคำท่กี ำหนดให้เตมิ ลงในชอ่ งว่างใหส้ มบรู ณ์พร้อมแสดงเหตผุ ล
อกตญั ญู ชว่ั เลวทราม หนา้ เน้ือใจเสือ
ฤษยา ความหยง่ิ กาเริบ เกียจคร้าน
พลนั รักพลนั จืด ความดุร้าย วาจาฟั่นเฝื อ
๑. ๒.
ยอ
หยอกหยาบแลแสลงฤาขอ้ คอ มารยา Three Things to Despise
๑. ชวั่ เลวทราม
Three Things to Hate ๒. มารยา
๓. ฤษยา
๑. ความดุร้าย
๒. ความหยง่ิ กาเริบ
๓. อกตญั ญู
๓. ๔.
Three Things to Suspect Three Things to Avoid
๑. ยอ ๑. เกียจคร้าน
๒. หนา้ เน้ือใจเสือ ๒. วาจาฟ่ันเฝื อ
๓. พลนั รักพลนั จืด ๓. หยอกหยาบแลแสลงฤาขดั
คอ
ท้ัง ๔ ข้อ เป็ นส่ิงที่ไม่ควรกระทา
อยา่ งยิ่ง เพราะเป็ นลกั ษณะนิสัยไม่ดี
ก่อใหเ้ กิดผลร้ายท้งั ต่อตนเอง และคน
รอบขา้ ง ทาให้เป็ นท่ีน่ารังเกียจของ
แผนกาครจนดั ทกวั่ าไรปเรียดนังรนูท้ ้ัน่ี เร๕าจ.๕ึงควรหลีกเลี่ยง
พฤติกรรมดงั กลา่ ว
แผนการจัดการเรยี นรทู้ ่ี 2.5
กล่มุ สาระการเรียนร้ภู าษาไทย ชัน้ มัธยมศึกษาปที ี่ ๒
หน่วยที่ 2 โคลงสุภาษติ เวลา ๗ ชั่วโมง
เรือ่ ง อ่านไพเราะเสนาะทำนอง เวลา ๑ ชัว่ โมง
ใชส้ อนวนั ที่ ....................................................................................................................
.
มาตรฐานท่ี ท ๑.๑ ใช้กระบวนการอ่านสรา้ งความรแู้ ละความคดิ เพ่ือนำไปใช้ตัดสินใจแกป้ ัญหาในการ
มาตรฐานท่ี ท ๒.๑ ดำเนินชวี ิตและมีนสิ ยั รกั การอา่ น
มาตรฐานที่ ท ๕.๑ ใช้กระบวนการเขียนสอ่ื สาร เขยี นเรยี งความ ย่อความ และเขียนเร่อื งราวในรปู แบบ
ต่างๆ เขยี นรายงานการศึกษาคน้ ควา้ อย่างมีประสทิ ธภิ าพ
เขา้ ใจและแสดงความคดิ เห็น วจิ ารณ์วรรณคดีและวรรณกรรมไทยอยา่ งเห็นคณุ คา่
และนำมาประยุกตใ์ ชใ้ นชวี ิตจริง
ตวั ชีว้ ัด
ท ๑.๑ ม.๒/๑ อา่ นออกเสยี งบทรอ้ ยแก้วและบทร้อยกรองได้ถูกตอ้ ง
ท ๒.๑ ม.๒/๑ คัดลายมอื ตวั บรรจง ครงึ่ บรรทดั
ท ๕.๑ ม.๒/๕ ท่องจำบทอาขยานตามที่กำหนด และบทร้อยกรองทีม่ ีคุณคา่ ตามความสนใจ
สาระการเรียนรแู้ กนกลาง
ตวั ชว้ี ดั สาระการเรียนรแู้ กนกลาง/ท้องถน่ิ
ท ๑.๑ ม.๒/๑ อา่ นออก ความรู้ (K) ทักษะ/กระบวนการ (P) คุณลกั ษณะ (A)
เสยี งบทรอ้ ยแกว้ และบท
รอ้ ยกรองได้ถูกต้อง - หลักการอ่านออก - ฝึกทกั ษะการอ่านออกเสียง -มมี ารยาทในการอ่าน
ท ๒.๑ ม.๒/๑ คดั ลายมือ
ตัวบรรจง ครึง่ บรรทัด เสียงรอ้ ยแก้วและร้อย รอ้ ยแกว้ และรอ้ ยกรอง -อ่านได้ถกู ต้องชัดเจน
กรอง ตามหลักการอ่าน
- หลกั การเขยี น - ฝึกคัดลายมอื - เขยี นถูกต้องและ
ตวั อกั ษรไทยและ ตวั บรรจง ครึ่งบรรทัด สวยงาม
เลขไทย
ท ๕.๑ ม.๒/๕ ทอ่ งจำบท บทอาขยาน ทอ่ งจำบทอาขยาน - ซาบซง้ึ
อาขยานตามท่ีกำหนด บทรอ้ ยกรอง บทรอ้ ยกรอง - นำความรทู้ ี่ไดจ้ าก
และบทร้อยกรองท่ีมีคณุ คา่ การอา่ นไปประยุกตใ์ ช้
ตามความสนใจ ในชีวิตจริง
สาระสำคัญ
การอ่านออกเสียงเป็นการสอื่ สารท่มี ีความสำคัญ เพราะเป็นการถา่ ยทอดความรู้ ความคิด
ความรสู้ ึกและอารมณ์ของผสู้ ่งสารไปผู้รบั สาร ดงั น้นั หากรหู้ ลักการอ่านและมีทักษะในการอา่ นย่อมจะทำให้
การส่ือสารเกิดสัมฤทธิ์ผล
สาระการเรียนรู้
การอ่านออกเสียงบทเรียนเรอื่ ง “ โคลงสุภาษิต โสฬสไตรยางค์ ” การอ่านทำนองเสนาะ การเล่า
เรอ่ื ง การยอ่ เร่ือง
กระบวนการจดั การเรียนรู้
๑. ครแู ละนกั เรียนร่วมกันสนทนาบทเรียนจากชวั่ โมงท่ีผา่ นมา จากนนั้ ครูนำ
บตั รความรู้เร่อื ง การอ่านทำนองเสนาะมาแจกนักเรียนทุกคน แลว้ ครูอธบิ ายประกอบเพอื่ ให้
นักเรียนเขา้ ใจได้ดยี ิ่งข้นึ ในหวั ข้อต่อไปน้ี
- ความหมายของการอ่านทำนองเสนาะ
- วตั ถปุ ระสงคใ์ นการอา่ นทำนองเสนาะ
- รสทใ่ี ช้ในการอ่านทำนองเสนาะ
- หลกั การอ่านทำนองเสนาะ
- ประโยชนท์ ีไ่ ด้รับจากการอา่ นทำนองเสนาะ
๒. เปดิ เคร่ืองบันทกึ เสยี งการอา่ นทำนองเสนาะเร่ือง “โคลงสุภาษติ โสฬสไตรยางค์” ให้นกั เรียน
ฟงั พร้อมทง้ั สังเกตทว่ งทำนองการอ่าน แลว้ ให้ นักเรยี นทำกจิ กรรมการอ่านตามลำดบั ดงั น้ี
- อ่านออกเสยี งธรรมดาให้ถูกต้องตามอกั ขรวิธี พรอ้ มทงั้ แบ่งวรรคตอนให้
ถกู ต้อง
- ให้อ่านทำนองเสนาะพร้อม ๆ กนั ตามครูทลี ะบท
- ใหอ้ ่านทำนองเสนาะพร้อม ๆ กนั ทง้ั ช้นั
- แบ่งกลุ่มให้อา่ นทำนองเสนาะต่อกนั จนจบเรื่อง
- ใหอ้ า่ นทำนองเสนาะเปน็ รายบุคคล
๓. ครแู ละนกั เรยี นช่วยวจิ ารณก์ ารอา่ นของแต่ละคนว่าถูกต้อง และมีความไพเราะเพยี งใด
๔. แบง่ นกั เรยี นออกเปน็ กล่มุ (จำนวนกลมุ่ และสมาชิกกลุม่ ตามความเหมาะสม) แล้ว
ใหท้ ำกิจกรรมดังหาความหมายของคำจากพจนานุกรม
๕. ใหแ้ ตล่ ะกลุ่มส่งตวั แทนมาเสนอผลการค้นคว้าหนา้ ชน้ั เรยี น พรอ้ มส่งเอกสาร
ประกอบการรายงาน
๖. ครูตัง้ คำถามใหน้ ักเรยี นช่วยกันตอบคำถามจากเร่ือง
๗. นักเรียนทำบตั รกจิ กรรมการเรยี นรู้
๘. ครูมอบหมายงานใหน้ ักเรียนไปฝกึ ทอ่ งจำคำประพนั ธ์อ่าน “โคลงสุภาษิต โสฬสไตรยางค์”
ส่ือ / แหล่งเรยี นรู้
ลำดับท่ี รายการสอื่ กิจกรรมท่ีใช้ แหล่งท่ีได้มา
๑ เพ่มิ เติมความชดั เจนในเน้ือหา ครูจัดเตรยี ม
๒ เครอ่ื งบนั ทึกเสยี ง นกั เรียนทำบตั รกจิ กรรม ครจู ัดทำ
๓ นักเรียนดูภาพและฝกึ อา่ น ครจู ัดหา
บตั รกิจกรรมการเรยี นรู้
๔ ตรวจสอบ ครูจดั ทำ
๕ หนงั สอื เรียน ชดุ วรรณคดี เพ่มิ เติมความชดั เจนในเน้ือหา ครจู ดั เตรยี ม
วิจกั ษ์ ชัน้ ม.๒
๖ เฉลยบัตรกิจกรรมการเรยี นรู้ บนั ทึกการสงั เกตพฤติกรรม ครจู ดั ทำ
เครอ่ื งบนั ทกึ เสียงการอ่าน
ทำนองเสนาะ
แบบประเมนิ การสังเกต
พฤติกรรม
การวดั ผลและประเมนิ ผล
กจิ กรรม-พฤติกรรมที่ เคร่ืองมอื ทใ่ี ช้ใน วิธีการประเมนิ เกณฑ์การประเมนิ
ประเมิน การประเมิน สงั เกตรายบุคคล ร้อยละ ๗๐ ขึน้ ไป
๑. นกั เรียนทอ่ งจำคำ
ประพันธ์ แบบประเมิน
๒. นักเรียนทำบตั รกจิ กรรม
การเรยี นรู้ แบบประเมินการสังเกต ตรวจงานรายบุคคล ร้อยละ ๗๐ ขนึ้ ไป
พฤติกรรม และแบบ
๓. ประเมินพฤติกรรมและ ประเมนิ ผลงาน
ผลงานระหวา่ งเรยี น
แบบประเมนิ พฤติกรรมและ ตรวจงานรายกลุม่ ร้อยละ ๗๐ ขน้ึ ไป
ผลงานระหวา่ งเรียน
กิจกรรมเสนอแนะ
..................................................................................................... ...........................................................
............................................................................................................................. ...................................
.......................................................................................................................................................
บนั ทกึ ผลหลังการจดั การเรยี นรู้
๑. ผลการจัดการเรียนรู้ตามผลการเรยี นรู้ท่ีคาดหวัง
นักเรียนทัง้ หมด ....................คน
– ผา่ นเกณฑ์การประเมนิ ระดับดี ............ คน คิดเปน็ รอ้ ยละ ...............
– ผา่ นเกณฑ์การประเมินระดับปานกลาง – คน คิดเปน็ ร้อยละ .................
– ไมผ่ ่านเกณฑก์ ารประเมนิ ระดับปรับปรุง – คน คดิ เป็นร้อยละ ...............
๒. ผลการประเมนิ พฤติกรรมระหว่างเรยี น
......................................................................................................... ...............................................
............................................................................................................................. .................................................
................................................................................................................................................................ ..............
..................................................................................................................... ....
๓. ปัญหาและอุปสรรคระหว่างการจดั กจิ กรรมการเรียนการสอน
............................................................................................................................. ...........................
....................................................................................................................................................
๔. การปรับปรงุ แก้ไข
............................................................................................................................. ..............
............................................................................................................................. ....................................
๕. ขอ้ คดิ เหน็ และข้อเสนอแนะเพิ่มเติม
........................................................................................................................................................
............................................................................................................................. .......................
ลงชื่อ..........................................................ผู้สอน
(นางสาวรัตนา มากอำไพ )
ครผู ชู้ ว่ ย
ความเห็นของผู้อำนวยการโรงเรียน
................................................................................................................................................. .......
............................................................................................................................ ..................................................
............................................................................................................................. .................................................
............................................................................................................................................................. .................
.................................................................................................................. ............................................................
............................................................................................
ลงชือ่ .................................................ผตู้ รวจสอบ
( นายพเิ ชษฐ์ ทับทอง )
ผอู้ ำนวยการโรงเรยี นครนพิทยาคม
บัตรความรู้
๑. ความหมายของ “การอ่านทำนองเสนาะ”
การอา่ นทำนองเสนาะคือวธิ กี ารอ่านออกเสยี งอยา่ งไพเราะตามลลี าของบทร้อยกรองประเภท โคลง
ฉันท์ กาพย์ กลอน ( พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. ๒๕๒๕ หน้า ๓๙๘ )
บางคนใหค้ วามหมายวา่ การอ่านทำนองเสนาะคือ การอ่านตามทำนอง ( ทำนอง = ระบบเสียงสูง
ตำ่ ซงึ่ มจี ังหวะสนั้ ยาว ) เพื่อให้เกดิ ความเสนาะ ( เสนาะ , น่าฟงั , เพราะ , วงั เวงใจ )
๒. วตั ถุประสงค์ในการอ่านทำนองเสนาะ
การอ่านทำนองเสนาะเปน็ การอา่ นให้คนอนื่ ฟัง ฉะนัน้ ทำนองเสนาะตอ้ งอ่านออกเสยี ง เสยี งทำให้
เกดิ ความรูส้ กึ - ทำให้เห็นความงาม - เห็นความไพเราะ - เห็นภาพพจน์ ผฟู้ งั สมั ผัสด้วยเสียงจึงจะ
เข้าถึงรสและความงามของบทร้อยกรอง ท่ีเรยี กว่าอา่ นแล้วฟังพร้ิง – เพราะเสนาะโสด การอา่ นทำนอง
เสนาะจงึ มงุ่ ให้ผู้ฟังเขา้ ถึงรสและเห็นความงามของบทร้อยกรอง
๓. ทมี่ าของการอา่ นทำนองเสนาะ
เขา้ ใจวา่ การอา่ นทำนองเสนาะมมี านานแล้วแต่ครัง้ กรุงสุโขทยั เทา่ ทีป่ รากฎหลักฐานในศลิ าจารกึ
พอ่ ขนุ รามคำแหง พุทธศักราช ๑๘๓๕ หลักทหี่ นงึ่ บรรทัดที่ ๑๘ - ๒๐ ดงั ความวา่ “ ……….. ดว้ ยเสียง
พาเสยี งพิณ เสยี งเลอ้ื น เสียงขบั ใครจกั มกั เล่นเล่น ใครจกั มกั หัว – หวั ใครมักจักเลื้อน เลอื้ น
……………..”จากข้อความดงั กล่าว ฉันทชิ ย์ กระแสสินธ์ุ กล่าวว่า เสียงเลอ้ื นเสียงขับ คอื การร้อง
เพลงทำนองเสนาะ
สว่ น ทองสบื ศุภะมารค ชแ้ี จงว่า “ เลอื้ น ” ตรงกบั ภาษาไทยถิน่ ว่า “ เลิ่น ” หมายถงึ การ
อา่ นหนงั สอื เอ้ือนเป็นทำนอง ซง่ึ คล้ายกับทป่ี ระเสริฐ ณ นคร อธบิ ายว่า เล้อื น เปน็ ภาษาถ่ิน แปลวา่
อา่ นทำนองเสนาะ โดยอ้างอิง บรรจบ พันธเุ มธา กลา่ วว่า คำน้ีเปน็ ภาษาถ่ินของไทย ในพม่า คือไทย
ในรัฐฉานหรอื ไทยใหญ่นั่นเอง จากความคิดเห็นของผ้รู ู้ ประกอบกบั หลกั ฐาน พ่อขุนหลามคำแหงดังกล่าว
ทำใหเ้ ชือ่ วา่ การอ่านทำนองเสนาะของไทยมีมานานหลายร้อยปีแล้ว โดยเรียกเป็นภาษาถิน่ วา่ “ เล้ือน ”
ที่มาของต้นเค้าของการอา่ นทำนองเสนาะพอจะสันนิษฐานได้ว่า น่าจะมีบอ่ เกดิ จากการดำเนนิ วถิ ี
ชีวิตของคนไทยสมัยกอ่ นทม่ี ีความเกย่ี วพันกบั การร้องเพลงทำนองต่าง ๆ ตลอดมา ทั้งนจ้ี ากเหตผุ ลทวี่ ่า คน
ไทยมีนสิ ยั ชอบพูดคำคลอ้ งจองใหม้ จี ังหวะดว้ ยลักษณะสัมผัสเสมอ ประกอบกบั คำภาษาไทยท่ีมีวรรณยกุ ต์
กำกบั จงึ ทำให้คำมีระดบั เสียงสงู ตำ่ เหมือนเสยี งดนตรี เม่ือประดษิ ฐท์ ำนองง่าย ๆ ใส่เข้าไปก็ทำให้สามารถ
สร้างบทเพลงร้องขึน้ มาได้แล้ว ดังนน้ั คนไทยจึงมีโอกาสได้ฟังและช่ืนชมกับการร้องเพลงทำนองต่าง ๆ ต้ังแต่
เกดิ จนตายทเี ดียว
ศลิ ปะการอ่านทำนองเสนาะจึงขึ้นอยู่กบั ความสามารถของผู้อา่ น และความไพเราะของบทประพันธ์
แต่ละประเภท โดยเฉพาะอย่างย่ิงผอู้ ่านทำนองเสนาะจึงตอ้ งศึกษาวธิ กี ารอา่ นให้ไพเราะและต้องหมน่ั ฝึกฝน
การอา่ นจนเกดิ ความชำนาญ
อนึ่งศลิ ปะการอ่านทำนองเสนาะอยู่ทตี่ ัวผอู้ ่านต้องร้จู ัก วิธกี ารอา่ นทอดเสยี ง โดยผ่อนจังหวะใหช้ า้
ลง การเออ้ื นเสียง โดยการลากเสยี งชา้ ๆ เพ่ือให้เข้าจังหวะและใหห้ างเสยี งใหไ้ พเราะ การครั่นเสยี ง
โดยทำเสียงสะดุดสะเทือนเพ่ือความไพเราะเหมาะสมกับบทกวบี างตอน การหลบเสียง โดยการหักเหให้
พลิกกลบั จากเสยี งสงู ลงมาเป็นตำ่ หรอื จากเสียงต่ำข้ึนไปเป็นเสียงสงู เนอื่ งจากผู้อา่ นไม่สามารถทีจ่ ะ
ดำเนินตามทำนองต่อไปได้เป็นการหลบหนจี ากเสยี งท่เี กนิ ความสามารถ จึงต้องหกั เหทำนองพลิกกลบั เข้ามา
ดำเนินทำนองในเขตเสยี งของตน และ การกระแทกเสียง โดยการอา่ นกระชากเสยี งให้ดงั ผดิ ปกติในโอกาสที่
แสดงความโกรธหรอื ความไม่พอใจหรือเม่ือต้องการเน้นเสยี ง
( มนตรี ตราโมท ๒๕๒๗ : ๕๐ )
๔. รสท่ใี ชใ้ นการอา่ นทำนองเสนาะ
๔.๑ รสถ้อย ( คำพูด ) แตล่ ะคำมรี สในคำของตนเอง ผูอ้ า่ นจะต้องอ่านให้เกิดรสถ้อย
ตัวอยา่ ง
สักวาหวานอ่นื มหี ม่นื แสน ไม่เหมือนแม้นพจมานท่ีหวานหอม
กล่ินประเทียบเปรียบดวงพวงพะยอม อาจจะน้อมจติ โน้มดว้ ยโลมลม
แม้นล้อลามหยามหยาบไม่ปลาบปล้มื ดงั ดูดดื่มบอระเพ็ดต้องเขด็ ขม
ผู้ดไี พร่ไมป่ ระกอบชอบอารมณ์ ใครฟงั ลมเมินหนา้ ระอาเอย
( พระเจา้ บรมวงศเ์ ธอกรมหลวงบดินทรไ์ พศาลโสภณ )
๔.๒ รสความ (เร่อื งราวท่ีอ่าน) ข้อความทอี่ ่านมเี ร่ืองราวเกยี่ วกับอะไร เช่น โศกเศร้า
สนกุ สนาน ตน่ื เต้น โกรธ รัก เวลาอ่านต้องอ่านใหม้ ีลีลาไปตามลักษณะของเน้ือเรอ่ื งนน้ั ๆ
ตัวอยา่ ง : บทโศกตอนที่นางวันทองไปส่งพลายงามให้ไปหาย่าทองประศรีที่สุพรรณบรุ ี
ลูกกแ็ ลดแู ม่แม่ดูลูก ต่างพันผกู เพยี งวา่ เลือดตาไหล
สะอ้ืนร่ำอำลาด้วยอาลยั แล้วแข็งใจจากนางตามทางมา
เหลียวหลงั ยงั เห็นแม่แลเขมน้ แมก่ เ็ ห็นลกู น้อยละห้อยหา
แตเ่ หลยี วเหลยี วเลี้ยวลับวบั วญิ ญาณ์ โอเ้ ปลา่ ตาต่างสะอน้ื ยนื ตะลงึ
( เสภาขนุ ชา้ งขนุ แผน ตอนกำเนดิ พลายงาม : สนุ ทรภู่ )
ตวั อย่าง : บทสนุกสนาน ในนิราศพระบาท ขณะมีมวยปลำ้
ละครหยุดอุตลดุ ดว้ ยมวยปลำ้ ยืนประจำหมายสู้เปน็ คู่ขัน
มงคลใสส่ วมหัวไม่กลัวกัน ตง้ั ประจนั จดจบั ขยบั มือ
ตเี ข้าปบั รับโปกสองมือปดิ ประจบตดิ เตะผางหม้อขวา้ งหวือ
กระหวัดหวดิ หววิ ผวาเสียงฮาฮอื คนดูอ้อเออกันสนัน่ อึง
๔.๓ รสทำนอง ( ระบบสูงต่ำซึง่ มีจงั หวะสน้ั ยาว ) ในบทร้อยกรองไทยจะประกอบด้วยทำนอง
ตา่ ง ๆ เช่น ทำนองโคลง ทำนองฉันท์ ทำนองกาพย์ ทำนองกลอน และทำนองร่าย เป็นตน้ ผู้อ่าน
จะต้องอา่ นให้ถกู ต้องตามทำนองของร้อยกรองนั้น เช่น โคลงสสี่ ภุ าพ
สัตว์ พวกหนงึ่ น้ชี ื่อ พหุบา ทาแฮ
มี อเนกสมญา ยอกย้อน
เทา้ เกดิ ยง่ิ จัตวา ควรนบั เขานอ
มาก จวบหมืน่ แสนซอ้ น สุดพ้นประมาณ ฯ
๔.๔ รสคล้องจอง ในบทร้องกรองตอ้ งมคี ำคล้องจองในคำคลอ้ งจองนัน้ ต้องใหอ้ อกเสยี ง
ตอ่ เนื่องกนั โดยเน้นเสียงสัมผสั นอกเปน็ สำคัญ เชน่
ถึงโรงเหลา้ เตากล่นั ควนั โขมง มีคันโพงผกู สายไว้ปลายเสา
โอบ้ าปกรรมน้ำนรกเจียวอกเรา ใหม้ ัวเมาเหมือนหนึง่ บา้ เปน็ น่าอาย
ทำบญุ บวชกรวดน้ำขอสำเรจ็ พระสรรเพชญโพธญิ าณประมาณหมาย
ถงึ สรุ าพารอดไมว่ อดตาม ไม่ใกลก้ รายแกลง้ เมนิ กเ็ กินไป
ไม่เมาหลา้ แตเ่ รายงั เมารัก สุดจะหกั ห้ามจติ คิดไฉน
ถงึ เมาเหล้าเชา้ สายกห็ ายไป แตม่ าใจน้ีประจำทุกค่ำคืน
( นิราศภเู ขาทอง : สุนทรภู่ )
๔.๕ รสภาพ เสียงทำใหเ้ กดิ ภาพ ในแต่ละคำจะแฝงไปด้วยภาพ ในการอ่านให้เหน็ ภาพต้อง
ใชเ้ สยี ง สงู – ตำ่ ดงั – ค่อย แล้วแต่จะใหเ้ กดิ ภาพอย่างไร เช่น
“ มดเอ๋ยมดแดง เล็กเลก็ เร่ยี วแรงแข็งขยัน ”
“ สุพรรณหงส์ทรงพูห่ อ้ ย งามชดชอ้ ยลอยหลังสนิ ธ์ุ ”
“ อยุธยายศลม่ แลว้ ลอยสวรรค์ ลงฤา ”
๕. หลักการอา่ นทำนองเสนาะ มดี งั นี้
๕.๑ ก่อนอ่านทำนองเสนาะให้แบ่งคำแบง่ วรรคให้ถูกต้องตามหลักคำประพนั ธเ์ สยี ก่อน โดยตอ้ ง
ระวงั ในเรื่องความหมายของคำดว้ ย เพราะคำบางคำอ่านแยกคำกันไม่ได้ เชน่
“ สร้อยคอขนมยรุ ะ ยูงงาม ”
( ขน – มยรุ ะ , ขนม – ยรุ ะ )
“ หวนห่วงม่วงหมอนทอง อีกอกร่องรสโอชา ”
( อกี – อก – ร่อง , อี – กอ – กรอ่ ง )
“ ดเุ หว่าจับเต่าร้างรอ้ ง เหมือนจากห้องมาหยารศั มี ”
( เหมอื น – มด , เหมือน – มด – อด )
๕.๒ อ่านออกเสียงธรรมดาใหค้ ล่องก่อน
๕.๓ อ่านให้ชดั เจน โดยเฉพาะออกเสียง ร ล และคำควบกล้ำใหถ้ กู ต้อง เช่น
“ เกดิ เป็นชายชาตรอี ย่าขี้ขลาด บรรยากาศปลอดโปรง่ โลง่ สมอง
หยบิ นำ้ ปลาตราสบั ปะรดให้ทดลอง ไหนเลา่ น้องครีมนวดหนา้ ทาให้ที
เน้อื นนั้ มโี ปรตนี กนิ เข้าไว้ คนเคราะห์ร้ายคลุม้ คล่งั เรอื่ งหนงั ผี
ใชน้ ำ้ คลองกรองเสียก่อนจึงจะดี เหน็ มาลีคล่ีบานหนา้ บา้ นเอย ”
๕.๔ อา่ นใหเ้ ออ้ื สัมผัส เรียกว่า คำแปรเสียง เพื่อให้เกดิ เสียงทไ่ี พเราะ เชน่
พระสมุทรสดุ ลึกล้น คณนา
( อ่านวา่ พระ – สะ – หมดุ – สุด – ลึก – ลน้ คน – นะ – นา )
ขา้ ขอเคารพอภิวาท ในพระบาทบพิตรอดิสร
( ขา้ – ขอ – เคา – รบ – อบ – พิ – วาด ใน – พระ – บาด – บอ – พดิ – อะ – ดดิ – สอน )
ขอสมหวังตัง้ ประโยชน์โพธญิ าณ
( อ่านวา่ ขอ – สม – หวงั – ตง้ั – ประ – โหยด – โพด – พิ – ยาน )
๕.๕ ระวงั ๓ ต อยา่ ให้ ตกหล่น อยา่ ตอ่ เติม และอย่าตู่ตวั
๕.๖ อา่ นให้ถูกจงั หวะ คำประพันธแ์ ตล่ ะประเภทจะมีจังหวะแตกตา่ งกนั ตอ้ งอา่ นใหถ้ ูกวรรค
ตอนตามแบบแผนของคำประพนั ธ์นนั้ ๆ เชน่
มทุ ิงคนาฉนั ท์ ( ๒ - ๒ - ๓ )
“ ป๊ะโท่น / ปะ๊ โทน / ป๊ะโทน่ โทน บุรุษ / สโิ อน / สะเอวไหว
อนงค์ / นำเคล่ือน / เขย้ือนไป สะบัด / สไป / วไิ ลตา ”
๕.๗ อ่านให้ถูกทำนองของคำประพันธ์นั้น ๆ ( รสทำนอง )
๕.๘ ผ้อู ่านต้องใส่อารมณต์ ามรสความของบทประพนั ธน์ นั้ ๆ รสรกั โศก ตื่นเต้น ขบขัน
โกรธ แล้วใสน่ ำ้ เสยี งให้สอดคล้องกับรสหรืออารมณ์ต่าง ๆ เหล่านน้ั
๕.๙ อา่ นใหเ้ สยี งดัง ( พอท่จี ะได้ยินกนั ทั่วถงึ ) ไม่ใช่ตะโกน
๕.๑๐ ถ้าเปน็ ฉนั ท์ ต้องอ่านให้ถูกต้องตามบังคบั ของครุ - ลหุ ของฉนั ทน์ ั้น ๆ
ลหุ คอื ทผี่ สมดว้ ยสระเสียงส้นั และไม่มีตวั สะกด เช่น เตะ บุ และ เถอะ
ผัวะ ยกเว้น ก็ บ่อ นอกจาก นี้ถือเป็นคำครุ ( คะ – รุ ) ทงั้ หมด
ลหุ ให้เครือ่ งหมาย ( ุ ) แทนในการเขยี น
ครุ ใชเ้ ครื่องหมาย ( ั ) แทนในการเขยี น
ตวั อยา่ ง : วสนั ตดลิ กฉนั ท์ ๑๔ มคี รุ - ลหุ ดังนี้
ัั ั ุ ั ุ ุ ุ ั ุุัุ ัั
ั ั ุ ัุ ุ ุ ั ุุ ัุ ั ั
อ้าเพศกเ็ พศนชุ อนงค์ อรองคก์ บั อบบาง
( อ่านว่า อา้ – เพด – ก็ – เพด – นุ – ชะ – อะ – นง อะ – ระ – อง – กอ้ – บอบ – บาง )
ควรแต่ผดุงสิริสะอาง ศุภลักษณป์ ระโลมใจ
( อ่านวา่ ควน – แต่ – ผะ – ดงุ – สิ – หริ – สะ – อาง สุ – พะ – ลกั – ประ – โลม – ใจ )
๕.๑๑ เวลาอา่ นอ่านอย่าใหเ้ สียงขาดเปน็ ชว่ ง ๆ ต้องให้เสียงตดิ ต่อกันตลอด เช่น
“ วนั นนั้ จนั ทร มดี ารากร เปน็ บรวิ าร เห็นสน้ิ ดนิ ฟา้ ในป่าท่าธาร มาลคี ลบ่ี าน ใบก้าน
อรชร ”
๕.๑๒ เวลาจบใหท้ อดเสยี งช้า ๆ
๖. ประโยชน์ทไ่ี ด้รับจากการอา่ นทำนองเสนาะ
๖.๑ ชว่ ยให้ผู้ฟงั เขา้ ถึงถงึ รสและเห็นความงามของบทรอ้ ยกรองทอ่ี ่าน
๖.๒ ชว่ ยใหผ้ ฟู้ งั ไดร้ ับความไพเราะและเกิดความซาบซ้งึ ( อาการรสู้ ึกจบั ใจ
อย่างลึกซึง้ )
๖.๓ ชว่ ยใหเ้ กดิ ความสนุกสนาน ความเพลิดเพลนิ
๖.๔ ชว่ ยให้จำบทร้อยกรองไดร้ วดเรว็ และแมน่ ยำ
๖.๕ ช่วยกลอ่ มเกลาจิตใจให้เปน็ คนออ่ นโยนและเยอื นเย็น
๖.๖ ชว่ ยสบื ทอดวัฒนธรรม ในการอา่ นทำนองเสนาะไวเ้ ป็นมรดกต่อไป
บัตรกจิ กรรมการเรียนรู้ที่ ๑
๑. ให้นกั เรียนทำกิจกรรม “นทิ านเรื่องนี้สอนให้รูว้ า่ ” โดยสรปุ ขอ้ คิดทไ่ี ด้จากนทิ านอสี ป ดงั ตอ่ ไปน้ี
เทวดากบั คนขบั เกวยี น
ชายผู้หนง่ึ ขับเกวียนไปในปา่ ลูกล้อเกวียนตกหลม่ ลึกควายลากไปไม่ไหว ชายผ้นู ้ันกลัวจะมดื ค่ำกลาง
ทาง จงึ บนบานขอให้เทวดาชว่ ย ในขณะนัน้ เทวดาที่เป็นเจ้าป่าลงมาบอกแกช่ ายผนู้ ้ันว่า
“จะยืนดูอยู่ทำไมอกี เลา่ จงเอาบ่าแบกลูกล้อเข้า แล้วเฆ่ียนควายให้เดิน ลูกล้อก็จะเคล่ือนที่ข้ึนจาก
หล่มได้ การที่รอ้ งโวยวายไปเสียก่อน ยงั ไม่ทนั จะได้ลองกำลังของตนเองให้เต็มฝีมือดังน้ี จะให้ใครเขามแี ก่ใจ
ช่วยเจา้ ได้”
นทิ านเร่ืองนีส้ อนให้รู้วา่ .........................................................................................................
ลูกปูกับแม่ปู
วันหนงึ่ เวลาน้ำลงงวด ปูสองตวั แมล่ ูกพากนั ไตล่ งไปหากินตามชายเลน ขณะเม่อื ไตไ่ ปน้ันลกู เดินหน้า
แม่เดินหลัง ตาแม่จับอยู่ท่ลี ูก พอไตไ่ ปไดส้ กั หน่อย แมก่ ร็ อ้ งบอกไปแก่ลูกว่า
“น่ันทำไมเจ้าจึงงุ่มง่าม ซัดไปเซมาดังน้ัน จะเดินให้ตรงๆ ทางไม่ได้หรือ จะได้ไปถึงที่หากินเสีย
เรว็ ๆ มัวเดนิ คดไปคดมาเชน่ นี้ น้ำก็จะข้ึนมาเสยี ก่อนเราไปถงึ ท่ี”
แมป่ ูกเ็ ดินตรงไมไ่ ด้ ดว้ ยวสิ ัยปูย่อมเดนิ คดไปคดมาเป็นธรรมดา แต่หากแมป่ ูไม่รู้สึกตวั เอง
นทิ านเรื่องนีส้ อนให้รวู้ า่ .........................................................................................................
คนเลยี้ งแพะกบั ลกู เสือ
ชายคนหน่ึงเป็นพ่อคา้ ขายแพะ เล้ียงแพะไวท้ รี่ ิมสถานรี ถไฟฝูงหน่ึง วันหนึ่งชายน้นั เขา้ ป่าจะไปตัดไม้
ไผ่มาทำคอกแพะ ขณะเม่ือเดินไปถึงเชิงเขา ชายผู้นั้นพบลูกเสือหลงแมต่ ัวหน่ึงเดินอยู่แต่ลำพัง จึงจับเอามา
เลี้ยงไว้แลว้ หัดให้ลกู เสือเทยี่ วขโมยลูกแพะของชาวบา้ นทใี่ กลเ้ คียง
ส่วนลูกเสือน้ัน ถ้าวันไหนขโมยลูกแพะของชาวบ้านได้สองตัว ก็กัดกินเสียตัวหนึ่ง เหลือเอาไปให้
เจ้าของแค่ตัวเดียว ถ้าวันไหนขโมยแพะของคนอ่ืนไม่ได้ พอตกกลางคืนลงก็ขโมยแพะของเจ้าของกินเสียทุก
วนั ไป
นทิ านเรื่องนส้ี อนใหร้ ู้ว่า.........................................................................................................
เฉลยบัตรกจิ กรรมการเรียนรู้ท่ี ๑
๑. ให้นกั เรียนทำกจิ กรรม “นทิ านเรอ่ื งน้ีสอนให้ร้วู ่า” โดยสรุปข้อคิดที่ได้จากนทิ านอีสป ดังต่อไปนี้
เทวดากบั คนขบั เกวยี น
ชายผู้หนงึ่ ขบั เกวยี นไปในปา่ ลกู ล้อเกวยี นตกหล่มลกึ ควายลากไปไม่ไหว ชายผูน้ น้ั กลังจะมืดคำ่ กลาง
ทาง จงึ บนบานขอใหเ้ ทวดาชว่ ย ในขณะนั้นเทวดาทเ่ี ปน็ เจ้าป่าลงมาบอกแกช่ ายผนู้ น้ั ว่า
“จะยืนดอู ยู่ทำไมอกี เลา่ จงเอาบ่าแบกลูกล้อเข้า แล้วเฆี่ยนควายให้เดิน ลูกล้อก็จะเคลื่อนที่ขน้ึ จาก
หลม่ ได้ การท่ีรอ้ งโวยวายไปเสียก่อน ยงั ไม่ทันจะไดล้ องกำลังของตนเองให้เต็มฝีมือดังน้ี จะให้ใครเขามแี กใ่ จ
ช่วยเจา้ ได้”
นิทานเรือ่ งนส้ี อนใหร้ ู้วา่ การหมายพึ่งตวั เองดกี ว่าพึง่ ผอู้ นื่
ลกู ปกู บั แม่ปู
วันหน่ึงเวลาน้ำลงงวด ปูสองตัวแมล่ ูกพากันไต่ลงไปหากินตามชายเลน ขณะเมอ่ื ไตไ่ ปนั้นลูกเดินหน้า
แมเ่ ดินหลงั ตาแม่จบั อยู่ท่ลี กู พอไตไ่ ปไดส้ ักหน่อย แมก่ ร็ อ้ งบอกไปแกล่ กู ว่า
“น่ันทำไมเจ้าจึงงุ่มง่าม ซัดไปเซมาดังน้ัน จะเดินให้ตรงๆ ทางไม่ได้หรือ จะได้ไปถึงที่หากินเสีย
เร็วๆ มวั เดินคดไปคดมาเชน่ น้ี น้ำกจ็ ะข้นึ มาเสยี ก่อนเราไปถึงท่ี”
แมป่ ูก็เดินตรงไมไ่ ด้ ด้วยวิสัยปยู ่อมเดนิ คดไปคดมาเปน็ ธรรมดา แต่หากแม่ปูไม่รู้สึกตวั เอง
นทิ านเรอื่ งน้ีสอนให้รูว้ า่ การที่จะส่งั สอนผอู้ น่ื ใหท้ ำอยา่ งใดนัน้ เราตอ้ งทำไดเ้ องกอ่ น
คนเลี้ยงแพะกับลูกเสือ
ชายคนหนึ่งเป็นพอ่ ค้าขายแพะ เลยี้ งแพะไว้ทีร่ ิมสถานรี ถไฟฝูงหน่ึง วันหนึ่งชายนั้นเขา้ ป่าจะไปตัดไม้
ไผ่มาทำคอกแพะ ขณะเม่ือเดินไปถึงเชิงเขา ชายผู้น้ันพบลูกเสอื หลงแม่ตัวหนึ่งเดินอยู่แต่ลำพัง จึงจับเอามา
เลีย้ งไว้แลว้ หดั ให้ลกู เสือเทยี่ วขโมยลกู แพะของชาวบ้านทใี่ กล้เคียง
ส่วนลูกเสือน้ัน ถ้าวันไหนขโมยลูกแพะของชาวบ้านได้สองตัว ก็กัดกินเสียตัวหนึ่ง เหลือเอาไปให้
เจ้าของแต่ตัวเดียว ถ้าวันไหนขโมยแพะของคนอื่นไม่ได้ พอตกกลางคืนลงก็ขโมยแพะของเจ้าของกินเสียทุก
วนั ไป
นทิ านเรอื่ งนี้สอนให้รวู้ า่ การคิดหาประโยชน์ใสต่ วั ในทางมิชอบ ลงท้ายมักจะเสียประโยชน์ตนเอง
บัตรกจิ กรรมการเรียนรู้ที่ ๒
คำช้ีแจง ให้นักเรียนแต่ละกลุ่มคัดเลือกโคลงสุภาษิต แล้วคัดด้วยตัวบรรจงครึ่งบรรทัด กลุ่มละ ๓ บท
แล้วถอดคำกลอนน้ันเป็นรอ้ ยแก้ว
คากลอนที่คดั เลอื กมาคือ.....
...................................................................................................................................
...................................................................................................................................
...................................................................................................................................
...................................................................................................................................
...................................................................................................................................
...................................................................................................................................
...................................................................................................................................
...................................................................................................................................
...................................................................................................................................
...................................................................................................................................
...................................................................................................................................
...................................................................................................................................
...................................................................................................................................
...................................................................................................................................
แผนการจัดการเรียนรทู้ ี่ ๒.๖
กลุ่มสาระการเรียนร้ภู าษาไทย ชั้นมธั ยมศกึ ษาปที ่ี ๒
หน่วยท่ี ๑ โคลงสภุ าษิต เวลา ๗ ชัว่ โมง
เร่ือง รอ้ ยกรองร้อยความคดิ เวลา ๑ ช่วั โมง
ใชส้ อนวนั ที่ ....................................................................................................................
.
มาตรฐานที่ ท ๑.๑ ใชก้ ระบวนการอ่านสรา้ งความรแู้ ละความคดิ เพ่ือนำไปใชต้ ัดสินใจแกป้ ญั หาในการ
มาตรฐานท่ี ท ๔.๑ ดำเนนิ ชีวติ และมีนสิ ยั รักการอ่าน
เข้าใจธรรมชาติของภาษาและหลักภาษาไทย การเปลยี่ นแปลงของภาษาและพลงั ของ
ภาษา ภมู ปิ ัญญาทางภาษาและรกั ษาภาษาไทยไวเ้ ปน็ สมบัตขิ องชาติ
ตวั ชวี้ ดั
ท ๑.๑ ม.๒/๑ อา่ นออกเสยี งบทร้อยแก้วและบทร้อยกรองไดถ้ ูกตอ้ ง
ท ๔.๑ ม.๒/๓ แตง่ บทร้อยกรอง
สาระการเรียนรแู้ กนกลาง
ตัวช้ีวัด สาระการเรยี นรแู้ กนกลาง/ท้องถิน่
ท ๑.๑ ม.๒/๑ อ่านออก ความรู้ (K) ทักษะ/กระบวนการ (P) คุณลักษณะ (A)
เสยี งบทร้อยแก้วและบท
ร้อยกรองได้ถูกต้อง - หลักการอ่านออก - ฝึกทักษะการอา่ นออกเสียง -มีมารยาทในการอ่าน
ท ๔.๑ ม.๒/๓ แต่งบท
รอ้ ยกรอง เสียงร้อยแกว้ และรอ้ ย ร้อยแก้วและรอ้ ยกรอง -อา่ นได้ถูกต้องชดั เจน
กรอง ตามหลกั การอา่ น
การแตง่ กลอนสุภาพ ฝึกแต่งกลอนสุภาพ - แต่งกลอนสภุ าพ
การแตง่ โคลงสส่ี ภุ าพ ฝกึ แตง่ โคลงสี่สภุ าพ -แต่งโคลงสส่ี ภุ าพ
ไดถ้ ูกตอ้ งตาม
ฉันทลักษณ์
สาระสำคัญ
๑. การอ่านบทร้อยกรองได้ถูกตอ้ งไพเราะสละสลวย และเขา้ ใจสาระการเรียนรู้ทำให้
เห็นความงาม และคุณคา่ ของภาษาไทย เป็นการส่งเสริมศิลปวัฒนธรรมทางภาษาของชาติ
๒. การเขียนบทร้อยกรองโดยเข้าใจลกั ษณะฉันทลกั ษณ์ของคำประพนั ธ์ และเขยี นสาระ
การเรยี นรูไ้ ดเ้ หมาะสม จะทำให้ผอู้ า่ นเกิดความซาบซ้ึง และเหน็ คุณคา่ ของภาษาไทยมากขน้ึ
สาระการเรยี นรู้
๑. การอ่านบทเรยี น เรื่อง โคลงสภุ าษติ พระราชนพิ นธ์พระบาทสมเด็จพระจลุ จอมเกล้าเจ้าอยู่หัว
๒. การฝึกแต่งคำประพนั ธป์ ระเภทโคลงสุภาษิต
กระบวนการเรยี นรู้
๑. นกั เรียนและครรู ่วมกนั สนทนาถงึ การอนรุ ักษ์ภาษาไทยในฐานะท่เี ปน็ ศิลปวฒั นธรรม
และเอกลักษณ์ของชาติ
๒. แบง่ นักเรียนออกเปน็ กล่มุ (ตามความเหมาะสม) โดยให้แตล่ ะกลุ่มศกึ ษาบทร้อยกรอง
โคลงสภุ าษติ พระราชนิพนธ์พระบาทสมเดจ็ พระจลุ จอมเกลา้ เจา้ อยู่หัว จากหนังสือเรียนภาษาไทย ชุด
วรรณคดีวิจักษ์ ชนั้ มัธยมศึกษาปที ี่ ๒ โดยดำเนินการ สำรวจคำศัพท์หรือสำนวนภาษา แล้วศึกษาคำอ่าน
และความหมายร่วมกัน จากนน้ั สมาชกิ ในกลุ่มอภิปรายสรปุ ใจความสำคัญและข้อคิดที่ได้จากบทเรียนโคลง
สุภาษิต และนกั เรยี นร่วมกันฝกึ อ่านบทเรยี นเป็นทำนองเสนาะ แนะนำ ข้อบกพร่อง และแนวทางแก้ไข
ใหแ้ กเ่ พ่อื นภายในกลมุ่ จากนน้ั นกั เรยี นผลัดเปล่ียนกนั อ่านโคลงสุภาษติ เปน็ ทำนองเสนาะ และใหเ้ พอ่ื นใน
กล่มุ ทเ่ี หลอื ประเมนิ ผลการอา่ น
๓. นักเรียนทกุ กลุ่มช่วยกนั ลากเสน้ โยงคำเสน้ สมั ผัสระหวา่ งวรรคของคำประพันธป์ ระเภท
โคลงสุภาษิตจากแบบฝกึ หดั
๔. นำแผนผงั คำประพนั ธโ์ คลงสุภาษติ ติดกระดานดำ และให้นกั เรียนทกุ กลมุ่ ตรวจสอบ
ความถูกต้องให้สมาชิกแต่ละกลุม่ แข่งขันกันเรยี งแถบข้อความใหถ้ ูกต้องตามลกั ษณะโคลงสภุ าษติ ตาม
ขน้ั ตอน
๕. นกั เรียนและครชู ว่ ยกนั สรุปบทเรียน เร่ือง การอา่ นบทร้อยกรองใหเ้ ปน็ ทำนองเสนาะ
และสรุปหลกั เกณฑใ์ นการแต่งคำประพนั ธ์ประเภทโคลงสุภาษิต
๖. นกั เรียนทำบัตรกจิ กรรมการเรยี นรู้
๗. มอบหมายให้นักเรยี นไปอ่านโคลงสุภาษิตหรอื ศึกษาคน้ ควา้ เพ่มิ เติมเปน็ การบ้าน
สือ่ / แหล่งเรียนรู้
ลำดับที่ รายการสื่อ กจิ กรรมทใี่ ช้ แหลง่ ทไ่ี ดม้ า
๑ นกั เรยี นทำบตั รกิจกรรม ครูจัดทำ
๒ บัตรกจิ กรรมการเรียนรู้ นักเรยี นดูภาพและฝึกอ่าน ครูจัดหา
๓ หนังสอื เรียน ชุด วรรณคดี ตรวจสอบ ครจู ดั ทำ
๔ วจิ กั ษ์ ชน้ั ม.๒ บนั ทึกการสงั เกตพฤติกรรม ครูจัดทำ
เฉลยบัตรกิจกรรมการเรยี นรู้
แบบประเมินการสงั เกต
พฤติกรรม
การวดั ผลและประเมนิ ผล
กจิ กรรม-พฤติกรรมท่ี เครือ่ งมอื ที่ใช้ใน วธิ กี ารประเมิน เกณฑ์การประเมิน
ประเมนิ การประเมนิ
๑. นักเรยี นนำเสนอ
๒. นักเรยี นทำบัตรกิจกรรม แบบประเมินรายกลุม่ สงั เกตรายกลุม่ ร้อยละ ๗๐ ขึ้นไป
การเรียนรู้
แบบประเมนิ การสังเกต ตรวจงานรายบคุ คล รอ้ ยละ ๗๐ ข้นึ ไป
๓. ประเมนิ พฤติกรรมและ
ผลงานระหวา่ งเรียน พฤติกรรม และแบบ
ประเมินผลงาน
แบบประเมินพฤติกรรมและ ตรวจงานรายกล่มุ รอ้ ยละ ๗๐ ข้นึ ไป
ผลงานระหว่างเรยี น
กจิ กรรมเสนอแนะ
............................................................................................................................. ...................................
................................................................................................................................................................
............................................................................................................................. ..........................
บนั ทึกผลหลงั การจัดการเรียนรู้
๑. ผลการจัดการเรียนรูต้ ามผลการเรยี นรู้ที่คาดหวัง
นักเรียนทัง้ หมด ....................คน
– ผา่ นเกณฑ์การประเมนิ ระดับดี ............ คน คดิ เป็นรอ้ ยละ ...............
– ผา่ นเกณฑ์การประเมินระดับปานกลาง – คน คดิ เปน็ ร้อยละ .................
– ไมผ่ ่านเกณฑก์ ารประเมนิ ระดบั ปรับปรุง – คน คิดเปน็ ร้อยละ ...............
๒. ผลการประเมินพฤตกิ รรมระหวา่ งเรียน
............................................................................................... .........................................................
............................................................................................................................. .................................................
...................................................................................................................................................... ........................
........................................................................................................... ..............
๓. ปัญหาและอุปสรรคระหว่างการจัดกิจกรรมการเรยี นการสอน
............................................................................................................................. ...........................
....................................................................................................................................................
๔. การปรบั ปรุงแก้ไข
........................................................................................................................ ...................
............................................................................................................................. ....................................
๕. ข้อคดิ เห็นและข้อเสนอแนะเพม่ิ เตมิ
........................................................................................................................................................
............................................................................................................................. .......................
ลงช่ือ..........................................................ผสู้ อน
(นางสาวรัตนา มากอำไพ )
ครผู ชู้ ว่ ย
ความเหน็ ของผู้อำนวยการโรงเรยี น
................................................................................................................................. .......................
............................................................................................................ ..................................................................
............................................................................................................................. .................................................
............................................................................................................................................. .................................
.................................................................................................. ............................................................................
............................................................................................
ลงช่อื .................................................ผูต้ รวจสอบ
( นายพเิ ชษฐ์ ทบั ทอง )
ผอู้ ำนวยการโรงเรียนครนพทิ ยาคม
บตั รความรู้
เรื่อง “การแตง่ โคลงสีส่ ภุ าพ”
โคลง คือ คำประพันธ์ซึ่งเป็นวธิ ีเรียงร้อยถ้อยคำเข้าคณะ มีกำหนดเอกโทและสัมผัสโคลงมีลักษณะ
บังคบั ๖ อยา่ งไดแ้ ก่ คณะ พยางค์ สมั ผัส คำเอกคำโท คำเปน็ คำตาย และคำสรอ้ ย
ในใบความรปู้ ระกอบนีจ้ ะกล่าวถึงเฉพาะ “โคลงส่ีสุภาพ” เทา่ นัน้
คำ “สุภาพ” ในโคลงนั้น อาจารย์กำชัย ทองหล่อ ได้อธิบายไว้ว่า มีความหมายเป็น ๒ อย่าง
คือ
๑. หมายถึง คำทไี่ ม่มเี ครื่องหมายวรรณยกุ ตเ์ อกโท (คือ คำธรรมดาทไ่ี มก่ ำหนดเอก
โทจะมีหรอื ไม่มีก็ได้)
๒. หมายถึง การบงั คับคณะและสัมผสั อยา่ งเรียบๆ ไม่โลดโผน โคลงสุภาพทง้ั ๗
ชนิดมลี ักษณะแตกต่างกัน ดงั จะไดอ้ ธบิ ายตอ่ ไป
กอ่ นอนื่ นักเรยี นควรรจู้ กั ลักษณะระดับของโคลง ซงึ่ มีดงั น้ี
๑. คณะ คือ ข้อกำหนดเกยี่ วกบั รูปแบบของคำประพันธ์แตล่ ะชนดิ ว่าจะตอ้ ง
ประกอบดว้ ยสว่ นย่อยๆ อะไรบา้ ง
คำที่เป็นคำยอ่ ยของคณะ ไดแ้ ก่ บท บาท วรรค คำ
ลกั ษณะบังคบั ข้อนส้ี ำคญั มาก คำประพันธท์ ุกชนิดจะต้องมีคณะ ถ้าไม่มีกไ็ มเ่ ปน็ คำประพันธ์ คณะที่
เป็นส่งิ ทีช่ ว่ ยกำหนดรปู แบบของคำประพนั ธ์แต่ละชนิดใหเ้ ป็นระเบียบเพือ่ ใชเ้ ป็นหลักในการแต่งต่อไป
๒. พยางค์ คือ เสยี งทเ่ี ปล่งออกมาครง้ั หนง่ึ ๆ บางทกี ม็ ีความหมาย เชน่ เมอื งไทยนี้ดี
บางทีก็ไม่มีความหมาย แต่เป็นส่วนหน่ึงของคำ เช่น ภิ ในคำว่า อภินิหาร ยุ ในคำยุวชน กระ ในคำ
กระถาง เป็นต้น
เน่ืองจากคนไทยเราแต่เดิมมีพยางค์เดียวโดยมาก ฉะนั้นในการแต่งคำประพันธ์เราถือว่าพยางค์ก็คือ
คำน่นั เอง ในคำประพันธแ์ ตล่ ะชนิดมีการกำหนดพยางค์ (คำ) ไว้แนน่ อน วา่ วรรคหน่งึ มกี พี่ ยางค์ (คำ)
ในคำประพนั ธป์ ระเภทฉนั ท์ ซึง่ ถือ ครุ ลหุ เป็นสำคัญ เรานับแตล่ ะพยางค์เป็น ๑ คำเสมอ เช่น
สจุ รติ นบั เป็น ๓ พยางค์ (๓ คำ) แตถ่ า้ สุจริตไปอยใู่ นโคลง เช่น
“สุจริต คือ เกราะบัง ศาสตร์พ้อง” เรานับเพียง ๒ คำเท่าน้ัน คือ ให้รวมเสียง ลหุ ๒
พยางค์ทอ่ี ยใู่ กล้กัน เป็น ๑ คำ
และในทำนองเดียวกัน ถ้าคำใดมี ๒ พยางค์ เป็นลหุพยางค์หนึ่ง เช่น กระถาง สมัคร ตลอด
สะบดั กอ็ นโุ ลมให้นับเปน็ ๑ พยางค์ (คำ) ได้
จะเห็นได้ว่าในการนับพยางค์ (คำ) นั้นต้องแล้วแต่ลักษณะบังคับของร้อยกรองแต่ละประเภท ซ่ึงผู้
แตง่ คำประพนั ธ์จะตอ้ งสงั เกตใหด้ ี
๓. สมั ผัส คือ ลกั ษณะทยี่ งั บงั คับให้ใชค้ ำคล้องจองกัน สมั ผัส เป็นลักษณะท่ีสำคญั
ท่ีสดุ ในคำประพนั ธข์ องไทย คำประพันธ์ทกุ ชนิดจำเปน็ ตอ้ งมสี มั ผสั
๔. คำเอก คำโท หมายถงึ พยางค์ท่ีบงั คบั ด้วย ไมเ้ อก และไมโ้ ท สำหรับใช้กับ
คำประพนั ธป์ ระเภทโคลงเท่าน้ัน มขี ้อกำหนดดังน้ี
คำเอก ได้แก่ พยางคท์ ่ีมีไมเ้ อกบังคับทั้งหมด เช่น จ่า ปี่ ข่ี ส่อ นา่ ค่ี และพยางค์ท่เี ป็นคำตาย
ท้ังหมด จะมเี สยี งวรรณยุกต์ใดกไ็ ด้ เช่น กาก บอก มาก โชค คิด รกั