The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

รายงานผลการดำเนินงาน ประจำปีงบประมาณ64 ตภจ.ตาก

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by Kungten Diary, 2021-11-02 22:52:06

รายงานผลการดำเนินงาน ประจำปีงบประมาณ64 ตภจ.ตาก

รายงานผลการดำเนินงาน ประจำปีงบประมาณ64 ตภจ.ตาก

รายงานผลการดาํ เนินงาน
ประจาํ ปง บประมาณ พ.ศ. ๒๕64

หนว ยตรวจสอบภายในจงั หวดั ตาก

น้ําตกทลี อซู ดอยหลวงตาก
อําเภออมุ ผาง อําเภอบา นตาก

เขื่อนภมู พิ ล สะพานสมโภชกรุงรัตนโกสินทร 200 ป
อําเภอสามเงา อําเภอเมืองตาก

คํานํา

ตามแนวทางการปฏิบัติงานตรวจสอบภายใน กระทรวงมหาดไทย ประจําปงบประมาณ
พ.ศ. ๒๕64 ไดกําหนดแนวทางการปฏิบัติงานตรวจสอบใหกับหนวยตรวจสอบภายในระดับจังหวัด
ในเร่ืองกฎบัตร การวางแผนการตรวจสอบ การดําเนินการจัดทําแผนปฏิบัติงาน การรายงานผล
และการติดตามผล เพ่ือใหผูตรวจสอบภายในจังหวัดใชเปนแนวทางการปฏิบัติงานตรวจสอบภายใน
ใหเปน ไปในแนวทางเดยี วกนั และเปนไปอยา งมีประสิทธภิ าพ

หนวยตรวจสอบภายในจังหวัดตากจึงจัดทํารายงานผลการดําเนินงาน ประจําป
งบประมาณ พ.ศ. 2564 เพื่อเผยแพรผลการปฏิบัติงานในรอบปงบประมาณ พ.ศ. 2564 ซึ่งจะแสดง
ขอมูลทั่วไปของจังหวัดตากและหนวยตรวจสอบภายในจังหวัดตาก แผนการตรวจสอบประจําป และ
ผลการปฏิบัติงานตามแผนการตรวจสอบ อันสะทอนถึงวิสัยทัศนในการสรางความเชื่อมั่น
ดานการตรวจสอบ การปฏิบัติตน ใหเปนไปตามมาตรฐานวิชาชีพและจริยธรรมการปฏิบัติงาน
ตรวจสอบภายใน เพื่อใหบริการดานความมั่นใจตอความมีประสิทธิภาพ ประสิทธิผลของการดําเนินงาน
และความคุมคาของการใชจายงบประมาณของแผนดิน รวมทง้ั ใหความเชื่อม่ันขอมูลทางการเงิน ตลอดจน
การปฏบิ ตั ิตามกฎ ระเบียบที่เกยี่ วของของสว นราชการ

หนวยตรวจสอบภายในจังหวัดตาก หวังเปนอยางยิ่งวา รายงานผลการดําเนินงาน
ประจําปงบประมาณ พ.ศ. 2564 ฉบับน้ีจะเปนประโยชนตอผูบริหาร สวนราชการ รวมถึงผูสนใจ
ในการนําไปใชเปนแนวทางการพัฒนาการปฏิบัติงานของหนวยงาน รวมถึงการนําผลการตรวจสอบภายใน
มาใชประกอบการตัดสินใจในการบริหารงาน ใหเกิดประสิทธิภาพประสิทธิผล และสงเสริมใหเกิดระบบ
การควบคุมภายในทีด่ ขี องหนว ยงานมากยิ่งขึ้นตอไป

หนว ยตรวจสอบภายในจังหวดั ตาก
ตลุ าคม 2564

สารบัญ หนา

บทนาํ 1
 ขอมูลทัว่ ไปของจังหวัด 3
 วสิ ัยทศั น พนั ธกจิ เปา ประสงค 4
 ประเด็นยทุ ธศาสตรของจังหวัดตาก
6
สวนท่ี 1 ขอมลู ทั่วไปของหนว ยตรวจสอบภายในจังหวัดตาก 6
 โครงสรางการบริหารงานหนวยตรวจสอบภายในจังหวดั ตาก 7
 โครงสรางอตั รากําลังผตู รวจสอบภายในจังหวดั ตาก
 การตรวจสอบภายในสวนราชการ 9
13
สว นท่ี 2 กฎบัตรและกรอบคุณธรรม
 กฎบตั รการตรวจสอบภายในของหนว ยตรวจสอบภายในจังหวัดตาก 15
 กรอบคณุ ธรรมของหนว ยตรวจสอบภายในจังหวัดตาก 19

สว นท่ี 3 แผนการตรวจสอบ 25
 แผนการตรวจสอบประจาํ ป พ.ศ. 2564 25
 แผนการตรวจสอบภายในระยะยาว 25
47
สวนที่ 4 ผลการปฏิบตั งิ านตามแผนการตรวจสอบ 48
 เปาหมายการปฏิบัตงิ าน
 ผลการปฏิบัตงิ านตามแผนการตรวจสอบ 49
 สรปุ ขอตรวจพบ และขอเสนอแนะจากการตรวจสอบ
 งานบริการใหคําปรึกษา

สวนที่ 5 การปฏิบตั งิ านอืน่ ๆ ของหนวยตรวจสอบภายในจงั หวัดตาก
สวนที่ 6 ผลสํารวจความพงึ พอใจของหนวยรบั ตรวจ

ตอ การปฏบิ ัตงิ านของหนวยตรวจสอบภายในจังหวดั ตาก

บทนํา

ขอ มลู ท่วั ไป วสิ ยั ทศั น พันธกิจ
ยทุ ธศาสตรจ ังหวัดตาก

รายงานผลการดาํ เนินงานของหนว ยตรวจสอบภายในจังหวัดตาก
ประจาํ ปง บประมาณ พ.ศ. 2564

1

จังหวดั ตาก

ขอ มูลทั่วไปของจงั หวัดตาก

ตราประจําจงั หวัด

รูปพระบรมรูปสมเด็จพระนเรศวรมหาราชทรงชางเหนือครุฑหล่ังนํ้าทักษิโณฑก หมายถึง
เม่ือสมเด็จพระนเรศวรมหาราช ทรงยกกองทัพไปชวยพระเจาหงสาวดีรบอังวะน้ัน พระมหาอุปราช
เมืองพมาสั่งใหทหารคูใจคอยตีขนาบและปลงพระชนมเสียใหได ความแตกรูถึงพระกรรณสมเด็จพระนเรศวร
ท่ีเมืองแครง จึงทรงประชุมชาวเมืองและบรรดาแมทัพนายกอง เมื่อเดือน 2 ปวอก พ.ศ. 2127
ทรงหล่ังนํ้าทักษิโณฑกเหนือแผนดิน ประกาศอิสรภาพไมยอมข้ึนกับเมืองอังวะอีกตอไป จังหวัดตากเปน
ดานแรกที่สมเด็จพระนเรศวรทรงชางยกกองทัพกลับเขามาถึงราชอาณาจักรไทยเชนเดียวกับที่เมืองนี้
เคยเปนทางผานทีช่ าวอินเดียเดนิ ทางเขา เมืองไทยในสมยั โบราณ

ธงประจาํ จงั หวัด

ธงพ้ืนสีมวงสลับเหลือง 7 แถบ เปนสีมวง 4 แถบ สีเหลือง 3 แถบ มี่ดานคันธงมีรูปตรา
ประจาํ จงั หวัดเปน รูปสมเดจ็ พระนเรศวรมหาราชทรงหลัง่ ทกั ษโิ ณทกเหนอื คอชา งในพื้นสามเหลีย่ มสนี ้ําเงิน

ที่ตง้ั อาณาเขต แผนที่

จังหวัดตากตั้งอยูภาคเหนือตอนลางของประเทศ มีพ้ืนท่ีทั้งหมด 16,406.65 ตารางกิโลเมตร
เปนจังหวัดที่มีขนาดเปนอันดับ 4 ของประเทศและเปนอันดับ 2 ของภาคเหนือ ต้ังอยูระหวางเสนรุงท่ี
15 องศา 50 ลิปดา 36 ฟลิปดาเหนือ และเสนแวงท่ี 99 องศา 7 ลิปดา 22 ฟลิปดาตะวันออก
สงู กวาระดบั นํ้าทะเล 116.2 เมตร มีระยะทางหา งจากกรุงเทพฯ เปน ระยะทาง 426 กโิ ลเมตร

2

สภาพภูมิประเทศของจังหวัดตากเปนพื้นที่ตามแนวเทือกเขา โดยสภาพพ้ืนทจ่ี ะถูกแบงออกเปน
2 สวนใหญ ๆ โดยมีเทือกเขาถนนธงชัยก้นั กลาง ทําใหลักษณะภูมอิ ากาศแตกตางกันไป เน่อื งจากเทือกเขา
ถ น น ธ ง ชั ย เป น ตั ว ป ะ ท ะ ม ร สุ ม ต ะ วั น ต ก เฉี ย ง ใ ต ท่ี พั ด ม า จ า ก ม ห า ส มุ ท ร อิ น เดี ย แ ล ะ ท ะ เล อั น ด า มั น
ทาํ ใหซีกตะวันออกไดรบั ความชุมชื้นจากลมมรสมุ ไมเต็มท่ี สภาพแหงแลง สวนฝงตะวันตกจะไดรบั อิทธิพล
จากลมมรสมุ มากกวา ทําใหป ริมาณฝนตกมีความชุมชนื้ โดยเฉพาะในท่ที ่ีอยูในเขตภเู ขา

สวนที่ 1 ต้ังอยูดานทิศตะวันออก ประกอบดวย 4 อําเภอ ไดแก อําเภอเมืองตาก อําเภอ
บานตาก อําเภอสามเงา และอําเภอวังเจา สภาพพ้ืนที่สวนใหญเปนภูเขาสูงและท่ีราบสูง ลาดเอียงลงไป
ทางทิศตะวันออกสูแมนํา้ ปง และแมน า้ํ วงั ทําใหเ กิดพื้นทร่ี าบแคบรมิ สองฝง ของแมน ํ้า

สวนท่ี 2 ต้ังอยูทางดานทิศตะวันตก ประกอบดวย 5 อําเภอ ไดแกอําเภอแมสอด อําเภอ
พบพระ อําเภอแมระมาด อําเภออุมผาง และอําเภอทาสองยาง ภูมิอากาศไดรับอิทธิพลมาจากมหาสมุทร
อนิ เดยี และทะเลอนั ดามัน มีความชุมช้ืน ฝนตกมากกวา ซีกดานตะวนั ออก

จังหวัดตากมอี าณาเขตตดิ ตอ กบั จังหวดั แมฮอ งสอน เชียงใหม ลําพูน ลาํ ปาง สโุ ขทัย กาํ แพงเพชร
นครสวรรค อุทัยธานี กาญจนบุรี และสาธารณรัฐแหงสหภาพเมียนมา ยาวประมาณ 540 กม. (แมนํ้าเมย
170 กม เทอื กเขาตะนาวศรี 370 กม.)
ระยะทางจากอาํ เภอเมืองตากไปอาํ เภอใกลเคียง

อําเภอบา นตาก 22 กโิ ลเมตร
อําเภอวังเจา 38 กิโลเมตร
อําเภอสามเงา 56 กิโลเมตร
อําเภอแมสอด 86 กิโลเมตร
อาํ เภอแมระมาด 120 กโิ ลเมตร
อําเภอพบพระ 135 กิโลเมตร
อาํ เภอทา สองยาง 170 กิโลเมตร
อําเภออุมผาง 251 กโิ ลเมตร

3

วสิ ยั ทศั น พันธกจิ เปาประสงค

วสิ ยั ทศั น
“เมืองนา อยู ประตูการคา ชายแดน”

พนั ธกจิ
1. เพอื่ พัฒนาคณุ ภาพชีวติ ประชาชน ใหมรี ายไดและคุณภาพชวี ติ ที่ดีขนึ้
2. เพ่ืออนุรักษ ฟน ฟู และปองกนั รักษาทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละสิ่งแวดลอ มอยา งยั่งยืน
3. เพือ่ พัฒนาประสิทธภิ าพการผลติ ทางการเกษตรและเพิม่ มูลคา สนิ คา ทางการเกษตร
4. เพื่อพฒั นาการทองเที่ยว สินคา OTOP และสงเสริมการคา การลงทุน ในพ้ืนที่การคา ชายแดน

และเขตพฒั นาเศรษฐกิจพเิ ศษ
5. พัฒนาระบบบริหารจัดการภาครัฐและเพ่ิมประสิทธิภาพการปองกันรักษาความมั่นคง

ความสงบเรียบรอ ย

เปา ประสงค

1. ประชาชนไดรับการแกไขปญหาความเดือดรอน มีคุณภาพชีวิตและสุขภาพที่ดีข้ึน
นอ มนําปรชั ญาเศรษฐกิจเศรษฐกจิ พอเพียงมาใชใ นชวี ติ ประจําวนั

2. ทรัพยากรธรรมชาตไิ ดร ับการอนุรักษ ฟนฟู และปองกันรกั ษาใหคงอยอู ยางยง่ั ยนื
3. สงเสริมการทําเกษตรอินทรีย เกษตรอุตสาหกรรม เพ่ือสรางมูลคา และเพ่ิมชองทาง
จําหนา ยสินคาโดยใชน วัตกรรมและเทคโนโลยใี นการผลิตและการตลาด
4. เพ่ิ มศัก ยภ าพ การท องเที่ ยว ธุรกิจ บ ริการ และผลิตภัณ ฑ ชุม ช น ให มีคุณ ภ าพ
ยกระดับมาตรฐานการสรา งมูลคาเพ่ิมและสรางรายไดใ นกับประชาชนในพน้ื ท่ี
5. เพ่ิมศักยภาพการคาชายแดน และพ้ืนท่ีเขตเศรษฐกิจพิเศษ ใหเช่ือมโยงกับอนุภูมิภาค
GMS BIMSTEC และ AEC เพ่อื ขยายฐานเศรษฐกจิ และขดี ความสามารถในการแขงขนั
6. พัฒนาประสทิ ธภิ าพการบรหิ ารจดั ภาครัฐ และประชาชนมีความมั่นคงปลอดภยั ในชวี ิตและทรัพยสนิ

4

ประเดน็ ยุทธศาสตรข องจงั หวัดตาก

ประเด็นยทุ ธศาสตร 1 การพฒั นาคณุ ภาพชวี ติ ประชาชน และแกไขปญ หาความยากจน

จังหวัดมุงเนนที่จะแกไขปญหาความยากจนของประชาชนในพื้นท่ี ผูดอยโอกาส และราษฎร
ชาวไทยภูเขาและผูที่มีรายไดต่ํากวาเกณฑ จปฐ. และกระจายความเจริญของระบบโครงสรางพื้นฐาน
สูทองถน่ิ ทรุ กนั ดาร โดยไดด ําเนนิ การจดั ทําโครงการแกไ ขปญ หาดังกลาว ดงั นี้

1. พฒั นาคุณภาพชีวติ ราษฎรชาวไทยภูเขา และผูด อยโอกาสใหมีรายไดอ ยา งยั่งยนื
2. กอสราง/ปรับปรุงถนน ไฟฟา ประปาในถ่ินทุรกันดาร ใหสามารถเขาถึงบริการสาธารณะ
ของภาครฐั
3. สงเสริมอาชีพ สรางรายไดใหแกราษฎรครอบคลุมทุกพื้นที่ โดยนอมนําหลักปรัชญา
เศรษฐกิจพอเพียงมาเปนแนวทางในการขับเคลอื่ นการพัฒนาคุณภาพชวี ติ
4. สนองโครงการพระราชดาํ รฯิ ของพระบรมวงศานวุ งศ เพอื่ นํามาเปนแนวทางในการพัฒนา
5. สง เสริมและพฒั นาการระบบสุขภาพ การศึกษา และการเขาถงึ บริการภาครัฐ

ประเด็นยุทธศาสตร 2 การจัดการทรัพยากรธรรมชาติและส่งิ แวดลอม

จังหวัดมุงเนนใหประชาชนอยูรวมกับปาไดอยางสมดุลและย่ังยืน โดยการปองกัน อนุรักษ
ฟนฟูทรัพยากรธรรมชาติ เพิ่มปริมาณพื้นที่ปาไม ปองกันปญหาการบุกรุกทําลายปาไมในบางพ้ืนท่ีและ
ปญหาภัยพิบัติทางธรรมชาติ และภยั ทีเ่ กิดขน้ึ จากฝม อื คน โดยไดดาํ เนนิ การจดั ทาํ โครงการแกไขปญ หาดังกลา ว ดงั น้ี

1. กอสรา งเขือ่ นปองกันตลงิ่
2. กอ สรา งแกม ลงิ ฝายชะลอนาํ้ ฝายใตท รายแกนดนิ เหนยี ว
3. การปลกู ปา ทดแทน
4. สรา งปา สรางรายได
5. สง เสรมิ การปลกู พชื สมุนไพร บกุ และการนําทรพั ยากรธรรมชาตมิ าใชใ หเ กิดประโยชนส งู สดุ
6. ระบบบริหารจัดการขยะชมุ ชน

ประเดน็ ยทุ ธศาสตร 3 การพฒั นาผลติ ภาพทางการเกษตร

จังหวัดมุงเนนการท่ีจะชวยเหลือเกษตรอยางเปนระบบ โดยการสงเสริมการเพาะปลูก
โดยลดการใชสารเคมีมุงไปสูเกษตรปลอดภัย พัฒนาสินคาทางการเกษตร การปศุสัตว (เล้ียงโคเนื้อ)
การจัดชองทางจําหนายสินคา และการพัฒนาแหลงนํ้าเพ่ือการเกษตร แกไขปญหาการขาดแคลนน้ํา
เพอ่ื การเกษตรในฤดูแลง โดยไดด าํ เนินการจัดทําโครงการแกไขปญ หาดังกลา ว ดังน้ี

1. สง เสรมิ การแปรรูป การผลติ และการหาชองทางการตลาด เชน สง เสริมโคเนื้อพนั ธุต ากแบบครบวงจร
2. สง เสริมการเกษตรผสมผสานตามแนวพระราชดาํ ริ
3. พัฒนาแหลงนํ้าเพื่อการเกษตร เชน การขุดสระสําหรับกักเก็บน้ํา การขุดลอกทางนํ้า
เขาสูพืน้ ที่การเกษตรเพือ่ ปองกนั และแกไ ขปญ หาภยั แลง และอุทกภยั
4. สงเสรมิ การเกษตรปลอดภยั ลดใชส ารเคมี เพ่อื เปลีย่ นแปลงพฤติกรรมการผลติ ของเกษตรกร

5

ประเด็นยุทธศาสตร 4 การสง เสริมการทองเท่ียว สนิ คา OTOP และการคาชายแดน

จังหวัดมุงเนนท่ีจะเพ่ิมรายไดใหกับประชาชนในพื้นที่ โดยการสงเสริมการทองเท่ียว
การพัฒนาผลิตภัณฑ OTOP พรอมท้ังจัดชองทางจําหนายสินคา และกระตุนเศรษฐกิจสงเสริมการคา
การลงทุนในพื้นที่ ตลอดจนพัฒนาศักยภาพของหนวยงานภาครัฐ ภาคเอกชน และประชาชนในพ้ืนท่ี
เพ่ือรองรับการเปนเขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษตาก และสรางความสัมพันธเมืองพี่เมืองนองกับ
ประเทศเมียนมา ในการเตรียมความพรอมสูประชาคมอาเซียน โดยไดดําเนินการจัดทําโครงการแกไข
ปญหาดังกลาว ดังน้ี

1. สง เสรมิ และพฒั นาแหลงทองเท่ียว
2. ขับเคลื่อนการพัฒนาประสิทธิภาพของจังหวัดมงุ สปู ระชาคมอาเซยี น (AEC)
3. สง เสรมิ พฒั นาจดั หาชองทางการจาํ หนา ยสินคา OTOP
4. การขบั เคลอื่ นเขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษ

ประเดน็ ยุทธศาสตร 5 การบริหารจดั การภาครฐั และการรกั ษาความมัน่ คงชายแดน และความสงบ
เรียบรอย

จงั หวดั มงุ เนนการใหบริการประชาชน ความคุมคา และประสทิ ธิภาพในการปฏบิ ัติงาน โดยได
ดาํ เนนิ การจัดทําโครงการเกยี่ วกับการบรหิ ารจดั การภาครัฐ เชน พฒั นาบุคลากรภาครฐั พัฒนาศักยภาพ
การปฏิบตั งิ านของคณะกรรมการหมูบา น และมงุ มั่นทจ่ี ะรักษาความปลอดภัยในชีวิตและทรัพยส ิน
ตลอดจนความสงบเรียบรอยในพื้นทีช่ ายแดน โดยไดดําเนินการจดั ทาํ โครงการแกไ ขปญหาดงั กลาว ดงั นี้

1. จดั ตง้ั จดุ ตรวจ จุดสกดั การทําผิดกฎหมายในพืน้ ทช่ี ายแดน
2. อบรมกองกําลังประชาชนเพือ่ สรางความเขมแข็งในระดับหมูบานและชุมชน
3. การเชื่อมความสัมพนั ธด านความมัน่ คงระหวา งประเทศ

สว นท่ี 1

ขอ มูลท่วั ไป
เกยี่ วกบั หนว ยตรวจสอบภายในจงั หวดั ตาก

รายงานผลการดาํ เนนิ งานของหนว ยตรวจสอบภายในจงั หวดั ตาก
ประจาํ ปงบประมาณ พ.ศ. 2564

6

โครงสรางการบริหารงานหนวยตรวจสอบภายในจังหวดั ตาก
ผูวาราชการจงั หวัดตาก

หนว ยตรวจสอบภายในจังหวดั ตาก

รองผวู าราชการ รองผวู า ราชการ รองผวู า ราชการ
จงั หวัดตาก จงั หวัดตาก จงั หวดั ตาก

โครงสรา งอตั รากําลงั ผตู รวจสอบภายในจังหวัดตาก

หวั หนาหนวย
ตรวจสอบภายในจงั หวดั ตาก

ผูตรวจสอบภายในจังหวดั
ตามกรอบ 2 อัตรา

หนว ยตรวจสอบภายในจังหวัดตากมสี ายบงั คับบญั ชาขึน้ ตรงตอ ผูว า ราชการจงั หวัดตาก
ประกอบดวยอัตรากาํ ลงั จํานวน 3 คน ดงั นี้

1. นางสาวจารุวรรณ เสือเพ็ง ตําแหนง หวั หนา หนวยตรวจสอบภายในจงั หวดั ตาก
2. นางสาวณพัชร สริ โิ ชติธนา ตาํ แหนง นักวิชาการตรวจสอบภายในชาํ นาญการ
3. นางสาวพัทธวรรณ จิตม่ัน ตําแหนง นกั วิชาการตรวจสอบภายในชาํ นาญการ

7

การตรวจสอบภายในสวนราชการ

หนวยตรวจสอบภายในจังหวัดตากไดกําหนดประเภทของงานตรวจสอบภายในตามแนวทาง
ของกรมบัญชีกลางและกระทรวงมหาดไทย ดังน้ี

การตรวจสอบการเงิน (Financial Audit)

หมายถึง การตรวจสอบความถูกตอง ความครบถวน และความเชื่อถือไดของขอมูลการเงิน
และรายงานการเงิน การตรวจสอบการปฏิบัติตามมาตรฐานการบัญชี นโยบายการบัญชี กฎหมาย ระเบียบ
ขอบังคับ หลักเกณฑ ประกาศที่เก่ียวของ รวมถึง การประเมินความเส่ียง ระบบการควบคุมภายใน
และความเปน ไปไดท ี่จะเกดิ ขอ ผดิ พลาดและการทุจริต ดานการเงนิ การบญั ชี

การตรวจสอบการปฏบิ ตั ติ ามกฎระเบียบ (Compliance Audit)

หมายถึง การตรวจสอบการปฏิบัติตามกฎหมาย ระเบียบ ขอบังคับ หลักเกณฑ ประกาศ
มติคณะรฐั มนตรี รวมถงึ มาตรฐาน แนวปฏิบตั ิ และนโยบายที่กําหนดไว

การตรวจสอบดา นการปฏิบตั งิ าน (Operation Audit)

หมายถึง การตรวจสอบเพื่อประเมินระบบการควบคุมภายใน ดานการจัดการ ดานการเงิน
การบัญชี พัสดุ เพ่ือใหองคกรมีความม่ันใจวา สวนราชการมีระบบการควบคุมภายในที่เพียงพอ
เหมาะสมตอการปฏิบัติงานและเพียงพอตอการปองกันการทุจริต โดยเม่ือผูตรวจสอบภายในตรวจหนวยงานใด
ก็ใหประเมินระบบการควบคมุ ภายในของหนว ยงานนัน้ ๆ

การตรวจสอบดานการบริหาร (Management Audit)

หมายถึง การตรวจสอบระบบการบริหารจัดการดานตาง ๆ ใหเหมาะสม สอดคลองกับภารกิจ
และหลักการกํากบั ดูแลท่ีดี (Good Governance) ในเรื่องความเชอื่ ถือ ความรับผดิ ชอบ ความเปนธรรมและ
ความโปรงใส ทุจริต โดยเมื่อผูตรวจสอบภายในตรวจหนวยงานใด ก็ใหประเมินระบบการบริหารจัดการ
ดานตา ง ๆ ของหนว ยงานนนั้

การตรวจสอบการดําเนินงาน (Performance Audit)

หมายถึง การตรวจสอบความประหยัด ความมีประสิทธิผล ความมีประสิทธิภาพ และความคุมคา
ของกิจกรรมทต่ี รวจสอบ

การตรวจสอบดา นเทคโนโลยีสารสนเทศ (Information Technology Audit)

หมายถึง การตรวจสอบระบบสารสนเทศในการดําเนินงาน เพื่อใหทราบวาระบบงานมีความถูกตอ ง
เปนปจจุบัน เช่ือถือได และขอมูลที่ไดจากการประมวลผลดวยคอมพิวเตอร รวมท้ัง ระบบการเขาถึงขอมูล
ในการปรบั ปรงุ แกไขและการเกบ็ รกั ษาความปลอดภยั ของขอ มูลมีการใชงานจริง

8

งานบริการใหคาํ ปรกึ ษา (Consulting Services)

หมายถึง การบริการใหคําปรึกษา แนะนํา และบริการอื่น ๆ ท่ีเก่ียวของ ซ่ึงลักษณะงานและขอบเขต
ของงานจะเปนไปตามขอตกลงท่ีทําข้ึนรวมกับผูรับบริการโดยมีจุดประสงคเพื่อเพิ่มคณุ คา ใหกับหนวยงานของรัฐ
และปรับปรงุ กระบวนการการกํากับดูแล การบรหิ ารความเสี่ยง และการควบคุมของหนวยงานของรฐั ใหดีขึ้น

หนวยรับตรวจ

มีหนวยรบั ตรวจในความรับผดิ ชอบ ดังนี้
1. สว นราชการสวนภมู ิภาค จํานวน 33 หนวยงาน และอําเภอ 9 อาํ เภอ
2. สวน ราชการท่ี ได รับ งบ ป ระม าณ ภ าย ใต งบ ป ระมาณ จังห วัดแล ะงบ กลุม จังห วัด
ที่ใหจ งั หวดั เบกิ แทน (รหัส G)

สว นท่ี 2

กฎบตั รและกรอบคุณธรรม
ของหนวยตรวจสอบภายในจงั หวัดตาก

รายงานผลการดาํ เนนิ งานของหนว ยตรวจสอบภายในจงั หวดั ตาก
ประจาํ ปง บประมาณ พ.ศ. 2564

9

กฎบตั รการตรวจสอบภายใน
ของหนว ยตรวจสอบภายในจงั หวดั ตาก

กฎบัตรนี้ จัดทําขึ้นเพ่ือกําหนดวัตถุประสงค สายการบังคับบัญชา อํานาจหนาที่และ
ความรับผิดชอบของหนวยตรวจสอบภายในจังหวัดตากไวอยางเปนทางการ เพื่อใหผูบริหารและหนวยรับตรวจ
มคี วามเขาใจในแนวทางการดาํ เนนิ การและการปฏิบัตงิ านตรวจสอบภายในทสี่ าํ คัญ ตามหลักการทมี่ าตรฐาน
การตรวจสอบภายในและจริยธรรมการปฏิบตั งิ านตรวจสอบภายในของสว นราชการ

 คํานยิ าม

การตรวจสอบภายใน หมายความวา กิจกรรมการใหความเช่ือม่ันและการใหคําปรึกษา
อยางเท่ียงธรรมและเปนอิสระ ซ่ึงจัดใหมีข้ึนเพ่ือเพิ่มคุณคาและปรับปรุงการปฏิบัติงานของสวนราชการ
ใหดีขึ้น การตรวจสอบภายในจะชวยใหสวนราชการบรรลุถึงเปาหมายและวัตถุประสงคท่ีกําหนดไว
ดว ยการประเมินและปรับปรุงประสิทธิผลของกระบวนการบรหิ ารความเส่ยี ง การควบคุม และการกํากับดูแล
อยา งเปนระบบ

หนวยตรวจสอบภายใน หมายความวา หนวยงานท่ีรับผิดชอบงานตรวจสอบภายในของ
สวนราชการตามท่กี ําหนดไวในกฎกระทรวงแบง สวนราชการ

หนว ยรับตรวจ หมายความวา หนวยงานที่รบั ผิดชอบการปฏบิ ัติงานราชการบริหารสวนภมู ิภาค

 วัตถุประสงคข องการตรวจสอบภายใน

หนวยตรวจสอบภายในจังหวัดจัดต้งั ขึ้นเพื่อใหบริการตอฝายบริหาร เพ่ือใหเกิดความม่ันใจ
ตอความมีประสิทธิภาพ ประสิทธผิ ลของการดาํ เนินงานและความคุมคาของการใชจายเงินของจงั หวดั รวมท้ัง
ความถูกตองและเชอื่ ถอื ไดของขอมูล และรายงานทางการเงิน ตลอดจนการปฏบิ ตั ิตามกฎระเบยี บทเี่ กีย่ วขอ ง

 สายการบังคบั บญั ชา

٠ หัวหนาหนวยตรวจสอบภายในเปนผูบริหารสูงสุดของหนวยตรวจสอบภายในจังหวัด
และมสี ายการบังคบั บัญชาขน้ึ ตรงตอ ผวู าราชการจังหวัด

٠ การเสนอแผนการตรวจสอบประจําป ใหหัวหนาหนวยตรวจสอบภายในเสนอตอ
ผูว าราชการจงั หวดั

٠ หนว ยตรวจสอบภายในจงั หวัดรายงานผลการตรวจสอบโดยตรงตอผูว าราชการจังหวดั

 อํานาจหนาที่

٠ หนวยตรวจสอบภายในจังหวัดมีหนาที่ในการบริการใหคําปรึกษา (Consulting
Services) และการบริการใหความเช่ือมั่น (Assurance Services) อยางเปนอิสระและเที่ยงธรรม
เพ่อื ชวยเพมิ่ มูลคาและปรับปรงุ การดาํ เนินงานของจังหวัดใหบรรลุวัตถปุ ระสงคท่วี างไว

10

٠ หัวหนาหนวยตรวจสอบภายในและผูตรวจสอบภายในไดรับอนุมัติและมีสิทธิในการ
เขาถึงขอมูล ระบบงาน บุคคล เอกสารหลักฐาน ทรัพยสิน และการดําเนินกิจกรรมตาง ๆ รวมถึง
การสอบถาม การสังเกตการณ และการขอคําช้ีแจงจากเจาหนาท่ีที่เก่ียวของกับการปฏิบัติงานตรวจสอบ
ตลอดจนเขารวมประชุมกับผูบริหารในเรื่องเก่ียวกับนโยบายและการดําเนินงานของสวนราชการ เพื่อรับ
ความขอมลู ที่เปนประโยชนต อ การปฏบิ ตั งิ าน

٠ หัวหนาหนวยตรวจสอบภายในมีหนาท่ีรับผิดชอบในผลงานตามหนาที่ตอผูบริหาร
ของจังหวัด ในการรายงานผลการประเมินประสทิ ธิภาพของระบบการควบคุมภายใน และการบริหารจัดการ
ความเส่ียง รวมท้ังรายงานผลการปฏบิ ัตงิ านและการปฏบิ ัติตามแผนงาน

٠ หนวยตรวจสอบภายในจังหวัดไมมีอํานาจหนาที่ในการกําหนดนโยบาย วิธีการปฏิบัติงาน
และระบบการควบคุมภายใน หรือแกไขระบบการควบคุมภายใน ซ่ึงหนาที่ดังกลาวอยูในความรับผิดชอบของ
ผบู รหิ ารทุกระดับทเ่ี ก่ยี วของ ผตู รวจสอบภายในมีหนาที่เพียงเปน ผูประเมินและใหคําปรึกษาแนะนาํ

 ความรับผดิ ชอบ

หัวหนา หนวยตรวจสอบภายในและผตู รวจสอบภายใน มีหนา ที่ดังน้ี

٠ จัดทําแผนการตรวจสอบภายในประจําป โดยพิ จารณาจากปจจัยเสี่ยง (Risk-based
Methodology) เพ่ือเสนอใหผูวาราชการจังหวัดพิจารณาอนุมัติ รวมถึงดําเนินการตรวจสอบใหบรรลุ
ตามแผนการตรวจสอบทวี่ างไว รวมท้งั โครงการพิเศษท่ีส่งั การโดยผูวาราชการจงั หวัด

٠ การปฏิบัติงานตรวจสอบภายในใหเปนไปตามมาตรฐานการตรวจสอบภายในและ
จริยธรรมการปฏบิ ตั ิงานตรวจสอบภายในของสว นราชการ

٠ ก า ร ป ฏ ิบ ัต ิง า น ต ร ว จ ส อ บ ด า น ก า ร เงิน ก า ร บ ัญ ช ี (Financial Audit)
การตรวจสอบการปฏิบัติงานตามขอกําหนดของระเบียบ (Compliance Audit) การตรวจสอบ
ก า ร ดํ า เน ิน งา น (Performance Audit) ก า ร ต ร ว จ ส อ บ ก า ร ป ฏ ิบ ัต ิงา น (Operation Audit)
การตรวจสอบการบริหาร (Management Audit) การตรวจสอบระบบงานสารสนเทศ (Information
System Audit) ของหนวยงานราชการบริหารสวนภูมิภาค จังหวัดตาก ใหเปนไปตามระเบียบ
ขอบังคับ มติคณ ะรัฐมนตรี และนโยบายของทางราช การ ใหบรรลุเปาหม ายเปนไปอยางมี
ประสิทธิภาพและประสิทธิผลตามแผนการตรวจสอบที่วางไว

٠ รายงานผลการตรวจสอบ ภายในเวลาอันสมควรหรืออยางนอยทุกสองเดือน
นับจากวันที่ตรวจสอบแลวเสร็จตามแผน กรณีเร่ืองที่จะมีผลเสียหายตอทางราชการใหรายงานผลการ
ตรวจสอบทันที

٠ ผูบริหารหนวยรับตรวจมีหนาท่ีชี้แจงและตอบขอซักถามตาง ๆ พรอมท้ังหาขอมูล
เพิ่มเติมใหแกผูตรวจสอบภายใน รวมทงั้ การปฏิบัติตามขอทักทวง และขอเสนอแนะของผตู รวจสอบภายใน

11

ในเร่ือง ตาง ๆ ท่ีผูวาราชการจังหวัดส่ังการใหปฏิบัติ และรายงานเปนลายลักษณอักษรภายใน 60 วัน
นับจากวนั ที่ไดร ับรายงาน

٠ ผูตรวจสอบภายในมหี นาท่ีความรับผิดชอบในการติดตามผลการตรวจสอบตามประเด็น
ขอ ตรวจพบและขอ เสนอแนะตาง ๆ ภายในระยะเวลาทีเ่ หมาะสม

٠ ประสานงานกับหนวยงานตางๆ ที่เก่ียวของ รวมท้ังสํานักงานการตรวจเงินแผนดิน
เพื่อใหก ารปฏิบัติงานตรวจสอบภายในบรรลุเปาหมายและเปน ไปอยา งมีประสทิ ธภิ าพ

٠ เอกสาร ขอมูล ที่ผูตรวจสอบภายในไดมาหรือรับรูจากการตรวจสอบจะถูกรักษาไว
เปนความลับและไมเปดเผยแกบุคคลอื่นใด โดยไมไดรับอนุญาตจากผูมีอํานาจที่เกี่ยวของ เวนแตเปนการเปดเผย
ตามหนาท่ี ทีก่ ฎหมายบังคบั

٠ ปฏิบัติงานอื่นๆ ตามที่ผูวาราชการจังหวัดมอบหมาย นอกเหนือจากแผนการ
ตรวจสอบ ที่อนุมัติแลว ทั้งน้ี งานดังกลาวตองไมเ ปนอุปสรรคตอการปฏิบัติงานตรวจสอบภายใน และไมทํา
ใหผ ูตรวจสอบภายในขาดความเปน อิสระและเทย่ี งธรรมหรือมีสว นไดสว นเสียในกจิ กรรมทตี่ รวจสอบ

 ขอบเขตของการปฏิบตั ิงาน

หนวยตรวจสอบภายในจังหวดั มีขอบเขตการปฏบิ ัติงาน ดงั น้ี
٠ ตรวจสอบและประเมินผลความถูกตองและเชื่อถือไดของขอมูลและตัวเลขตางๆ
ทางการเงนิ บัญชี และรายงานทางการเงิน
٠ ตรวจสอบการดําเนินงานโครงการและประเมินผลการปฏิบัติงานดานตาง ๆ ของ
หนวยงานใหเ ปน ไปตามนโยบาย กฎหมาย ระเบียบ ขอบังคบั คําสงั่ และมติคณะรฐั มนตรที ่ีเกย่ี วขอ ง
٠ ตรวจสอบและประเมินผลประสิทธิภาพ ประสิทธิผล และความคุมคาของแผนงาน
โครงการตา งๆ ของสว นราชการตามวตั ถปุ ระสงค เปาหมาย และตวั ชี้วดั ทก่ี าํ หนด
٠ ตรวจสอบและประเมินผลระบบงานสารสนเทศ เพ่ือใหเกิดความถูกตองและเช่ือถือได
ของระบบและขอมลู ท่ีไดจากการประมวลผลดว ยระบบคอมพวิ เตอร
٠ ประเมินผลระบบควบคุมภายในของหนวยรับตรวจดานการบริหารจัดการ ดานการเงิน
การบั ญ ชี การดูแลรักษาทรัพยสินและการใชทรัพยากร เพื่ อใหม่ันใจวาสวนราชการมีระบบ
การควบคมุ ภายในท่เี พยี งพอ เหมาะสม รวมทงั้ ลดโอกาสในการนาํ ไปสูการทุจริต
٠ ตรวจสอบดานการบริหาร โดยตรวจสอบระบบการบริหารจัดการดานตาง ๆ
ใหเ หมาะสมใหส อดคลองกับภารกจิ และหลักการกาํ กับดูแลกิจการทด่ี ี (Good Governance)

12

 ขอ จํากดั ของการปฏิบตั งิ านตรวจสอบภายใน
٠ ผูตรวจสอบภายในตอ งไมประเมินงานที่ตนเคยมีหนาทรี่ บั ผิดชอบมากอน เพราะอาจทํา

ใหผูตรวจสอบภายในสูญเสียความเท่ียงธรรม แตสามารถปฏิบัติงานบริการใหคําปรึกษาในงานท่ีตนเคยมี
หนาท่ีรบั ผิดชอบมาดวยความเท่ียงธรรมได

ทั้งน้ี ตง้ั แตว ันที่ 1 ตุลาคม พ.ศ. ๒๕63

ลงช่อื ผูอ นมุ ตั ิ

(นายอรรษิษฐ สัมพันธรตั น)
ผูว า ราชการจังหวัดตาก

13

กรอบคณุ ธรรม
ของหนวยตรวจสอบภายในจังหวัดตาก

ห ลั ก เก ณ ฑ ก ร ะ ท รว ง ก า ร ค ลั งว า ด ว ย ม า ต ร ฐ า น แ ล ะ ห ลั ก เก ณ ฑ ป ฏิ บั ติ ก า ร ต รว จ ส อ บ ภ า ย ใน
สําหรับหนวยงานของรัฐ พ.ศ. 2561 และหลักเกณฑการประกันคุณภาพงานตรวจสอบภายในภาครัฐ
พ.ศ. 2559 กําหนดประเด็นการพิจารณาดานกํากับดูแล (Governance) โครงสรางและสายการรายงาน
เกณฑการพิจารณาท่ี 2) มีการกําหนดกรอบคุณธรรมของหนวยตรวจสอบภายใน มีองคประกอบ
ทีป่ ระกอบดว ยการปฏิบัติตัวและการปฏิบัติงานของผตู รวจสอบภายในเกี่ยวกับความเที่ยงธรรมและขอจํากัด
ของความเปน อสิ ระหรอื ความเท่ียงธรรม

หนวยตรวจสอบภายในจังหวัดตากจึงกําหนดกรอบคุณธรรมฉบับนี้ขึ้น เพ่ือใหผูตรวจสอบภายใน
ตองพึงประพฤติปฏิบัติตนในอันท่ีจะนํามาซึ่งความเชื่อมั่นและการใหคําปรึกษาอยางเที่ยงธรรม เปนอิสระ
และเปยมดวยคุณภาพ โดยประพฤติอยูภายใตกรอบคุณธรรม มีองคประกอบท่ีประกอบดวยการปฏิบัติตน
และการปฏิบัตงิ านของผูตรวจสอบภายใน ดังน้ี

องคประกอบที่ 1 การปฏบิ ัตติ ัวของผูตรวจสอบภายใน

 ผูต รวจสอบภายในมีความรคู วามเชย่ี วชาญในวชิ าชีพการตรวจสอบ
 ผูตรวจสอบภายในมีการพัฒนาความรูความสามารถอยางตอเนื่อง พัฒนาศักยภาพของตนเอง
และพฒั นาประสทิ ธิภาพ/คณุ ภาพของการปฏิบตั งิ านตรวจสอบภายในอยา งสมา่ํ เสมอ
 ผูต รวจสอบภายในใหบรกิ ารในการตรวจสอบภายในและใหคําปรึกษา/คําแนะนําดวยความเต็มใจ
 ผูตรวจสอบภายในทํางานรวมกันเปนทีม มีมนุษยสัมพันธ และยอมรับฟงความคิดเห็นของ
ผูรว มงานและหนวยรบั ตรวจ
 ผูตรวจสอบภายในพึงประพฤติตนอยางมีจริยธรรมและคุณธรรมของขาราชการที่ดี ดวยความ
ซ่อื สตั ย สจุ ริต ไมร บั ผลประโยชนทม่ี คิ วรรับทง้ั ปวง ไมทจุ รติ ทงั้ ในรปู แบบของตวั เงนิ สง่ิ ของ และเวลาราชการ
รวมท้ัง ไมเขาไปเก่ียวของในการกระทําใด ๆ ท่ีขัดตอกฎหมาย หรือไมเขาไปมีสวนรวมในการกระทําที่อาจ
นําความเส่ือมเสยี มาสวู ชิ าชีพการตรวจสอบภายใน หรือความความเสียหายตอสว นราชการ
 ผูตรวจสอบภายในตองรอบคอบในการใชขอมูลตาง ๆ ที่ไดรับทราบจากการปฏิบัติงาน และ
ไมน ําขอมูลไปใชแสวงหาประโยชน รวมทง้ั ไมเปดเผยขอมูลดงั กลาวโดยไมไดรบั อนุญาตจากผมู ีอํานาจหนาท่ี
โดยตรงเสียกอน ยกเวน ในกรณที มี่ ีพันธะในแงข องงานอาชีพและเก่ียวของกบั กฎหมาย

องคประกอบที่ 2 การปฏบิ ตั งิ านของผูต รวจสอบภายใน

 การปฏิบัติงานตรวจสอบภายในตองเปนไปตามมาตรฐานการตรวจสอบภายในและจริยธรรม
การปฏิบัติงานตรวจสอบภายในของสวนราชการ รวมทั้งพึงยึดถือและปฏิบัติงานตรวจสอบภายในภายใต
หลกั กฎหมาย ระเบียบ ขอ บงั คบั และจรรยาบรรณของทางราชการอยา งเครงครัด

 ผูตรวจสอบภายในไมเขารวมเปนกรรมการใด ๆ ที่อาจนํามาซ่ึงความเสื่อมเสียตอวิชาชีพ
การตรวจสอบภายใน หรือสรา งความเสียหายตอสว นราชการ

14

 กิจกรรมการตรวจสอบตองเปนอิสระจากอิทธิพลอื่นใด ไมมีสวนไดสวนเสียในกิจกรรม
ท่ีตรวจสอบ ปราศจากการถูกแทรกแซงในการปฏิบัติงาน ทั้งในเรื่องของการกําหนดขอบเขตการตรวจสอบ
ข้ันตอนการปฏิบัติงาน ระยะเวลา และการรายงานผลการตรวจสอบ เพ่ือใหการปฏิบัติงานตรวจสอบเปนไป
อยางมีประสิทธิภาพ บรรลุเปา หมาย และเปน ไปตามแผนการตรวจสอบทวี่ างไว

 ผู ต รวจ สอ บ ภ ายใน ไม มี ห น าท่ี รับ ผิ ดช อบ ใน เร่ือ งการป ฏิ บั ติ งาน ป ระจํ าที่ มิ ใช
งานตรวจสอบภายใน กรณีท่ีไดรับมอบหมายใหปฏิบัติงานอ่ืนที่มิใชงานตรวจสอบถือวาไมไดป ฏิบัติหนาท่ีน้ัน
ในฐานะของผูตรวจสอบภายใน

 ผูตรวจสอบภายในไมประเมินงานที่ตนเคยมีหนาที่รับผิดชอบมากอน เพราะอาจจะทําให
ผูตรวจสอบภายในสญู เสยี ความเทย่ี งธรรมได

ทง้ั นี้ ต้งั แตว นั ท่ี 1 ตลุ าคม พ.ศ. 2563

ลงชื่อ ผูอนุมัติ

(นายอรรษิษฐ สัมพนั ธรตั น)
ผวู า ราชการจังหวัดตาก

สวนที่ 3

แผนการตรวจสอบประจําปง บประมาณ พ.ศ. 2564
และแผนการตรวจสอบภายในระยะยาว

รายงานผลการดาํ เนนิ งานของหนวยตรวจสอบภายในจงั หวดั ตาก
ประจําปง บประมาณ พ.ศ. 2564

15

หนว ยตรวจสอบภายในจงั หวดั ตาก
แผนการตรวจสอบประจําปงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๔

๑.๑ เพ่ือสอบทานระบบการควบคุมภายในและการบริหารความเสี่ยงของหนวยรับตรวจวา
มคี วามเพียงพอและเหมาะสม

๑.๒ เพ่ือพิสูจนความถูกตองและเชื่อถือไดข องขอ มูลและตัวเลขตาง ๆ ทางดานการเงิน การบัญชี
และดานอ่นื ๆ ทีเ่ กีย่ วของ

๑.3 เพื่อตรวจสอบการปฏิบัติงานของหนวยรับตรวจวาเปนไปตามกฎหมาย ระเบียบ ขอบังคับ
คําสงั่ มติคณะรฐั มนตรี และนโยบายท่กี าํ หนด

๑.4 เพ่ือติดตามและประเมินผลการบรหิ ารงานและการดําเนินงาน ตลอดจนใหขอ เสนอแนะหรือ
แนวทางการปรับปรุงแกไขการบริหารงานและการปฏิบัติงานดานตาง ๆ ใหมีประสิทธิภาพ ประสิทธิผลและ
บรรลุผลสมั ฤทธ์ิของงาน รวมท้งั ใหม กี ารบริหารจัดการที่ดี

๑.5 เพื่อใหหัวหนาสวนราชการไดทราบปญหาการปฏิบัติงานของผใู ตบังคับบัญชาและสามารถ
แกไ ขปญหาตาง ๆ ไดอ ยา งรวดเรว็ และทันเหตุการณ

๒. ขอบเขตการตรวจสอบ

ห น ว ย ต รว จ ส อ บ ภ า ย ใน จั งห วั ด ต า ก จ ะ ต รว จ ส อ บ ด าน Financial & Compliance
ดาน Performance ดาน Information Technology ดาน Operational และดาน Management
หนวยรบั ตรวจและโครงการที่จะตรวจสอบ ดงั นี้

2.1 ตรวจสอบดาน Financial & Compliance จํานวน 6 หนวยงาน ดังน้ี

2.1.1 สาํ นักงานจงั หวดั ตาก
2.1.2 สาํ นักงานบังคบั คดีจงั หวัดตาก
2.1.3 สาํ นกั งานการทอ งเท่ยี วและกฬี าจังหวัดตาก
2.1.4 ทีท่ าํ การปกครองจังหวัดตาก
2.1.5 สํานกั งานพระพุทธศาสนาจังหวัดตาก
2.1.6 สาํ นักงานพัฒนาชมุ ชนจังหวดั ตาก
2.1.7 สํานักงานปอ งกันและบรรเทาสาธารณภัยจังหวดั ตาก

2.2 ต ร ว จ ส อ บ ด า น ก า ร ดํ าเนิ น งา น (Performance) แ ล ะด า น Financial &
Compliance

โครงการบรรเทาปญ หาภัยแลงและนา้ํ ทว มในพืน้ ทีต่ าํ บลไมงาม อําเภอเมอื งตาก จังหวัดตาก
จํานวน 5 โครงการ งบประมาณ 1,829,300 บาท หนวยรับผิดชอบ ท่ีทําการปกครองอําเภอเมืองตาก
จงั หวัดตาก ประกอบดว ย

16

(1) โครงการขุดลอกคลองสามวา หมูท่ี 1 บา นเกาะตาเถยี ร งบประมาณ 482,400 บาท
(2) โครงการขุดเจาะบอ บาดาล หมูท่ี 5 บานวงั มว ง งบประมาณ 332,900 บาท
(3) โครงการขดุ บอ น้ําต้นื หมทู ่ี 7 บานหนองกระโห งบประมาณ 110,500 บาท
(4) โครงการขดุ สระนาํ้ หมทู ่ี 7 บานหนองกระโห งบประมาณ 472,000 บาท
(5) โครงการขุดสระนาํ้ หมทู ี่ 8 บานสามไร งบประมาณ 431,500 บาท

2.3 ตรวจสอบดานเทคโนโลยีสารสนเทศ (Information Technology) โครงการพัฒนา
ระบบการจดั การฐานขอมลู เวบ็ ไซตจังหวดั ตาก หนวยงานรับผดิ ชอบ สํานกั งานจงั หวดั ตาก

2.4 การตรวจสอบดานการปฏิบัติงาน (Operation Audit) การประเมินระบบการควบคุม
ภายในของหนวยรับตรวจตามขอ 2.1 จาํ นวน 3 หนว ยงาน

2.5 การตรวจสอบดานการบริหาร (Management Audit) ตรวจสอบดานการบริหาร
งบประมาณและ/หรอื การบริหารพสั ดขุ องหนว ยรับตรวจตามขอ 2.1 จํานวน 3 หนวยงาน

๓. ผรู ับผิดชอบในการตรวจสอบ ตําแหนง นักวชิ าการตรวจสอบภายในชํานาญการพิเศษ
3.1 นางสาวจารวุ รรณ เสอื เพ็ง ตําแหนง นกั วชิ าการตรวจสอบภายในชาํ นาญการ
3.2 นางสาวณพัชร สริ โิ ชตธิ นา ตาํ แหนง นักวชิ าการตรวจสอบภายในปฏบิ ัติการ
3.3 นางสาวพทั ธวรรณ จิตม่ัน

4. งบประมาณ งบประมาณท่ีจะใชในการตรวจสอบ ประกอบดว ย

4.1 คา ใชจ ายในการเดนิ ทางไปราชการ เปน เงิน 25,๐๐๐ บาท
75,๐๐๐ บาท
4.2 คา อบรม / สมั มนา เปนเงิน 2๐,๐๐๐ บาท
120,๐๐๐ บาท
4.3 คา ใชจ า ยอ่นื ๆ เชน คาวัสดุ / อุปกรณ ฯลฯ เปน เงนิ

(หน่งึ แสนสองหม่นื บาทถว น) รวมเปน เงนิ ท้งั ส้ิน

ลงชอ่ื ผเู สนอแผนการตรวจสอบ

(นางสาวจารุวรรณ เสือเพง็ )
หวั หนาหนวยตรวจสอบภายในจังหวดั ตาก

วนั ที่ 18 กันยายน ๒๕๖๓

ลงช่อื ผอู นุมตั ิ

(นายอรรษิษฐ สมั พนั ธรตั น)
ผูวา ราชการจังหวดั ตาก
วนั ท่ี ๒๑ กันยายน ๒๕๖๓

ขอบเขตก

ระดับ
ที่ หนวยรบั ตรวจ / กจิ กรรมท่ีตรวจสอบ

ความเส่ยี ง ต.ค. พ.ย

ตรวจสอบดาน Financial & Compliance ดา น Operational และดา น Manage

๑ สํานักงานจังหวัดตาก สูง
๒ สาํ นักงานบังคบั คดจี งั หวัดตาก สูง
๓ สํานักงานการทอ งเทีย่ วและกีฬาจงั หวัดตาก สูง
๔ ที่ทําการปกครองครองจังหวัดตาก ปานกลาง
5 สํานกั งานพระพุทธศาสนาจังหวัดตาก ปานกลาง
6 สํานกั งานพัฒนาชมุ ชนจงั หวัดตาก ปานกลาง
7 สํานักงานปองกนั และบรรเทาสาธารณภัยจังหวัดตาก ปานกลาง

17

การตรวจสอบ

ระยะเวลา จํานวน ผรู บั ผิดชอบ

ย. ธ.ค. ม.ค. ก.พ. มี.ค. เม.ย. พ.ค. มิ.ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย. คน/วัน

ement

3/200 น.ส.จารวุ รรณ เสอื เพ็ง 17
3/20 น.ส.ณพชั ร สริ ิโชติธนา
3/2๐ น.ส.พทั ธวรรณ จติ ม่นั
3/3๐
3/30
3/30
3/30

ระดบั
ท่ี หนว ยรับตรวจ / กิจกรรมท่ีตรวจสอบ

ความเส่ยี ง ต.ค.

ตรวจสอบดา น Financial & Compliance และดาน Performance สูง

3 โครงการบรรเทาปญหาภัยแลงและนํ้าทวมในพ้ืนที่ตําบลไมงาม
อําเภอเมอื งตาก จงั หวัดตาก จํานวน 5 โครงการ

ตรวจสอบดาน Information Technology
1 โครงการพฒั นาระบบการจดั การฐานขอมูลเวบ็ ไซตจ ังหวัดตาก

การใหความเชื่อมนั่ /การใหค ําปรึกษา

1 กิจกรรม / เรอื่ งทใ่ี หคําปรกึ ษา เชน การเงนิ บัญชี พสั ดุ การบริหารความเสยี่ ง
ระบบการควบคุมภายใน การตดิ ตามและประเมินผลการปฏบิ ัตงิ าน การปรับปรงุ
การปฏบิ ตั งิ านในองคกร

รวมจาํ นวนคน/วัน

18

ระยะเวลา จํานวน ผรู ับผิดชอบ

. พ.ย. ธ.ค. ม.ค. ก.พ. มี.ค. เม.ย. พ.ค. ม.ิ ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย. คน/วนั

3/60 น.ส.จารุวรรณ เสือเพง็ 18
น.ส.ณพชั ร สริ โิ ชติธนา
น.ส.พัทธวรรณ จติ มน่ั

3/30 น.ส.จารุวรรณ เสือเพ็ง
น.ส.ณพชั ร สริ ิโชตธิ นา
น.ส.พัทธวรรณ จติ มั่น

3/270 น.ส.จารุวรรณ เสอื เพง็
น.ส.ณพัชร สริ ิโชตธิ นา
น.ส.พทั ธวรรณ จติ ม่ัน

3/720

19

หนวยตรวจสอบภายในจังหวัดตาก
แผนการตรวจสอบภายในระยะยาว
ตัง้ แตปง บประมาณ พ.ศ. ๒๕64 – ๒๕66

๑. วัตถุประสงค

๑.๑ เพ่ือสอบทานระบบการควบคุมภายในและการบริหารความเส่ียงของหนวยรับตรวจวามี
ความเพียงพอและเหมาะสม

๑.๒ เพ่อื พิสูจนค วามถูกตองและเชื่อถือไดข องขอมูลและตัวเลขตาง ๆ ทางดานการเงิน การบัญชี
และดา นอน่ื ๆ ทเี่ กยี่ วขอ ง

๑.๓ เพื่อตรวจสอบการปฏิบัติงานของหนวยรับตรวจวาเปนไปตามกฎหมาย ระเบียบ
ขอบังคบั คําสั่ง มตคิ ณะรฐั มนตรี และนโยบายท่ีกาํ หนด

๑.๔ เพ่ือติดตามประเมินผลการบริหารงานและการดําเนินงาน ตลอดจนใหขอเสนอแนะ
หรือแนวทางการปรับปรุงแกไขการบริหารงานและการปฏิบัติงานดานตาง ๆ ใหมีประสิทธิภาพ ประสิทธิผล
และบรรลุ ผลสมั ฤทธ์ขิ องงาน รวมทง้ั ใหม ีการบรหิ ารจัดการทด่ี ี

๑.๕ เพื่อใหหัวหนาสวนราชการไดทราบปญหาการปฏิบัติงานของผูใตบังคับบัญชาและสามารถ
แกไขปญหาตา ง ๆ ไดอยา งรวดเรว็ และทนั เหตุการณ

๒. ขอบเขตการตรวจสอบ

หนวยรบั ตรวจที่จะตรวจสอบมที ้งั สิน้ ๓3 หนว ยงาน โดยจะแบง การตรวจสอบเปน ๓ ป ดังนี้

 ปง บประมาณ พ.ศ. ๒๕64

 ตรวจสอบดาน Financial & Compliance ดาน Operational และดาน Management
จาํ นวน 6 หนวยงาน ดงั น้ี

1. สํานกั งานจังหวดั ตาก
2. สาํ นกั งานบังคบั คดจี งั หวัดตาก
3. สาํ นักงานการทอ งเทยี่ วและกฬี าจงั หวัดตาก
4. ทที่ าํ การปกครองจงั หวดั ตาก
5. สํานักงานพฒั นาชุมชนจงั หวัดตาก
6. สํานกั งานพระพุทธศาสนาจังหวดั ตาก

20

 ตรวจสอบดา นการดาํ เนนิ งาน (Performance) จํานวน 3 โครงการ 4 กิจกรรม ดงั น้ี
1. โครงการพัฒนาและยกระดับนวัตกรรมคุณภาพไมผลและพืชเศรษฐกิจกลุมจังหวัด

ภาคเหนอื ตอนลาง 1
กจิ กรรมหลัก สง เสรมิ การเกษตรและอตุ สาหกรรมแปรรปู ผลผลิตทางการเกษตร
กิจกรรมยอย ศูนยพัฒนาพันธุและขยายพันธุพืชอุตสาหกรรมเพ่ือการสงออก

งบประมาณ 21,040,000 บาท
หนว ยรบั ผิดชอบ จังหวัดตากและสถาบนั การอาชีวศึกษาเกษตรภาคเหนอื

2. โครงการสงเสริมคุณภาพชีวิตเพือ่ แกไขปญ หาความยากจน
กิจกรรมหลกั ปรบั ปรงุ ซอ มแซมเสน ทางคมนาคมของจังหวดั ตาก เพื่อแกไ ขปญ หาความยากจน
กิจกรรมยอ ย ปรับปรุงทางลูกรังเดิมเปนผิวจราจรแบบคอนกรตี หมูบานแมละนา หมูท่ี

6 ตําบลทาสองยาง อําเภอทาสองยาง จังหวัดตาก งบประมาณ 8,000,000 บาท
หนวยรบั ผดิ ชอบ สํานักจัดการทรพั ยากรปา ไมท่ี 4

3. โครงการบรรเทาปญหาภัยแลงและนํ้าทวมในพื้นที่ตําบลไมงาม อําเภอเมืองตาก
จังหวดั ตาก งบประมาณ 1,869,800 บาท

หนวยรับผิดชอบ ที่ทําการปกครองอาํ เภอเมอื งตาก จังหวดั ตาก จํานวน 5 โครงการ
 ตรวจสอบดาน (Information Technology) โครงการพัฒนาระบบการจัดการฐานขอมูล
เวบ็ ไซตจ งั หวดั ตาก หนว ยงานรบั ผิดชอบ สํานกั งานจังหวัดตาก

 ปงบประมาณ พ.ศ. ๒๕65

 ตรวจสอบดาน Financial & Compliance จาํ นวน ๑8 หนว ยงาน ดังน้ี
1. สํานกั งานจังหวดั ตาก
2. สํานกั งานบังคับคดจี ังหวดั ตาก
3. สาํ นักงานการทอ งเทีย่ วและกฬี าจงั หวดั ตาก
4. สํานกั งานโยธาธกิ ารและผงั เมืองจงั หวดั ตาก
5. สํานกั งานท่ดี ินจงั หวดั ตาก
6. สํานักงานประชาสัมพนั ธจ งั หวัดตาก
7. สาํ นักงานพลังงานจังหวดั ตาก
8. สํานักงานคุมประพฤติจงั หวัดตาก
9. สํานักงานปศสุ ตั วจงั หวัดตาก
10. สํานกั งานสงเสริมการปกครองทองถ่ินจังหวดั ตาก
11. สาํ นกั งานเกษตรจงั หวดั ตาก
12. เรือนจาํ อาํ เภอแมส อด
13. สํานกั งานสาธารณสขุ จังหวดั ตาก
14. สาํ นกั งานคลงั จังหวัดตาก

21

15. สํานกั งานทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละสงิ่ แวดลอมจงั หวดั ตาก
16. สาํ นกั งานขนสง จังหวดั ตาก
17. สาํ นกั งานสหกรณจ งั หวดั ตาก
18. สํานักงานปฏริ ปู ทดี่ ินจังหวดั ตาก
 ตรวจสอบดา น Performance จํานวน 6 โครงการ ดังนี้
(๑) โครงการตามแผนปฏบิ ตั ิราชการประจําปงบประมาณ พ.ศ. ๒๕64
(๒) โครงการตามนโยบายรัฐบาลและมติคณะรัฐมนตรี ประจาํ ปง บประมาณ พ.ศ. ๒๕65
 ตรวจสอบดาน Information Technology โครงการประจําปง บประมาณ พ.ศ. 2565

 ปง บประมาณ พ.ศ. ๒๕66

 ตรวจสอบดาน Financial & Compliance จํานวน 15 หนวยงาน ดงั นี้
1. สํานักงานจังหวดั ตาก
2. สาํ นกั งานบังคับคดจี งั หวัดตาก
3. สํานักงานการทอ งเทีย่ วและกีฬาจงั หวดั ตาก
4. สาํ นักงานจัดหางานจังหวดั ตาก
5. สาํ นกั งานวัฒนธรรมจงั หวดั ตาก
6. สาํ นกั งานเกษตรและสหกรณจ ังหวดั ตาก
7. สํานักงานสวัสดิการและคุมครองแรงงานจงั หวดั ตาก
8. สํานักงานพาณิชยจังหวัดตาก
9. สาํ นักงานพฒั นาสังคมและความมัน่ คงของมนษุ ยจ ังหวัดตาก
10. สํานกั งานปอ งกนั และบรรเทาสาธารณภัยจังหวัดตาก
11. สาํ นกั งานแรงงานจงั หวัดตาก
12. สํานักงานอตุ สาหกรรมจงั หวัดตาก
13. สํานกั งานประมงจงั หวดั ตาก
14. สาํ นักงานประกนั สงั คมจงั หวัดตาก
15. สํานักงานสถติ ิจงั หวดั ตาก

 ตรวจสอบดาน Performance จํานวน 6 โครงการ ดงั น้ี
(๑) โครงการตามแผนปฏิบตั ริ าชการประจําปงบประมาณ พ.ศ. ๒๕65
(๒) โครงการตามนโยบายรฐั บาลและมติคณะรฐั มนตรี ประจาํ ปง บประมาณ พ.ศ. ๒๕66

 ตรวจสอบดาน Information Technology โครงการประจําปง บประมาณ พ.ศ. 2566

22

๓. ผรู บั ผิดชอบในการตรวจสอบ

๑. นางสาวจารวุ รรณ เสอื เพง็ ตาํ แหนง นักวชิ าการตรวจสอบภายในชาํ นาญการพิเศษ
๒. นางสาวณพัชร สิริโชตธิ นา ตําแหนง นกั วชิ าการตรวจสอบภายในชํานาญการ
3. นางสาวพัทธวรรณ จิตมนั่ ตาํ แหนง นักวชิ าการตรวจสอบภายในชํานาญการ

๔. งบประมาณทใ่ี ชในการตรวจสอบ

รายการ ป ๒๕64 ป ๒๕65 ป ๒๕66
๑. คา ใชจ ายในการเดินทางไปราชการ
๒. คาอบรม / สมั มนา 50,๐๐๐ 50,๐๐๐ 50,๐๐๐
๓. คาใชจา ยอนื่ ๆ (คาวสั ดุ/อุปกรณ ฯลฯ) 7๐,๐๐๐ 9๐,๐๐๐ 7๐,๐๐๐
30,000 60,000 30,000
รวมเปน เงนิ ท้ังสิน้
150,๐๐๐ 20๐,๐๐๐ 15๐,๐๐๐

ลงชอ่ื ผูเสนอแผนการตรวจสอบ

(นางสาวจารวุ รรณ เสือเพง็ )
หัวหนา หนวยตรวจสอบภายในจังหวดั ตาก

วนั ท่ี 18 กันยายน ๒๕๖๓

ลงชื่อ ผอู นมุ ัติ

(นายอรรษิษฐ สัมพันธรัตน)
ผวู าราชการจังหวัดตาก
วนั ท่ี ๒๑ กันยายน ๒๕๖๓

23

ขอบเขตการตรวจสอบ

ลาํ ดบั หนวยรับตรวจ ระดับ ปง บประมาณ / จาํ นวนคน วัน รวมจํานวน
ท่ี ความเสีย่ ง ๒๕64 ๒๕65 ๒๕66 คน วนั

ตรวจสอบดา น Financial & Compliance ดา น Operational ดาน Management 3/390
3/6๐
1 สํานกั งานจังหวัดตาก สงู 3/150 3/12๐ 3/120 3/6๐
3/20 3/20 3/20 3/30
2 สาํ นักงานบังคบั คดจี งั หวัดตาก สงู 3/2๐ 3/2๐ 3/2๐ 3/30
3/30 3/20
3 สํานกั งานการทอ งเท่ยี วและกีฬาจงั หวัด สงู 3/30 - - 3/20
3/20 - - 3/20
4 ทท่ี าํ การปกครองจังหวัดตาก ปานกลาง - - 3/10
- 3/20 - 3/10
5 สํานกั งานพัฒนาชุมชนจังหวัดตาก ปานกลาง - 3/20 - 3/20
- 3/10 - 3/10
๖ สาํ นกั งานพระพุทธศาสนาจงั หวดั ตาก ปานกลาง - 3/10 - 3/20
- 3/20 - 3/1๐
๗ สาํ นักงานโยธาธกิ ารและผงั เมืองจงั หวัด ปานกลาง - 3/10 - 3/20
- 3/20 - 3/20
๘ สาํ นกั งานท่ีดินจังหวดั ตาก ปานกลาง - 3/1๐ - 3/1๐
- 3/20 - 3/10
๙ สํานกั งานประชาสมั พันธจงั หวดั ตาก ปานกลาง - 3/20 - 3/10
- 3/1๐ - 3/10
๑๐ สาํ นักงานพลังงานจงั หวัดตาก ปานกลาง - 3/10 - 3/1๐
- 3/10 - 3/20
๑๑ สํานักงานคมุ ประพฤติจงั หวัดตาก ปานกลาง - 3/10 - 3/10
- 3/1๐ - 3/10
๑๒ สํานักงานปศุสตั วจังหวดั ตาก ปานกลาง - - 3/20 3/10
- - 3/10 3/20
๑๓ สํานักงานสงเสริมการปกครองทองถิน่ ฯ ปานกลาง - - 3/10 3/20
- - 3/10 3/20
๑๔ สาํ นกั งานเกษตรจังหวดั ตาก ปานกลาง - - 3/20 3/30
- - 3/20 3/20
๑๕ เรือนจาํ อําเภอแมสอด ปานกลาง - - 3/20 3/20
- - 3/30 3/20
๑๖ สาํ นักงานสาธารณสขุ จังหวดั ตาก ปานกลาง - - 3/20 3/10
- - 3/20
๑๗ สํานักงานคลังจงั หวัดตาก ปานกลาง - - 3/20
- - 3/10
๑๘ สาํ นักงานทรัพยากรธรรมชาติฯ ปานกลาง

๑๙ สํานักงานขนสงจงั หวัดตาก ปานกลาง

๒๐ สาํ นกั งานสหกรณจังหวัดตาก ตา่ํ

๒๑ สํานักงานปฏิรปู ท่ดี นิ จังหวัดตาก ต่ํา

๒๒ สํานกั งานจัดหางานจังหวัดตาก ตํา่

๒๓ สาํ นกั งานวฒั นธรรมจังหวดั ตาก ตา่ํ

๒๔ สํานักงานเกษตรและสหกรณจ งั หวัด ตํา่

๒๕ สาํ นกั งานสวสั ดกิ ารและคุม ครองแรงงาน ต่ํา

๒๖ สํานักงานพาณิชยจ ังหวัดตาก ตํ่า

๒๗ สาํ นกั งานพฒั นาสังคมฯ ตาํ่

๒๘ สาํ นกั งานปอ งกนั และบรรเทาสาธารณภยั ตาํ่

๒๙ สํานักงานแรงงานจงั หวดั ตาก ต่ํา

๓๐ สํานักงานอตุ สาหกรรมจังหวัดตาก ตํ่า

๓๑ สํานักงานประมงจงั หวัดตาก ต่าํ

32 สํานักงานประกนั สังคมจังหวดั ตาก ตํ่า

33 สาํ นกั งานสถิติจังหวัดตาก ต่ํา

24

ลําดบั หนวยรบั ตรวจ ระดบั ปง บประมาณ / จํานวนคน วัน รวมจาํ นวน
ท่ี ความเสยี่ ง ๒๕64 ๒๕65 ๒๕66 คน/วนั

ตรวจสอบดา น Performance

๑ โครงการศนู ยพ ฒั นาพันธุแ ละขยายพนั ธุพชื ปานกลาง 3/30 - - 3/30
อุตสาหกรรม 3/30
3/60
๒ โครงการปรับปรุงทางลูกรงั เดมิ เปนผวิ จราจร ปานกลาง 3/30 - - 3/180
แบบคอนกรตี หมบู า นแมละเมา หมทู ่ี 6 3/180

๓ โครงการบรรเทาปญหาภยั แลง และนาํ้ ทวม ปานกลาง 3/60 - - 3/3๐
ในพ้นื ที่ตาํ บลไมงาม อาํ เภอเมืองตาก

4 โครงการตามแผนปฏิบตั ิราชการประจาํ ป - - 3/60 3/60

5 โครงการตามนโยบายรฐั บาลและมติ ครม. - - 3/60 3/60

ตรวจสอบดา น Information Technology

๑ โครงการพฒั นาระบบการจดั การฐานขอ มูลเวบ็ ไซตจ งั หวดั 3/3๐ - -

2 ระบบสารสนเทศในการดําเนินงานของหนวยงาน - 3/3๐ 3/3๐ 3/6๐

การใหความเชอื่ ม่ัน/การใหค าํ ปรกึ ษา 3/100 3/50 3/50 3/150

๑ การตรวจสอบภายใน การเงนิ การบัญชี การพสั ดุ การ 3/90 3/50 3/50 3/150
บรหิ ารความเสีย่ งและการประเมินระบบควบคุมภายใน 3/100 3/50 3/50 3/150
3/150
๒ การปรบั ปรุงการปฏิบัติงานในองคกร 3/70 3/50 3/50
๓ กฎ ระเบียบตาง ๆ

๔ เงินทดรองเพ่ือชว ยเหลอื ผูป ระสบภยั กรณฉี ุกเฉนิ

รวมจํานวนคนวนั ทง้ั ส้นิ 3/720 3/720 3/720 3/2,160

หมายเหตุ คนวัน หมายถงึ จํานวนคนทใ่ี ชใ นการปฏบิ ัตงิ านตรวจสอบ x จํานวนวนั ทใ่ี ชใ นการตรวจสอบ

สว นท่ี 4

ผลการปฏิบตั งิ านตามแผนการตรวจสอบ

รายงานผลการดําเนินงานของหนวยตรวจสอบภายในจังหวดั ตาก
ประจําปงบประมาณ พ.ศ. 2564

25

ผลการปฏบิ ตั งิ านตามแผนการตรวจสอบ

เปาหมายปฏบิ ตั ิงานการตรวจสอบภายใน ประจําปง บประมาณ พ.ศ. 2564

แผนการตรวจสอบประจาํ ป F&C P IT O M
แผนการตรวจสอบประจําป พ.ศ. 2564 6 หนวย - 7 โครงการ 1 เร่อื ง - -
- ปรับแผนการตรวจสอบฯ คร้งั ท่ี 1 6 หนว ย 7 โครงการ 7 โครงการ 1 เรอ่ื ง 3 หนวย 3 หนวย
- ปรับแผนการตรวจสอบฯ ครั้งท่ี 2 7 หนวย 5 โครงการ 5 โครงการ 1 เรื่อง 3 หนวย 3 หนว ย

ผลการปฏิบตั ติ ามแผนการตรวจสอบภายใน ณ วนั ที่ 30 กันยายน 2564

ผลการตรวจสอบประจําป F&C P IT O M

ผลการดาํ เนินงาน

- ตรวจเสร็จแลว และออกรายงานแลว 7 หนวย 5 โครงการ 5 โครงการ 1 เร่อื ง 3 หนวย 3 หนว ย

สรุปขอ ตรวจพบจากการตรวจสอบ

จากการดําเนินการตรวจสอบตามแผนการตรวจสอบภายในประจําป พ.ศ. 2564 โดยสรุป
ผลการตรวจสอบแบง เปน แตละดา น มีรายละเอยี ดดงั น้ี

1. ตรวจสอบดา น Financial & Compliance ดาน Operational และดาน Management Audit
จาํ นวน 7 หนวยงาน ดังน้ี

1.1 สํานักงานจงั หวดั ตาก
1.2 สาํ นกั งานบังคบั คดจี ังหวดั ตาก
1.3 สาํ นักงานการทองเท่ียวและกฬี าจังหวดั ตาก
1.4 ท่ที ําการปกครองจงั หวดั ตาก
1.5 สํานกั งานพระพทุ ธศาสนาจงั หวัดตาก
1.6 สํานกั งานพฒั นาชุมชนจังหวัดตาก
1.7 สํานักงานปอ งกนั และบรรเทาสาธารณภยั จังหวัดตาก

ประเดน็ ขอ ตรวจพบ ขอเสนอแนะ

การควบคมุ ภายใน

หนวยงานมิไดแตงตั้งคณะกรรมการควบคุม ใหหนวยงานดําเนินการแตงต้ังคณะกรรมการ

ภ ายใน เป น การดําเนิ น การไม ครบ ถวน ตาม การควบคุมภายใน เพ่ือทําหนาท่ีอํานวยการกําหนด

หลักเกณฑกระทรวงการคลังวาดวยมาตรฐานและ แนวทางการประเมิน รวบรวม พิจารณากล่ันกรอง

หลักเกณ ฑ ปฏิบั ติการควบคุมภ ายในสําหรับ ส รุ ป ผ ล ก า ร ป ร ะ เมิ น แ ล ะ จั ด ทํ า ร า ย ง า น

หนว ยงานของรฐั พ.ศ. 2561 การประเมนิ ผลการควบคมุ ภายในของหนวยงาน

26

ประเดน็ ขอ ตรวจพบ ขอเสนอแนะ

การจัดทํารายงานการประเมินองคประกอบของ เพ่ือใหระบบการประเมินผลการควบคุมภายใน

การควบคุมภายใน (แบบ ปค. 4) หนวยงานรายงาน สามารถสงผลใหการปฏิบัติงานบรรลุผลสําเร็จตาม

การประเมินฯ ดานสภาพแวดลอมของการควบคุม แนวคิดมาตรฐานการควบ คุมภ ายในสําหรับ

วา มีการจดั แบง โครงสรางหนวยงานตามบทบาทภารกิจ หนวยงานของรัฐ ใหหนวยงานพิจารณาทบทวน

ท่ีรับผิดชอบ โดยมีโครงสรางการแบงงานภายใน กระบวนการ/ขั้นตอนการประเมินผลการควบคุม

และการปรับปรุงกําหนดตําแหนงตามกฎกระทรวง ภายในหรือความเส่ียง/จุดออนในการปฏิบัติงาน

แบงสวนราชการสํานักงานปลัดกระทรวงมหาดไทย เพื่อใหบคุ ลากรทุกระดับมีสวนรว มในการประเมินผล

(ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2559 ซึ่งจากการสอบทานรายงาน ดั งกล าว และสาม ารถ ให ความ เชื่อม่ัน อ ยาง

การประเมินฯ ปรากฏวา การจัดทําคําสั่ง การแบงงาน สมเหตุสมผลวา การประเมินผลการควบคุมภายในใน

ในหนาที่ และความรับผิดชอบของขาราชการ พนักงาน ภาพรวมจะเปนประโยชน ลดความเส่ียง และ

ราชการและลูกจาง ไมเปนปจจุบัน เนื่องจาก บุคลากร สง ผลใหบ รรลุตามวัตถปุ ระสงคใ นการดําเนนิ งานของ

ตามคําสั่งฯ ดงั กลาวมีการโยกยายและ/หรือสับเปลี่ยน หนวยงานอยางมปี ระสทิ ธิภาพและประสทิ ธิผลตอไป

ตาํ แหนงหลายราย

 รายงานการประเมินองคประกอบของการ เพื่อใหการประเมินผลการควบคุมภายในที่

ค ว บ คุ ม ภ า ย ใน (แ บ บ ป ค .4 ) มิ ได ส รุป ผ ล หนวยงานจัดทาํ ขึ้น สงผลใหการปฏิบัติงานบรรลุผล

การประเมิน/ขอสรุปของแตละองคประกอบท่ี สําเร็จตามวัตถุประสงคท่ีกําหนด และเกิดจากการ

สามารถอธิบายถึงห ลักเกณ ฑ การประเมิ นที่ ป ระเมิ น ผ ล ก ารดํ าเนิ น งาน ข องทุ ก ส วน งาน

หนวยงานใชดําเนินการประเมินองคประกอบ ขอใหหนวยงานดําเนินการประเมินผลการควบคุม

การควบคุมดังกลาว อีกทั้งไมปรากฏเอกสาร ภายในสวนของกลุมงาน/ภารกิจงาน พรอมจัดทํา

การประเมินความเส่ียงของสวนงานยอย (กลุม/ ราย งาน ก ารป ระ เมิน ผ ลก ารค ว บ คุม ภ าย ใน

ฝาย/งาน) ใหต รวจสอบแตอ ยา งใด (แบบ ปค. 5) เปนลายลักษณอักษร เพื่อใหการ

 รายงานการประเมินผลการควบคุมภายใน จัดทําในภาพรวมของหนวยงานมีหลักฐานอางอิง

(แบบ ปค. 5) มีความเส่ียงดา นการเงินการบัญชี และ กระบวนการประเมินผลการควบคุมภายในดังกลาว

การจางบุคลากร แตหนวยงานระบุวา การควบคุม ต ลอ ด จ น เพ่ื อ ให ทุ กส ว น งาน ให ค วาม สํ าคั ญ

ภายในที่ถือปฏิบัติอยูมีความเหมาะสม เพียงพอ ซึ่ง ใน การป ฏิ บั ติ ภ ารกิจ ตามแ นวทาง/กิจกรรม

รายงานฯ มิไดระบุเกณฑประเมินผล กิจกรรมการ การควบคุมใหบ รรลวุ ัตถุประสงคท ก่ี าํ หนด

ควบคุมของความเสีย่ งแตละดา นไว

 หนวยงานไมไดจัดสงรายงานการประเมินผล

การควบคมุ ภายในใหตนสงั กดั ทราบ

27

ประเดน็ ขอ ตรวจพบ ขอ เสนอแนะ

รายงานการประเมินผลการควบคุมภายใน ขอใหพิจารณาทบทวนกระบวนการ/ข้ันตอนการ

(ปค.5) มีความเขาใจคลาดเคลื่อนในการจัดทํา ประเมนิ ผลการควบคุมภายในหรอื ความเสี่ยง/จุดออ นใน

รายงานดงั กลา ว อาทิ การปฏิบัติงาน เพื่อใหบุคลากรทุกระดับมีสวนรวมใน

๑) ความเส่ียง หนวยงานระบุวตั ถุประสงค การประเมินผลดังกลาว และสามารถใหความเชื่อมั่น

ของภารกจิ งาน ซึ่งมใิ ชค วามเส่ยี งแตอ ยา งใด อยางสมเหตุสมผลวาการประเมินผลการควบคุมภายใน

๒) การควบคุมภายในที่มีอยู หนวยงานระบุ ในภาพรวมจะเปนประโยชนและสงผลใหบรรลุ

กิจกรรมของภารกิจ มิใชข้ันตอนหรือวิธปี ฏิบัติงาน ตามวตั ถปุ ระสงคใ นการดําเนินงานของหนว ยงานตอไป

เพอื่ ลดหรอื ควบคุมความเสี่ยง

๓ ) การประเมินผลการควบคุมภายใน

หนวยงานระบุวิธีปฏิบัติงานเพื่อใหภารกิจน้ันๆ

บรรลุ วั ตถุ ประสงค มิ ได ระบุ การประเมิ น

การควบคุมภายในวามีความเพียงพอ หรือไม

อยางไร หนวยงานท่ีรับผิดชอบ/กําหนดแลวเสร็จ

หนวยงานระบุเปนชื่อหนวยงาน มิใชกลุมงาน

ท่ีรับผิดชอบ และระบุกําหนดเสร็จเปนวันท่ี

๓๐ กนั ยายน ๒๕๖๓ ซง่ึ เปนวนั ส้นิ สดุ การประเมิน

การจัดทํารายงานการประเมินผลการควบคุม ผูบังคับบัญชาควรใหความสําคัญและกํากับดูแล

ภายใน (แบบ ปค.5) หนวยงานกําหนดความเสี่ยง/ การจัดวางระบบควบคุมภายใน กรณีปรากฏความเสี่ยง

การระบุความเส่ียงและกําหนดกจิ กรรมการปรบั ปรุง และมีกิจกรรมควบคุมภ ายในแลวในปที่ผานมา

การควบคุมภายในในเร่ืองเดิมตามท่ีไดรายงานการ หากดาํ เนินการตามกิจกรรมการปรบั ปรงุ การควบคุมภายใน

ประเมินองคประกอบการควบคุมภายในของ แ ล ว แ ต ไม ส า ม า ร ถ ล ด /ค ว บ คุ ม ค ว า ม เส่ี ย งได

ปงบประมาณกอน อาทิ ความเส่ียงของงานการเงิน ควรพิจารณากําหนดกิจกรรมอื่นๆ เพ่ิมเติม ท้ังนี้

และบัญชี รวมทั้ง ไมปรากฏเอกสารการประเมิน หากกิจกรรมปรับปรุงการควบคุมภายในสามารถ

ความเส่ียงของสวนงานยอย (กลุม/ฝาย/งาน/สาขา) ลด/ควบคุมความเสี่ยงไดแลว ไมควรกําหนดหรือระบุ

ใหตรวจสอบ ความเส่ยี งน้ันตอ ไป

28

ประเดน็ ขอตรวจพบ ขอเสนอแนะ

หนวยรับตรวจมีความเขาใจคลาดเคลื่อน การจัดทํารายงานการประเมินผลการควบคมุ ภายใน

ในการจัดทํารายงานการประเมินผลการควบคุม (แบบ ปค.5) ควรระบุขอมูลใหถูกตองเปนไปตาม

ภายใน (ปค. ๕) เชน การประเมินผลการควบคุม คําอธิบายแบบรายงานการประเมินผลการควบคุม

ภายใน หนวยงานมิไดระบุผลการประเมิน ภายใน (แบบ ปค.๕) แนบทายหลักเกณฑฯ ซึง่ จะสงผล

การควบคุมภายในวามีความเพียงพอหรือไม ใหหนวยงานสามารถใชประโยชนจากขอมูลดังกลาว

อยางไร แตเปนการแสดงวิธีการหรือขั้นตอน ในการปฏิบตั งิ านใหบรรลุผลสําเร็จตามวัตถุประสงคของ

การปฏิบตั ขิ องการควบคุมภายในทม่ี ีอยู หนวยงาน

 หนวยงานจัดทํารายงานการประเมินผล ขอใหหนวยงานพิจารณาทบทวนกระบวนการ/

การควบคุ มภายใน (แบบ ปค.5 ) ในระดั บ ขั้นตอนการประเมินผลการควบ คุมภายในห รือ

สวนงานยอยไมครบทุกกลุมงานและมิไดกําหนด ความเส่ียง/จุดออนในการปฏิบัติงาน เพื่อใหบุคลากร

เวลาแลวเสร็จของการปรบั ปรงุ ทุ ก ระดับ มี สวน รวม ใน การป ระเมิ น ผลดั งกลาว

 ไม มี การติ ดตามผลการปฏิ บั ติ ตาม และสามารถใหความเช่ือม่ันอยางสมเหตุสมผลวา

การปรับปรุงการควบคุมภายในของปกอนหนา การประเมินผลการควบคุมภายในในภาพรวมจะเปน

ซ่ึงเห็นไดจากการระบุความเสี่ยงในบางภารกิจ ป ระ โย ช น ล ด ค ว าม เส่ี ย ง แ ล ะส งผ ล ให บ รร ลุ

ยังปรากฏความเสี่ยงในเร่ืองเดิม และกําหนด ตามวัตถุประสงคในการดําเนินงานของหนวยงาน

กิจกรรมการปรับปรุงการควบคุมภายในเหมือนเดิม อยา งมปี ระสิทธิภาพและประสิทธิผลตอไป

ซึ่งแสดงใหเห็นวากิจกรรมการปรับปรุงการควบคุม

ภายในท่ีกําหนดขึ้นอาจไมสามารถแกไข/ควบคุม

ความเส่ียงดังกลาวได

ลูกหน้ีเงนิ ยมื ราชการ

การสงหลักฐานการจายเพ่ือสงใชคืนเงินยืม เพื่อประโยชนในการควบคุมเงินยืม เห็นควรกําชับ

เกิน กวากําห น ด และไมป รากฏ ห ลักฐาน ใหผูยืมสงใชคืนหลักฐานภายในระยะเวลาตามท่ี

การเรง รัดใหส งใชค นื เงินยมื ระเบียบกําหนด กรณีการสงหลักฐานสงใชเงินยืม

เกินกําหนดระยะเวลา ใหเจาหนาที่รีบทักทวงผูยืม

ใหเ รง ดําเนนิ การสงคนื เงนิ ยืมหรอื ดําเนนิ การตามเง่ือนไข

ในสญั ญาการยมื เงนิ ใหเสรจ็ ส้ินโดยเรว็

29

ประเดน็ ขอ ตรวจพบ ขอเสนอแนะ

อํานาจการอนุ มัติจายเงินยืมไม ถูกตอง การอนุ มั ติ จ ายเงินยื มเป นอํ านาจของหั วหน า

กลาวคือ มีการอนุมัติสัญญายืมโดยหัวหนา ส ว น รา ช ก ารต าม ระ เบี ย บ ก ระ ท รว งก ารค ลั ง

สว นราชการปฏบิ ัติราชการแทนผวู า ราชการจงั หวดั วาดวยการเบิกเงินจากคลัง การรับเงิน การจายเงิน

การเกบ็ รักษาเงนิ และการนําเงินสงคลัง พ.ศ. ๒๕๖๒ ขอ ๕6

หลักฐานการสงใชคืนเงินยืมมีรายละเอียด ขอใหกําชับเจาหนาที่ผูรับคืนตรวจสอบเอกสาร

ไมถูกตอง อาทิเชน ผูจายเงินมิใชผูที่ยืมเงินจาก หลักฐานการจายใหถูกตองครบถวนกอนการออก

ทางราชการ , ใบเสร็จรับเงินคาน้ํามันเช้ือเพลิง ใบรับในสําคญั ใหผูยมื

เปนฉบับสําเนาไมมีการรับรองจากผูรับเงินและ กรณีใชสําเนาใบเสร็จรับเงินเปนหลักฐานตองมี

มีรายการไมครบถวน ตามขอกําห นดของ การรับรองจากผูรับเงิน โดยถือเปนเอกสารประกอบ

ระเบียบฯ โดยไมปรากฏจํานวนเงินที่เปน การขอเบกิ เงนิ แทนได

ตัวอักษรและลายมือชื่อผูรับเงิน และผูจายเงิน กรณี ผูจายเงินไดรับใบเสร็จรับเงินซึ่งมีรายการ

ไม ได ทํ า ใบ รับ ร อ งก า ร จ า ย (บ ก ๑ ๑ ๑ ) ไมครบถวนหรือไมอาจเรียกใบเสร็จรับเงินจากผูรับเงินได

เปน หลักฐานการจา ย ใหผ จู า ยเงินทาํ ใบรบั รองการจา ยเงินเปน หลกั ฐานการจา ย

การจัดซือ้ จัดจา งและการบรหิ ารพัสดุ

ไมป รากฏเอกสารห ลักฐานการแตงต้ัง เพื่ อให การจั ดทํ าแบบรูปรายการงานกอสราง

คณะกรรมการหรือมอบหมายเจาหนาท่ีหรือ มคี วามเหมาะสมและตอบสนองตอ การใชงานของหนว ยงาน

บุคคลใดบุคคลหน่ึงเพื่อจัดทําแบบรูปรายการ ตลอดจนเพื่อใหการแตงตั้งคณะกรรมการที่เก่ียวของ

งานกอสรางโครงการ เพ่ือใหเจาหนาท่ีพัสดุ การบริหารสัญญาการตรวจรับพัสดุ และการควบคุมการ

กําหนดไวใ นรายงานขอซื้อขอจาง ปฏิบัติงานของผูรับจางมีความรัดกุม เห็นควรกําชับให

เจ าห น าท่ี และผู ที่ เกี่ ยวข องป ฏิ บั ติ ตามระเบี ยบ

กระท รวงการคลั งว าด วยการจั ดซ้ื อจั ดจ างและ

การบริหารพัสดภุ าครัฐ พ.ศ. 2560 ขอ 21 โดยเครงครดั

การจัดทํารายงานขอซ้ือขอจางตามระเบียบ ในการกาํ หนดราคากลาง หนวยงานควรแสดงราคากลาง

พัสดุฯ ขอ 22 หนวยงานจัดซื้อวัสดุหลาย ของวัสดุที่จัดซ้ือและแสดงเอกสารหลักฐานที่มาของ

รายการในคราวเดียว แตมิไดแ ยกราคากลางแตล ะ การกําหนดราคากลางในแตละคราว วาเปนราคาท่ีได

ช นิ ด เพื่ อ ป ร ะ ก อ บ ก า ร พิ จ า ร ณ า ข อ ง ม าจ าก แ ห ล งข อ มู ล ใด โด ย เส น อ ต อ ผู มี อํ าน าจ

ผูมีอาํ นาจอนุมัติ เพื่อประกอบการพิจารณาอนุมัติกอนการจัดซ้ือจัดจาง

ทั้งนี้ เพื่อใหหนวยงานใชราคากลางในการเปรียบเทียบ

ราคาในการจดั ซือ้ พสั ดุในแตล ะคราว

30

ประเด็นขอ ตรวจพบ ขอ เสนอแนะ

ในการจัดทํารายงานขอจาง หนวยงานระบุ เมื่อเจาหนาที่ไดจัดทํารายงานขอซ้ือขอจางแลวเสร็จ

ช่ือผูรับจางไวในรายงานของจางในขั้นตอน ใหเ สนอขอความเห็นชอบในการจัดซื้อจดั จางจากผูมอี ํานาจ

ก ารเส น อ หั ว ห น าห น ว ย งาน ข อ งรั ฐ เพื่ อ เมื่อไดรับความเห็นชอบแลว จึงใหเจาหนาท่ีดําเนินการ

ขอความเห็นชอบใหเจาหนาท่ีดําเนินการจัดหา จั ดซ้ื อจั ดจ างน้ั นต อไป โดยเจรจาตกลงราคากั บ

โดยวิธีเฉพาะเจาะจงตามพระราชบั ญ ญั ติ ผูประกอบการที่มีอาชีพขายหรือรับจางนั้นโดยตรงภายใน

การจัดซ้ือจัดจางและการบริหารพัสดุภาครัฐ วงเงนิ ที่ไดรับความเห็นชอบในคราวนั้น ดังนั้น หนวยงาน

พ.ศ. 2560 มาตรา 56 (2) (ข) ซ่ึงไมเปนไป จึงควรกําชับเจาหน าที่ใหดําเนินการตามระเบียบ

ตามนัยของระเบียบกระทรวงการคลังวาดวย กระทรวงการคลังวาดวยการจัดซื้อจัดจางและการบริหาร

การจัดซ้ือจัดจางและการบริหารพัสดุภาครัฐ พัสดุภาครัฐ พ.ศ. 2560 ขอ 24 และขอ 79 รวมท้ัง

พ.ศ. ๒๕๖๐ ขอใหผูบริหารของหนวยงานกํากับดูแลการปฏิบัติงานของ

เจาหน าท่ี ผูรับผิดชอบให ถือปฏิ บั ติตามกฎหมาย

ระเบียบที่เก่ยี วของโดยเครงครดั

คณะกรรมการตรวจรับพัสดุไดตรวจรับพัสดุ ข อ ให กํ า ชั บ ค ณ ะ ก รรม ก ารต ร วจ รับ พั ส ดุ

รายการการจางเหมาบริการบุคคลภายนอก ใหตรวจสอบความถูกตองของรายละเอียดเอกสาร

โดยระบุวา ผูรับจางปฏิบัติงานถูกตองครบถวน การสงมอบงานของผูรับจางแตละรายใหสอดคลอง

ตามบันทึกรายงานผลการปฏิบัติงานประจําวัน/ ตามบันทึกขอตกลง เพื่อควบ คุมการปฏิบัติงาน

ใบสงมอบงาน แตจากการตรวจสอบพบวา ของผรู ับจางใหเปนไปอยางมีประสิทธภิ าพ

เอกสารการสงมอบงานของผูรับจางแตละราย

มีรายละเอี ยดการป ฏิ บั ติ งาน ไมครบ ถวน

ตามบั น ทึ กขอ ตก ลงจาง ผ นวก ก ห น าท่ี

รับผิดชอบของผูรับจาง ทําใหการเบิกจายเงิน

ไมตรงตามบนั ทกึ ขอ ตกลงจา ง

31

ประเด็นขอตรวจพบ ขอ เสนอแนะ

กรณี การจัดซ้ือนํ้ ามันเชื้อเพลิงเพื่อใชใน กรณี การจั ดซ้ื อนํ้ ามั นเช้ื อเพลิ งของห น วยงาน

การปฏบิ ัติภารกิจราชการของหนว ยงาน พบวา ขอใหกําชับเจาหนาที่ผูรับผิดชอบดําเนินการตามหนังสือ

1) การดําเนินการจัดซ้ือน้ํามัน หนวยงาน กรมบัญชีกลาง ดวนท่ีสุด ท่ี กค (กวจ) 0405.2/ว 179

จัด ทํ าราย งาน ขอซ้ือนํ้ ามั นเช้ือเพ ลิ งตาม ลงวันที่ 9 เมษายน 2561 โดยเครงครดั ดังนี้

ใบแจงหน้ีในแตละเดือน ซึ่งไมสอดคลองตาม 1. ในการจัดซอ้ื น้ํามนั เช้ือเพลงิ ใหเ จาหนาทีจ่ ดั ทาํ รายงาน

หนังสือกรมบัญชีกลาง ดวนท่ีสุด ที่ กค (กวจ) ขอซ้ือเสนอหัวหนาหนวยงานของรัฐตามระเบียบฯ โดยใหถ ือวา

๑๔๐๕.๒/ว ๑๗๙ ลงวนั ท่ี ๙ เมษายน ๒๕๖๑ รายงานขอซ้ือดังกลาวเปนรายงานขอซื้อนํ้ามันเชื้อเพลิง

2) ผจู ดั ซือ้ น้ํามันเช้ือเพลิงไมไดเขียนขอความ ตลอดระยะเวลาการจัดซ้ือ โดยกําหนดเปนจํานวนวงเงิน

ใน ใบ เส ร็ จ รั บ เงิ น ค า นํ้ า มั น เชื้ อ เพ ลิ งว า เม่ือการจัดซื้อนํ้ามันเชื้อเพลิงมีวงเงินสะสมครบหรือใกล

“ไดร ับมอบนํ้ามันเชือ้ เพลิงตามรายการขางตนไว จะครบวงเงนิ จึงใหเจา หนาท่ีจดั ทาํ รายงานขอซ้อื ฉบับใหม

ครบถวนถูกตองแลว” พรอมท้ังลงลายมือช่ือ 2. ใหผูดําเนินการจัดซื้อน้ํามันใหเขียนขอความ

กํากับ โดยไดจัดทําใบตรวจรับพัสดุ โดยแตงตั้ง ในใบบันทึกรายการขาย (sales slip) หรือใบเสร็จรับเงิน

ผตู รวจรบั ลงลายมือไวเ ปนหลกั ฐาน ที่สถานีบริการน้ํามันเช้ือเพลิงออกให โดยระบุขอความวา

3) ไมไดจัดทําทะเบียนคุมการจัดซ้ือน้ํามัน “ไดรับมอบนํ้ามันเชื้อเพลิงตามรายการขางตนไวครบถวน

เชื้อเพลิงและไมไดรายงานหัวหนาหนวยงานตอ ถูกตองแลว” พรอมท้ังลงลายมือชื่อกํากับกอนสงมอบ

หัวหนาหนวยงาน เอกสารหลักฐานให แกเจาหนาที่พั สดุเปนหลักฐาน

โดยใหถ อื วาเอกสารดงั กลา วเปนหลักฐานการตรวจรับพัสดุ

3. เจาหนาที่บันทึกรายการจัดซื้อนํ้ามันเชื้อเพลิงใน

ทะเบียนควบคุมการจัดซ้ือนํ้ามันเช้ือเพลิงตามแบบท่ี

กําหนดใหถูกตองและปจจุบัน และใหรายงานหัวหนา

หนวยงานของรฐั ใหทราบทกุ 3 เดอื น

ใ น ก า ร จั ด ซ้ื อ น้ํ า มั น เ ช้ื อ เ พ ลิ ง เม่ือหัวหนาหนวยงานไดใหความเห็นชอบในการจัดซ้ือ

หัวหนาเจาหนาท่ีมิใชผูลงนามในใบสั่งจายนํ้ามัน จัดจางแลว ใหเจาหนาท่ีดําเนินการจัดซื้อหรือจางน้ันตอไป

เช้ือ เพ ลิ ง แ ล ะใบ สั่ งจ าย นํ้ ามั น เช้ื อ เพ ลิ ง โดยเจรจาตกลงราคากับผูประกอบการท่ีมีอาชีพขายหรือ

มรี ายการ/รายละเอยี ดไมครบถว น รับจางน้ันโดยตรงภายในวงเงินท่ีไดรับความเห็นชอบ ทั้งน้ี

ตามระเบียบกระทรวงการคลังวาดวยการจัดซ้ือจัดจางและ

การบรหิ ารพสั ดุภาครฐั พ.ศ. 2560 ขอ 24 และขอ 79

32

ประเด็นขอตรวจพบ ขอ เสนอแนะ

การจัดทําสัญญาจางลูกจางแบบจางเหมา การจัดทําสัญญาจางเหมาบริการ ใหเจาหนาที่

บริการมีขอความไมครอบคลุมในประเด็นสําคัญ ผูเกี่ยวของทบทวนการกําหนดขอบเขตของงาน และ

อาทิ ไมระบุเง่ือนไขในการคิดคาปรับ รวมถึง รายละเอียดตามสัญญาจางฯ ใหตรงตามขอเท็จจริง

กรณีท่ีผูรับจางไมสามารถมาปฏิบัติงาน และ อนึ่ง เพื่อใหการทําสัญญาจางเหมาบริการมีความรัดกุม

เง่ือนไขและ/หรือสิทธิในการบอกเลิกสัญญาจาง ยิง่ ขึ้น ควรนําแบบรางสญั ญาจางเหมาบริการของสํานักงาน

ของผูว าจาง เปนตน อัยการมาปรับใชเปนแนวทางในการจัดทําสัญญาจาง

ของหนว ยงานดว ย

การจัดทํ าบั น ทึ กขอตกลงจาง ป รากฏ เพื่ อให การจางเหมาบุ คคลภายนอกปฏิ บัติงาน

ขอตกลงที่ไมรัดกุมและทําใหราชการเสียเปรยี บ มีความเป นธรรม และเปนประโยชนในการตีความ

อาจ เป น เห ตุ ให มี ก ารใช จาย งบ ป ระมาณ กรณีมีขอขัดแยงเกิดขึ้น เห็นควรกําชับใหเจาหนาท่ี

ไมค ุมคา เชน การกําหนดอัตราคาปรับท่ีไมรดั กุม ผูรับผิดชอบกําหนดเงื่อนไขในบั นทึกขอตกลงจาง

และทาํ ใหราชการเสียประโยชน ให มี ความรัดกุ ม และจั ดให มี ระบบการสอบทาน

การป ฏิ บั ติ งาน ท่ี มี ประสิ ท ธิ ภาพเพื่ อป องกั นมิ ให เกิ ด

ขอผิดพลาดอันอาจเปนเหตุใหทางราชการเสียประโยชน

ท้ังน้ี ตามพระราชบัญญัติการจัดซ้ือจัดจางและการบริหาร

พั สดุ ภ าครั ฐ พ .ศ. 2560 มาตรา 4 และระเบี ยบ

กระทรวงการคลังวาดวยการจัดซื้อจัดจางและการบริหาร

พสั ดุภาครฐั พ.ศ. 2560 ขอ 22 (3)

หน วยงานจางเหมาจัดทําอาหารสําหรับ เพื่อใหการสงมอบงาน/การตรวจรบั พัสดุของหนวยงาน

เจ าห น าที่ ป ระจํ าจุ ด ตรวจใน แต ละพื้ น ท่ี มีระบบการควบคุมภายในท่ีดีและคณะกรรมการตรวจรับ

ซ่ึงมีหลายจุดและมีกําหนดระยะเวลาตามใบสั่งจาง พัสดุสามารถสอบทานความถูกตองของการสงมอบงาน

30 วัน แตปรากฏการสงมอบงาน/การตรวจรับ หนวยงานควรพิจารณากําหนดใหมีการสงมอบ/ตรวจรับ

เพยี งคร้งั เดียว แตละจุดในแตละวัน พรอมภาพถายประกอบการตรวจรับ

ท้งั น้ี การตรวจรบั พสั ดุในหวงการแพรระบาดของโรคติดเชอ้ื

ไวรัสโคโรนา 2019 หากคณะกรรมการตรวจรับพัสดุ

ไมส ามารถดําเนินการตรวจรับพสั ดุตามสญั ญาหรอื ขอตกลง

ใหหัวหนาหนวยงานแตงต้ังคณะกรรมการตรวจรับพัสดุ

หรือกรรมการในคณะกรรมการตรวจรับพัสดุ แลวแตกรณี

โดยอาจแตงต้ังบุคคลท่ีอยูในพื้นที่น้ันๆ เปนคณะกรรมการ

หรือกรรมการตรวจรับพัสดุแทน

33

ประเด็นขอตรวจพบ ขอเสนอแนะ

• ไมปรากฏการรายงานผลการตรวจรับพัสดุ เมื่อคณะกรรมการตรวจรับพัสดุไดตรวจรับพัสดุแลว

ใหผูมีอํานาจทราบ มเี พยี งใบตรวจรับพสั ดุเทา น้นั ใหจัดทําใบตรวจรับไวเปนหลักฐาน เพ่ือดําเนินการ

• การตรวจรับพัสดุปรากฏเพียงการรายงาน เบิกจายเงินตามระเบียบและรายงานใหหัวหนาหนวยงาน

ผลการตรวจรับตอผูมีอํานาจ แตมิไดจัดทําใบ ของรัฐทราบ ในกรณีท่ีเห็นวาพัสดุท่ีสงมอบมีรายละเอียด

ตรวจรบั พสั ดุไวเปน หลกั ฐาน ไมเปนไปตามขอกําหนดในสัญญาหรอื ขอตกลง ใหรายงาน

• การจางเหมาบริการลูกจาง จํานวน ๒ ราย หัวหนาหนวยงานของรัฐผานหัวหนาเจาหนาที่ เพื่อทราบ

แยกเปน ๒ สัญญา คณะกรรมการตรวจรับพัสดุ และส่ังการ ท้ังนี้ ตามระเบียบวาดว ยการจัดซื้อจัดจางและ

จดั ทาํ ใบตรวจรบั รวมเพยี งฉบับเดียว การบรหิ ารพัสดภุ าครฐั พ.ศ. 2560 ขอ 175 (4)

• การจางเหมาบริการไมปรากฏรายละเอียด

การปฏิบัติงานของผูรับจางประกอบการสงมอบ

งาน มีเพียงใบแจงหน้/ี ใบสง มอบงานเทานั้น

• การควบคุมพัสดุ มีการจัดทําใบเบิกพัสดุ เพื่ อป ระโยชน ใน การควบ คุ มพั ส ดุ /ครุ ภั ณ ฑ

และลงบัญชี หรือทะเบียนคุมเพื่อควบคุมพัสดุ เห็นควรพิจารณาส่ังการ/กําชับเจาหนาท่ี เมื่อไดทําการ

เฉพาะกลุมงานใดกลุมงานหนึ่งเทาน้ัน โดยไมได รับมอบพัสดุแลวใหลงบัญชี โดยบันทึกขอมูลของพัสดุ/

ดําเนนิ การในภาพรวมของหนวยงาน ครุภัณฑใหครบถวน กรณีพัสดุ ควรแสดงวันที่ไดมา

• การควบคุมครุภัณฑ มีการจัดทะเบียนคุม แยกเปนรายการ พรอมท้ังจัดทําใบเบิกพัสดุและลงบัญชี

ทรัพยสินแลว แตบางรายการไมไดระบุขอมูล ทุกคร้ังที่มีการเบิกจาย กรณีเปนครุภัณฑนอกจากแสดง

ใหครบถวน อาทิ วันที่ไดมา ยี่หอของครุภัณฑ วันท่ีไดมาแลว ควรระบุยี่หอของครุภัณฑ และคาเสื่อม

และคาเสื่อมราคาประจําป ราคาใหครบถวน

การตรวจสอบพสั ดุประจาํ ป
คณะกรรมการตรวจสอบการรับ-จายพัสดุ ขอใหกําชับคณะกรรมการตรวจสอบพัสดุประจําป

มไิ ดระบุจํานวนพัสดุคงเหลอื และหรือพัสดุชาํ รุด รายงานผลการตรวจสอบพัสดุใหครบถวนและครอบคลุม
เส่ือมสภาพฯ รวมท้ังเหตุแหงความชํารุดเสนอ ดานการรับจายพัสดุวามีความถูกตองตรงกับบัญชี/ทะเบียน
หวั หนาหนวยงานเพือ่ ทราบ/พิจารณาสั่งการ หรือไม พัสดุคงเหลือมีตัวอยูตรงตามบัญชี/ทะเบียนหรือไม

พัสดุท่ีชํารุดเสื่อมสภาพ หรือสูญไปเพราะเหตุใด เพื่อใหการ
ปฏิบัตเิ ปนไปตามระเบียบกระทรวงการคลังวา ดวยการจัดซื้อ
จัดจางและการบรหิ ารพสั ดภุ าครัฐ พ.ศ. 2560 ขอ 213

34

ประเดน็ ขอ ตรวจพบ ขอเสนอแนะ

หนวยงานมิไดแตงตั้งคณะกรรมการสอบหา กรณี พั สดุท่ี ชํารุด เสื่อมสภาพ เห็นควรแตงต้ัง

ข อเท็ จจริงเพื่ อดํ าเนิ น การจํ าห น ายพั สดุ คณะกรรมการสอบหาขอเท็จจริงเพ่ือดําเนินการจําหนาย

ตามระเบียบกระทรวงการคลังวา ดวยการจัดซ้อื จัด พัสดุท่ีชํารุดหรือไมจําเปนตองใชในหนวยงาน ท้ังนี้

จางและการบริหารพัสดุภาครัฐ พ.ศ. ๒๕๖๐ เพ่ือไมใหเปนภาระในการจัดเก็บของหนวยงานซ่ึงเมื่อเกิด

ขอ ๒๑๕ การสญู หายตองหาผูรบั ผดิ ชอบตอไป

คณ ะกรรมการตรวจสอบพั สดุ ประจําป เห็นควรกําชบั ใหค ณะกรรมการตรวจสอบพัสดปุ ระจําป

ไดรายงานผลการตรวจสอบพัสดุแลวแตไมได จั ด ทํ าราย งาน ผ ล การต รวจสอ บ พั สดุ ป ระจํ าป

ดําเนินการในภาพรวมของหนวยงาน โดยเปน โดยใหมีสาระสําคญั ครบถวนตามทร่ี ะเบียบกําหนด รวมท้ัง

การรายงานแยกตามกลุมงานและรายงานผล จัดทํารายงานในภาพรวมของหนวยงาน ทัง้ น้ี ตามระเบียบ

การตรวจสอบฯ มีสาระสําคัญไมครบถวน กระทรวงการคลังวาดวยการจัดซื้อจัดจางและการบริหาร

ต าม ที่ ระ เบี ย บ กํ าห น ด เช น มิ ได ระบุ ว า พสั ดุภาครัฐ พ.ศ. 2560 ขอ 213

มีการรับจายถูกตองหรือไม มีพัสดุคงเหลือ

มีตัวอยูตรงตามบัญ ชีหรือทะเบียนหรือไม

กรณีชาํ รุดมิไดระบเุ หตแุ หง การชาํ รดุ ดงั กลา ว

การเบกิ จายเงนิ งบประมาณ

การจายเงนิ ใหผูมีสิทธิรับเงิน หนวยงานมิได เห็ นควรพิจารณาดําเนินการกําชับใหเจาหนาที่

จายผานระบบอิเล็กทรอนิกส (e-Payment) ผูท่ีเกี่ยวของถือปฏิบัติตามระเบียบกระทรวงการคลังวาดวย

แตดาํ เนินการจายเปน เชค็ การเบิกเงนิ จากคลงั การรับเงนิ การจายเงินการเก็บรักษาเงิน

และการนาํ เงนิ สง คลัง พ.ศ. 2562 ขอ 52

กรณีการจายเงินใหผูมีสิทธิรับเงินโดยมิไดดําเนินการ

ผานระบบอิเล็กทรอนิกส ขอใหหนวยงานแจงตนสังกัด

เพื่ อ ข อ รั บ USER แ ล ะ PASSWORD ใน ก ารใช งาน

ผานระบบอิเล็กทรอนิกส (e-Payment) เพื่อใหการปฏิบัติ

เปนไปตามหลักเกณฑและวิธีปฏิบัติที่กระทรวงการคลัง

กาํ หนด

เจ าห น าที่ ผู จ าย เงิ น มิ ได ป ระทั บ ต รา เห็นควรกําชับใหเจาหนาที่ประทับตราขอความ

“จายเงินแลว” พรอมลงลายมือชื่อรับรอง “จายเงินแลว” พรอมลงลายมือช่ือรับรองการจายเงิน

การจายและวัน เดือน ป ที่จายกํากับไวใน และวันเดือนปที่จายกํากับไวในหลักฐานการจายเงิน

หลักฐานการจายเงิน แตประทับตราในบันทึก ทกุ ฉบับ ท้ังน้ี ตามระเบยี บ ฯ ขอ 42

รายการจายชาํ ระเงนิ (ขจ.05)

35

ประเดน็ ขอตรวจพบ ขอเสนอแนะ

การขอเบิกกรณีจายตรงเขาบัญชีเจาหน้ีหรือ เห็นควรพิจารณาสั่งการกําชับเจาหนาที่ผูเบิก

ผมู ีสิทธริ ับเงิน ไมปรากฏรายงานการจายตรงเขา จายเงิน กรณีการจายเงินใหเจาหน้ีซ่ึงมีวงเงินต้ังแต

บัญชผี ูข าย หาพันบาทข้ึนไป ใหดําเนินการจายเงินเขาบัญ ชี

ใหกับเจาหนี้หรอื ผูมีสิทธิรับเงนิ ของสว นราชการโดยตรง

ทั้งนี้ ตามระเบียบกระทรวงการคลังวาดวยการเบิกเงิน

จากคลัง การรับเงิน การจายเงินการเก็บรักษาเงิน

และการนาํ เงนิ สง คลัง พ.ศ. ๒๕๖๒ ขอ 28

หนวยงานวางฎีกาเบิกในระบบ GFMIS การเบิกจายเงิน ซึ่งกรณีเบิกจายเงินเพ่ือชดใช

โดยเลือกประเภทเอกสารไมถูกตอง โดยใช ใบสําคัญใหเลือกประเภทเอกสารในการเบิกจายเงิน

ป ระเภ ท เอกสาร KE ใน การเบิ กใบ สําคัญ เปนประเภทเอกสาร KL และการเบิกจายใหเจาหน้ีของ

งบ ป ร ะ ม า ณ แ ล ะ ป ร ะ เภ ท เอ ก ส า ร KL สว นราชการใหเลอื กประเภทเอกสาร KE

ในการเบกิ จายใหเจาหนีข้ องสวนราชการ

การเบิกจายเงินคาไปรษณียประจําเดือน กรณีการจัดสงพัสดุทางไปรษณีย ใหเจาหนาท่ี

โดยไมปรากฏหลักฐานแสดงรายละเอียด/รายการ ผูรับผิดชอบสอบทานหลักฐานแสดงรายละเอียด/

สงพั สดุ ไปรษณี ยในแต ละวันแนบประกอบ รายการสงพัสดุไปรษณียในแตละวันกับยอดใบแจงหนี้

ทําใหเชื่อไดวา เจาหนา ที่อาจมิไดทําการตรวจสอบ ท่ี ไดรับ ใน แตละเดือน วา มีความ ถูกตองตรงกัน

รายการสงพัสดุกับใบแจงหน้ีในแตละเดือน กอนเสนอให ผูมีอํานาจอนุมัติการเบิกจาย ท้ังน้ี

กอนเสนอให ผูมี อํานาจอนุ มัติ การเบิ กจาย เพอ่ื ใหการเบกิ จายงบประมาณมคี วามรัดกุม

ซึง่ เปน ความเสย่ี งดานการใชจายงบประมาณ

36

ประเดน็ ขอ ตรวจพบ ขอเสนอแนะ

การอนุมัติใหป ฏิบั ติงานนอกเวลา กรณีการปฏิบตั งิ านนอกเวลาราชการ ผูปฏบิ ัตงิ านจะตอง

ราชการกําหนดระยะเวลาการปฏิบัติงาน ไดร ับการอนุมัติใหปฏบิ ตั ิงานนอกเวลาราชการจากผูมอี ํานาจ

ท้ังปงบประมาณ ไมเปนไปตามระเบียบ กอน โดยพิจารณาเฉพาะชวงเวลาที่จําเปนตองอยูปฏิบัติงาน

กระทรวงการคลังวาดวยการเบิกจายเงิน นอกเวลาราชการในครั้งนัน้ ๆ และใหคาํ นึงถงึ ความเหมาะสม

ตอบแทนการปฏิบัติงานนอกเวลาราชการ ทั้งน้ี การควบคุมดูแลการปฏิบัติงานนอกเวลาราชการ

พ.ศ. ๒๕๕๐ ขอ ๕ อีกทั้งมีการรับรอง กรณีมีผูป ฏิบัติงานนอกเวลาราชการรว มกันหลายคน

การปฏิบัติงาน โดยผูรับรอง/ผูควบคุม ใหผูป ฏิบัติงานคนใดคนหนึ่งเปนผูรับรองการปฏิบัติงาน

ก า ร ป ฏิ บั ติ งา น มิ ใช ผู ม าป ฏิ บั ติ งา น หากเปน การปฏิบตั ิงานเพียงลําพังคนเดียว ใหผ ูป ฏิบัติงานน้ัน

ในวันดังกลาวซึ่งไมเปนไปตามนัยของ เปนผูรับรอง

ระเบียบฯ ขอ ๙ (๙.๑)

การเบิ กค าชดเชยพ าห นะส วน ตั ว กรณี การเบิกคาชดเชยพาหนะสวนตัวในการเดินทาง

ในลักษณะเหมาจาย ปรากฏเพียงใบรับรอง ไปราชการ ผูเดินทางตองไดรับอนุญาตจากผูบังคับบัญชาโดย

การจาย (บก ๑๑๑) ที่ผูเดินทางแนบเปน เบิกเงินชดเชยคาพาหนะในลักษณะเหมาจายใหแกผูเดินทาง

หลักฐาน ท้ังน้ี มิไดคํานวณตามเสนทางของ ไปราชการซึ่งเปนเจาของหรือผูครอบครองแลวแตกรณีในอัตรา

กรมทางหลวงที่ส้ันและตรง และห รือ ตอ 1 คัน ตามอัตราท่ีกระทรวงการคลังกําหนด โดยคํานวณ

เสนทางของหนว ยงานอนื่ ทตี่ ัดผาน ระยะทางเพื่อเบิกเงินชดเชยตามเสนทางของกรมทางหลวง

ในทางสัน้ และตรงซ่งึ สามารถเดินทางไดโดยสะดวกและปลอดภยั

ทั้งน้ี ตามระเบียบกระทรวงการคลังวา ดวยการเบิกคาใชจ ายใน

การเดนิ ทางไปราชการ พ.ศ. ๒๕๕๐ ขอ 11

ห น วย งาน เบิ ก ค าใช จ าย เดิ น ท าง ก ร ณี ก า ร เบิ ก ค า ใช จ า ย เดิ น ท า ง ไป ร า ช ก า ร /

ไปราชการ/คา รักษาพยาบาลเกินสิทธิ คารักษาพยาบาลเกินสิทธิ ใหเรงดําเนินการสงคืนเงิน

เปนรายไดแผนดิน พรอมสําเนาเอกสารการสงคืนเงิน

ใหจงั หวัดทราบ

การเบิกจายคาจางปรับปรุงพ้ืนท่ีตาม กรณีงานจางท่ีผูชนะการเสนอราคาไดเสนอราคาตํ่ากวา

มาตรฐานโคก หนอง นาโมเดล หนวยงาน ราคากลาง ใหหนวยงานแจงผูรับจางที่ชนะเสนอราคา

ใช ราคารวมที่ ผู รับ จ างได เสน อราค า จัดทําใบแจงปริมาณงานและราคาใหตรงกับแบบรูปและ

แนบประกอบเป นเอกสารสวนหนึ่งใน รายการละเอียด โดยปรับลดราคาทุกรายการตามอัตรา

สัญ ญ าจ าง โดยมิได ใหผูรับจางจัดทํ า รอยละที่ผูยื่นขอเสนอไดเสนอราคาลดลง โดยเทียบจาก

ใบแจงปริมาณงานและราคาใหตรงกับราคา ราคากลางในการจดั ซือ้ จัดจา งครง้ั นน้ั กอ นลงนามในสัญญา

ท่ีเสนอกอนการลงนามในสัญญา ทําใหกรณี

ที่ ห น ว ย งาน มี ก ารแ ก ไข สั ญ ญ าเนื่ อ งจ า ก

มีการปรับลดปริมาณงาน หนวยงานจึงใช

ราคากลางเปนฐานในการคํานวณปรับลด

คางาน ซึ่งอาจทําใหเกิดความไมเปนธรรม

ตอคสู ัญญา

37

ประเด็นขอ ตรวจพบ ขอเสนอแนะ

หนวยงานไมไดเรียกใหผูรับจางติดอากรแสตมป กรณีท่ีมีการจัดทําใบสั่งจาง ขอตกลงจาง หรือ

ในใบสั่งจา ง สัญญาจาง หนวยงานตองดําเนินการเรยี กใหผรู บั จาง

ปดอากรแสตมปในใบสั่งจางตามพระราชบัญญัติ

ใหใชบทบัญญัติแหงประมวลรัษฎากร พุทธศักราช

2 4 8 1 ห มวด 6 กําห น ดให การจางทํ าของ

ทุกจํานวนเงิน 1,000 บาทหรือเศษของ 1,000 บาท

ใหติดอากรแสตมป 1 บาท

ผูยืมจัดทําใบสําคัญรับเงินเปนหลักฐานการจาย ก ร ณี ก า ร จ า ย เ งิ น ข อ ง ข า ร า ช ก า ร

เปนการไมปฏิบัติตามระเบียบกระทรวงการคลังวาดวย พนักงานราชการ หรือลูกจางของสวนราชการ

การเบิกเงินจากคลัง การรับเงิน การจายเงิน การเก็บ ซึ่งไมอาจเรียกใบ เสร็จรับ เงินจากผูรับเงินได

รกั ษาเงินและการนําเงินสง คลงั พ.ศ. 2562 ขอ 48 ใหผจู า ยเงินทาํ ใบรับรองการจา ยเงนิ เปนหลกั ฐาน

• หน วยงานสั่งจายนํ้ามันใหกับผูควบคุ ม เพ่ือใหการใชจายงบประมาณเกิดความคุมคา
การปฏิบัติงานของแตละตําบล (ปลัดอําเภอ/กํานัน) และเกิดประโยชนสูงสุด กรณีการส่ังจายน้ํามนั เช้อื เพลิง
ทุกวันๆละ 500 บาท/คน รวม 9 คน จํานวน ในการปฏิบัติงาน หนวยงานควรพิจารณาส่ังจายน้ํามัน
30 วัน โดยมีแผนการปฏิบัติงานระบุระยะทาง เชื้อเพลิง โดยนําเกณฑการใชส้ินเปลืองนํ้ามันเช้ือเพลิง
125 กม/วัน แตไมปรากฏการรายงานผลของ มาคํ านวณ ประกอบระยะทางตามข อเท็ จจริง
การปฏิบัติงานจริง ทําใหไมสามารถสอบทานความ ในการเดินทางไปราชการในแตละคร้ัง รวมท้ังมีแนวทาง
เหมาะสมของการเบิกคาน้ํามนั เชื้อเพลงิ ดังกลาวได ในการกํากับดูแลติดตามผลการปฏิบัติงานใหสอดคลอง

• การเบิกคาเบี้ยเล้ียงเจาหนาที่ปฏิบัติงาน กบั การเบิกคา ใชจ ายดงั กลา วดวย
จํานวน 6 คนๆ ละ 30 วันๆ ละ 240 บาท ระบุ
ระยะเวลาในใบเบิกคา ใชจายในการเดนิ ทางไปราชการ
(แบบ 8708 ) ไมสอดคลองกับใบขออนุญ าต
ใชรถยนต โดยใบเบิกคาใชจายในการเดินทาง
ไปราชการ (แบบ 87 08) ระบุ เวลาออกจาก
สํานักงาน เวลา 07.00 น. และกลับถึงสํานักงาน
เวลา 19.55 น. แตในใบขออนุญาตใชรถยนต
ระบุเวลา 08.00 น. – 20.45 น.

38

ประเด็นขอตรวจพบ ขอ เสนอแนะ

รถราชการ

• หนวยงานไมไดจัดทําบัญชีราชการ • จัดใหมีบัญชีรถราชการตามแบบ 1 หรือแบบ 2

ตามแบบ 2 แยกตามประเภท พรอมเก็บหลักฐานการไดมาแยกเปน

• ผูเดินทางไปราชการบันทึกขออนุญาต หมวดหมูเพ่ืองายตอการตรวจสอบและการบริหารการใชงาน

ใชร ถราชการตามแบบ 3 ไมครบถวน รถราชการ รวมท้ัง กําชับเจาหนาที่ผูรับผิดชอบปรับปรุง

• บนั ทกึ การใชร ถสว นกลาง ตามแบบ 4 ขอมูลรถราชการใหเปนปจจุบัน เพ่ือใหหนวยงานสามารถนํา

ไมเ ปนปจจุบัน และไมไดจัดทําเกณฑการใช ขอมูลบริหารการใชรถราชการของหนวยงานใหเกิด

ส้ินเป ลืองเชื้อเพ ลิงของรถราชการ / ประสทิ ธภิ าพ

คาเฉลี่ยการใชน ํา้ มันของรถแตละคัน • ขอใหกําชับเจาหนาที่กรณีใชรถราชการสวนกลาง

ใหขออนุญาตใชร ถสว นกลาง/รถรับรอง/รถรับรองประจําจังหวัด/

รถอารักขา ตามแบบ 3 อยางเครงครัด

• เพ่ือเปนการควบคุมภายในท่ีดี เห็นควรสํารวจและ

กําหนดหลักเกณฑการใชส้ินเปลืองเชื้อเพลิงของรถราชการ

ทุกคัน

การบัญชี

รายการลูกหน้ีเงินยืมราชการคางนาน • ใหผูรับผิดชอบเรงตรวจสอบรายละเอียดรายการลูกหน้ีคง

และ/ห รือห นวยงาน ไมไดดําเนิ นการ คาง กรณีพบวา ลูกหน้ีเงินยืมดังกลาวยังมิไดสงใชเงินยืม ให

ปรบั ปรงุ รายการลกู หนี้ในระบบ GFMIS ดําเนินการเรียกชดใชเงนิ ยืม ตามระเบียบกระทรวงการคลังการ

เบกิ จา ยเงนิ จากคลังการเก็บรักษาเงินและการนําเงนิ สง คลัง พ.ศ.

2551 และท่ีแกไขเพ่ิมเติม (ฉบับท่ี 2) พ.ศ. 2561 ขอ 63 ซึ่ง

ปจจุบันเปนไปตามระเบียบกระทรวงการคลังวาดวยการเบิกเงิน

จากคลงั การรบั เงนิ การจายเงนิ การเกบ็ รักษาเงนิ และการนาํ เงิน

สง คลงั พ.ศ. 2562 ขอ 68

• กรณีตรวจสอบแลวพบวา รายการลูกหนค้ี งคา งเปน รายการ

ท่ีผูยืมไดสงใชค นื เงนิ ยืมเรียบรอยแลว แตเจาหนาท่ีผูรับผิดชอบ

มิไดดําเนินการหักลางในระบบ GFMIS ใหดําเนินการแกไข

ปรับปรุงบัญชีใหถูกตองตามแนวทางปฏิบัติเกี่ยวกับลูกหน้ีคืน

เงินยืมขามป งบประมาณ ในระบบ GFMIS ตามหนังสือ

กรมบัญชีกลาง ที่ กค 0409.3/ว 334 ลงวันท่ี 29 กันยายน

2551 และแนวทางการแกไขปญหาและขอ ผิดพลาดสาํ หรบั การ

บัญชีภาครัฐ ตามหนังสือกรมบัญชีกลาง ท่ี กค 0423.3/

ว 338 ลงวันที่ 22 กนั ยายน 2558

39

ประเด็นขอตรวจพบ ขอเสนอแนะ

ห น ว ย งาน ไม ได บั น ทึ ก ล างบั ญ ชี พั ก ใหเจาหนาท่ีผูรับผิดชอบดําเนินการตรวจสอบบัญชี

สินทรัพ ย/บัญ ชีพักงานระหวางกอสราง แยกประเภทเพื่อสอบทานความถูกตองของรายการพัก

งานระหวา งกอสรา ง สินทรัพยแตละรายการ และดําเนินการปรับปรุงเปนบัญชี

สินทรัพยหรือคาใชจาย กรณีทรัพยสินเปนทรัพยสินที่เกิด

จากงบประมาณจังหวดั ใหดาํ เนนิ การโอนบัญชีเปนสินทรพั ย

แตละประเภทใหเ สร็จสนิ้ โดยเร็ว

จากการตรวจสอบบัญชีแยกประเภทเงินฝาก • ใหเจาหนาท่ีผูรับผดิ ชอบเรงดําเนนิ การตรวจสอบบัญชี

คลัง/เงินประกันสัญญา/บัญชีเงินประกันอื่น เงินฝากคลงั / เงินประกันสญั ญา/เงนิ ประกนั อ่ืน วาหนวยงาน

พบวา มีรายละเอียดไมถูกตอง และ/หรือไมได ไดบันทกึ รายการในทะเบียนคมุ เงนิ ฝากคลงั / ทะเบียนคมุ เงนิ

จัดทําทะเบียนคุมเงินฝากคลัง/เงินประกัน รับฝาก / ทะเบียนคุมเงินประกันสัญญาหรือไม ท้ังน้ี

สัญญาและเงนิ ประกันอน่ื เพื่อควบคมุ การนําฝากและการเบิกถอนเงินฝากคลังดังกลาว

รวมท้ังตรวจสอบภาระผูกพัน กรณีที่พนภาระผูกพันแลว

ใหดําเนินการติดตอผูมีสิทธิมารับคืนโดยกําหนดระยะเวลา

ซึ่งหากไมสามารถติดตอผูมีสิทธิหรือไมมีผูมารับภายใน

กาํ หนด ใหนําเงินสงคืนเปนรายไดแ ผน ดนิ

• กรณีหนวยงานตรวจสอบบัญชีแยกประเภทดังกลาว

แลวพบวาเปนการบันทึกบัญชีไมครบถวน ใหดําเนินการ

ปรบั ปรงุ บัญชีใหถ กู ตอ งตอไป

40

ประเดน็ ขอ ตรวจพบ ขอเสนอแนะ

หนวยงานประกาศผลผูชนะการเสนอราคา กรณีการประกาศผลผูชนะการเสนอราคา เห็นควร

งานจางในระบบเครือขายของกรมบัญชีกลาง กําชับใหหัวหนาเจาหนาที่ประกาศผลผูชนะการซื้อหรือ

และเว็บไซดของหนวยงาน โดยไมไดป ด จางในระบบเครอื ขายสารสนเทศของกรมบัญชีกลางและ

ประกาศโดยเปดเผย ณ สถานท่ีปดประกาศ ข อ งห น ว ย งาน รวม ทั้ งป ด ป ระ ก าศ โด ย เป ด เผ ย

ของหนว ยงาน ณ หนวยงาน ทั้งน้ี ตามระเบียบกระทรวงการคลังวาดวย

การจัดซ้อื จัดจา งและการบรหิ ารพัสดภุ าครัฐ พ.ศ. 2560

ขอ 59

การแตงต้ังคณะกรรมการตรวจรับพัสดุ เห็นควรพิจารณาแตงต้ังคณะกรรมการตรวจรับพัสดุ

โดยไมปรากฏผูมีความรูความชํานาญดานชาง จากขาราชการ ลูกจางประจํา พนักงานราชการ โดยให

ในลักษณะงานกอสราง หรือผูทรงคุณวุฒิ คํานึงถึงลักษณะหนาท่ีและความรับผิดชอบของผูท่ีไดรับ

เกย่ี วกับงานจา งนนั้ เขา รวมเปนกรรมการ แตงตั้งเปนสําคัญ ในกรณีจําเปนหรือเพ่ือประโยชนของ

หนวยงานจะแตงต้ังบุคคลอ่ืนรวมเปนกรรมการดวยก็ได

แตจํานวนกรรมการท่ีเปนบุคคลอื่นนั้นจะตองไมมากกวา

จํานวนกรรมการตามวรรคหนง่ึ

การบริหารสัญญาและการตรวจรับพัสดุ เห็นควรพิจารณาสั่งการกําชับใหคณะกรรมการตรวจ

ผู ค ว บ คุ ม ง า น มี ก า ร จ ด บั น ทึ ก ส ภ า พ รับพัสดุตรวจสอบรายงานชางควบคมุ งานในการจดบันทึก

การปฏิบัติงานของผูรับจางและเหตุการณ สภาพการปฏิบัติงานของผูร ับจางและเหตุการณแวดลอม

แวดลอมเปนรายวัน และประจําสัปดาห เปนรายวัน พรอมทั้ง ผลการปฏิบัติงาน กรณีผูรับจาง

โดยมีการระบุผลการปฏิบัติงานและวันที่ หยุดงานควรระบุ สาเห ตุท่ีมีการหยุดงานรายงาน

ผู รั บ จ า ง ห ยุ ด ง า น พ ร อ ม ทั้ ง ร า ย ง า น ใหคณะกรรมการตรวจรับพสั ดุทราบ

ให ค ณ ะ ก ร รม ก า รต ร ว จ รั บ พั ส ดุ ท ร า บ แ ล ว

แตปรากฏวา บางรายการมิไดระบุสาเหตุ

ท่ี ผู รั บ จ า ง ห ยุ ด ง า น ไว ใน ร า ย ง า น ผ ล

การปฏบิ ตั ิงานดังกลาว


Click to View FlipBook Version