The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

รายงานผลการดำเนินงาน ประจำปีงบประมาณ64 ตภจ.ตาก

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by Kungten Diary, 2021-11-02 22:52:06

รายงานผลการดำเนินงาน ประจำปีงบประมาณ64 ตภจ.ตาก

รายงานผลการดำเนินงาน ประจำปีงบประมาณ64 ตภจ.ตาก

41

2. ดา น Performance Audit

2.1 โครงการขดุ ลอกคลองสามวา หมูท ี่ 1 บานเกาะตาเถยี ร งบประมาณ 482,400 บาท
2.2 โครงการขุดเจาะบอบาดาล หมูท่ี 5 บานวังมวง งบประมาณ 332,900 บาท
2.3 โครงการขุดบอนํ้าตืน้ หมทู ่ี 7 บา นหนองกระโห งบประมาณ 110,500 บาท
2.4 โครงการขุดสระนํา้ หมทู ่ี 7 บานหนองกระโห งบประมาณ 472,000 บาท
2.5 โครงการขุดสระนาํ้ หมทู ี่ 8 บานสามไร งบประมาณ 431,500 บาท

สรุปขอ เสนอแนะ ดา น Performance Audit

การบรรลวุ ตั ถุประสงคหรือเปาหมายการดาํ เนนิ งานโครงการ

ประเด็นขอ ตรวจพบ

1. สภาพนาํ้ ในคลองจากการตรวจสอบพ้ืนทโี่ ครงการขุดลอกคลองมีปริมาณน้ําที่สามารถกักเก็บไวไดอยู
ในเกณฑนอ ย ซ่งึ อาจสง ผลตอปริมาณนาํ้ ทโ่ี ครงการคาดวาจะไดรับจากการดาํ เนนิ โครงการ เน่ืองจากโครงการ
ดําเนินการแลวเสร็จภายหลังฤดูฝน รวมถึงสภาพการเปล่ียนแปลงของภูมิอากาศ ทําใหฝนไมตกตามฤดูกาล
ทิ้งชว ง ไมกระจายสมาํ่ เสมอ

2. ผลการดําเนินโครงการสามารถขุดเจาะบอบาดาล พรอมติดตั้งเครื่องสูบน้ําไฟฟาเพ่ือเปนแหลงนํ้า
สํารองสําหรับการอุปโภคและการทําการเกษตรของประชาชนในพ้ืนท่ีบริเวณโดยรอบ ซ่ึงจะสามารถ
ชวยบรรเทาความเดือดรอนของประชาชนในพ้ืนที่ ในชวงท่ีประสบปญหาขาดแคลนน้ํา ใหพอมีแหลงนํ้า
สาํ รองไวใ ชในแตละป เปนตามท่ีวัตถุประสงคข องโครงการกําหนด ท้งั น้ี การประเมนิ ผลความสําเร็จโครงการ
จากพ้ืนที่และครัวเรือนท่ีไดรับประโยชน พบวา โครงการดําเนินการแลวเสร็จในเดือนตุลาคม 2563
การใชประโยชนของโครงการตามเปาหมายในเชิงปริมาณดังกลาวจะตองรอใหผานฤดูการทําการเกษตรในปถดั ไป
และจะตอ งดําเนินโครงการอื่น ๆ ตอเน่อื ง อาทิ การกระจายน้ําบาดาลออกไปในระยะไกลและท่ัวถงึ พ้นื ที่/ครัวเรือน
ตามเปาหมายโครงการโดยการติดตัง้ หอถงั สงู การตดิ ต้งั ระบบกรองน้ํา ระบบทอ จา ยนํ้า เปนตน

3. โครงการดําเนนิ การกอสรางขุดบอ นาํ้ ตื้น พรอ มติดต้งั ปมน้ําโซลาเซลลพ รอมอุปกรณ โครงการสามารถ
สรางแหลงกักเก็บนํ้าสําหรับใชทําการเกษตรและการปศุสัตวไดระดับหนึ่ง ซ่ึงจะสามารถชวยบรรเทา
ความเดือดรอนของประชาชนในชวงท่ีประสบปญหาภัยแลง ใหพอมีแหลงนํ้าสํารองไวใชตามที่วัตถุประสงค
ของโครงการกําหนด อยางไรก็ตาม การประเมินผลการบรรลุวัตถุประสงคโครงการ เพ่ือการแกไขปญหา
ความเดือดรอนของประชาชนและบรรเทาปญหาภัยแลงใหกับประชาชนในพื้นที่รับประโยชนจะตองติดตาม
และประเมินผลความสําเร็จในโอกาสตอไป

42

สรปุ ขอเสนอแนะ ดาน Performance Audit (ตอ )

การบรรลุวัตถุประสงคห รอื เปา หมายการดาํ เนนิ งานโครงการ

ประเด็นขอตรวจพบ

4. โครงการขุดสระน้ําสามารถขุดสระน้ําเพื่อสรา งแหลงกักเก็บน้ําไวส ําหรบั ทําการเกษตร การปศุสัตว
และการประมง แตจากการตรวจสอบพ้ืนที่โครงการ พบวา ปจจุบันสระท้ังสองแหงไมมีน้ํากักเก็บไวสําหรับ
ใชในการอุปโภคบริโภค ทําการเกษตร และแกไขปญหาภัยแลงในพ้ืนท่ีเปาหมายตามวัตถุประสงคของ
โครงการ ซ่ึงอาจสงผลตอปริมาณนํ้าที่โครงการคาดวาจะไดรับจากการดําเนินโครงการ เน่ืองจากโครงการ
ดําเนนิ การแลวเสร็จภายหลังฤดูฝน อยางไรก็ตาม ในชวงฤดฝู นถัดไป หากสระนํ้าท้ังสองแหงสามารถกักเก็บ
นํ้าไดอยางเต็มปริมาณความจุและอยางตอเน่ือง ยอมสงผลใหมีตนทุนน้ําเพียงพอตอการใชประโยชน
สงผลตอการบรรเทาปญหาภัยแลง และแกไขปญหาความเดือดรอนของประชาชนในพื้นท่ีเปาหมายที่
วัตถุประสงคของโครงการกําหนดไว ซ่ึงจะตองติดตามและประเมินผลความสําเร็จของโครงการในหวง
ระยะเวลาตอ ไป

สาเหตุ
กรณกี ารดําเนินงานไมสามารถตอบสนองตอ บรรลุวตั ถุประสงค/ เปาหมายหรือแกไขปญหาของประชาชน

ในพื้นท่ีโครงการไดอยางครบถวน การดําเนินงานไมสามารถตอบสนองตอบรรลวุ ัตถุประสงค/เปาหมายหรือ
แกไ ขปญหาของประชาชนในพ้ืนที่โครงการไดอยา งครบถว น เนือ่ งจาก

1. หนวยงานท่ีรับผิดชอบโครงการมิไดมีการจัดทําขอมูลเพ่ือเปรียบเทียบและวเิ คราะหความเปนไปได
หรือทบทวนกิจกรรมที่ดําเนินโครงการ วาจะสามารถสนับสนุนหรือตอบสนองตอวัตถุประสงค/เปาหมาย
โครงการไดอยา งเหมาะสมและครบถวน

2. ผรู ับผดิ ชอบโครงการมีระยะเวลาคอนขางจํากัดในการจดั ทํารายละเอยี ดของโครงการ
3. หวงระยะเวลาการดาํ เนินโครงการไมเ หมาะสม ทาํ ใหไมสามารถใชป ระโยชนจ ากโครงการที่แลว เสรจ็ ไดโดยเรว็
4. ขาดกระบวนการเสริมในการแกไขปญหา เชน การปรับปรุงคุณภาพน้ําที่ได เพื่อใหสามารถบรรลุ
วัตถุประสงคการแกไ ขปญ หาขาดแคลนนา้ํ ในการบรโิ ภคของกลมุ เปา หมายตามโครงการ

ผลกระทบ
1. การดําเนินงานโครงการไมสัมฤทธ์ิผลตามวัตถุประสงค เปาหมาย และผลท่ีคาดวาจะไดรับ

ของโครงการ ซ่ึงอาจสงผลกระทบตอความเช่ือม่ันของประชาชนในพ้ืนที่โครงการในดานประสิทธิภาพ
การดําเนนิ งานของหนวยงานผรู ับผิดชอบโครงการหรือจงั หวัด

๒. อาจทําใหก ารประเมนิ ผลความสาํ เรจ็ ของโครงการมคี วามคลาดเคลือ่ นได
3. ประชาชนยังไมไดใชประโยชนจากกิจกรรมโครงการตามวัตถุประสงคของโครงการภายหลัง
ดําเนินการแลวเสร็จ ซ่ึงหากตองรอใหเกิดผลสัมฤทธิ์ตามโครงการโดยใชระยะเวลาที่ยาวนาน ยิ่งสงผลตอ
การลดความคุม คา ของการดาํ เนนิ โครงการ
4. ขาดกระบวนการเสริมในการแกไขปญหา เชน การปรับปรุงคุณภาพนํ้าท่ีไดเพื่อใหสามารถบรรลุ
วัตถุประสงคก ารแกไขปญ หาขาดแคลนนาํ้ ในการบรโิ ภคของกลมุ เปาหมายตามโครงการ

43

สรุปขอ เสนอแนะ ดาน Performance Audit (ตอ )

การบรรลุวตั ถปุ ระสงคหรอื เปาหมายการดําเนินงานโครงการ

ขอเสนอแนะ
หากพิจารณาการจัดทําโครงการและขอตรวจพบขางตน มีขอสังเกตบางประการท่ีควรคํานึงถึง โดยอาจใชเปน

แนวทางการจัดทําโครงการ เพื่อใหสามารถตรวจสอบและประเมินผลไดอยางชัดเจนและเปนไปตามหลักการพัฒนา
อยางยั่งยนื ซ่ึงจะสง ผลตอ การวัดประสทิ ธภิ าพและประสทิ ธผิ ลของการดําเนนิ งานเพ่ือพฒั นาจังหวดั ตาก รวมทงั้ ความ
คุม คา ในการใชจ ายงบประมาณมากยิ่งขึน้ หนวยงานผูรบั ผิดชอบโครงการควรพจิ ารณาดาํ เนินการ ดังน้ี

1. การจัดทําโครงการตองอยูบนพื้นฐานของสภาพปญหา/ความตองการ และขอเท็จจริงในพื้นท่ี
โดยมีขอมูลพื้นฐานท่ชี ัดเจนและเพียงพอ รวมท้ังมีการวิเคราะหปจจัยทเ่ี ก่ียวของอยางครอบคลุม ซ่ึงจะสงผล
ตอการจัดทําโครงการท่ีตรงตอความตองการอยางมีประสิทธิภาพ/ประสิทธิผลในภาพรวมของจังหวัด
ตลอดจนเปนขอมูลสําหรับการตัดสินใจของผูบริหารในการพิจารณาจัดสรรงบประมาณไดสอดคลอง
ตามความจาํ เปน และเรง ดวนในการพฒั นาจังหวดั หรอื แกไขปญหาของประชาชนในพื้นท่ี

2. ควรใหความสําคัญตอการติดตามและประเมินผลการดําเนินงานของโครงการ เพื่อใหทราบถึงปญหา
อุปสรรคเพื่อใชเปนแนวทางในการปฏิบัติงานสําหรับรองรับโครงการที่จะดําเนินการอยางตอเน่ือง ทั้งน้ี
ควรมีการจัดเก็บขอมูลที่ใชในการอางอิงและเปรียบเทียบผลการดําเนินโครงการ เพื่อใหสามารถติดตาม
ประเมินผลตามวัตถุประสงคของโครงการไดอ ยางชัดเจนและเปนรูปธรรม อีกท้ังสามารถนําแนวทางดังกลาว
ไปใชใ หเกิดประโยชนก บั โครงการในลกั ษณะเดยี วกนั หรอื โครงการอืน่ ๆ

3. หนวยงานรับผิดชอบโครงการควรกํากับดูแล/สงเสริมประชาสัมพันธ/กําหนดแนวทางการบริหารจัดการ
โครงการ เพ่ือใหประชาชนในพ้ืนท่ีสามารถใชประโยชนอยางทั่วถึง และมีสวนรวมในการดูแลรักษา และบริหาร
จัดการโครงการ ซึ่งจะกอใหเกิดประสิทธิภาพสูงสุดตามโครงการอยางย่ังยืน อาทิ โครงการขุดเจาะบอบาดาล
ควรใหประชาชนในพื้นที่ไดมีสวนรวม รวมถึงตระหนักถึงความสําคัญของน้ําบาดาล และการใชนํ้าบาดาล
ในเชงิ อนุรักษม ิใหเกินสมดุลธรรมชาติ เพอ่ื เปนการเพมิ่ ศกั ยภาพในการกกั เกบ็ น้าํ ของแหลง บาดาล/ การใชน ํ้าบาดาล
อยางมคี ณุ คา และเกิดประโยชนส ูงสดุ

4. กรณโี ครงการที่ดาํ เนนิ การแลวเสร็จแตย ังจําเปนตองมกี ระบวนการตอ เนื่อง เพ่ือใหบรรลุวัตถปุ ระสงคข อง
โครงการและใหเ กดิ ประโยชนส งู สุด เชน โครงการขดุ เจาะบอ ดาลซ่ึงดําเนนิ การในพืน้ ทีส่ วนบคุ คลและตามความเห็น
ของผูคุมงาน ตองมีการติดต้ังระบบกระจายนํ้าใหถึงครัวเรือน/พื้นท่ีเปาหมายที่อยูหางไกล กรณีนี้ ควรพิจารณา
จดั ทาํ โครงการทคี่ รอบคลุมกระบวนการท้ังหมดในคราวเดียว และ/หรือผลักดนั การสนับสนุนงบประมาณโครงการ
ตอเนื่องจากแหลง งบประมาณอนื่ ๆ ซ่ึงจะสง ผลตอ ประสิทธิภาพและประสทิ ธผิ ลในการดําเนนิ โครงการ

44

3. ดาน Information Technology Audit

โครงการพัฒนาระบบการจัดการฐานขอมูลเว็บไซตจ ังหวัดตาก งบประมาณ 500,000 บาท

สรุปขอ เสนอแนะ ดาน Information Technology Audit

ประเด็นขอ ตรวจพบ ดานประสทิ ธภิ าพการจัดการขอ มูลบนเว็บไซต
1. การจัดทํารายละเอยี ดงาน/ขอบเขตการดาํ เนินงานโครงการ
1.1 คณะกรรมการกําหนดรายละเอียดของงานและราคากลาง มิไดกําหนดขอบเขตของงาน

ใหค รอบคลุมรายละเอียดงานตามขอเสนอโครงการทกี่ ําหนดไว อาทิ
- การสํารวจศกึ ษา/วเิ คราะหข อมลู หนาเว็บไซตเดิมของจงั หวดั ตากและนําเสนอความตองการของผูใ ชง าน
- การออกแบบโครงรางหนาเว็บไซตและระบบการแสดงผลขอมูลใหสามารถดึงขอมูลมา

แสดงผลตามตําแหนง ตา ง ๆ
- การยายขอมูลจากเว็บไซตเดิมมาท่ีเว็บไซตใหม โดยขอบเขตของงานกําหนดใหยายขอมูล

จากเว็บไซตเดิมเฉพาะสวนท่ีเกี่ยวของมาที่เว็บไซตใหม แตในขอเสนอโครงการกําหนดใหยายขอมูล
จากเว็บไซตเ ดมิ มาท่ีเว็บไซตใ หมท งั้ หมด

1.2 ไมปรากฏเอกสารหลักฐานการพิจารณาทบทวนรายการ และ/หรือรายการเปรียบเทียบ
รายละเอียดงานจา งประกอบการตรวจสอบ

2. ความพรอมดานขอมูลการใหบริการบนเว็บไซตจากการตรวจสอบการแสดงผลโครงสรางเว็บไซต
บนหนา Homepage เปรยี บเทยี บขอบเขตของงานโครงการ ปรากฏผลดงั นี้

2.1 ระบบแสดงผลภาษาไทย ปรากฏหัวขอเรื่องตามโครงสรางเว็บไซต จํานวน 16 หัวขอ
ประกอบดว ยหวั ขอเรอ่ื งยอย จํานวน 83 เรื่อง โดยมี

1) หวั ขอเร่ืองท่ีแสดงผลขอมูลครบถวนและเปนปจจบุ นั จาํ นวน 53 เรือ่ ง
2) หวั ขอ เร่ืองทไ่ี มป รากฏขอมูลหรือแสดงขอมูลไมเ ปน ปจจุบัน จํานวน 18 เรือ่ ง
3) ไมป รากฏหัวขอเร่ือง จาํ นวน 12 เรื่อง
2.2 ระบบแสดงผลภาษาอังกฤษ และภาษาจีน พบวา หัวขอเร่ืองตามโครงสรางสวนใหญ
มีการแสดงผลขอมูล แตพบวา บางสวนไมเปนไปตาม TOR เชน ขอมูลการทองเที่ยวจังหวดั ที่ไมแสดงขอมูล
การเดินทางใหบ รกิ ารประชาชนหรอื ผทู ีส่ นใจ รวมท้งั ขอมูลการติดตอไมแ สดงขอมูลหัวขอเร่ืองการสงขอความ
ถึงจังหวดั ซ่งึ อาจสงผลตอการใหบ รกิ าร/และการประชาสมั พนั ธการทอ งเทีย่ วของจงั หวัดได
3. คุณลักษณะดานมมุ มองในการอาน
- เขาใชงานโดยการกดปุมเมนูเคร่ืองมือ ซึ่งหากผูใชงานไมไดทราบข้ันตอนดังกลาว
ยอ มเปน อุปสรรคในการเขาใชงานเว็บไซตข องจังหวัดตากได
- การปรับขนาดของตัวอักษร บางสวนเห็นผลชัดเจนเฉพาะในสวนของหัวขอเรื่อง แตไมสามารถ
ปรบั ขนาดตัวอกั ษรในสว นของขอมลู เนือ้ หาไดอ ยางชดั เจน อาทิ หัวขอ เรื่องเก่ียวกับจังหวดั เปน ตน
- การเปลี่ยนภาษา เมื่อเลือกเมนูภาษา โดยเฉพาะภาษาจีนมีการเปล่ียนภาษาเฉพาะหัวขอเร่ือง
โดยภาษาในสว นของเนอ้ื หาขอ มลู ยังคงเปนภาษาไทย

45

สรปุ ขอเสนอแนะ ดาน Information Technology Audit (ตอ )

ประเด็นขอตรวจพบ ดา นการจัดกิจกรรมฝกอบรม

ผูเ ขารับการอบรมมไิ ดเ ปนผูปฏิบัติงานเก่ียวของโดยตรงในการนาํ เขาขอมูลในเว็บไซตจังหวัดตาก จึงมิไดน าํ ความรูที่
ไดรับมาใชงานบนเว็บไซตแตอยางใด กรณีท่ีผูเขารับการอบรมตองนําเอกสารในสวนงานของตน เพ่ือประชาสัมพันธ/
เผยแพรในเว็บไซตจะนําไปใหผูดูแลระบบเปนผูดําเนินการ เนื่องจากมิไดรบั รหัสสําหรับการนําเขาขอมูลในเว็บไซต ซึ่ง
หนว ยงานสามารถกาํ หนดสิทธิร์ ะดบั การใชง านสําหรบั Administrator Web Master และ Staff ได

ผลกระทบ

1. การแสดงขอมูลในสวนตา ง ๆ บนเว็บไซตจังหวัดตาก ไมค รบถวน ไมเปนปจจุบัน ยอมสง ผลกระทบ
ตอความสามารถในการบรรลุวัตถุประสงคของโครงการดานการยกระดับมาตรฐานของระบบการจัดการ
ฐานขอมูลเว็บไซตจังหวัดตาก รวมทั้งอาจสงผลตอประสิทธิภาพดานการสื่อสารและประชาสัมพันธขอมูล
ขาวสารของหนวยงานภาครัฐในพน้ื ที่

2. การดําเนินโครงการไมเปนไปตามสัญญาจาง/ขอบเขตของงานโครงการ และการตรวจรับงานจาง
คลาดเคลอ่ื น ไมเปนไปตามระเบยี บทเ่ี กีย่ วของ

3. ความไมคุมคา ในการใชจายเงินงบประมาณของภาครฐั และอาจสงผลในเชิงลบตอความคาดหวงั ของ
ผูใชบรกิ าร

สาเหตุ

1. การจัดทําขอบเขตของงานโครงการ ไมครอบคลมุ ในรายละเอียด/ขอเสนอโครงการ อาจเปนผลจาก
ผูรับผิดชอบไมไดศึกษา และ/หรือไมไดนําวัตถุประสงค/องคประกอบของขอเสนอโครงการมาประกอบการ
จดั ทาํ ขอบเขตของงานโครงการ

2. ขาดขอมูลท่ีจําเปนตอการเสนอโครงการที่มีประสิทธิภาพ อาทิ ความเรงดวน/สภาพปญหา
ทีท่ าํ ใหต องดาํ เนนิ การเกณฑว ัดความสาํ เร็จ/ผลท่คี าดวา จะไดรับจากการดาํ เนินโครงการ เปน ตน

3. ในสว นของการตรวจรับงานจาง ซึ่งไมครอบคลุมตามขอบเขตของงานโครงการ อาจมสี าเหตุ ดังน้ี
4. ความไมชัดเจนในการจัดทําขอบเขตของงานโครงการ ขาดความตระหนักถึงความสําคัญในการ
ปฏิบัติหนา ทีข่ องคณะกรรมการตรวจรับพัสดุ
5. การพิจารณาแตงต้ังบุคลากรท่ีไมมีความรหู รือปฏิบัตงิ านเก่ียวของกับดานการจัดทําเวบ็ ไซตโ ดยตรง
เปน คณะกรรมการทีเ่ ก่ยี วขอ ง
6. ขอจํากัดของการบริหารจัดการขอมูล ซึ่งตองทําการรวบรวม/จัดเก็บขอมูลจากหนวยงานภายใน
จงั หวดั ตาก ระบบขอ มลู บางรายการจงึ ไมมีพรอมสําหรับการใชงาน

46

สรปุ ขอเสนอแนะ ดาน Information Technology Audit (ตอ )

ขอเสนอแนะ

หากพิจารณาการจัดทําโครงการและขอตรวจพบดังกลาวขางตน มีขอสังเกตบางประการท่ีควรคํานึงถึง
และเปนแนวทางการจัดทําโครงการของจังหวัด เพื่อใหสามารถตรวจสอบและประเมินผลไดอยา งชัดเจน ซึ่ง
จะสงผลตอการสนับสนุนการพัฒนาจังหวัด ขอใหสํานักงานจังหวัดตากในฐานะหนวยงานผูรับผิดชอบ
พจิ ารณาดาํ เนนิ การในโอกาสตอไป ดงั น้ี

1. การจัดทําโครงการตองอยูบนพื้นฐานของสภาพปญหา/ความตองการ โดยมีขอมูลพ้ืนฐานท่ีชัดเจน มี
การวิเคราะหผลได - ผลเสียที่เกี่ยวของอยางครอบคลุม ศึกษาความเปนไปไดในทางปฏิบัติ ความพรอมของการ
ดําเนินการ ซึ่งจะสงผลตอการจัดทําโครงการที่มีประสิทธิภาพ/ประสิทธิผลในภาพรวม ตลอดจนเพ่ือเปนขอมูล
สาํ หรบั การตัดสินใจของผูบรหิ ารในการพจิ ารณาจัดสรรงบประมาณไดสอดคลอ งตามความจําเปนและเรงดว น

2. การจัดทําขอบเขตของงานโครงการ ขอใหพิจารณากําชับเจาหนาท่ีผูที่เกี่ยวของคํานึงถึงความ
เหมาะสม ประโยชนใ ชสอย และความคุมคา ในการใชงาน เพือ่ ใหการใชจ ายงบประมาณในการดําเนินการหรอื
จัดทําโครงการเกิดความคมุ คา และประโยชนส ูงสดุ

3. ใหค วามสําคัญดา นการบริหารจัดการขอมูลอยางเหมาะสม ซึ่งเปนองคป ระกอบสําคัญทจี่ ะสงผลตอ
ความสําเร็จ โดยผูดแู ลระบบควรประสานงานกับหนวยงานท่ีเก่ียวขอ ง ตรวจสอบติดตามขอมูลทุกระยะอยาง
ตอเน่ือง เพ่ือใหขอมูลมีความทันสมัย พรอมใชงาน และสามารถตอบสนองความตอ งการของผูใชบริการอยา ง
แทจริง นอกเหนือจากการดําเนินงานทางโครงสรางเว็บไซต อันจะนําไปสูการใชประโยชนอยางมี
ประสิทธิภาพและประสิทธผิ ล บรรลุผลสําเร็จในการเพ่ิมประสทิ ธภิ าพการทํางานของหนวยงานราชการและ
การประชาสมั พันธขอมลู ขา วสารของหนวยงานภายในจังหวดั ตาก

4. ควรจัดใหม ีการติดตามและประเมนิ ผลการปฏบิ ัตงิ านอยางตอเนอื่ ง ทง้ั ในระดับหนว ยงานและระดับ
จงั หวดั เพ่อื ประโยชนในการหาแนวทางแกไ ขปญ หาอุปสรรคท่ีอาจเกิดข้นึ ไดอ ยางรวดเร็ว

5. ในสวนการตรวจรบั งานจาง ควรพจิ ารณาแตงตง้ั บุคลากรที่มคี วามรหู รือปฏิบัติงานเก่ียวขอ งกบั งาน
จางนัน้ เปนคณะกรรมการ ซ่ึงหากหนวยงานมีการแตงตั้งบคุ ลากรทไ่ี มม ีความรูห รือปฏิบัติงานเก่ียวขอ งในดาน
น้ันรวมเปนกรรมการ ควรกําหนดแนวทางการปฏิบัติงาน/ตรวจรับพัสดุที่ชัดเจน เพื่อใหการตรวจสอบ
รายละเอียดงาน/เอกสารการสงมอบงานของผูรับจางมีความรดั กุม และเปนไปตามขอกําหนดของสัญญาจาง/
ขอบเขตของงานโครงการอยา งเหมาะสม

47

งานบรกิ ารใหคาํ ปรึกษา

หนวยตรวจสอบภายในจังหวัดตากไดใหบริการคําแนะนํา ใหคําปรึกษาและบริการอื่น ๆ เก่ียวกับการ
ปฏบิ ัตติ ามกฎ ระเบียบ ขอบงั คับและมตคิ ณะรัฐมนตรีท่เี ก่ียวของ เพอื่ เพ่ิมคุณคา ใหแ กส วนราชการและปรับปรุงการ
ดําเนินงานของสวนราชการใหดีข้นึ

วธิ กี ารใหค าํ ปรกึ ษา

1. การประชุม รวมประชุมเพ่ือใหความเห็น ขอเสนอแนะแกผูบริหาร หนวยงานตาง ๆ เก่ียวกับการปฏิบัติ
ตามกฎ ระเบียบ ขอบังคับ และมติคณะรัฐมนตรีท่ีเก่ียวของ รวมถึงการใหขอคดิ เห็นในการพิจารณาปรับปรุงกฎ ระเบียบ
ขอบงั คบั และมตคิ ณะรัฐมนตรีท่ีเก่ียวของในสว นท่ีเก่ยี วของกับการควบคุมภายใน

2. การสอบทาน การปฏิบัติงานใหเปนไปตามกฎ ระเบียบ ขอบังคับ และมติคณะรัฐมนตรีท่ีเก่ียวของ
โดยใหค วามเห็นประกอบการพจิ ารณาอนุมัติแกผูบ ริหาร

3. การใหคําปรึกษาผานทางโทรศัพทและการมาติดตอดวยตนเองโดยใหขอคิดเห็นเกี่ยวกับกฎ ระเบียบ
ขอ บงั คบั และมติคณะรัฐมนตรีทีเ่ กยี่ วของในการปฏิบตั งิ านใหแ กเ จา หนา ทีส่ ว นราชการ

ผลการใหคาํ ปรกึ ษาของหนวยตรวจสอบภายในจังหวดั ตาก ประจําปง บประมาณ พ.ศ. 2564

ลําดบั เรือ่ งที่ใหค ําปรกึ ษา จํานวนเร่ือง
1 การจดั ซ้ือจดั จาง 99 เรื่อง
2 การเงนิ การบัญชี 40 เร่อื ง
3 การเบิกคา ใชจ ายตา ง ๆ 12 เรอื่ ง
4 การบรหิ ารงบประมาณ 34 เรื่อง
5 เร่อื งอ่ืน ๆ 20 เรอ่ื ง

สว นท่ี 5

การปฏิบตั ิงานอน่ื ๆ
ของหนว ยตรวจสอบภายในจงั หวัดตาก

รายงานผลการดาํ เนินงานของหนวยตรวจสอบภายในจงั หวดั ตาก
ประจําปง บประมาณ พ.ศ. 2564

48

การปฏบิ ตั งิ านอนื่ ๆ ของหนว ยตรวจสอบภายในจงั หวดั ตาก

1. คณะกรรมการสอบขอเท็จจริงโครงการพัฒนาเสนทางเพื่อสงเสริมการคาชายแดนในพ้ืนท่ี
อาํ เภอพบพระ อําเภอเมืองตาก จังหวดั ตาก

2. คณะกรรมการสอบขอเทจ็ จริงโครงการตามยุทธศาสตรอ ยูดีมีสขุ ระดับจงั หวัด ป พ.ศ. 2561
3. คณะกรรมการสอบขอเท็จจริงความรับผิดทางละเมิด โครงการตามแผนยุทธศาสตรการพัฒนา
กลุมจังหวัดและจงั หวดั ปงบประมาณ พ.ศ. 2547 ตามคําสั่งจังหวัดตาก ที่ 2827/2563 ลงวนั ที่ 26 ตุลาคม
2563
4. คณะกรรมการสอบขอเท็จจริงความรับผิดทางละเมิด โครงการตามแผนยุทธศาสตรการพัฒนา
กลุมจังหวัดและจังหวัด ปงบประมาณ พ.ศ. 2549 ตามคําส่ังจังหวัดตาก ที่ 2930/2563 ลงวันที่ 2
พฤศจกิ ายน 2563
5. คณะกรรมการสอบขอเท็จจริงความรับผิดทางละเมิด โครงการตามแผนยุทธศาสตรการพัฒนา
กลุมจังหวัดและจังหวัด ปงบประมาณ พ.ศ. 2555 ตามคําสั่งจังหวัดตาก ท่ี 2932/2563 ลงวันท่ี 2
พฤศจกิ ายน 2563
6. คณะกรรมการติดตามและกํากับดูแลตัวชี้วัดการพัฒนาศักยภาพองคการสูการเปนระบบ
ราชการ 4.0 และคณะทํางานขับเคล่ือนตัวชี้วัดการพัฒนาศักยภาพองคการสูการเปนระบบราชการ 4.0
ตามคาํ ส่งั จงั หวดั ตาก ท่ี 754/2564 ลงวันท่ี 2 มีนาคม 2564
7. คณะทาํ งานอํานวยการ ติดตาม และประเมนิ ผลโครงการภายใตแผนงานฟนฟูเศรษฐกิจทองถิ่น
และชุมชนของจังหวัด ของจังหวัดตาก ภายใตกรอบนโยบายการฟนฟูเศรษฐกิจและสังคมของประเทศ
ตามคําสง่ั จงั หวัดตาก ท่ี 761/2564 ลงวันท่ี 2 มนี าคม 2564
8. คณะกรรมการสอบขอเท็จจริงความรับผิดทางละเมิด ตามคําส่งั จังหวดั ตาก ที่ 1980/2564
ลงวันที่ 22 มถิ นุ ายน 2564

สวนที่ 6

ผลสํารวจความพึงพอใจของหนวยรับตรวจตอ การปฏิบัติงาน
ของหนวยตรวจสอบภายในจังหวัดตาก

รายงานผลการดาํ เนนิ งานของหนวยตรวจสอบภายในจังหวัดตาก
ประจําปง บประมาณ พ.ศ. 2564

49

ผลสํารวจความพงึ พอใจของหนวยรับตรวจตอการปฏิบัติงาน
ของหนวยตรวจสอบภายในจังหวัดตาก
ประจําปง บประมาณ พ.ศ. 2564

หนวยตรวจสอบภายในจังหวัดตากไดจัดทําแบบสอบถามความพึงพอใจของหนวยรับตรวจตอ
การปฏิบัติงานของหนวยตรวจสอบภายในจังหวัดตาก การสํารวจไดจัดทําขึ้นเพื่อการสํารวจความคิดเห็น
ของหนวยรับตรวจ รวมถึงความคาดหวังหรือตองการรับบริการเกี่ยวกับการปฏิบัติงานของหนวยงาน
ตรวจสอบภายในจังหวัดตาก ทั้งการใหบริการดานการปฏิบัติงานตรวจสอบและการใหคําปรึกษา
ระยะเวลาดําเนินการตั้งแตวันท่ี 16 กันยายน – 8 ตุลาคม 2564 ขนาดตัวอยางท่ีใชทําการสํารวจ
จํานวน 38 หนวยงาน ซึ่งไดรับบริการดานการตรวจสอบภายในประจําปงบประมาณ พ.ศ. 2564
วิธีการเก็บรวบรวมขอมูล โดยการสงแบบสอบถามทางไปรษณียอิเล็กทรอนิกส ผาน QR Code
มผี ตู อบแบบสอบถามท้งั สิ้น 33 หนว ยงาน จํานวนรวม 46 ชุด

โดยแบบสอบถามประกอบดวย 5 สว น คือ
สวนที่ 1 ขอมลู ท่ัวไป
สวนที่ 2 ขอมูลความพึงพอใจของผูรับบริการและผูมีสวนไดสวนเสียท่ีมีตอการปฏิบัติงาน
ตรวจสอบภายใน โดยกําหนดระดบั ความพงึ พอใจเปน 5 ระดบั คอื

1) ระดบั ความพึงพอใจนอ ยทีส่ ดุ
2) ระดับความพงึ พอใจนอย
3) ระดับความพงึ พอใจปานกลาง
4) ระดบั ความพึงพอใจมาก
5) ระดบั ความพึงพอใจมากทสี่ ุด
และวดั ความพงึ พอใจใน 2 ประเดน็ คอื
1) ดานเจา หนาท่ผี ปู ฏบิ ัติงาน
 มคี วามรู ความสามารถ ความเช่ยี วชาญในงาน
 มีเวลาใหค ําปรกึ ษาแกห นวยรบั ตรวจอยา งสมา่ํ เสมอ
 ใหบ รกิ ารดว ยความเต็มใจ มคี วามกระตือรือรน
 ตอบขอหารอื ไดอยางถกู ตอง ชดั เจน และรวดเรว็
2) ดา นกระบวนการ/ผลการปฏบิ ัติงาน
 กาํ หนดไวอ ยา งชดั เจน เปน ระบบ
 กระบวนการปฏบิ ัตงิ านโปรงใส ตรวจสอบได
 ความเหมาะสมของระยะเวลาการปฏิบัติงาน
 รายงานผลการตรวจสอบใหขอ มลู ท่เี ปน ประโยชนตอ การปฏิบตั ิงาน

50

 ไมเ ปด เผยขอมลู ท่ีไดรับทราบจากการปฏิบัตงิ าน

 การเปด รบั ฟงความคิดเห็นของผูร ับบรกิ าร

 ระดบั ความพอใจในการทาํ หนา ท่ขี องผตู รวจสอบภายใน

สวนที่ 3 การประเมินความพงึ พอใจในภาพรวมของหนว ยตรวจสอบภายในจังหวดั ตาก

 ภาพลักษณของหนว ยตรวจสอบภายใน

 ความพึงพอใจที่มีตอสัมพันธภาพของหนวยงานตรวจสอบภายในกับ

หนว ยรับตรวจ

 หนวยตรวจสอบภายในมกี ารประสานงานกับหนวยรับตรวจโดยตอเนื่อง

สวนที่ 4 การประเมินผลการปฏบิ ัตติ ามกรอบคณุ ธรรม

 การปฏิบตั ิหนา ทด่ี วยความเที่ยงธรรม

 ความซ่ือสัตย และมีความรับผิดชอบ

 การมีมนุษยสมั พนั ธท่ีดกี ับหนวยรบั ตรวจ

 ผตู รวจสอบภายในไมม ีสวนเก่ียวของในการกระทําใด ๆ ซึง่ ขัดตอ กฎหมาย

 ผูตรวจสอบภายในไมมีสวนเกี่ยวของหรือสรางความสัมพันธใด ๆ ที่จะนําไปสู

ความขัดแยงกับผลประโยชนข องทางราชการ

สวนท่ี 5 ความคาดหวังหรือตองการรับบริการ / ขอเสนอแนะเพ่ือปรับปรุงหรือพัฒนางาน

ตรวจสอบภายในจงั หวัด เปน คําถามปลายเปดเพ่อื ใหผใู หข อมลู แสดงความคิดเห็นเพมิ่ เตมิ

การแปรผลคาํ ตอบท่ไี ดจ ากแตประเดน็ ยอ ยเปน คะแนน มีหลักเกณฑด งั น้ี

ระดบั ความพึงพอใจ คะแนน

ระดับความพึงพอใจมากท่ีสุด 5

ระดับความพงึ พอใจมาก 4

ระดับความพงึ พอใจปานกลาง 3

ระดับความพงึ พอใชน อย 2

ระดบั ความพึงพอใจนอยท่สี ดุ 1

การคาํ นวณคารอยละความพึงพอใจในแตละประเด็นหลัก เปนการรวมคาความพึงพอใจในแตละ

ประเดน็ ยอ ย แลวเฉล่ียเปน รอยละความพงึ พอใจในแตละประเดน็ หลัก

51

สรปุ ผลการสาํ รวจความพงึ พอใจ
สวนท่ี 1 ขอมูลท่ัวไป จากผูประเมินหนวยตรวจสอบภายในจังหวัดตาก ผลการสาํ รวจปรากฏวา

กลุมตัวอยางท่ีตอบแบบสอบถาม พบวา เปนหัวหนาสวนราชการ คดิ เปนรอยละ 2.17 หัวหนากลุมงาน/
หัวหนาฝาย/หัวหนา งาน รอยละ 21.74 ผูปฏิบัตงิ านดา นการเงิน/บัญชี/พัสดุ/ผูเก่ียวขอ ง รอยละ 67.39
และผปู ฏบิ ัติงานอ่ืนๆ รอยละ 8.70 ตามแผนภาพท่ี 1 ดงั นี้

กลุมตวั อยางท่ีตอบแบบสอบถาม

67.39

21.74 8.70
2.17

หวั หนา สว นราชการ

หวั หนา กลมุ งาน/หวั หนา ฝาย/หัวหนา งาน

ผูปฏิบัติงานดา นการเงนิ /บญั ช/ี พัสดุ/ผเู ก่ียวของ

ผปู ฏิบตั งิ านอนื่ ๆ

ภาพที่ 1 รอยละของกลมุ ตวั อยา งทตี่ อบแบบสอบถามจําแนกตามตาํ แหนง/หนา ทปี่ ฏิบตั ิงาน

สวนท่ี 2 การสํารวจความพึงพอใจของผูรับบริการ/ผูมีสวนไดสวนเสียตอการปฏิบัติงาน
ตรวจสอบภายใน ดานเจาหนา ทผ่ี ูปฏิบัติงาน และดา นกระบวนการ/ผลการปฏิบตั ิงาน ดังนี้

2.1 ดานเจาหนาท่ผี ูป ฏบิ ัติงาน

1) กลุมตัวอยางที่ตอบแบบสอบถาม มีความพึงพอใจดานการใหบริการดวย
ความเต็มใจ มคี วามกระตือรือรน มากท่ีสุด คิดเปนรอยละ 92.61 รองลงมาคือดานการตอบขอหารือได
อยา งถูกตอ ง ชดั เจน และรวดเร็ว รอยละ 92.18 ดา นมีเวลาใหคําปรกึ ษาแกห นว ยรับตรวจอยา งสม่ําเสมอ
รอยละ 91.31 และดา นความรู ความสามารถ ความเช่ียวชาญในงาน รอยละ 90.44 ตามลําดับ

2) ในภาพรวมดานความพึงพอใจดานเจาหนาท่ีผูปฏิบัติงาน กลุมตัวอยางท่ี
ตอบแบบสอบถาม มีความพึงพอใจมากท่ีสุด รอยละ 61.96 พึงพอใจมาก รอยละ 34.24 และพึงพอใจ
ปานกลาง รอ ยละ 3.80 ปรากฏตามแผนภาพที่ 2

34.24 52 ระดบั ความพงึ พอใจมากทีส่ ดุ
ระดบั ความพงึ พอใจมาก
ดา นเจา หนาที่ผปู ฏิบัตงิ าน ระดับความพงึ พอใจปานกลาง
ระดบั ความพงึ พอใจนอย
3.80 ระดบั ความพงึ พอใจนอ ยทส่ี ุด

61.96

ภาพท่ี 2 รอ ยละความพึงพอใจของผรู บั บริการ/ผูมสี วนไดส ว นเสียท่ีมีตอ การปฏบิ ตั งิ านตรวจสอบภายใน
ดา นเจา หนา ทผี่ ูป ฏบิ ัตงิ าน

2.2 ดานกระบวนการ/ผลการปฏิบตั งิ าน

1) กลุมตัวอยางที่ตอบแบบสอบถาม มีความพึงพอใจดานการทําหนาที่ของ
ผูตรวจสอบภายใน มากที่สุด รอยละ 93.92 รองลงมาคือดานรายงานผลการตรวจสอบใหขอมูลท่ีเปน
ประโยชนตอการปฏิบัติงานของหนวยรับตรวจ รอยละ 93.48 ดานกระบวนการปฏิบัติงานโปรงใส ตรวจสอบ
ได และดานการเปดรับฟงความคิดเห็นของผูรับบริการ เทากัน รอยละ 93.05 ดานความเหมาะสมของ
ระยะเวลาการปฏิบัติงาน รอยละ 92.61 ดานการกําหนดกระบวนการอยางชัดเจน และเปนระบบ รอยละ
92.18 และดานการไมเ ปดเผยขอมลู ทีไ่ ดรบั ทราบจากการปฏิบตั งิ าน รอ ยละ 90.44 ตามลําดบั

2) ในภาพรวมดานความพึงพอใจดานกระบวนการ/ผลการปฏิบัติงาน
กลุมตัวอยา งท่ตี อบแบบสอบถาม มีความพึงพอใจมากท่ีสุด รอยละ 67.39 พึงพอใจมาก รอยละ 28.57
และพงึ พอใจปานกลาง รอยละ 4.04 ปรากฏตามแผนภาพที่ 3

53

ดา นกระบวนการ/ผลการปฏบิ ัตงิ าน

67.39 ระดับความพงึ พอใจมากท่สี ุด
ระดับความพงึ พอใจมาก
28.57 ระดับความพงึ พอใจปานกลาง
ระดบั ความพึงพอใจนอ ย
ระดับความพึงพอใจนอ ยทีส่ ุด

4.04

ภาพท่ี 3 รอยละความพึงพอใจของผรู บั บริการ/ผูมสี ว นไดสวนเสียทม่ี ีตอการปฏบิ ตั ิงานตรวจสอบภายใน
ดานกระบวนการ/ผลการปฏบิ ตั ิงาน

สว นที่ 3 การประเมนิ ความพงึ พอใจในภาพรวมของหนว ยตรวจสอบภายในจังหวดั ดังนี้

1) กลุมตัวอยางที่ตอบแบบสอบถาม มีความพึงพอใจพึงพอใจในสัมพันธภาพของ
หนวยตรวจสอบภายในกับหนวยรับตรวจ มากท่ีสุด รอยละ 95.22 รองลงมาคือภาพลักษณของหนวย
ตรวจสอบภายในจังหวัด รอยละ 93.92 และการประสานงานกับหนวยรับตรวจอยางตอเนื่อง รอยละ
93.05 ตามลาํ ดบั

2) การประเมินความพึงพอใจในภาพรวมของหนวยตรวจสอบภายในจังหวัด
กลุม ตวั อยางท่ตี อบแบบสอบถาม มีความพึงพอใจมากท่ีสุด รอยละ 73.91 พึงพอใจมาก รอยละ 22.47
และพงึ พอใจปานกลาง รอ ยละ 3.62 ปรากฏตามแผนภาพที่ 4

ความพึงพอใจในภาพรวมของหนวยตรวจสอบภายในจังหวัด

73.91 22.47 ระดบั ความพึงพอใจมากทส่ี ดุ
3.62 ระดบั ความพึงพอใจมาก
ระดบั ความพงึ พอใจปานกลาง
ระดับความพึงพอใจนอย
ระดบั ความพึงพอใจนอ ยที่สุด

ภาพท่ี 4 รอ ยละความพงึ พอใจในภาพรวมของหนว ยตรวจสอบภายในจังหวัด

54

สวนท่ี 4 การประเมินผลการปฏบิ ัตติ ามกรอบคุณธรรมของหนวยตรวจสอบภายในจงั หวัด ดังนี้

1) กลุมตัวอยางที่ตอบแบบสอบถาม มีความพึงพอใจดานผูตรวจสอบภายในไมมี
สวนเก่ียวของในการกระทําใดๆ ซึ่งขัดตอกฎหมาย และผูตรวจสอบภายในไมมีสวนเก่ียวของหรือสราง
ความสัมพันธใดๆ ท่ีจะนําไปสูความขัดแยงกับผลประโยชนของทางราชการ มากท่ีสุด เทากัน รอยละ
95.66 รองลงมาคอื ดานความซื่อสัตยแ ละมีความรบั ผิดชอบ รอยละ 95.22 ดานการมีมนุษยสัมพันธท ่ีดี
กับหนวยรับตรวจ รอยละ 94.79 และดานการปฏิบัติหนาที่ดวยความเที่ยงธรรม รอยละ 94.35
ตามลาํ ดับ

2) ความพึงพอใจในภาพรวมของหนวยตรวจสอบภายในจงั หวัด กลุมตวั อยางท่ีตอบ
แบบสอบถาม มีความพึงพอใจมากที่สุด รอยละ 77.83 พึงพอใจมาก รอยละ 20 และพึงพอใจปาน
กลาง รอ ยละ 2.17 ปรากฏตามแผนภาพท่ี 4

การปฏิบัตติ ามกรอบคุณธรรมของหนว ยตรวจสอบภายในจังหวัด

77.83 ระดบั ความพงึ พอใจมากที่สุด
ระดบั ความพงึ พอใจมาก
20.00 ระดบั ความพึงพอใจปานกลาง
ระดบั ความพงึ พอใจนอ ย
ระดบั ความพึงพอใจนอ ยท่สี ุด

2.17

ภาพท่ี 5 รอ ยละการประเมินผลการปฏบิ ตั ติ ามกรอบคุณธรรมของหนว ยตรวจสอบภายในจังหวัด

สวนที่ 5 ความคาดหวังและขอเสนอแนะเพิ่มเติม เปนคําถามปลายเปดเพ่ือใหผูรับบริการได
แสดงความคดิ เห็นเพม่ิ เติม

สรปุ ความคาดหวังหรือตองการรับบรกิ ารจากหนว ยตรวจสอบภายใน คือ

1. จัดอบรมความรเู ก่ียวกับระเบียบตางๆ เพื่อใหผูปฏิบัติงานมคี วามรู ความเขา ใจในระเบียบของ
ทางราชการ เชน การใหคําแนะนําดานการเบิกจายเงิน/งบประมาณ การเงินและบัญชีในระบบ GFMIS
เพอ่ื ใหผ ปู ฏิบัตงิ านมีความรู ความเขาใจในการปฏบิ ตั งิ านท่ีถูกตอ งตรงกัน

2. การบริการใหคําปรึกษาเก่ียวกับระเบียบ ขอบังคับ และกฎหมายตางๆ ที่เก่ียวของในการ
ปฏิบัติงาน รวมถึงระเบียบ ขอบังคับใหมๆ ที่ถูกตองและทันสมัย ตลอดจนการใหคําแนะนําในการ
ปฏบิ ตั งิ านใหถ ูกตองตามระเบียบ ขอบงั คบั และกฎหมายของทางราชการอยางตอเน่ือง สม่ําเสมอ

3. การแจง เวียน เรอ่ื งกฎและระเบียบท่อี อกมาใชใ หมๆ เกีย่ วกบั พัสด/ุ การเงนิ

55

แนวทางการแกไข

1) แนวทางการดําเนินการกรณีความตองการใหมีการจัดอบรมสงเสริมความรูใหแกผูปฏิบัติงาน
รวมท้ัง การจัดทําคูมือ/การแจงเวยี นกฎ ระเบียบในการปฏิบัติงานของเจาหนาที่การเงิน การบัญชี และ
การพัสดุ หนวยตรวจสอบภายในไดจัดทําสรุปขอสังเกตและขอเสนอแนะจากรายงานผลการตรวจสอบ
ภายในปงบประมาณ พ.ศ. 2564 ในภาพรวม ท้ังของกลุมตรวจสอบภายในระดับกระทรวงมหาดไทย/
สํานกั งานปลัดกระทรวงมหาดไทย และจากการบรกิ ารใหคําปรึกษาการปฏิบัติงานแกหนวยงาน แยกประเภท
ออกเปนแตละดาน อาทิ ดานการเบิกจายเงิน การจัดซ้ือจัดจาง การบันทึกรายการทางบัญชีและการรายงาน
การเงิน และดานการดําเนินงานโครงการ เปนตน เสนอผูวาราชการจังหวัดเพื่อทราบและแจงเวียน
ขอเสนอแนะ/แนวทางการปรบั ปรุงแกไข เพ่อื ใหหนว ยรับตรวจใชเ ปน แนวทางในการปฏิบัตงิ าน

2) หนวยตรวจสอบภายในจังหวัดตาก ไดใหบริการคาํ ปรึกษา/ตอบปญหา/ขอ หารือ และประสาน
ก ารป ฏิ บั ติ งาน ใน ด าน ก ารเงิน ก ารบั ญ ชี แ ล ะก ารพั ส ดุ ผาน อิ น เต อรเน็ ต ท าง e-mail :
[email protected] และทางโทรศัพทหมายเลข 05-5513-164 ตอ 23124, 23306 ซึ่ง
หนวยตรวจสอบภายในจังหวัดตาก จะเพิ่มการประชาสัมพันธใหหนวยรับตรวจ หรือผูที่สนใจ หรือ
ผเู กย่ี วขอ งไดร บั ทราบโดยทัว่ กัน

3) กรณีการจัดเจาหนาท่ีเพ่ือใหคําแนะนําการปฏิบัติงานท่ีมีรายละเอียดที่ซับซอน เนื่องจาก
ขอจํากัดดานบุคลากรและภาระหนาท่ีความรับผิดชอบ ซึ่งตองออกตรวจสอบหนวยรับตรวจตามแผนการ
ตรวจสอบประจําปฯ ในพ้ืนที่อําเภอและนอกท่ีตั้งสํานักงาน ทําใหบางชวงเวลาอาจไมมีผูตรวจสอบภายใน
อยูประจําสํานักงาน เพื่อคอยตอบคําถามหรือใหคําปรึกษาหารือ แตจะแจงชื่อ/หมายเลขโทรศัพทมือถือ
ของผูตรวจสอบภายในท่สี ามารถติดตอ ไดต ลอดเวลา

4) กรณกี ารใหค าํ ปรกึ ษาทช่ี ดั เจน ตรงประเด็น สามารถนาํ ไปปฏบิ ัติงานไดอยางถกู ตอ ง
 สงเสริมใหผูตรวจสอบเขารับการอบรมตามหลักสูตรที่เหมาะสม เพ่ือเพ่ิมประสิทธิภาพงาน

บริการใหคาํ ปรกึ ษา/คาํ แนะนาํ เก่ียวกบั ปญหาของหนวยรับตรวจ มีความชดั เจน สามารถปฏิบัติงานไดอ ยา ง
ถูกตอง มปี ระสิทธภิ าพ และตรงประเด็น

 ใหความสําคญั ในการจัดทํารายงานผลการตรวจสอบ ซึ่งตองนําเสนอรายงานอยางสรางสรรค
เชิงบวก แสดงใหเห็นถึงคุณภาพและตรงประเด็น โดยปรับเปลี่ยนใหมีการรายงานโดยกลาวถึงการปฏิบัติใน
สว นดขี องหนว ยรับตรวจ กลาวถึงประเดน็ ขอบกพรอ งที่ตองการใหปรับปรุงแกไขอยา งสรางสรรค และชีใ้ หเห็น
ถึงปญ หา/ผลกระทบที่อาจเกดิ ขน้ึ หากไมม ีการแกไข และใหข อ เสนอแนะท่เี ปนประโยชนสามารถนําไปปฏิบตั ิ

 ใหความสาํ คัญในขั้นตอนการประชมุ ปดตรวจ เพื่อนาํ (ราง) รายงานผลการตรวจสอบเขาหารอื
กับหนวยรับตรวจ พรอมรับฟงคําช้ีแจงเพ่ิมเติม แลกเปลี่ยนความเห็นในการแกปญหาที่ดีที่สุด ทําให
ขอเสนอแนะในรายงานนําไปสูการปฏิบัติไดอยางมีประสิทธิภาพ และเปนการสรางสัมพันธที่ดีระหวางผู
ตรวจสอบภายในกับหนว ยรบั ตรวจ




Click to View FlipBook Version