The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by Wanwisa Mankhong, 2023-10-30 23:46:23

แผน ม.4

แผน ม.4

ใบงาน กิจกรรม เทคนิควิธีการสร้างสรรค์งานสื่อผสม ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 ชื่อ………………………………………………………………………………….ชั้น……………….เลขที่………………. 4. ให้นักเรียนสร้างสรรค์ผลงานศิลปะสื่อผสม โดยการดุลลายบนแผ่นทอง


แบบประเมินทักษะ กระบวนการ สาระ ทัศนศิลป์ หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 “กระบวนการสร้างสรรค์งานทัศนศิลป์” เรื่อง เทคนิควิธีการสร้างสรรค์งานสื่อผสม ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2566 เลข ที่ ชื่อ - สกุล การวัดประเมินผล รวม หมายเหตุ การออกแบบจัดองค์ประกอบ ความคิดสร้างสรรค์ ความประณีต สวยงาม ผลงานสำเร็จ ส่งงานตรงต่อเวลา 2 2 2 2 2 10 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 17 18


แบบประเมินด้านคุณลักษณะอังพึงประสงค์ กลุ่มสาระ ทัศนศิลป์ หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 “กระบวนการสร้างสรรค์งานทัศนศิลป์” เรื่อง เทคนิควิธีการสร้างสรรค์งานสื่อผสม ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2566 รายการประเมิน พฤติกรรมแสดงออก ผลการประเมิน ปฏิบัติ ประจำ ปฏิบัติ บางครั้ง ไม่เคย ปฏิบัติ 3 คะแนน 2 คะแนน 1 คะแนน 1.ความใฝ่รู้ใน ศิลปะ มีความสนใจและแสวงหาความรู้ในวิชาศิลปะมีความ กระตือรือร้นต่อกิจกรรมศิลปะ 2.ความ รับผิดชอบขยัน และอดทน ปฏิบัติงานที่ได้รับมอบหมายสำเร็จตามกำหนดโดยไม่ ย่อท้อต่อความยากลำบาก 3.ความซื่อสัตย์ นำเสนอข้อมูลตามความจริงโดยไม่กลัวการลงโทษ ไม่หลีกเลี่ยงความผิดเพื่อผลประโยชน์ของตนเอง 4.ความมีระเบียบ วินัย ดูแลจัดเก็บทำความสะอาดวัสดุอุปกรณ์และผลงาน อย่างเรียบร้อย ตรงต่อเวลาและปฏิบัติกิจกรรมศิลปะ ตามขั้นตอน 5.ความมีเจตคติ ที่ดีต่อศิลปะ เรียนวิชาศิลปะด้วยความสุข สนุกสนาน มีนิสัย ช่วยเหลือผู้อื่นด้วยจิตใจที่ดีงาม สรุปผลการประเมิน เกณฑ์การตัดสิน 11 - 15 ดีมาก 6 – 11 ดี 0 – 5 ควรปรับปรุง


แบบทดสอบ เรื่อง เทคนิควิธีการสร้างสรรค์งานสื่อผสม ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 ชื่อ………………………………………………………………………………….ชั้น……………….เลขที่………………. คำชี้แจง ให้นักเรียนกาเครื่องหมาย x ลงในข้อที่ถูกที่สุดเพียงข้อเดียว 1.งานสื่อผสมในภาษาอังกฤษเรียกว่าอะไร ธ. Drawing น. Sculpture บ. mixed media ป. Painting 6.ประติมากรรมสื่อผสมเป็นเทคนิควิธีการทำงานใด ก. วิธีการปั้น หล่อ แกะ ผสมผสานกับวัสดุ ข. วิธีการวาดหรือระบายสีผสมกับวัสดุ ค. วิธีการทางภาพพิมพ์ผสมผสานกับวัสดุ ง. วิธีการปะติดผสมผสานกับวัสดุ 2.เทคนิคในงานสื่อผสมหมายถึงข้อใด ธ. การใช้เทคนิคในการสร้างสรรค์เทคนิคเดียว น. การใช้วัสดุในการสร้างสรรค์วัสดุเดียว บ. การใช้วัสดุชนิดเดียวกันสองชิ้นมาประกอบกัน ป. การใช้วัสดุต่างชนิดกันมาประกอบกัน 7.เทคนิควิธีการใดที่ใช้วัสดุในการสร้างสรรค์งานเพียงอย่าง เดียว ก. จิตรกรรมสื่อผสม ข. ประติมากรรมสื่อผสม ค. ภาพพิมพ์สื่อผสม ง. สื่อผสม 3.วัสดุใดที่สามารถนำมาสร้างสรรค์งานสื่อผสมได้ ธ. ใบไม้ น. เชือก บ. แก้วพลาสติก ป. ถูกทุกข้อ 8.การนำวัสดุมาใช้ในการสร้างสรรค์ผลงานเกิดขึ้นมาจาก ลัทธิทางศิลปะลัทธิอะไร ก. กรีก ข. โรมัน ค. อียิปต์ ง. ป็อปอาร์ต 4.งานสื่อผสมเทคนิคคอลลาจชื่อภาษไทยเรียกว่า ธ. การแกะสลัก น. การปะติด บ. การหล่อแม่พิมพ์ ป. การวัสดุในการสร้างสรรค์ 9.งานสื่อผสมถือเป็นงานแขนงงานอะไร ก. ประยุกต์ศิลป์ ข. พาณิชยศิลป์ ค. อุตสาหกรรมศิลป์ ง. วิจิตรศิลป์ 5.จิตรกรรมสื่อผสมเป็นเทคนิควิธีการทำงานใด ธ. วิธีการทางประติมากรรมผสมผสานกับวัสดุ น. วิธีการทางภาพพิมพ์ผสมผสานกับวัสดุ บ. วิธีการปะติดผสมผสานกับวัสดุ ป. วิธีการวาดหรือระบายสีผสมผสานกับวัสดุ 10.งานจิตรกรรมสื่อผสมมีกี่มิติ ก. 1 ข. 2 ค. 3 ง. 4


แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10 กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ สาระทัศนศิลป์(ศ 31101) ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2566 หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 การออกแบบงานศิลปะ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 เรื่อง การออกแบบงาน 2 มิติ เวลา 2 ชั่วโมง สอนวันที่……………….เดือน…………….….....…….พ.ศ.………………. เวลา............................................................. ครูผู้สอน นางสาววันวิสา มั่นคง โรงเรียนราชประชานุเคราะห์ 22 สังกัดสำนักงานการศึกษาพิเศษ 1. มาตรฐานการเรียนรู้ ศ 1.1 สร้างสรรค์งานทัศนศิลป์ตามจินตนาการ และความคิดสร้างสรรค์ วิเคราะห์ วิพากษ์วิจารณ์ คุณค่างานทัศนศิลป์ ถ่ายทอดความรู้สึก ความคิดต่องานศิลปะอย่างอิสระชื่นชม และประยุกต์ใช้ใน ชีวิตประจำวัน 2. ตัวชี้วัด ศ 1.1 ม.4-6/5 สร้างสรรค์ผลงานทัศน์ศิลป์ด้วยเทคโนโลยีต่างๆ โดยเน้นหลักการออกแบบและการ จักองค์ประกอบศิลป์ ศ. 1.1 ม.4-6/6 ออกแบบงานทัศนศิลป์ได้เหมาะกับโอกาสและสถานที่ 3. สาระสำคัญ/ความคิดรวบยอด การถ่ายทอดความงามและความรู้สึกนึกคิดลงบนแผ่นกระดาษ ผ้าใบ หรือวัสดุอื่นที่มีผิวเรียบโดยใช้ เส้น รูปร่าง รูปทรง สี แสงเงา สร้างสรรค์ให้เป็นเกิดภาพลวงตา 4. จุดประสงค์การเรียนรู้ 1. นักเรียนมีความรู้ความเข้าใจและสามารถอธิบายลักษณะของงานทัศนศิลป์แบบ 2 มิติ ได้ (K) 2. นักเรียนสามารถนำความรู้เรื่องการสร้างงานทัศนศิลป์แบบ 2 มิติสร้างสรรค์เป็นผลงานศิลปะโดย ใช้รูปร่างเรขาคณิตในการสร้างสรรค์ได้(P) 3. นักเรียนมีความสุขในการสร้างผลงานศิลปะ และยอมรับฟังความคิดเห็น ชื่นชมผลงานของตนเอง และผู้อื่น (A) 5. สาระการเรียนรู้ 1. การสร้างสรรค์งานทัศนศิลป์แบบ 2 มิติ 2. ขั้นตอนการสร้างสรรค์ผลงานศิลปะแบบ 2 มิติ 3. ความคิดสร้างสรรค์ 4. การออกแบบจัดองค์ประกอบ


6. สมรรถนะสำคัญของผู้เรียน 1. ความสามารถในการสื่อสาร 2. มีความสามารถในการคิด 3. มีความสามารถในการแก้ปัญหา 4. ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต 5. ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี 7. คุณลักษณะอันพึงประสงค์ 1. รักชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย์ 2. ซื่อสัตย์ สุจริต 3. มีวินัย 4. ใฝ่เรียนรู้ 5. อยู่อย่างพอเพียง 6. มุ่งมั่นในการทำงาน 7. รักความเป็นไทย 8. มีจิตสาธารณะ 8. กระบวนการจัดการเรียนรู้ ขั้นนำ 1. ครูสนทนาซักถามกับนักเรียนเกี่ยวกับความรู้พื้นฐานและเชื่อมโยงเข้าสู่บทเรียนเรื่องการ สร้างสรรค์งานทัศนศิลป์แบบ 2 มิติว่า - นักเรียนทราบหรือไม่ว่าการสร้างสรรค์งานทัศนศิลป์แบบ 2 มิตินั้น มีลักษณะเป็นอย่างไร - นักเรียนคิดว่าการสร้างสรรค์งานทัศนศิลป์แบบ 2 มิติ แท้จริงแล้วมีความหมายว่าอย่างไร ขั้นสอน 2. ครูอธิบายความหมายของงานทัศนศิลป์แบบ 2 มิติให้นักเรียนฟัง พร้อมกับให้นักเรียนซักถามจาก สื่อ PowerPoint 3. ครูเปิดวีดีทัศน์ในการสร้างสรรค์งานทัศนศิลป์แบบ 2 มิติให้นักเรียนดู พร้อมทั้งอธิบายยกตัวอย่าง ประกอบ 4. ครูนำตัวอย่างภาพผลงานศิลปะการสร้างสรรค์งานทัศนศิลป์แบบ 2 มิติ ที่สำเร็จมาให้นักเรียนดู แล้วถามนักเรียนว่า - ภาพนี้ครูใช้เทคนิคใดในการสร้างสรรค์ผลงาน - นักเรียนคิดว่าผลงานชิ้นนี้ทำไมถึงเป็นผลงานทัศนศิลป์แบบ 2 มิติ 5. ครูอธิบายขั้นตอนการสร้างสรรค์งานทัศนศิลป์แบบ 2 มิติ โดยวิธีการวาดภาพระบายสีให้นักเรียน ฟัง 6. ครูให้นักเรียนคิดออกแบบสร้างสรรค์ผลงานทัศนศิลป์แบบ 2 มิติ โดยวิธีการวาดภาพระบายสี ตามที่นักเรียนสนใจหรือชื่นชอบ


ขั้นปฏิบัติ 7. ครูให้นักเรียนสร้างสรรค์ผลงานทัศนศิลป์แบบ 2 มิติ โดยวิธีการวาดภาพระบายสีหัวข้อรูปร่าง เรขาคณิต โดยคำนึงหลักการออกแบบจัดองค์ประกอบ ให้มีความสวยงามและเหมาะสม ประณีต สะอาดเรียบร้อย ขั้นสรุป 8. ให้นักเรียนช่วยกันอภิปรายขั้นตอนของการทำงาน และความรู้ที่ได้รับจากการสร้างสรรค์ผลงาน 9. ให้นักเรียนนำเสนอผลงานพร้อมทั้งแสดงความคิดเห็นและแลกเปลี่ยนความรู้ประสบการณ์กับ เพื่อน • หมายเหตุ ขั้นที่ 1-5 ใช้เวลา 1 ชั่วโมง ขั้นที่ 6-9 ใช้เวลา 1 ชั่วโมง 9. สื่อการเรียนรู้ ด้านการสอน 37. สื่อ PowerPoint 38. ตัวอย่างผลงานสำเร็จ 39. ใบความรู้ 40. ใบงาน ด้านวัสดุ อุปกรณ์ 27. กระดาษ 28. ดินสอ 29. ยางลบ 30. สีชนิดต่าง ๆ 10. การวัดและประเมินผล 1. วิธีการวัดและประเมินผล 1.1 แบบประเมินด้านทักษะ กระบวนการ 1.2 แบบประเมินด้านคุณลักษณะอันพึงประสงค์ 1.3 แบบทดสอบ 2. เครื่องมือ 2.1 แบบประเมินด้านทักษะ กระบวนการ


2.2 แบบประเมินด้านคุณลักษณะอันพึงประสงค์ 2.3 แบบทดสอบ 3. เกณฑ์การประเมิน 3.1 การประเมินพฤติกรรมการเข้าร่วมกิจกรรม ผ่านตั้งแต่ 2 รายการ ถือว่า ผ่าน ผ่าน 1 รายการ ถือว่า ไม่ผ่าน 3.2 การประเมินด้านทักษะ กระบวนการ คะแนน 9-10 ระดับ ดีมาก คะแนน 7-8 ระดับ ดี คะแนน 5-6 ระดับ พอใช้ คะแนน 0-4 ระดับ ควรปรับปรุง 11. ข้อเสนอแนะของหัวหน้าสถานศึกษา หรือผู้ที่ได้รับมอบหมาย ที่ รายการ ผลการตรวจ เหมาะสม แก้ไข ข้อเสนอแนะ 1 จุดประสงค์การเรียนรู้ 2 เนื้อหาสาระ 3 กิจกรรมการเรียนการสอน 4 สื่อการเรียนการสอน 5 การวัดผลประเมินผล ลงชื่อ................................................................ (……………………………………………………) รองผู้อำนวยการฝ่ายวิชาการ


บันทึกหลังการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ ชั้น .................................จำนวนเต็ม.................เข้าเรียน....................ขาด................คนชื่อผู้ไม่เข้าเรียน ............................................................................................................................. ...................................... 1. ความสำเร็จในการจัดการเรียนรู้ ................................................................................................................................ .............................................. .............................................................................................................................................................................. ................................................................................................ .............................................................................. 2. ปัญหา/อุปสรรคในการจัดการเรียนรู้ ................................................................................................................................ .............................................. .............................................................................................................................................................................. ................................................................................................ .............................................................................. 3. การปรับปรุงแผนการจัดการเรียนรู้ ................................................................................................................................ .............................................. .............................................................................................................................................................................. ................................................................................................ .............................................................................. ลงชื่อ................................................................ผู้สอน (นางสาววันวิสา มั่นคง) วันที่..............เดือน................ พ.ศ............ ความเห็นของผู้บริหารสถานศึกษาหรือผู้ที่ได้รับมอบหมาย ข้อเสนอแนะ ............................................................................................................................................. ................................. .................................................................................................. ............................................................................ ............................................................................................................................. ................................................. ................................................................................................................................... ........................................... .............................................................................................................................................................................. ลงชื่อ................................................................ (.............................................................) รองผู้อำนวยการกลุ่มบริหารงานวิชาการ


ใบความรู้ 1. การสร้างสรรค์งานทัศนศิลป์แบบ 2 มิติ ทัศนศิลป์แบบ 2 มิติ คือ ผลงานทัศนศิลป์ที่ปรากฏบนพื้นระนาบ ทั้งที่ขรุขระ และเรียบทั้งนี้ปรากฏใน ลักษณะที่เป็น เส้น สี แสงเงาหรือลักษณะพื้นผิวใด ๆ ที่ปรากฏบนพื้นระนาบ สร้างมิติบนพื้นรองรับเป็น 2 มิติ ส่วนมิติที่ 3 คือ ด้านลึกหรือหนาเป็นมิติลวงเกิดขึ้นโดยความรู้สึกของผู้ดู เช่น ภาพวาด ภาพเขียน ภาพพิมพ์ ภาพถ่าย ตัวอย่างเช่น จิตรกรรม(Painting) คือผลงานศิลปะต่างๆที่เป็นรูปแบบ 2 มิติโดยใช้กรรมวิธี เช่น การเขียน การวาด หรือการระบายสี ลงบนวัสดุต่างๆ เช่นกระดาษ ผ้า กำแพง ฯลฯ เพื่อให้เกิดความงามและสามารถสื่อสาร แนวความคิด อารมณ์ ความรู้สึกของศิลปินออกมาได้ โดยสามารถใช้ตัวกลางหรือสื่อกลาง(medium)ต่างๆ มา เป็นตัวจัดการกับผลงานให้ออกมาในลักษณะที่แตกต่างกัน เช่น สีน้ำ สีฝุ่น สีน้ำมัน สีอะคริลิก หรือแม้กระทั่งสี สเปรย์


ตัวอย่างผลงาน 2. ตอนการสร้างสรรค์ผลงานศิลปะแบบ 2 มิติ 1. ร่างภาพลงในกระดาษตามที่นักเรียนออกแบบหรือคิดไว้ ให้ตรงตามหัวข้อที่ครูกำหนดให้ โดย เลือกใช้รูปร่างเรขาคณิตเพียงหนึ่งรูปร่างในการสร้างสรรค์ผลงาน 2. ใช้ปากกาดำลงเส้นทับรูปร่างเรขาคณิตของรูปภาพที่นักเรียนออกแบบมาให้ทั่วทั้งภาพหรือ สร้างสรรค์ตามที่นักเรียนออกแบบสร้างสรรค์ไว้ 3. ใช้ยางลบลบรอยดินสอ ออกให้สะอาด 4. ใช้สีชนิดต่าง ๆ ระบายสีลงไปในรูปภาพที่ตนเองคิดหรือออกแบบมาทั่วทั้งภาพให้สวยงาม 5. เก็บรายละเอียด ตรวจดูความเรียบร้อยของผลงาน 3. ความคิดสร้างสรรค์ ในกิจกรรมนี้หมายถึง นักเรียนคิดจินตนาการ สร้างสรรค์ผลงานศิลปะของนักเรียนออกมา เป็นงานทัศนศิลป์แบบ 2 มิติ โดยใช้วิธีการวาดภาพระบายสีตามหัวข้อรูปร่างเรขาคณิตที่นักเรียนชื่น ชอบ ได้อย่างสวยงามและเหมาะสม 4. การออกแบบจัดองค์ประกอบ คือ การที่นักเรียนสร้างสรรค์ผลงานศิลปะเป็นงานทัศนศิลป์แบบ 2 มิติ โดยวิธีการวาดภาพ ระบายสีตามหัวข้อรูปร่างเรขาคณิต แล้วนักเรียนสามารถจัดวางองค์ประกอบของรูปภาพได้อย่าง เหมาะสม โดยคำนึงถึงหลักการออกแบบ การจัดองค์ประกอบของภาพให้ออกมามีความสมดุล สวยงาม และมีความน่าสนใจ


ใบงานที่ 1 กิจกรรม การสร้างสรรค์งานทัศนศิลป์แบบ 2 มิติระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 ชื่อ………………………………………………………………………………….ชั้น……………….เลขที่………………. 5. ให้นักเรียนสรุปส่วนประกอบของการสร้างสรรค์งานทัศนศิลป์แบบ 2 มิติ ว่าประกอบด้วยอะไรบ้าง เป็นแผนผัง Mindmapping ลงในสมุดของตนเอง


ใบงานที่ 2 กิจกรรม การสร้างสรรค์งานทัศนศิลป์แบบ 2 มิติระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 ชื่อ………………………………………………………………………………….ชั้น……………….เลขที่………………. 1. ให้นักเรียนสร้างสรรค์ผลงานทัศนศิลป์แบบ 2 มิติ โดยวิธีการวาดภาพระบายสีหัวข้อรูปร่างเรขาคณิต โดยคำนึงหลักการออกแบบจัดองค์ประกอบ ให้มีความสวยงามและเหมาะสม ประณีตสะอาดเรียบร้อย


แบบประเมินทักษะ กระบวนการ สาระ ทัศนศิลป์ หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 “การออกแบบงานศิลปะ” เรื่อง การออกแบบงาน 2 มิติชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2566 เลข ที่ ชื่อ - สกุล การวัดประเมินผล รวม หมายเหตุ การออกแบบจัดองค์ประกอบ ความคิดสร้างสรรค์ ความประณีต สวยงาม ผลงานสำเร็จ ส่งงานตรงต่อเวลา 2 2 2 2 2 10 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 17 18


แบบประเมินด้านคุณลักษณะอังพึงประสงค์ กลุ่มสาระ ทัศนศิลป์ หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 “การออกแบบงานศิลปะ” เรื่อง การออกแบบงาน 2 มิติ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2566 รายการประเมิน พฤติกรรมแสดงออก ผลการประเมิน ปฏิบัติ ประจำ ปฏิบัติ บางครั้ง ไม่เคย ปฏิบัติ 3 คะแนน 2 คะแนน 1 คะแนน 1.ความใฝ่รู้ใน ศิลปะ มีความสนใจและแสวงหาความรู้ในวิชาศิลปะมีความ กระตือรือร้นต่อกิจกรรมศิลปะ 2.ความ รับผิดชอบขยัน และอดทน ปฏิบัติงานที่ได้รับมอบหมายสำเร็จตามกำหนดโดยไม่ ย่อท้อต่อความยากลำบาก 3.ความซื่อสัตย์ นำเสนอข้อมูลตามความจริงโดยไม่กลัวการลงโทษ ไม่หลีกเลี่ยงความผิดเพื่อผลประโยชน์ของตนเอง 4.ความมีระเบียบ วินัย ดูแลจัดเก็บทำความสะอาดวัสดุอุปกรณ์และผลงาน อย่างเรียบร้อย ตรงต่อเวลาและปฏิบัติกิจกรรมศิลปะ ตามขั้นตอน 5.ความมีเจตคติ ที่ดีต่อศิลปะ เรียนวิชาศิลปะด้วยความสุข สนุกสนาน มีนิสัย ช่วยเหลือผู้อื่นด้วยจิตใจที่ดีงาม สรุปผลการประเมิน เกณฑ์การตัดสิน 11 - 15 ดีมาก 6 – 11 ดี 0 – 5 ควรปรับปรุง


แบบทดสอบ เรื่อง การออกแบบงาน 2 มิติชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 ชื่อ………………………………………………………………………………….ชั้น……………….เลขที่………………. คำชี้แจง ให้นักเรียนกาเครื่องหมาย x ลงในข้อที่ถูกที่สุดเพียงข้อเดียว 1.งานทัศนศิลป์แบบ 2 มิติ หมายถึงข้อใด ผ. การถ่ายทอดผลงานลงบนแผ่นกระดาษ ฝ. การถ่ายทอดผลงานประติมากรรมนูนต่ำ พ. การถ่ายทอดผลงานการแกะสลัก ฟ. การถ่ายทอดผลงานประติมากรรมนูนสูง 6.ภาพทิวทัศน์ใช้สิ่งใดในการแสดงให้เกิดภาพลวงตา ก. สี ข. รูปร่างรูปทรง ค. แสงเงา ง. ถูกทุกข้อ 2.ข้อใดไม่ใช่การถ่ายทอดผลงานทัศนศิลป์แบบ 2 มิติ ผ. การวาดเส้น ฝ. การระบายสีไม้ พ. การระบายสีน้ำ ฟ. การปั้นดินน้ำมัน 7.งานทัศนศิลป์แบบ 2 มิติ เราจะพบได้ง่ายที่สุดในงาน ประเภทอะไร ก. ภาพพิมพ์ ข. สื่อผสม ค. จิตรกรรม ง. สถาปัตยกรรม 3.เทคนิคภาพพิมพ์ใด ไม่ใช่งานทัศนศิลป์แบบ 2 มิติ ผ. ภาพพิมพ์แกะไม้ ฝ. ภาพพิมพ์โลหะ พ. ภาพพิมพ์ตะแกรงไหม ฟ. ผิดทุกข้อ 8.ระนาบในงานทัศนศิลป์แบบ 2 มิติได้แก่ด้านอะไรบ้าง ก. ด้านกว้าง ด้านยาว ข. ด้านกว้าง ด้านยาว ด้านลึก ค. ด้านกว้าง ด้านยาว ด้านลึก ด้านข้าง ง. ด้านกว้าง ด้านยาว ด้านลึก ด้านสูง 4.ข้อคือคืองานทัศนศิลป์แบบ 2 มิติ ผ. อนุสาวรีย์สามกษัตริย์ ฝ. รูปปั้นเดวิด พ. รูปวาดของอาจารย์เฉลิมชัย ฟ. รูปปั้นพระโพธิสัตว์อวโลกิเตศวร 9.ศิลปินไทยท่านใดสร้างงานทัศนศิลป์แบบ 2 มิติ ประเภท จิตรกรรม ก. เฉลิม นาคีรักษ์ ข. ประเทือง เอมเจริญ ค. ถวัลย์ ดัชนี ง. ถูกทุกข้อ 5.บุคคลในข้อใดสร้างงานทัศนศิลป์แบบ 2 มิติ ผ. แสงระวีนำตอไม้มาแกะสลักเป็นรูปสัตว์ ฝ. ศรีสมรนำสีน้ำมาวาดภาพห้วยตึงเฒ่า พ. อรชรนำเศษกระดาษที่เหลือใช้มาปั้นเป็นรูป ฟ. สมสมัยปั้นดินน้ำมันเป็นรูปผักและผลไม้ 10.ศิลปินต่างประเทศท่านใดไม่ได้สร้างงานทัศนศิลป์แบบ 2 มิติ ประเภทจิตรกรรม ก. เลโอนาร์โด ดา วินซี ข. ฟินเซนต์ ฟาน ก็อก ค. ปาโบล ปิกัสโซ ง. ผิดทุกข้อ


แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 11 กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ สาระทัศนศิลป์(ศ 31101) ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2566 หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 การออกแบบงานศิลปะ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 เรื่อง การออกแบบงาน 3 มิติ เวลา 2 ชั่วโมง สอนวันที่……………….เดือน…………….….....…….พ.ศ.………………. เวลา............................................................. ครูผู้สอน นางสาววันวิสา มั่นคง โรงเรียนราชประชานุเคราะห์ 22 สังกัดสำนักงานการศึกษาพิเศษ 1. มาตรฐานการเรียนรู้ ศ 1.1 สร้างสรรค์งานทัศนศิลป์ตามจินตนาการ และความคิดสร้างสรรค์ วิเคราะห์ วิพากษ์วิจารณ์ คุณค่างานทัศนศิลป์ ถ่ายทอดความรู้สึก ความคิดต่องานศิลปะอย่างอิสระชื่นชม และประยุกต์ใช้ใน ชีวิตประจำวัน 2. ตัวชี้วัด ศ 1.1 ม.3/6 สร้างงานทัศนศิลป์ ทั้ง 2 มิติ และ 3 มิติ เพื่อถ่ายทอดประสบการณ์และจินตนาการ ศ 1.1 ม.3/7 สร้างสรรค์งานทัศนศิลป์สื่อความหมายเป็นเรื่องราว โดยประยุกต์ใช้ทัศนธาตุ และ หลักการออกแบบ 3. สาระสำคัญ/ความคิดรวบยอด ผลงานที่มีลักษณะของชิ้นงานมีรูปทรงวัตถุเหมือนจริงสัมผัสได้ มีความกว้าง ยาว สูง ต่ำ หนา บาง มี บรรยากาศล้อมรอบ 4. จุดประสงค์การเรียนรู้ 1. นักเรียนมีความรู้ความเข้าใจและสามารถอธิบายความหมายของงานทัศนศิลป์แบบ 3 มิติ ได้ (K) 2. นักเรียนสามารถเขียนสรุปความหมายและประเภทของงานทัศนศิลป์แบบ 3 มิติ เป็นแผนผัง ความคิด Mindmapping ได้ (P) 3. นักเรียนตระหนักถึงคุณค่าและประโยชน์ของงานทัศนศิลป์แบบ 3 มิติ ที่มีต่อชีวิตประจำวันได้ (A) 5. สาระการเรียนรู้ 1. การสร้างสรรค์งานทัศนศิลป์แบบ 3 มิติ 2. ขั้นตอนการเขียนแผนผังความคิด Mindmapping 3. ความคิดสร้างสรรค์ 4. การออกแบบจัดองค์ประกอบ


6. สมรรถนะสำคัญของผู้เรียน 1. ความสามารถในการสื่อสาร 2. มีความสามารถในการคิด 3. มีความสามารถในการแก้ปัญหา 4. ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต 5. ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี 7. คุณลักษณะอันพึงประสงค์ 1. รักชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย์ 2. ซื่อสัตย์ สุจริต 3. มีวินัย 4. ใฝ่เรียนรู้ 5. อยู่อย่างพอเพียง 6. มุ่งมั่นในการทำงาน 7. รักความเป็นไทย 8. มีจิตสาธารณะ 8. กระบวนการจัดการเรียนรู้ ขั้นนำ 10. ครูสนทนาซักถามกับนักเรียนเกี่ยวกับความรู้พื้นฐานและเชื่อมโยงเข้าสู่บทเรียนเรื่องการ สร้างสรรค์งานทัศนศิลป์แบบ 3 มิติว่า - นักเรียนคิดว่างานทัศนศิลป์ 2 มิติ และ 3 มิติ แตกต่างกันอย่างไง - นักเรียนทราบหรือไม่ว่าการสร้างสรรค์งานทัศนศิลป์แบบ 3 มิตินั้น มีลักษณะเป็นอย่างไร - นักเรียนทราบหรือไม่ว่างานทัศนศิลป์แบบ 3 มิติ ได้แก่งานอะไรบ้าง ขั้นสอน 11. ครูอธิบายความหมายของงานทัศนศิลป์แบบ 3 มิติให้นักเรียนฟัง พร้อมกับให้นักเรียนซักถามจาก สื่อ PowerPoint 12. ครูนำตัวอย่างผลงานการสร้างงานทัศนศิลป์แบบ 3 มิติ มาให้นักเรียนดูแล้วให้นักเรียนช่วยกัน ตอบถามการแยะแยะประเภทของงานทัศนศิลป์แบบ 3 มิติและ 2 มิติ 13. ครูเปิดวีดีทัศน์ในการสร้างสรรค์งานทัศนศิลป์แบบ 3 มิติให้นักเรียนดู พร้อมทั้งอธิบายยกตัวอย่าง ประกอบ 14. ครูให้นักเรียนช่วยกันสรุปถึงการสร้างสรรค์งานทัศนศิลป์แบบ 3 มิติ ที่เรียนมาทั้งหมด โดยให้ ช่วยกันสรุปทั้งชั้นเรียน 15. ครูให้นักเรียนช่วยกับทำแบบทดสอบหลังเรียนหลังจากที่เรียนเรื่องการสร้างสรรค์งานทัศนศิลป์ แบบ 3 มิติ จำนวน 10 ข้อ


ขั้นปฏิบัติ 16. ให้นักเรียนเขียนสรุปการสร้างสรรค์งานทัศนศิลป์แบบ 3 มิติ เป็นแผนผัง Mindmapping ขั้นสรุป 17. ให้นักเรียนช่วยกันอภิปรายและสรุปความรู้ที่ได้รับจากการเรียนเรื่องการสร้างสรรค์งานทัศนศิลป์ แบบ 3 มิติ - งานทัศนศิลป์แบบ 3 มิติ - การประยุกต์ใช้ทัศนธาตุและหลักการออกแบบสร้างงานทัศนศิลป์แบบ 3 มิติ - เทคนิคที่ใช้ในการสร้างงานทัศนศิลป์แบบ 3 มิติ 18. ให้นักเรียนนำเสนอผลงานพร้อมทั้งแสดงความคิดเห็นและแลกเปลี่ยนความรู้ประสบการณ์กับ เพื่อน • หมายเหตุ ขั้นที่ 1-4 ใช้เวลา 1 ชั่วโมง ขั้นที่ 5-9 ใช้เวลา 1 ชั่วโมง 9. สื่อการเรียนรู้ ด้านการสอน 41. สื่อ PowerPoint 42. ใบงาน 43. ใบความรู้ ด้านวัสดุ อุปกรณ์ 31. สมุดจดบันทึก 32. ปากกา 10. การวัดและประเมินผล 1. วิธีการวัดและประเมินผล 1.1 แบบประเมินด้านทักษะ กระบวนการ 1.2 แบบประเมินด้านคุณลักษณะอันพึงประสงค์ 1.3 แบบทดสอบ 2. เครื่องมือ 2.1 แบบประเมินด้านทักษะ กระบวนการ


2.2 แบบประเมินด้านคุณลักษณะอันพึงประสงค์ 2.3 แบบทดสอบ 3. เกณฑ์การประเมิน 3.1 การประเมินพฤติกรรมการเข้าร่วมกิจกรรม ผ่านตั้งแต่ 2 รายการ ถือว่า ผ่าน ผ่าน 1 รายการ ถือว่า ไม่ผ่าน 3.2 การประเมินด้านทักษะ กระบวนการ คะแนน 9-10 ระดับ ดีมาก คะแนน 7-8 ระดับ ดี คะแนน 5-6 ระดับ พอใช้ คะแนน 0-4 ระดับ ควรปรับปรุง 11. ข้อเสนอแนะของหัวหน้าสถานศึกษา หรือผู้ที่ได้รับมอบหมาย ที่ รายการ ผลการตรวจ เหมาะสม แก้ไข ข้อเสนอแนะ 1 จุดประสงค์การเรียนรู้ 2 เนื้อหาสาระ 3 กิจกรรมการเรียนการสอน 4 สื่อการเรียนการสอน 5 การวัดผลประเมินผล ลงชื่อ................................................................ (……………………………………………………) รองผู้อำนวยการฝ่ายวิชาการ


บันทึกหลังการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ ชั้น .................................จำนวนเต็ม.................เข้าเรียน....................ขาด................คนชื่อผู้ไม่เข้าเรียน ............................................................................................................................. ...................................... 1. ความสำเร็จในการจัดการเรียนรู้ ................................................................................................................................ .............................................. .............................................................................................................................................................................. ................................................................................................ .............................................................................. 2. ปัญหา/อุปสรรคในการจัดการเรียนรู้ ................................................................................................................................ .............................................. .............................................................................................................................................................................. ................................................................................................ .............................................................................. 3. การปรับปรุงแผนการจัดการเรียนรู้ ................................................................................................................................ .............................................. .............................................................................................................................................................................. ................................................................................................ .............................................................................. ลงชื่อ................................................................ผู้สอน (นางสาววันวิสา มั่นคง) วันที่..............เดือน................ พ.ศ............ ความเห็นของผู้บริหารสถานศึกษาหรือผู้ที่ได้รับมอบหมาย ข้อเสนอแนะ ............................................................................................................................................. ................................. .................................................................................................. ............................................................................ ............................................................................................................................. ................................................. ................................................................................................................................... ........................................... .............................................................................................................................................................................. ลงชื่อ................................................................ (.............................................................) รองผู้อำนวยการกลุ่มบริหารงานวิชาการ


ใบความรู้ 1. การสร้างสรรค์งานทัศนศิลป์แบบ 3 มิติ ทัศนศิลป์ประเภท 3 มิติคือ ลักษณะจริงของมิติทั้ง 3 ประการ มีความกว้าง ความยาวและความลึก ที่มีความเป็นจริงตามสภาวะของมัน จึงแบ่งได้เป็น 3 ประเภทใหญ่ ๆ คือ ประติมากรรม สถาปัตยกรรม และ ศิลปะสื่อผสม ตัวอย่างเช่น ประติมากรรม (Sculpture) เป็นงานศิลปะที่แสดงออกด้วยการปั้น แกะสลัก หล่อ และการจัด องค์ประกอบความงามอื่น ลงบนสื่อต่างๆ เช่น ไม้ หิน โลหะ สัมฤทธิ์ ฯลฯ เพื่อให้เกิดรูปทรง 3 มิติ มีความลึก หรือนูนหนา สามารถสื่อถึงสิ่งต่างๆ สภาพสังคม วัฒนธรรม รวมถึงจิตใจของมนุษย์โดยชิ้นงาน ผ่านการสร้าง ของประติมากร ประติมากรรมเป็นแขนงหนึ่งของทัศนศิลป์ ผู้ทำงานประติมากรรม มักเรียกว่า ประติมากร งานประติมากรรมที่เกี่ยวกับศาสนามักสะกดให้แตกต่างออกไปว่า ปฏิมากรรม ผู้ที่สร้างงาน ปฏิมากรรม เรียกว่า ปฏิมากร


ตัวอย่างผลงาน


2. ขั้นตอนการเขียนแผนผังความคิด Mindmapping 1. คิดออกแบบแผนผังความคิด Mindmapping ให้มีองค์ประกอบที่สวยงามครบถ้วน สะดวกและง่าย ต่อการอ่าน 2. แยกแยะเนื้อหาของการสร้างงานทัศนศิลป์แบบ 3 มิติ ออกเป็นความหมาย เทคนิค วิธีการ สร้างสรรค์ผลงาน แล้วเขียนเป็นแผนผังความคิด Mindmapping ตามที่ออกแบบหรือคิดไว้ลงในสมุดจดบันทึก โดยเขียนตัวหนังสือให้เรียบร้อยอ่านได้สะดวก 3. เก็บรายละเอียดความเรียบร้อยของผลงาน 3. ความคิดสร้างสรรค์ ในกิจกรรมนี้หมายถึง นักเรียนคิดจินตนาการ ออกแบบแผนผังความคิด Mindmapping ของนักเรียน ออกมา ได้อย่างสวยงามและเหมาะสม 4. การออกแบบจัดองค์ประกอบ คือ การที่นักเรียนออกแบบแผนผังความคิด Mindmapping แล้วนักเรียนสามารถจัดวางองค์ประกอบ ของแผนผังได้อย่างเหมาะสม โดยคำนึงถึงหลักการออกแบบ การจัดองค์ประกอบของภาพให้ออกมามีความ สมดุลสวยงาม และมีความน่าสนใจ


ใบงาน กิจกรรม การสร้างสรรค์งานทัศนศิลป์แบบ 3 มิติระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 ชื่อ………………………………………………………………………………….ชั้น……………….เลขที่………………. 6. ให้นักเรียนสรุปส่วนประกอบของการสร้างสรรค์งานทัศนศิลป์แบบ 3 มิติ ว่าประกอบด้วยอะไรบ้าง เป็นแผนผัง Mindmapping


แบบประเมินทักษะ กระบวนการ สาระ ทัศนศิลป์ หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 “การออกแบบงานศิลปะ” เรื่อง การออกแบบงาน 3 มิติชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2566 เลขที่ ชื่อ - สกุล การวัดประเมินผล รวม หมายเหตุ การออกแบบจัดองค์ประกอบ ความคิดสร้างสรรค์ ความประณีต สวยงาม ผลงานสำเร็จ ส่งงานตรงต่อเวลา 2 2 2 2 2 10 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 17 18


แบบประเมินด้านคุณลักษณะอังพึงประสงค์ กลุ่มสาระ ทัศนศิลป์ หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 “การออกแบบงานศิลปะ” เรื่อง การออกแบบงาน 3 มิติ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2566 รายการประเมิน พฤติกรรมแสดงออก ผลการประเมิน ปฏิบัติ ประจำ ปฏิบัติ บางครั้ง ไม่เคย ปฏิบัติ 3 คะแนน 2 คะแนน 1 คะแนน 1.ความใฝ่รู้ใน ศิลปะ มีความสนใจและแสวงหาความรู้ในวิชาศิลปะมีความ กระตือรือร้นต่อกิจกรรมศิลปะ 2.ความ รับผิดชอบขยัน และอดทน ปฏิบัติงานที่ได้รับมอบหมายสำเร็จตามกำหนดโดยไม่ ย่อท้อต่อความยากลำบาก 3.ความซื่อสัตย์ นำเสนอข้อมูลตามความจริงโดยไม่กลัวการลงโทษ ไม่หลีกเลี่ยงความผิดเพื่อผลประโยชน์ของตนเอง 4.ความมีระเบียบ วินัย ดูแลจัดเก็บทำความสะอาดวัสดุอุปกรณ์และผลงาน อย่างเรียบร้อย ตรงต่อเวลาและปฏิบัติกิจกรรมศิลปะ ตามขั้นตอน 5.ความมีเจตคติ ที่ดีต่อศิลปะ เรียนวิชาศิลปะด้วยความสุข สนุกสนาน มีนิสัย ช่วยเหลือผู้อื่นด้วยจิตใจที่ดีงาม สรุปผลการประเมิน เกณฑ์การตัดสิน 11 - 15 ดีมาก 6 – 11 ดี 0 – 5 ควรปรับปรุง


แบบทดสอบ เรื่อง การออกแบบงาน 3 มิติ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 ชื่อ………………………………………………………………………………….ชั้น……………….เลขที่………………. คำชี้แจง ให้นักเรียนกาเครื่องหมาย x ลงในข้อที่ถูกที่สุดเพียงข้อเดียว 1.งานทัศนศิลป์แบบ 3 มิติ หมายถึงข้อใดถูกต้องที่สุด ภ. ผลงานที่สร้างสรรค์ด้วยการปั้น ม. ผลงานที่สร้างสรรค์ด้วยแกะสลัก ย. ผลงานที่สร้างสรรค์ด้วยวิธีการหล่อ ร. ผลงานที่มีลักษณะรูปทรงวัตถุเหมือนจริง สัมผัสได้ 6.ผลงานประติมากรรมลอยตัว สามารถมองเห็นได้กี่ด้าน ก. ด้านหน้าด้านเดียว ข. ด้านหน้าและด้านข้าง ค. ด้านหน้าด้านข้างและด้านบน ง. มองเห็นได้รอบด้าน 2.เทคนิควิธีการใดไม่ใช่การสร้างงานทัศนศิลป์แบบ 3 มิติ ภ. เทคนิคการปั้นดินน้ำมัน ม. เทคนิคการปะติด ย. เทคนิคการปั้นกระดาษ ร. เทคนิคการปั้นปูนสด 7.วิธีการสร้างงานทัศนศิลป์แบบ 3 มิติ วิธีการใดทำได้ง่าย ที่สุด ก. การแกะสลักไม้ ข. การปั้นปูนสด ค. การแกะสลักน้ำแข็ง ง. การปั้นดินน้ำมัน 3.วัสดุชนิดใดสามารถนำไปสร้างงานทัศนศิลป์แบบ 3 มิติ ได้ ภ. ดินน้ำมัน ม. โฟม ย. ไม้ ร. ถูกทุกข้อ 8.เทคนิคการแกะสลักน้ำแข็งเหมาะสมที่จะทำในฤดูกาลใด มากที่สุด ก. ฤดูร้อน ข. ฤดูหนาว ค. ฤดูฝน ง. ทุกฤดู 4.ข้อใดไม่ใช่ประเภทของงานทัศนศิลป์แบบ 3 มิติ ภ. จิตรกรรม ม. ประติมากรรม ย. สถาปัตยกรรม ร. ศิลปะสื่อผสม 9.ศิลปินท่านใดคือผู้ที่ปั้นอนุสาวรีย์ชิ้นแรกของประเทศไทย ก. ศิลป์ พีระศรี ข. ถวัลย์ ดัชนี ค. เขียน ยิ้มศิริ ง. เฉลิมขัย โฆษิตพิพัฒน์ 5.ข้อใดคืองานทัศนศิลป์แบบ 3 มิติ ภ. งานแกะสลักก้อนน้ำแข็ง ม. งานจิตรกรรมไทยร่วมสมัย ย. งานจิตรกรรมสากลแบบตัดทอน ร. งานจิตรกรรมสากลแบบเหมือนจริง 10.ผลงานทัศนศิลป์แบบ 3 มิติ ชิ้นใดอยู่ในจังหวัดเชียงใหม่ ก. อนุสาวรีย์วีระชนค่ายบางระจัน ข. อนุสาวรีย์สามกษัตริย์ ค. อนุสาวรีย์ประชาธิปไตย ง. อนุสาวรีย์ชัยสมรภูมิ


Click to View FlipBook Version