คำนำ
พระเจ้าองค์ตื้อตั้งอยู่วัดศิลาอาสน์ บนภูเขาภูพระ ตำบลนาเสียว อำเภอเมือง จังหวัดชัยภูมิ เล่มนี้จัดทำ
ข้นึ โดยมวี ตั ถุประสงค์เพื่อศึกษาประวตั ิความเป็นมา รากฐานความเชื่อ ทเ่ี ป็นท่เี คารพศรัทธาของชาวจังหวัดชัยภูมิ
เพ่อื เปน็ ประโยชน์กับการเรยี น ซึ่งเปน็ ส่วนหนง่ึ ของวิชาภาษาและวัฒนธรรม
ใบเสมาบ้านกุดโง้ง ตำบลบุ่งคล้า อำเภอเมือง จังหวัดชัยภูมิ เล่มนี้จัดทำขึ้น โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา
ประวัติความเป็นมาของการขุดค้นพบใบเสมาและได้ศึกษาอย่างเข้าใจ เพื่อเป็นประโยชน์กับการเรียนและตำนาน
ตา่ ง ๆ ของใบเสมา ซ่ึงรายงานเล่มนี้เป็นสว่ นหนึ่งของวชิ าภาษาและวฒั นธรรม
ยาหม่องขิงแห้ง บ้านไทรงาม ตำบลนาเสียว อำเภอเมือง จังหวัดชัยภูมิ เป็นภูมิปัญญาชาวบ้านของไทย
จัดทำขึ้นโดยมีวัตถปุ ระสงค์เพื่อศึกษาสืบทอดภูมิปัญญาพื้นบ้านเพือ่ นำไปสู่การดูแลรักษาสุขภาพของคนในชุมชน
ในแงค่ วามรู้ และอาชีพเสริม
มรดกท้องถิ่น เล่มนี้จะเป็นประโยชน์กับผู้ที่กำลังศึกษาเรื่องนี้อยู่ หากมีข้อแนะนำหรือข้อผิดพลาดประการใด
ผู้จัดทำขอน้อมรบั ไวแ้ ละขออภยั มา ณ โอกาสน้ี
นักศกึ ษา หลักสูตรประกาศนียบัตรบณั ฑิตสาขาวชิ าชีพครู
รุน่ ท่ี 8 หมเู่ รียนที่ 1
พฤศจกิ ายน
สารบญั
เรือ่ ง หนา้
ประวัตคิ วามเปน็ มาพระเจ้าองคต์ อื้
รากฐาน คติฝความเช่ือเกยี่ วกับพระเจ้าองค์ตอ้ื
ข้อคำถามเกี่ยวกับพระเจา้ องค์
ประวตั คิ วามเปน็ มาใบเสมาบ้านกุดโง้ง
ใบเสมาแผ่นท่ี 1
ใบเสมาแผ่นท่ี 2
ใบเสมาแผน่ ท่ี 3
ใบเสมาแผน่ ที่ 4
ใบเสมาแผ่นท่ี 5
ใบเสมาแผ่นที่ 6
ใบเสมาแผ่นท่ี 7
ใบเสมาแผ่นที่ 8
ใบเสมาแผน่ ที่ 9
ใบเสมาแผ่นท่ี 10
ใบเสมาแผ่นที่ 11
ใบเสมาแผน่ ที่ 12
ยาหม่องขงิ แหง้ ไทรงาม
ภาคผนวก
เอกสารอา้ งอิง
ประวัตพิ ระเจา้ องค์ตอ้ื
พระเจ้าองค์ตื้อ ตามหลักฐานกรมศิลปากรที่มาสำรวจขึน้ ทะเบยี นไว้เป็นหลักฐานของทางราชการเขียนไว้ดงั น้ี “ที่
ผนงั จำหลกั เป็นพระพทุ ธรปู ใหญอ่ งค์หน่ึง น่งั ขดั สมาธิราบ พระหตั ถ์ขวาวางอยทู่ ีพ่ ระเพลาพระหัตถ์ซ้ายวางพาดอยู่
ทพี่ ระชงฆ์ หน้าตักกวา้ ง ๕ ฟุต สูง ๗ ฟตุ เรียกวา่ พระเจา้ ตือ้ และรอบพระพุทธรปู องค์น้ีมีรอยแกะหินเป็นรูป
พระสาวกอีกหลายองค์ (๗ องค์) ซึ่งสันนิษฐานว่า อาจจะสร้างในสมัยรุ่นราวคราวเดียวกับปรางค์กู้ก็เป็นได้
พระพทุ ธรูปเหล่าน้ี มีลกั ษณะเปน็ พระพุทธรูปแบบอู่ทอง มีอายุอยรู่ ะหวา่ งพุทธศตวรรษที่ ๑๘-๑๙ (พ.ศ. ๑๗๐๑-
พ.ศ. ๑๙๐๐)” สอบถามคนรุ่นเก่า ซึ่งรับรู้เรื่องราวสบื ต่อ ๆ กันมานับเป็นร้อย ๆ ปีว่า มีผู้พบพระเจ้าองค์ตื้ออยู่ใน
ป่าทเี่ ขาแหง่ หนึง่ จงึ มีผ้ตู ้งั ชอื่ เขานว้ี ่า เขาภพู ระ
พระเจ้าองคต์ ้อื ทภี่ ูพระ จ. ชยั ภูมิ มาจากไหน ?
โดย นางมารสวมแอด๊ ดา้ 4/7/2559
จังหวัดชัยภูมิเป็นส่วนหนึ่งของที่ราบสูงโคราช ในภาคตะวันออกเฉียงเหนืออุดมไปด้วยทรัพยากรธรรมชาติและ
ทรัพยากรทางด้านวัฒนธรรม พบหลักฐานการอาศัยอยู่ของมนุษย์ตั้งแต่สมัยก่อนประวัติศาสตร์จนถึงปัจจุบัน
โดยเฉพาะหลักฐานทางด้านความเชือ่ ทางพระพุทธศาสนาปรากฏตัง้ แตร่ ว่ มสมัยวัฒนธรรมทวารวดใี นกลุ่มในเสมา
ที่บ้านกุดโง้ง อ.เมือง หรือ ใบเสมาที่บ้านคอนสวรรค์ อ.คอนสวรรค์ ซึ่งแกะสลักเป็นเรื่องราวชาดกใน
พระพุทธศาสนานั้นหมายความว่า ผู้คนที่อาศัยในแถบนี้ได้รับเอาพระพุทธศาสนามาอย่างนอ้ ยพุทธศตวรรษที่ 12
มาแลว้
ความสืบเนื่องของหลักฐานเกีย่ วกับพุทธศาสนาแถบนี้ตอ่ เนื่องถงึ อิทธิพลวฒั นธรรมขอมยุคสมัยพระเจ้าชัยวรมนั ท่ี
7 อย่างไรก็ตามยังปรากฏหลักฐานที่สามารถเชื่อมโยงกับพุทธศาสนาในท้องที่ใกล้เคียงกันทีชัดเจน คือ พระเจ้า
องค์ตื้อ ที่ภูพระ ต.นาเสียว อ.เมือง จ.ชัยภูมิ เป็นพระพุทธรูปสลักบริเวณเพิงผาองค์ใหญ่ และมีพระพุทธรูปขนาด
เลก็ อกี จำนวน 7 องค์ ในท่นี ี้จะกลา่ วถงึ พระเจ้าองคต์ ือ้
ลกั ษณะพระเจา้ องค์ตื้อ
ศาสตราจารย์ ดร.ศักดิ์ชัย สายสิงห์ อธิบายว่า เป็นพระพุทธรูปปางมารวิชยั ประทับสมาธิเพชร แสดงปางมารวิชยั
หรือมุทราด้วยพระหัตถ์ซ้ายซึ่งเป็นฝีมือช่างพื้นถิ่นที่ไม่ยึดติดกับรูปแบบดั้งเดิมที่ปกติจะต้องแสดงมุทราด้วยประ
หัตถ์ขวา อีกทั้งการประทับสมาธิเพชรเปน็ ลักษณะอิทธิพลแบบปาละท่ีปรากฏในศิลปะแบบลา้ นนาทีอ่ าจส่งผลต่อ
ศลิ ปะแบบอีสาน
ลักษณะพระเจ้าองค์ตือ้ ทีภ่ ูพระ จ.ชัยภูมิคือ พระวรกายใหญ่ พระพักตร์สี่เหลีย่ ม พระขนงต่อกันเกือบเปน็ เสน้ ตรง
พระเนตรเปิดและมองตรง พระนาสกิ แบน ทง้ั หมดเป็นเคา้ โครงพระพุทธรปู แบบเขมรศิลปะแบบนครวัด
ข้อสังเกตคือพระเศยี รไม่ทำขมวดพระเกศาแบบกน้ หอย เฉกเช่นพระพุทธรปู ทว่ั ไป แตเ่ ปน็ เสน้ ๆถักเกล้าขึ้นไปรวบ
เป็นมวยกลางพระเกศา คล้ายการเกล้ามวยในประติมากรรมแบบศิลปะปาปวนและบายนเขมร สังฆาติแผ่นใหญ่
จรดพระนาภีเปน็ แบบเขมรอย่างแทจ้ ริง ความเป็นลกั ษณะทอ้ งถนิ่ น้ีไดก้ ำหนดอายุว่าน่าจะอยู่ราวชว่ งพทุ ธศตวรรษ
ที่ 18 -19 (ศกั ด์ชิ ัย สายสิงห์,2554,หน้า 196-197)
เร่ืองเล่าของการเจอพระเจา้ องค์ต้ือ
ในอดีตท้องที่แห่งนี้เป็นป่ารกทึบ (ซึ่งปัจจุบันก็มีร่องรอยของความเป็นป่าอยู่บ้าง อีกทั้งอยู่ใกล้รอยต่ออุทยาน
แห่งชาติตาดโตน ) พรานป่าก็ออกล่าสัตว์ ซุ่มยิงสัตว์ แต่ยิงเท่าไหร่ก็ยิงไม่ออก จึงเดินเข้าไปดูพบใบไม้ทับถม
จำนวนมาก จึงพบพระพุทธรูปองค์ใหญ่ประดิษฐานอยู่ ตั้งแต่นั้นมาจึงเป็นที่เคารพสักการะของชาวชัยภูมิและ
จังหวดั ใกล้เคียง
นามพระเจา้ องค์ตอ้ื มาจากไหน ?
พจนานกุ รมฉบับอสี าน –ไทยภาคกลาง ของอาจารย์ปรชี า พณิ ทอง ความหมายของคำว่า
ตื้อ ว่า เป็นมาตรานับสมัยโบราณ นับตั้งแต่หนึ่งไปถึงตื้อ ตื้อหนึ่งเท่ากับพันล้านบ้านเมืองที่มีคนอยู่จำนวนหลาย
ล้านเรยี กตือ้
ตัวอย่างในเร่อื งสนิ ไซ
“ยังมนี คั เรศล้ำ ชัน้ ชือ่ เป็งจาล
นิคมคน คงั่ เพง็ พอต้ือ
เชยี งหลวงล้น รุงรังล้านย่าน
นำ้ แผล่ ้อม ระวงั ตา้ ยชั่วพ้น”
นามพระเจ้าองค์ตื้อ พระพุทธเจา้ พันล้าน ตื้อ ตคี วามหมายว่า มหาศาล มากมาย ประมาณค่ามิได้จากคำประพันธ์
ข้างต้น ดังนั้น พระเจ้าองค์ตื้อ อาจมีความหมายว่า พระพุทธเจ้าผู้ทรงปัญญาธิคุณ วิริยาธิคุณ มหากรุณาธิคุณที่
มหาศาลประมาณค่ามไิ ด้ นัยยะคอื มากมายมหาศาลน้นั เอง (ผ้เู ขยี น)
นามพระเจ้าองค์ต้ือนั้น ปรากฏอยู่ ในประเทศไทยและประเทศลาว เช่น
พระเจ้าองคต์ อื้ (พระตอ้ื ) เนือ้ ทองสัมฤทธ์ิ ปางมารวิชัยอย่ทู ่ีวัดใต้
พระเจา้ ใหญอ่ งค์ตื้อ อำเภออเมอื ง จังหวัดอบุ ลราชธานี
พระเจ้าองค์ตื้อ ตื้อ (พระโต) เนื้ออิฐถือปูนลงรักปิดทอง ปางมารวิชัย อยู่ที่วัดพระโต บ้าน หนองแซง อำเภอนา
ตาล (เขมราฐ) จงั หวัดอุบลราชธานี
พระเจา้ องค์ตือ้ (พระตอ้ื ) เนื้อทองสัมฤทธ์ิ ปางมารวิชัยอยู่ท่วี ัดศรชี มพูองค์ต้อื อำเภอท่าบอ่ จังหวัดหนองคาย
พระเจา้ องคต์ ื้อ (พระหินตนั ) เน้อื ศิลาหนิ ปางมารวิชยั อยู่ทีภ่ พู ระ วดั ศลิ าอาสน์ อำเภอเมือง จังหวัด ชัยภมู ิ
พระเจ้าองค์ตือ้ (พระเกา้ ต้ือ) เน้ือทองสมั ฤทธ์ิ ปางมารวชิ ยั อยูท่ ่ีวัดสวนดอก อำเภอเมอื ง จงั หวดั เชียงใหม่
พระเจ้าองค์ต้ือ อย่ทู ่ีวดั พระเจ้าองค์ตอ้ื สาธารณรฐั ประชาธปิ ไตยประชาชนลาว นคร เวียงจันทร์ ตำนานกล่าวไว้ว่า
สรา้ งสมยั กษตั รยิ ์พระเจ้าไชยเชษฐาธิราช
และอีกหนึ่งแห่งคือ พระเจา้ องค์ต้ือ ทต่ี ำบลบา้ นยาง อำเภอเกษตรสมบูรณ์ จังหวัดชัยภูมิ
สังเกตได้ว่า พระเจ้าองค์ตื้อจะปรากฏในเขตวัฒนธรรมล้านช้าง – ล้านนา ซึ่งเป็นไปได้ว่า ความเกี่ยวข้องทาง
วฒั นธรรมและท่ีสำคญั เรยี กพระพุทธรูป ว่า พระเจ้า เชน่ เดียวกนั
วเิ คราะหท์ ่ีมาของนามพระเจ้าองค์ตือ้
หากจะวิเคราะห์ในแนวความคิดเรื่องทฤษฎีเอกกำเนิดหรือการกระจาย (Momogenesis or Diffusion Theory)
ที่ว่า วฒั นธรรมเกิดขนึ้ จากแหลง่ หน่งึ ไปอกี แหลง่ หนงึ่
นามพระเจ้าองค์ตื้อและความคิดเรื่องพระเจ้าองค์ตื้อในชัยภูมิจะมาจากการอพยพของชาวลาวเข้าสู่เขตจังหวัด
ชัยภูมิ เพราะประวัติศาสตร์การอพยพของผู้คนเข้ามาในเขตท้องที่จังหวัดชัยภูมินั้น ปรากฏหลักฐานตามเอกสาร
ทางประวตั ิศาสตร์
ช่วงต้นรัตนโกสินทร์กลมุ่ ทอี่ พยพมาจะเป็นกลุ่มชาวลาวมากทสี่ ุด พระนรนิ ทรส์ งครามอพยพมาตงั้ เมืองสี่มุมบริเวณ
จังหวัดนครราชสีมาภายหลงั โยกย้ายมาบรเิ วณบงึ ละหาน และใกลก้ บั เมืองสีม่ ุมปัจจุบันมาก (อ.จตั ุรัส ) พระยาภริ ม
ไกรภักดิ์เป็นผู้ถวายช้างสำคัญในสมัยรัชกาลที่ 1 ตั้งเมืองภูเขียวเป็นผู้นำกลุ่มคนลาวและ นายแลหรือพญาแล
อพยพผู้คนจากลาว จนมาตง้ั เมืองที่ชยั ภมู ิ ดังน้นั การอพยพไปทอ้ งท่ใี ด จะตอ้ งนำวัฒนธรรมการใชช้ วี ิต อกี ทัง้ ความ
เชอื่ ไปดว้ ยเสมอ การนับถอื ผีปตู่ า ผีหอโฮง ผี ตาแฮก รวมทัง้ พระพุทธศาสนาดว้ ย
โดยเฉพาะประวัติศาสตร์เมืองชัยภูมิที่กล่าวว่า ท้าวแล อพยพมาจากเวียงจันทน์ มาสู่เขตจังหวัดชัยภูมิ มีความ
เคารพนับถือ โดยเฉพาะพระพุทธรูปสำคัญสมัยพระไชยเชษฐาธิราชหนึ่งองค์ ชื่อพระเจ้าองค์ตื้อ ที่จ.หนองคาย
และ นครเวยี งจนั ทน์ ประเทศลาว ผคู้ นศรทั ธาในพระเจา้ องค์ต้ือเดิมเม่ืออพยพยา้ ยถน่ิ ฐาน เมือ่ การพบพระพุทธรูป
องค์ใหญ่ จงึ นำชื่อของพระพุทธรปู นัน้ มาดว้ ย
อีกแนวความคิดหนึ่งคือ เรื่องทฤษฎีพหุกำเนิด (Polygenetic Theory)หรือการกำเนิดหลายแหล่ง กล่าวคือ
ความคิดเรือ่ งวฒั นธรรม วิถีชีวิตความเชื่อ เป็นเรื่องของสากลท่ีสามารถเกิดขึน้ ได้กับทุกชาติ โดยเฉพาะวัฒนธรรม
ของ ลา้ นช้าง อาจสบื เนื่องกนั เรอ่ื ยมาและมผี คู้ นอาศยั อยู่
หากพิจารณาตามหลักฐานทางโบราณคดีมีอิทธิพลของวัฒนธรรมล้านช้างเขตท้องที่จังหวัดชัยภูมินั้น ปรากฏ
หลักฐานมากมาย เช่นพระธาตุหนองสามหมื่น พระธาตุพีพวย พระธาตุบ้านเปือย พระธาตุกุดจอก พระธาตุบ้าน
โนนเก่า พระธาตุพีพวย เป็นต้น พระธาตุเหล่านีม้ ีอิทธิพลของศิลปะแบบล้านช้างอยู่ เมื่อพบพระพุทธรูปองค์ใหญ่
จึงใช้นามพระเจ้าองค์ตื้อ เพราะ ชุดความเชื่อของล้านช้างนั้นยังคงอยู่ในความทรงจำของคนลาวในเขตท้องที่
จงั หวดั ชัยภมู ิ
ดังน้ันนามพระเจ้าองคต์ ื้อก็ไม่ไดม้ าจากไหน กเ็ ป็นชดุ ความคิดของคนลาวด้งั เดิมที่อาศยั อยู่เขตท้องที่จังหวัดชัยภูมิ
น้นั เอง
ปัจจุบันพระเจ้าองค์ต้ือเปน็ สถานทส่ี ำคญั ของชาวชยั ภูมิขึน้ ทะเบียนเป็นโบราณสถาน ผเู้ ขียนถือว่า พระเจ้าองค์ต้ือ
เป็นโบราณวัตถุที่ยังมีชีวิตอยู่ กล่าวคือ เป็นที่ยึดเหนี่ยวทางจิตใจและเป็นศูนย์รวมสำคัญของชุมชน ชาวบ้านมี
พิธกี รรมบูชาพระเจา้ องคต์ ้ือ ตง้ั ขันธ์ห้า ขันธ์แปด ถวายผา้ จวี รแด่พระเจ้าองค์ต้ือเสมือนยังมีชีวิต การปิดทอง การ
รดน้ำอบน้ำหอม ในเทศกาลสำคัญ หากมองในมุมการอนุรักษ์อาจตำหนิได้ว่าทำให้โบราณวัตถุเลือนลางไป แต่ใน
มุมชาวบา้ นคือจิตวญิ ญาณสำคัญในพิธปี ระจำปีช่วงเดือน3 และเดือน
5 คอื การลำผีฟา้
รากฐาน คตฝิ ความเช่ือเก่ียวกับพระเจ้าองคต์ ือ้
มชี าวบา้ นที่มีอาการเจ็บป่วยมาบนบานสานกล่าวกับพระเจา้ องค์ตื้อ แล้วหายจากอาการเจบ็ ป่วย เกิดเปน็
ความเชอ่ื ความศรัทธา พระเจา้ องค์ต้ือจึงเป็นทพี่ ่งึ ของชาวบ้านในเรอ่ื งการรกั ษาอาการป่วย
นายธนกร สทุ ธเิ จรญิ พานิชย์ เลขท่ี 9
บคุ คลทไี่ ม่มีบตุ รธิดาสืบสกุล มีดอกไมธ้ ปู เทียนหรือเคร่ืองสักการะอย่างอื่นมาทลู ขอบุตรธดิ าจากพระองค์
บุคคลผูน้ ั้นก็จะได้กลุ บตุ รธิดาสืบสกลุ สมความมงุ่ มาดปรารถนา แต่บุตรธดิ าที่พระองค์ประทานให้แล้วน้ัน บิดา
มารดาจะทำโทษหรือเฆ่ียนตโี ดยประการใด ๆ ไมไ่ ด้ ต้องสั่งสอนเอาโดยธรรมเทา่ นัน้
นางสาวพชั รี เมืองดู่ เลขที่ 17
มชี าวบ้านท่ีต้องการมบี ตุ รแต่บตุ รไมม่ าสักทบี นบานสานกล่าวกับพระเจา้ องคต์ ้ือ แล้วได้บุตรสมใจตามที่
ขอ เกิดเปน็ ความเช่ือ ความศรัทธา พระเจ้าองค์ตอื้ จึงเป็นที่พึง่ ของชาวบ้านในเร่ืองการขอบุตร
นางสาว รพี วราวทิ ยา เลขที่ 20
ทุกๆปีในวันขึ้น1,2,3ค่ำ เดือน 3 และวันขึ้น 13,14,15 ค่ำ เดือน 5 ของทุกๆปี จะมีผู้คนทั้งในและ
ต่างจังหวดั เดนิ ทางมาบนบานและขอพรจากพระเจา้ องคต์ ื้อ กวา่ 20,000 - 30,000 คน เน่ืองจากผ้คู นเล่อื มใส การ
รักษานน้ั จะเปน็ การรำผีฟ้าซง่ึ เป็นประเพณีแบบเก่าๆของชาวอสี าน ซ่งึ หมอรักษาและบนบานจะเปน็ หมอลำให้การ
รักษาคนป่วยให้หายโดยบนบานตอ่ พระเจา้ องคต์ ือ้ และอีกอย่างผู้ที่ไม่มีบุตร ถ้าได้บนบานต่อพระเจา้ องค์ตื้อแล้วก็
จะไดบ้ ตุ รสมปรารถนา
นางสาวจินตหรา ลาภมาก เลขที่ 5
พระเจ้าองค์ตื้อเป็นท่ีเคารพนับถือในด้านของความศกั ด์ิสิทธิ์มีอํานาจดลบนั ดาลใหส้ มตามความปรารถนา
เรื่องการมีบตุ ร และการดแู ลสุขภาพของชุมชน พทุ ธศาสนกิ ชนจํานวนมากจงึ มาสักการะบชู า แก้บน และขอพร
นางสาวเด่นนภา ขนั สีลา เลขที่8
การไหว้ “หลวงพ่อองค์ตื้อ” เชอ่ื กันวา่ จะนำพาส่งิ ทดี่ ีในชีวิต ใหช้ วี ติ มแี ต่ความสดใส เปน็ สิรมิ งคล
น.ส.องั คณา พมิ พว์ เิ ศษ เลขท่ี 29
พระเศยี รไม่ทำขมวดพระเกศาแบบกน้ หอย เหมอื นพระพุทธรูปทวั่ ไป แตเ่ ปน็ เส้นๆถักเกล้าขน้ึ ไปรวบเป็น
มวยกลางพระเกศา คล้ายการเกลา้ มวย เพราะไดร้ ับวัฒนธรรมมาจากเขมร
นางสาวเบญญาภา วาดสงู เนนิ เลขท่ี 14
รากเหง้าของความเชื่อมาจากการนับถือผี ชาวบ้านมีความเช่ือวา่ หากมีอาการเจ็บป่วย หรือถูกของดำเข้า
มักจะมาให้ผีฟ้าชว่ ย ตามตำนานเรียกว่า “รำผีฟา้ หรือ การรำปวั ” โดยคณะรำผีฟ้ารักษาอาการจะมีองค์ประกอบ
4 ส่วน ได้แก่ 1.หมอลำผีฟ้า 2.หมอแคน 3.ผู้ป่วย และ 4.เครื่องคาย ซึ่งกระบวนการรำนั้นเปน็ การเสี่ยงทายว่าจะ
หายปว่ ยหรอื ไม่ ? ถือไดว้ ่าเปน็ การศรัทธาเกยี่ วกบั ศาสนาผหี รือการบชู าผี ตามตำนานมกั จะถือเอาบริเวรภูพระเป็น
สถานที่ "จัดงานเลี้ยงขวงผีฟ้า" ในระหว่างวันขึ้น 13-15 ค่ำ เดือน 5 ซึ่งถือเป็นงานกราบไหว้ครูบาอาจารย์ของ
คณะรำผีฟ้าที่การสืบทอดต่อการมาจากบรรพบุรุษ จนเกิดเป็นจารีต ประเพณี โดยครูบาอาจารย์ท่ีคณะรำผีฟ้ามา
เลีย้ งก็คือ "พระเจ้าองคต์ ้อื " นั่นเอง
นายอาชวนิ โพธิม์ า เลขท่ี 30
ขอพรให้แคล้วคลาดปลอดภัย ยคุ สมยั ที่ทหารยังต้องไปทำสงคราม ก่อนไปรบพวกเขาจะมาขอพรจาก
หลวงพอ่ ใหแ้ คลว้ คลาดปลอดภยั ปรากฏว่าได้กลับมาอย่างปลอดภยั ดว้ ยกนั เสมอ
นางสาววรรณิภา บญุ กลุ เลขที่21
“ในมติ ขิ องความเช่อื ผ้คู นท่เี ดนิ ทางมากราบไหว้พระเจา้ องค์ตื้อมกั จะขอพรในเรอ่ื งต่างๆ เเลว้ พรท่ขี อนน้ั
มกั จะเป็นจริงด่งั หวัง”
น.ส.ปราณปริยา กำเนิดจอก เลขท่ี 15
ชาวบ้านมคี วามเช่ือกันว่า พระเจา้ องคต์ ้ือ มคี วามศกั ด์สิ ิทธ์ิ และสามารถดลบันดาลให้ประสบผลสำเรจ็ ใน
ส่ิงที่ปรารถนาได้
นางสาวศิรประภา รักงาม เลขท่ี23
พระเจ้าองค์ตอื้ ถือเปน็ ท่เี คารพนับถือ เป็นศนู ย์รวมจิตใจของชาวบ้านทง้ั ในและต่างพ้นื ท่ี ด้วยความเชื่อ
ของชาวบา้ นเก่ียวกบั อิทธิฤทธิ์ปาฏิหารยิ ์ของพระเจ้าองค์ตือ้ ทำใหม้ กี ารเขา้ มาขอพร บนบานศาลกลา่ วใหป้ ระสบ
ความสำเรจ็ ในสิ่งทีป่ รารถนา
นายชนะพล ขวัญปลา เลขท่ี 6
เม่ือถึงเทศกาล บุญเดือน 3 บุญเดอื น 5 บุญเดือน 8 ท่ีวดั ศิลาอาสน์ ผ้คู นจะกลับมานมสั การ ขอพร แก้
บน พระเจ้าองคต์ ื้อ ถา้ ใครไม่มากราบไหวจ้ ะเจ็บปว่ ย หากินไมเ่ จริญเนื่องจากวิถีชีวิต คติความเชอื่ ของคนในชมุ ชน
วา่ มีผีเฝ้าที่ และมีพระเจา้ องค์ต้อื เป็นผู้ดูแลผีทัง้ หมด ฉะนั้นในแต่ละปจี ะต้องมาทำพธิ ขี อขมาโทษผี เพื่อเปน็ การ
แสดงความเคารพต่อผีทรี่ กั ษาคน
นางสาวเกณิกา บุญโสม เลขที่ 3
สิง่ ทเี่ ป็นรากเง้า รากฐานของความเช่ือของผู้คนในชุมชนจะเช่ือว่า มีคนทรงในตัวขอลบุคคลนั้นท่ีชาวบ้าน
จะเรียกกันว่า หมอลำ ที่จะมีครูอาจารย์เข้าทรงเวลาคนในชุมชนเจ็บป่วยอาการแปลก ๆ โดยไม่ทราบสาเหตุ ของ
หายแล้วหาไมเ่ จอ ก็จะมาหาคนนที้ ่วี า่ เปน็ คนสอ่ งดูได้ ซง่ึ ร่างทมี่ าทรงน้นั จะเปน็ ลกู ศษิ ย์ของพระเจ้าใหญ่องคต์ ้ือ ซึ่ง
พอเป็นไปตามร่างทรงบอกผู้คนจะไปรำถวายเพื่อเป็นสิริมงคลต่อชีวิตหลังจากหายเจ็บป่วยด้วยจากนั้นคนที่หาย
เจ็บป่วยจากการรำรักษาทางด้านไสยศาสตร์ของร่างที่มาทรงนั้นจะเป็นลูกศิษย์ของพระใหญ่องค์ตื้อ พอถึงช่วงท่ี
ฤดูกาลรำถวายพระใหญ่องค์ต้ือก็จะต้องไปรว่ มทำพธิ ีรำถวายรว่ มกับหมอลำ(คนทีช่ าวบ้านเรียกวา่ หมอลำ) รวมถึง
ไม่ว่าจะเปน็ การบน การขอพร หรอื แม้แตก่ ารซื้อสิ่งของมาถวายวดั พระใหญ่องคต์ ้ือและพอคำขอพรสำเร็จชาวบ้าน
จะนำสงิ่ ของทบี่ นมาแกบ้ นแกพ่ ระใหญอ่ งคต์ ้ือ
นางสาวเหมอื นฝัน หริ ญั อร เลขขที่ 28
พระเจ้าองค์ตื้อ โบราณสถานสิ่งศักดิ์คู่บ้านคู่เมืองชัยภูมิเก่าแก่นับหลายร้อยปีอีกจุดที่จะมีประชาชนจากทั่วทุก
สารทศิ ต่างนำเครอื่ งบวงสรวง เซ่นไหว้ มาบชู า และทำพธิ ”ี รำผีฟ้า”ถวาย หลังมีการมาบนบานสานกล่าวขอพรได้
สำเรจ็ ผล ให้ตนเองหายเจบ็ ปว่ ย
นางสาวพรชติ า ธานรุ ตั น์ เลขที่ 12
ขอ้ คำถามเก่ียวกบั พระเจา้ องคต์ ้อื
คำถาม : ตามท่ีกรมศลิ ปากรไดเ้ ข้ามาตรวจสอบ อยากทราบว่าพระเจา้ องค์ต้ือเป็นศิลปะท่ีจัดอยู่ในกล่มุ อารยธรรม
ใด
คำตอบ : อารยธรรมขอมหรือเขมร
นายชนะพล ขวัญปลา
คำถาม : จากที่กรมศลิ ปากรเข้ามาดูแล ได้มขี ้อหา้ มหรือข้อจำกัดอะไรต่อองค์พระบ้าง
คำตอบ : ห้ามปดิ ทอง หา้ มทาแป้ง ห้ามพรมน้ำ เคยมรี วั้ ก้ัน แตช่ าวบ้าน คนเฒา่ คนแก่ก็ยงั เขา้ ไป ห้ามไม่ค่อยได้
นายธนกร สทุ ธิเจรญิ พานชิ ย์
คำถาม : พระพุทธรปู ศักดิส์ ิทธิอ์ งค์หนงึ่ ทีช่ าวชยั ภมู ิเรียกกันว่า “พระเจ้าองค์ตือ้ ” คำว่า "ตอ้ื " หมายความว่า
อย่างไร
คำตอบ : คำวา่ "ตอ้ื " เปน็ มาตราวัดแบบโบราณของลาว หมายถึงจำนวนหลายล้าน บา้ งกว็ า่ พันล้าน ไม่ตายตวั พูด
งา่ ยๆ ว่ามากมายมหาศาล บางครงั้ ก็หมายถึงการมีนำ้ หนักมาก พระเจ้าองคต์ ้ือ จึงหมายถึงพระพทุ ธรปู องค์ใหญ่
นางสาวปารชิ าติ เศษภักดี
คำถาม : พระเจ้าองค์ต้ือเปน็ ทีน่ ับถือบูชาของชาวชยั ภูมิ และมกั จะมคี นมาขอพร และบนบาลเพอื่ ท่จี ะให้ตนเอง
ประสบผลสำเรจ็ เช่น การสอบเรียน สอบรบั ราชการ อยากทราบวา่ นิยมใช้อะไรในการบนหรือการแกบ้ น
คำตอบ : ดอกไม้ ผา้ ไตรจีวร หรอื ตามทีผ่ ปู้ ระสงค์จะถวาย
นางสาวสิริพร ยพุ งษ์
คำถาม : บ่อนำ้ ศักด์สิ ทิ ธ์เิ คยน้ำแห่งไหมคะ
คำตอบ : เคยแห้งน้ำจะลดลงไปใต้หนิ ช่วงหนา้ ร้อนและหน้าหนาวบ่อนำ้ จะแหง้ บ่อน้ำศักดสิ์ ิทธ์ิชาวบ้านจะนิยม
นำมาชโลมตามร่างกายในส่วนทเ่ี จ็บปว่ ย เพราะเชื่อว่าจะทำใหห้ ายเจ็บหายป่วยได้
นางสาวเหมือนฝนั หริ ัญอร
คำถาม : กรณที ่ีบางคนไม่อยากบนบานศาลกลา่ ว แตอ่ ยากพง่ึ พรพระเจ้าองคต์ ้ือให้ได้ความสำเร็จ การขอพรเห็น
ผลเหมอื นกนั มัย้ คะ
คำตอบ : ไดเ้ หมือนกัน หลายคนก็ประสบผลสำเรจ็ เหมือนกัน
นางสาวพรชติ า ธานุรตั น์
คำถาม : : ตามหลักฐานของกรมศลิ ปากรท่ีไดม้ าสำรวจ ได้กลา่ ววา่ พระเจา้ องค์ต้ือเปน็ พระพุทธรปู ลักษณะใด
คำตอบ : พระเจ้าองค์ตื้อเป็นพระพทุ ธรูปองคใ์ หญ่องค์หนงึ่ น่ังขดั สมาธิราบ พระหตั ถข์ วาวางอยทู่ ี่พระเพลา
(ขาหรือตัก) พระหตั ถซ์ ้ายวางอยู่ที่พระชงฆ์(แข้ง) หน้าตักกว้าง 5 ฟตุ สูง 7 ฟตุ
นางสาวปราณปรยิ า กำเนิดจอก
คำถาม : ชาว จ.ชยั ภมู ิ และชาวบ้าน ทีน่ ับถือจะมาทำพิธบี ูชา ลำบวงสรวง ในช่วงใด
คำตอบ : คณะลำผีฟ้าต่างๆ นนั้ มกั จะถอื เอาบรเิ วณภูพระเป็นพื้นทจ่ี ัดงานเลีย้ งข่วงผีฟา้ ระหวา่ งวนั ขึน้ 13-15 ค่ำ
เดือนห้า โดยถือเป็นงานกราบไหว้ครูบาอาจารย์ของคณะลำผฟี ้า ซ่งึ “ครูบาอาจารย์” ทีค่ ณะลำผฟี า้ มาเลีย้ งกค็ ือ
“พระเจ้าองคต์ ื้อ”
นางสาวจนิ ตหรา ลาภมาก
คำถาม : ทุกๆปีมีงานนมสั การพระพุทธรปู ที่ 3 จัดขน้ึ ปีละกีค่ ร้ัง และจัดขึ้นในช่วงใด
คำตอบ : ปีละ 2 ครัง้ คร้ังละ 3 วนั คอื วันขนึ้ 1 คำ่ เดือน 3 และวันข้นึ 13 ค่ำ เดือน 5
นางสาวศิรประภา รกั งาม
คำถาม : พระเจ้าองค์ตื้อถูกค้นพบได้อย่างไร
คำตอบ : หลายรอ้ ยปกี ่อนบนภูพระเป็นป่าทึบ มเี นอื้ ทราย กวาง และสตั ว์ป่าหลายชนิด มนี ายพรานตามรอยสัตว์
ปา่ มาแถวน้แี ลว้ กลบั พบวา่ หายไปอย่างไร้ร่องรอย จึงเกดิ ความสงสยั เลยรื้อเอาต้นไมใ้ บไม้ทีป่ กคลุมหนาแนน่ ออกดู
กพ็ บรูปสลักพระเจ้าองค์ต้อื
นางสาวมนิษา อารมณ์
คำถาม : พิธีหมอลำทรงมีความเช่ืออย่างไร
คำตอบ : ชาวบา้ นทมี่ าจากทุกสารทศิ มีการนับถือกันในความเชื่อว่าพระองค์ตอ้ื ชว่ ยปดั เปา่ ทุกข์โศกโรคภัย
ชาวบ้านเช่อื วา่ เม่ือเกิดการเจ็บปว่ ยและมาขอพรกับพระองคต์ ื้อ จากน้ันอาการก็ดีข้นึ จึงมีการ แก้บน ตามหลกั ของ
ความเชื่อนั่นเองครบั โดยจะมีการร่ายรำถวายซ่ึงเรียกวา่ หมอลำทรง จะมีเป็นกลุ่มคณะใครคณะมัน มีผนู้ ำแต่ละ
คณะเรยี กวา่ ครบู า (แมห่ มอ) ซ่ึงเม่ือเกดิ การเจบ็ ไข้ไดป้ ่วยแมห่ มอกจ็ ะทำพิธขี อพรพ่อองค์ตอ้ื ให้หายจากอาการ
ปว่ ย เม่ือหายแล้วกจ็ ะมกี ารรำแก้บนโดยมเี สียงแคนท่ีเพราะจบั ใจมาก มีเคร่ืองเซ่นไหวแ้ ก้บนการทำบายศรบี ชู า
ถวาย ซ่งึ จะมีการฟ้อนรำกันแบบสนกุ สนาน
นางสาวศรญั ญา แกว้ กาหนนั
คำถาม : หากจะอธษิ ฐานขอพรในการยกหินศักด์สิ ทิ ธิ์ ตอ้ งอธิษฐานแบบใด
คำตอบ : ถ้าหากส่งิ ทที่ ำอยู่จะประสบความสำเร็จขอใหย้ กเบาหรอื ยกหนัก
นางสาวเกณกิ า บุญโสม
คำถาม : พระเจ้าองค์ต้ือวัดศิลาอาสนต์ ้ังอยู่ทใี่ ด
คำตอบ : ตั้งอยู่ใน เลขที่ 2 ภพู ระ ตำบลนาเสียว อำเภอเมือง จงั หวดั ชยั ภูมิ
นายธนวัฒน์ รักอาชา
คำถาม : วันไหนที่สามารถขอพรบนบานสารกลา่ วแล้วได้ผลจริงๆ
คำตอบ : สามารถขอได้ทุกวนั
นายสรศกั ด์ิ สายทองดี
คำถาม : ทำไมเศยี รพระถึงไม่ขมวดพระเกศาแบบกน้ หอย เหมือนพระพุทธรูปท่ัวไป แต่เป็นเสน้ ๆ ถักเกลา้ ขึน้ ไป
รวบเป็นมวยกลางพระเกศา คลา้ ยการเกล้ามวย
คำตอบ : เพราะได้รบั วฒั นธรรมมาจากเขมร
นางสาวเบญญาภา วาดสูงเนนิ
คำถาม : พระเจา้ องค์ตื้อ พระพทุ ธรปู ที่ถูกบชู าด้วยการลำผีฟา้ ในศาสนาผี
คำตอบ : รอ่ งรอยการเปลี่ยนผา่ นจากศาสนาผพี ้ืนเมอื งสุวรรณภูมิ ทนี่ บั ถือหนิ ใหญม่ าเป็นพุทธศาสนา ก่อนที่จะมี
การสลักพระเจา้ องค์ต้ือ ก็มีการนับถือหินใหญ่รูปทรงแปลกตาจนทำใหร้ สู้ ึกเฮยี้ น และการมีพิธกี รรมกบั การบชู าผี
ฟ้า ซงึ่ เปน็ ประเพณีบูชาพระเจา้ องคต์ ้ือเป็นประจำทุกปี
นางสาวธัญชนก อุปฮาด เลขท่ี 11
คำถาม : พืน้ ทบี่ ริเวณที่กลุ่มพระพุทธรปู ท่ีนำโดยพระเจา้ องค์ต้อื ประดิษฐานอยู่น้นั เรียกอีกอยา่ งหนง่ึ ว่า
คำตอบ : ภูพระ
นางสาวนภิ าพร สาทา
คำถาม : กรมศลิ ปากรไดป้ ระกาศขน้ึ ทะเบยี นวา่ ภูพระหรือทต่ี ง้ั พระเจ้าองคต์ ื้อเปน็ โบราณสถาน ณ วนั ที่ใด
คำตอบ : วนั ที่ 8 มนี าคม 2478
นางสาวณัฐฑรียา แกว้ วิศาสตร์
คำถาม : พระเจ้าองค์ตื้อเปน็ ที่เคารพนับถือในดา้ นของความศักดิ์สิทธมิ์ ีอํานาจดลบนั ดาลให้สมตามความปรารถนา
เรื่องใดบา้ ง
คำตอบ : พุทธศาสนิกชนจํานวนมากมาสกั การะบูชา แก้บน ขอพรเร่ืองการมีบตุ ร และการดแู ลสุขภาพของชมุ ชน
นางสาวเดน่ นภา ขนั สีลา
คำถาม : พระเจ้าองค์ต้ือเป็นพระพุทธรูปองคใ์ หญ่ หนา้ ตักกวา้ งเทา่ ไร สูงกี่ฟุต
คำตอบ : มีหนา้ ตักกว้าง5ฟุต สูง 7ฟตุ
นางสาวรพี วราวทิ ยา
คำถาม : พระพทุ ธรูปท้ังหมด มอี ายรุ าวศตวรรษที่เท่าใด
คำตอบ : พระพุทธรูปทั้งหมดเป็นพระพุทธรูปโบราณมีพทุ ธลกั ษณะแบบพระพุทธรปู อู่ทอง มอี ายุราวศตวรรษท่ี
18-19
นางสาวพชั รี เมืองดู่
คำถาม : พระเจ้าองค์ต้ือพระพุทธรปู ที่ถูกบชู าด้วยวิธีการใด
คำตอบ : การลำผีฟา้ ในศาสนาผี
นางสาว วรรณิภา บุญกุล
คำถาม : พระพทุ ธรูปองคน์ สี้ ร้างขึน้ ราว ๆ ช่วงใด มีลกั ษณะแบบใด
คำตอบ : นักประวัติศาสตร์ศิลปะกำหนดอายุของพระพุทธรปู องคน์ ้ี สร้างขึ้นโดยฝีมอื ช่างแบบทวารวดีภาคอีสาน
เป็นอีสานท้องถิน่ ไม่ใช่ฝีมือชา่ งหลวง แต่องค์พระพทุ ธรูปเองก็แสดงให้เหน็ ถึงร่องรอยของอิทธพิ ลศิลปะขอม
โบราณ ซึง่ ยังถือวา่ เป็นรุ่นคลาสสิคเข้ามาผสม
นายกนั ตวชิ ญ์ เขตรบรุ ี
คำถาม : พระพทุ ธรปู ท่ีมคี วามเชื่อวา่ เปน็ ภูพระมีทง้ั หมดก่ีองค์ และเปน็ มีลักษณ์อยา่ งไร
คำตอบ : 7 องค์ มลี กั ษณะประทบั นัง่ เรยี งแถว โดยเป็นปางสมาธิจำนวน 5 องค์ และเป็นปางเดียวกนั กับพระเจา้
องคต์ ้ือจำนวน 2 องค์
นายอาชวิน โพธิม์ า
คำถาม : เมื่อวนั ท่ี 20 กนั ยายน พ.ศ. 2520 มีความสำคัญอย่างไร
คำตอบ : สมเดจ็ พระบรมโอรสาธริ าช สยามมกุฎราชกมุ าร พรอ้ มด้วยพระเจ้าวรวงศเ์ ธอ พระองค์เจ้าโสมสวลี
พระวรชายาทนิ ดั ดามาศ เสด็จเป็นองค์ประธานยกชอ่ ฟ้าข้ึนสวู่ หิ ารประดษิ ฐานหลวงพ่อพระเจา้ องค์ต้อื พร้อมทัง้ ได้
อัญเชิญพระนามาภิไธยย่อ
นางสาวองั คณา พิมพ์วิเศษ
คำถาม : ลักษณะของพระเจ้าองคต์ ื้อมีลักษณะอยา่ งไร
คำตอบ : พระวรกายใหญ่ พระพักตร์ส่เี หล่ียม พระขนงต่อกันเกือบเปน็ เสน้ ตรง พระเนตรเปดิ และมองตรง พระ
นาสกิ แบน ทัง้ หมดเป็นเคา้ โครงพระพทุ ธรปู แบบเขมรศลิ ปะแบบนครวดั
นางกนกทิพย์ นามเขม็ นักศกึ ษา ปวค.รนุ่ ท่ี 8 หมู่เรียนที่ 1 เลขท่ี 1
ใบเสมาบ้านกุดโงง้
ประวัติความเปน็ มา
ใบเสมาบ้านกุดโง้ง เก็บรักษาอยู่ภายในบริเวณโรงเรียนวัดกุดโง้ง ตำบลกุดตุ้ม จากตัวเมืองชัยภูมิไปตาม
ทางหลวงหมายเลข 202 ประมาณ 12 กิโลเมตร มีทางแยกขวาไปอีก 3 กิโลเมตรถึงบ้านกุดตุ้ม แล้วแยกขวาเข้า
เสน้ ทางสาย กุดต้มุ -บงุ่ คล้า อีก 4 กิโลเมตร ใบเสมาหินทรายศลิ ปทวารวดีอายรุ าวพุทธศตวรรษท่ี 12-15 ท่พี บเป็น
จำนวนมากในบรเิ วณรอบ ๆ หมู่บา้ นได้ถูกนำมารวบรวมไวใ้ นอาคารอย่างเป็นระเบียบ สว่ นมากมลี กั ษณะเป็นแผ่น
ใหญ่ ด้านหน้าจำหลักลายและบางแผน่ มจี ารึกอย่ทู ีด่ ้านหลงั ดว้ ย ลวดลายท่ีปรากฏเป็นเร่อื งราวทางพุทธศาสนาเล่า
เรื่องชาดกตอนต่าง ๆ หรือเป็นภาพรูปเคารพ เช่น ภาพพระโพธิสัตว์ประทับยืนบนดอกบัว ภาพพระพุทธเจ้า
ประทับน่ังบนบลั ลังกใ์ ต้ตน้ โพธ์ิ นบั เป็นกล่มุ เสมาท่สี วยงามแห่งหนง่ึ ในอสี าน
ใบเสมาเหล่านี้เป็นใบเสมาที่ทำด้วยหินทรายแดง มีขนาดค่อนข้างใหญ่ บางชิ้นมีความสูงกว่า 2 เมตร
ด้านบนมีปลายแหลม มีทั้งเสมาแบบเรียบ ๆ ไม่มีลวดลาย และแบบสลักลวดลายเป็นภาพต่าง ๆ เช่นบางใบมี
ลวดลายสลักรูปดอกบวั รูปสถปู ภาพบุคคลเชน่ ภาพพระพุทธเจา้ ภาพพระโพธสิ ัตว์ศรีอารยิ เมตไตย บา้ งกเ็ ป็นภาพ
เล่าเรื่องในชาดกและคติธรรมทางพุทธศาสนา เช่น เรื่องพระเวสสันดร เรื่องมโหสถชาดก เตมียชาดก ภาพพระ
โพธิสัตว์ประทับยืนบนดอกบวั ภาพพระพุทธเจา้ ประทบั น่ังบนบลั ลังก์ใต้ต้นโพธิ์เป็นตน้ ใบเสมาหนิ ทรายที่จัดแสดง
อยู่เหล่านี้พบกระจายอยู่ทั่วบริเวณเขตชุมชนบ้านกุดโง้ง ชาวบ้านพบเห็นและคุ้นเคยมาตั้งแต่รุ่นปู่ย่าตายาย
ส่วนใหญ่พบกระจายอยู่ทางด้านทิศตะวันตกเฉียงเหนือของหมู่บ้าน โดยทั่วไปชาวบ้านก็ปล่อยไว้เช่นนั้น
ตามท้องทุ่ง บริเวณที่พบใบเสมาที่มีจำนวนมากที่สุดเป็นเนินดิน จำนวน 2 เนิน มีการปักใบเสมาเป็นคู่
รอบเนินดินทั้งสอง ในเบื้องต้นสันนิษฐานว่าเนินดินทั้งสองน่าจะเป็นพื้นที่ศักดิ์สิทธ์ิ จนกระทั่งราว พ.ศ.2515
เกิดน้ำหลากเข้าท่วมหมู่บ้าน มีคนจากภายนอกแอบเอาเรือยนต์เข้ามาขโมยเสมาหินเหล่านี้ออกไปจากหมู่บ้าน
ชาวบ้านจึงเริ่มคิดว่าเสมาหินเหล่านั้นน่าจะเป็นสิ่งมีค่า จึงเกิดความตื่นตัว ช่วยกันเอาช้างมาลากใบเสมาหิน
แผ่นที่มีภาพสลักและมีสภาพค่อนข้างสมบูรณ์กลับมาไว้รวมกันในหมู่บ้าน ช่วงแรกนั้นนำกลับมาเพียง 8-9 แผ่น
เก็บรวมไว้ในศาลาวดั ทีเ่ ป็นอาคารไมถ่ าวร
ใน พ.ศ.2532 สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาสยามบรมราชกุมารี ได้เสด็จมาเย่ียมชมใบเสมาหนิ เหล่านี้เป็น
การส่วนพระองค์ หลังจากนั้นไม่นาน คือ พ.ศ.2538 ทางกรมศิลปากร โดยสำนักโบราณคดีที่ 12 นครราชสีมา
ได้จัดสรรงบประมาณเพื่อสร้างอาคารคลุมเป็นการถาวร เมื่ออาคารถาวรสร้างเสร็จแล้ว สมเด็จพระเทพฯ
ก็เสด็จมาอีกครั้งในช่วง พ.ศ.2540 – 2543 ต่อมาในปี พ.ศ.2551 ทางองค์การบริหารส่วนตำบลบุ่งคล้า
ให้งบประมาณมาใช้ซ่อมแซมอาคารที่เริ่มทรุดโทรมอีกครั้ง ปัจจุบัน มีโครงการวิจัยคุณค่าของใบเสมาและการ
นำมาใช้ประโยชน์ ที่ให้ทุนวิจัยโดยสำนักงานสนับสนนุ การวิจัย โดยมีหัวหน้าโครงการคือ อาจารย์ทวิช อาจสนาม
อาจารย์ประจำโรงเรียนชุมชนบ้านบุ่งคล้า และชาวบ้านในหมู่บ้านรวมทั้ง คุณเสกสรรค์ ศรีประทุม
จำนวนประมาณ 20 – 30 คน เป็นทีมวิจัย ในการสำรวจของชาวบ้านพบว่าใบเสมาที่พบในบริเวณหมู่บ้านกุดโง้ง
มีทั้งสิ้นประมาณ 65 ใบ แต่ที่บริเวณอีกฝั่งหนึ่งของลำปะทาว (ลำน้ำที่ไหลผ่านหมู่บ้าน) ซึ่งอยู่ในเขตอีกตำบลนั้น
ก็ยงั มีอยู่อีกเพยี งแต่นอ้ ยกว่าทางบ้านกุดโง้ง
วัตถุและเน้ือหาจัดแสดง
ใบเสมาที่นำมาจัดแสดงในอาคารแห่งนี้มีจำนวน 24 แผ่น มีท้ังแบบเรียบไม่มีลายสลักแต่สภาพสมบูรณ์
ลายสลักเป็นรูปกลีบบัว รูปสถูป และแบบที่แกะสลักเป็นภาพเล่าเรื่องในมหานิบาตชาดก หรือชาดก 550 ชาติ
ที่สันนิษฐานว่าเป็น เรื่องพรหมนารทะชาดก เตมิยชาดกหรือมูคปักขชาดก วิธูรบัณฑิตชาดก มโหสถชาดก และ
ภูริทัตตชาดก อัมพชาดก น่าสังเกตว่าชาดกเหล่านี้เป็นชาดกที่เล่าถึงความมีปัญญามากกว่าเรื่องของการบำเพ็ญ
ทาน ขันติ อุเบกขา และอื่น ๆ ในทศชาติชาดก ซึ่งอาจจะสะท้อนให้เห็นถึงความนิยมของผู้คนในอดีตที่ต่างจาก
ปจั จุบนั นอกจากนี้ยงั มีภาพแกะสลักเป็นรูปพทุ ธประวัติ ใบ
ความโดดเด่นของภาพ
สลักคือการผสมผสานระหว่างศิลปะแบบพื้นเมืองเข้ากับรูปแบบของศิลปะอินเดียที่รับเข้ามาผ่านพุทธ
ศาสนา ตวั อย่างเชน่ รปู หนา้ ของรูปสลักสะท้อนความเปน็ พ้นื เมือง (ใบหน้าเหลี่ยมหรอื ค่อนไปทางเหลี่ยม จมูกหนา
เบา้ ตาใหญ)่ แตม่ ีลกั ษณะการยืนของบุคคลเปน็ แบบท่เี รยี กว่าตรภิ งั ค์ คอื การยนื เอียง 3 ส่วน ทไ่ี ด้รับอิทธิจากศลิ ปะ
อินเดียในยุคแรกเริ่มอย่างชัดเจนเสมาเหล่านี้กำหนดอายุตามรูปแบบศิลปะสมัยทวารวดีว่าสร้างขึ้นในราวพุทธ
ศตวรรษที่ 14 – 16 ซึ่งน่าจะสัมพันธ์กับวัฒนธรรมทวารวดีในเขตภาคอีสานมากกว่าในเขตที่ลุ่มภาคกลาง
ของประเทศไทย
ใบเสมาส่วนใหญ่ทำจากหินทรายแดง ซึ่งสันนิษฐานว่าน่าจะมีแหล่งวัตถุดิบจากภูเขาแห่งหนึ่งห่างออกไป
ทางทิศตะวันตกเฉียงเหนือของหมู่บ้านหลายสิบกิโลเมตร ซึ่งเป็นต้นกำเนิดของลำน้ำปะทาว รูปร่างของใบเสมา
ที่นำมาจัดแสดงมีหลากหลาย ทั้งเป็นแผ่นยาวเรียวเมื่อตั้งแล้วสูงกว่า 3 เมตร บางใบเป็นรูปทรงค่อนข้างเหลี่ยม
และลักษณะที่ปักอยู่ในบริบทดั้งเดิมก็แตกต่างกัน ทั้งแบบที่ปักโผล่มาเหนือดินเต็มใบ และแบบที่ฝังอยู่ในดิน
จนเกอื บจมดิน
ลกั ษณะของการจัดแสดง
จะมีแท่นจัดแสดงแยกต่างหากของเสมาหินแต่ละแผ่น เป็นที่น่าเสียดายว่าคำบรรยายที่ควรมีแต่ละแผ่น
นั้นกลับมีไม่ครบ อาจเป็นเพราะสูญหาย หรือชำรุดไปตามกาลเวลาเนื่องจากอาคารเป็นแบบเปิดโลง่ และรูปแบบ
ของอาคารนั้นดูไม่ค่อยเข้ากับวตั ถุจัดแสดงเพราะเสาท่ีคำ้ ยนั อาคารเป็นเสาแบบโรมัน และมรี ะยะท่ีค่อนข้างชิดกัน
ทำให้ดูอึดอัดเวลาเดินชม เป็นที่น่าเสียดายว่ารูปแบบการจัดแสดงใบเสมาในอาคารเป็นรูปแบบเดียวกับ
ในพิพิธภัณฑท์ ่ีเนน้ แสดงวัตถุ แตข่ าดจากบรบิ ทด้ังเดิมของวัตถุ ซึง่ ก็สามารถเข้าใจได้เพราะแหล่งโบราณคดีเหล่าน้ี
กำลังถูกคุกคามจากหัวขโมย จึงต้องเคลื่อนย้ายมาเก็บไว้ สำหรับผู้ที่สนใจยังสามารถออกไปเดินสำรวจภายใน
หมู่บ้านทีย่ ังหลงเหลือใบเสมากระจดั กระจายอยู่ เพื่อให้ได้บรรยากาศและเขา้ ใจลักษณะของการปักใบเสมาแบบที่
ชาวบ้านเคยเห็นเมื่อในอดีต ปัจจุบันชาวบ้านได้นำเอาเสมาหินที่รวบรวมได้จากบริเวณต่าง ๆ มารวมไว้ภายใน
ศาลาวัดและโรงเรียนบ้านกุดโง้ง รวมทั้งหมดกว่า 30 ชิ้น และอยู่ในความดูแลของกรมศิลปากร แต่ก็ยังมีใบเสมา
หินอีกหลายสิบชิ้นที่ยังฝังอยู่ตามทุ่งนาบ้าง ตามคันดินบ้าง และเชื่อกันว่าบริเวณบ้านกุดโง้งยังมีโบราณวัตถุอีก
มากมายท่ถี ูกฝงั อย่แู ละยงั ไม่ไดร้ บั การขดุ ค้น
การบรหิ ารจัดการ
การจดั การยคุ แรกๆ เมอ่ื พ.ศ.2515 ชาวบา้ นชว่ ยกนั รวบรวมใบเสมามาเก็บไวร้ วมกันดว้ ยต้องการอนุรักษ์
กระทั่งใน พ.ศ.2508 งบประมาณในการสร้างอาคารนั้นกรมศิลปากร โดยสำนักศิลปากรที่ 12 นครราชสีมา
เป็นผู้ออกเงินและออกแบบให้ ส่วนในปัจจุบันการจัดการในแง่การสนับสนุนด้านการท่องเที่ยว และการซ่อมแซม
อาคารคลุมเมื่อ พ.ศ.2551ได้งบมาจากทางองค์การบริหารส่วนตำบลบุ่งคล้า (เป็นเงิน 649,000 บาท) ส่วนการ
ดูแลในแง่ปฏิบัติแล้วเป็นชาวบ้านในบ้านกุดโง้งช่วยกันดูแล คุณเสกสรร และพระสงฆ์ในวัดบ้านบุ่งคล้าก็ช่วยกัน
ทำความสะอาด จึงอาจจะเรียกได้ว่าการบริหารจัดการพิพิธภัณฑ์แห่งนี้เป็นการแบ่งงานกั นของหลายฝ่าย
โดยเฉพาะจากฝ่ายชุมชนที่มีจิตสำนึกต้องการดูแลรักษาโบราณวัตถุที่พบในชุมชนด้วยตนเองมาก่อนการเข้ามา
จัดการของหนว่ ยงานรัฐ
การเดนิ ทาง
ในการเดินทางไปยังใบเสมาบ้านกุดโง้ง หากเลือกเดินทางโดยรถยนต์ส่วนตัวแล้วนั้น จากตัวเมืองชัยภูมิ
ให้ขับไปตามทางหลวงหมายเลข 202 ถนนสายชัยภูมิ - บัวใหญ่ ประมาณ 12 กิโลเมตร จากนั้นจะเจอทางเลี้ยว
ขวา ให้เลี้ยวขวาแล้วตรงเข้าไปอีก 3 กิโลเมตรเมื่อถึงบ้านกุดตุ้ม แล้วให้เลี้ยวขวาเข้าเส้นทางกุดตุ้ม -บุ่งคล้าอีก
4 กโิ ลเมตรจากน้นั อกี ไม่นาน กจ็ ะถึงใบเสมาบา้ นกดุ โงง้
อีกทางหนึ่ง คือ ไปตามถนนสายชัยภูมิ-สีคิ้ว (ทางหลวงหมายเลข 201) ประมาณ 2 กิโลเมตร เลี้ยวซ้าย
ไปตามถนนขวานอ้ ย-กุดตุ้ม ระยะทางอีกประมาณ 13 กโิ ลเมตรถงึ บา้ นกุดโง้ง ใบเสมาบ้านกดุ โง้ง
สถานที่ตง้ั
บา้ นกุดโงง้ หมู่ท่ี 4 ตำบลบุ่งคลา้ อำเภอเมอื งชยั ภมู ิ จงั หวัดชยั ภมู ิ
ใบเสมาแผ่นที่ ๑ ภาพพระพุทธเจ้าหรือพระศากยมนุ ี
สลกั ภาพพระพทุ ธเจา้ ประทบั นงั่ ขดั สมาธิขมวดพระเกศาเป็นมวยอยตู่ รงกลาง มีประภามณฑลเลก็ ๆ
ลอ้ มรอบพระเศียร ห่มจีวรคลมุ พระหตั ถข์ วาทาปางวติ รรกะพระหตั ถซ์ า้ ยหงายยกข้นึ คลา้ ยกบั วางไว้ บนพระ
เพลา ประทบั นงั่ ใตต้ น้ โพธ์ิ บนที่ประทบั นง่ั ซ่ึงมีปลายแหลมท้งั สองขา้ งลองรับ ถดั ลงมาเป็นแทน่ ส่ีเหลี่ยม
การประยุกต์ใช้ในการสอน
ครูเปรียบเหมือนเป็นดวงประทีปท่ีส่องแสงสวา่ ง ช้ีแนะแนวทาง และอบรมส่ังสอนศิษยใ์ หเ้ ป็นคนดี เขา้ ใจหลกั
ของความเป็นจริง เพราะครูคือ คนที่เข้าใจความจริงของโลกนแี้ ล้ว ความจริงอนั น้ีไม่ใช่ ความเช่ือไมใ่ ช่ความคิด
คนที่จะเห็นความจริงของโลกน้ีไดต้ อ้ งเขา้ ใจสัจธรรมสูงสุดแลว้
ด้านหนา้ ด้านหลงั
ใบเสมาหลกั สลักภาพพระพุทธเจ้าหรอื พระศรศี ากยมนุ ี
ภาพลายเสน้ ใบเสมาแผ่นที่ 1 ภาพพระพทุ ธเจ้าหรือพระศรีศากยมุนี
สัจจธรรม คือ ธรรมะท่ีมีจริง เป็นจริงแท้ ไมว่ ิปริต วา่ ภาวะใด เม่ือบคุ คลเพง่ อยดู่ ว้ ยปัญญาจกั ษุ
ยอ่ มไมว่ ปิ ริตเหมือนมายากลไมล่ วงตาเหมือนพยบั แดด ไม่เป็นสภาวะที่ใครๆ หาไมไ่ ดเ้ หมือนอตั ตาของ พวก
เดียรถีย์ โดยท่ีแทเ้ ป็นโคจร (อารมณ์) ของอริยญาณ โดยประการมีการเบียดเบียน (ทกุ ขสจั จ)์ มีเหตเุ ป็นแดนเกิด
(สมุทยั สจั จ)์ มีความสงบ (นิโรธสจั จ)์ มีการนาออก (มรรคสัจจ)์ ซ่ึงเป็นของแท้ ไมว่ ิปริต เป็นของจริงทีเดียว
ภาวะที่สัจจะเป็นของแท้ ไมว่ ิปริต เป็นของจริง เป็นดงั ลกั ษณะไฟและเป็นดงั ธรรมดาของสัตวโ์ ลก (ตอ้ งเกิดแก่
เจบ็ ตาย) น้นั บณั ฑิตพงึ ทราบวา่ เป็นอรรถของสจั จะ
ด.ญ. ลลลิ ทพิ ย์ ถินกลน่ั
โรงเรยี นบา้ นโคกสูงวงั ศิลา
บ้านเลขท่ี 89 หมู่ 9 บ้านวงั ศิลา ตาบลบ้านแก้ง อาเภอแก้งคร้อ
จงั หวัดชัยภูมิ
โทร 0631037340
ใบเสมาแผ่นที่ ๒ ภาพวฑิ ูรบัณฑิตชาดก
ภาพสลกั บนใบเสมาน้ีแสดงภาพเหตุการณ์ ตอนท่ีวฑิ ูรบณั ฑิตกาลงั สนทนากบั ปุณณกยกั ษ์ ถึงสาเหตทุ ่ียกั ษ์
ตนน้ีไดพยายามที่จะฆ่าวฑิ ูรบณั ฑิต โดยการสลกั ภาพวฑิ รู บณั ฑิตนงั่ ขดั สมาธิประสานมือไวบ้ นตกั เกลา้ ผมมว้ ย
ไวข้ า้ งบน สวมตมุ้ หูบคุ คลที่นง่ั ชนั เขา่ เอามือเทา้ คา้ งไว้ คือปณุ ณกยกั ษส์ ่ิงสาคญั ของเสมาแผน่ น้ี คือ การจารึก
ภาษามอญโบราณ ๒ บรรทดั ตรงบริเวณส่วนล่างของใบเสมา จารึกหลกั น้ีปัจจุบนั อยใู่ นระหวา่ งการศึกษา
วิเคราะห์และอ่านแปล
การประยุกต์ใช้ในการสอน
วฑิ ูรบณั ฑิตเป็นผทู้ ี่มีปัญญา ท้งั พระมหากษตั ริยแ์ ละผคู้ นตา่ งเลื่อมใส และในความมีปัญญา น้นั ก็ยงั มีอุป
สรรคค์ ือ ปณุ ณกยกั ษท์ ่ีประสงคจ์ ะเอาหวั ใจของเขา แต่เขาก็ใชป้ ัญญาของเขาเอาตวั รอดมาได้ เหมือนดงั เช่น
การเรียนยอ่ มมีอุปสรรคเ์ สมอ ครูผสู้ อนจึงตอ้ งสอนใหศ้ ิษยม์ ีความรู้ทางวิชาการและทกั ษะชีวิต เพอ่ื ท่ีจะใช้
ปัญญาแกป้ ัญหาในภายภาคหนา้
ดา้ นหนา้ ดา้ นหลงั
ใบเสมาแผน่ ท่ี ๒ ภาพวิฑูรบัณฑติ ชาดก
ภาพลายเส้นใบเสมาแผ่นท่ี ๒ ภาพวฑิ ูรบณั ฑติ ชาดก
ปัญญา แปลว่า ความรู้ทั่ว คือรู้ทั่วถึงเหตุถึงผล รู้อย่างชัดเจน, รู้เรื่องบาปบุญคุณโทษ, รู้ส่ิงที่ควรทำควร
เว้น เป็นต้น เป็นธรรมที่คอยกำกับศรัทธา เพื่อให้เชื่อประกอบด้วยเหตุผล ไม่ให้หลงเชื่ออย่างงมงาย
พระพุทธเจ้าทรงแสดงปัญญาไว้ถึง 3 ระดับ ซึ่งปัญญาทุกประเภทนั้นต้องสอดคล้องไปในทิศทางเดียวกัน ไม่มี
อะไรสำคัญมากน้อยไปกว่ากัน เนื่องจากการจะข้ามสะพานไปได้ ต้องเดินผ่านตั้งแต่ ต้นสะพาน ผ่านกึ่งกลาง
สะพาน แล้วจึงจะถึงปลายสะพาน ข้ามฟากได้ ปัญญา 3 ระดับก็เป็นฉันนั้น คือเริ่มจาก เข้าใจว่าอะไรคือ กุศล
และอกุศล, เข้าใจกระบวนธรรมชาติ ตั้งแต่กฎแห่งกรรม ถึงไตรลักษณ์, และสุดท้าย จึงตระหนักถึงสภาวะของ
ทุกข์และแนวทางการดับทุกข์ (อริยสัจ)
ด.ญ. กศิญา นาสมภักด์ิ
บ้านโคกสูง หมู่ 5 ตาบลบ้านแก้ง อาเภอแก้งคร้อ จังหวัดชัยภูมิ
โทร 0857729553
ใบเสมาแผ่นท่ี ๓ ภาพอมั พชาดก
พระโพธิสัตวเ์ สวยพระชาติเป็นจณั ฑาล และไดส้ อนมนตร์ในการเสกมะม่วงให้มีผลในเวลาท่ีไม่ใชฤ้ ดู
ออกผลแก่นายมานพ ต่อมานายมานพไดน้ าวิชาไปใช้จนไดร้ ับราชการในวงั และไดเ้ สกมะม่วงถวายพระเจา้
พาราณสี ภายหลงั นายมานพกล่าวลบหลู่พระโพธิสัตว์ มนตร์ท่ีมีอยู่จึงเสื่ อมลง นายมานพจึงกลบั ไปขอมนตร์
พระโพธิสตั วอ์ ีกแต่ไมไ่ ดจึงผกู คอตาย
ภาพสลกั บนใบเสมาแผ่นน้ี แสดงเหตุการณ์ตอนนานมานพ กาลงั เสกมะม่วงในราชอุทยานถวายพระ
เจา้ พาราณสีซ่ึงอยใู่ นเครื่องทรงของกษตั ริย์
การประยุกต์ใช้ในการสอน
วิชาความรู้เป็ นส่ิงท่ีมีคุณค่า ครูบาอาจารยท์ ่ีถ่ายทอดวิชาความรู้ให้จึงเป็ นผูท้ ี่มีพระคุณที่ศิษยค์ วรเครา
พนบน้อม ผูท้ ี่มีความกตัญญูกตเวที ย่อมประสบความสุขความเจริญ ส่วนคนท่ีอกตัญญูลบหลู่ดูหม่ินผูท้ ี่มี
พระคณุ ยอ่ มเส่ือมจากลาภ และเกียรติยศชื่อเสียง
พระโพธิสัตว์ มาจากศพั ทส์ องศพั ทป์ ระกอบกนั คอื คาวา่ โพธิท่ีแปลว่าความตรัสรู้กบั สัตตะ ที่แปลว่า
สัตว์ในคาทเ่ี รียกว่าสัตว์โลก(วดั บวรนิเวศวิหาร, ๒๕๓๒:๒๙)อนั มีความหมายครอบคลุมท้งั มนุษย์และสัตว์
เดรัจฉานซ่ึงจะเห็นไดจ้ ากอดีตชาติของพระพทุ ธเจา้ กลา่ วคือ นอกเหนือจากที่พระองคไ์ ดเ้ สวยพระชาติเป็น
มนุษยแ์ ลว้ บางพระชาติพระองคไ์ ดเ้ สวยพระชาติเป็นพญาวานร เสวยพระชาติเป็นชา้ งเสวยพระชาติเป็นนาคราช
เป็ นตน้
เดก็ หญิงอรสิ รา เรอื นนาค
โรงเรยี นบา้ นโคกสูงวังศิลา
ใบเสมาแผ่นท่ี ๔ ภาพมโหสถชาดก
เนือ้ เรื่องย่อ
มโหสถเป็นบุตรของเศรษฐีสิริวัฒกะและนางสุมนาเวที มโหสถเป็นผู้มีความฉลาดเฉลียวมาตั้งแต่เยาว์วัย
จนพระเจ้าวเิ ทษราชผูค้ รองนครมถิ ิลา ทรงสนพระทยั ทีจ่ ะได้มโหสถมาเป็นปราชญ์ในวงั แตถ่ กู ขดั ขวางโดยปราชญ์
๔ คน ของพระองค์เอง อยา่ งไรก็ตามในทีส่ ุดมโหสถก็ได้เข้ามารับใช้พระเจา้ วเิ ทษราชและได้ใช้ปัญญาแก้ปัญหาให้
พระองค์เรื่อยมา เมื่อมโหสถเจริญวัยจึงถึงคราวที่จะมีคู่ครองได้มาพบกับหญิงผู้หนึ่งมีนามวา่ “นางอมร” นางเป็น
หญงิ ทีม่ ปี ัญญาหลักแหลม มโหสถได้ทดลองปัญญาดว้ ยวิธีการต่างๆ จงึ เห็นว่าเหมาะเป็นคู่ครองของตน ในท่ีสุดจึง
ได้แตง่ งานกนั
พระเจา้ จลุ นี ผ้คู รองนครอตุ รปัญจาลนคร มีพราหมณ์เป็นท่ีปรึกษาชอ่ื “เกวัฏ”ได้ยุยงใหพ้ ระเจ้าจลุ นีทรง
ฝักใฝ่จะได้เป็นใหญแ่ ต่พระองค์เดียวในชมพทู วีป โดยมีอุบายจะเชิญเจ้านคร ๑๐๑ นคร เสดจ็ มาในงานเล้ียงแล้วจะ
ลอบใส่ยาพิษลงในสุราแต่สุวบัณฑิตนกแก้วชาญฉลาดที่มโหสถส่งไปคอยสืบข่าว นำความลับมาบอกมโหสถ จึงส่ง
คนไปทำลายไหสรุ าเสยี ส้นิ พระเจ้าจลุ นีกริ้วมโหสถมาก ส่งทับมาตนี ครมถิ ิลาทนั ที การต่อสไู้ ม่รูผ้ ลแพ้ชนะจึงคิดจะ
เอาชนะดว้ ยธรรมยุทธ โดยต้งั กตกิ าวา่ ผู้แพ้จะตอ้ งกราบผชู้ นะมโหสถใชอ้ บุ ายจนพราหมณเ์ กวัฏแพ้ไปอีก พราหมณ์
เกวัฏพยายามที่จะเอาชนะมโหสถให้ได้ จึงยกทัพมาอีกครั้งนี้มโหสถทรงอนุเกวัฏพราหมณ์ออกไปเป็นไส้ศึกใน
กองทัพพระเจ้าจุลนีจนกองทัพของกษัตริย์ ๑๐๑ นคร แตกความสามัคคีกันอีกครั้ง ศึกครั้งนี้สงบลงไป แต่
พราหมณ์เกวัฏยังผูกใจเจ็บอยู่ จึงออกอุบายจะยกเจ้าหญิงปัญจาลจันที พระธิดาของพระเจ้าจุลนีให้แก่เจ้าวิเทษ
ราช จึงส่งทูตมายังพระเจ้าวิเทษราชมโหสถทูลคัดค้านแต่พระเจ้าวิเทษราชมิได้ทรงเชื่อ มโหสถจึงต้องคล้อยตาม
โดยขอเดนิ ทางล่วงหน้าไปก่อนเพื่อเข้าเฝ้าพระเจ้าจุลนีอ้างว่าจะสร้างพระราชฐานใหม่ให้พระเจ้าวิเทษราช มโหสถ
ได้สร้างพระราชฐานขึ้นมา ๑ หลัง พร้อมทั้งขุดอุโมงค์ทะลุไปจนถึงพระราชวังของพระเจ้าจุลนีโดยที่ไม่มีใครรู้เมอ่ื
พระเจ้าวเิ ทษราชเสดจ็ มาประทับ พระเจ้าจลุ นีและเกวัฏพราหมณ์ส่งทหารเข้าจบั กุมทนั ที ในขณะเดยี วกัน มโหสถ
ก็ทรงคนไปใต้อุโมงค์จับตัวมเหสี พระโอรสและพระธิดาไว้เป็นตัวประกันพระเจ้าจุลนีก็ยอมแพ้และทรงรับสั่ง
ชวนมโหสถมาอยู่ด้วยกันตน มโหสถใช้ปัญญาว่าเมื่อสิ้นพระเจ้าวิเทษราชราชแล้ว ตนจึงจะมารับข้าราชการท่ี
อตุ รปัญจาลนครได้และก็เปน็ ไปตามสัญญานน้ั
ภาพสลักบนใบเสมาแผ่นนี้แสดงภาพเหตุการณ์ตอนที่มโหสถได้พบกับนางอมรเป็นครั้งแรกบุคคลทาง
ขวามือของภาพคอื มโหสถสว่ นบุคคลทางซา้ ยมือของภาพคอื นางอมรซ่งึ งกำลงั ทลู หมอ้ ข้าวอยู่บนศีรษะท่ีจะนำไปให้
บิดาซง่ึ กำลังทำนาอยู่โมสกคิดจะถามนางอมรวา่ นางมีสามีแลว้ หรือไม่พระองค์ถามนางดว้ ยวิธใี บโ้ ดยการทำท่าทาง
ยกมอื กวา่ ขึน้ นางอมรเขา้ ใจถึงส่ิงทมี่ โหสถถามนางจึงนางยังไม่มสี ามจี งึ ทำท่าทางดว้ ยการกางแขนออกหมูส่ ุขจึงเดิน
เข้าไปหาและถามชื่อนาง
การประยุกต์ใชใ้ นการสอน
จะเห็นได้วา่ มโหสถนน้ั เป็นผ้ทู ี่มีปัญญาหลักแหลมรอบครอบรอบรใู้ ช้ปญั ญาแกป้ ญั หาด้วยช่วย
เมอื งมถิ ิลาจนไดร้ ับชยั ชนะและมีความเสียสละซอ่ื สัตย์กตญั ญูต่อผมู้ ีพระคณุ เปรียบเสมือนเช่นการเรียนการสอน
ของครคู วามสมบูรณแ์ หง่ หนา้ ที่ความเป็นครูควรสอนใหศ้ ิษย์มคี วามรอบรู้รอบคอบมีความกตญั ญรู ู้คุณลดความเหน็
แกต่ ัวลงควรเหน็ แก่ประโยชนส์ ่วนรวมควรเปน็ ผยู้ ินดใี นการให้เพราะผใู้ หย้ ่อมเป็นท่ีรักของผูร้ ับ
ภาพลายเส้นใบเสมาแผ่นท่ี ๔ ภาพมโหสถชาดก
ใบเสมาแผน่ ท่ี ๕ ภาพภรู ิทัตชาดก
เน้อื เรอื่ งย่อ
ทัตตะเป็นนาคที่มีปฏภิ าณเฉลียวฉลาดจนได้สมญานามว่า "ภูริทัต" ภูริทัตได้บำเพ็ญเพียร ต่างๆ ด้วยการ
รกั ษาอุโบสถศลี เพ่ือทจ่ี ะได้ไปเกิดบนเทวโลก ภูริทตั ได้ขึ้นมาบำเพญ็ ศีลอยู่บนเมืองมนุษย์ตลอดราตรีท่ีริมฝั่งแม่น้ำ
ยมนา โดยแปลงร่างเป็นนาค ตอ่ มาพราหมณ์ผู้หนึ่งมีมนตร์บทหน่ึงชอ่ื "อาลัมพายน"์ ไดม้ าจบั ภรู ทิ ตั ไปโดยการร่าย
มนตร์แล้วกรอกยาเพื่อล้างพิษนาค หลังจากนั้นได้เดินทางเข้าไปในเมืองบังคับให้ภูริทัตแสดงท่าทางต่างๆ ให้
ประชาชนชม ตลอดจนถวายพระเจ้าพาราณสีทอดพระเนตรด้วย ต่อมานาคซึ่งเป็นพี่น้องของภูริทัตได้ตามมา
ชว่ ยเหลอื จนภูรทิ ตั ปลอดภัยและได้รักษาศีลอยู่จนตลอดชีวิต ภาพสลักบนใบเสมาแผ่นนี้แสดงภาพเหตกุ ารณ์ตอนท่ี
พราหมณ์อาลัมพายน์ (ซึ่งอยู่ตอนล่าง ของภาพ กำลังจะจับตัวนาคภูริทัต โดยแสดงเป็นภาพนาคซึ่งนอนขดตัวอยู่
บนจอมปลวก สิ่งสำคัญของใบเสมา แผ่นนี้คือ การจารึกข้อความลงบนใบเสมาจำนวน ๒ จุด จุดแรกอยู่บริเวณใต้
ภาพลำตัวนาค อีกจดุ หน่ึงอยอู่ ีก ดา้ นของใบเสมา สำหรับจารึกจุดแรกเส้นอักษรลบเลอื นมาก ขณะนอ้ี ยู่ในระหว่าง
การวิเคราะห์และอ่านแปล ส่วนจารึกที่อยู่อีกด้านของใบเสมานั้นได้รับการอ่านแปลแล้วเป็นอักษรหลังปัลลวะ
ภาษามอญโบราณ มีใจความว่า "....ชนทั้งหลายผู้ไปแล้ว พึงรักษาคำสอนของพระศรีศากยเยศวรราชจอมมุนี ...ผู้
ประเสริฐและสงา่ งาม " เปน็ ขอ้ ความทเี่ กยี่ วกับพระพุทธศาสนา จารกึ หลักนมี้ ีอายุอยู่ในราวพทุ ธศตวรรษที่ ๑๔
การประยุกต์ใช้ในการเรียนการสอน
สามารถนำมาประยุกต์ใชใ้ นการเรยี นการสอนในเร่ืองการมีศีลธรรม ถือวา่ เป็นธรรมะสำคัญ ต่อการใช้ชวี ิต อยู่
ร่วมกันของคนในสังคมนี้ ซง่ึ คือผู้ทม่ี ีใจอันประเสริฐ คุณธรรมที่เป็นปกติของมนษุ ย์ทจี่ ะต้องทรงไว้ใหไ้ ด้ตลอดไปก็
คือศลี 5 และการเลือกกระทำในสิง่ ทด่ี ี มปี ระโยชน์และอันควรน้ัน เป็นจรรยาบรรณของครทู พี่ ึงกระทำ ซึ่งตรงตาม
คุณลักษณะของครูที่ดี คอื คดิ ดี ทำดี และรู้ดนี น่ั เอง
ด้านหน้า ด้านหลงั
ใบเสมาแผ่นท่ี ๕ ภาพภูริทตั ชาดก
ภาพลายเส้นใบเสมาแผ่นท่ี ๕ ภาพภูรทิ ตั ชาดก
ใบเสมาใบท่ี ๖ ภาพพรหมนารทชาดก
เนื้อเรื่องย่อ
เป็นเรื่องของพระเจ้าอังคติราชผู้ครองนครมิถิลา เป็นกษัตริย์ที่ชอบบำเพ็ญกุศล พระองค์ มีพระราชธิดา
องค์เดียวทรงพระนามว่า “รุจาราชกุมารี” วันหน่ึงพระเจ้าอังคตริ าชเกิดข้อสงสัยและตั้งปญั หาธรรม ถามชีเปลือย
คณุ าชวี กัสสปโคตร ว่าบคุ ลน้ันควรปฏิบัติตนเช่นไร ถึงจะเรียกว่าประพฤติตนอยู่ในธรรม กัสสปโคตรให้คพตอบว่า
มนษุ ยเ์ ราเกิดมาในโลกน้มี ีความเสมอภาคกันหมด ผลของการประพฤตปิ ฏิบัติไม่มีขอบเขตของบุญและบาป ดังน้ัน
พระองค์จึงเปล่ยี นพระทยั ไปหาความเพลดิ เพลินทางดา้ นกามคุณตงั้ แต่นนั้ มา
รุจาราชกุมารีเห็นดังนัน้ ก็พยายามที่จะให้พระราชบิดาเลิกประพฤติตัวเช่นน้ี แต่ทำไม่สำเร็จ จึงทรงตั้งสัตยาขอให้
เทวดาชว่ ยลดพระทัยพระราชบดิ าให้เลกิ ประพฤติในทางที่ผิดเสยี ความทราบถึงท้าว มหาพรหม ผรู้ ักษาโลกมีนาม
ว่า “นารท” จึงจำแลงร่างเป็นฤาษีเหาะลงมาโดยยกคานทอง ซึ่งมีภาชนะทอง ใส่ไว้ในสาแหรกอีกทีหนึ่งฤาษีนา
รทกสั สปะไดช้ ้ีถึงบุญบาป จนพระเจา้ องั คติราชกลบั ใจ
ภาพสลักบนในเสมาแผ่นนี้ เป็นภาพฤาษีนารทกัสสปะ ประทับยืน ทรงผมแบบชฎามงกุฎ พระหัตถ์ขวา
แสดงปางวติ รรกะหรือปางแสดงธรรมแก่พระเจ้าองั คติราช โดยหาบสิ่งของอยู่บนบ่าทั้งสอง เบ้ืองหลังเป็นลวดลาย
ก้อนเมฆซ่งึ ได้เหาะผ่านมา
การประยุกตใ์ ชใ้ นการเรยี นการสอน
“อยา่ เหน็ ผิดเป็นชอบ กลบั ตวั กลบั ใจ” เป็นคำท่ีเกดิ ข้นึ เพือ่ ไว้เตือนใจศิษย์ ใหร้ ู้จักแยกแยะความดีความไม่
ดี ความควรความไมค่ วร ให้รู้จกั พจิ ารณาใคร่ครวญ ไตร่ตรอง อยา่ งถถ่ี ว้ นว่าสง่ิ ใดเปน็ ส่งิ ทด่ี ที ่ีควรปฏิบตั ิ ควรยึดถือ
เป็นแบบอย่าง และสิง่ ใดเป็นสิ่งท่ีไม่ดีไม่ควรปฏิบตั ิไม่ควรยึดถือเปน็ แบบอย่าง
ดา้ นหน้า ดา้ นหลงั
ใบเสมาแผน่ ที่ ๖ ภาพพรหมนารทชาดก
ภาพลายเส้นใบเสมาแผ่นท่ี ๖ ภาพพรหมนารทชาดก