ใบเสมาใบท่ี ๗ ภาพเตมียชาดก
เนื้อเรอ่ื งยอ่
พระเจ้ากาสิกราช ผู้ครองนครพาราณสีมีพระโอรสพระองค์หนึ่งพระนามว่า "เตมียกุมาร" เวลาพระองค์
ออกว่าราชการ หรือแม้แต่เสด็จไปลงอาญาผู้กระทำผิดด้วยโทษที่ทารุณก็จะนำพระโอรสไปด้วย เมื่อทรงประสบ
เหตุการณ์ลงโทษที่ทารุณบ่อยเข้า เตมียกุมารเกิดความคิดว่า เมื่อพระองค์เจริญวัยขึ้นเป็น กษัตริย์ก็คงจะต้องทำ
หน้าที่เป็นผู้พิพากษาลงโทษเช่นเดียวกับพระราชบิดา จึงทรงเลี่ยงการเป็นกษัตริย์ โดยแกล้งเป็นใบ้และง่อยเสีย
เมื่อทรงแกล้งทำเช่นนั้นพระราชบิดาได้พยายามหาหมอที่เชี่ยวชาญมารักษา ซึ่งหาสาเหตุของโรคไม่ได้ จึงให้
พราหมณ์ตรวจลักษณะ พราหมณ์ใหค้ ำทำนายวา่ ลกั ษณะเชน่ น้ถี อื เป็นกาลกิณตี อ่ บ้านเมือง ตอ้ งนำพระเตมยี กุมาร
ไปฝังใหส้ ิ้นพระชนมใ์ นป่า พระเจ้ากาสกิ ราชต้องยอมทำตามคำแนะนำจึงมีพระโองการให้นายสุนนั ทะนำเจา้ ชายไป
ประหารในป่า เมื่อมาถึงในป่า ขณะที่นายสุนันทะกำลังขุดหลุมอยู่ พระเตมียกุมาก็เลิกทำเป็นและง่อยเสีย แส ดง
พระองคว์ ่ามีพระวรกายท่ีแข็งแรงและสอนนายสนุ ันทะถึงการกระทำท่ีไมค่ วร พระเตมียกมุ ารตดั สินใจท่ีจะบำเพ็ญ
พรตอยู่ในป่า โดยนายสุนันทะกลบั เข้าไปในเมือง เลา่ ให้พระเจ้ากาสิกราชฟัง พระองค์และอัครมเหสีเสด็จมาขอร้อง
ให้พระเตมียกุมารเสด็จกลับเข้าวัง แต่พระองค์ปฏิเสธคำขอร้องพร้อมทั้งกล่าวถึงความคิดในการบวชจนพระราช
บิดาและพระราชมารดาซาบซ้ึง ไดเ้ สด็จออกบวชดว้ ยเช่นกนั
ภาพสลักบนใบเสมาแผ่นนี้ เป็นภาพเหตุการณ์ตอนที่ตอนที่เตมียกุมารแสดงถึงความ แข็งแรงของตนเอง
แกน่ ายสุนันทะซ่งึ เตรียมทข่ี ุดหลมุ ฝงั พระองค์ เตมยี กุมารก าลังยืนอยเู่ หนือนายสุนนั ทะทีก่ ำลังน่ังอยู่
การประยุกต์ใช้ในการเรยี นการสอน
จากเรือ่ งย่อนี้เตือนให้ตะหนกั ว่าเมื่อมีประสงค์ในส่ิงใดก็ตาม ควรมุ่งมัน่ ต้งั ใจกระทำตามความมุ่งหมายนั้น
อย่างหนักแน่น อดทนอย่างเพียรพยายามให้ถึงทีส่ ุด และความพากเพียรอันเดด็ เด่ียวแน่วแน่นั้น ย่อมนำพาบุคคล
น้นั ไปสู่ความสำเร็จอันย่งิ ใหญ่อย่างแทจ้ รงิ
ดา้ นหน้า ดา้ นหลัง
ใบเสมาแผน่ ท่ี ๗ ภาพเตมยี ชาดก
ภาพลายเส้นใบเสมาแผ่นท่ี ๗ ภาพเตมยี ชาดก
ใบเสมาแผน่ ท่ี ๘ ภาพเตมยี ชาดก
เนอ้ื เร่ืองย่อ
พระเจ้ากาสิกราช ผคู้ รองนครพาราณสมี ีพระโอรสพระองค์หน่ึงพระนามวา่ “เตมยี กุมาร” เวลาพระองค์
ออกวา่ ราชการ หรอื แม้แต่เสดจ็ ไปลงอาญาผู้กระทำผิดด้วยโทษทท่ี ารุณก็จะนำพระโอรสไปดว้ ย เมอ่ื ทรงประสบ
เหตุการณล์ งโทษทีท่ ารุณบอ่ ยเข้า เตมียกมุ ารเกดิ ความคดิ ว่า เมอ่ื พระองค์เจรญิ วัยขน้ึ เป็น กษตั รยิ ์ก็คงจะต้องทำ
หนา้ ที่เปน็ ผูพ้ ิพากษาลงโทษเชน่ เดียวกบั พระราชบดิ า จึงทรงเล่ียงการเป็นกษัตริย์
โดยแกลง้ เปน็ ใบแ้ ละง่อยเสยี เม่อื ทรงแกลง้ ทำเชน่ นนั้ พระราชบิดาได้พยายามหาหมอท่ีเช่ยี วชาญมารกั ษา ซึง่ หา
สาเหตุของโรคไม่ได้ จงึ ให้พราหมณ์ตรวจลกั ษณะ พราหมณ์ให้คำทำนายว่า ลกั ษณะเช่นนถ้ี ือเปน็ กาลกณิ ี ต่อ
บา้ นเมือง ต้องนำพระเตมยี กุมารไปฝงั ให้สิ้นพระชนม์ในป่า พระเจา้ กาสกิ ราชตอ้ งยอมทำตามคำแนะนำ จงึ มีพระ
โองการให้นายสุนนั ทะนำเจ้าชายไปประหารในป่า เม่ือมาถึงในปา่ ขณะที่นายสุนนั ทะก าลังขดุ หลมุ อยู่ พระเตมีย
กมุ ารก็เลิกทำเปน็ ใบ้และงอ่ ยเสยี แสดงพระองค์วา่ มีพระวรกายทีแ่ ขง็ แรงและสอนนายสุนันทะ ถงึ การกระทำท่ีไม่
ควร พระเตมียกมุ ารตดั สนิ ใจทีจ่ ะบำเพญ็ พรตอยู่ในป่า โดยนายสุนนั ทะกลับเขา้ ไปในเมือง
เลา่ ให้พระเจ้ากาสกิ ราชฟัง พระองค์และอัครมเหสีเสด็จมาขอร้องให้พระเตมียกุมารเสด็จกลับเข้าวัง แตพ่ ระองค์
ปฏิเสธคำขอรอ้ งพร้อมทั้งกล่าวถงึ ความคดิ ในการบวชจนพระราชบิดาและพระราชมารดาซาบซึ้ง ไดเ้ สด็จออก
บวชด้วยเช่นกัน
การประยุกตใ์ ชใ้ นการเรียนการสอน
จากเรื่องย่อนี้ กล่าวว่าเมื่อมีประสงค์ในสิ่งใดก็สมควรมุ่งมั่นตั้งใจกระทำตามความมุ่งหมายนั้นอย่างหนักแน่น
อดทนอย่างเพียรพยายามเป็นที่สุด และความพากเพียรอันเด็ดเดี่ยวแน่วแน่นั้น ย่อมนำบุคคลนั้นไปสู่ความสำเร็จ
อันยงิ่ ใหญ่อย่างแทจ้ ริง
ภาพสลักบนใบเสมาแผน่ น้ี เป็นภาพเหตุการณ์ตอนท่ีพระเตมียกมุ ารกำลงั แสดงธรรม โดย การยกพระ
หตั ถ์ขา้ งขวาทำปางวติ รรกะให้แก่นายสนุ นั ทะซงึ่ น่งั ต่ำลงมาฟงั เบอื้ งหลังเปน็ ภาพตน้ ไม้แสดงถงึ การอยใู่ นปา่
ด้านหน้า ดา้ นหลัง
ภาพลายเสน้ ใบเสมาแผ่นที่ ๘ ภาพเตมยี ชาดก
ใบเสมาแผ่นท่ี ๘ ภาพเตมยี ชาดก
บาเพญ็ พรต
ภาพลายเส้นใบเสมาแผ่นท่ี ๘ ภาพเตมยี ชาดก
บำเพ็ญเนกขัมมบารมี
โรงเรียนหวั นานคร
ใบเสมาใบท่ี ๙ ภาพพระศรีอรยิ เมตไตย
สลกั ภาพบคุ คลในตรภิ งั ค์ เกล้าผมสูง สวมศริ าภรณ์ พระหตั ถข์ วาแสดงปางวติ รรกะ พระหตั ถ์ ซ้ายปลอ่ ย
ลงข้างล าตวั ถอื วัตถชุ น้ิ หนึ่งลกั ษณะกลม นงุ่ ผ้านุง่ ยาว มีจบี หนา้ นางหน่งึ จีบ ขอบผา้ นุ่งเปน็ สองชนิ้ ประทบั ยืน
บนดอกบวั สันนิษฐานว่า การสลกั ภาพบุคคลรปู นี้ คือ พระศรอี ริยเมตไตย โดยพระศรีอริยเมตโดยใน รูปพระโพธ์ิ
สตั วห์ ากไม่มสี ถูปอยู่บนมวยผม จะประทบั ยนื เกลา้ ผมทรงสงู พระหตั ถ์ขวาแสดงปาง วติ รรกะ พระ หตั ถ์ซา้ ยถือ
แจกนั ทรงกลม หรืออาจจะเป็นรูปไข่ ประทบั ยนื บนดอกบวั ซ่ึงศาสนาพุทธฝา่ ยเถรวาทนี้ นับถอื พระ ศรีอริยเมต
ไตย เป็นพระพุทธเจา้ องค์หน่ึงด้วย ในฐานะอนาคตพุทธเจ้า
พระพุทธเจา้ พระองคต์ ่อไปท่ไี ด้รับการพยากรณจ์ ากพระโคดมสมั มาสัมพุทธเจ้าคือพระศรีอรยิ เมตไตย ดัง
ความว่า “อชิตภกิ ษนุ จ้ี ะไดต้ รัสรู้เป็นองค์พระชนิ สีหท์ รงพระนามวา่ พระศรีอรยิ เมตไตรยในอนาคตในมหา ภัทรกัป
นี้” “เมอื่ มนษุ ย์มีอายุ 80,000 ปพี ระผูม้ ีพระภาคทรงพระนามวา่ เมตไตย จักเสดจ็ อุบัติข้ึนในโลก พระองค์ เป็นพระ
อรหนั ต์ ตรสั รู้ด้วยพระองคเ์ องโดยชอบ เพยี บพร้อมด้วยวชิ ชาและจรณะ”
จากพุทธพยากรณท์ ่ียกกล่าวไวข้ า้ งตน้ ทำให้พุทธศาสนกิ ชนตา่ งมคี วามเช่ือในเร่ืองการเกิดขน้ึ และการมีอยู่
จริงของพระศรีอรยิ เมตไตย และมคี วามปรารถนาทจ่ี ะเกดิ มาให้ทันสมยั ของพระองค์ เนื่องจากมีความเช่อื ว่าโลก
ของพระเมตไตยพุทธเจ้าน้นั เปน็ โลกแหง่ ความอุดมสมบรู ณ์ทางกายภาพและทางดา้ นจิตใจครบทุกประการ
ทางดา้ นกายภาพน้นั มสี ภาพอากาศ สภาพแวดล้อมทีด่ ี อาหารการกนิ พืชพนั ธัญญาหารอุดมสมบรู ณ์ ความเปน็ อยู่
ฐานะท่ดี เี สมอกัน ส่วนทางดา้ นจิตใจนน้ั ผูค้ นยคุ นน้ั จะเป็นผมู้ ีศลี ธรรม มีความเมตตา ความรัก ความเอือ้ อาทร
ปราศจากอาชญากรรม ไม่มีการเบยี ดเบียนอิจฉาริษยากนั เพราะทกุ อยา่ งในยุคนัน้ มคี วามเท่าเทียมเสมอภาคกนั
หมด จึงเปน็ โลกแหง่ ความสุขสบายมนุษยใ์ นยุคทีม่ ีอายขุ ัย 80,000 ปี จะถงึ พร้อมด้วยทิพยสมบตั ิมีลาภ มยี ศอัน
ยงิ่ ใหญ่ ปลอดจากโรคภัยต่างๆ รา่ งกายแขง็ แรง และเม่ือร่างกายทุกสดั สว่ นไม่มปี ัญหาเสียแลว้ เร่ืองจิตใจจึงเต็ม
เปย่ี มไปด้วยความสุข ชวี ติ ของคนในแต่ละวนั กจ็ ะมีแต่สงิ่ ดี ๆ ไม่มกี ารรบราฆา่ ฟนั ไม่มีอาวธุ ทจี่ ะตอ้ งนำมาใช้
ประหารกัน เพราะทุกคนล้วนเปน็ คนดีตัง้ ม่ันอย่ใู นศีลธรรมอนั งดงาม ในเร่ืองนิสัยใจคอของคนในยุคนัน้ ทุกคนก็
ล้วนต้ังอยูใ่ นศีลในธรรม ผขู้ ายจะมภี รรยาแตเ่ พียงคนเดียว และผ้หู ญิงก็มีสามีแตเ่ พียงคนเดียว ไมม่ ีเรื่องชู้สาว หญงิ
ไมน่ อกใจสามี ผวั เมยี ไม่รจู้ กั การทะเลาะววิ าท แมแ้ ตส่ ัตวก์ ็พลอยมเี มตตาจติ ต่อกัน ไม่คิดที่จะประทษุ ร้าย
เบียดเบียนกัน มีความสะดวกสบายจะแตง่ ตวั ประดับกายด้วยอาภรณ์สงิ่ ใดก็ไปหาเอาได้ท่ีตน้ กัลปพฤกษ์ ไม่ต้อง
เปน็ กังวลหาเงนิ หรอื ทำมาหากนิ เพราะมีข้าวปลาอาหารตลอดจนขนมของหวานบริบรู ณอ์ ยู่พรอ้ มแลว้ ทกุ ประการ
การประยกุ ต์ใช้ในการเรยี นสอน
สามารถนำมาประยกุ ต์ใชใ้ นการเรียนการสอนในเรื่องการมีศีลธรรม มีความเมตตาตอ่ ผู้อ่ืน ดว้ ยคณุ ธรรม
เพยี งข้อเดียวคือ เมตตา ก็จะทำใหโ้ ลกเรามคี วามอดุ มสมบูรณ์และมีความสุข สงบ ดั่งภาษิตวา่ “เมตตาธรรมคำ้ จนุ
โลก” เนอ่ื งจากสภาพปญั หาที่เกดิ ขน้ึ มาในปจั จบุ นั ลว้ นมสี าเหตมุ าจากการขาดความเมตตา ดังน้ัน “ถา้ เราทั้งโลก
มีความรกั ความเมตตาผู้อ่นื โลกของพระศรีอรยิ เมตไตรกจ็ ะเกดิ ขึ้นในพรบิ ตา”
ดา้ นหนา้ ด้านหลัง
ใบเสมาแผ่นที่ ๙ ภาพพระศรีอริยเมตไตย
ภาพลายเสน้ ใบเสมาแผน่ ที่ ๙ ภาพพระศรีอรยิ เมตไตย
ใบเสมาแผ่นที่ ๑๐ ภาพปญั จาวุธชาดก
เน้ือเรือ่ งย่อ
พระโพธิสัตว์ก าเนิดเป็นปัญจาวุธ โอรสของพระเจ้าพรหมทัต ได้ศึกษาวิชาจากตักศิลาจบ
แล้ว จึงเสด็จกลับกรุงพาราณสี ในระหว่างทางได้รบกับยักษ์ รบกันด้วยอาวุธทั้ง ๕ ไม่สำเร็จ จึงรบด้วยกล
อบุ าย ในท่ีสดุ สามารถทรมานใหย้ ักษล์ ะพยศและตัง้ สตอิ ยู่บนศีลได้
การประยกุ ต์ใชใ้ นการเรยี นสอน
เมอ่ื เจอปญั หาและอุปสรรคเขา้ มา เราตอ้ งใชส้ ติ ความอดทน ความเพยี รพยายาม เพื่อแก้ไขปัญหาผู้มีปัญญา
ด้วยสถานการณ์ปัจจุบัน หน้าที่ของครู คือ อบรมสั่งสอนศิษย์ให้มีความรู้ ไม่ว่าจะสอนทางออนไลน์หรือด้วยวิธีการต่างๆ ก็ตาม
เราตอ้ งตั้งใจทำหน้าทีข่ องเรา พยายามใหน้ กั เรียนเข้าถึงการสอนเพ่อื ใหน้ ักเรียนได้รบั ความรแู้ ละตรงตามจดุ ประสงคข์ องการเรยี น
การสอน
ภาพสลักบนใบเสมาแผ่นนี้ แสดงภาพตอนที่ปัญจาวุธก าลังต่อสู่กับยักษ์ โดยปัญจาวุธก าลัง
เหาะอยู่ด้านบน มือขวาเหยียดตรง มือซ้ายถือหอกที่จะพุ่งไปยังบุคคลที่อยู่ต่ ากว่า บุคคลนี้ตาโปน ปาก
ย่ืน สันนษิ ฐานว่าเปน็ ยักษ์
ด้านหน้า ด้านหลงั
ใบเสมาแผ่นท่ี ๑๐ ภาพปัญจาวุธชาดก
ภาพลายเสน้ ใบเสมาแผน่ ท่ี ๑๐ ภาพปัญจาวุธชาดก
ใบเสมาแผน่ ท่ี ๑๑ ภาพหม้อตอ่ ดว้ ยกรวย (หมอ้ น้ำ -กลศ)
มนุษย์สมัยโบราณมีการสร้างสัญลักษณ์ต่างๆ มากมายจากสิ่งที่อยู่รอบตัว เพื่อสื่อความหมายและเล่า
เรื่องราวที่เกิดขึ้นจากสิ่งที่ได้พบเห็น และเมื่ออยู่รวมกันเป็นชุมชน สัญลักษณ์เหล่านี้ก็เป็นตัวแทนของความเชื่อ
และทัศนคติของคนในชุมชน เพื่อสื่อให้เข้าใจความหมายในทางเดียวกัน อาจจะอยู่ในรูปธรรมหรือนามธรรมก็ได้
โดยสัญลักษณ์ดังกล่าวมีหลากหลายชนิด มักแสดงออกมาในรูปแบบของงานศิลปกรรม ซึ่งแฝงด้วยคติความเชื่อ
อย่างลึกซึ้ง ส่วนใหญ่เป็นงานทีเ่ กย่ี วเนื่องในศาสนา และสถาบันพระมหากษตั รยิ ์
ปูรณกลศกบั คตคิ วามเช่ือจากอินเดยี
ปูรณกลศ หรือ ปูรณฆฏะ เป็นสัญลักษณ์อย่างหนึ่งที่ชาวอินเดียโบราณได้สร้างสรรค์ขึ้นมา เพื่อเป็น
ตัวแทนของความอุดมสมบูรณ์ มั่งคั่ง คำว่า "ปูรณะ” ตามรากศัพท์มาจากภาษาสันสกฤตหมายถึง ความสมบูรณ์
มั่งคั่ง และ "กลศ” (กะ-ละ-สะ) แปลว่า หม้อน้ำ เมื่อรวมกันจึงหมายถึง หม้อน้ำแห่งความอุดมสมบูรณ์ มีลักษณะ
เป็นหม้อน้ำที่เต็มบริบูรณ์ มีไม้เลื้อยออกมาทั้งสองข้างอันแสดงถึงการกำเนิดของชีวิต หรือการสร้างสรรค์ ในทาง
ศาสนาทั้งศาสนาพุทธและศาสนาพราหมณ์ ปูรณกลศถือเป็นภาชนะที่ใช้สำหรับบรรจุน้ำศักดิ์สิทธิ์ เพื่อใช้ในการ
ประกอบพิธีกรรมต่างๆ เช่น พิธีราชสูยะ (พระราชพิธีราชาภิเษก) โดยมีชื่อเรียกต่างๆ ว่า "หม้อกลศ” (Kalasa)
"หมอ้ ปรู ณฆฏะ” (Puran akhata) และ "หม้อกมณั ฑล”ุ (Kamandlu) เปน็ ตน้ นอกจากนี้ ชาวอินเดยี เชอื่ ว่า ปูรณ
กลศเป็นหม้อน้ำศักดิ์สิทธิ์ที่เกิดขึ้นในคราวที่เกิดการกวนเกษียรสมุทรของเหล่าเทวดาและยักษ์ ซึ่งมักจะพบ
สัญลักษณ์รูปปูรณกลศในงานศิลปกรรมเนื่องในศาสนา เช่น ใบเสมาภาพหม้อต่อด้วยกรวย (หม้อน้ำ -กลศ) โดย
สัญลกั ษณ์มงคลดังกลา่ วได้ถูกถ่ายทอดมาสยู่ งั ดนิ แดนสุวรรณภูมิตั้งแตส่ มยั ทวารวดี
ปรู ณกลศในสมัยทวารวดี
อาณาจักรทวารวดี เป็นดินแดนในแถบลุ่มแม่น้ำเจ้าพระยาก่อตัวขึ้นราวต้นพุทธศตวรรษที่ ๑๑ คำว่า
"ทวารวดี” มีการบันทึกไว้ในจดหมายเหตุของหลวงจีนเหี้ยนจัง (Hiun Tsang) และหลวงจีนอี้จิง (I-Tsing) ได้
กล่าวถึงอาณาจักร โถโลโปตี้ (Tolopoti) ตรงกบั คำไทยว่า ทวารวดี ตงั้ อยรู่ ะหว่างเมืองศรีเกษตร (พม่า) และเมือง
อีศานปรุ ะ (เขมร) จากการคน้ พบแหลง่ โบราณคดแี ละโบราณวตั ถุ จงึ มีการสันนษิ ฐานวา่ อาณาจกั รทวารวดนี ่าจะมี
จดุ ศนู ย์กลางอยูใ่ นพ้นื ทภ่ี าคกลางของประเทศไทย และแผข่ ยายอทิ ธพิ ลสู่ภูมิภาคต่างๆ
อาณาจักรทวารวดี ปกครองด้วยกษัตริย์จากหลักฐานการขุดค้นที่เมืองอู่ทอง จังหวัดสุพรรณบุรี และการ
ค้นพบแผ่นทองแดงศิลปะสมัยทวารวดี กล่าวถึงพระนาม พระเจ้าหรรษวรมัน [๓] ซึ่งสันนิษฐานว่า เป็นพระนาม
ของกษัตริย์แหง่ ทวารวดี นอกจากน้ี ยังมีการพบเหรียญเงินท่ีตำบลพระประโทน จังหวดั นครปฐม ปรากฏอักษรปัล
ลวะ เปน็ ภาษาสันสกฤต ถอดความได้วา่ "ศรีทวารวตี ศวรปุณยะ” ซง่ึ แปลวา่ "บญุ กศุ ลของพระราชาแหง่ ทวารวดี”
อาณาจักรแห่งนี้ได้รับคติความเช่ือดา้ นวฒั นธรรม ด้านศาสนามาจากอินเดยี ผ่านทางพ่อค้าที่เดินทางเข้ามาค้าขาย
และการเผยแพร่ศาสนา ประชาชนสว่ นใหญ่นบั ถือพทุ ธศาสนา และศาสนาพราหมณ์
ในสมัยทวารวดีพบสัญลักษณ์ปูรณกลศในงานศิลปกรรมตามคติความเชื่อทางศาสนา ปรากฏเป็นภาพ
สัญลักษณบ์ นหนา้ เหรียญเงิน ตราประทบั และใบเสมา
นอกจากน้ี ยังพบว่ามีการใช้สญั ลักษณ์ปรู ณกลศประกอบรว่ มกบั ลวดลายมงคลประเภทอนื่ ๆ ท่ีรับอิทธิพล
มาจากอนิ เดียด้วยเชน่ กนั ประกอบด้วย ลายตรศี ลู สงั ข์ จกั ร ศรวี ัตสะ ปลาคู่ สวัสดิกะ และดอกบวั เรียกว่า อัษฏ
มงคล หรอื สญั ลักษณ์มงคล ๘ ประการ ซึ่งพบลวดลายดงั กล่าวประดบั อยู่ในงานช่างเนือ่ งในศาสนาและที่เกี่ยวข้อง
กบั กษตั รยิ ์ โดยในสมยั ทวารวดีไดพ้ บหลกั ฐานการใชป้ รู ณกลศเป็นสญั ลกั ษณม์ งคลในงานศลิ ปกรรม
แผ่นเสมาหินสลักภาพปูรณกลศ ซึ่งพบในแถบภาคตะวันออกเฉียงเหนือ มีลักษณะเป็นรูปหม้อทรงกรวย
แหลมสูง สำหรับการสร้างเสมาในวัฒนธรรมทวารวดีนั้น ก็เพื่อแสดงเครื่องหมายของสถานที่อันศักดิ์สิทธิ์ท่ี
เก่ยี วขอ้ งกับพุทธศาสนาโดยตรง และรูปของปรู ณกลศที่พบบนใบเสมาน้นั มกี ารสันนิษฐานว่าอาจเปน็ เครื่องสังเวย
ในพิธกี รรม จำพวกบายศรี ท่ีส่อื ความหมายถงึ ความอดุ มสมบูรณเ์ ชน่ กัน
จากการสำรวจใบเสมาในพื้นที่ต่างๆพบว่าภาพหรือลายประดับตกแต่งบนใบเสมาที่พบแพร่หลายไปท่ัว
ได้แก่ภาพหม้อต่อด้วยกรวย ซึ่งเป็นรูปเครื่องบวงสรวงและเส้นนูนภาพผ่านกลางใบเสมาภาพหม้อต่อด้วยกรวย
หรือภาพเครือ่ งบวงสรวง
ภาพสลักรูปหม้อต่อด้วยกรวยมักได้รับคำอธิบายว่าเป็นสถูปที่แบ่งได้เป็น ๒ ส่วน คือ ส่วนล่างเป็นหม้อ
ส่วนบนเป็นกรวยคล้ายยอดพระเจดีย์๓๑ นอกจากนี้ยังมีบางท่านตั้งข้อสังเกตว่าอาจจะหมายถึงหม้อปูรณฆฏะ
หรือหม้อน้ำแห่งความอุดมสมบูรณ์อีกด้วย ๓๒ ซึ่งคำอธิบายทั้งสองเป็นที่แพร่หลายและได้รับการยอมรับกัน
โดยท่ัวไป
อย่างไรก็ตามจากการตรวจสอบรปู แบบของหม้อต่อด้วยกรวยบนใบเสมาหลายใบ ทำใหเ้ ชือ่ วา่ รูปดังกล่าว
นี้จะน่าจะเป็นการถ่ายทอดรูปเครื่องบวงสรวงบูชาของจริงมาประดับไว้เทียบได้กับกรวยหรือบายศรีที่ใช้ใส่
เครื่องเซ่นสังเวยประเภทอาหารคาวหวาน หรือข้าวตอก ดอกไม้ตามพิธีกรรมต่างๆ ในปัจจุบันเพียงแต่คนในสมัย
ทวารวดนี ิยมใช้หม้อเปน็ ภาชนะบรรจุเคร่อื งบชู าแต่ปจั จุบันนิยมใชท้ ำพานหรือกระทง
การประยุกตใ์ ช้ในการเรยี นการสอน
สามารถนำมาประยุกตใ์ ชใ้ นการเรยี นการสอนใน เร่ือง ความเชือ่ ในเร่ืองพธิ กี รรมในสมัยโบราณทยี่ ึดถือสบื
ทอดต่อๆ กันมาเป็นการรกั ษาเอกลกั ษณ์ของความเปน็ ไทย ว่า “หากปฏบิ ตั ติ นตามทํานองคลองธรรมแลว้ จะนำ
ความสุขและความเป็นสริ มิ งคลมาให้แก่ตนเอง ครอบครวั และวงศต์ ระกูล”
ดา้ นหนา้ ดา้ นหลงั
ใบเสมาแผน่ ที่ ๑๑ ภาพหม้อตอ่ ดว้ ยกรวย (หม้อน้ำ - กลศ)
ภาพลายเสน้ ใบเสมาแผน่ ที่ ๑๑ ภาพหมอ้ ต่อดว้ ยกรวย (หม้อน้ำ - กลศ)
ใบเสมาแผ่นที่ ๑๒ ภาพกวางหมอบ
ในวัฒนธรรมทวารวดี มีการสร้างธรรมจักรเพื่อสักการะบูชาและเป็นสื่อสัญลักษณ์ถึง
พระพุทธเจ้าและพระธรรม มีการพบหลักฐานธรรมจักรหลายองค์ร่วมกันกับกวางหมอบ ธรรมจักร หมายถึง
พระธรรมคำสอนท่พี ระพทุ ธเจ้าทรงเผยแผไ่ ปนับแตป่ ฐมเทศนา กวาง หมายถงึ ปา่ อสิ ิปตนมฤคทายวัน ซง่ึ แปลว่า
ปา่ กวางท่ีฤาษีลงมา เป็นสถานทที่ พี่ ระพทุ ธเจ้าแสดงปฐมเทศนาโปรดปญั จวัคคยี ์
การประยุกตใ์ ช้ในการเรียนสอน
สามารถนำมาใช้ในการเรยี นการสอนในเร่อื งทักษะสงั คมและการดำรงชีวติ ในวชิ าประวตั ศิ าสตร์ สามารถ
เล่าเร่ืองราวความเป็นมาของใบเสมาแผน่ นไ้ี ด้ถึง สญั ลกั ษณ์พระพทุ ธเจ้าและพระธรรม แสดงปฐมเทศนา ศาสนา
นน้ั มคี วามสำคัญต่อชวี ิตและการดำรงชวี ิตของมนุษย์ เปน็ ความเชือ่ ความศรัทธาทเี่ รานับถอื กนั มาทุกยคุ ทุกสมยั
และการนำมาบรู ณาการในการเรียนการสอนวิชาศลิ ปะ มุ่งเน้นให้ผู้เรียนมจี ินตนาการทางศลิ ปะ ชน่ื ชมความงาม
มสี นุ ทรยี ภาพ ความมคี ุณคา่ ซึ่งมผี ลต่อคุณภาพชวี ิตมนุษย์
ดา้ นหนา้ ดา้ นหลงั
ใบเสมาแผน่ ท่ี ๑๒ ภาพกวางหมอบ
ภาพลายเส้นใบเสมาแผ่นท่ี ๑๒ ภาพกวางหมอบ
ภาคผนวก
สมเดจ็ พระเทพรตั นราชสุดา ฯ เสดจ็ บา้ นกดุ โงง้ เมื่อ ๓๐ เมษายน ๒๕๓๒
พระนามาภิไธย สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา ฯ
อาคารเกบ็ ใบเสมา
ปราชญ์ชุมชน ให้ความรู้เกยี่ วกับประวตั ศิ าสตรช์ ุมชน เกี่ยวกบั ใบเสมาบา้ นกดุ โงง้
นายทวชิ อาจสนาม ตำแหนง่ ครู โรงเรยี นชมุ ขนบ้านบงุ่ คล้าวทิ ยา
นายนพสณฑ์ เสฏฐรงั สี
ผูเ้ ช่ยี วชาญประวตั ศิ าสตรโ์ บราณคดีท้องถ่ิน ศูนยว์ ฒั นธรรมจังหวดั ชัยภมู ิ
เอกสารอา้ งองิ
เดือนเพ็ญพร ชัยภักดี. (2559). การพฒั นาหลักสตู รท้องถ่ินในการรักษามรดกวัฒนธรรม. สำนกั งานกองทุน
สนับสนุนการวจิ ัย.
สริ มิ า แสงวิเชยี ร. 2560.พระศรอี ารยิ เมตตรยั . (ออนไลน)์ .แหล่งท่มี า : https://vipassana.de.th 17 ตลุ าคม 2560.
สำนกั ศลิ ปากรที่ ๑๐ นครราชสมี า. 2563. ภาพสลักสำคัญบนใบเสมาบ้านกุดโง้ง ตำบลบุง่ คลา้ อำเภอเมือง
จังหวดั ชยั ภูม.ิ
นายนพสณฑ์ เสฏฐรงั สี. ผเู้ ชย่ี วชาญประวตั ศิ าสตรโ์ บราณคดีทอ้ งถิน่ . ศูนยว์ ัฒนธรรมจงั หวดั ชยั ภมู ิ.
นายทวชิ อาจสนาม. ครโู รงเรียนชมุ ขนบ้านบุ่งคล้าวทิ ยา. ปราชญช์ ุมชน ให้ความรเู้ กย่ี วกับประวตั ิศาสตรช์ ุมชน
เกยี่ วกับใบเสมาบ้านกุดโงง้ ตำบลบุง่ คลา้ อำเภอเมือง จังหวัดชยั ภมู .ิ
กองโบราณคดี กรมศลิ ปากร. แหลง่ โบราณคดีประเทศไทย เลม่ ๔. กรุงเทพฯ: , โรงพิมพ์ ชุมนุมสหกรณ์
การเกษตรแหง่ ประเทศไทย จำกัด ๒๕๕๓. หนา้ ๒๕ – ๒๖.
สำนกั งานโบราณคดีและพิพิธภณั ฑสถานแหง่ ชาติที่ ๙ กรมศิลปากร. แหลง่ อารยธรรม จังหวัดชัยภูมิ
เอกสารอดั สำเนา ๒๕๔๑. หนา้ ๑๕ – ๑๙.
สำนกั งานโบราณคดีและพิพธิ ภณั ฑสถานแห่งชาติที่ ๙ กรมศลิ ปากร. โบราณสถานในเขต จังหวัดชยั ภูมิ
เอกสารอดั สำเนา. หนา้ ๗ – ๑๐.
สำนักงานโบราณคดีและพิพิธภณั ฑสถานแห่งชาติที่ ๙ กรมศิลปากร. นำชมโบราณสถานภพู ระ ใบเสมาบา้ นกุดโง้ง
และปรางค์กู่ จงั หวัดชยั ภูมิ เอกสารอัดสำเนา. หนา้ ๑๙ – ๓๐.
https://www.google.com/maps/ศาลากลางจังหวดั ชัยภมู +ิ ตำบล+ในเมือง+อำเภอเมอื งชยั ภูมิ+ชัยภูมิ/
วัดกุดโง้ง+ตำบล+บงุ่ คล้า+อำเภอเมืองชัยภูมิ+ชยั ภูมิ+36000/.
ยาหมอ่ งขิงแหง้ ไทรงาม
ยาหมอ่ ง เป็นยาทาภายนอกสำหรับบรรเทาอาการปวดเม่ือยตามกลา้ มเน้ือและข้อตอ่ อาการปวด บวม
อกั เสบจากแมลงกัดต่อย หรือใช้ดมเพื่อช่วยบรรเทาอาการวิงเวียนศรีษะ หนา้ มดื เป็นลม สว่ นประกอบหลักของยา
หมอ่ งคือสารระเหยและสารสกดั จากสมุนไพรหลายชนดิ เช่น เมนทอล การบรู บางสตู รอาจมสี ารเมทลิ ซาลิไซเลต
(Methyl Salicylate) เพื่อเพิ่มสรรพคุณบรรเทาอาการปวดให้ดียิง่ ขนึ้
การแปรรูป “ขิงแหง้ ” ซึ่งเป็นสมนุ ไพรอตั ลักษณ์ของชุมชนไทรงาม มาเปน็ ชาขิง และยาหม่อง ขิงแหง้
ปรากฏวา่ ไดร้ บั การตอบรบั ท่ีดีมาก มีการนามาแปรรูปซา้ โดยเฉพาะยาหม่องขิงแห้ง ทาเปน็ รอบ ท่ี 4 จากการแจก จา
หน่าย ใหท้ ดลอง รวมทง้ั สมุนไพรสด ขุดข้ึนมาขายสด แจกจา่ ยใหก้ ับชาวบา้ นทว่ั ไป และขยายเหงา้ มีการเพาะกล้า
สมุนไพรอ่ืนๆ ดว้ ย มีการแบ่งปันพนั ธ์สุ มนุ ไพรรว่ มกบั โครงการปลกู ตน้ ไม้ ปลูกธรรมมะ ได้แก่ ขิงแหง้ 100 ตน้ ฝาง
40 ต้น แค 15 ตน้ ตะไคร้หอม 15 ตน้ หนานเฉาเหวย่ 10 ต้น
ด้วยเหตุทใ่ี นรอบปีท่ีผ่านมา มีการขดุ ขิงแห้งออกมาใช้อยา่ งมากมาย จึงทาให้ชาวบ้านวิตกว่าขงิ แหง้ จะสญู พันธุ์ใน
อนาคต จงึ ร่วมใจกันฟ้ืนฟูขิงแหง้ บนพื้นท่ี 2 งานและพ้ืนที่ 4 ไร่
ยาหมอ่ งขงิ แหง้ ปัจจุบนั เปน็ ที่ภาคภูมิใจของชาวบ้าน มกี ารปรบั ปรุงพฒั นาสตู รให้เน้ือยาหม่อง นม่ิ ข้ึนและมีสนั สันที่
สวยงามขนึ้ อนาคตชาวบา้ นมีความต้ังใจจะไปจดแจง้ กับสานักงานสาธารณสขุ หรือ ผลกั ดันไปสู่ อย. เพ่ือใหส้ ร้าง
เศรษฐกิจชมุ ชนให้แข็งแกร่งข้ึน
สรรพคุณ
1.เมนทอล มฤี ทธเิ์ ย็น ช่วยบรรเทาอาการวิงเวียนศรีษะหน้ามดื ตาลายเมารถเมาเรือ และยังชว่ ย
บรรเทาอาการหวัดคัดจมกู แก้ไขแ้ ก้ไอ
2.พิมเสน เปน็ ยาขับเหง่ือขับเสมหะกระตนุ้ การหายใจเปน็ ยาระงบั ความกระวนกระวายใช้แลว้ ทำ
ใหง้ ่วงซมึ
3.การบูร มรี สร้อนแก้ เคล็ดขดั ยอกแกป้ วดข้อ แก้ปวดเส้นประสาท แกพ้ ษิ แมลงกัดต่อยขบั เหงอื่
ขับเสมหะขับปสั สาวะ ขบั ลม บำรุงธาตุ บำรุงหัวใจ
4.วาสลีน ทำให้เนอื้ ยาหม่องนมุ่ และไมท่ ำให้ผิวไมร่ ะคายเคอื ง
5.ไขผ้งึ ทำให้เน้อื ยาหมอ่ งแข็งตวั ไดด้ ี
วตั ถดุ บิ /อุปกรณ์
1. ไขผึง้ 300 กรมั
2. พิมเสน 200 กรัม
3. เมนทอล 200 กรัม
4. การบูร 200 กรมั
5. นำ้ มันขงิ แหง้ 1000 มลิ ลลิ ิตร
6. วาสลีน 200 กรัม
7. หวั เชื้อกลนิ่ ขิง
8. ขวดยาหมอ่ งขนาด 12 มิลลิกรัม
9. หมอ้ และเตาแก๊ส
10. ตาชัง่
11. ถ้วยตวงนำ้ มนั ขงิ
12. ไมค้ น
ขั้นตอนการทำ
เปิดเตาแกส๊ ไฟกลางๆ ไมร่ ้อนมาก นำหมอ้ มาตง้ั ไฟจากนัน้ นำไขผงึ้ ท่หี ัน่ เปน็ ช้ินเลก็ 300 กรัม มา
ละลาย พอละลายจนหมดนำวาสลนี 200 กรัม ใส่ลงไปแล้วคนใหล้ ะลาย จากนั้นตวงนำ้ มันขงิ
ปริมาตร 1,000 มิลลิลิตร เทลงไป คนให้วตั ถดุ บิ เขา้ กัน จากนน้ั นำพิมเสน 200 กรมั เมนทอล
200 กรัม และการบูร 200 กรมั ลงไปตามลำดับ จากนนั้ เทหวั เช้ือกลิ่นขงิ (สารสกัดจากขงิ )ลงไป
คนใหเ้ ข้ากนั ปดิ เตาแก๊สแล้วเทใสใ่ สข่ วดยาหม่องท่ีเตรยี มไว้ รอใหแ้ ข็งตัวแล้วปดิ ฝา
หมายเหตุ : ทกุ ขั้นตอนควรคนวัตถดุ ิบแต่ละตวั ให้ละลายก่อนจงึ นำวตั ถุดบิ ตัวอ่นื ลงไป
ภาคผนวก