คำ� นำ�
สถานการณโ์ ลกทเ่ี ปลย่ี นแปลงอยา่ งตอ่ เนอื่ งซงึ่ สง่ ผลกระทบตอ่ ประเทศไทย ทงั้ ทางตรง
และทางออ้ ม ไมว่ า่ จะเปน็ การเปลยี่ นแปลงของโครงสรา้ งประชากรทม่ี สี ดั สว่ นวยั แรงงานลดลง
ประชากรผู้สูงอายุเพ่ิมข้ึน ความก้าวหน้าทางวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยีแบบก้าวกระโดด
ตลอดจนการเปลย่ี นแปลงสภาพภมู อิ ากาศ และความเสอื่ มโทรมของระบบนิเวศประกอบกบั
เกดิ โรคตดิ เชอื้ ไวรสั โคโรนา ๒๐๑๙ (COVID-19) เปน็ โรคระบาดทสี่ ง่ ผลใหเ้ กดิ การเปลยี่ นแปลง
ต่อการด�ำเนินชีวิตของผู้คนท�ำให้เกิดวิถีชีวิตแบบใหม่ (New Normal) สิ่งที่จะตามมา คือ
ความท้าทายของประชาชนที่จะปรับตัวอย่างไรให้สามารถด�ำรงชีวิตให้อยู่รอดได้ภายใต้
สภาวะที่ต้องเผชิญในทุกขณะ ด้วยเหตุนี้ ทุกภาคส่วนต่างเล็งเห็นความส�ำคัญในการพัฒนา
ประเทศโดยยดึ หลกั ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง ดงั แผนพฒั นาเศรษฐกจิ และสงั คมแหง่ ชาติ
ฉบับที่ ๑๒ (พ.ศ. ๒๕๖๐ – ๒๕๖๔) ท่ียึดหลัก “ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง” “การพฒั นา
ท่ีย่ังยืน” และ “คนเป็นศูนย์กลางการพัฒนา” และยึดหลักการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ
ท่ีลดความเหล่ือมล�้ำและขับเคล่ือนการเจริญเติบโตจากการเพ่ิมผลิตภาพ การผลิตบนฐาน
การใชภ้ มู ิปญั ญาและนวตั กรรม
กรมการพฒั นาชมุ ชน ขบั เคลอ่ื นภารกจิ เพอื่ ใหส้ อดคลอ้ งกบั ทศิ ทางของยทุ ธศาสตรช์ าติ
แผนแมบ่ ทภายใตย้ ทุ ธศาสตรช์ าติ แผนพฒั นาเศรษฐกจิ และสงั คมแหง่ ชาติ ฉบบั ท่ี ๑๒ นโยบาย
ของรฐั บาล และแผนปฏบิ ตั ริ าชการกระทรวงมหาดไทยเพอื่ มงุ่ สเู่ ปา้ หมายสงู สดุ ภายใตว้ สิ ยั ทศั น์
“เศรษฐกิจฐานรากม่ันคงและชุมชนพึ่งตนเองได้ ภายในปี ๒๕๖๕” ด้วยการพัฒนากลไก
ให้มีศักยภาพ ส่งเสริมการบริหารจัดการชุมชนและเศรษฐกิจฐานรากให้เป็นระบบและมี
ประสิทธิภาพ ตลอดจนพัฒนาเศรษฐกิจฐานรากให้มั่นคง และชุมชนสามารถพึ่งตนเองได้
ในประเด็นการพัฒนาสร้างสรรค์ ชุมชนพ่ึงตนเองได้มีเป้าหมายการพัฒนาเพ่ือให้ประชาชน
มีศักยภาพในการบรหิ ารจัดการและพฒั นาตนเองสู่ความม่นั คง มงั่ คั่ง ยง่ั ยนื และมคี วามสุข
มุ่งเน้นให้ประชาชนใช้ข้อมูลสารสนเทศในการบริหารจัดการชุมชน พัฒนาผู้น�ำให้มี
ความสามารถในการขับเคล่ือนการบริหารจัดการชุมชน ท้ังในรูปแบบการแก้ไขปัญหาความ
ยากจนเชิงบูรณาการ การสร้างความม่ันคงด้านอาชีพและรายได้ และส่งเสริมให้ประชาชน
น้อมน�ำหลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงมาสกู่ ารปฏบิ ตั ิจนเปน็ วถิ ีชวี ิต
เศรษฐกจิ ฐานรากม่นั คงและชุมภชานยพในงึ่ ปตีน๒เอ๕ง๖ไ๕ด้ Change for Good
หนังสือ ๓ สร้าง ทางรอดสังคมไทย เล่มน้ีจะเป็นแนวทางให้ประชาชนได้น้อมน�ำ
ศาสตรพ์ ระราชามาสกู่ ารปฏบิ ตั ิ ทง้ั ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง ซงึ่ จะเปน็ แนวการดำ� รงอยู่
และปฏบิ ตั ิตนของประชาชนในทุกระดับ ตงั้ แต่ระดับครอบครัว ระดับชุมชน จนถงึ ระดับรฐั
ทฤษฎีใหมท่ ี่เป็นแนวทางหรอื หลกั การในการบรหิ าร การจัดการท่ีดนิ และน้�ำเพอื่ การเกษตร
ในทดี่ นิ ขนาดเลก็ ใหเ้ กดิ ประโยชนส์ งู สดุ และทฤษฎบี นั ได ๙ ขน้ั ทเี่ ปน็ แนวทางการนำ� ไปปฏบิ ตั ิ
ในการด�ำรงชีวิตตามล�ำดับขั้นจากขั้นพื้นฐานก่อนแล้วจึงพัฒนาไปสู่ขั้นก้าวหน้า เพื่อเดิน
ทีละข้ันแบบย่ังยืนและม่ันคง นอกจากนี้ยังได้หยิบยกแนวปฏิบัติการสร้างความมั่นคง
ด้านอาหาร การสร้างส่ิงแวดล้อมให้ย่ังยืน และการสร้างภูมิคุ้มกันทางสังคม พร้อมตัวอย่าง
การด�ำเนินกิจกรรม ท่ีล้วนน�ำไปสู่การพ่ึงพาตนเอง สร้างภูมิคุ้มกันในการด�ำเนินชีวิตให้กับ
ตนเอง และจดั การความเสี่ยงอย่างเหมาะสม
คณะผจู้ ัดพิมพ์หวงั เปน็ อย่างยงิ่ ว่า หนังสือเลม่ น้จี ะเปดิ ประเด็นให้เกดิ การแลกเปลีย่ น
เรียนรู้ ศึกษาค้นคว้า และต่อยอดพัฒนาให้เกิดประโยชน์ต่อกระแส การน้อมน�ำศาสตร์
พระราชาสกู่ ารปฏบิ ตั เิ พือ่ เปน็ ทางรอดของตนเอง ครอบครวั และชมุ ชนต่อไป
กรมการพฒั นาชมุ ชน
กรกฎาคม ๒๕๖๓
เศรษฐกิจฐานรากมัน่ คงและชุมภชานยพในึ่งปตีน๒เอ๕ง๖ไ๕ด้ Change for Good
สารบญั
เรอื่ ง หนา้
น้อมน�ำศาสตรพ์ ระราชา ๑
• ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง
๑๖
• ทฤษฎีใหม่ ๒๐
• หลักทฤษฎบี ันได ๙ ขน้ั ๒๘
โครงการสรา้ งความม่นั คงดา้ นอาชพี และรายได้ ๘๐
ตามหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง ๙๒
เชือ่ มโยง…การน้อมนำ� ปรัชญาของ
เศรษฐกจิ พอเพยี งสู่การปฏิบตั ิ
๓ สรา้ ง ทางรอดสังคมไทย
ตัวอย่างจากพนื้ ท่ี
เอกสารอ้างองิ
เศรษฐกจิ ฐานรากมนั่ คงและชุมภชานยพใน่ึงปตีน๒เอ๕ง๖ไ๕ด้ Change for Good
เศรษฐกจิ ฐานรากม่นั คงและชมุ ภชานยพในึง่ ปตีน๒เอ๕ง๖ไ๕ด้ Change for Good
นอ้ มน�ำ
ศาสตร์พระราชา
เศรษฐกิจฐานรากมั่นคงและชุมภชานยพใน่งึ ปตีน๒เอ๕ง๖ไ๕ด้ Change for Good
เศรษฐกจิ ฐานรากม่นั คงและชมุ ภชานยพในึง่ ปตีน๒เอ๕ง๖ไ๕ด้ Change for Good
ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
ความส�ำคญั
พระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร
ทรงมีพระราชด�ำรัสที่เก่ียวข้องกับปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงเป็นคร้ังแรกในพิธี
พระราชทานปริญญาบัตร ณ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ เม่ือวันที่ ๑๘ มีนาคม ๒๕๑๗
ความว่า ...
“...การพฒั นาประเทศจำ� เปน็ ตอ้ งทำ� ตามลำ� ดบั ขน้ั ตอ้ งสรา้ งพน้ื ฐาน คอื ความพอมี
พอกนิ พอใช้ ของประชาชนสว่ นใหญเ่ ปน็ เบอ้ื งตน้ กอ่ น โดยใชว้ ธิ กี ารและอปุ กรณท์ ปี่ ระหยดั
แตถ่ กู ตอ้ งตามหลกั วชิ า เมอ่ื ไดพ้ นื้ ฐานมน่ั คงพรอ้ มพอควร และปฏบิ ตั ไิ ดแ้ ลว้ จงึ คอ่ ยสรา้ ง
ความเจรญิ และฐานะทางเศรษฐกจิ ขน้ั สงู ขน้ึ โดยลำ� ดบั ตอ่ ไป หากมงุ่ แตจ่ ะสรา้ งความเจรญิ
ยกเศรษฐกิจขึ้นให้รวดเร็วแต่ประการเดียวโดยไม่ให้แผนปฏิบัติการสัมพันธ์กับสภาวะ
ของประเทศและของประชาชนโดยสอดคลอ้ งดว้ ย กจ็ ะเกดิ ความไมส่ มดลุ ในเรอ่ื งตา่ ง ๆ ขนึ้
ซ่ึงอาจกลายเป็นความยุ่งยากล้มเหลวได้ในท่ีสุด ดังเห็นได้ท่ีอารยประเทศหลายประเทศ
กำ� ลงั ประสบปญั หาทางเศรษฐกจิ อยา่ งรุนแรงอยู่ในเวลาน.้ี ..”
และทรงมพี ระราชดำ� รสั เกยี่ วกบั ปรชั ญาเศรษฐกจิ พอเพยี งพระราชทานแกค่ ณะบคุ คล
ต่าง ๆ ท่ีเข้าเฝ้าฯ ถวายชัยมงคลในโอกาสวันเฉลิมพระชนมพรรษา ณ ศาลาดุสิดาลัย
สวนจติ รลดาพระราชวงั ดุสิตเพม่ิ เติมอีกหลายคร้งั ดงั น้ี
“...คำ� วา่ เศรษฐกจิ พอเพยี งนี้ ไมม่ ใี นตำ� รา ไมเ่ คยมรี ะบบเศรษฐกจิ พอเพยี ง มอี ยา่ งอนื่
แตไ่ มใ่ ช้คำ� น้ี ปีที่แล้วพูดว่าเศรษฐกจิ พอเพยี งเพราะหาค�ำอนื่ ไมไ่ ดแ้ ละได้พูดอย่างหน่งึ ว่า
เศรษฐกจิ พอเพยี งนี้ ใหป้ ฏบิ ตั เิ พยี งครง่ึ เดยี วคอื ไมต่ อ้ งทง้ั หมด หรอื แมจ้ ะเศษหนง่ึ สว่ นสกี่ พ็ อ
ในคราวน้ันเม่ือปีที่แล้วนึกว่าเข้าใจกัน แต่เมื่อไม่นานเดือนท่ีแล้วมีผู้ท่ีควรจะรู้ เพราะว่า
ได้ปฏิบัติเก่ียวกับการพัฒนามาช้านานแล้วมาบอกว่าเศรษฐกิจพอเพียงน่ีดีมาก แล้วก็
เข้าใจว่าปฏิบัติเพียงเศษหนึ่งส่วนสี่ก็พอนั้น หมายความว่า ถ้าท�ำได้เศษหน่ึงส่วนส่ี
ของประเทศกจ็ ะพอ ความหมายของเศรษฐกพิ อเพยี ง และทำ� ไดเ้ พยี งเศษหนงึ่ สว่ นสก่ี พ็ อนน้ั
๓ สรา้ ง ทางรอดสงั คมไทย หนา้ 1
ไม่ได้แปลว่าเศษหนึ่งส่วนสี่ของพ้ืนที่ แต่เศษหน่ึงส่วนสี่ของการกระท�ำ ต้องพูดเข้าใน
เรอ่ื งเลย เพราะหนกั ใจวา่ แมแ้ ตค่ นทเ่ี ปน็ ดอกเตอรก์ ไ็ มเ่ ขา้ ใจ อาจจะพดู ไมช่ ดั แตเ่ มอื่ กลบั ไปดทู ่ี
เขียนจากท่ีพูดก็ชัดแล้วว่าควรจะปฏิบัติเศรษฐกิจพอเพียงไม่ต้องท้ังหมด เพียงครึ่งหน่ึง
กใ็ ชไ้ ด้แมจ้ ะเปน็ เศษหนง่ึ สว่ นสกี่ พ็ อหมายความวา่ วธิ ปี ฏบิ ตั เิ ศรษฐกจิ พอเพยี งนนั้ ไมต่ อ้ งทำ�
ทงั้ หมดและขอเตมิ วา่ ถา้ ทำ� ทง้ั หมดกจ็ ะทำ� ไมไ่ ด?้ ฉะนนั้ จงึ พดู วา่ เศรษฐกจิ พอเพยี ง ปฏบิ ตั ิ
เพียงเศษหน่ึงส่วนส่ีก็ควรจะพอ และท�ำได้ อันนี้เป็นข้อหนึ่ง ท่ีจะอธิบายค�ำพูดท่ีพูดมา
เมอ่ื ปที แี่ ลว้ ...”
พระราชดำ� รสั เนื่องในโอกาสวนั เฉลมิ พระชนมพรรษา
ณ ศาลาดสุ ิดาลัย สวนจติ รลดา พระราชวังดสุ ิต
เมอื่ วันท่ี ๔ ธนั วาคม พ.ศ. ๒๕๔๐
“...ค�ำว่าพอเพียงมีความหมายอีกอย่างหน่ึง มีความหมายกว้างออกไปอีก ไม่ได้
หมายถึงการมีพอส�ำหรับใช้เองเท่าน้ัน แต่มีความหมายว่าพอมีพอกิน พอมี พอกินนี้
ถา้ ใครได้มาอย่ทู นี่ ่ี ในศาลาน้ี เมอ่ื ปี ๒๕๑๗ ถงึ ๒๕๔๑ นี้ ก็ ๒๔ ปี ใช่ไหมวนั นนั้ ได้พูดวา่
เราควรจะปฏบิ ตั ใิ หพ้ อมพี อกนิ พอมพี อกนิ นก้ี แ็ ปลวา่ เศรษฐกจิ พอเพยี งนน่ั เอง ถา้ แตล่ ะคน
พอมีพอกินก็ใช้ได้ ย่ิงถ้าท้ังประเทศพอมีพอกินก็ย่ิงดีและประเทศไทย เวลานั้นก็เร่ิมจะ
ไม่พอมี พอกนิ บางคนกม็ มี าก บางคนก็ไมม่ เี ลย สมัยกอ่ นน้พี อมีพอกิน มาสมัยน้ีชักจะไม่
พอมพี อกนิ จงึ ตอ้ งมนี โยบายทจ่ี ะทำ� เศรษฐกจิ พอเพยี ง เพอ่ื ทจ่ี ะใหท้ กุ คนมพี อเพยี งได.้ ..”
“...ให้พอเพียงนี้ก็หมายความว่า มีกินมีอยู่ ไม่ฟุ่มเฟือย ไม่หรูหราก็ได้ แต่ว่าพอ
แมบ้ างอยา่ งอาจจะดฟู มุ่ เฟอื ย แตถ่ า้ ทำ� ใหม้ คี วามสขุ ถา้ ทำ� ไดก้ ส็ มควรทจ่ี ะทำ� สมควรทจี่ ะ
ปฏบิ ตั ิ อันนี้กค็ วามหมายอีกอยา่ งของเศรษฐกจิ หรือระบบพอเพียงเม่อื ปที ีแ่ ล้วตอนท่พี ูด
พอเพียงแปลในใจแล้วก็ไดพ้ ดู ออกมาดว้ ยวา่ จะแปลเปน็ Self-sufficiency (พ่ึงตนเอง)
ถึงได้บอกว่าพอเพียงแก่ตนเอง แต่ความจริงเศรษฐกิจพอเพียงนี้กว้างขวางกว่า
Self-sufficiency คือ Self- sufficiency นั้น หมายความว่า ผลิตอะไรมีพอท่ีจะใช้
ไม่ตอ้ งไปขอซื้อคนอน่ื อยู่ได้ดว้ ยตนเอง...”
หน้า 2 ๓ สร้าง ทางรอดสังคมไทย
“...แตพ่ อเพยี งนม้ี คี วามหมายกวา้ งขวางยง่ิ กวา่ นอี้ กี คอื คำ� วา่ พอกเ็ พยี งพอ เพยี งนี้
ก็พอดังนั้นเอง คนเราถ้าพอในความต้องการ ก็มีความโลภน้อย เมื่อมีความโลภน้อย
ก็เบียดเบียนคนอื่นน้อย ถ้าทุกประเทศมีความคิด “อันน้ีไม่ใช่เศรษฐกิจ” มีความคิดว่า
ท�ำอะไรต้องพอเพียง หมายความว่า พอประมาณ ไม่สุดโต่ง ไม่โลภอย่างมาก คนเราก็
อยเู่ ปน็ สขุ พอเพยี งนอ้ี าจจะมมี าก อาจจะมขี องหรหู รากไ็ ด้ แตว่ า่ ตอ้ งไมไ่ ปเบยี ดเบยี นคนอน่ื
ตอ้ งใหพ้ อประมาณตามอตั ภาพ พดู จากพ็ อเพยี งทำ� อะไรกพ็ อเพยี ง ปฏบิ ตั ติ นกพ็ อเพยี ง...”
พระราชดำ� รัสเน่อื งในโอกาสวนั เฉลิมพระชนมพรรษา
ณ ศาลาดสุ ดิ าลยั สวนจติ รลดา พระราชวังดุสิต
เมือ่ วนั ที่ ๔ ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๔๑
“...เศรษฐกจิ พอเพยี งนน้ั เขาตคี วามวา่ เปน็ เศรษฐกจิ ชมุ ชน หมายความวา่ ใหพ้ อเพยี ง
ในหมบู่ า้ นหรอื ในทอ้ งถนิ่ ใหส้ ามารถทจ่ี ะมพี อกนิ เรมิ่ ดว้ ยพอมพี อกนิ พอมพี อกนิ นไ่ี ดพ้ ดู มา
หลายปี สบิ กวา่ ปมี าแลว้ ใหพ้ อมพี อกนิ แตว่ า่ พอมพี อกนิ นี้ เปน็ เพยี งเรมิ่ ตน้ ของเศรษฐกจิ
เมื่อปที ี่แล้วบอกว่า ถา้ พอมีพอกิน คือ พอมพี อกนิ ของตัวเองนนั้ ไมใ่ ช่เศรษฐกจิ พอเพยี ง
เปน็ เศรษฐกจิ สมยั หนิ สมัยหนิ นัน้ เป็นเศรษฐกิจพอเพยี งเหมือนกนั แต่วา่ คอ่ ย ๆ พฒั นา
ขึน้ มา...”
พระราชดำ� รัสเนื่องในโอกาสวนั เฉลมิ พระชนมพรรษา
ณ ศาลาดุสิดาลัย สวนจิตรลดา พระราชวงั ดุสิต
เม่อื วันที่ ๔ ธนั วาคม พ.ศ. ๒๕๔๑
พระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร
ทรงมีพระราชด�ำรัสชัดเจน เม่ือวันที่ ๔ ธนั วาคม ๒๕๔๐ เพอื่ เป็นแนวทางในการแก้ไขปญั หา
เศรษฐกิจของประเทศจากวิกฤติต้มย�ำกุ้ง ซึ่งเร่ิมจากเดือนกรกฎาคม ๒๕๔๐ และเมื่อวันที่
๔ ธันวาคม ๒๕๔๑ ทรงพระราชทานหลักคิดและหลักปฏิบัติเรื่องเศรษฐกิจพอเพียง
เพ่ือเป็นแนวทางการด�ำเนินชีวิตของคนไทยและย�้ำถึงการท�ำให้ พอเพียงส�ำหรับตนเอง
(Self-sufficiency) และแตกต่างกบั เศรษฐกจิ พอเพยี ง (Self-sufficiency of Economy)
ที่หมายถึง การท�ำอะไรใหเ้ หมาะสมกบั ฐานะของตนเอง และอกี คร้ัง ณ พระตำ� หนักเปีย่ มสุข
เมื่อวันที่ ๑๗ มกราคม ๒๕๔๔ พระองค์ทรงย้�ำว่า เศรษฐกิจพอเพียง (Self-sufficiency
of Economy) หมายถึงการกระท�ำอะไรให้เหมาะสมกับฐานะของตนเอง ถ้ามุมมองระดับ
ชาวบา้ นนน้ั คอื การท�ำเองไดบ้ นพ้ืนฐานของความมีเหตุผลแต่เรยี บง่าย
๓ สรา้ ง ทางรอดสงั คมไทย หน้า 3
องคป์ ระกอบปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียง ประกอบด้วยคุณลักษณะ ๓ ประการ และเง่ือนไข ๒ ประการ
หรอื ทเ่ี รยี กว่า ๓ ห่วง ๒ เงอื่ นไข คอื
ความพอประมาณ หมายถงึ ความพอดตี อ่ ความจำ� เปน็ และเหมาะสมกบั ฐานะของตนเอง
สงั คม สง่ิ แวดลอ้ ม รวมทั้งวฒั นธรรมในแตล่ ะท้องถิน่ ไมม่ ากเกนิ ไป ไมน่ ้อยเกนิ ไป และตอ้ ง
ไม่เบยี ดเบยี นตนเองและผูอ้ ่ืน เช่น การผลติ และการบริโภคทอี่ ยูใ่ นระดบั พอประมาณ
ความมีเหตุผล หมายถึง การตัดสินใจด�ำเนินการเรื่องต่าง ๆ อย่างมีเหตุผล
ตามหลกั วิชาการ หลักกฎหมาย หลักศลี ธรรมจริยธรรม และวัฒนธรรมทด่ี ีงาม โดยพิจารณา
จากเหตุปัจจัยท่ีเก่ียวข้อง ตลอดจนค�ำนึงถึงผลที่คาดว่าจะเกิดขึ้นจากการกระท�ำน้ัน ๆ
อยา่ งรอบรแู้ ละรอบคอบ
ระบบภูมิคุ้มกันในตัวที่ดี หมายถึง การเตรียมตัวให้พร้อมรับต่อผลกระทบและ
การเปล่ียนแปลงในด้านต่าง ๆ ไม่วา่ จะเป็นดา้ นเศรษฐกิจ สังคม ส่งิ แวดล้อม และวฒั นธรรม
โดยคำ� นงึ ถงึ ความเปน็ ไปไดข้ องสถานการณต์ า่ ง ๆ ทคี่ าดวา่ จะเกดิ ขนึ้ ในอนาคต เพอื่ ใหส้ ามารถ
ปรับตัวและรับมือได้อย่างทนั ทว่ งที
หน้า 4 ๓ สรา้ ง ทางรอดสงั คมไทย
โดยมีเงื่อนไขของการตัดสินใจและด�ำเนินกิจกรรมต่าง ๆ ให้อยู่ในระดับพอเพียง
๒ ประการ ดงั น้ี
เง่อื นไขคณุ ธรรม ทจ่ี ะต้องสร้างเสริมให้เปน็ พืน้ ฐานจติ ใจของคนในชาติ ประกอบดว้ ย
ดา้ นจติ ใจ คอื การมคี วามตระหนกั ในคณุ ธรรม รผู้ ดิ ชอบชว่ั ดี มคี วามซอ่ื สตั ยส์ จุ รติ ใชส้ ตปิ ญั ญา
อยา่ งถูกตอ้ งและเหมาะสมในการดำ� เนนิ ชวี ติ และด้านการกระทำ� คอื มคี วามขยันหม่ันเพียร
อดทน ไม่โลภ ไมต่ ระหน่ี รู้จกั แบ่งปนั และรบั ผิดชอบในการอยู่ร่วมกบั ผู้อืน่ ในสงั คม
เงื่อนไขความรู้ ประกอบด้วย ท่ีจะต้องฝึกฝนให้มีความรอบรู้เก่ียวกับวิชาการต่าง ๆ
ที่เกี่ยวข้องรอบด้าน ความรอบคอบท่ีจะน�ำความรู้เหล่าน้ัน มาพิจารณาให้เช่ือมโยงกัน
เพอ่ื ประกอบการวางแผนและความระมดั ระวงั ในการปฏิบตั ิ
จากแนวคดิ เศรษฐกจิ พอเพียง สรปุ นัยยะส�ำคัญได้ดังน้ี
เศรษฐกิจพอเพียง เป็นปรัชญาที่ชี้แนะแนวทางการด�ำรงอยู่และปฏิบัติตนในทาง
ที่ควรจะเป็น โดยมีพื้นฐานมาจากวิถีชีวิตดั้งเดิมของสังคมไทย สามารถน�ำมาประยุกต์ใช้ได้
ตลอดเวลา และเป็นการมองโลกเชิงระบบท่ีมีการเปล่ียนแปลงอยู่ตลอดเวลา มุ่งเน้น
การรอดพน้ จากภยั และวิกฤตเพ่ือความมัน่ คงและความยงั่ ยนื ของการพฒั นา
เศรษฐกจิ พอเพยี ง ตามแนวพระราชดำ� ริ มจี ดุ ม่งุ หมายส�ำคญั คือ
๑. สามารถพงึ่ ตนเองได้
๒. ใหพ้ น้ จากความยากจน
๓. ให้พอมีพอกิน และมสี ัมมาอาชีพ
๔. ใหม้ ชี ีวิตท่ีเรียบงา่ ย ประหยัด ไม่ฟุ้งเฟ้อฟมุ่ เฟือย
๕. ใหย้ ดึ ถอื ทางสายกลาง รจู้ ักพอ พอดี และพอใจ
เศรษฐกิจพอเพียง มีจุดประสงค์สูงสุด คือ ความมั่นคงและยั่งยืนของทั้งส่วนบุคคล
และสังคม นำ� ไปส่สู งั คมทเี่ ข้มแขง็ และพงึ ประสงค์ คอื
๑. สังคมคุณภาพ ยึดหลกั ความสมดลุ ความพอดี สร้างทุกคน เปน็ คนดี คนเกง่
๒. สังคมแห่งภูมิปัญญาและการเรียนรู้ ให้คิดเป็นท�ำเป็น แก้ปัญหาเป็น มีเหตุผล
และสร้างสรรค์
๓. สงั คมสมานฉันทแ์ ละเอ้อื อาทรตอ่ กัน รรู้ กั สามคั คี
๔. สงั คมสมดลุ คน + สงั คม + ธรรมชาติ (ส่ิงแวดล้อม)
๓ สรา้ ง ทางรอดสงั คมไทย หน้า 5
เศรษฐกิจพอเพียง สามารถน�ำมาประยุกต์ใช้กับการปฏิบัติตนได้ในทุกระดับโดยเน้น
การปฏิบัติบนทางสายกลาง และการพฒั นาอย่างเปน็ ขั้นตอน
เศรษฐกจิ พอเพียง เปน็ แนวคิดท่ียดึ ทางสายกลางหรือความพอดี ในการพ่ึงพาตนเอง
๒ ระดบั คอื
๑. ระดับบุคคล คือ ความสามารถในการดำ� รงชวี ติ ได้อยา่ งไมเ่ ดือดรอ้ น มคี วามเปน็ อยู่
อยา่ งประมาณตนตามฐานะ ตามอตั ภาพ และทส่ี ำ� คญั ไมห่ ลงใหลไปตามกระแสของวตั ถนุ ยิ ม
มีอิสระเสรภี าพไม่พนั ธนาการอยกู่ บั สิ่งใด
๒. ระดบั สงั คม คอื ความสามารถของชมุ ชน สงั คม และประเทศ ในการผลติ และบรกิ าร
เพอ่ื ใหส้ งั คมอยู่รอดอย่ไู ด้โดยการพง่ึ ตนเอง
ทางสายกลาง หรือความพอดีหรือความพอเพียง อันจะน�ำไปสู่เศรษฐกิจพอเพียง
ทร่ี ะดับบคุ คล และสงั คม มีขอบเขตหลกั ในการปฏิบัตใิ หส้ ามารถพึ่งตนเองได้ ๕ ประการ คือ
๑. ดา้ นจิตใจ
๑.๑ มีจติ ใจเข้มแขง็ สามารถพ่ึงตนเองได้
๑.๒ มีจิตสำ� นกึ ทดี่ ี
๑.๓ มคี วามคิดเชงิ สร้างสรรคแ์ กต่ นเองและสังคม
๑.๔ มจี ติ ใจเอ้อื อาทร ประนีประนอม
๑.๕ เห็นแกป่ ระโยชน์ส่วนรวมเป็นท่ีตง้ั
๒. ดา้ นสงั คม
๒.๑ มคี วามชว่ ยเหลอื เกือ้ กลู กนั
๒.๒ มีความสามคั คี
๒.๓ มคี วามเชอ่ื มโยงเปน็ เครอื ข่ายทีเ่ ข้มแข็ง
๒.๔ มคี วามเปน็ อสิ ระในการคดิ การดำ� เนินการ
๓. ด้านเศรษฐกจิ
๓.๑ ลดรายจ่าย เพมิ่ รายได้
๓.๒ ยึดหลักพออย่พู อกนิ พอใช้
๓.๓ มีการวางแผนอยา่ งรอบคอบในด้านการใชจ้ า่ ย
๓.๔ มีความร้คู วามสามารถในการจัดการทรพั ย์สนิ ทีม่ อี ยู่
๓.๕ มีภมู ิคุม้ กันในความเสี่ยง
๓.๖ มแี ผนสำ� รองเป็นทางเลือก
หนา้ 6 ๓ สรา้ ง ทางรอดสังคมไทย
๔. ด้านเทคโนโลยี
๔.๑ มภี ูมิปัญญาพนื้ ฐานในการแยกแยะสังคมที่ดี ไม่ดี ควรไมค่ วร
๔.๒ ร้จู กั เลอื กใช้ในสิ่งทเี่ หมาะสมกบั ความต้องการ
๔.๓ รูจ้ ักปรับปรุงให้เหมาะสมกบั สภาพแวดลอ้ มและความเป็นจริง
๔.๔ มีการพฒั นาภูมิปญั ญาของตนเองให้กา้ วหนา้
๕. ดา้ นทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละสง่ิ แวดล้อม
๕.๑ รู้จักใช้เทคโนโลยีอย่างชาญฉลาดสอดคล้องกับบริบททางธรรมชาติและ
สงิ่ แวดลอ้ ม
๕.๒ พยายามหาวิชาการในการเพมิ่ มูลค่าจากภมู ิปญั ญาที่มอี ยู่
๕.๓ สามารถอยใู่ นธรรมชาตแิ ละสงิ่ แวดลอ้ มไดอ้ ยา่ งมคี วามสุข
๕.๔ รจู้ กั รักษาพัฒนาและใชป้ ระโยชน์ไดอ้ ยา่ งเหมาะสม ค้มุ ค่ากบั คนหมู่มาก
๕.๕ ยึดหลกั ความเข้มแข็งและย่ังยนื
ฐานความคดิ การพัฒนาเพอื่ ความพอเพียง ควรมหี ลกั การ ดังน้ี
๑. ยึดแนวพระราชดำ� รใิ นการพัฒนา “เศรษฐกิจพอเพียง” ตามขั้นตอน “ทฤษฎีใหม”่
๒. สรา้ ง “พลงั งานทางสงั คม” โดยการประสาน “พลงั สรา้ งสรรค”์ ของทกุ ฝา่ ยในลกั ษณะ
“พหุภาคี” อาทิ ภาครัฐ องค์กรพัฒนาเอกชน นักวิชาการ ธุรกิจเอกชน ส่ือมวลชน ฯลฯ
เพอ่ื ใช้ขบั เคล่ือนกระบวนการพฒั นาธรุ กิจชมุ ชน
๓. ยดึ “พนื้ ท”ี่ เปน็ หลกั และใช้ “องคก์ รชมุ ชน” เปน็ ศนู ยก์ ลางการพฒั นา สว่ นภาคอี น่ื ๆ
ทำ� หน้าทชี่ ว่ ยกระตุ้นอ�ำนวยความสะดวก สง่ เสริม สนับสนุน
๔. ใช้“กจิ กรรม”ของชมุ ชนเปน็ “เครอื่ งมอื ”สรา้ ง“การเรยี นร”ู้ และ“การจดั การ”รว่ มกนั
พรอ้ มทงั้ พฒั นา“อาชพี ทห่ี ลากหลาย” เพอื่ เปน็ “ทางเลอื ก” ของคนในชมุ ชน ซงึ่ มคี วามแตกตา่ ง
ท้งั ดา้ นเพศ วัย การศกึ ษา ความถนัด ฐานะเศรษฐกิจ ฯลฯ
๕. ส่งเสริม “การรวมกลุ่ม” และ “การสร้างเครือข่าย” องค์กรชุมชน เพื่อสร้าง
“คณุ ธรรมจรยิ ธรรม” และ “การเรยี นรทู้ ม่ี คี ณุ ภาพ” อยา่ งรอบดา้ นอาทกิ ารศกึ ษาสาธารณสขุ
การฟ้ืนฟูวัฒนธรรม การจัดการส่ิงแวดลอ้ ม ฯลฯ
๖. วิจัยและพัฒนา “ธรุ กจิ ชุมชนครบวงจร” (ผลติ - แปรรูป - ขาย - บริโภค) โดยให้
ความสำ� คญั ตอ่ “การมสี ว่ นรว่ ม” ของคนในชมุ ชน และ “ฐานทรพั ยากรของทอ้ งถน่ิ ” ควรเรมิ่
พัฒนาจากวงจรธุรกิจขนาดเล็กในระดับท้องถ่ินไปสู่วงจรธุรกิจท่ีใหญ่ข้ึนระดับประเทศ
และระดบั ตา่ งประเทศ
๓ สร้าง ทางรอดสงั คมไทย หนา้ 7
๗. พฒั นาเศรษฐกจิ ชมุ ชนทมี่ ี “ศกั ยภาพสงู ” ของแตล่ ะเครอื ขา่ ย ใหเ้ ปน็ “ศนู ยก์ ารเรยี นรู้
ธุรกิจชุมชน” ท่ีมีข้อมูลข่าวสารธุรกิจนั้น ๆ อย่างครบวงจร พร้อมทั้งใช้เป็นสถานท่ีส�ำหรับ
ศึกษา ดูงาน และฝกึ อบรม
อาจกล่าวโดยสรุปได้ว่า เศรษฐกิจพอเพียง เป็นปรัชญาชี้ถึงแนวการด�ำรงอยู่และ
ปฏบิ ตั ติ นของประชาชนในทกุ ระดบั ตง้ั แต่ระดบั ครอบครวั ระดับชมุ ชน จนถงึ ระดับประเทศ
ทั้งในด้านการพัฒนาและการบริหารที่ให้ด�ำเนินไปในทางสายกลางความพอเพียง หมายถึง
ความพอประมาณ ความมีเหตุผล รวมถึงความจ�ำเป็นท่ีจะต้องมีระบบภูมิคุ้มกันในตัวท่ีดี
พอสมควรต่อการกระทบใด ๆ อันเกิดจากการเปลี่ยนแปลงท้ังภายในภายนอก ทั้งนี้จะต้อง
อาศัยความรอบรู้ความรอบคอบและความระมัดระวังอย่างย่ิง โดยการน�ำวิชาการต่าง ๆ
มาใช้ในการวางแผนและการด�ำเนินการทุกขั้นตอน และในขณะเดียวกันก็จะต้องเสริมสร้าง
พ้ืนฐานจิตใจของคนในชาติ ให้ส�ำนึกในคุณธรรม ความซื่อสัตย์สุจริต และให้มีความรอบรู้
ทเ่ี หมาะสม ดำ� เนนิ ชวี ติ ดว้ ยความอดทน ความขยนั หมนั่ เพยี ร มสี ตปิ ญั ญาและความรอบคอบ
เพื่อให้สมดุลและพร้อมต่อการรองรับการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็วและกว้างขวาง ท้ังด้าน
วัตถุ สงั คม สิง่ แวดล้อมและวัฒนธรรมจากโลกภายนอก
หนา้ 8 ๓ สร้าง ทางรอดสังคมไทย
ทฤษฎใี หม่
ทฤษฎใี หม่ แนวทางการพงึ่ ตนเอง
“ทฤษฎีใหม่” เป็นแนวพระราชด�ำริในพระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร
มหาภมู ิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพติ ร ทที่ รงพระราชทานไว้เปน็ แนวคดิ และแนวทาง
ในการดำ� รงชวี ติ ทน่ี �ำไปส่คู วามสามารถในการพง่ึ ตนเองในระดบั ตา่ ง ๆ อยา่ งเป็นขั้นเป็นตอน
บนพน้ื ฐานปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง เพอ่ื ลดความเสย่ี งในการเปลย่ี นแปลงของปจั จยั ตา่ ง ๆ
ตลอดจนความผันแปรของธรรมชาติ
“ทฤษฎีใหม่” เป็นระบบการพัฒนาที่มีมากกว่า ๔๐ ทฤษฎี ผ่านหลักการทรงงาน
จนน�ำไปสู่การปฏิบัติได้จริงนั้น เช่น ทฤษฎีการท�ำฝนเทียมเพ่ือแก้ปัญหาความแห้งแล้ง
ทฤษฎกี ารสรา้ งฝายชะลอนำ้� ทฤษฎกี ารจดั การนำ้� ทว่ มดว้ ยแกม้ ลงิ เพอื่ กกั เกบ็ นำ้� ฯลฯ เหลา่ น้ี
สามารถน�ำมาใช้ร่วมกันเพ่ือน�ำไปสู่เป้าหมายในการพ่ึงตนเองได้ ให้เกษตรกรสามารถ
มคี วามพออยู่ พอกนิ พอใช้ และกา้ วไปสกู่ ารรว่ มกนั จดั การทรพั ยากรธรรมชาตอิ ยา่ งเปน็ ระบบ
และการสร้างความร่วมมือระหว่างเครือข่ายจนสามารถพัฒนาสู่ขั้นก้าวหน้าได้ พระองค์
ทรงวางระบบทฤษฎใี หมอ่ ยา่ งเปน็ ขนั้ ตอน ผา่ นการวางแผน ทดลอง วจิ ยั จนกลายเปน็ โครงการ
อนั เนอ่ื งมาจากพระราชดำ� ริ ๔,๗๔๑ โครงการ (สำ� นกั งานคณะกรรมการพเิ ศษ เพอ่ื ประสานงาน
โครงการอนั เนอ่ื งมาจากพระราชดำ� ริ : สำ� นกั งาน กปร., ๒๕๖๐) และทเี่ ปน็ โครงการพระราชดำ� ริ
ทสี่ ำ� คญั ในดา้ นโครงการทฤษฎใี หม่ ดา้ นการจดั การนำ้� ตง้ั อยู่ ณ วดั มงคลชยั พฒั นา ตำ� บลหว้ ยบง
อ�ำเภอเฉลิมพระเกียรติ จังหวัดสระบุรี สู่การปฏิบัติอย่างเป็นรูปธรรมท่ีเป็นต้นแบบ
การท�ำเกษตรทฤษฎีใหมท่ วั่ ประเทศ
๓ สร้าง ทางรอดสังคมไทย หนา้ 9
พระราชด�ำริ “ทฤษฎีใหม่” เป็นแนวทางหรือหลักการในการจัดการทรัพยากรระดับ
ไรน่ า คือ ที่ดินและนำ้� เพือ่ การเกษตร ในที่ดนิ ขนาดเล็ก ใหเ้ กิดประโยชน์สูงสดุ ดงั น้ี
๑. มกี ารบรหิ ารและจดั แบง่ ทด่ี นิ แปลงเลก็ ออกเปน็ สดั สว่ นทช่ี ดั เจน เพอื่ ประโยชนส์ งู สดุ
ของเกษตรกร ซึง่ ไม่เคยมใี ครคดิ มาก่อน
๒. มีการค�ำนวณโดยหลักวิชาการเกี่ยวกับปริมาณน้�ำท่ีจะกักเก็บให้พอเพียงต่อการ
เพาะปลูกได้ตลอดปี
๓. มีการวางแผนท่สี มบรู ณแ์ บบส�ำหรับเกษตรกรรายย่อย ๓ ข้ันตอน เพ่อื ให้พอเพียง
สำ� หรบั เลยี้ งตนเองและเพ่อื เป็นรายได้ ดังนี้
ขนั้ ท่ี ๑ ทฤษฎใี หมข่ น้ั ตน้ สถานะพนื้ ฐานของเกษตรกร คอื มพี น้ื ทนี่ อ้ ย คอ่ นขา้ งยากจน
อยใู่ นเขตเกษตรนำ้� ฝนเปน็ หลกั โดยในขน้ั ท่ี ๑ นม้ี วี ตั ถปุ ระสงคเ์ พอ่ื สรา้ งเสถยี รภาพของการผลติ
เสถยี รภาพดา้ นอาหารประจำ� วนั ความมนั่ คงของรายได้ ความมน่ั คงของชวี ติ และความมน่ั คง
ของชุมชนชนบท เป็นเศรษฐกิจพึ่งตนเองมากขึ้น มีการจัดสรรพื้นท่ีท�ำกินและที่อยู่อาศัย
ให้แบ่งพน้ื ที่ ออกเปน็ ๔ ส่วน ตามอัตราสว่ น ๓๐:๓๐:๓๐:๑๐ ซงึ่ หมายถึง พน้ื ทีส่ ่วนทห่ี นึง่
ประมาณ ๓๐% ให้ขุดสระเก็บกักน้�ำ เพื่อใช้เก็บกักน้�ำฝนในฤดูฝนและใช้เสริมการปลูกพืช
ในฤดแู ลง้ ตลอดจนการเลยี้ งสตั วน์ ำ�้ และพชื นำ้� ตา่ ง ๆ (สามารถเลยี้ งปลา ปลกู พชื นำ�้ เชน่ ผกั บงุ้
ผักกะเฉดได้ด้วย) พ้ืนที่ส่วนที่สองประมาณ ๓๐% ให้ปลูกข้าวในฤดูฝน เพ่ือใช้เป็นอาหาร
ประจ�ำวันในครัวเรือนให้เพียงพอตลอดปี เพ่ือตัดค่าใช้จ่าย และสามารถพ่ึงตนเองได้ พื้นท่ี
ส่วนทสี่ ามประมาณ ๓๐% ให้ปลูกไม้ผล ไมย้ นื ต้น พชื ผัก พืชไร่ พืชสมนุ ไพร ฯลฯ เพ่อื ใชเ้ ป็น
อาหารประจ�ำวัน หากเหลือบริโภคก็น�ำไปจ�ำหน่าย และพ้ืนท่ีส่วนท่ีสี่ประมาณ ๑๐%
ใชเ้ ป็นทอ่ี ย่อู าศัย เลี้ยงสตั ว์ และโรงเรือนอน่ื ๆ (ถนน คันดนิ กองฟาง ลานตาก กองปยุ๋ หมัก
โรงเรือน โรงเพาะเห็ด คอกสัตว์ ไมด้ อกไมป้ ระดบั พชื ผักสวนครวั หลังบ้าน เป็นตน้ )
หนา้ 10 ๓ สร้าง ทางรอดสงั คมไทย
ขั้นที่ ๒ ทฤษฎีใหม่ขั้นกลาง เม่ือเกษตรกรเข้าใจในหลักการและได้ปฏิบัติในที่ดิน
ของตนจนไดผ้ ลแล้ว ก็ต้องเร่มิ ขนั้ ทีส่ อง คอื ใหเ้ กษตรกรรวมพลังกัน ในรปู กลุ่มหรอื สหกรณ์
ร่วมแรง รว่ มใจกันด�ำเนินการในด้าน
๑. การผลิต เกษตรกรจะต้องร่วมมือในการผลิตโดยเริ่มต้ังแต่ขั้นเตรียมดิน
การหาพนั ธ์ุพืช ปุย๋ การหานำ้� และอนื่ ๆ เพือ่ การเพาะปลูก
๒. การตลาด เม่อื มีผลผลิตแลว้ จะตอ้ งเตรียมการต่าง ๆ เพอ่ื การขายผลผลิต
ใหไ้ ดป้ ระโยชนส์ งู สดุ เชน่ การเตรยี มลานตากขา้ วรว่ มกนั การจดั หายงุ้ รวบรวมขา้ ว เตรยี มหา
เครอ่ื งสีขา้ ว ตลอดจนการรวมกันขายผลผลิตใหไ้ ด้ราคาดี และลดคา่ ใชจ้ ่ายลงดว้ ย
๓. ความเป็นอยู่ ในขณะเดียวกันเกษตรกรต้องมีความเป็นอยู่ท่ีดีพอสมควร
โดยมีปจั จยั พ้นื ฐานในการดำ� รงชวี ติ เชน่ อาหารการกินต่าง ๆ กะปิ นำ้� ปลา เสื้อผา้ ทีพ่ อเพยี ง
๔. สวัสดิการ แต่ละชุมชนควรมีสวัสดิการและบริการที่จ�ำเป็น เช่น มีสถานี
อนามยั หรอื มีกองทุนไว้ใหก้ ูย้ มื เพอื่ ประโยชนใ์ นกจิ กรรมต่าง ๆ
๕. การศึกษา มีโรงเรียนและชุมชนมีบทบาทในการส่งเสริมการศึกษา เช่น
มีกองทนุ เพื่อการศกึ ษาเล่าเรยี นให้แก่เยาวชนของชุมชนเอง
๖. สังคมและศาสนา ชุมชนควรเป็นศูนย์กลางในการพัฒนาสังคมและจิตใจ
โดยมีศาสนาเป็นที่ยึดเหนย่ี ว
กจิ กรรมทง้ั หมดดงั กลา่ วขา้ งตน้ จะตอ้ งไดร้ บั ความรว่ มมอื จากทกุ ฝา่ ยทเี่ กยี่ วขอ้ ง ไมว่ า่
สว่ นราชการ องคก์ รเอกชน ตลอดจนสมาชกิ ในชมุ ชนนนั้ เป็นส�ำคญั
๓ สรา้ ง ทางรอดสงั คมไทย หนา้ 11
ขั้นที่ ๓ ทฤษฎีใหม่ขั้นก้าวหน้า เมื่อด�ำเนินการผ่านพ้นข้ันที่ ๒ แล้ว เกษตรกร
จะมีรายได้ดีข้ึน ฐานะมั่นคงขึ้น เกษตรกรหรือกลุ่มเกษตรกรก็ควรพัฒนาก้าวหน้าไปสู่
ขั้นที่สามต่อไป คือ ติดต่อประสานงาน เพื่อจัดหาทุน หรือแหล่งเงิน เช่น ธนาคาร หรือ
บริษัทห้างร้านเอกชน มาช่วยในการท�ำธุรกิจ การลงทุน และพัฒนาคุณภาพชีวิต ท้ังนี้
ท้ังฝ่ายเกษตรกรและฝา่ ยธนาคารกบั บรษิ ทั จะไดร้ บั ประโยชน์ร่วมกัน กลา่ วคอื
>> เกษตรกรขายขา้ วได้ในราคาสงู (ไมถ่ กู กดราคา)
>> ธนาคารกบั บรษิ ทั สามารถซอื้ ขา้ วบรโิ ภคในราคาตำ�่ (ซอื้ ขา้ วเปลอื กตรงจาก
เกษตรกรและมาสีเอง)
>> เกษตรกรซอ้ื เครอ่ื งอปุ โภคบรโิ ภคไดใ้ นราคาตำ่� เพราะรวมกนั ซอื้ เปน็ จำ� นวน
มาก (เปน็ รา้ นสหกรณ์ ซือ้ ในราคาขายสง่ )
>> ธนาคารกับบริษัทจะสามารถกระจายบุคลากร (เพ่ือไปด�ำเนินการ
ในกิจกรรมต่าง ๆ ให้เกดิ ผลดยี งิ่ ขึ้น)
ขน้ั ตอนในการนำ� ทฤษฎใี หมไ่ ปทำ� ใหเ้ กดิ ความสำ� เรจ็ นน้ั มสี งิ่ ทต่ี อ้ งคำ� นงึ หลายประการ
และต้องไม่ลืมเรื่องของ “ความยืดหยุ่น” พระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพล
อดลุ ยเดชมหาราช บรมนาถบพติ ร ทรงตรสั หลายครง้ั วา่ “อยา่ ตดิ ตำ� รา” เพราะวา่ เปน็ ทฤษฎี
ใหม่นั้นยังไม่มีต�ำราใด ๆ และส่ิงต่าง ๆ ท่ีก�ำหนดข้ึนมาล้วนเป็นสูตรคร่าว ๆ (Tentative
Formula) และเมื่อน�ำไปปฏิบตั ิแล้วจะตอ้ งค�ำนงึ ถงึ ความเหมาะสมของพืน้ ที่และปัจจยั อืน่ ๆ
ที่แตกตา่ งตามแตล่ ะครอบครวั ซง่ึ มคี วามแตกตา่ งกนั ไปตามภูมสิ ังคม
หน้า 12 ๓ สรา้ ง ทางรอดสงั คมไทย
หลกั ทฤษฎีบันได ๙ ข้ัน
หลักทฤษฎบี ันได ๙ ข้ัน
หลักทฤษฎีบันได ๙ ขั้น สู่การพึ่งตนเองเป็นการประยุกต์หลักการปรัชญาของ
เศรษฐกจิ พอเพยี ง เพอื่ ใหเ้ กษตรกรนอ้ มนำ� ไปปฏบิ ตั ใิ นการดำ� รงชวี ติ โดยเนน้ เศรษฐกจิ พอเพยี ง
ขัน้ พ้ืนฐานกอ่ น (พอกนิ พออยู่ พอใช้ พอร่มเย็น) จงึ คอ่ ยพัฒนาไปสูข่ นั้ ก้าวหน้า (บุญ ทาน
เก็บ ขาย) เพ่ือสร้างความมั่นคงไปสู่เศรษฐกิจพอเพียงระดับท่ีใหญ่ขึ้น ดังพระราชด�ำรัส
ของพระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร
เพือ่ เป็นหลักในการท�ำงานให้ส�ำเรจ็ วา่
“...ถ้าท�ำโครงการอะไรให้สอดคล้องกับภูมิประเทศ ก็จะสามารถสร้างความเจริญ
ใหก้ บั เขตทใี่ หญข่ นึ้ ได้ เขตทใ่ี หญล่ งทา้ ยกจ็ ะแผท่ ว่ั ประเทศได้ แตเ่ พอ่ื การนจี้ ะตอ้ งมคี วาม
รว่ มมอื อยา่ งดรี ะหวา่ ง ทกุ ฝา่ ย ทงั้ นกั วชิ าการ และนกั ปกครอง ดงั น.ี้ .. ถงึ บอกวา่ เศรษฐกจิ
พอเพยี ง และทฤษฎใี หม่ สองอยา่ งนีจ้ ะท�ำความเจริญแกป่ ระเทศได้ แต่ตอ้ งมคี วามเพียร
แล้วต้องอดทน ต้องไม่ใจร้อน ต้องไม่พูดมาก ต้องไม่ทะเลาะกัน ถ้าท�ำโดยเข้าใจกัน
เชือ่ วา่ ทกุ คนจะมีความพอใจได้...”
พระราชดำ� รัสฯ เนอื่ งในโอกาสวันเฉลมิ พระชนมพรรษา
เมือ่ วนั ที่ ๔ ธันวาคม ๒๕๔๑
ทฤษฎบี นั ได ๙ ขน้ั สู่ความพอเพยี ง
๑. เศรษฐกจิ พอเพียงขัน้ พน้ื ฐาน แบ่งออกเป็น ๔ ขน้ั
• ข้ันท่ี ๑ พอกิน
เป็นพื้นฐานสำ� คญั ที่สดุ ของมนษุ ย์ คอื ความต้องการปจั จัย ๔ และส่งิ ท่ีสำ� คญั ท่สี ุด
คอื อาหาร เปน็ ขัน้ ที่ ๑ ของแนวทางแกป้ ญั หาทย่ี ง่ั ยนื โดยตอบค�ำถามใหไ้ ดว้ า่ “ท�ำอย่างไร
จึงจะพอกิน” ให้ความส�ำคัญกับข้าวปลาอาหารมากกว่าเงิน โดยยึดหลักค�ำว่า “เงินทอง
เปน็ ของมายาขา้ วปลาสขิ องจรงิ ” เกษตรกรตอ้ งเรมิ่ จากการอยใู่ หไ้ ดโ้ ดยไมใ่ ชเ้ งนิ มอี าหารพอมี
พอกิน ท้ังปลูกพืชและเลี้ยงสัตว์ เช่น ชาวนาต้องเก็บข้าวให้เพียงพอส�ำหรับการมีกินทั้งปี
๓ สร้าง ทางรอดสังคมไทย หนา้ 13
กองกำ� ลงั เกษตรโยธิน
๙ เครอื ข่าย
สู่คบวันาไมดพ๙อเขพ้นั ียง ขาย ๘ คา้ ขาย
๗เก็บ เกบ็ ไวเ้ มื่อขาด
๖ทาน ท�ำทาน : เหลอื ก็แบ่งปนั
๑ ๕ ๒ ๓ ๔บุญ ทำ� บญุ : ศาสนา พ่อแม่ ครอบครัว
ขั้นกา้ วหนา้ พอกนิ พอใช้ พออยู่ พอร่มเย็น
ขั้นพ้นื ฐาน
ไมข่ ายขา้ วเปลอื กเพอื่ น�ำเงนิ ไปซอื้ ข้าวสาร และหัวใจส�ำคญั ของการ “พอกนิ ” หมายรวมถงึ
ความปลอดภัยในอาหาร การผลิตท่ีปลอดภัยไปจนถึงกินอย่างไรให้มีสุขภาพดี น่ีคือบันได
ขนั้ ท่ี ๑ ท่ีเกษตรกรจะต้องข้ามใหไ้ ด้
• ขั้นที่ ๒ - ๔ พอใช้ พออยู่ พอรม่ เยน็
เกดิ ขน้ึ ไดพ้ ร้อมกนั ดว้ ยการ “ปลูกปา่ ๓ อยา่ ง ประโยชน์ ๔ อยา่ ง” ซ่ึงป่า ๓ อย่าง
จะให้ท้ังอาหาร เคร่ืองนุ่งห่ม สมุนไพรส�ำหรับรักษาโรค ท้ังโรคคน โรคพืช และโรคสัตว์
ให้ไม้ส�ำหรับท�ำบ้านพักที่อยู่อาศัย และให้ความร่มเย็นกับตัวบ้าน ชุมชนและโลกใบน้ี
เป็นแนวทางในการแก้ไขปัญหาความยากจนของเกษตรกรไทย ซ่ึงได้รับการพิสูจน์แล้วว่า
สามารถแก้ปัญหาได้จริง และแก้ปัญหาจากการท�ำเกษตรเชิงเด่ียว ปัญหาความเสื่อมโทรม
ของทรัพยากร ปัญหาความขาดแคลนน้�ำ ภัยแล้ง ทั้งหมดล้วนแก้ปัญหาได้จากแนวคิด
ป่า ๓ อยา่ ง ประโยชน์ ๔ อย่าง
๒. เศรษฐกจิ พอเพยี งข้นั ก้าวหนา้ แบ่งออกเปน็ ๕ ขน้ั
• ขัน้ ที่ ๕ - ๖ บุญและทาน
เป็นการสร้างสัมพันธ์กันในชุมชน โดยไม่เก่ียวกับการค้าขาย แต่เป็นการให้ทาน
หน้า 14 ๓ สร้าง ทางรอดสังคมไทย
แบ่งปันกัน อาจจะเป็นการบริจาคส่ิงของให้กับคนท่ียากไร้หรือการเข้าวัดท�ำบุญฟังธรรม
เพอื่ ฝึก ลด ละ กเิ ลสจากจิตใจของเรา ร้จู ักเป็นผแู้ บง่ ปนั ไม่ตระหน่จี นเกนิ ไปและยังเปน็ การ
สร้างชุมชนให้น่าอยู่ขึ้นอีกด้วย เป็นการลดช่องว่างและความเหลื่อมล�้ำ ตามความหมาย
ทล่ี ึกซงึ้ ว่า “Our Loss is Our Gain” หรือ “ย่งิ ทำ� ยง่ิ ได้ ย่ิงใหย้ ง่ิ ม”ี การใหไ้ ป คอื ได้มา
และเชอ่ื มน่ั ในฤทธขิ์ องทานวา่ ทานมฤี ทธจิ์ รงิ และจะสง่ กลบั คนื มาเปน็ เพอ่ื น เปน็ กลั ยาณมติ ร
เป็นเครือขา่ ย ทีช่ ว่ ยเหลอื กันในทกุ สถานการณ์ แมใ้ นวันทโ่ี ลกนป้ี ระสบกบั วกิ ฤตตา่ ง ๆ
• ข้นั ที่ ๗ เก็บรักษา
เปน็ ขน้ั ทใี่ หร้ จู้ กั พง่ึ พาตวั เอง พอเหลอื จากทำ� บญุ ทำ� ทานกต็ อ้ งรจู้ กั เกบ็ รกั ษาไวด้ ว้ ย
ซึ่งเป็นการตั้งอยู่บนความไม่ประมาท ได้เก็บไว้ใช้ยามฉุกเฉินจ�ำเป็น การเก็บรักษาเป็นการ
เอาตัวรอดเมือ่ ยามเกดิ วิกฤตการณ์ โดยยดึ แนวทางตามวถิ ีชีวิตชาวนาสมยั ก่อน เช่น ชาวนา
สมัยกอ่ นจะเก็บรกั ษาข้าวไวใ้ นยุ้งฉาง คดั เลือกและเก็บรกั ษาเมลด็ พนั ธ์ุ ไว้สาหรับเพาะปลูก
ในฤดูกาลต่อไป อีกทั้งยังต้องรู้จักการถนอมอาหาร เพื่อไว้บริโภคยามหน้าแล้งหรือยามเกิด
ภัยพิบตั ิ เช่น ปลาร้า ปลาแหง้ มะขามเปยี ก พริกแห้ง หอม กระเทยี ม
• ขัน้ ที่ ๘ ขาย
เนื่องจากเศรษฐกิจพอเพียงไม่ใช่เพ่ือการค้า ไม่ใช่เศรษฐกิจหลังเขา การค้าขาย
สามารถท�ำได้ แต่ท�ำภายใต้การรู้จักตนเอง รู้จักพอประมาณและท�ำไปตามล�ำดับ โดยของ
ทขี่ าย คอื ของที่เหลือจากทุกขนั้ แลว้ จงึ นำ� มาขาย เชน่ ทำ� นาอินทรยี ์ ปลกู ข้าวปลอดสารเคมี
ไม่ทำ� ลายธรรมชาติ ได้ผลผลิตเกบ็ ไว้พอกนิ เก็บไว้ท�ำพันธุ์ ทำ� บญุ ทำ� ทาน แล้วจึงน�ำมาขาย
ดว้ ยความรสู้ กึ ของการ “ให”้ อยากทจี่ ะใหส้ ง่ิ ดี ๆ ทเ่ี ราปลกู เอง เผอื่ แผใ่ หก้ บั คนอน่ื ๆ ไดร้ บั สง่ิ ดี ๆ
นนั้ ๆดว้ ยการคา้ ขายตามแนวทางเศรษฐกจิ พอเพยี งจงึ เปน็ การคา้ ทม่ี องกลบั ดา้ น“เพราะรกั คณุ
จึงอยากให้คุณไดร้ ับในสิง่ ดี ๆ” พอเพยี งเพ่อื อมุ้ ชู เผ่อื แผ่ แบ่งปัน ไปดว้ ยกนั
• ขั้นที่ ๙ (เครอื ) ขา่ ย กองกำ� ลังเกษตรโยธนิ
เป็นการสร้างเครือข่ายเช่ือมโยงทั้งประเทศ เพ่ือขยายผลความส�ำเร็จตามแนว
เศรษฐกิจพอเพียงสู่การปฏิวัติแนวความคิดและวิถีการด�ำเนินชีวิตของคนในสังคม ชุมชน
เพื่อแก้ปัญหาวิกฤต ๔ ประการ ได้แก่ วิกฤตส่ิงแวดล้อม ภัยธรรมชาติ (Environmental
Crisis) วิกฤตโรคระบาดท้ังในคน สัตว์ พืช (Epidemic Crisis) วิกฤตเศรษฐกิจ ข้าวยาก
หมากแพง (Economic Crisis) วกิ ฤตความขัดแย้งทางสงั คม/สงคราม (Political Crisis)
๓ สรา้ ง ทางรอดสงั คมไทย หนา้ 15
โครงการสรา้ งความมั่นคง
ดา้ นอาชพี และรายได้
ตามหลกั ปรัชญา
ของเศรษฐกิจพอเพยี ง
ตโคารมงหกลากัรปสรรัชา้ งญคาวขาอมงมเ่ันศครงษดฐ้ากนจิ อพาอชีพเพแยีลงะรายได้
ยทุ ธศาสตรช์ าติ ๒๐ ปี (พ.ศ. ๒๕๖๑ - ๒๕๘๐) มงุ่ เนน้ ใหป้ ระเทศไทย สามารถยกระดบั
การพัฒนาให้บรรลุตามวิสัยทัศน์ “ประเทศมีความม่ันคง ม่ังค่ัง ยั่งยืน เป็นประเทศ
พฒั นาแลว้ ดว้ ยการพฒั นาตามหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง” และมกี ารกำ� หนดประเดน็
ยุทธศาสตร์ชาติไว้ท้ังหมด ๖ ด้าน โดยมียุทธศาสตร์ที่สอดคล้องและเก่ียวข้องกับภารกิจ
ของกรมการพฒั นาชมุ ชน คอื ยทุ ธศาสตรท์ ี่ ๑ ยทุ ธศาสตรด์ า้ นความมนั่ คง ซงึ่ ไดก้ ำ� หนดประเดน็
การสรา้ งความมัน่ คงด้านอาชีพและรายได้ (ภายใตแ้ ผนงานต�ำบลมน่ั คง มั่งคงั่ ย่งั ยนื ) และ
ยุทธศาสตร์ท่ี ๔ ยทุ ธศาสตร์ ด้านการสร้างโอกาสและความเสมอภาคทางสังคม ซงึ่ ได้ก�ำหนด
ประเด็นยุทธศาสตร์ท่ีเน้นการตอบโจทย์การสร้างความเป็นธรรม และลดความเหลื่อมล้�ำ
ทางเศรษฐกิจและสงั คมของประเทศ
เพื่อใหส้ อดรบั กับยทุ ธศาสตรช์ าตแิ ละภารกิจข้างตน้ กรมการพัฒนาชุมชน จงึ ก�ำหนด
ดำ� เนนิ โครงการสรา้ งความมนั่ คงดา้ นอาชพี และรายได้ ตามหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง
ปงี บประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๓ โดยมเี ปา้ หมายสำ� คญั เพอื่ ยกระดบั เศรษฐกจิ ฐานราก คอื “รายได”้
ทำ� ใหป้ ระชาชนในชมุ ชนมรี ายไดเ้ พม่ิ ขนึ้ ดว้ ยกระบวนการสรา้ งสมั มาชพี ชมุ ชน ภายใตแ้ นวคดิ
“ชาวบา้ นสอนชาวบา้ น” และนอ้ มนำ� หลกั ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี งเปน็ แนวทาง ในพนื้ ท่ี
เปา้ หมาย จำ� นวน ๑๖,๐๐๐ หมบู่ า้ น และประชาชนเปา้ หมาย จำ� นวน ๓๒๐,๐๐๐ คน/ครวั เรอื น
ชาวบา้ นสอนชาวบ้าน
แนวคิด “ชาวบ้านสอนชาวบ้าน” คือ การส่งเสริมอาชีพให้ประชาชนในชุมชน
ตามความตอ้ งการและสนใจ สอนในสง่ิ ทเ่ี ขาอยากทำ� โดยเนน้ ใหป้ ราชญช์ าวบา้ นทเี่ ปน็ ผมู้ คี วาม
เช่ียวชาญและประสบความส�ำเร็จในการประกอบอาชีพเป็นผู้ถ่ายทอดความรู้และแนะน�ำ
ชว่ ยเหลอื อยา่ งตอ่ เนอื่ ง พรอ้ มทง้ั สนบั สนนุ ใหเ้ กดิ การรวมกนั เปน็ กลมุ่ อาชพี เพอื่ ใหป้ ระชาชน
(ครวั เรือน) มีอาชพี มรี ายได้ที่สามารถด�ำรงชวี ิตตามหลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง
การสรา้ งสัมมาชีพชุมชน มกี ระบวนการด�ำเนินงานทเ่ี ปน็ ล�ำดับข้ันตอน ดังน้ี
๑. ค้นหาปราชญ์ชุมชนด้านอาชีพ ซึ่งตามแนวทางการสร้างสัมมาชีพชุมชน หมายถึง
ผู้ที่ประกอบสัมมาชีพจนมีความรู้ความช�ำนาญในการประกอบอาชีพ หรือมีความเชี่ยวชาญ
ในอาชีพน้ัน ๆ ประสบความส�ำเร็จและมีความม่ันคงในอาชีพเป็นท่ียอมรับของคนในชุมชน
พร้อมมจี ติ อาสาทจ่ี ะถา่ ยทอดและขยายผลไปยงั บุคคลอ่นื ๆ ในชมุ ชน
หนา้ 18 ๓ สรา้ ง ทางรอดสังคมไทย
๒. พัฒนาทักษะปราชญ์ชุมชนด้านอาชีพเป็นวิทยากรสัมมาชีพชุมชน โดยฝึกอบรม
ด้านการถ่ายทอดความรู้ การน�ำสนอ และการจัดกระบวนการสอน เพ่ือให้สามารถกลับไป
ฝกึ อาชีพให้กับครัวเรือนท่ีมีความต้องการและสนใจ ฝึกอาชพี ไดอ้ ย่างมีคุณภาพ
๓. สรา้ งทมี วทิ ยากรสมั มาชพี ชมุ ชน โดยวทิ ยากรสมั มาชพี ชมุ ชนคดั เลอื กปราชญช์ มุ ชน
ด้านอาชีพในหมู่บ้าน/ชุมชนเพิ่มขึ้น ซ่ึงทีมวิทยากรสัมมาชีพชุมชนจะต้องร่วมกันพัฒนา
ความรู้ และเสรมิ สรา้ งทกั ษะทจี่ ำ� เปน็ ตอ่ การทำ� หนา้ ทเ่ี ปน็ ทมี วทิ ยากร และเตรยี มความพรอ้ ม
ในการสง่ เสรมิ สมั มาชพี ให้กบั ครวั เรือนทต่ี ้องการฝึกอาชีพ
๔. สอนอาชีพให้ครัวเรือน โดยทีมวิทยากรสัมมาชีพชุมชนด�ำเนินการถ่ายทอดความรู้
ในอาชพี ทคี่ รวั เรอื นตอ้ งการ ฝกึ ปฏบิ ตั อิ าชพี ใหค้ รวั เรอื นฯ และตดิ ตาม สนบั สนนุ อยา่ งตอ่ เนอื่ ง
เพอ่ื ใหค้ รัวเรอื นสามารถประกอบอาชพี ดังกล่าวได้จริง
๕. สนับสนุนการจัดตั้งและพัฒนากลุ่มอาชีพ เป็นการส่งเสริมสนับสนุนให้ครัวเรือน
ที่ผ่านการฝึกอาชีพตามแนวทางการสร้างสัมมาชีพชุมชนที่ประกอบอาชีพเดียวกัน
หรอื ประเภทเดยี วกนั ใหม้ กี ารรวมกลมุ่ และจดั ตงั้ เปน็ กลมุ่ อาชพี เพอ่ื เสรมิ ศกั ยภาพการดำ� เนนิ
กจิ การใหเ้ ข้มแข็งและย่งั ยืน
๓ สร้าง ทางรอดสังคมไทย หน้า 19
เชื่อมโยง…
การน้อมน�ำปรชั ญา
ของเศรษฐกจิ พอเพียง
สกู่ ารปฏบิ ตั ิ
เช่อื กมาโยรงน…้อมน�ำปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงส่กู ารปฏิบตั ิ
เศรษฐกจิ พอเพยี ง เป็นปรชั ญาชถี้ ึงแนวทางการด�ำรงอยูแ่ ละปฏิบัตติ นของประชาชน
ในทุกระดับ ต้ังแต่ระดับครอบครัว ระดับชุมชน จนถึงระดับประเทศ ทั้งในด้านการพัฒนา
และการบริหารท่ีให้ด�ำเนินไปในทางสายกลาง ความพอเพียง หมายถึง ความพอประมาณ
ความมีเหตุผล รวมถึงความจ�ำเป็น ที่จะต้องมีระบบภูมิคุ้มกันในตัวท่ีดีพอสมควรต่อการ
กระทบใด ๆ อันเกดิ จากการเปล่ียนแปลงทง้ั ภายในภายนอก ท้ังน้ี จะตอ้ งอาศัยความรอบรู้
ความรอบคอบและความระมดั ระวงั อย่างยง่ิ โดยการน�ำวชิ าการตา่ ง ๆ มาใช้ในการวางแผน
และการด�ำเนินการทุกขั้นตอน และในขณะเดียวกันก็จะต้องเสริมสร้างพื้นฐานจิตใจ
ของคนในชาติ ให้ส�ำนึกในคุณธรรม ความซ่ือสัตย์สุจริต และให้มีความรอบรู้ท่ีเหมาะสม
ด�ำเนินชีวิตด้วยความอดทน ความขยันหม่ันเพียร มีสติ ปัญญา และความรอบคอบ
เพ่ือให้สมดุลและพร้อมต่อการรองรับการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็วและกว้างขวาง ท้ังด้าน
วัตถุ สงั คม สง่ิ แวดล้อม และวฒั นธรรม จากโลกภายนอก
การประยุกต์ใช้
การประยุกต์ใช้แนวคิดตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงในการด�ำเนินชีวิต
เพ่ือน�ำไปสู่ความสามารถในการพึ่งพาตนเองได้ สามารถอยู่ในสังคมอย่างมีความสุข
ตามอตั ภาพ ควรพจิ ารณาดังน้ี
๑. โดยพ้ืนฐาน คือ การพ่ึงตนเองเป็นหลัก ท�ำอะไรอย่างเป็นข้ันเป็นตอน รอบคอบ
และระมัดระวัง
๒. พจิ ารณาถงึ ความพอดี พอเหมาะ และพอควร
๓. สร้างสามคั คใี หเ้ กดิ ขน้ึ บนพืน้ ฐานของความสมดลุ ในแต่ละสดั สว่ น แต่ละระดบั
๔. ครอบคลุมทง้ั ทางดา้ นจิตใจ สังคม เทคโนโลยี ทรพั ยากรธรรมชาติ และส่ิงแวดลอ้ ม
รวมถงึ เศรษฐกจิ
หน้า 22 ๓ สรา้ ง ทางรอดสงั คมไทย
การน�ำแนวคดิ ตามปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี งไปประยกุ ตใ์ ช้ ต้องค�ำนงึ ถงึ ๔ มติ ิ ดงั นี้
ด้านเศรษฐกิจ ลดรายจ่าย เพิ่มรายได้ ใช้ชีวิตอย่างพอควร คิดและวางแผน
อยา่ งรอบคอบ มภี มู คิ มุ้ กนั ไมเ่ สย่ี งเกนิ ไป การเผอื่ ทางเลอื กสำ� รอง
ด้านสังคม ช่วยเหลือเก้ือกูล รู้รักสามัคคี สร้างความเข้มแข็งให้ครอบครัว
และชมุ ชน
ดา้ นทรัพยากรธรรมชาติ รู้จักใช้และจัดการอย่างฉลาดและรอบคอบ เลือกใช้ทรัพยากร
และสิง่ แวดล้อม ทีม่ ีอยู่ อยา่ งรูค้ ่าและเกิดประโยชนส์ งู สุด ฟนื้ ฟทู รพั ยากรเพ่อื ให้
เกดิ ความย่ังยนื สงู สดุ
ดา้ นวฒั นธรรม รกั และเหน็ คณุ คา่ ในความเปน็ ไทย เอกลกั ษณไ์ ทย เหน็ ประโยชน์
และคุ้มค่าของภูมิปัญญาไทย ภูมิปัญญาท้องถ่ิน รู้จักแยกแยะ
และเลอื กรับวัฒนธรรมอื่น ๆ
จดุ เริ่มต้นการพัฒนาเศรษฐกิจพอเพียง
ในทางปฏิบัติ จุดเร่ิมต้นของการพัฒนาเศรษฐกิจพอเพียง คือ การฟื้นฟูเศรษฐกิจ
ชุมชนท้องถิ่น เศรษฐกิจพอเพียงเป็นทั้งหลักการและกระบวนการทางสังคม ตั้งแต่ขั้นฟื้นฟู
และขยายเครือข่ายเกษตรกรรมอย่างย่ังยืน เป็นการพัฒนาขีดความสามารถในการผลิต
และบรโิ ภคอยา่ งพออยพู่ อกนิ ขน้ึ ไปถงึ ขน้ั แปรรปู อตุ สาหกรรมครวั เรอื น สรา้ งอาชพี และทกั ษะ
วชิ าการทหี่ ลากหลาย เกดิ ตลาดซอื้ - ขาย สะสมทนุ ฯลฯ บนพน้ื ฐานเครอื ขา่ ยเศรษฐกจิ ชมุ ชนนี้
เศรษฐกิจของชาติจะพัฒนาขึ้นมาอย่างม่ันคงท้ังในด้านก�ำลังทุนและตลาดภายในประเทศ
รวมทงั้ เทคโนโลยซี ง่ึ จะคอ่ ย ๆ พฒั นาขน้ึ มาจากฐานทรพั ยากรและภมู ปิ ญั ญาทม่ี อี ยภู่ ายในชาติ
และทงั้ ทจี่ ะพึงเรยี นร้จู ากโลกภายนอก
๓ สรา้ ง ทางรอดสังคมไทย หนา้ 23
การน้อมนำ� ส่กู ารปฏบิ ัติ
ด้วยพระมหากรุณาธิคุณอันหาท่ีสุดมิได้ของพระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร
มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร ท่ีทรงพระราชทานแนวพระราชด�ำริ
“หลักปรชั ญาเศรษฐกจิ พอเพยี ง” อกี ทั้งเพื่อสง่ เสรมิ การเรียนรู้ สืบสาน และน้อมนำ� แนวทาง
พระราชด�ำริไปประยกุ ต์ใช้ในชวี ติ ประจำ� วัน กรมการพัฒนาชมุ ชน จึงไดน้ ้อมนำ� หลกั ปรัชญา
เศรษฐกิจพอเพียงมาเป็นแนวทางการด�ำเนินงานพัฒนาชุมชนและขับเคล่ือนภารกิจ
กรมการพัฒนาชุมชน โดยปรากฏในกิจกรรม/โครงการตามแผนยุทธศาสตร์กรมการพัฒนา
ชมุ ชน ปงี บประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๓ เชน่ โครงการพฒั นาหมบู่ า้ นเศรษฐกจิ พอเพยี ง ทดี่ ำ� เนนิ การ
ต่อเนื่องมาต้ังแต่ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๔๘ โครงการพัฒนาหมู่บ้านและชุมชนท้องถ่ิน
ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ที่กำ� หนดด�ำเนินการในปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๓
ทีม่ ีระดับการพัฒนา ๓ ระดบั ได้แก่
ระดับครัวเรือน : เพื่อการพออยูพ่ อกิน โดยสง่ เสริมครัวเรือนใหม้ กี ารดำ� เนินกิจกรรม
สรา้ งความม่นั คงทางอาหาร สรา้ งส่ิงแวดล้อมให้ยัง่ ยืน และสรา้ งภมู ิคุ้มกนั ทางสังคม
ระดับกลุ่ม/อาชีพ : ส่งเสริมและพัฒนากลุ่มอาชีพเพื่อสร้างรายได้ ให้อยู่ดีมีสุข
โดยส่งเสริมให้ชุมชนมีกิจกรรมและมีการรวมกลุ่ม และมีครัวเรือนท่ีด�ำเนินการตามแนวทาง
“โคก หนอง นา โมเดล”
ระดับชุมชน : ส่งเสริมความร่วมมือพัฒนาชุมชนให้มีกิจกรรม ส่งเสริมหลักประกัน
สวัสดิการ ความสัมพันธ์ในชุมชน และสร้างคุณภาพชีวิตประชาชนหลากหลาย และย่ังยืน
โดยสง่ เสรมิ ใหช้ มุ ชนมกี ารดำ� เนนิ กจิ กรรมในชมุ ชน ทสี่ ง่ ผลตอ่ ความมนั่ คง ยงั่ ยนื และคณุ ภาพ
ชีวิตของประชาชนในชมุ ชน
สำ� หรบั “โครงการสรา้ งความมนั่ คงดา้ นอาชพี และรายได้ ตามหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกจิ
พอเพียง” เป็นโครงการตามแผนการด�ำเนินงานตามยุทธศาสตร์กรมการพัฒนาชุมชน
ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๓ และเป็นโครงการหน่ึงที่มุ่งสืบสานตามรอยพระยุคลบาท
โดยน้อมน�ำหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง มาเป็นแนวทางการพัฒนาตั้งแต่ระดับครอบครัว
โดยก�ำหนดเป็นแนวทางการสร้างสัมมาชีพชุมชน ภายใต้แนวคิด “ชาวบ้านสอนชาวบ้าน”
สอนในสิ่งท่ีเขาอยากท�ำ เป็นการพัฒนาขีดความสามารถในการผลิตและบริโภคอย่างพออยู่
พอกินและเร่ือยขึ้นไปถึงข้ันแปรรูปภายในครัวเรือน เพ่ือเสริมสร้างความมั่นคงด้านอาชีพ
และรายได้ รวมถึงแนวทางการปฏิบัติตนเพ่ือเสริมสร้างการด�ำรงอยู่อย่างพอเพียงของ
กลุ่มเป้าหมายตามโครงการฯ ในพื้นที่ ๑๖,๐๐๐ หมู่บ้าน ซ่ึงประกอบด้วย ปราชญ์ชุมชน
หนา้ 24 ๓ สรา้ ง ทางรอดสงั คมไทย
ด้านอาชีพ หรือที่เรียกว่า “วิทยากรสัมมาชีพชุมชน” หมู่บ้านละ ๕ คน และผู้แทนจาก
ครัวเรือนในหมู่บ้านเป้าหมาย หรือที่เรียกว่า “ครัวเรือนสัมมาชีพชุมชน” หมู่บ้านละ
๒๐ คน/ครัวเรือน ได้ปฏบิ ัติอย่างเปน็ รูปธรรม ใน ๓ ด้าน ประกอบดว้ ย การสรา้ งความม่ันคง
ทางอาหาร การสร้างสง่ิ แวดล้อมให้ยั่งยนื และการสร้างภูมิคมุ้ กันทางสงั คม ดงั นี้
การสร้างความมน่ั คงทางอาหาร โดยมกี าร
>> ปลกู ผัก : มีการปลกู พชื สวนครวั เพ่ือใชป้ ระกอบอาหารในชีวติ ประจำ� วนั เพ่ือลด
คา่ ใช้จ่ายประจ�ำวนั ตามสภาพพนื้ ที่ของครัวเรอื น
>> เล้ยี งสัตว์ : มีการเล้ยี งสตั ว์ทเ่ี ป็นอาหารของครัวเรอื น เชน่ ไก่ เป็ด ปลา กบ หรือ
อน่ื ๆ ตามทสี่ ภาพของพน้ื ท่ีแตล่ ะครวั เรือนจะท�ำได้
>> แปรรปู : ผลติ ผลในบา้ นเพอื่ เปน็ การถนอมอาหาร และใชป้ ระโยชนข์ องในครวั เรอื น
รปู แบบต่าง ๆ
สรา้ งส่ิงแวดล้อมใหย้ ่งั ยืน โดยการ
>> บรหิ ารจดั การขยะลดการใชผ้ ลติ ภณั ฑส์ รา้ งขยะคดั แยกขยะนำ� กลบั มาใชซ้ ำ้� หมกั ขยะ
เปียกเพือ่ เปน็ ปุ๋ย หรอื ถังขยะเปยี กลดโลกร้อน
>> จดั สขุ ลกั ษณะในบา้ น โดยการจดั บรเิ วณบา้ น สะอาดเปน็ ระเบยี บ ไมเ่ ปน็ แหลง่ เพาะ
เชื้อโรค และไม่เป็นพาหะน�ำโรค ท�ำให้สวยงามได้ เช่น รั้วกินได้ ไม้ดอกไม้ประดับ สะดวก
ปลอดภัยในการใชอ้ ปุ กรณป์ ระกอบอาชพี
>> ใช้ทรัพยากรในบ้านอย่างคุ้มค่า ประหยัดและเกื้อกูลกัน เช่น น�้ำจากการซักผ้า
นำ� ไปรดตน้ ไม้ เปน็ ต้น
๓ สร้าง ทางรอดสังคมไทย หนา้ 25
สร้างภูมิคมุ้ กันทางสงั คม โดยการ
>> ปฏิบัติศาสนากิจ พิธีและความเช่ือเป็นประจ�ำ มีการแบ่งปันเอื้อเฟื้อเจือจาน
ระหว่างกัน
>> รว่ มกจิ กรรมบำ� เพญ็ ประโยชนส์ าธารณะดว้ ยจติ อาสา อาสาสมคั ร เขา้ รว่ มกจิ กรรม
เพื่อสาธารณะ ของหมู่บ้านการปรับปรุง ถนน คู คลอง หรือการร่วมกิจกรรมการพัฒนา
หมู่บ้านอนื่ ๆ
>> ออกก�ำลังกายเสริมสุขภาพ เพื่อสุขภาพร่างกายท่ีแข็งแรง ครัวเรือนต้องมีการ
ออกกำ� ลังกายในรูปแบบต่าง ๆ เปน็ ประจ�ำ
หนา้ 26 ๓ สรา้ ง ทางรอดสังคมไทย
การนอ้ มน�ำปรัชญาเศรษฐกจิ พอเพยี งส่กู ารปฏบิ ตั ิ (๓ สร้าง)
ครัวเรอื นสัมมาชีพชมุ ชน หมบู่ ้าน / ชมุ ชน
• ปฎิบัตเิ ปน็ “ครัวเรือนตัวอย่าง” • ชมุ ชน “วิถีพอเพียง”
• ขยายผลสคู่ รัวเรอื นพน่ี อ้ ง / • ขยายผลส่หู มบู่ ้านขา้ งเคียง
บา้ นใกล้เรอื นเคยี ง
วทิ ยากรสมั มาชีพชมุ ชนเ ่ริม ้ตน ่กอนการ
ขับเคลื่อนคู่ขนาน
• ปฏบิ ัติ เปน็ “ตน้ แบบ” ขยายผลอ ่ยาง ่ัยง ืยน
• ขยายผลสคู่ รวั เรือน ฯ
แบบมงุ่ ผล ๑ : ๔
การขบั เคลอื่ นการนอ้ มนำ� หลกั ปรชั ญาเศรษฐกจิ พอเพยี งสกู่ ารปฏบิ ตั ิ ใน ๓ ดา้ น ภายใต้
โครงการสรา้ งความมน่ั คงดา้ นอาชพี และรายได้ ตามหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง เรมิ่ ตน้
ทว่ี ทิ ยากรสมั มาชพี ชมุ ชนลงมอื ปฏบิ ตั กิ ารกอ่ น เปน็ “ตน้ แบบ” จากนนั้ ขยายผลโดยไปแนะนำ�
ส่งเสริมให้ครัวเรือนสัมมาชีพชุมชนลงมือปฏิบัติการตามวิทยากรฯ ต้องท�ำหน้าที่เป็นพี่เลี้ยง
เป็นท่ีปรึกษา ติดตาม และสนับสนุนครัวเรือนสัมมาชีพชุมชนให้ปฏิบัติการได้อย่างต่อเนื่อง
และเห็นผลเปน็ “ครัวเรอื นตัวอยา่ ง” ให้แกส่ มาชิกในชมุ ชน โดยวทิ ยากรฯ ๑ คน รบั ผิดชอบ
ในการตดิ ตามและสนบั สนนุ ๔ ครวั เรอื นฯ เปา้ หมาย และยงั คงปฏบิ ตั กิ ารนอ้ มนำ� หลกั ปรชั ญา
ของเศรษฐกิจพอเพียงสู่การปฏิบัติ ใน ๓ ด้าน เคียงคู่กับครัวเรือนฯ จนเป็นตัวอย่างและ
ขยายผลสู่ครวั เรือนญาตพิ น่ี อ้ ง และบ้านใกล้เรอื นเคยี งในหมบู่ า้ นและชุมชนตอ่ ไป
๓ สร้าง ทางรอดสงั คมไทย หน้า 27
๓ สรา้ ง
ทางรอดสงั คมไทย
๑. การสรา้ งความมั่นคงทางอาหาร
คำ� จำ� กัดความ
คำ� จำ� กดั ความของคำ� วา่ “ความมนั่ คงทางอาหาร” หรอื “Food Security” จากทป่ี ระชมุ
World Food Summit ในปี ค.ศ. ๑๙๙๖
“Food security exists when all people, at all times, have physical and
economic access to sufficient, safe and nutritious food that meets their dietary
needs and food preferences for an active and healthy life.”
“ความม่นั คงทางอาหารจะมไี ดก้ ็ต่อเม่อื คนทกุ คนในทุกเวลา สามารถ มกี ำ� ลงั กายและ
กำ� ลงั ทรพั ย์ ทจ่ี ะเขา้ ถงึ อาหารทม่ี ปี ระโยชน์ ปลอดภยั ในปรมิ าณทพ่ี อเพยี งกบั การจะดำ� รงชวี ติ
และมีสุขภาพทสี่ มบรู ณแ์ ข็งแรงได”้
“ความมั่นคงทางอาหาร” ตามความหมายขององค์การอาหารและเกษตรแห่ง
สหประชาชาติ (Food and Agriculture Organization of the United Nation - FAO)
หมายถึง สถานการณ์ที่ทุกคนในทุกเวลา สามารถเข้าถึงอาหาร ได้ท้ังด้านกายภาพ สังคม
เศรษฐกิจ อย่างพอเพียง ปลอดภัย มีคุณค่าทางโภชนาการ และตรงกับรสนิยมของตนเอง
เพอื่ การมสี ขุ ภาพที่ดี
จะเหน็ ไดว้ า่ คำ� นยิ ามของความมนั่ คงทางอาหารนนั้ จะพฒั นามาจากความพอเพยี งกอ่ น
ตอ่ มาไดม้ กี ารเพม่ิ การเขา้ ถงึ ทั้งในดา้ นกายภาพ เศรษฐกจิ และสงั คม และได้เพิ่มเร่ืองคณุ ค่า
ทางโภชนาการและรสนิยมเขา้ ไปด้วย โดยจะต้องเกิดข้ึนต้งั แต่ระดับปจั เจกบคุ คล ครัวเรอื น
ชุมชน ไปจนถึงระดบั ประเทศ
ตามแนวคดิ ของ FAO ความมน่ั คงทางอาหาร จะตอ้ งมอี งคป์ ระกอบสำ� คญั ๔ ประการ คอื
๑. การมอี าหารเพยี งพอ (Food Availability) หมายถงึ การมอี าหารในปรมิ าณทเ่ี พยี ง
พอและมีคุณภาพที่เหมาะสม ทั้งจากการผลิตภายในประเทศ และ/หรือการนําเข้า (รวมถึง
ความช่วยเหลือดา้ นอาหาร)
๒. การเข้าถงึ อาหาร (Food Access) หมายถงึ การเข้าถงึ ทรัพยากรทีเ่ หมาะสม (สทิ ธิ)
เพ่ือการหาอาหารทม่ี ีคณุ คา่ ทางโภชนาการทเี่ หมาะสม
๓. การใชป้ ระโยชนจ์ ากอาหาร Food Utilization หมายถงึ การใชป้ ระโยชนจ์ ากอาหาร
ในการบรโิ ภค โดยมปี รมิ าณอาหารทเี่ พยี งพอ มนี ำ้� สะอาด ในการบรโิ ภค-อปุ โภค มสี ขุ อนามยั
และการดูแลสุขภาพท่ีดี ทําให้ความเป็นอยู่ ทางกายภาพได้รับการตอบสนองอย่างเพียงพอ
หน้า 30 ๓ สร้าง ทางรอดสงั คมไทย
เพอื่ ใหอ้ ยใู่ นสถานภาพทไ่ี ดร้ บั คณุ คา่ ทางโภชนาการทด่ี ี และบรรลคุ วามตอ้ งการทางกายภาพ
๔. การมีเสถียรภาพดา้ นอาหาร Food Stability หมายถึง ประชาชน หรือครวั เรอื น
หรือบุคคลต้องเข้าถึงอาหารอย่างเพียงพอตลอดเวลา ไม่มีความเส่ียงในการเข้าถึงอาหาร
เมื่อเกิดความขาดแคลนข้ึนมาอย่างกะทันหัน (เช่น วิกฤตการณ์ทางเศรษฐกิจและภูมิภาค)
หรอื เหตุการณ์ทีเ่ กิดข้นึ เปน็ วัฏจกั ร (เชน่ ความไมม่ ่ันคงทางอาหารตามฤดกู าล) เสถียรภาพ
ด้านอาหารเก่ียวข้องกับมิติความม่ันคงอาหารทั้งในเร่ืองของการมีและการเข้าถึงอาหาร
(อภชิ าต พงษศ์ รีหดลุ ชยั และคณะ, ๒๕๕๔ : ๒๓)
ส�ำหรับประเทศไทย ได้มีการให้ความหมายของความมั่นคงทางอาหาร ไว้ใน
พระราชบัญญัติคณะกรรมการอาหารแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๕๑ ว่า “ความม่ันคงทางอาหาร
หมายถึง การเข้าถึงอาหารท่ีมีอย่างพอเพียงส�ำหรับการเข้าถึงของประชาชนในประเทศ
อาหารมีความปลอดภัย และมีคุณค่าทางโภชนาการ เหมาะสมตามความต้องการตามวัย
เพ่ือการมีสุขภาวะท่ีดี รวมท้ังการมีระบบการผลิตที่เกื้อหนุน รักษาความสมดุลของระบบ
นิเวศวิทยาและความม่ันคงของฐานทรัพยากรอาหารทางธรรมชาติของประเทศ ท้ังในภาวะ
ปกติ หรือเกิดภยั พบิ ัติ สาธารณภัย หรอื การกอ่ การร้ายอันเกย่ี วเนอ่ื งจากอาหาร”
จากนิยามดังกล่าวข้างต้น อาจกล่าวได้ว่า ความมั่นคงทางอาหาร หมายถึง การที่
ประชาชนทกุ กลมุ่ สามารถเขา้ ถงึ อาหารทปี่ ลอดภยั และมคี ณุ คา่ ทางโภชนาการอยา่ งเพยี งพอ
ความมนั่ คงทางอาหารไดก้ ลายเปน็ ปญั หาความมนั่ คงรปู แบบใหมท่ หี่ ลายประเทศกำ� ลงั
สถานการณ์ความมนั่ คงทางอาหาร
เผชญิ และสรา้ งมาตรการรบั มอื เพอื่ ความอยรู่ อดของประชาชน ในประเทศและประชากรโลก
โดยเฉพาะอยา่ งยงิ่ ในประเทศกำ� ลงั พฒั นาทพ่ี บวา่ ปญั หานก้ี ำ� ลงั ทวคี วามรนุ แรง อนั เปน็ ผลจาก
การเปลย่ี นแปลงของภมู อิ ากาศ การเกดิ วกิ ฤตดิ า้ นพลงั งาน ความเสอื่ มโทรมของสภาพแวดลอ้ ม
และการให้ความส�ำคัญของการผลิตอาหารลดลง เน้นการผลิตพืชพลังงานเพ่ิมขึ้น จึงท�ำให้
ราคาพืชอาหารสูงขึ้น จนท�ำให้ประชาชนที่ยากจนไม่สามารถเข้าถึงอาหารได้ และเห็น
ได้ชัดเจนในช่วงท่ีเกิดวิกฤติการณ์การแพร่ระบาดของไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ (COVID-19)
ท่ีประชาชนไม่สามารถออกจากบ้านเพอ่ื ไปซื้อหาอาหารได้
๓ สรา้ ง ทางรอดสังคมไทย หน้า 31
การสรา้ งความมั่นคงทางอาหาร ตามหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียง
แนวคดิ การสรา้ งความมนั่ คงทางอาหาร ตามหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง มงุ่ เนน้
ท่กี ารพ่งึ พาตนเอง (Self - Sufficiency) หมายถงึ การผลิตดว้ ยตนเองเพือ่ การพออยพู่ อกิน
หากเป็นระดับดับครัวเรือน จะหมายถึงการผลิต เพื่อการบริโภคในครัวเรือนได้เพียงพอ
ไม่ตอ้ งซือ้ จากภายนอก และหากเปน็ ระดับประเทศก็หมายถึงการผลติ ในประเทศไดเ้ พยี งพอ
ไมต่ ้องน�ำเข้าจากต่างประเทศ
แนวทางการสร้างความม่ันคงทางอาหาร ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
ระดับครัวเรือน ทำ� ไดโ้ ดยการ
๑. ปลกู พชื ผกั สวนครวั เพอื่ ใชป้ ระกอบอาหารในชวี ติ ประจำ� วนั เพอื่ ลดคา่ ใชจ้ า่ ยประจำ� วนั
ตามสภาพพื้นท่ีของครัวเรือน
๒. เลย้ี งสตั วท์ เ่ี ปน็ อาหารของครวั เรอื น เชน่ ไก่เปด็ ปลากบหรอื อน่ื ๆตามทส่ี ภาพของพนื้ ที่
แต่ละครัวเรอื นจะท�ำได้
๓. แปรรปู ผลติ ผลในบา้ นเพอื่ เปน็ การถนอมอาหารและใชป้ ระโยชนใ์ นครวั เรอื นรปู แบบ
ต่าง ๆ
๑.๑ การปลกู พืชผักสวนครวั
พชื ผกั สวนครวั หมายถงึ พชื ทใ่ี ชส้ ว่ นตา่ งๆ เปน็ อาหาร เชน่ ลำ� ตน้ ใบ ดอก ผล และหวั
พชื ผกั สวนครวั สามารถปลกู ไวใ้ นบรเิ วณบา้ นเพอ่ื ใชบ้ รโิ ภคภายในครอบครวั ถา้ เหลอื กส็ ามารถ
น�ำไปจ�ำหน่ายเพือ่ เป็นรายไดเ้ สรมิ ให้กับครอบครัว
หน้า 32 ๓ สรา้ ง ทางรอดสงั คมไทย
ชนิดผกั
๑. ผักสวนครัว เป็นกลุ่มของพืชผักล้มลุกท่ีมีอายุการเก็บเก่ียวสั้น มักปลูกตามครัว
เรอื นหรอื แปลงปลูกขนาดใหญเ่ พอ่ื การค้า โดยมีการพฒั นาสายพันธ์ใุ หม้ ผี ลผลิตตามต้องการ
มักพบการผลิตเมล็ดพันธุ์ออกจ�ำหน่ายในเชิงพาณิชย์ ท้ังนี้ ไม่รวมพืชผักท้องถ่ินหรือผักป่า
พืชสมุนไพร และเครื่องเทศ รวมถึงไม้ผลบางชนิด ที่ปัจจุบันอาจพบการพัฒนา และปลูก
เพือ่ การคา้
ผักสวนครัว ได้แก่ ผักกาดขาว กะหล�ำ่ ปลี กะหล�ำ่ ดอก ผกั ชี ผกั บุ้ง ผักคะนา้ พรกิ
กระเพรา โหระพา แมงลัก ผักกวางตงุ้ กระเทียม ผักหอม หอมหัวใหญ่ หอมแดง แตงกวา
ถ่วั ฝกั ยาว มะเขอื ได้แก่ มะเขือเปราะ มะเขือพวง มะเขอื เทศ มะเขอื เคอ่ื น หน่อไมฝ้ รัง่ ฯลฯ
๒. ผักสมุนไพร และเคร่ืองเทศ เป็นกลุ่มของพืชผักที่สามารถใช้ท้ังในการประกอบ
อาหาร เพอื่ ใหอ้ าหารมสี ี รสชาติ กลน่ิ ตามตอ้ งการ รวมถงึ การเพม่ิ สรรพคณุ ทางยาของอาหาร
มักเป็นพชื ท่ใี หก้ ลน่ิ แรง มีรสเผ็ดร้อน โดยสว่ นมาก จะใช้สว่ นผล หวั และรากมาใช้ประโยชน์
และเปน็ พืชในทอ้ งถ่นิ
ผักสมนุ ไพร และเครอื่ งเทศ ได้แก่ ขงิ พริกไท ดปี ลี กระชาย ข่า ตะไคร้ ขมน้ิ ฯลฯ
๓. ผักพ้ืนบ้านหรือผักป่า เป็นกลุ่มของพืชผักที่ขึ้น และเติบโตได้เองตามธรรมชาติ
หรือนำ� มาปลกู ในครวั เรอื น มกี ารเกบ็ ผลผลิตตามฤดกู าล มกั เปน็ พืชผักประจ�ำทอ้ งถ่นิ ทเี่ ปน็
ทั้งไม้ยืนตนั และพืชลม้ ลกุ
ผกั พนื้ บา้ นหรอื ผกั ปา่ ไดแ้ ก่ ผกั หวานปา่ หนอ่ ไม้ สะเดา ขเี้ หลก็ แคปา่ แคบา้ น กระถนิ
ผักโขมเลก็ ผักโขมหนาม ต�ำลึง ผักแพว ยอดเหลียง ใบเส้ียว ผักกดู (ยอดเฟิรน์ ) ผักขาเขียด
ผกั กระโดน เหด็ เผาะ เหด็ แดง เหด็ โคน และเหด็ ปา่ ตา่ ง ๆ ฯลฯ
๓ สรา้ ง ทางรอดสงั คมไทย หนา้ 33
ขน้ั ตอนการปลูก (ผกั สวนครวั )
๑. การเลือกพื้นท่ี
พน้ื ทที่ ส่ี ามารถปลกู ผกั ไดด้ คี วรเปน็ พน้ื ทที่ อ่ี ยใู่ กลแ้ หลง่ นำ�้ เชน่ บอ่ นำ�้ ขดุ บอ่ นำ�้ ธรรมชาติ
แมน่ ำ�้ คลอง อา่ งเกบ็ นำ้� คลองชลประทานหรอื แนวสง่ นำ�้ ชลประทาน เนอื่ งจากพชื ผกั สว่ นใหญ่
มคี วามตอ้ งการนำ�้ สงู โดยเฉพาะหนา้ แลง้ ทอ่ี ากาศ แหง้ และอตั ราการระเหยนำ�้ สงู กวา่ ฤดอู น่ื ๆ
จงึ จำ� เป็นต้องมีน้ำ� เพียงพอเพอื่ ให้ผกั สามารถเติบโตจนถึงฤดูการเก็บเก่ยี วได้
๒. การเตรียมแปลง
• แปลงปลูกผักมักเตรียมด้วยการยกแปลงสูงประมาณ ๒๐-๓๐ เซนติเมตร หรือ
ขุดกร่องลกึ เนื่องจากพืชผักส่วนมากมีระบบรากท่ีต้องการ ซอนไซในดินท่ีร่วนซุย หน้าดนิ ลกึ
• ทำ� การไถพรวนแปลงทง้ิ ไวป้ ระมาณ ๑ อาทิตย์ เพื่อตากแดด และฆ่าเชือ้ โรค
• หว่านปยุ๋ หมักหรอื ป๋ยุ คอก รว่ มด้วยป๋ยุ เคมี พรอ้ มไถกลบแปลง
• อัตราการใส่ปุ๋ยในแปลงควรให้มีปุ๋ยหมักหรือปุ๋ยคอกมากกว่าปุ๋ยเคมี เช่น ๑๐:๑
เนื่องจากการใส่ปุย๋ เคมีมากจะทำ� ใหด้ นิ เปน็ กรด หน้าดนิ แนน่
๓. การเตรยี มเมล็ดพันธุ์
• เมล็ดพันธ์ผุ ักทใ่ี ชค้ วรมีลักษณะเปน็ เมลด็ พันธ์ุใหม่ อายเุ มล็ดพันธุไ์ มถ่ ึง ๑ ปี
• เมล็ดพันธุ์ที่ใช้ต้องเป็นเมล็ดพันธุ์ที่ตรงตามชนิดพืชท่ีปลูก และไม่มีเมล็ดพันธุ์อ่ืน
ปลอมปน
• ท�ำความสะอาดเมลด็ พนั ธุ์ รวมถึงคัดแยกเมลด็ พนั ธุท์ ีไ่ มส่ มบูรณ์ ออกดว้ ยวธิ ีน�ำไป
แชน่ ้ำ� และน�ำเมลด็ ท่ลี อยน�ำ้ ออก
• เมลด็ พนั ธส์ุ ว่ นมากกอ่ นปลกู จะทำ� การแชน่ ำ้� เสยี กอ่ นซงึ่ ระยะเวลาในการแชจ่ ะแตกตา่ ง
กันในแตล่ ะชนดิ ผกั หากเมล็ดพันธุ์ทม่ี เี ปลอื กหนา แขง็ อาจใช้เวลาแช่นาน ๒ - ๓ วัน เมล็ด
พันธ์ผุ กั ส่วนมากเป็นเมลด็ ทีม่ ีเปลอื กคอ่ นข้างบาง ไม่หนา แข็ง ส่วนใหญใ่ ช้เวลาแชป่ ระมาณ
๑๒ ช่วั โมง – ๑ วนั เทา่ นั้น
๔. การปลกู
สามารถปลูกได้หลายวธิ ตี ามความเหมาะสมของแต่ละชนดิ พชื ได้แก่
การหวา่ นเมลด็ เปน็ วธิ ที งี่ า่ ยสะดวกรวดเรว็ และนยิ มทส่ี ดุ ซง่ึ จะหวา่ นเมลด็ หลงั การแชน่ ำ�้
หน้า 34 ๓ สรา้ ง ทางรอดสงั คมไทย
แล้วหรือหว่านเมล็ดแห้งได้ทันที ผักท่ีนิยมการหว่านเมล็ดมักเป็นพืชท่ีมีล�ำต้นขนาดเล็ก
ขนาดทรงพุม่ นอ้ ย ไดแ้ ก่ ผกั ชี ผกั บงุ้ เปน็ ต้น
การปลูกด้วยต้นกล้า เป็นวิธีการปลูกด้วยต้นกล้าผักที่เตรียมได้จากแปลงเพาะกล้า
ด้วยวิธีการหว่าน วิธีน้ีเป็นวิธีท่ีใช้มากที่สุดส�ำหรับการปลูกผัก โดยมักใช้กับพืชที่มี
ล�ำต้นใหญ่ ทรงพุ่มกว้าง เนื่องจากใช้วิธีการหว่านเมล็ด อาจไม่เหมาะสมเพราะไม่สามารถ
เว้นช่วงห่างของต้นให้เหมาะสมกับการเติบโตได้ การหว่านอาจท�ำให้ต้นเจริญเติบโตไม่ดี
หรอื อาจตอ้ งถอนตน้ ทงิ้ บางสว่ นซง่ึ ทำ� ใหส้ นิ้ เปลอื งเมลด็ พนั ธเ์ุ สยี เปลา่ ผกั ทนี่ ยิ มปลกู ดว้ ยวธิ นี ี้
ไดแ้ ก่ กะหลำ่� ปลี ผักกาดขาว คะนา้ มะเขือ พริก เป็นตน้
การหยอดเมล็ด เป็นวิธีปลูกท่ีใช้ส�ำหรับพืชผักท่ีต้องการระยะห่างระหว่างต้นมาก
มกั เปน็ พืชทีเ่ ป็นเถาว์หรือเครือ ต้นกลา้ ออกไมม่ คี วามแข็งแรง เหย่ี ว และตายงา่ ย หากแยก
ตน้ กล้าปลูก เชน่ ถ่ัวฟกั ยาว แตงกวา ฟักทอง ฟัก มะระ เป็นตน้
ฝังในแปลงปลูก เป็นวิธีปลูกท่ีใช้กับพืชผักบางชนิดท่ีมีการแยกหน่อ แยกเหง้าออก
ปลกู เพอ่ื ขยายจำ� นวนตน้ หรอื กอ โดยฝงั ลงหลมุ หรอื แปลงปลกู ไดท้ นั ที เชน่ ผกั หอม กระเทยี ม
ตะไคร้ ขงิ ขา่ กระชาย เปน็ ต้น
๕. การดแู ลรักษา
• ในระยะแรกของการปลูกชว่ ง ๑ อาทติ ย์แรก ทัง้ การปลกู ด้วยการใชเ้ มลด็ การปลกู
ดว้ ยตน้ กลา้ และปลกู ดว้ ยการแยกหวั หรอื หนอ่ จำ� เปน็ ตอ้ งมกี ารใหน้ ำ้� อยา่ งสมำ�่ เสมอ อยา่ งนอ้ ย
วนั ละ ๒ คร้งั เชา้ -เยน็ จนตน้ กล้าตงั้ ตวั ได้
• การให้นำ�้ จะยงั ให้วันละ ๒ คร้งั ตลอดจนถงึ ระยะเกบ็ เก่ียว แตอ่ าจให้นำ�้ ในปริมาณ
ทน่ี อ้ ยลง หรือผกั บางชนดิ ทอ่ี าจเว้นชว่ งห่างการใหน้ �้ำเมื่อถงึ ระยะก่อนเก็บเก่ียว
• การใส่ปุย๋ ควรใสใ่ นระยะหลงั ปลูก ๑ - ๒ อาทติ ย์ หรอื ระยะทต่ี ้นกล้าตัง้ ต้นไดแ้ ล้ว
จนถึงระยะกอ่ นการเก็บเกี่ยวประมาณ ๑ เดอื น รวมถงึ พืชบางชนดิ ทสี่ ้นิ สดุ การใหป้ ยุ๋ ทรี่ ะยะ
ก่อนการตดิ ดอกและผล
๖. การเก็บผลผลิต
พืชผักมักมีระยะการเก็บเก่ียวไม่เกิน ๑๒๐ วัน ส่วนมากจะใช้เวลาประมาณ
๔๐ - ๖๐ วนั ข้ึนกับชนดิ ของผกั โดยผักกนิ ใบจะมีระยะเวลาการเก็บเกย่ี วส้ันกวา่ ผกั กนิ ดอก
และผล
๓ สร้าง ทางรอดสงั คมไทย หนา้ 35
สรรพคุณของผกั สวนครวั แต่ละชนดิ
กวางตงุ้
ซ่ึงมีเส้นใยอาหารสูงจึงช่วยในการขับถ่าย และยังเป็นผักที่ช่วยลด
ความเสยี่ งโรคหลอดเลอื ดหวั ใจตบี สำ� หรบั กวางตงุ้ ฮอ่ งเตม้ วี ติ ามนิ สงู
โดยเฉพาะวิตามินเอและวิตามินซี รวมถึงธาตุอาหารท่ีส�ำคัญ
อย่างแคลเซยี มและฟอสฟอรสั
กะเพรา
เปน็ สมนุ ไพรไทย ๆ ทชี่ ว่ ยแกท้ อ้ งอดื ทอ้ งเฟอ้ ลดอาการจกุ เสยี ดไดด้ ี
ขา่
ควรเลือกขา่ อ่อนเพราะมีฤทธ์ชิ ว่ ยขับลมและลดเสมหะ
คะน้า
วิตามินเอในคะน้าช่วยบ�ำรุงสายตาขณะที่แคลเซียมและฟอสฟอรัส
บำ� รุงกระดกู และฟนั
ตน้ หอม
มีฤทธ์ิช่วยขับเหงื่อ ลดไข้ หากกิอย่างต่อเน่ืองจะช่วยบ�ำรุงหัวใจ
และลดไขมนั ในหลอดเลอื ด
ตะไคร้
ตะไคร้ท้ังต้นสามารถใช้เป็นยาแก้ปวดท้อง ลดจุกเสียดและยังมี
สรรพคุณในการขับปัสสาวะด้วย
ถั่วฝักยาว
ผักกินง่ายชนิดน้ี ถ้ากินแบบสด ๆ จะช่วยลดอาการแน่นท้องและ
ท้องอืดได้
ผักชี
ต้นผักชีท�ำหน้าท่ีเหมือนยาละลายเสมหะ และช่วยแก้ท้องอืด
ทอ้ งเฟ้อ
หน้า 36 ๓ สร้าง ทางรอดสังคมไทย
ผกั บุ้งจีน
ช่วยบ�ำรุงสายตา กระดูกและฟัน ท้ังยังป้องกันโรคโลหิตจางได้
เพราะเปน็ ผกั ทมี่ ที ง้ั แคลเซยี มฟอสฟอรสั ธาตเุ หลก็ วติ ามนิ บแี ละซี
ผักหวานบ้าน
มีท้ังแคลเซียมและฟอสฟอรัสท่ีรับหน้าท่ีบ�ำรุงกระดูก และมี
แมกนีเซียมทช่ี ่วยบำ� รงุ กล้ามเนื้อ
พรกิ ขี้หนู
มีวิตามินซีสูงและเป็นแหล่งรวมของกรดแอสคอร์บิกที่ช่วยขยาย
หลอดเลือดในล�ำไส้และกระเพาะอาหาร เพิ่มประสิทธิภาพของ
ร่างกายในการดูดซึมสารอาหาร
ฟักเขยี ว
ช่วยขับเสมหะได้ดี นอกจากน้ีฤทธ์ิเย็นของฟักเขียวยังช่วยแก้ร้อน
ในได้ดีด้วย
ฟกั ทอง
เป็นแหล่งรวมของเบต้าแคโรทีนซ่ึงดีต่อผิว ท้ังยังช่วยบ�ำรุงตับ ไต
และสายตาด้วย
มะกรูด
ใบมะกรูดท�ำให้เลือดลมไหลเวียนดี กล่ินหอม ๆ ของมะกรูด
ช่วยใหร้ ู้สกึ ผ่อนคลาย
แมงลกั
คนสมัยก่อนนิยมน�ำใบแมงลักมาต�ำจนละเอียด และคั้นน�้ำดื่ม
ใชเ้ ป็นยาแก้หวัด
โหระพา
ใบสดของโหระพามีสรรพคุณเด่นในเรื่องการขับลม แก้ท้องอืด
ท้องเฟอ้ แกว้ งิ เวียน และช่วยยอ่ ยอาหาร
๓ สรา้ ง ทางรอดสงั คมไทย หน้า 37
ตวั อย่างกจิ กรรม การปลูกผกั สวนครวั
คน่ื ชา่ ย เปน็ ผกั สวนครวั ทป่ี ลกู งา่ ย มใี หเ้ กบ็ กนิ ไดต้ ลอดทง้ั ปี เปน็ ผกั ในตระกลู เดยี วกนั
กบั ผกั ชที ใ่ี หใ้ บ และกา้ นใบ สำ� หรบั รบั ประทานสด นำ้� ผกั หรอื นำ� มาประกอบอาหาร เนอื่ งจาก
มกี ลน่ิ หอมเยน็ สามารถดบั กลน่ิ คาวปลา คาวเนอ้ื ไดเ้ ปน็ อยา่ งดี นอกจากนยี้ งั มสี รรพคณุ ทางยา
ชว่ ยลดความดนั โลหติ ปอ้ งกนั โรคหวั ใจขาดเลอื ด เหมาะส�ำหรบั คนเปน็ โรคไต เพราะเป็นผัก
ทมี่ ีโซเดยี มนอ้ ย และยงั ช่วยปอ้ งกันการเกดิ มะเรง็ ได้
การเตรยี มดิน
• ยกร่องหรือท�ำแปลงธรรมดา ประมาณ ๑ - ๒ เมตร
• ไถหน้าดนิ ประมาณ ๒ - ๓ นิ้ว ตากแดดไว้ประมาณ ๕ - ๑๐ วนั
• หว่านปุ๋ยคอกให้ทั่วแปลง ประมาณ ๑,๐๐๐ กิโลกรัม/ไร่ แนะน�ำเป็น ขี้ไก่แกรบ
หลังจากนั้นตีกบั ดนิ ให้ละเอยี ดจนดินฟู
การเพาะกล้า ค่ืนช่ายไม่นิยมปลูกแบบเพราะกล้า เพราะมีขั้นตอนท่ียุ่งยาก จึงมัก
ทำ� การปลกู แบบหว่านมากกว่า
การปลูกคนื่ ชา่ ย
• รดนำ�้ แปลงปลกู พอหมาดก่อนการท�ำการปลกู ๑ วัน
• ทำ� การหว่านเมล็ดทเี่ ตรยี มไว้ใหท้ ว่ั ประมาณ ๐.๕ - ๑ กิโลกรัม / ไร่
• คลุมด้วยฟางบาง ๆ แลว้ รดน้ำ� ตามให้ชมุ่
หน้า 38 ๓ สรา้ ง ทางรอดสงั คมไทย
บวบ เป็นพืชชนิดเถามีประโยชน์ท้ังในผลท่ีอ่อนและผลท่ีแก่ โดยผลท่ีอ่อนน�ำมา
ประกอบอาหารและเป็นยารักษาโรคได้ เพราะมีคุณค่าทางอาหารและสรรพคุณทางยา
อย่างมาก ผลแก่แล้วนั้นสามารถน�ำมาประดิษฐ์เป็นเครื่องใช้ต่าง ๆ ได้อย่างหลากหลาย
ซึ่งบวบน้ันสามารถปลูกได้ง่ายในเขตร้อน ท�ำให้ในประเทศไทยนิยมปลูกกันอย่างมาก ไม่ว่า
จะปลูกเพอื่ การบรโิ ภคหรอื ปลูกเพ่อื จ�ำหน่าย
การเตรียมดิน
• ไถหน้าดินลกึ ประมาณ ๒๕ - ๓๐ เซนตเิ มตร ตากแดดไว้ ๗ - ๑๐ วัน หลังจากนนั้
ใส่ปยุ๋ หมกั หรือปุย๋ คอยลงไปในดิน
• ท�ำการยกรอ่ งสงู ๗๕ เซนติเมตร กว้าง ๑.๕ เมตร ขดุ หลมุ ลกึ ๒ - ๔ เซนติเมตร
หา่ งกนั ๗๕ - ๑๐๐ เซนติเมตร (บวบเหลยี่ ม และบวบดำ� )
• ท�ำการยกรอ่ งสงู ๗๕ เซนตเิ มตร กว้าง ๒.๕ เมตร ขุดหลุมลึก ๒ - ๔ เซนตเิ มตร
ห่างกนั ๒.๕ เมตร (บวบงู)
การเพาะกล้า บวบไมน่ ยิ มเพาะกลา้ เน่อื งจากต้นกล้ามคี วามเปราะ หกั ง่าย
การปลกู บวบ
• หยอดเมล็ดลงในหลุมที่เตรียมไว้จำ� นวน ๓ - ๕ เมลด็
• กลบดว้ ยดนิ ผสมปุ๋ยคอก รดน�้ำให้ชุ่ม
• คลุมปากหลมุ ดว้ ยหญา้ แห้งหรือฟาง
๓ สร้าง ทางรอดสงั คมไทย หน้า 39
ถั่วฝักยาว เป็นพืชอายุสั้น ปลูกได้ตลอดปี ปลูกเพียงเดือนกว่าก็สามารถเก็บฝักได้
ทกุ วนั อกี ทง้ั ยงั มตี น้ ทนุ การผลติ ไมส่ งู ดแู ลไมย่ าก จงึ เหมาะกบั เกษตรกรมอื ใหมท่ เ่ี รมิ่ ปลกู เพอื่ ขาย
หรอื ผู้ทส่ี นใจลองปลกู ไวก้ ินเองภายในบ้าน
การเตรียมดนิ
• ไถพรวน ลึกประมาณ ๒๕ เซนตเิ มตร ตากดินทิง้ ไว้ ๕ - ๗ วนั เพื่อจัดการกบั ศัตรูพชื
ต่าง ๆ ในดิน ก�ำจัดวัชพืชออกจากแปลง แล้วไถคราด อาจใส่ปุ๋ยคอกหรือปุ๋ยหมัก
ที่สลายตัวแล้ว เพอื่ ปรับปรุงโครงสร้างดนิ ให้ดขี น้ึ
• การยกร่อง ให้ร่องกวา้ งประมาณ ๑ เมตร ขนานกบั พนื้ ที่ และเตรยี มร่องระหว่าง
แปลงปลกู ๕๐ - ๘๐ เซนตเิ มตร ไวเ้ ดนิ เข้าออก
• การเตรยี มหลมุ ปลกู ขุดหลุมลกึ ประมาณ ๑๐ - ๑๕ เซนตเิ มตร ระยะห่างระหว่าง
แถวประมาณ ๘๐ เซนตเิ มตร ระยะหา่ งระหว่างหลมุ ประมาณ ๕๐ เซนตเิ มตร รองก้นหลมุ
ดว้ ยปยุ๋ สตู ร ๕ - ๑๐ - ๕ หรอื ๑๕ - ๑๕ - ๑๕ หลมุ ละครง่ึ ชอ้ นแกง คลกุ ใหเ้ ขา้ กนั กบั ดนิ กน้ หลมุ
การปลูก หยอดเมลด็ หลุมละ ๓ - ๔ เมลด็ กลบดว้ ยแกลบ หรอื ป๋ยุ คอกหรือดินผสม
ให้หนาประมาณ ๕ เซนติเมตร คลุมด้วยฟางแห้งบาง ๆ เพ่ือรักษาความช้ืน รดน�้ำให้ชุ่ม
พอเหมาะ การถอนแยกหลังจากหยอดเมล็ดแล้ว ๗ - ๑๕ วัน ถอนต้นที่ไม่สมบูรณ์ออก
เหลือตน้ แขง็ แรงไว้ ๒ ต้นต่อหลุม หลังหยอดเมลด็ ควรให้นำ�้ ทกุ วัน เชา้ - เย็น จนตน้ ถ่ัวฝกั ยาว
สามารถต้ังตวั ได้
หนา้ 40 ๓ สร้าง ทางรอดสงั คมไทย
ผักหวาน เป็นพืชผักท่ีโดยปกติธรรมชาติแล้วจะเกิดขึ้นเองในป่า นิยมปลูกกัน
เพอื่ สรา้ งอาชพี สรา้ งรายไดใ้ หก้ บั ครอบครวั เพราะวา่ ผกั หวาน เปน็ ผกั ทม่ี รี สชาตอิ รอ่ ย นำ� มาปรงุ
เป็นอาหารได้หลายแบบหลายชนิด แกงแบบลาวอีสานหรือแกงแบบไทยๆ หรือแล้วแต่
ภาคไหนจะน�ำไปปรุงกับวัตถุดิบของแต่ละพ้ืนที่ การปลูกผักหวานให้รอดน้ันไม่ง่ายนัก
หากแต่ต้องมีเทคนิคในการปลูก หากน�ำมาปลูกเพ่ือจ�ำหน่ายก็เป็นอาชีพที่น่าสนใจทีเดียว
ซ่ึงส่งผลในระยะยาวสามารถขายได้ทัง้ แบบเกบ็ ยอดผกั หวานขาย และก็สามารถตอนก่ิงพนั ธุ์
เพ่อื จำ� หน่ายกถ็ ือวา่ เปน็ การลงทุนทค่ี ้มุ ค่ามากเลย
เทคนิคการปลูกผักหวานดว้ ยวธิ ธี รรมชาติ
• หาพืชพ่ีเล้ียงให้กับต้นผักหวานก่อนปลูก เช่น พืชตระกูลถ่ัว โดยเฉพาะต้นแค
ต้นมะขาม จะเป็นพชื พี่เลย้ี งให้กบั ตน้ ผกั หวานได้เปน็ อยา่ งดี
• เม่อื ไดก้ ิ่งพนั ธ์มุ าแลว้ ให้ตดั ก่ิงใหส้ ั้นเหลือประมาณ ๔๕ - ๕๐ เซนตเิ มตร ขดุ หลมุ
ใกลก้ ับพชื พเ่ี ลย้ี ง เช่น ตน้ แค ต้นชะอม ต้นตะขบต้นมะขามเทศ ประมาณ ๑ ศอก หรอื ๓๐
เซนตเิ มตร ขดุ หลมุ ใหม้ ขี นาดความกวา้ งประมาณ
๑ ฟตุ เศษๆ
• รากสมบูรณ์แบบให้ค่อยๆ ใช้คัตเตอร์
กรีดเจาะถุงชำ� แบบเบาๆ อยา่ ให้รากขาด
• พรวนดินท่ีก้นหลุมให้ร่วนซุย ผสม
ปุ๋ยคอกกับดินให้เข้ากันแล้วน�ำก่ิงพันธุ์ผักหวาน
มาตัดถุงปักช�ำแบบเบามือ วางก่ิงผักหวานตรง
กลางก้นหลุมแล้วใช้ดินกลบพอหลวมๆ ให้พอดี
กับปากหลุมน�ำไม้ไผ่หรือไม้ที่แข็งแรงมามัดกิ่งไม่
ใหโ้ ยก
• รดน�้ำพอให้ชุ่ม อย่าให้น�้ำขัง หญ้าแห้ง
เศษใบไมแ้ หง้ มากลบปากหลมุ ไดเ้ พอ่ื เปน็ การสรา้ ง
ปุ๋ยไปในตัว
๓ สร้าง ทางรอดสงั คมไทย หน้า 41
กระเพรา ถอื เปน็ ผกั สวนครวั ทไี่ ดร้ บั ความนยิ มมากชนดิ หนง่ึ เนอื่ งจากมกี ลนิ่ หอมแรง
และให้รสเผ็ด เหมาะส�ำหรับน�ำมาประกอบอาหารโดยเฉพาะเมนูผัดกระเพรา และใส่
ในอาหารจ�ำพวกต้มย�ำต่าง ๆ กะเพราเป็นพืชล้มลุกท่ีมีอายุข้ามปี ล�ำต้นเป็นทรงพุ่ม
สงู ประมาณ ๗๐ - ๘๐ ซม. ลำ� ตน้ และใบมีขนเล็กน้อย ใบมีสเี ขยี วและสมี ่วง มีกล่ินหอม
การเพาะเมลด็ สำ� หรับท�ำกล้า
• ทำ� แปลงเพาะขนาดความกวา้ ง ๑ เมตร (ความยาวแลว้ แต่แปลง)
• ยอ่ ยดินให้ละเอยี ด คลุกเคลา้ ปุ๋ยคอก ปยุ๋ หมัก
• หวา่ นเมล็ดให้ท่วั แปลง หลงั เพาะประมาณ ๗ - ๑๐ วัน เมลด็ จะเร่มิ งอก
• ดแู ลรักษาตน้ กลา้ ประมาณ ๒๕ - ๓๐ วนั กย็ ้ายต้นกล้าไปปลกู ในแปลง
การเตรียมดินปลกู และการย้ายต้นกล้า
• ใชจ้ อบขุดดินลกึ ประมาณ ๑๕ - ๒๐ เซนตเิ มตร หรือ ๑ หนา้ จอบ
• ใส่ปุ๋ยคอกหรือปุ๋ยหมักลงแปลงกว้าง ๑ เมตร ความยาวแล้วแตข่ นาดแปลง
• ขดุ หลมุ ปลกู ขนาดลึก ๑/๒ หนา้ จอบ
• ใช้ระยะหา่ งระหว่างต้น ๓๐ เซนตเิ มตร ระหว่างแถว ๖๐ เซนติเมตร
• น�ำต้นกล้าลงปลูกในหลมุ แลว้ รดน้ำ� ตาม
• การใสป่ ุ๋ย เมื่อตน้ กะเพราอายุ ๑๐ - ๑๕ วนั
หนา้ 42 ๓ สร้าง ทางรอดสงั คมไทย