พริก ผักสวนครัวท่ีคุ้นหน้าคุ้นตากันดีกับสีสันท่ีจัดจ้านและรสชาติท่ีเผ็ดร้อนคู่ครัว
อาหารไทยอย่าง “พริก” เป็นสมุนไพรที่นิยมน�ำมาใช้ในการประกอบอาหารและนิยมปลูก
ตามบา้ นเรอื นกันทวั่ ไป ดว้ ยรสชาตทิ เี่ ปน็ เอกลกั ษณแ์ ละสรรพคุณทเ่ี ป็นประโยชนต์ อ่ ร่างกาย
เช่น ลดคอเลสเตอรอล ปอ้ งกนั เส้นเลือดอุดตัน มีฤทธ์ติ า้ นมะเร็ง และซงึ่ ช่วยทำ� ใหเ้ ลือดไหล
เวียน ขับเหง่ือ ท�ำให้ร่างกายรู้สึกสดช่ืนตื่นตัว และช่วยในการกระตุ้นระบบการเผาผลาญ
ได้อยา่ งดเี ย่ียม
การเตรยี มดิน
• ปลูกบริเวณท่ีมีแสงแดดส่องถึงอย่างน้อยคร่ึงวัน สามารถปลูกได้ท้ังแบบลงแปลง
และแบบกระถาง โดยควรเลือกกระถางขนาด ๑๒ นว้ิ ข้นึ ไป หรอื ยกแปลงปลกู ผสมปุ๋ยคลกุ
เคล้าให้เขา้ กนั
• หยอดเมล็ดเพื่อเพาะกล้า และถอนแยกต้นกล้าจากถาดเพาะหลังจากหยอดเมล็ด
๒๕ - ๓๐ วนั มาปลกู หลมุ ละ ๑ ตน้ หรอื หยอดเมลด็ ๒ - ๓ เมลด็ ตอ่ หลมุ กลบดนิ แลว้ รดนำ้� ใหช้ มุ่
• รดน้�ำเปน็ ประจ�ำทุกวนั วันละ ๒ ครง้ั เช้าและเย็น
• ใสป่ ยุ๋ เม่ือพชื อายุ ๔๕ - ๕๐ วนั
• การเกบ็ เกยี่ วตง้ั แตก่ ารเพาะเมลด็ จนถงึ วนั เกบ็ เกย่ี วใชเ้ วลาประมาณ ๙๕ - ๑๐๐ วนั
และสามารถเก็บเกีย่ วต่อเน่อื งได้อกี ๑ - ๓ ปี แตกต่างกันตามสายพันธ์ุ
๓ สร้าง ทางรอดสงั คมไทย หนา้ 43
ผักชี คือ พืชสมุนไพรชนิดหนึ่งท่ีมีกล่ินหอมเฉพาะตัว แต่เป็นพืชล้มลุกที่มีอายุส้ัน
ประมาณ ๔๐ - ๖๐ วนั เทา่ น้ัน โดยผกั ชที ีน่ ิยมปลูกกันในประเทศไทย คอื ผกั ชพี ันธุส์ ิงคโปร์,
พันธุ์สิงคโปร์เมล็ดด�ำ และพันธุ์ไต้หวัน ในการปรุงอาหารผักชีสามารถน�ำมาปรุงอาหาร
ได้ทุกส่วนของต้น ถือเป็นผักที่มีการใช้มากในครัวเรือน ผักชีเป็นพืชท่ีชอบดินร่วนปนทราย
หากจะปลกู ในพน้ื ที่ ทเี่ ปน็ ดนิ เหนยี ว ควรเตรยี มดนิ ใหร้ ะบายนำ�้ ไดด้ ี พนื้ ทท่ี ป่ี ลกู ตอ้ งเปน็ พนื้ ที่
ทม่ี ฝี นนอ้ ย อากาศเยน็ ในการปลกู เพอ่ื เอาตน้ นนั้ ควรปลกู ราวเดอื นกนั ยายนถงึ ปลายตลุ าคม
เพราะในช่วงนี้ผักชีจะงอกงามได้ดี โดยวิธีปลูกผักชีนั้น ปลูกได้ด้วยการเพาะเมล็ดพันธุ์
สามารถปลกู ได้ทัง้ แบบกระถาง และแปลงดิน
วธิ ีการปลูกผกั ชี
๑. เตรยี มดินส�ำหรับปลกู ด้วยการตากดินสัก ๑ สัปดาห์ แล้วพรวนดินให้แตกเป็นกอ้ น
เลก็ ผสมป๋ยุ คอกหรอื ปยุ๋ สดคลุกเคล้าเขา้ ไป
๒. บดเมล็ดพันธุ์ผักชีที่ซื้อมาให้แตกออกเป็น ๒ ซีก แล้วน�ำเมล็ดไปแช่น้�ำประมาณ
๒ - ๓ ชัว่ โมง
๓. น�ำเมลด็ พันธุผ์ กั ชที ี่แช่น้�ำแลว้ ไปผ่ึงลม ผสมกบั ทรายหรือขเ้ี ถ้าเลก็ น้อย
๔. เมื่อเห็นเมล็ดเร่ิมงอก ให้น�ำไปใส่กระถางปลูกที่เตรียมดินเอาไว้แล้ว จากนั้น
คลมุ ด้วยฟางข้าวหรือหญ้าแหง้ แล้วรดน้ำ� ใหช้ มุ่
๕. รอเกบ็ เกยี่ วมารบั ประทานในอกี ๓๐ - ๔๕วนั
โดยเวลาถอนให้รดน�้ำจนดินชุ่มก่อน และควรถอน
ทง้ั ราก
หน้า 44 ๓ สร้าง ทางรอดสงั คมไทย
มะเขือเปราะ เป็นผักสวนครัวท่ีได้รับความนิยมเป็นอย่างมาก ไม่ว่าจะเป็นการ
นำ� ไปประกอบอาหาร หรอื กนิ แกลม้ คกู่ บั มอ้ื อาหารกต็ าม เนอ่ื งจากมคี ณุ ประโยชนห์ ลายอยา่ ง
เชน่ ย่อยอาหาร ขับลม นอกจากน้ี มะเขือเปราะยงั เปน็ พชื ท่ปี ลูกได้งา่ ย นำ� ไปขายรายได้ดี
ไม่ต้องการการดูแลมาก เจริญเตบิ โตดี และสามารถปลูกได้ในดนิ ทกุ ชนิด
การเตรียมดิน
ส�ำหรบั แปลงเพาะกลา้ นำ� ดินละเอยี ดผสมกบั ปุ๋ยคอก หรือปุ๋ยหมกั ในอตั ราส่วน ๒:๑
ส�ำหรับแปลงปลูก ท�ำการไถหน้าดินประมาณ ๑๕ - ๓๐ เซนติเมตร แล้วท�ำการย่อยดิน
จากนน้ั หวา่ นปยุ๋ คอกหรอื ปยุ๋ หมกั คลกุ เคลา้ ใหท้ วั่ ดนิ ทำ� การยกรอ่ งสงู ประมาณ ๓๐ เซนตเิ มตร
กว้าง ๑๒๐ เซนติเมตร
การเพาะกลา้
• ใช้ไมจ้ ิม้ ฟนั กดลงบนดินเพาะกลา้ ทเ่ี ตรยี มไว้
• หยอดเมลด็ ลงในหลุม ๑ - ๒ เมล็ด
• กลบหน้าหลุมดว้ ยดนิ หลงั จากนน้ั โรยปูนขาวรอบ ๆ ภาชนะที่ทำ� การเพาะกลา้
• เม่ือตน้ กลา้ เรม่ิ งอก ประมาณ ๗ - ๑๐ วัน ใหเ้ ร่ิมรดนำ�้ วันละ ๑ - ๒ ครั้ง เชา้ เยน็
จนกระทง่ั ต้นกล้ามีอายุ ๒๕ - ๓๐ วันจึงทำ� การยา้ ยกลา้ ลงแปลงปลกู ตอ่ ไป
• การใหน้ ำ�้ หลงั จากการยา้ ยตน้ กลา้ ทำ� การรดนำ้� ทกุ วนั เชา้ - เยน็ จนเมอ่ื ตน้ กลา้ ฟน้ื แลว้
จึงท�ำการรดน้�ำ วันละ ๑ คร้ัง โดยเฉพาะชว่ งเวลาดอกตดิ ตอ้ งรดน�้ำสม�่ำเสมอ อยา่ ใหข้ าดน�ำ้
• เรมิ่ เกบ็ เก่ยี วไดเ้ ม่ือมะเขือเปราะมีอายุ ๔๕ - ๖๐ วนั
๓ สร้าง ทางรอดสงั คมไทย หนา้ 45
ผกั บ้งุ เปน็ ผกั สวนครัวท่ีนำ� มาประกอบอาหารได้หลายอยา่ ง อีกทั้งยงั ปลกู งา่ ยโตเร็ว
แคไ่ มก่ อี่ าทติ ยก์ ส็ ามารถเกบ็ เกย่ี วไดแ้ ลว้ วธิ ปี ลกู นนั้ กง็ า่ ยแสนงา่ ย สามารถปลกู ไดท้ ง้ั แบบเพาะ
เมลด็ และใช้รากปกั ช�ำ ผกั บงุ้ เปน็ ผกั ท่ีชอบน�ำ้ ฉะน้ันถา้ ปลูกในกระถางควรหมั่นรดนำ�้ บอ่ ย ๆ
อย่าปลอ่ ยใหห้ นา้ ดนิ แห้ง
วธิ ีปลกู แบบใชเ้ มลด็
๑. นำ� ตะกร้าแบบมีรูมาวางซ้อนกนั กับกระบะ
๒. นำ� กาบมะพรา้ วสบั ใส่ตะกรา้ โดยให้มีความสงู ประมาณ ๓/๔ น้ิว
๓. ใส่นำ�้ สะอาด ให้ความสูงของน้�ำปร่มิ กบั กาบมะพรา้ ว
๔. โรยเมลด็ ผกั บงุ้ อยา่ ใหต้ ดิ กนั จนเกนิ ไป และนำ� ฝาหรอื ภาชนะมาปดิ ดา้ นบน วางในทรี่ ม่
ไมต่ ้องตากแดด
๕. รากจะเรมิ่ โผลใ่ น ๒ วนั ในระหวา่ งนคี้ วรสงั เกตระดบั นำ้� ถา้ ลดลงใหเ้ ตมิ ใหส้ งู เทา่ เกา่
ถ้าตน้ เร่มิ งอกแล้วกไ็ ม่ตอ้ งปิดฝาแล้ว (ใบจะไดไ้ ม่เหลือง) และเติมปุ๋ยประมาณวันท่ี ๕
๖. พอครบ ๑๔ วันเติมน�้ำปุ๋ยเพิ่ม และเปลี่ยนกระบะใส่น้�ำเป็นขนาดใหญ่ข้ึนเพื่อให้
รากยาว
๗. พอครบ ๓ สปั ดาหห์ รอื ๒๑ วนั ตน้ จะยาวประมาณ ๑๐ - ๑๒ นว้ิ แปลวา่ ใกลต้ ดั ไดแ้ ลว้
ให้ถ่ายนำ้� ป๋ยุ ออก และใส่นำ้� สะอาดไว้ ๓ - ๕ วนั
เพ่ือลา้ งปุย๋ ตกค้างออกและตดั ได้ทันที
หนา้ 46 ๓ สร้าง ทางรอดสังคมไทย
วธิ ปี ลูกแบบไม่ใช้เมล็ด
๑. ตัดฟองน้�ำให้เป็นลูกเต๋า ขนาดกว้าง ๑ x ๑ น้ิว กรีดตรงกลางฟองนำ�้ ให้เป็นรู
น�ำไปชบุ น�้ำให้ชุ่ม
๒. น�ำต้นผักบ้งุ ตัดรากเสียบตามรูทีเ่ จาะไว้ แลว้ น�ำฟองน้�ำไปวางเรยี งในตะกร้า ใหต้ ้น
ผกั บงุ้ โผลจ่ ากรตู ะกรา้ ประมาณ ๓ นวิ้ จากนนั้ นำ� ตะกรา้ ไปวางซอ้ นกบั กระบะใสน่ ำ้� ระวงั อยา่
ใหล้ ำ� ต้นส่วนล่างโดนกบั ก้นกระบะ
๓. ทงิ้ ไว้ ๕ - ๗ วัน พอรากเริม่ ยาวแล้วให้เปลย่ี นนำ้� ใสป่ ยุ๋
๔. เปล่ียนเปน็ กระบะใหญ่ จากนนั้ ท้ิงไว้ประมาณ ๑๔ วนั กจ็ ะโตเตม็ ท่ี
๓ สรา้ ง ทางรอดสงั คมไทย หนา้ 47
๑.๒ การเลย้ี งสัตว์เปน็ อาหาร
มนุษย์ใช้สัตว์แบบทุกชนิดเป็นอาหาร มนุษย์สมัยโบราณล่าจับสัตว์มาเป็นอาหาร
นับแต่สัตว์ท่ีล่าหรือจับได้ง่าย ๆ โดยไม่ต้องใช้เครื่องมือพิเศษ เช่น งู แย้ ฯลฯ จนกระท่ัง
คดิ เครอื่ งมอื จบั สตั วท์ ม่ี ขี นาดใหญแ่ ละลา่ ไดย้ ากขนึ้ จนสามารถ ลา่ และจบั สตั วม์ าเปน็ อาหาร
ไดม้ ากขนึ้ เมอื่ เหลอื จากการบริโภคก็กักขังสตั วไ์ วใ้ ช้เปน็ อาหารในวันตอ่ ไป
ปจั จบุ นั เนอื้ สตั วแ์ ละผลติ ภณั ฑจ์ ากสตั วเ์ ปน็ อาหารทส่ี ำ� คญั ของมนษุ ยไ์ ดแ้ ก่ เนอ้ื นม ไข่
ซึง่ ให้สารอาหารที่สำ� คญั ต่อรา่ งกายมนษุ ยโ์ ดยเฉพาะโปรตีน
ประโยชน์ของการเลยี้ งสัตว์
การเล้ียงสัตว์ให้ประโยชน์ต่อผู้เลี้ยงมากมายหลายประการ เช่น เลี้ยงสัตว์เพื่อบริโภค
ในครัวเรอื นและเลีย้ งสตั ว์เพอื่ ขาย น�ำมาเป็นอาชีพทไ่ี ดผ้ ลตอบแทนสงู หากมองในภาพรวม
ต้ังแต่ผู้ประกอบอาชีพเลี้ยงสัตว์ ครัวเรือน ชุมชน สังคม และประเทศชาติได้รับประโยชน์
จากการเล้ยี งสัตวท์ ้ังส้ิน
ประเภทของสัตวเ์ ล้ยี งแบง่ ตามประโยชน์ มดี ังน้ี
๑. ใชเ้ ปน็ อาหาร ได้แก่
• สัตว์ที่ให้เน้ือ เช่น วัว หมู ไก่ ปลา
• สตั ว์ที่ใหน้ ม เช่น ววั แพะ
• สตั วท์ ี่ใหไ้ ข่ เชน่ เป็ด ไก่
๒. ใช้แรงงาน ไดแ้ ก่
• สตั ว์ท่ใี ชเ้ ปน็ พาหนะ เชน่ ชา้ ง ม้า
• สตั ว์ที่ใชไ้ ถนา ลากเกวียน เชน่ วัว ควาย
๓. เพ่อื ความเพลิน เชน่ นก ปลา สนุ ัข แมว
หน้า 48 ๓ สร้าง ทางรอดสังคมไทย
ปัจจยั ในการเลยี้ งสัตว์
ในการเลยี้ งสตั ว์ สตั วท์ เี่ ลยี้ งไวจ้ ะเจรญิ เตบิ โตไดผ้ ลดหี รอื ไม่ ขน้ึ อยกู่ บั ปจั จยั ๒ ประการ
คอื พนั ธุกรรมกับสง่ิ แวดล้อม
ปจั จัยท่เี ก่ียวกบั สิ่งแวดล้อม คอื
๑. ภูมิอากาศ ได้แก่ ความร้อน หนาวของอากาศ ความช้ืน ฝน กระแสลม ซ่ึงมีผล
ต่อการเจริญเติบโตของสัตว์ท้ังทางตรงและทางอ้อม ทางตรง คือ ความสุขสบายของสัตว์
ทางอ้อม คอื เมือ่ สตั วส์ ขุ สบายกจ็ ะเจริญเตบิ โตได้ดี
๒. อาหาร จัดเป็นสง่ิ แวดลอ้ มอย่างหนง่ึ อาหารคือ สิ่งท่ีสตั ว์กินเข้าไปแล้วไม่ก่อใหเ้ กิด
อันตรายกับสัตว์ สามารถถูกย่อยและดูดซึมเข้าไปในร่างกายของสัตว์เพื่อประโยชน์ในการ
ด�ำรงชีพ ถ้าอาหารไม่เพยี งพอจะท�ำใหส้ ัตวข์ าดแร่ธาตุ สตั วก์ จ็ ะเจริญตามปกตไิ ม่ได้ และอาจ
เกิดโรคตา่ ง ๆ ตามมา
๓. ที่อยู่อาศัย สภาพโรงเรือนท่ีอยู่อาศัยของสัตว์ควรมีอากาศถ่ายเทสะดวก ไม่ร้อน
หรอื หนาวเกินไป คุ้มแดด ค้มุ ฝนไดด้ ี กนั ลมได้ และปราศจากศัตรูของสตั ว์ เช่น นก หนู แมว
สนุ ขั
๔. โรคและศัตรู โรคของสัตว์อาจจะเกิดจากส่ิงมีชีวิต หรือไม่มีชีวิตก็ได้ อาจเป็นพวก
แบคทีเรีย ไวรัส พยาธิต่าง ๆ รวมท้ังอาการขาดธาตุอาหาร ซึ่งเราควรดูแลรักษาสัตว์ไม่ให้
เปน็ โรคตา่ ง ๆ เพราะการป่วยของสตั วก์ ็เปน็ การบนั่ ทอนการเจรญิ เตบิ โตของสตั ว์
๓ สร้าง ทางรอดสังคมไทย หน้า 49
ตวั อย่างกจิ กรรม การเล้ยี งสัตวเ์ ป็นอาหาร
ไก่ ปัจจุบันการเลี้ยงไก่ไข่ก�ำลังได้รับความนิยมเป็นอย่างมาก โดยน�ำมาเล้ียงภายใน
บริเวณบ้านหรือพ้ืนที่ว่าง เพ่ือเป็นการผลิตไข่ไว้ประกอบอาหารภายในครัวเรือน เพราะ
นอกจากจะช่วยในเร่ืองการประหยัดค่าใช้จ่ายแล้ว เศษอาหารที่เหลือจากชีวิตประจ�ำวัน
จากมื้ออาหารยังสามารถน�ำมาใช้ส�ำหรับเป็นอาหารให้ไก่กินได้ ซ่ึงไข่ท่ีได้จากไก่ท่ีเล้ียง
หากกินไม่ทันจนมีมากพอ ยังน�ำไปจ�ำหน่ายเป็นการสร้างรายได้อีกหน่ึงช่องทาง แยกเป็น
๒ ประเภทใหญ่ ๆ คือ
ไก่พนั ธแ์ุ ท้ ไกท่ ีไ่ ดร้ บั การคัดเลือกและผสมพนั ธุ์มาเปน็ อยา่ งดี จนลูกหลานในรุน่ ต่อๆ
มามีลกั ษณะรูปร่าง ขนาด สี และอืน่ ๆ เหมอื นบรรพบุรษุ ไก่พันธุ์แท้
ไก่พันธุ์ผสม ไก่ที่เกิดจากการผสมพันธุ์ระหว่างไก่พันธุ์แท้ ๒ พันธุ์ โดยมีจุดประสงค์
ให้ลกู ไกไ่ ดข้ อ้ ดขี องพ่อพันธแ์ุ ละแม่พนั ธ์ุ เชน่ ไข่ดก ทนทานโรค เปน็ ตน้ ยกตัวอย่างไก่ผสม
ที่เปน็ ท่ีนิยมก็ คือ ไก่ไฮบรีด
สว่ นน้ีเป็นส่ิงจำ� เปน็ มากในการเล้ียงไก่ไข่ คือ ถาดหรือรางอาหาร รางนำ�้ และอปุ กรณ์
พเิ ศษ เชน่
๑. เคร่ืองกกลูกไก่ ทำ� หน้าทใี่ หค้ วามอบอ่นุ แทนแม่ไก่ในตอนท่ีลูกไก่ยังเลก็
๒. รังไข่ โดยปกติรังไข่จะควรมีความมืดพอสมควร และมีอุณหภูมิที่เย็น หากเล้ียง
แบบโรงเรือนก็จะเป็นรางท่ีควรท�ำความสะอาดง่าย หรือถ้าเล้ียงแบบปล่อย ควรมี
สภาพแวดลอ้ มทีเ่ หมาะส�ำหรบั การออกไข่ อย่างท่ีได้กลา่ วมาข้างตน้
๓. วสั ดรุ องพน้ื จำ� พวกฟางขา้ วซงั ขา้ วโพดแกลบเปน็ ตน้ เพอื่ ความสะอาดและความสบาย
ของตัวไก่
๔. อุปกรณ์การให้แสง ทงั้ แสงจากธรรมชาติ และแสงจากอปุ กรณ์อิเลก็ ทรอนกิ ส์
ชนิดของอาหารทใ่ี ชเ้ ลี้ยงไก่ไข่
๑. อาหารผสม เป็นอาหารผสมจากวัตถดุ ิบทบ่ี ดละเอียดแลว้ หลาย ๆ อย่างคลกุ เคลา้
ให้เขา้ กนั สามารถนำ� ไปเลีย้ งไก่ไดท้ นั ที
๒. หัวอาหาร เป็นอาหารเข้มข้นท่ีผสมจากวัตถุดิบพวกโปรตีนจากพืช สัตว์ ไวตามิน
แร่ธาตุ และยาตา่ ง ๆ เพ่ือให้เหมาะสมและลดต้นทุนคา่ อาหาร
หน้า 50 ๓ สรา้ ง ทางรอดสงั คมไทย
๓. อาหารอัดเมด็ เป็นอาหารสำ� เร็จรูปมีใหเ้ ลอื กหลากหลาย ขึน้ อย่กู บั อายขุ องไก่
๔. อาหารเสริม เป็นอาหารที่น�ำไปเสริมเพ่ือเพิ่มสารอาหารด้านต่าง ๆ ที่ยังขาด
เพอื่ ให้ไก่ไดร้ บั สารอาหารครบถ้วน
โรงเรือนในการเลย้ี งไก่ไข่
๑. ป้องกนั แดด ลม และฝนได้
๒. แขง็ แรง ทนทาน ป้องกัน นก หนู แมว หรอื สนุ ขั ได้
๓. ท�ำความสะอาดไดง้ า่ ย
๔. หา่ งจากชุมชน และอย่ใู ต้ลมของบา้ น เพราะจะได้ไมม่ ีกลิน่ รบกวน
๕. ใช้วสั ดทุ ี่หางา่ ย ราคาถกู
๖. ถ้าสร้างหลายหลังควรมีระยะห่างมากกว่า ๑๐ เมตร เพื่อให้ระบายอากาศได้ดี
และป้องกนั การแพร่ระบาดของโรค
๓ สรา้ ง ทางรอดสงั คมไทย หน้า 51
หมูหลุม เป็นอาชีพหน่ึงที่ครัวเรือนนิยมท�ำกันมาก ปัจจุบันการเลี้ยงหมูมีต้นทุนสูง
และยังส่งผลกระทบต่อส่ิงแวดล้อม มูลของหมูส่งกล่ินเหม็นรบกวนค่อนข้างมาก ครัวเรือน
มีทางเลือกในการเล้ียงหมูแบบต้นทุนต่�ำ และไม่ส่งผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม อีกท้ังยังใช้
ประโยชน์จากมลู หมู ท�ำให้มรี ายได้เพ่ิมข้ึนเน่ืองจากตน้ ทุนในการเล้ียงต่�ำ เชน่ อาหารของหมู
กม็ าจากพืชผกั หลายชนิดทห่ี าได้ในทอ้ งถน่ิ
ประโยชนจ์ ากการเลี้ยงหมูหลุม
๑. ได้ปุย๋ หมกั มาปลกู พชื โดยไม่ต้องซือ้
๒. ลดกลิ่นรบกวนเพื่อนบ้าน
๓. มีอาหารโปรตีนบริโภคในครัวเรือน หรอื จำ� หนา่ ยเพ่มิ รายได้
วธิ กี ารเลี้ยงหมูหลุมแบบธรรมชาติ
การสร้างโรงเรือน ควรเป็นที่สูง น้�ำท่วมไม่ถึง วัสดุท่ีใช้ในการก่อสร้าง ควรเป็นวัสดุ
ที่หาไดใ้ นทอ้ งถ่นิ เช่น โครงหลงั คาท�ำดว้ ยไมไ้ ผ่ หลังคามงุ ดว้ ยหญ้าคา หรอื หญา้ แฝก ใบจาก
เพอื่ ประหยัดต้นทนุ
คอกหมหู ลุม ๑ ตวั ใชพ้ น้ื ท่ีประมาณ ๑.๕ - ๒ ตารางเมตร
• คอกขนาด ๒.๕ x ๓ เมตร เลีย้ งหมไู ด้ ๔ ตวั
• คอกขนาด ๒.๕ x ๔ เมตร เล้ียงหมไู ด้ ๔ - ๖ ตวั
• คอกขนาด ๔ x ๔ เมตร เล้ยี งหมไู ด้ ๘ ตัว
• ขดุ ดนิ ออกในสว่ นพนื้ ทจ่ี ะสรา้ งคอก ลกึ ๙๐ เซนตเิ มตร ปรบั พนื้ ทใี่ หม้ รี ะดบั
สม�่ำเสมอ ใช้อฐิ บล็อกกัน้ ดา้ นข้างคอกเหนือ ขอบหลุมสูง ๒ เมตร
การใหอ้ าหาร ลกู หมทู ี่น�ำมาเล้ยี งควรมีน�ำ้ หนกั ๑๕ - ๒๐ กิโลกรมั ในชว่ งเดือนแรก
ควรใหอ้ าหารสำ� หรบั หมเู ลก็ โดยผสมรำ� ออ่ นปลายขา้ วกากถว่ั เหลอื งปลาปน่ หรอื ใชน้ ำ้� หอยเชอร่ี
หมกั แทนปลาปน่ จนน�้ำหนกั หมู่ได้ ๓๐ กิโลกรัมข้นึ ไป อาหารหมู ไดแ้ ก่ เศษอาหารเหลือทง้ิ
จากครัวเรือน เศษพชื ตา่ ง ๆ หญา้ สด หญ้าหมกั ฟางข้าว ดนิ ใบไม้ผุ จลุ นิ ทรีย์ท้องถนิ่ น้ำ� หมัก
จากพืชสีเขียว และแบคทีเรียกลุ่มแลคติก หรือใช้อาหารส�ำเร็จรูปเพ่ือใช้ผสมร่วมกับอาหาร
ที่ท�ำข้ึน สามารถเพิ่มพืชสดใส่ให้กินในคอกได้เลย ส่วนเศษซากพืชบางชนิด ต้องหมักก่อน
เพอื่ เพมิ่ ประสทิ ธภิ าพยอ่ ย ถงั นา้ และรางอาหาร ควรตง้ั ไวค้ นละดา้ นเพอื่ หมจู ะเดนิ ไปมาเปน็ การ
ออกกำ� ลงั กาย
หนา้ 52 ๓ สร้าง ทางรอดสังคมไทย
น�้ำด่ืม สำ� หรับหมหู ลมุ
สว่ นผสมน�้ำดืม่ ให้สกุ รประกอบดว้ ย
๑. หวั เช้ือจลุ ินทรีย์ผกั หรอื ผลไม้ ๒ ชอ้ นโต๊ะ
๒. น�ำ้ ฮอร์โมน สมุ นไพร ๒ ชอ้ นโต๊ะ (เหล้าดองยา)
๓. นมเปร้ียว ๒ ช้อนโตะ๊
๔. นำ�้ หมกั แคลเซยี ม ๒ ช้อนโตะ๊
๕. น้ำ� สะอาด ๒๐ ลติ ร
ผสมให้ด่ืมเป็นประจ�ำทุกวัน หากพื้นคอกสุกรแน่น หรือแข็งก็ใช้น�้ำดังกล่าวราด
บนพนื้ คอกจะทำ� ใหเ้ กดิ กลนิ่ หอม จงู ใจใหส้ กุ รขดุ คยุ้ เปน็ การกลบั หนา้ ดนิ ชว่ ยใหพ้ น้ื คอย รว่ น
โปร่ง มีอากาศถ่ายเท เกดิ จุลนิ ทรีย์มากมาย
๓ สร้าง ทางรอดสงั คมไทย หนา้ 53
ปลาดกุ ในทอ่ ปูนซีเมนต์ เปน็ วธิ ีการเล้ียงปลาอกี วธิ ีหนึ่งท่ีสามารถเลี้ยงกันไดง้ า่ ย
ส�ำหรับสถานที่ก็ใช้พื้นท่ีไม่เยอะ และสามารถเคลื่อนย้ายท่อปูนซีเมนต์ได้ง่ายด้วย ค่าลงทุน
ในการเลี้ยงก็ไม่มากสามารถน�ำไปประกอบเป็นอาชีพเสริมได้และผลตอบแทนก็เป็น
ท่ีน่าภูมใิ จ ดังน้ี
วัสด/ุ อุปกรณก์ ารเลีย้ ง
• พนั ธล์ กู ปลาดกุ (บกิ๊ อุย หรือรัสเซยี ) ขนาด ๒ - ๓ เซนติเมตร
• อาหารปลาดกุ ส�ำเร็จรปู ชนิดเมด็
• อาหารตามธรรมชาติ (ปลวก หรือโครงไก่)
• บ่อปูนซีเมนต์กน้ ทึบ ๑ วง
• น�ำ้ ประปา
• ตะแกรงคลมุ
• ท่อประปาขนาดเลก็
ข้นั ตอนการเล้ียง
๑. เลือกหาพันธล์ ูกปลาดกุ ตามทต่ี ้องการ
๒. น�ำบ่อปูนซีเมนต์ก้นทึบ เจาะรูด้านข้างบ่อปูนซีเมนต์พร้อมท�ำท่อระบายน้�ำโดยใช้
ทอ่ ประปาขนาดเล็กใส่ลงไปทรี่ เู จาะเพ่อื ถา่ ยเทน�ำ้ โดยทอ่ ระบายน้�ำสามารถเปิด ปดิ ได้
๓. ควรปรับสภาพของน้�ำในบ่อท่ีเลี้ยงให้มีสภาพเป็นกลาง หรือเป็นด่างเล็กน้อย
แตต่ ้องแนใ่ จวา่ บ่อซีเมนตจ์ ะต้องหมดฤทธ์ิของปนู
๔. ล้างบ่อนำ�้ ให้สะอาด แลว้ เทนำ�้ ประปา นำ้� บ่อ หรอื น้ำ� คลอง ลงไปในบ่อปนู ซเี มนต์
ระดบั น�ำ้ ใหอ้ ยู่ในราว ๆ ครง่ึ ถงั ปูน หรอื มากกว่าน�ำ้ เลก็ นอ้ ย
๕. น�ำลูกปลาดุกลงไปในบอ่ ปนู ซเี มนต์ ใส่ผกั ตบชวา หรือผกั บ้งุ ลงไปเลก็ น้อย เพ่ือให้
ปลาไดม้ อี าหาร และหลบแดด
๖. ควรให้อาหารเม็ดผสมข้าวสุกคลุกน�้ำปั้นเป็นก้อนให้ลูกปลากิน โดยให้กินวันละ
๒ ครงั้ หวา่ นใหก้ นิ ทว่ั บอ่ โดยเฉพาะในบรเิ วณขอบบอ่ ลกู ปลามขี นาดโตขน้ึ ความยาวประมาณ
๕ - ๗ เซนติเมตร สามารถฝกึ ใหก้ ินอาหารเมด็
๗. ปิดตะแกรงคลมุ ทกุ คร้งั เพอื่ ปอ้ งกนั สัตว์อื่นลงไป
๘. ดูแลปลาดุก อย่างน้อย ๓ เดอื น ได้ปลาดุไวก้ ิน และขาย
หน้า 54 ๓ สร้าง ทางรอดสงั คมไทย
วธิ ีท�ำน้�ำหมักสูตรเล้ยี งปลา
ห่ันมะละกอ กล้วยน้�ำหว้า ฟักทองท้ังเปลือกและเมล็ดใส่ไว้ในภาชนะที่มีฝาปิด
ผสมน้ำ� ตาลทรายแดง แลว้ คนให้เข้ากันและปิดฝาให้แน่นหมักทิ้งไว้ ๗ วัน แล้วเตมิ น�้ำสะอาด
๙ ลติ ร ปดิ ฝาใหแ้ นน่ แลว้ หมักตอ่ อีก ๑๕ วัน
ประโยชน์
• ปลาไม่เป็นโรค
• ปลาไม่มกี ลน่ิ สาบ
• ปลาไมม่ ีมันในท้อง
• ปลาจะมีเนื้อหวานรสชาติอรอ่ ย
๓ สรา้ ง ทางรอดสงั คมไทย หน้า 55
จงิ้ หรดี การเพาะเลยี้ งจงิ้ หรดี นนั้ มวี ธิ กี ารเพาะเลยี้ งงา่ ย ลงทนุ ไมเ่ ยอะลงทนุ ครง้ั เดยี ว
สามารถต่อยอดการเลี้ยงไปได้เร่ือย ๆ โดยไม่ต้องลงทุนซื้อเพ่ิม แต่ก็จะมีปัญหาท่ีตัวจ้ิงหรีด
ท่ีลอกคราบจะถูกจ้ิงหรีดตัวที่แข็งแรงกิน ท�ำให้จ้ิงหรีดท่ีเลี้ยงจะได้น้อยลง แต่ก็มีเทคนิค
ในการป้องกันไม่ให้จ้ิงหรีดกินด้วย วิธีเลี้ยงจิ้งหรีดในบ่อปูนแบบพ้ืนบ้านเพ่ือสร้างรายได้
และสามารถเพ่มิ ปริมาณจิ้งหรีด
อุปกรณ์ในการเพาะเลยี้ งจิ้งหรดี ในบ่อปนู
• บอ่ ซเี มนต์ กว้าง ๑.๒๐ เมตร
• ถาดไขจ่ ิ้งหรีด ๔ ถาด (ซอ้ื มาถาดละไมเ่ กนิ ๑๐๐ บาท)
• อฐิ บล๊อก ๓ - ๔ กอ้ น
• ถาดใสไ่ ขไ่ ก่ ประมาณ ๒๐ - ๓๐ อนั
• แผน่ ฟองน�ำ้ ๑ - ๒ อัน (ไวใ้ ห้นำ้� จง้ิ หรดี )
• กระบอกฉีดน�ำ้ ฟ็อกซ่ี
• ผา้ มุง้ เขยี ว (ใช้ปดิ ปากบ่อ กันจิ้งจก)
• อาหารไก่ ร�ำข้าว
• ถาดใส่แกลบด�ำ (ไว้รองไขจ่ ิง้ หรดี ตอนจิง้ หรดี ตัวเมยี จะวางไข่)
วิธกี ารเลยี้ งจิง้ หรีดในบ่อปูน
• นำ� ถาดไข่จ้ิงหรีดท่ไี ด้มาไปอบใหค้ วามร้อนประมาณ ๗ - ๑๐ วนั (อบในกล่องโฟม)
พอเรมิ่ เหน็ ตัวออ่ นค่อยยา้ ยไปลงในบอ่ ซีเมนต์ เอาแผน่ ฟองนำ�้ ไปวางไวเ้ พือ่ ใหน้ ำ้� เมอ่ื เขาฟัก
เปน็ ตวั ให้พรมน้ำ� กอ่ นอย่าพ่ึงใหอ้ าหาร
• นำ� อิฐบล๊อกมาวางกน้ บ่อ เพอ่ื ใหม้ ีพ้ืนท่ีโล่งโปร่งไมอ่ ับ
• ใส่ถาดไขไ่ กว่ างซอ้ นกนั ประมาณอนั ละ ๕ - ๗ อนั วางลงส่ีถงึ หา้ อัน (ไว้ใหจ้ ้ิงหรีด
เป็นท่หี ลบซอ่ นตวั เวลาลอกคราบ)
• ให้อาหารทีล่ะน้อย ๆ พอหมดค่อยเพิ่ม (อาหารไก่ผสมกับร�ำข้าว ผักบุ้งไว้เป็น
อาหารเสริม) เลีย้ งไปประมาณ ๓๐ วนั ให้สังเกตดูจ้งิ หรดี จะขันหรือมเี สียงรอ้ ง คือ ตวั ผเู้ รยี ก
ตวั เมยี เพอื่ ผสมพนั ธ์ุ กใ็ หเ้ อาถาดใสแ่ กลบดำ� ไปวางไวบ้ นอฐิ บลอ๊ ก เพอื่ ใหจ้ งิ้ หรดี ตวั เมยี ไดว้ างไข่
รองไข่ไว้ประมาณ ๒ วัน จิ้งหรีดตัวเมียจะเอาเหล็กแหลมตรงตูดแทงเข้าไปในแกลบด�ำ
เพอื่ วางไข่ แลว้ คอ่ ยเอาถาดทรี่ องไขไ่ ปอบเพอ่ื เลย้ี งขยายพนั ธต์ุ อ่ ไปหรอื จะขายไขท่ ร่ี องไวก้ ไ็ ด้
ส่วนจ้ิงหรีดที่โตแล้วสามารถจับขายได้เลย หรือจะน�ำมาแยกเพ่ือเล้ียงต่อหรือเพ่ือรองเอาไข่
หนา้ 56 ๓ สร้าง ทางรอดสงั คมไทย
ตอ่ ไปไดอ้ กี ประมาณ ๓ - ๔ รอบ จงิ้ หรดี ตวั เมยี ตวั หนง่ึ สามารถวางไขไ่ ดท้ ลี ะ ๕๐๐ – ๗๐๐ ฟอง
• เคล็ดลับที่ท�ำให้จ้ิงหรีดรอด นอกจากจะให้ถาดไข่ไก่มาวางซ้อน ๆ กันเพ่ือให้เขา
หลบซอ่ นตวั แลว้ นนั้ มอี กี อยา่ งหนงึ่ คอื นำ� ใบตองสดตดั ประมาณ ๑ ไมบ้ รรทดั แลว้ นำ� มาฉกี ๆ
ใสล่ งไปในบอ่ ตอนทจี่ งิ้ หรดี ลอกคราบ และทส่ี ำ� คญั ชว่ งนนั้ ไมต่ อ้ งใหอ้ าหารเสรมิ หรอื ผกั อาหาร
ให้จิ้งหรีดตัวที่แข็งแรงกัดกินใบตองในใบตองมียางของกล้วยยางนั้นจะไปติดปากจิ้งหรีด ๆ
กจ็ ะง่วนอยกู่ ับการใช้ขามาแกะเอายางตรงปากออก (ไมเ่ ปน็ อันตรายตอ่ จ้ิงหรีดแนน่ อน) กจ็ ะ
ทำ� ใหต้ ัวจง้ิ หรีดท่กี ำ� ลงั ลอกคราบอยรู่ อดพ้นจากการถูกตวั ทีแ่ ข็งแรงกวา่ กิน
๓ สรา้ ง ทางรอดสงั คมไทย หน้า 57
กบ การลงทุนประกอบธุรกิจเล้ียงกบ เป็นอีกอาชีพหน่ึงท่ีครัวเรือนหลายพ้ืนที่
ให้ความสนใจและนิยมหันมาเลี้ยงกบกันมากขึ้น นอกจากจะลงทุนสร้างบ่อลอย
หรือบอ่ ซเี มนตเ์ ล้ียงกบแลว้ ครัวเรือนบางรายยังใช้ภมู ปิ ญั ญาพฒั นา
วิธีเลย้ี งกบเป็นการลดตน้ ทุนดว้ ยการเลี้ยงกบในขวดน้ำ� และเลยี้ งกบคอนโด เพียงแต่
จัดหายางรถสิบล้อเก่า ๆ มาวางซอ้ นเป็นช้นั ๆ ใสน่ ้ำ� นำ� ลูกกบไปปลอ่ ยเลยี้ ง ใชเ้ วลาเลย้ี ง
ใหอ้ าหารประมาณ๒เดอื นกบกจ็ ะโตขายไดร้ าคาดีการเลยี้ งกบคอนโดนอกจากจะไมส่ นิ้ เปลอื งนำ�้
ใชพ้ น้ื ทีไ่ มม่ ากแลว้ กบทเ่ี ล้ยี งในคอนโดจะโตเร็วกว่ากบที่เลีย้ งในบ่อลอยท่ีตอ้ งใช้เวลานานถึง
๓ เดือน แต่กบคอนโดใช้เวลา ๒ เดือนก็จะโตเต็มที่ขายได้ ๓ – ๔ ตัวต่อ ๑ กิโลกรัม
และสร้างคอนโด ๑ ชุด สามารถเลี้ยงกบได้ ๑๐๐ ตัว ส�ำหรับอาหารท่ีน�ำมาใช้เล้ียงกบ
ตามปกตกิ ม็ ีอาหารกบขายอยตู่ ามทอ้ งตลาด แตเ่ พ่ือประหยัดต้นทนุ
วิธีการเลยี้ งกบคอนโด
๑. วัสดุอปุ กรณ์
๑.๑ ยางรถ (ขนาด รถแทรกเตอร์ เล้ียงได้ ๑๐๐ ตวั ขนาด รถ ๑๐ ล้อ เล้ยี งได้
๕๐ ตัว ขนาด ๖ ล้อ เล้ยี งได้ ๓๐ ตัว ขนาด ๔ ลอ้ เล้ยี งได้ ๒๐ ตัว)
๑.๒ ทรายหยาบ
๑.๓ ตะแกรง
๑.๔ กบพันธุ์
๑.๕ ปูนขาว
๑.๖ อาหารกบแท้ หรอื ปลาดกุ
๑.๗ ถาดวางอาหาร
๒. วธิ ีการเลี้ยง
๒.๑ เรมิ่ ต้นดว้ ยการหาพนื้ ท่ีเลย้ี งกบ (แสงแดดส่องรำ� ไร)
๒.๒ ใช้ทรายหยาบถมหนาประมาณ ๖ นว้ิ
๒.๓ เสร็จแล้วใหใ้ ช้ตะแกรงรองพื้น
๒.๔ แลว้ เทหินเกลด็ ทับตะแกรง หนาประมาณ ๓ นว้ิ
๒.๕ วางคอนโด (ยางรถ ๓ เสน้ ซ้อนทับข้นึ ไป)
๒.๖ ปลอ่ ยกบลงคอนโด
๒.๗ น�ำตะแกรงปดิ ปากคอนโดของกบ ดา้ นบน เพอื่ ปอ้ งกันกบกระโดดออกไป
หนา้ 58 ๓ สร้าง ทางรอดสังคมไทย
๓. อาหารกบและการให้อาหาร
๓.๑ ใช้อาหารปลาดุกเม็ดใหญ่ ให้กบกินทุกเช้า เย็น โดยวางอาหารไว้ในถาด
ดา้ นลา่ งคอนโด
๓.๒ อาหารเสริมเปน็ ผักบุ้งหน่ั ฝอย ใหก้ นิ ทกุ ๒ วนั /ครง้ั
๓.๓ ใส่นำ�้ ๒ คอนโด (ชั้นที่ ๑ และ ๒) ถา่ ยนำ้� ทกุ ๓ วนั
๓.๔ ลา้ งหินและอุปกรณใ์ หส้ ะอาด ลา้ งด้วยจลุ นิ ทรีย์ผลไม้
๓.๕ ใช้ไฟส่อง ล่อแมลงใหก้ บกิน เปน็ อาหารเสริม
๓.๖ เลยี้ งไปประมาณ ๒๐ วนั ให้แยกขนาดกบเล็ก - ใหญ่
๔. พนั ธ์ุกบทนี่ ำ� มาเลย้ี ง เป็นกบคอนโด เป็นกบพนั ธ์ุ ทห่ี าซอ้ื ไดต้ ามฟารม์ ทว่ั ๆ ไป
๕. ระยะเวลาการเลี้ยงกบประมาณ ๒ เดอื น
๓ สรา้ ง ทางรอดสงั คมไทย หนา้ 59
๑.๓ แปรรปู ผลิตผลในบ้านเพ่อื เป็นการถนอมอาหาร
การแปรรปู อาหาร (food processing)
เปน็ กระบวนการทเ่ี ปลยี่ นแปลงสภาพของวตั ถดุ บิ ใหเ้ ปน็ ผลติ ภณั ฑอ์ าหารอยใู่ นสภาพ
ทเี่ หมาะสม สะดวก และปลอดภยั ตอ่ การบรโิ ภค เปน็ การถนอมอาหาร เพอื่ ยดื อายกุ ารเกบ็ รกั ษา
ท�ำใหเ้ กดิ ผลติ ภณั ฑ์ใหมท่ ่มี คี วามหลากหลาย เพิ่มทางเลือกและเพม่ิ มูลคา่ ใหก้ บั วตั ถดุ บิ
การแปรรูปอาหาร เปน็ กระบวนการตา่ ง ๆ ทีก่ ระท�ำตอ่ อาหาร เพ่อื การถนอมอาหาร
(food preservation) เนอื่ งจากวตั ถดุ บิ ทใ่ี ชเ้ พอ่ื การแปรรปู อาหาร เปน็ วตั ถดุ บิ ทางการเกษตร
เชน่ ผกั ผลไม้ เนอ้ื สตั ว์ นม ซง่ึ วตั ถดุ บิ เหลา่ นเ้ี สยี ไดง้ า่ ย การแปรรปู อาหาร เปน็ มวี ตั ถปุ ระสงค์
เพอ่ื ยดื อายกุ ารเกบ็ รกั ษาอาหารถนอมรกั ษาคณุ ภาพอาหารดา้ นตา่ ง ๆ ของอาหารใหใ้ กลเ้ คยี ง
ของสด ชะลอ และปอ้ งกนั การเสยี ของอาหาร ทง้ั การเสยี เนอื่ งจากจลุ นิ ทรยี ์ การเสยี เนอ่ื งจาก
ปฏกิ ริ ยิ าทางเคมี และการเสยี ทางกายภาพ การถนอมอาหารจงึ มคี วามจำ� เปน็ สำ� หรบั ครวั เรอื น
เพ่อื ไดม้ อี าหารบริโภคได้ตลอดท้งั ปี และสามารถจำ� หนา่ ยได้กวา้ งขวางข้ึน
การถนอมอาหารให้มีความปลอดภัยต่อบริโภค เน้นกระบวนการต่าง ๆ ท่ีใช้เพ่ือการ
แปรรปู อาหารตงั้ แตก่ ารเตรยี มวตั ถดุ บิ เชน่ การลา้ งการคดั คณุ ภาพ รวมทงั้ กรรมวธิ กี ารถนอม
อาหาร เชน่ การแปรรปู อาหารดว้ ยความรอ้ น การแชเ่ ยอื กแขง็ อาหาร การทำ� แหง้ มเี ปา้ หมาย
เพ่ือใหอ้ าหารปลอดภยั
ลดความเสยี่ งจากอนั ตายในอาหาร ไดแ้ ก่ อนั ตรายจากจลุ นิ ทรยี ท์ ที่ ำ� ใหเ้ กดิ โรค สารเคมี
ท่อี าจปนเปื้อนมากบั อาหาร ก�ำจัดสารพษิ ต่างๆ ทมี่ ีอยู่ในอาหารตามธรรมชาติ ทำ� ให้อาหาร
มีคุณภาพสอดคลอ้ งกบั มาตรฐานด้านความปลอดภยั
อาจทำ� ได้หลายวิธี เช่น การทำ� แห้ง การดอง การใช้ความร้อน การใช้ความเย็น และ
การใช้รังสี
หน้า 60 ๓ สร้าง ทางรอดสงั คมไทย
๑. การทำ� ใหแ้ หง้ คอื การลดความชนื้ ของอาหารจนถงึ ระดบั ทส่ี ามารถยบั ยง้ั การเจรญิ
เติบโตของเช้ือจุลินทรีย์ได้ ท�ำให้เก็บอาหารได้นาน อาหารแห้ง แต่ละชนิดจะมีความชื้น
ในระดบั ที่ปลอดภัยไมเ่ ทา่ กนั การท�ำใหแ้ ห้งโดยใชค้ วามร้อนจากแสงอาทติ ย์ ในสมัยโบราณ
มักจะตากแดด ซ่ึงไม่สามารถควบคุมความร้อนและคุณภาพของผลิตภัณฑ์ได้ จึงมีการสร้าง
ตู้อบโดยใช้ความร้อนจากแสงอาทิตย์ ประกอบด้วยแผงรับแสงอาทิตย์ ซ่ึงท�ำด้วยวัสดุใส
แสงอาทติ ยต์ กลงบนแผงรบั แลว้ ทะลผุ า่ นไปยงั วสั ดสุ ดี ำ� ภายในตู้ และเปลยี่ นเปน็ รงั สคี วามรอ้ น
ไปกระทบอาหาร ความชื้นระเหยออกจากอาหารจะระบายไปโดยการหมุนเวียนของอากาศ
ทางชอ่ งลม นอกจากนย้ี งั มกี ระบวนการทำ� ใหแ้ หง้ ไดอ้ กี หลายวธิ ี คอื การทำ� ใหแ้ หง้ โดยใชล้ มรอ้ น
(ตู้อบลมรอ้ น) โดยใช้ลกู กลง้ิ แบบเยอื กแข็ง โดยใชไ้ มโครเวฟ และโดยใชว้ ิธอี อสโมซิส
๒. การดอง เปน็ การท�ำให้ผลผลติ มรี ส กลิน่ เปลีย่ นไปจากเดมิ เชน่ การดองเคม็ โดยใช้
เกลือ (โซเดียมคลอไรด)์ เช่น การดองมะนาว ผักกาดดอง ไข่เค็ม เปน็ ต้น หรอื การดองหวาน
(การแชอ่ ิ่ม) โดยใช้นำ�้ ตาล เชน่ มะม่วงแชอ่ มิ่ มะดนั แช่อม่ิ เปน็ ตน้
๓. ใช้ความเย็น เป็นวิธีทีส่ ะดวก ช่วยในการเก็บรักษาผัก ผลไม้ เน้อื สัตว์ต่าง ๆ ให้สด
และยงั มคี ณุ คา่ ทางโภชนาการทด่ี อี ยู่ แตไ่ มส่ ามารถทำ� ลายจลุ นิ ทรยี ไ์ ดท้ กุ ชนดิ เชน่ การแชเ่ ยน็
ธรรมดา ใชอ้ ณุ หภมู ิ ๕ - ๑๐ องศาเซลเซยี ล การแชแ่ ข็ง ใช้อุณหภูมิ - ๔๐ องศาเซลเซียล
สามารถเกบ็ รักษาผลผลติ บางชนิดได้นานเป็นปี
๔. การใชร้ งั สี โดยใชร้ งั สแี กมมา ซงึ่ ไดจ้ ากสารกมั มนั ตรงั สที ใ่ี ชก้ นั มากกค็ อื โคบอลต์ - ๖๐
เชน่ ถา้ ใช้ ๑ กโิ ลเกรย์ ใชช้ ะลอการสกุ ของมะมว่ ง และควบคมุ การแพรพ่ นั ธข์ุ องแมลงในระหวา่ ง
การเกบ็ รักษา หรอื ถ้าใช้ ๐.๑๕ กโิ ลเกรย์ ใช้ยบั ยง้ั การงอกของมนั ฝร่ัง หอมหวั ใหญ่ เป็นต้น
๕. ใช้ความร้อนสูง จะช่วยท�ำลายจุลินทรีย์ที่ก่อให้เกิดโรค ซึ่งท�ำให้ อาหารเน่าเสีย
ท�ำลายเอ็นไซม์ สารพิษ พยาธิท่ีไม่ทนต่อความร้อน การแปรรูปโดยใช้ความร้อน กระท�ำได้
๒ วิธี คือ
๑. การพาสเจอรไ์ รซ์ คอื วธิ ที ถ่ี นอมอาหาร โดยใชค้ วามรอ้ นทอี่ ณุ หภมู ไิ มส่ งู มากนกั
เพ่อื ทำ� ลายแบคทเี รียพวกทไี่ ม่สรา้ งสปอร์และพวกทกี่ ่อใหเ้ กิดโรคแกค่ น สว่ นจุลนิ ทรีย์อ่นื ๆ
ทีท่ นความร้อนระดบั พาสเจอร์ไรซ์ จะเป็นสาเหตทุ �ำใหอ้ าหารเสยี ได้ ดงั นน้ั อาหารที่ผา่ นการ
พาสเจอรไ์ รซต์ ้องอาศยั ความเย็นช่วยเกบ็ รกั ษา
๓ สรา้ ง ทางรอดสังคมไทย หน้า 61
๒. การสเตอริไลซ์ คือ วิชาการถนอมอาหารโดยใช้ความร้อนท่ีอุณหภูมิสูงกว่า
การพาสเจอร์ไรซ์ ซึ่งอาจเป็นอุณหภูมิสูงกว่าน�้ำเดือด เพ่ือท�ำลายจุลินทรีย์ทั้งหมดรวมทั้ง
สปอรอ์ าหารท่ีไดจ้ ากการสเตอรไิ ลซ์ ึจงึ เป็นอาหารปลอดเช้ือ เกบ็ รักษาไว้ได้นาน โดยไมต่ อ้ ง
ใช้ความเยน็ ชว่ ย
ในที่นี้จะขอกล่าวถึงการแปรรูปผลิตผลทางการเกษตรแบบพ่ึงตนเอง ซึ่งก็หมายถึง
การแปรรปู ผลติ ผลทางการเกษตรทเ่ี กยี่ วกบั ปจั จยั พน้ื ฐานในการดำ� รงชวี ติ ของแตล่ ะครอบครวั
เพอื่ เป็นการลดรายจา่ ย และยงั สามารถเพ่มิ รายได้ให้ครอบครัวไดอ้ ีกทางหน่ึง
ตัวอยา่ งกิจกรรม การแปรรูปผลผลติ ในบา้ น
ไขเ่ คม็
เปน็ อาหารทเี่ กดิ ขนึ้ มาจากภมู ปิ ญั ญาชาวบา้ นในการถนอมอาหารของคนไทย เพอ่ื ทจ่ี ะ
เกบ็ ไขเ่ ปด็ ไวก้ นิ ไดน้ านๆเลยจบั ไปดองกบั นำ้� เกลอื หรอื สตู รอนื่ ๆตามแตล่ ะพนื้ ที่จนกลายมาเปน็
ไข่เค็มสุดอร่อย และถือเป็นอาหารที่หลาย ๆ บ้านมักจะมีติดเอาไว้ และสามารถท�ำขาย
สรา้ งรายไดใ้ หก้ บั ครวั เรอื น ขอนำ� สตู รไขเ่ คม็ ดองในนำ�้ เกลอื ซง่ึ สามารถทำ� ไดง้ า่ ย ใชเ้ วลาไมน่ าน
ก็สามารถน�ำมากนิ หรอื ขายสรา้ งรายไดใ้ ห้กบั ครวั เรือนได้
สง่ิ ท่ตี ้องเตรยี ม
• ไข่เปด็ ดบิ ๑๐ ฟอง
• ภาชนะสำ� หรบั ดองไข่ (เลอื กภาชนะทไ่ี มท่ ำ�
ปฏิกิริยากับเกลือ เช่น โหลแก้ว แก้วพลาสติก
กะละมงั หรอื เคร่ืองเคลือบดินเผา)
• เกลือ ๑ ถว้ ย
• น้�ำส�ำหรับต้มนำ�้ เกลือ ๔ ถว้ ย (หรอื ๑ ลิตร)
วธิ ีทำ� ไขเ่ ค็ม
๑. ลา้ งไข่เปด็ ให้สะอาด สะเด็ดนำ้� จนแห้งสนทิ ใส่ลงในโหลแก้ว เตรียมไว้
๒. ท�ำน้�ำเกลือส�ำหรับดองไข่ โดยใส่เกลือกับน้�ำลงในหม้อ น�ำข้ึนตั้งไฟจนเดือด และ
คนให้เกลอื ละลายจนหมด ยกลงจากเตาพกั ทิ้งไวจ้ นเยน็
๓. เทน้�ำเกลือที่เย็นแล้วลงในโหลไข่จนท่วมไข่ จากน้ันใช้ถุงพลาสติกใส่น้�ำวางทับ
ลงไปใหไ้ ขเ่ ปด็ จมอยใู่ ตน้ ำ�้ ตลอดเวลา ปดิ ฝาใหส้ นทิ เกบ็ ไวใ้ นทร่ี ม่ นานประมาณ ๒ - ๓ อาทติ ย์
ส�ำหรับท�ำไข่ดาว เก็บไว้นานประมาณ ๒ อาทิตย์ ส�ำหรับท�ำไข่ต้ม เก็บไว้นานประมาณ
๓ อาทติ ย์
หน้า 62 ๓ สร้าง ทางรอดสังคมไทย
วิธีตม้ ไข่เค็มใหอ้ ร่อย
การที่จะต้มไข่เค็มให้อร่อยน้ัน มีเคล็ดลับอยู่ท่ี “สารส้ม” ท�ำได้โดยใส่น�้ำลงในหม้อ
ใส่สารส้ม ๑ ก้อน หรือสารส้มป่นประมาณ ๑/๒ ช้อนโต๊ะ ตามด้วยไข่เป็ด น�ำข้ึนตั้งไฟ
ปานกลาง ตม้ จนเดอื ด นานประมาณ ๘ - ๑๐ นาที กจ็ ะไดไ้ ขเ่ คม็ ตม้ สุดอรอ่ ยไวก้ ินแลว้
ผักกาดดอง
ส�ำหรับคนไทยแล้วนิยมรับประทานมายาวนาน ถือได้ว่าเป็นการถนอมอาหาร
ของคนไทยแต่โบราณ มีกรรมวิธีท่ีไม่ยุ่งยาก ผักกาดดองเปรี้ยวท�ำเมนูอร่อยได้หลายเมนู
และสามารถทำ� กนิ เองในครัวเรือนหรอื ท�ำเปน็ อาชีพเพ่ือสรา้ งรายได้
วธิ ที ำ� ผกั กาดดอง
• น�ำผักกาดเขียวสดมาล้างให้สะอาด ขั้นตอนน้ีใช้น้�ำเยอะมาก เพราะผักกาดเขียว
จะมฝี นุ่ ทรายแทรกอยตู่ ามกลบี ผกั เยอะมากเชยี ว กต็ อ้ งลา้ งใหส้ ะอาด เคลด็ ลบั คอื เมอ่ื ไดผ้ กั มา
ให้น�ำมาแชน่ ำ้� ไว้สักครทู่ ั้งหัว ให้ทรายตกตะกอนลงจงึ สงผกั ขน้ึ จากนำ้� จากนั้นเปลยี่ นนำ�้ ใหม่
คราน้ผี า่ ครึ่งหัวผกั ตามทรงหวั ผัก เพอ่ื ใหล้ า้ งดนิ ทรายตามซอกใบผกั ออกได้มากข้นึ
• นำ� ผักที่ลา้ งสะอาดไปแขวนตากแดดจนเหยี่ ว ประมาณ ๑ - ๒ วัน ขัน้ ตอนน้เี พื่อลด
น�้ำในผกั ลง ผกั จะได้มคี วามออ่ นน่มุ เมือ่ น�ำไปเคล้ากับเกลือในขน้ั ตอนตอ่ ไปจะไดไ้ ม่แตกหัก
• น�ำผักกาดเขียวท่ีตากจนเห่ียวแล้วมานวดเคล้ากับเกลือ โดยผักครึ่งหัว เกลือไทย
๑ ช้อนโตะ๊ เมื่อเคลา้ เกลอื ผกั จะคายน้�ำออกมาอกี และออ่ นนม่ิ ลง
• บรรจผุ กั ทเี่ คลา้ เกลอื แลว้ ลงในไห หรอื ขวดโหลแกว้ ภาชนะทนี่ ำ� มาใชน้ นั้ ตอ้ งสะอาด
วิธกี ค็ ือ ควรลา้ งภาชนะแลว้ ลวกด้วยน้�ำร้อนกอ่ น ควำ�่ ผึง่ ใหแ้ หง้ ดี จึงบรรจผุ ักเคลา้ เกลือลงไป
และปิดฝาภาชนะ ถ้าเป็นไห ให้น�ำถุงพลาสติกครอบท่ีปากไห รัดด้วยหนังยางแล้วหาจาน
มาควำ่� ปดิ ไว้ หมักผักดองกับเกลือไว้ ๓ วัน
• เมอ่ื ครบ ๓ วนั นำ� ผกั ดองออกจากไห ลา้ งนำ�้ ใหส้ ะอาด ขนั้ ตอนนี้ ถา้ อยากใหผ้ กั กรอบ
นำ� ผกั ดองแชใ่ นนำ้� ละลายสารสม้ เลก็ นอ้ ย แชไ่ ว้ ๓๐ นาที - ๑ ชว่ั โมง จากนน้ั จงึ นำ� ผกั ขนึ้ จากนำ�้
บีบน�ำ้ ใหห้ มาด อัดลงไหเดมิ น�ำไมม้ าขดั เพื่อปอ้ งกนั ผกั
ลอย แลว้ รนิ นำ้� ดองใส่ลงไป
• นำ�้ ดองผกั ทำ� จากนำ�้ สะอาดตม้ กบั เกลอื ผสมนำ�้
ซาวข้าวและน�้ำตาล อัตราส่วนคอื นำ้� สะอาด ๒.๕ ลติ ร
นำ้� ซาวขา้ ว๒ลติ รเกลอื ๒๐๐กรมั นำ้� ตาลทราย๑๐๐กรมั
ตม้ รวมกัน แลว้ ปดิ ไฟพกั ใหเ้ ยน็ สนทิ
๓ สร้าง ทางรอดสงั คมไทย หน้า 63
• รินน�้ำดองผักแล้วปิดฝาภาชนะให้มิดชิด ดองผักไว้ ๒ สัปดาห์ จึงน�ำออกมารับ
ประทาน ผักกาดดองก็มีรสเปร้ยี วและเคม็ เท่าๆ กนั ดงั นนั้ หากใครอยากให้ผกั เปรย้ี วกว่าน้ี มี
วิธีเพ่ิมเติมก็คือ ตอนตม้ น้�ำดองผัก ให้ใส่ข้าวสารลงไปต้มจนกว่าเมด็ ขา้ วสารจะบาน จึงปดิ ไฟ
พกั ให้เยน็ แล้วนำ� ไปใช้ดองผกั โดยใสเ่ ม็ดขา้ วทส่ี กุ บานแล้วลงไปด้วย
ปลารา้
นบั เปน็ การถนอมอาหารทเี่ ปน็ ภมู ปิ ญั ญาอนั ลำ�้ คา่ ของคนในสมยั โบราณ มกั ปรากฏมาก
ในแถบภาคอีสานของไทยและลาว วัตถุดิบหลักท�ำจากปลาน้�ำจืดขนาดเล็ก หมักกับร�ำข้าว
และเกลอื บรรจใุ สไ่ ห หมกั ทง้ิ ไวป้ ระมาณ ๗ - ๘ เดอื น แลว้ นำ� มารบั ประทานได้ รสชาตเิ คม็ นำ�
ปลาร้ามีประโยชน์สูง คือ มีโปรตีน ไขมัน และเกลือแร่ ครัวเรือนท่ีนิยมกินปลาร้าสามารถ
ท�ำปลาร้าเก็บไว้กนิ เอง หรอื จ�ำหน่ายเพ่ือเพ่ิมรายได้
วธิ ีทำ� ปลาร้า
• นำ� ปลาทจี่ ะทำ� ปลารา้ (เปน็ ปลาสรอ้ ยขาวหรอื ปลากระดกี่ ไ็ ด)้ นำ� มาทำ� ความสะอาด
แล้ววางพกั ไว้บนตะแกรง หากเปน็ ปลาตัวใหญ่เอาไสอ้ อกให้หมดและขอดเกรด็ ออก
• เตรยี มสว่ นผสมหากใชป้ ลาประมาณ ๖ ถว้ ยตวง (ประมาณเอา) ใชเ้ กลอื ๒ ถว้ ย และ
ขา้ วค่ัว ๑ ถ้วย จากนนั้ ก็คลุกให้เขา้ กัน สังเกตถา้ ปลาได้ทแ่ี ลว้ ตวั เนือ้ ปลาจะแขง็ หากเน้อื ปลา
ยังเละอยูใ่ ห้เตมิ เกลอื เขา้ ไปอีก
• เตรียมภาชนะใส่ปลาทสี่ ามารถปิดได้มดิ ชดิ กนั แมลงวนั ลงไปได้ เช่น โหล หรอื ไห
ลา้ งใหส้ ะอาด แลว้ ใสป่ ลาลงไปใหต้ ำ่� กวา่ ขอบภาชนะเลก็ นอ้ ย จากนน้ั ใชผ้ า้ ปดิ ภาชนะใหส้ นทิ
หรือฝาโหล ควรปิดให้สนิทมิดชิด ไมใ่ ห้อะไรลงไปได้
• หมกั จนเกลอื เป็นน�ำ้ ละลายทว่ มตวั ปลา ใช้เวลา ๕ - ๘ สปั ดาห์ จนปลาเปน็ สแี ดง
กส็ ามารถน�ำมาใช้งานไดแ้ ล้ว
• หากจะน�ำน้�ำมาท�ำส้มต�ำ กรองเอาเน้ือออก และเพื่อความสะอาดก่อนน�ำมาใช้
ใหน้ ำ� ไปตม้ เพ่อื ฆ่าเชื้อก่อน หรอื ใครชอบกนิ ตัวปลา ก็ใสไ่ ปไดท้ ั้งตวั และน�ำ้ เลย
ปลาร้าข้ีปลาทู ท�ำจากไส้ปลาทู มีกลิ่นหอมที่เป็นเอกลักษณ์ นิยมน�ำมาท�ำเป็น
นำ้� ปลารา้ ไวป้ รงุ รสสม้ ตำ� และสามารถแปรรปู นำ้� ปลารา้ ทไี่ ด้ เปน็ นำ�้ ปลารา้ นวั ทต่ี ามทอ้ งตลาด
ต้องการและใช้ในการทำ� อาหาร เชน่ ใส่ส้มต�ำ ย�ำแซ่บ แกงอ่อมตา่ ง ๆ ฯลฯ
หน้า 64 ๓ สร้าง ทางรอดสงั คมไทย
นำ�้ ปลาร้านวั
ส่วนผสม
• ปลาร้าร�ำ ๑ กโิ ลกรัม
• สับปะรดเปรยี้ วอมหวานหน่ั ชิ้นพอคำ� ๔๐๐ กรมั
• ใบกระถิน (หกั กา้ นแข็งออก) หรอื ฝักกระถนิ ๑ ก�ำมือ
• ใบหม่อน ๑๐ ใบ
• ใบน้อยหนา่ ๑๐ ใบ
• นำ้� ตาลป๊บี ๔ ชอ้ นโตะ๊
• กะปิ ๒ ชอ้ นโต๊ะ
• กระเทียมดอง ๒ หวั
• น้�ำกระเทียมดอง ๑/๔ ถว้ ย
• น�้ำ ๓ ถว้ ย
วธิ ีการท�ำ
๑. ใส่ปลาร้าลงในหมอ้ ตามด้วยสับปะรด ใบกระถิน ใบหม่อน ใบน้อยหนา่ น้ำ� ตาลป๊ีบ
กะปิ กระเทียมดอง (บบุ หัวกระเทยี ม) และนำ้� กระเทยี มดอง เติมน้�ำ เค่ียวประมาณ ๑ ชวั่ โมง
จนน�ำ้ ปลาร้าข้น
๒. กรองเอาแต่น�้ำปลาร้า ต้มน�้ำปลาร้าให้เดือดอีกคร้ัง กรอกใส่ขวดเก็บเข้าตู้เย็น
ช่องธรรมดา
๓ สร้าง ทางรอดสังคมไทย หนา้ 65
การแปรรปู กลว้ ยน้�ำว้า
เป็นการถนอมอาหาร แต่ในปจั จบุ ันสามารถแปรรูปกลว้ ยนำ�้ ว้า เพ่อื เป็นการเพ่ิมมลู คา่
ซง่ึ สามารถทำ� ไดห้ ลายหลากวธิ ีเชน่ กวนอบนงึ่ เปน็ ตน้ ซง่ึ กลว้ ยนำ้� วา้ ในประเทศไทยจำ� แนกเปน็
๓ กลุ่มใหญ่ คอื
กล้วยน้�ำว้าไส้ขาว ที่รู้จักกันดีคือ ‘กล้วยน้�ำว้ามะลิอ่อง’ เหมาะที่จะท�ำกล้วยตาก
จะได้กล้วยตากสเี หลืองสวย ไม่ด�ำคล้า, ทำ� กล้วยแผ่นอบ ได้สีเหลืองทส่ี วยพอดี
กลว้ ยนำ�้ วา้ ไสเ้ หลอื ง เหมาะสำ� หรบั การกนิ ผลสด ทำ� กลว้ ยเชอ่ื ม กลว้ ยทอด กลว้ ยบวชชี
เป็นกลมุ่ กลว้ ยท่ีเหมาะสำ� หรบั การแปรรูป ทำ� ขนม ใชง้ านไดห้ ลากหลายที่สุด
กล้วยนำ�้ ว้าไสแ้ ดง ไส้ค่อนข้างแข็งมคี วามฝาด เหมาะส�ำหรับทำ� กล้วยเชอ่ื ม หรอื ทำ� ไส้
ข้าวต้มมัด ไส้จะไม่เละ กล้วยกลุ่มไส้แดงน้ี ไม่เหมาะท่ีจะน�ำไปท�ำกล้วยตาก เพราะกล้วย
จะคล้�ำด�ำ สีไม่สวย ดูแล้วเหมือนผลิตภัณฑ์เก่า ท�ำกล้วยบวชชีก็ไม่อร่อย เพราะมีรสฝาด
การแปรรปู จากผลของกลว้ ย มใี ห้เลือกหลายรปู แบบ เช่น
กล้วยกวน
สว่ นผสม
๑. กล้วยน้ำ� ว้าสุก ๑ หวี
๒. นำ้� กะทิ ๑ + ๑/๒ ถว้ ยตวง
๓. น�้ำตาลทราย ๑ ถ้วยตวง
๔. นำ�้ ตาลปกึ ๑/๒ ถว้ ยตวง
๕. เกลือ ๑/๒ ชอ้ นชา
อุปกรณ์
๑. กระทะทองเหลือง
๒. พายไม้
๓. กระดาษหรือกระดาษแก้วสำ� หรบั ห่อ
วธิ ที ำ�
๑. ปอกกล้วยแล้วใชส้ อ้ มบใ้ี หล้ ะเอยี ดใสใ่ นกระทะทองเหลือง
๒. เติมกะทิ ยกข้นึ ตง้ั ไฟ กวนจนเริ่มแหง้
๓. เติมน�้ำตาลและเกลอื กวนต่อไปจนแห้งและลอ่ นจากกระทะจงึ ยกลง
๔. เทใส่ถาดเกล่ียให้เรียบเสมอกันพักไว้ให้เย็นสนิท จึงตัดเป็นช้ินส่ีเหลี่ยมห่อด้วย
กระดาษแกว้
หน้า 66 ๓ สร้าง ทางรอดสังคมไทย
กล้วยนำ�้ ว้าฉาบเคม็
ส่วนผสม
๑. กล้วยน�้ำว้าดบิ แก่ ๔ ถ้วยตวง
๒. นำ้� มนั ส�ำหรบั ทอด ๖ ถว้ ยตวง
๓. น�้ำปนู ใส ๖ ถว้ ยตวง
๔. เนย หรอื มาการีน ๘ ชอ้ นโต๊ะ
วธิ ที �ำ
๑. นำ� กลว้ ยห่ามและแกจ่ ดั มาปอกเปลอื ก แลว้ หัน่ เปน็ ชนิ้ บางๆ ตามความยาวของผล
โดยให้มคี วามหนาเท่าๆ กนั น�ำไปแชน่ �ำ้ ปูนใส ๑๐ - ๑๕ นาที ตกั ขนึ้ แล้วน�ำไปลา้ งน�้ำสะอาด
ผง่ึ ในตะแกรงใหส้ ะเด็ดน้�ำ
๒. นำ� ลงทอดในนำ�้ มนั เหลอื งกรอบดว้ ยไฟออ่ นๆ ตกั ขน้ึ ใสต่ ะแกรง พกั ไวใ้ หส้ ะเดด็ นำ้� มนั
๓. น�ำลงคลกุ กับเนยหรือมาการีนท่เี ตรยี มไว้ แล้วตกั ข้นึ พักไว้ใหเ้ ยน็ บรรจใุ ส่ภาชนะ
ที่สะอาดมดิ ชดิ หรือใสถ่ งุ พลาสตกิ ผนกึ สนิท
๓ สรา้ ง ทางรอดสังคมไทย หนา้ 67
การแปรรูปพริก
คนไทยสว่ นใหญน่ ยิ มปลกู พรกิ ไวต้ ามบา้ นเรอื น และอาหารไทยจะมอี รรถรสทข่ี าดไมไ่ ด้
คอื ความเผด็ รอ้ นเปน็ เครอื่ งเทศคคู่ รวั ไทยทกุ บา้ นไมว่ า่ จะเปน็ พรกิ ชฟี้ า้ พรกิ ขห้ี นสู วนพรกิ จนิ ดา
พรกิ ยอดสน พรกิ พนั ธห์ุ ว้ ยสที น พรกิ กะเหรย่ี ง พรกิ หยวก ซเู ปอรฮ์ อต พรกิ เหลอื ง พรกิ อคั นพี โิ รธ
ซ่งึ มีปลูกตาม แตล่ ะท้องถิ่น และเราอาจสังเกตได้วา่ การปลกู พรกิ หน่ึงตน้ จะมผี ลติ ผลออกมา
มากมาย จนอาจทำ� ให้พริกล้นตลาดหรอื มากจนเกนิ ความจ�ำเปน็ ของครวั เรือน จึงต้องมกี าร
แปรรปู พรกิ เพอ่ื นำ� มาบรโิ ภคอยา่ งหลากหลาย และเพมิ่ มลู คา่ เพอื่ สรา้ งรายไดใ้ หก้ บั ครวั เรอื น เชน่
น�้ำพรกิ เผา
ส่วนผสม
• พริกแหง้ ๗๕ กรัม (พรกิ แหง้ เมด็ ใหญ่ ๕๐ กรมั และพรกิ แห้งเม็ดเล็ก ๒๕ กรมั )
• กงุ้ แหง้ ๗๕ กรมั
• หอมแดง ๒๐๐ กรมั
• กระเทยี ม ๑๒๕ กรมั
• เกลือ ๑ ช้อนชา
• นำ้� เปลา่ ๑ ถ้วย
• น�ำ้ มนั พชื ส�ำหรับผดั น้ำ� พรกิ
วิธกี ารท�ำ
• น�ำพรกิ แหง้ ไปล้างน้�ำแล้วผึง่ ใหส้ ะเดด็
• ปอกเปลอื กกระเทียมแล้วน�ำไปล้างน�้ำใหส้ ะอาดเสร็จแลว้ กห็ น่ั
• ปอกเปลือกหอมแดงออก หลังปอกเปลือกเสร็จให้แช่น้�ำใส่น้�ำส้มสายชูลงไปหน่อย
จะไดส้ ะอาด
• นำ� กระเทยี มไปควั่ จนสเี รม่ิ เปลยี่ นและมกี ลนิ่ หอม การควั่ กจ็ ะทำ� ใหน้ ำ�้ มนั หอมระเหย
ของกระเทียม หอมแดง และพริกออกมา ท�ำให้น้�ำพริกหอมขึ้น แล้วก็จะดึงความหวาน
ตามธรรมชาตขิ องหอมแดงและกระเทียมขึ้นมา
• นำ� พรกิ แหง้ มาตำ� ใหน้ ม่ิ จากนนั้ กน็ ำ� หอมแดง กระเทยี ม และกงุ้ แหง้ มาตำ� เขา้ ดว้ ยกนั
ความละเอียดน่ีแลว้ แต่ชอบ
หนา้ 68 ๓ สรา้ ง ทางรอดสงั คมไทย
• จากน้ันก็น�ำมาผัดกับน้�ำมันในกระทะให้หอมด้วยไฟปานกลาง แล้วใส่น�้ำเปล่า
ลงไปเพื่อไม่ใหแ้ หง้ เกินไป พอเรม่ิ เดือดกใ็ ห้ใสน่ �้ำมันลงไปอีกเลก็ นอ้ ย พรอ้ มกบั ใสเ่ กลือลงไป
เสรจ็ แลว้ ต้งั ท้ิงไว้ให้เย็น
• นำ� มาใสข่ วดโหลแกว้ ทต่ี ม้ ดว้ ยนำ้� เดอื ดฆา่ เชอ้ื แลว้ กป็ ดิ ฝาสามารถเกบ็ ไดน้ านหลายเดอื น
ซอสพรกิ
ส่วนผสม
• พรกิ ชี้ฟา้ แดง ๑/๒ กิโลกรัม
• พรกิ หยวกแดง ๑/๒ กโิ ลกรมั
• กระเทยี มปอกเปลอื ก ๑ ถว้ ย
• น�้ำส้มสายชู ๒ ถ้วย
• น�ำ้ ตาลทราย ๑ ถ้วย
• เกลือ ๒ ช้อนโต๊ะ
• นำ�้ เปลา่ ๒ ถว้ ยตวง
วธิ ีการท�ำ
• น�ำพริกชฟี้ ้าแดง พริกหยวกแดง มาลา้ งน�ำ้ ให้สะอาด
• ปอกเปลอื กกระเทียม แล้วล้างน�้ำให้สะอาด
• นำ� พริกท้งั ๒ ชนดิ และกระเทียมที่เตรยี มไวม้ าหัน่ และตม้ จนเปื่อย ในน้ำ� สะอาด
๒ ถ้วยตวง
• น�ำพริกและกระเทียมที่ต้มแล้วน�ำมาปั่นหรือใส่เคร่ืองบดอาหารให้ละเอียด เทใส่
กระชอมยีแยกเอาเมด็ ออก
• ผสมนำ้� สายชู นำ้� ตาล และเกลอื ละลายใหเ้ ขา้ กนั เทลงไปในสว่ นผสมทย่ี ี หรอื ทบ่ี ดไว้
ปรุงรสตามใจชอบ
• ต้มส่วนผสมท้งั หมดดว้ ยไฟแรงจนงวดลง
• บรรจซุ อสพริกลงในขวดทีส่ ะอาดใส่ในหมอ้ แล้วต้มหรือนึ่งนานประมาณ ๓๐ นาที
แล้วจงึ น�ำออกมาตง้ั ท้ิงไวใ้ ห้เยน็ เกบ็ ไว้ทาน
๓ สร้าง ทางรอดสงั คมไทย หนา้ 69
๒. การสร้างส่ิงแวดล้อมใหย้ ง่ั ยืน
ความหมาย
สิ่งแวดล้อม (Environment) เป็นสิ่งส�ำคัญส�ำหรับมนุษย์ การอาศัยพ่ึงพาซึ่งกัน
และกนั ระหวา่ งมนษุ ยก์ บั สงิ่ แวดลอ้ มเปน็ สงิ่ ทส่ี ำ� คญั อยา่ งยง่ิ ดงั นน้ั ถา้ เราตอ้ งการใหม้ นษุ ยก์ บั
สง่ิ แวดล้อมอยู่รว่ มกนั อยา่ งเปน็ มติ รซ่ึงกันและกนั เราควรจะต้องรู้จักกับคำ� วา่ “สง่ิ แวดล้อม”
ใหด้ ีย่ิงขนึ้
“สงิ่ แวดลอ้ ม” หมายถงึ สรพสงิ่ ทเ่ี กดิ ขน้ึ โดยธรรมชาติ มนษุ ยส์ รา้ งขน้ึ ใหเ้ ปน็ ประโยชน์
และโทษ เหน็ และไมเ่ หน็ ดว้ ยตาเปลา่ เปน็ รปู ธรรมและนามธรรม และสงิ่ เปน็ พษิ และไมเ่ ปน็ พษิ
ความหมายตามพระราชบัญญัติส่งเสริมและรักษาสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๓๕
หมายถึง “ส่ิงต่าง ๆ ที่มีลักษณะทางกายภาพและชีวภาพที่อยู่รอบตัวมนุษย์ซ่ึงเกิดขึ้น
โดยธรรมชาติและสิ่งทม่ี นุษย์ไดท้ �ำข้ึน”
สิ่งแวดล้อม คือ สิ่งต่าง ๆ ท่ีอยู่รอบตัวมนุษย์ ซึ่งมีทั้งมีชีวิตและไม่มีชีวิต ทั้งที่
เป็นรูปธรรม (จับต้องและมองเห็นได้) และนามธรรม (จับต้องไม่ได้และมองไม่เห็น) ทั้งที่
เกดิ ขนึ้ เองตามธรรมชาติและที่มนษุ ยส์ ร้างขึ้น
ประเภทของสิ่งแวดล้อม
ศ.ดร.เกษม จันทร์แก้ว (๒๕๓๖, ๑๗) ได้จ�ำแนกประเภทของ “สิ่งแวดล้อม” เป็น
๒ ประเภท ดังน้ี
๑. สิ่งท่ีเกดิ ขึ้นโดยธรรมชาติ (Natural environment) เช่น ดิน นำ�้ แร่ ปา่ ไม้ สัตว์
มนษุ ย์ อากาศ แสงแดด เปน็ ตน้ สง่ิ ทเี่ กดิ ขน้ึ โดยธรรมชาตนิ ั้น อาจเป็นได้ 2 ประเภท คือ
๑.๑ สิ่งท่ีมีชีวิต (Biotic environmental) เป็นสงิ่ ท่เี กิดข้นึ โดยธรรมชาติ มีลักษณะ
และสมบตั เิ ฉพาะตัวของสิง่ มีชีวติ เชน่ พชื สัตว์ และมนุษย์ เปน็ ต้น
๑.๒ สงิ่ ไมม่ ีชวี ติ (Non - biotic environmental) เปน็ สงิ่ ที่เกดิ ขน้ึ โดยธรรมชาติ
ทีไ่ ม่มีชีวิต อาจเหน็ หรอื ไมเ่ ห้นได้ เช่น ดิน น้ำ� ก๊าซ อากาศ ควัน แร่ เมฆ แสง เสยี ง เป็นตน้
๒. สง่ิ ทมี่ นษุ ยส์ รา้ งขน้ึ (Man – made environmental) เชน่ เมอื ง บา้ น ถนน สะพาน
โต๊ะ เก้าอ้ี เรอื รถ เครือ่ งบนิ วัด วัฒนธรรม ศาสนา ประเพณี การศกึ ษา เปน็ ตน้
ส่งิ ท่ีมนุษย์สรา้ งขนึ้ แบ่งออกเป็น 2 ประเภทใหญ่ ๆ คอื
๒.๑ สงิ่ แวดลอ้ มทางกายภาพ (Physical environmental) เปน็ สงิ่ ทม่ี นษุ ยส์ รา้ งขน้ึ
ทสี่ ามารถมองเหน็ ได้ เชน่ บา้ นเรอื น ถนน เมอื ง สะพาน รถ เครอ่ื งบนิ เรอื เจดยี ์ วดั การเกษตร ฯลฯ
หน้า 70 ๓ สรา้ ง ทางรอดสังคมไทย
๒.๒ ส่ิงแวดล้อมทางสังคมหรือนามธรรมส่ิงแวดล้อม (Social Environmental
หรอื Abstract Environmental) เปน็ สงิ่ ท่ีมนษุ ยส์ รา้ งขึน้ โดยความตงั้ ใจและไมต่ ง้ั ใจ หรอื
การสร้างเพ่ือความเป็นระเบียบของการอยู่ร่วมกันอย่างมีความสุข เป็นสิ่งแวดล้อมท่ีมนุษย์
ในลกั ษณะมโนภาพ คอื วฒั นธรรม ประเพณี ศาสนา กฎหมาย ระเบียบขอ้ บงั คับ กฎเกณฑ์
รวมถงึ พฤติกรรมต่าง ๆ ของมนษุ ยท์ ่เี ป็นท้ังทางบวกและทางลบ
ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี งกบั การจัดการสง่ิ แวดลอ้ ม
เศรษฐกิจพอเพียง โดยนัยคือวิถีชีวิตท่ีพอเพียงและสมดุลระหว่างคนกับคน และคน
กับส่ิงแวดล้อม ท้ังทางกายภาพและจิตภาพ โดยมิติผูกพันในส่วนของบุคคล พอเพียง
ทางเศรษฐกิจ คือพอกนิ พอใจ อยา่ งมนั่ คง และ พอเพียงทางจิตพิสัยทง้ั อดุ มการณ์ โลกทศั น์
ค่านิยมและต่อสังคมนิติ ในส่วนของสังคม คือ พ้ืนฐานทางสังคมที่พอเพียงสมดุลเข้มแข็ง
ของชุมชน ทงั้ ทางเศรษฐกจิ สิ่งแวดลอ้ ม การบูรณาการและวัฒนธรรม
การจัดการทรัพยากรและสิ่งแวดล้อมโดยใช้ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง คือ การใช้
ทรพั ยากรอยา่ งพอประมาณ มเี หตผุ ล รอบคอบ ระมดั ระวงั ไมก่ อ่ ใหเ้ กดิ การทำ� ลายทรพั ยากร
ซึง่ เปน็ การสร้างภมู คิ ้มุ กนั ของส่ิงแวดลอ้ ม ทำ� ให้มีทรัพยากรใช้ต่อไปในระยะยาว ส่ิงแวดลอ้ ม
มีคณุ ภาพดี
การใช้ทรัพยากรอย่างพอประมาณ คือ การผลิตให้เพียงพอต่อการบริโภค ไม่เร่ง
นำ� ทรพั ยากรมาใชเ้ พอ่ื การผลติ ยิ า่ งฟมุ่ เฟอื ยจนเหลอื ทง้ิ กลายเปน็ ขยะ ของเสยี ซง่ึ เปน็ ปญั หา
ส่ิงแวดล้อม รวมทง้ั ท�ำใหท้ รพั ยากรร่อยหรอหมดไป หรือสูญพันธ์ุ
การใช้ทรัพยากรอย่างมีเหตุผล รู้ว่าทรัพยากรท่ีมีอยู่คืออะไร มีอยู่มากน้อยเพียงใด
ใช้แล้วก่อใหเ้ กดิ ผลกระทบอย่างไร เชน่ ถ้าใชจ้ ะปลอ่ ยมลพิษทางอากาศ ท�ำให้เกดิ อากาศเสีย
เปน็ ต้น ซึง่ จะเปน็ ปัญหาต่อสิง่ แวดลอ้ มตอ่ ไป
การใชท้ รพั ยากรอยา่ งมภี มู คิ มุ้ กนั ตอ้ งมกี ารคาดการณว์ า่ หากนำ� ทรพั ยากรมาใชจ้ ะทำ� ให้
เกดิ ผลกระทบอะไรบา้ ง และจะสามารถปอ้ งกันไดอ้ ยา่ งไร
โดยการคิดและตัดสินใจดังกล่าว ก็ต้องมีพ้ืนฐานความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับสภาพ
ของทรัพยากรและสิ่งแวดลอ้ ม จงึ จะสามารถตัดสนิ ใจใชท้ รัพยากร คาดการณผ์ ลกระทบทจ่ี ะ
เกดิ ขนึ้ และเตรยี มพรอ้ มรบั มอื หรอื แกไ้ ขจดั การปญั หาสง่ิ แวดลอ้ มทจี่ ะเกดิ ขน้ึ ไดอ้ ยา่ งถกู ตอ้ ง
และรอบคอบ ทั้งน้ีการคิดและตัดสินใจดังกล่าวต้องเป็นไปอย่างสุจริต ไม่อยู่บนพ้ืนฐานการ
เห็นแก่ประโยชน์สว่ นตัว
๓ สรา้ ง ทางรอดสังคมไทย หนา้ 71
แนวทางการสร้างส่ิงแวดล้อมให้ยั่งยืน ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงระดับ
ครัวเรอื น ท�ำไดโ้ ดยการ
๑. บริหารจัดการขยะ ลดการใช้ผลิตภัณฑ์สร้างขยะ คัดแยกขยะ น�ำกลับมาใช้ซ�้ำ
หมกั ขยะเปียกเพือ่ เปน็ ปยุ๋ หรอื ถังขยะเปียกลดโลกรอ้ น
๒. จัดสุขลักษณะในบ้าน โดยการจัดบริเวณบ้าน สะอาดเป็นระเบียบ ไม่เป็นแหล่ง
เพาะเชอ่ื โรค และไมเ่ ปน็ พาหะนำ� โรค ทำ� ใหส้ วยงามได้ เชน่ รวั้ กนิ ได้ ไมด้ อก ไมป้ ระดบั สะดวก
ปลอดภยั ในการใช้อปุ กรณป์ ระกอบอาชีพ
๓. ใช้ทรัพยากรในบ้านอย่างคุ้มค่า ประหยัดและเก้ือกูลกัน เช่น น�้ำจากการซักผ้า
นำ� ไปรดตน้ ไม้ เป็นตน้
ตัวอย่างกิจกรรม สรา้ งส่งิ แวดล้อมให้ยั่งยนื
การก�ำจัดขยะอนิ ทรีย์และขยะเปียกในครวั เรือน รปู แบบที่ ๑
วิธีการ
๑. จดั เตรยี มภาชนะหรอื เศษวสั ดุภาชนะเหลอื ใช้ เช่น ถังสี ถังพลาสติกใช้แล้ว ขนาด
ของภาชนะข้ึนอยู่กับปริมาณขยะในครัวเรือน หากมีมากก็ใช้ภาชนะที่มีขนาดใหญ่ขึ้น
ตามความเหมาะสม (ภาชนะทใ่ี ช้อาจเป็นถังพลาสติกหรอื ภาชนะอน่ื ๆ ทมี่ ีฝาปดิ )
๒. เจาะรูหรือตัดภาชนะตามข้อ 1 ท่ีก้นถังแล้วขุดหลุมขนาดึวามลึก 2 ใน 3 ส่วน
ของความสูงของภาชนะ นำ� ภาชนะทเี่ ตรยี มไวใ้ ส่ในหลุมทข่ี ุด ทั้งน้ี หากมปี รมิ าณขยะอินทรยี ์
เกิดข้นึ มากและพนื้ ทีเ่ หลือสามารถท�ำไดม้ ากกว่า 1 ชดุ
๓. นำ� เศษอาหาร เศษผกั ผลไม้ ใบไม้ และเศษหญา้ ทเี่ หลอื มาเทใสใ่ นถงั ทฝี่ งั ไว้ และปดิ
ฝาภาชนะใหม้ ดิ ชิด
๔. จุลินทรีย์ในดิน ไส้เดือนในดินจะท�ำหารย่อยเศษอาหารในภาชนะให้กลายเป็นปุ๋ย
(ระยะเวลาขนึ้ อยูก่ บั ปรมิ าณขยะเปียก) หากมกี ลิ่นสามารถเตมิ นำ�้ หมกั EM หรอื เอาเศษหญา้
และใบไมข้ นาดเล็ก มากลบผิวช้นั บนได้
๕. เมื่อปริมาณเศษอาหารถึงระดับเดียวกับพ้ืนดินท่ีขุดไวเ ให้เอาดินกลบ แล้วย้ายถัง
ไปท�ำตามขั้นตอนเดิมทจ่ี ุดอื่นตอ่ ไป
หน้า 72 ๓ สรา้ ง ทางรอดสงั คมไทย
การกำ� จดั ขยะอนิ ทรยี แ์ ละขยะเปียกในครัวเรือน รปู แบบที่ ๒
วธิ ีการ
๑. จดั เตรยี มทอ่ ซเี มนตเ์ หลอื ใช้ หรอื จดั ทำ� คอกไมล้ อ้ มรอบตน้ ไม้ หรอื เสวยี น ไวส้ ำ� หรบั
รองรบั ขยะอินทรยี ห์ รือขยะเปียก
๒. รองท่อซีเมนต์ด้วยอิฐหรือวัสดุ เพ่ือยกฐานของท่อซีเมนต์ให้มีช่องว่างอากาศ
หลังจากนน้ั ใหเ้ ติมดนิ หรอื ใบไมล้ งไปในฐานวงล้อซเี มนต์
๓. น�ำขยะอินทรยี ์ ขยะเปียก เศษอาหาร เปลือกผลไม้ เศษหญ้า เศษใบไมเ้ ทใสใ่ นจุด
ที่ไดจ้ ัดเตรียมไว้ ตามข้อ ๑
๔. น�ำเศษใบไม้แห้งมาโรยปิด เพ่ือเป็นการป้องกันกลิ่นเหม็นและป้องกันแมลงต่าง ๆ
โดยสามารถเตมิ EM เพื่อปอ้ งกนั กลิ่นและเรง่ ปฏกิ ริ ิยาการหมักไดอ้ ีกดว้ ย
๕. พลิกกลับหรือเกล่ียกองเศษขยะอินทรีย์หรือขยะเปียกเป็นประจ�ำเพ่ือเติมอากาศ
ให้กับจุลินทรีย์น�ำไปใช้ในกระบวนการย่อยสลายเม่ือถึงระยะเวลาหน่ึงก็จะได้ดินหรือปุ๋ยท่ีมี
คณุ สมบัติเหมาะแก่การปลูกพืช
การทำ� ปุ๋ยอินทรยี ์ชีวภาพ 10 กระสอบ
วตั ถดุ บิ /อุปกรณ์ 10 กระสอบ
๑. มลู ข้ีไก่ 10 กระสอบ
๒. ร�ำละเอยี ด
๓. แกลบดิน ๓ สรา้ ง ทางรอดสงั คมไทย หน้า 73
๔. ขุยมะพรา้ ว 6 กระสอบ
๕. หวั เชื้อจุลนิ ทรยี เ์ ข้มขน้ 5 ลติ ร
๖. นำ้� เปลา่ 10 ลติ ร
วิธที ำ�
๑. น�ำมูลข้ีไก่ ร�ำละเอียด แกลบดิน และขุยมะพร้าว มาผสมคลุกเคล้ากันให้เข้าเป็น
เน้ือเดยี วกัน
๒. ผสมน�้ำกับหัวเชื้อจุลินทรีย์เข้มข้นให้เข้ากัน รดลงบนกองวัสดุ และผสมให้เข้ากัน
จนมีความช้นื ประมาณ ๓๕ % โดยทอดลองก�ำดู จะเกาะกนั เป็นก้อนไดแ้ ต่ไมเ่ หนียว และ
เมื่อปลอ่ ยทงิ้ ลงพ้ืนจากความสงู ประมาณ 1 เมตร กอ้ นป๋ยุ จะแตก แตย่ ังมรี อยนิ้วมือเหลืออยู่
๓. เมอื่ คลุกเคลา้ เขา้ กันดีแล้ว ใช่กระสอบป่านเกา่ ๆ คลุมทง้ิ ไว้ประมาณ ๕ – ๗ วนั
ตรวจดูว่ากล่นิ หอม ไม่มไี อรอ้ น กส็ ามารถน�ำไปใช้หรอื จ�ำหนา่ ยได้
เคลด็ ลบั
ปยุ๋ หมกั ชวี ภาพทด่ี จี ะมกี ลน่ิ หอมเหมอื นเหด็ มใี ยสขี าวของเชอ้ื รา เกาะกนั เปน็ กอ้ นนระ
หว่างการหมกั ถา้ ไม่เกิดความร้อนเลยอสดงว่าการหมักไมไ่ ด้ผล อณุ หภมู ิในระหว่างการหมัก
ท่เี หมาะสม อยูร่ ะหว่าง ๔๐ – ๕๐ องศาเซลเซยี ส ป๋ยุ อนิ ทรยี ์ชวี ภาพเมือ่ แห้งดแี ลว้ สามารถ
เกบ็ ไว้ได้นานหลายเดอื น เก็บไว้ในท่ีแหง้ ในรม่
วิธกี ารใช้
๑. ผสมปยุ๋ อนิ ทรยี ์ชีวภาพกับดินในแปลงปลูกผกั ทุกชนดิ ในอตั รา ๑ กโิ ลกรัม ต่อพน้ื ท่ี
๑ ตารางเมตร
๒. พืชผักอายุเกิน ๒ เดอื น เช่น ขา้ วโพด ถวั่ ฝักยาว แตงกวา และฟักทอง ใช้ปุย๋ อินทรยี ์
ชวี ภาพคลกุ กบั ดิน รองกน้ หลมุ กอ่ นปลูกกลา้ ผัก ประมาณ 1 ก�ำมือ
๓. ไมผ้ ล ควรรองกน้ หลมุ ดว้ ยเศษหญา้ ใบไม้แห้ง ฟาง และปยุ๋ อนิ ทรยี ช์ ีวภาพ ๑ - ๒
กิโลกรมั ส�ำหรบั ไมท้ ่ปี ลูกแลว้ ใส่ปยุ๋ อนิ ทรียช์ วี ภาพแนวทรงพุม่ ๑ - ๒ ตอ่ ๑ ตารางเมตร แลว้
คลุมด้วยหญา้ แห้ง ใบไมแ้ ห้ง หรอื ฟาง และรดนำ้� สกัดชวี ภาพให้ชมุ่
๔. ไมด้ อก ไมป้ ระดบั ไมก้ ระถาง ควรใสป่ ยุ๋ หมกั ชวี ภาพ เดอื นละ ๑ ครงั้ ๆ ละ ๑ กำ� มอื
หนา้ 74 ๓ สรา้ ง ทางรอดสังคมไทย
การเลีย้ งไสเ้ ดอื นเพอื่ ผลิตปยุ๋ อินทรยี ์
วัตถดุ ิบ/อุปกรณ์
๑. ไสเ้ ดือนพนั ธุ์ AF (คละไซส์) จ�ำนวน ๓ กโิ ลกรัม
๒. ขี้ววั แหง้
๓. กะละมงั เบอร์ ๘ ขนาด ๕๔ x ๒๙.๕ เซนตเิ มตร (ขนาดใหญ่ เอาไวแ้ ช่ข้วี ัวหมกั น้ำ� )
๔. กะละมงั เบอร์ ๔๐ ขนาด ๔๐.๕ x ๑๒ เซนตเิ มตร (ขนาดเลก็ เอาไว้เลยี้ งไสเ้ ดือน)
๕. โรงเรอื น (มหี รอื ไมม่ ีกไ็ ด้) หรือชั้นวางกะละมังไส้เดอื น
วิธที ำ�
๑. สรา้ งโรงเรอื น (ควรอยใู่ นทรี่ ม่ ) สำ� หรบั วางกะละมงั เลยี้ งไสเ้ ดอื น หรอื ทำ� ชนั้ วางแลว้
วางในที่รว่ มก็ได้
๒. เตรยี มกะละมงั เบอร์ ๘ (ขนาดใหญ)่ เจาะรดู า้ นขา้ งแลว้ ตอ่ กอ๊ กนำ้� เพอื่ เอาไวใ้ ชแ้ ชข่ วี้ วั
๓. โดยน�ำมงุ้ ตาข่ายสเี ขียวรองในกะละมงั และน�ำขว้ี วั แหง้ มาใส่ในกะละมังให้เต็ม
๔. เติมน�ำ้ ใหเ้ ต็มกะละมงั ขณะเติมนำ�้ หม่นั คนขี้ววั ใหเ้ ขา้ กับน�้ำดว้ ย
๕. แชข่ วี้ วั ในกะละมงั (ขนาดใหญ)่ ใหค้ รบ ๒๔ ชว่ั โมง แลว้ เปดิ กอ๊ กปลอ่ ยนำ้� ออกใหห้ มด
๖. เติมน้�ำลงไปใหม่อกี ครง้ั (ปล.หมกั ขีว้ วั แห้งใหท้ ำ� อยา่ งนี้ ๓ วัน โดยทกุ วนั ต้องปลอ่ ย
นำ้� ออกและเติมน�้ำเขา้ ไปใหมเ่ พื่อหมกั ข้ีวัวทกุ ครง้ั
๗. หาทรี่ องนำ�้ ขว้ี วั ทปี่ ลอ่ ยออกทกุ ครงั้ และนำ� ไปใชป้ ระโยชนไ์ ด้ เพราะนำ้� หมกั ขว้ี วั คอื
นำ�้ ปยุ๋ ยเู รยี สามารถนำ� ไปผสมกบั นำ�้ เปลา่ โดยใชอ้ ตั ราสว่ น นำ�้ ๑ บวั รดนำ้� ตอ่ นำ�้ หมกั ขวี้ วั ๑ ขนั
นำ� ไปรดพืชผกั เพ่อื เปน็ การทดแทนการใชป้ ุย๋ เคมีไดอ้ ีกทางหน่งึ
๘. หลงั จากหมักครบ ๓ วันแล้ว สามารถน�ำไปเปน็ อาหารเลี้ยงไสเ้ ดอื นได้
๙. น�ำกะละมงั เบอร์ ๔๐ (ขนาดเล็ก) เจาะรูด้านล่างเพื่อเปน็ ทร่ี ะบายนำ้� และอากาศ
เจาะตามความเหมาะสมไมม่ กี �ำหนดว่าตอ้ งเจาะจ�ำนวนเทา่ ไร
๑๐. นำ� ข้ีววั ท่ไี ดจ้ าก ข้อ ๘ มาใส่ในกะละมัง ในข้อ ๙ ทีเ่ ราเตรียมไว้ใหเ้ ต็มกะละมงั
๑๑. ใส่ไสเ้ ดือนลงไปในกะละมัง อัตราส่วน ไส้เดอื น ๓ ขดี ต่อ ๑ กะละมัง และรดน�ำ้
ตามให้ชมุ่ (ไม่ตอ้ งแฉะ)
๑๒. นำ� กะละมงั ไสเ้ ดอื นไปวางในโรงเรอื นทเ่ี ราเตรยี มเอาไว้ หรอื ในชน้ั วางทเี่ ราเตรยี ม
เอาไว้
๑๓. หมน่ั รดนำ้� และสงั เกตความชน้ื ในกะละมงั ทกุ วนั โดยใหร้ ดนำ้� ๓ - ๔ วนั ตอ่ อาทติ ย์
๑๔. ผ่านไป ๒ อาทิตย์ จึงเริม่ เกบ็ มูลไส้เดอื นในกะละมงั
๓ สรา้ ง ทางรอดสังคมไทย หน้า 75
๓. การสรา้ งภมู ิคุม้ ทางสงั คม
จุดเปลย่ี นสังคมไทย
เมื่อย้อนไปมองในอดีตจะพบว่า สังคมดัง้ เดมิ เป็นสงั คมชนบทที่มีวิถชี วี ิตแบบเรียบง่าย
มีระบบเศรษฐกิจแบบพ้ืนฐาน เป็นการผลิตเพ่ือยังชีพส�ำหรับบริโภคใช้สอยในครัวเรือน
และในชมุ ชน โดยไดม้ าจากสภาพธรรมชาตทิ อี่ ยรู่ อบตวั ทำ� ใหช้ าวชนบทมคี วามใกลช้ ดิ ผกู พนั
และตระหนักในสิ่งแวดล้อมซ่ึงแสดงออกในรูปความเชื่อและพิธีกรรมท่ียกย่องต่อการรักษา
สมดุลของธรรมชาติ ประกอบกับความสัมพันธ์ของคนชนบทที่เป็นแบบระบบเครือญาติ
และความสมั พนั ธท์ างสายเลอื ด จงึ สอดคลอ้ งตอ่ การใชท้ รพั ยากรรว่ มกนั ทงั้ การแบง่ ปนั ผลผลติ
การพ่ึงพาอาศัยในด้านต่าง ๆ ลักษณะทั้งหมดน้ีจึงท�ำให้สังคมไทยในอดีตด�ำรงอยู่อย่างสงบ
พึ่งพาตนเองได้ และมีความพอเพียงต่ออัตภาพ โดยสามารถสืบทอดเอกลักษณ์ดังกล่าว
ตอ่ เนอ่ื งมาเป็นเวลาหลายรอ้ ยปี
การเปล่ียนแปลงครั้งใหญ่ของสังคมท่ีเกิดขึ้น เมื่อสังคมไทยเข้าสู่กระบวนการพัฒนา
ไปสู่ความทันสมัยภายหลังสงครามโลก คร้ังท่ี 2 สิ้นสุดลง ปรากฏการณ์ดังกล่าวเร่ิมต้น
เมื่อประเทศมหาอ�ำนาจใช้อ�ำนาจทั้งในรูปแบบความรู้ทางวิชาการ หรือโครงการความ
ช่วยเหลือต่าง ๆ เข้ามาครอบง�ำ ก�ำหนดวาทกรรมเพื่อสร้างความหมายใหม่ของสิ่งที่เป็น
คู่ตรงข้ามกับค�ำว่า เศรษฐกิจพอเพียง คือค�ำว่า พัฒนา (Development) และด้อยพัฒนา
(Underdevelopment) ออกเปน็ ประเทศทพ่ี ฒั นาแล้วและประเทศท่ียงั ดอ้ ยพฒั นา
ผลของการพฒั นาในดา้ นบวก ไดแ้ ก่ การเพม่ิ ขน้ึ ของอตั ราการเจรญิ เตบิ โตทางเศรษฐกจิ
ความเจรญิ ทางวัตถแุ ละสาธารณูปโภคต่าง ๆ ระบบสอื่ สารท่ีทนั สมยั หรือการขยายปริมาณ
และการกระจายการศึกษาอย่างท่ัวถึง แต่ผลบวกเหล่านั้น ก็ยังคงกระจายไปสู่คนในสังคม
ชนบทหรือด้อยโอกาสได้น้อย ซึ่งส่วนมากจะเป็นการกระจุกอยู่ในเมืองหลวงหรือตัวจังหวัด
ท่ีส�ำคัญ ในขณะท่ีผลลงก็คือ เกิดการขยายตัวของอุตสาหกรรม การส่งเสริมการเกษตร
แผนใหมเ่ พื่อการคา้ และการส่งออก และจากการขยายตัวของภาครัฐไปสู่ชนบท ได้ส่งผลให้
ชนบทเกดิ การออ่ นแอในหลายดา้ น ทงั้ การตอ้ งพง่ึ พงิ ของตลาดและพอ่ คา้ คนกลาง โดยเฉพาะ
ความเสื่อมโทรมของทรัพยากรธรรมชาติ และระบบนิเวศวิทยา ระบบความสัมพันธ์
แบบเครอื ญาตแิ ละการรวมกลมุ่ กนั ตามประเพณี เพอ่ื การจดั การทรพั ยากรทมี่ อี ยแู่ ตกสลายลง
รวมทั้งภูมิปญั ญาท่เี คยสงั่ สมกนั มาเร่มิ ถกู ลืมเลอื นสญู หายไป
หนา้ 76 ๓ สร้าง ทางรอดสังคมไทย
เศรษฐกิจพอเพียง หมายถึง พอเพียงในอย่างน้อย ๗ ประการดว้ ยกัน ได้แก่
๑. พอเพยี งสำ� หรบั ทุกคน ทกุ ครอบครวั ไม่ใชเ่ ศรษฐกิจแบบทอดทิง้ กนั
๒. จติ ใจพอเพียง ทำ� ใหร้ กั กนั และเอ้อื อาทรคนอ่ืนได้
๓. ส่งิ แวดล้อมพอเพียง การอนุรกั ษ์และเพ่ิมพนู ส่ิงแวดล้อมทำ� ให้ยังชพี และท�ำ
มาหากนิ ได้ เช่น การท�ำเกษตรผสมผสาน ซงึ่ ได้ทง้ั อาหารไดท้ ้ังสิ่งแวดลอ้ ม และไดท้ ง้ั เงนิ
๔. ชมุ ชนเขม้ แขง็ พอพยี ง การรวมตวั กนั เปน็ ชมุ ชนทเี่ ขม้ แขง็ จะทำ� ใหส้ ามารถแกป้ ญั หา
ตา่ ง ๆ ได้ เช่น ปัญหาสงั คม ปญั หาความยากจน หรือปัญหาส่ิงแวดลอ้ ม
๕. ปัญหาพอเพียง มกี ารเรยี นรรู้ ว่ มกนั ในการปฏิบตั ิ และปรบั ตวั ได้อย่างตอ่ เนื่อง
๖. อย่บู นพน้ื ฐานวฒั นธรรมเพยี งพอ วฒั นธรรม หมายถงึ วิถีชีวิตของกลุ่มชนท ่ี
สัมพันธ์อยู่กับสิง่ แวดลอ้ มทห่ี ลากหลาย ดงั นั้น เศรษฐกิจจึงควรสัมพนั ธอ์ ย่แู ละเติบโตขนึ้ จาก
ฐานทางวัฒนธรรม จงึ จะมั่งคง เชน่ เศรษฐกจิ ของจังหวัด ตราด ขณะน้ี ไมก่ ระทบกระเทอื น
จากฟองสบแู่ ตก ไมม่ คี นตกงาน เพราะอยู่บนพื้นฐานของสิง่ แวดลอ้ มและวัฒนธรรมทอ้ งถิ่น
ทเ่ี อื้อต่ออาชพี การทำ� สวนผลไม้ท�ำการประมงและการท่องเทยี่ ว
๗. มีความมัน่ คงเพยี งพอ ไม่ใช่วบู วาบ เดยี๋ วจนเดยี๋ วรวยแบบกระทนั หนั เดย๋ี วตกงาน
ไม่มีกินไม่มีใช้ ถ้าเป็นแบบนั้นประสาทมนุษย์คงทนไม่ไหวต่อความผันผวนท่ีเร็วเกินไป
จงึ สุขภาพจติ เสีย เครยี ด เพยี้ น รุนแรง ฆา่ ตัวตาย ติดยา เศรษฐกิจพอเพยี งท่มี ่ันคงจึงทำ� ให้
สุขภาพจติ ดี เมื่อทุกอย่างพอเพียงก็เกดิ ความสมดลุ ความสมดุล คอื ความปกติ และยัง่ ยืน
แนวทางการสร้างภูมิคุ้มกันทางสังคม ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ระดับ
ครัวเรือนและชมุ ชน ทำ� ได้โดยการ
๑. ปฏบิ ตั ศิ าสนกจิ พธิ แี ละความเชอ่ื เปน็ ประจำ� มกี ารแบง่ ปนั เออ้ื เฟอ้ื เจอื จานระหวา่ งกนั
๒. ร่วมกิจกรรมบ�ำเพ็ญประโยชน์สาธารณะด้วยจิตอาสา อาสาสมัครเข้าร่วมกิจกรรม
เพอ่ื สาธารณะของหมบู่ า้ น การปรบั ปรงุ ถนน คู คลอง หรอื การรว่ มกจิ กรรมการพฒั นาหมบู่ า้ น
อน่ื ๆ
๓. ออกก�ำลังกายเสริมสุขภาพ เพื่อสุขภาพร่างกายที่แข็งแรง ครัวเรือน ต้องมีการ
ออกก�ำลังกายในรปู แบบตา่ ง ๆ เป็นประจำ�
๓ สรา้ ง ทางรอดสังคมไทย หน้า 77
ตัวอย่างกจิ กรรม สรา้ งภูมิค้มุ กนั ทางสังคม
การส่งเสริมสบื สานวฒั นธรรม ประเพณี : การท�ำบุญในวันสำ� คัญทางศาสนา สืบสาน
วฒั นธรรมวันสงกรานต์ งานบุญประเพณที ้องถิน่
การมสี ่วนร่วมของคนในชมุ ชน : การลงแขก เอามือ้ สามคั คี
การชว่ ยเหลอื เก้อื กูล : การสงเคราะห์
หน้า 78 ๓ สร้าง ทางรอดสังคมไทย
การพัฒนาชมุ ชน : กิจกรรมจติ อาสา พัฒนาชมุ ชน
การสง่ เสรมิ สขุ ภาพ : กจิ กรรมออกก�ำลังกาย
๓ สรา้ ง ทางรอดสงั คมไทย หนา้ 79
ตวั อย่าง...
...จากพืน้ ท่ี
ครวั เรอื นสมั มาชีพชุมชน
นางปวณี า ลำ� ดับพนั ธุ์
ที่อยู่ เลขท่ี ๑๖๐ หมูท่ ี่ ๗ ต�ำบลคูย้ ายหมี อ�ำเภอสนามชัยเขต จังหวัดฉะเชิงเทรา
เบอรโ์ ทรศัพท์ ๐๘๙-๘๘๑-๕๒๖๖
๑. ดา้ นสรา้ งความม่นั คงดา้ นอาหาร ๒. ดา้ นสรา้ งสิ่งแวดลอ้ มให้ยัง่ ยืน
๑.๑ ครวั เรอื นปลกู ผกั สวนครวั ผลไม้ สมนุ ไพร ในพนื้ ที่ ๒.๑ ครวั เรอื นมกี ารปลกู ตน้ ไม้ ไมเ้ ลก็ ไมใ้ หญ่ ในพนื้ ที่
เชน่ ประดู่ สะเดา ปาลม์ เพอื่ สร้างพนื้ ทีส่ ีเขยี ว สรา้ ง
เพื่อเป็นอาหาร ลดรายจ่าย พอมีเพียงพอ ก็แบ่งปัน ออกซิเจน สรา้ งอากาศที่บริสทุ ธิ์ สมาชกิ ในครัวเรือน
ครัวเรือนข้างเคียง และบางส่วนก็จ�ำหน่าย เพื่อสร้าง สุขภาพแขง็ แรง รบั ผดิ ชอบต่อสงั คมต่อไป
รายได้ทงั้ พรกิ มะเขอื เปราะถว่ั ฝกั ยาวตะไคร้ตะไครห้ อม ๒.๒ ครวั เรอื นทำ� ปยุ๋ หมกั ไวใ้ ชเ้ อง นอกจากเปน็ การลด
มะนาม มะกรูด ข่า บวบหอม ผักไชยา ใบชะพลู ต้นทุนแล้ว ยังลดการใช้สารเคมี ดีต่อสุขภาพตนเอง
พลูกนิ หมาก เตยหอม สะเดา ชะอม ใบยอ มะตูมแขก
และดีตอ่ สง่ิ แวดลอ้ มอีกด้วย
มะขามยักษ์ มะขามป้อม ใบยอดหมุย กล้วยหักมุก ๒.๓ ครวั เรอื นมกี ารบรหิ ารจดั การนำ้� ทด่ี ีมนี ำ้� ใชใ้ นไรส่ วน
เกาลัด เสาวรส ส้มโอ มะพร้าว เลมอน มะม่วง ตลอดทง้ั ปี โดยมกี ารทำ� รอ่ งนำ้� รอบสวน มกี ารขดุ สระ
สม้ เขยี วหวาน แกว้ มงั กร ละมดุ ฝรง่ั หมากเมา่ ยกั ษ์ ออ้ ย ทำ� คลองไสไ้ ก่ ทำ� คนั นาทองคำ� มรี ากตน้ ไมไ้ วช้ ว่ ยเกบ็
ทเุ รียนเทพ ลนิ้ จ่ี มะไฟ ลูกหมอ่ น เป็นตน้ ซ่ึงทุกอยา่ ง น้ำ� อกี ทั้ง ยงั สร้างรายไดบ้ นคันนานไดอ้ ีกดว้ ย
จะไม่ปลกู มากเต็มพื้นท่เี หมือนพืชเชงิ เดย่ี ว แต่จะปลกู ๓. สรา้ งภูมิคมุ้ กันทางสงั คม
สลับกนั ไป กระจายในพื้นที่
ครวั เรือนมกี ารแบง่ ปนั ทั้งพชื ผล และองค์ความรูใ้ น
๑.๒ ครัวเรือนมีการเล้ียงไก่ไข่ เล้ียงปลาดุก ปลานิล ดา้ นการทำ� เกษตรใหก้ บั เพอื่ นบา้ น หนว่ ยงานราชการ
ในสระร่องสวน เพอื่ เปน็ อาหาร ในครวั เรือน ท�ำให้เกดิ สังคมทเี่ อ้อื อารีต่อกนั สงั คม ชุมชน อบอุ่น
๑.๓ ครัวเรือนมีการแปรรูป หน่อไม้ดอง จากต้นไผ่ที่
ปลกู ในพืน้ ทตี่ นเอง เปน็ รายได้เสรมิ เวลา ราคาหน่อ
ไมส้ ดไม่ดี
หนา้ 82 ๓ สรา้ ง ทางรอดสังคมไทย
วิทยากรสมั มาชีพชมุ ชน
นายโมฮ�ำมดั รอสดี มะมิง
ที่อยู่ ๓๕/๒ หม่ทู ่ี ๕ ต�ำบลระแวง้ อำ� เภอยะรงั จังหวัดปัตตานี
เบอรโ์ ทรศัพท์ ๐๘๙-๘๗๖-๓๓๘๐
๑. ด้านสรา้ งความม่ันคงด้านอาหาร ๒. ด้านสรา้ งสิ่งแวดลอ้ มให้ย่ังยนื
๑.๑ การปลูกผักพืชผักสวนครัวบริเวณบ้าน แปลง ๒.๑ การบรหิ ารจดั การขยะแยกขยะขยะแหง้ ขยะเปยี ก
เกษตรและท�ำนา เพื่อใช้ในการบริโภค ใช้ในการ ๒.๒ การจดั สขุ ลกั ษณะในบา้ น ทำ� ความสะอาดบรเิ วณ
ประกอบอาหารในครัวเรือน ลดค่าใช้จ่ายในชีวิต บา้ น เพอ่ื ใหบ้ า้ นสะอาด เรยี บรอ้ ย สวยงามมไี มด้ อกไม้
ประจ�ำวัน และจ�ำหน่ายเพ่ือเพิ่มรายได้แก่ครัวเรือน ประดบั สะดวกปลอดภยั
รวมทัง้ แจกจ่ายให้แก่เพอ่ื นบา้ น ๒.๓ การใชท้ รพั ยากรในบา้ นอยา่ งคมุ้ คา่ มกี ารขดุ เจาะ
๑.๒ การเลยี้ งสตั ว์เพอื่ ใชบ้ รโิ ภคในครวั เรอื นและจำ� หนา่ ย บาดาล เพอ่ื ใช้ในการเพาะปลกู และปิดนำ�้ หลังใชง้ าน
เชน่ ไก่ แพะ ววั ปลาดุก ทั้งน้ีตามความเหมาะสมของ ๓. สรา้ งภูมคิ ้มุ กนั ทางสังคม
พื้นที่ ๓.๑ การปฏบิ ตั ศิ าสนกจิ ตามความเชอื่ เปน็ ประจำ� เชน่
๑.๓ การแปรรปู อาหาร เชน่ แปรรปู ลกู หยี นำ�้ ผง้ึ ชนั โรง การละหมาด ถือศลิ อด อา่ นอัลกรุอ่าน บรจิ าค
สบนู่ ำ�้ ผึง้ ชันโร เพอื่ จ�ำหนา่ ยสร้างรายได้ แก่ครัวเรือน ๓.๒ การเขา้ รว่ มกจิ กรรมบำ� เพญ็ ประโยชนส์ าธารณะ
และชุมชน ดว้ ยจติ อาสา เปน็ อาสาสมคั รของหมบู่ า้ น รว่ มกจิ กรรม
พฒั นาหมู่บ้าน และการบริจาคโลหิต
๓.๓ การออกกำ� ลงั กายเสรมิ สขุ ภาพรว่ มทำ� รว่ มกจิ กรรม
การวงิ่ ตา่ ง ๆ เพื่อให้ร่างกายแขง็ แรง
๓ สร้าง ทางรอดสังคมไทย หน้า 83
ครวั เรอื นสมั มาชพี ชมุ ชน
นางสาวอนนั ต์ เกสรโต
ทีอ่ ยู่ ๓๕/๒ หมู่ ๑๑ ตำ� บลโพธ์เิ ก้าตน้ อ�ำเภอเมือง จงั หวัดลพบุรี
เบอรโ์ ทรศัพท์ ๐๘๕-๓๖๔-๗๑๕๓
๑. ดา้ นสร้างความมน่ั คงด้านอาหาร ๒. ด้านสรา้ งส่งิ แวดล้อมให้ย่งั ยนื
๑.๑ มีการปลูกผัก พืชสวนครัว ผลไม้ เพื่อใช้ ๒.๑ มกี ารบรหิ ารจดั การขยะลดการใชผ้ ลติ ภณั ฑท์ ส่ี รา้ ง
ประกอบอาหารในชีวิตประจ�ำวันเพื่อลดค่าใช้จ่าย ขยะ คดั แยกขยะ นำ� กลบั มาใชใ้ หม่ มกี ารหมกั ขยะเปยี ก
ประจ�ำวัน ตามสภาพพื้นที่ของครัวเรือน ส่วนท่ีเหลือ เพื่อน�ำมาใช้เป็นปุ๋ย มีการท�ำปุ๋ยขี้วัวไว้ใช้ในพืชผักที่
นำ� ไปจ�ำหน่ายทต่ี ลาดในหมบู่ า้ น ปลกู ทำ� ให้ผลผลิตออกมาปลอดสารพิษ
๑.๒ มีการเลี้ยงสัตว์ท่ีเป็นอาหารของครัวเรือน เช่น ๑.๒ มกี ารจดั สขุ ลกั ษณะภายในบา้ นโดยการจดั บรเิ วณ
ปลา บ้านอย่างเปน็ ระเบียบ สะอาดเป็น
๑.๓ มกี ารแปรรปู ผลติ ผลในบา้ นเพอ่ื เปน็ การสรา้ งรายได้ ๑.๓ ระเบยี บไมเ่ ปน็ แหลง่ เพาะเชอ้ื โรคและพาหะนำ� โรค
ลดรายจา่ ยในรปู แปบของอาหาร เช่น การทำ� สลัดโรล จดั สวนภายในบา้ นสวยงาม
๒.๔ มกี ารใชท้ รพั ยากรในบา้ นอยา่ งคมุ้ คา่ ประหยดั และ
เกอ้ื กูลกัน บนพน้ื ทีบ่ ้านจ�ำนวน 2 ไร่ บริหารจัดการ
โดยการทำ� สวน ปลกู ผกั สวนครัว ปลูกผลไม้ ขดุ สระ
เล้ียงปลา
๓. สรา้ งภมู ิคมุ้ กันทางสังคม
๓.๑ มีการปฏิบัติศาสนกิจตามความเช่ือทางพุทธ
ศาสนาเป็นประจ�ำ
๓.๒ มกี ารเขา้ รว่ มกจิ กรรมจติ อาสาบำ� เพญ็ ประโยชน์
สาธารณะ เพอื่ สาธารณะของหมูบ่ า้ น บรเิ วณวดั หรอื
การรว่ มกจิ กรรมการพัฒนาหมบู่ ้านอน่ื ๆ
หน้า 84 ๓ สรา้ ง ทางรอดสงั คมไทย
วิทยากรสมั มาชีพชุมชน
นางอรุณ นุกลู กิจ
ท่อี ยู่ บ้านเลขท่ี ๑๔๙ หมทู่ ี่ ๖ ต�ำบลหนองยาว อ�ำเภอพนมสารคาม
จงั หวดั ฉะเชิงเทรา
เบอรโ์ ทรศพั ท์ ๐๘๓-๐๒๔-๓๕๘๐
๑. ดา้ นสร้างความมน่ั คงทางอาหาร ๒. ด้านสรา้ งสิง่ แวดล้อมใหย้ ัง่ ยืน
๑.๑ มีการปลูกพืชผักสวนครัวปลอดสารเคมี ปลูก ๒.๑ มีการบริหารจัดการขยะ ลดการใช้ผลิตภัณฑ์
ไม้ผล พชื ไร่ ไวเ้ พ่ือบริโภคในครัวเรือนเพือ่ ลดรายจ่าย สร้างขยะ คักแยกขยะน�ำกลับมาใช้ หมักขยะเปียก
และสขุ ภาพทด่ี ขี องผปู้ ลกู และผบู้ รโิ ภค นอกจากนน้ั ยงั ใช้ถังขยะลดโลกร้อน ผลิตน้�ำหมักจากเศษอาหาร
นำ� ผลผลติ ทมี่ ใี นครวั เรอื นนำ� มาแปรรปู หากมปี รมิ าณ ในครวั เรอื น และมลู สตั ว์
มากจะแบ่งปันให้เพื่อนบ้าน และจ�ำหน่ายเพ่ิมรายได้ ๒.๒ มกี ารจดั สขุ ลกั ษณะในบา้ น โยการจดั บรเิ วณบา้ น
ให้ครอบครวั สะอาดเปน็ ระเบยี บ ไมเ่ ปน็ แหลง่ เพาะเชอื้ โรค สวยงาม
๑.๒ มีการแปรรูปผลผลิต ในครัวเรือน เพื่อเป็นการ เช่น ท�ำที่เก็บของให้เรียบร้อยเป็นระเบียบ สวยงาม
ถนอมอาหาร และใช้ประโยชน์ในครัวเรอื นในรปู แบบ ปลกู ไมด้ อก ทเี่ ก็บเครอ่ื งมอื การเกษตร
ตา่ งๆ เชน่ ในรปู นำ�้ ปน่ั นำ�้ หมอ่ น, นำ�้ มะมว่ งกะลอ่ นทอง, ๒.๓ มีการใช้ทรัพยากรอย่างคุ้มค่า ประหยัดและ
น�้ำเสาวรส, น้ำ� มะเขอื เทศ, น้�ำสม้ จืด, น้ำ� ผกั (คืน่ ฉา่ ย เกื้อกูลกัน น�ำล้อรถและขวดน้�ำมาปลูกไม้ประดับ
โหระภา) ท�ำน้�ำหม่อนและแยม ท�ำน�้ำส้มจืด และผกั
ท�ำน�้ำมะม่วง กระล่อนทอง ท�ำน้�ำเสาวรสท�ำน�้ำ 3. สร้างภูมคิ มุ้ กันทางสงั คม
มะเขอื เทศ นำ�้ ผักเพอ่ื สุขภาพ ๓.๑ มีการปฎิบัติศาสนกิจเป็นประจ�ำ มีการแบ่งปัน
๑.๓ ปลกู ปา่ ๓ อย่าง ประโยชน์ ๔ อย่าง ไม้ปา่ ทีป่ ลูก เอ้ือเฟือ้ เผ่ือแผ่ระหวา่ งคนในชมุ ชน
ได้แก่ มะฮอกกะน,ี พยูง ตะเคยี น, ใตต้ ้นใหญจ่ ะปลูก ๓.๒ ช่วยเหลืองานในชุมชน วดั และโรงเรยี น ดว้ ยใจ
ผักชนิดต่างๆ ได้แก่ โหระภา ฟักทอง แตงโม และ จติ อาสา
มนั ส�ำปะหลงั
๓ สร้าง ทางรอดสงั คมไทย หน้า 85
ครวั เรือนสัมมาชพี ชุมชน
นางวงเดอื น โนนโสภาพ
ทีอ่ ยู่ บา้ นเลขที่ ๓๔ หมูท่ ่ี ๔ ต�ำบลเสอื โกก้ อำ� เภอวาปปี ทมุ จงั หวัดมหาสารคาม
เบอร์โทรศพั ท์ ๐๘๒-๓๐๘-๙๓๕๙
๑. ดา้ นสร้างความมั่นด้านอาหาร ๒. ด้านสรา้ งส่ิงแวดล้อมใหย้ ่งั ยืน
๑.๑ มีการปลูกผักสวนครัว เพื่อใช้ประกอบอาหาร ๒.๑ มีการบริหารจัดการขยะ ลดการใช้ผลิตภัณฑ์
ในชีวิตประจ�ำวัน เพื่อลดค่าใช้จ่ายประจ�ำวันตาม สรา้ งขยะ คดั แยกขยะ นำ� กลบั มาใชซ้ ำ้� หมกั ขยะเปยี ก
สภาพพนื้ ทีข่ องครวั เรือน วนั ละ ๒๐๐ บาท เพอื่ ทำ� ปยุ๋ ใชถ้ งั ขยะเปยี กเพอื่ ลดโลกรอ้ น นำ� กง่ิ ไมม้ า
๑.๒ มีการเล้ียงสัตว์เป็นอาหาร เช่น เป็ด ไก่ ปลา ท�ำฟืนแทนการใช้แกส๊ และมีการปลูกต้นไมเ้ พอ่ื สรา้ ง
หรอื อน่ื ๆ ตามสภาพพนื้ ทข่ี องครวั เรอื นเพอื่ เปน็ การลด ความร่มร่ืนในบรเิ วณบ้าน
รายจา่ ยเพมิ่ รายได้ จำ� หนา่ ยเกอื บทกุ วนั รายไดว้ นั ละ ๒.๒ มีการจัดสุขลักษณะในบ้าน โดยการจัดบริเวณ
๒๐๐ - ๔๐๐ บาท บ้านให้สะอาดเป็นระบบ ไม่มีแหลง่ เพาะเช้อื โรคและ
๑.๓ มีการแปรรปู ผลติ ผลในบ้านเพือ่ เป็นการถนอม พาหะน�ำโรค ปลูกไม้ประดับเพ่ือความสวยงามและ
อาหาร และใช้ประโยชน์ของครัวเรือนรูปแบบต่างๆ เพมิ่ รายได้
สำ� หรบั บรโิ ภคยามขาดแคลนและแบง่ ปนั คนในชมุ ชน ๒.๓ มีการใช้ทรัพยากรในบ้านอย่างคุ้มค่า ประหยัด
สร้างความสามัคคแี ละความรกั ในชุมชน และเกอ้ื กลู กนั มกี ารนำ� ใบไมท้ หี่ ลน่ ในบรเิ วณรอบบา้ น
มาทำ� นำ�้ หมกั สมนุ ไพรรสจดื เพอ่ื บำ� รงุ ดนิ ลดการใชป้ ยุ๋
เคมสี ามารถรดรายจา่ ยไดป้ ลี ะ ๓,๐๐๐ – ๕,๐๐๐ บาท
ตอ่ ปี
3. สรา้ งภูมคิ ้มุ กนั ทางสังคม
๓.๑ มีการปฏิบัติศาสนกิจตามความเชื่อเป็นประจ�ำ
มกี ารแบ่งปันเอ้อื เฟ้อื เผอ่ื แผ่ซ่งึ กันและกันในชมุ ชน
๓.๒ มกี ารเขา้ รว่ มกจิ กรรมบำ� เพญ็ ประโยชนส์ าธารณะ
ด้วยจิตอาสา อาสาสมัครเข้าร่วมกิจกรรมเพื่อ
สาธารณะของหมบู่ า้ น เชน่ การปรบั ปรงุ ถนน คู คลอง
หรือการร่วมกิจกรรมการพัฒนาหมู่บ้าน ท�ำความ
สะอาดและจดั ระเบียบตลาดประชารัฐทุกสปั ดาห์
๓.๓ มีกิจกรรมการออกก�ำลังกายเสริมสุขภาพ
เพอ่ื สขุ ภาพรา่ งกายทแี่ ขง็ แรง และมกี ารออกกำ� ลงั กาย
ในรูปแบบตา่ งๆ การว่ิง การป่ันจักรยาน เต้นแอโรบิค
เปน็ ประจำ� ทุกวนั
หนา้ 86 ๓ สรา้ ง ทางรอดสงั คมไทย
วทิ ยากรสมั มาชีพชมุ ชน
นางปราณี วงษาปัดนา
ที่อยู่ บา้ นเลขท่ี ๒ หมูท่ ี่ ๔ ต�ำบลเสอื โก้ก อ�ำเภอวาปีปทมุ จังหวดั มหาสารคาม
เบอรโ์ ทรศพั ท์ ๐๘๔-๖๘๓-๘๕๖๒
๑. ด้านความม่นั คงดา้ นอาหาร ๒. ดา้ นสร้างส่ิงแวดลอ้ มใหย้ ง่ั ยืน
๑.๑ มีการปลกู ผัก พืชสวนครวั เล้ยี งไกไ่ ข่ และผลไม้ ๒.๑ มกี ารบรหิ ารจดั การขยะ ลดการใชผ้ ลติ ภณั ฑส์ รา้ ง
เพอื่ ประกอบอาหารในชวี ติ ประจำ� วนั เพอ่ื ลดรายจา่ ย ขยะ คัดแยกขยะ นำ� กลับมาใชซ้ ้�ำ หมักขยะเปียกเพื่อ
ไดว้ นั ละ ๑๐๐ บาท ท�ำป๋ยุ ใช้ถังขยะเปียกเพ่อื ลดโลกร้อน
๑.๒ มกี ารเลยี้ งสัตวเ์ ปน็ อาหาร เช่น เป็ด ไก่ ๒.๒ มีการจัดสุขลักษณะในบ้าน โดยการจัดบริเวณ
๑.๓ มีการแปรรูป ผลิตผลในบ้านเพื่อเป็นการถนอม บา้ นให้สะอาดเป็นระบบ ไมม่ ีแหล่งเพาะเชื้อโรคและ
อาหาร และจ�ำหน่ายเพ่ือเป็นการเพ่ิมรายได้ใน พาหะนำ� โรค
ครวั เรอื น จำ� หนา่ ยทตี่ ลาดประชารฐั มรี ายไดส้ ปั ดาหล์ ะ ๒.๓ มีการใช้ทรัพยากรในบ้านอย่างคุ้มค่า ประหยัด
๑๕๐ บาท และแบง่ ปันเพ่ือนบ้าน และเก้ือกูลกนั วสั ดุรีไซเคิลมาใช้ใหม่ เชน่ น�ำตะแกรง
พดั ลมมาทำ� เปน็ ท่เี กบ็ พรกิ แห้ง และตากอาหารมกี าร
ท�ำวัสดุจากไม้ไผ่เป็นเครื่องใช้ในการประกอบอาชีพ
เชน่ ดา้ มเสยี ม จอบ และคราด
๓. สร้างภูมิคุม้ กนั ทางสังคม
๓.๑ มีการปฏบิ ัตศิ าสนกิจตามความเช่อื เปน็ ประจ�ำ มีการแบง่ ปนั เออ้ื เฟอ้ื เผ่อื แผ่
ซ่ึงกนั และกันในชมุ ชน รกั ษาศีล สวดมนต์นั่งสมาธิ และไปวดั ทุกวัน
๓.๒ มีการเข้าร่วมกิจกรรมบ�ำเพ็ญประโยชน์สาธารณะด้วยจิตอาสา อาสาสมัคร
เขา้ ร่วมกิจกรรมเพ่อื สาธารณะ ของหมู่บา้ น ต�ำบล อ�ำเภอ เช่น การปรับปรงุ ถนน
คู คลอง หรือการร่วมกิจกรรมการพัฒนาหมู่บ้านและกิจกรรมอื่นๆ ตามความ
เหมาะสม เป็นประจำ� ทกุ เดอื น
๓.๓ มีกิจกรรมการออกก�ำลังกายเสริมสุขภาพ เพ่ือสุขภาพร่างกายที่แข็งแรง
และมีการออกก�ำลงั กายในรูปแบบตา่ งๆ มีการเต้นแอโรบคิ ทุกสัปดาห์
๓ สรา้ ง ทางรอดสงั คมไทย หนา้ 87
ครัวเรอื นสัมมาชพี ชมุ ชน
นางราตรี นามเสนา
ท่ีอยู่ บ้านเลขที่ ๑๓๓ หมู่ที่ ๑๓ ตำ� บลหนองกระเจา อำ� เภอชุมแสง
จังหวดั นครสวรรค์
เบอร์โทรศพั ท์ ๐๘๖-๒๐๕-๘๘๘๑
๑. การสร้างความมน่ั คงทางด้านอาหาร ๒. การสรา้ งส่ิงแวดล้อมให้ยง่ั ยนื
๑.๑ มีการปลกู ผกั พืชสวนครัว เพือ่ ใชป้ ระกอบอาหาร ๒.๑ มกี ารบรหิ ารจดั การขยะ ลดการใชผ้ ลติ ภณั ฑส์ รา้ ง
ในชวี ติ ประจาวนั เพอ่ื ลดคา่ ใชจ้ า่ ยประจำ� วนั ตามสภาพ ขยะ คัดแยกขยะน�ำกลับมาใช้ซ�้ำ หมักขยะเปียกเพ่ือ
พ้ืนท่ีของครัวเรอื น ปลกู ผกั สวนครวั เปน็ ปยุ๋
๑.๒ มกี ารเลย้ี งสตั วท์ เี่ ปน็ อาหารของครวั เรอื น เลยี้ งปลา ๒.๒ มกี ารจดั สขุ ลกั ษณะในบา้ น โดยการจดั บรเิ วณบา้ น
เลย้ี งไก่ สะอาด เปน็ ระเบยี บ สวยงาม ไมเ่ ปน็ แหลง่ เพาะเชอ้ื โรค
๑.๓ มีการแปรรูปผลิตผลในบ้าน เพื่อเป็นการถนอม และพาหะนำ� โรค
อาหาร และใชป้ ระโยชนข์ องใชใ้ นครวั เรอื นรปู แบบตา่ งๆ ๒.๓ มกี ารใชท้ รพั ยากรในบา้ นอยา่ งคมุ้ คา่ ประหยดั และ
ทำ� ไข่เคม็ ไวบ้ รโิ ภคในครัวเรอื น เกอ้ื กลู กนั นำ้� จากการซกั ผา้ นำ� ไปรดตน้ ไมแ้ ละผกั สวนครวั
๓. การสรา้ งภูมคิ ุ้มกนั ทางสังคม
๓.๑ มกี ารปฏบิ ตั ศิ าสนกจิ ตามพธิ คี วามเชอ่ื เปน็ ประจำ�
มกี ารแบง่ ปนั เออื้ เฟอ้ื เจอื จานระหวา่ งกนั ทำ� บญุ ทกุ วนั
พระ และวันส�ำคัญทางศาสนาเป็นประจำ� ร่วมบริจาค
ชว่ ยเหลือผอู้ ื่นเป็นประจำ�
๓.๒ มกี ารเขา้ รว่ มกจิ กรรมบำ� เพญ็ ประโยชนส์ าธารณะ
ดว้ ยจติ อาสา สมคั รเขา้ รว่ มกจิ กรรมเพอ่ื สาธารณะของ
หมู่บ้าน สมัครเป็นจิตอาสา และเข้าร่วมกิจกรรม
บำ� เพญ็ สาธารณะประโยชน์เป็นประจำ�
๓.๓ มีการออกก�ำลังกายเสริมสุขภาพ เพื่อสุขภาพ
ร่างกายที่แข็งแรง ออกก�ำลังกายเป็นประจ�ำ เช่น
ปน่ั จกั รยาน กระโดดเชอื ก
หนา้ 88 ๓ สรา้ ง ทางรอดสงั คมไทย
วิทยากรสัมมาชพี ชมุ ชน
นางอ�ำพนั กสิวัฒน์
ทอ่ี ยู่ : บ้านเลขที่ ๕๐ หม่ทู ี่ ๘ ต�ำบลนำ้� เลา อ�ำเภอรอ้ งกวาง จังหวดั แพร่
เบอร์โทรศัพท์ ๐๘๕-๗๐๕๘-๙๕๙
๑. ดา้ นสรา้ งความมั่นคงดา้ นอาหาร ๒. ด้านสร้างสิ่งแวดล้อมใหย้ ั่งยนื
๑.๑ มกี ารปลกู พชื ผกั สวนครวั เพอื่ ใชป้ ระกอบอาหาร ๒.๑ มีการบริหารจัดการขยะ โดยการคัดแยกขยะ
ในชีวิตประจ�ำวัน เพ่ือลดค่าใช้จ่ายประจ�ำวัน โดยใช้ มกี ารใช้ถงุ ผา้ ลดโลกร้อน มกี ารท�ำเสวยี น
บรเิ วณพนื้ ทวี่ ่างในบ้านใหเ้ กิดประโยชน์ ๒.๒ มกี ารจดั สขุ ลกั ษณะในบา้ น โดยการจดั บา้ นเรอื น
๑.๒ มกี ารเลยี้ งสตั วเ์ ปน็ อาหารของครวั เรอื น และเลย้ี ง ในสะอาด เปน็ ระเบยี บ ไมเ่ ปน็ แหลง่ เพาะเชอื้ โรค และ
เพื่อจ�ำหน่าย ได้แก่ ไกไ่ ข่ ปลานิล พาหะน�ำโรค จัดบรเิ วณบ้านให้สวยงาม
๑.๓ มีการแปรรูป ผลิตผลในบ้านเพ่ือเป็นการถนอม ๒.๓ มีการใช้ทรัพยากรในบ้านอย่างคุ้มค่าประหยัด
อาหาร ไข่เค็มใบเตย และเกอ้ื กูลกนั ใชน้ ้�ำ ไฟ อยา่ งประหยัด
๓. สรา้ งภมู คิ มุ้ กันทางสังคม
๓.๑ มกี ารปฏบิ ตั ศิ าสนกจิ โดยทำ� บญุ เขา้ วดั ฟงั เทศน์
ฟงั ธรรม ตามวนั สำ� คญั ตา่ ง ๆ และปฏบิ ตั ติ ามพธิ กี รรม
ประเพณี ความเช่อื ของชุมชน มีการแบง่ ปันเออ้ื เฟือ้
เผอ่ื แผร่ ะหวา่ งคนในชุมชน
๓.๒ มกี ารเขา้ รว่ มกจิ กรรมบำ� เพญ็ ประโยชนส์ าธารณะ
ดว้ ยจติ อาสา รว่ มกิจกรรมพัฒนาหม่บู ้าน
๓.๓ มีการออกก�ำลังกายเสริมสุขภาพ เพ่ือสุขภาพ
ร่างกายที่แขง็ แรง
๓ สร้าง ทางรอดสังคมไทย หน้า 89
ครวั เรอื นสัมมาชีพชมุ ชน
นางลมยั ปักกิจ
ทีอ่ ยู่ ๑๗๗/๒ หมู่ ๑๖ บ้านหางน้ำ� ตำ� บลเขากะลา อำ� เภอพยุหะครี ี
จงั หวัดนครสวรรค์
เบอร์โทรศัพท์ ๐๘๔ ๘๑๖ ๓๖๒๔
๑. ดา้ นการสร้างความมน่ั คงดา้ นอาหาร ๒. ดา้ นสรา้ งส่งิ แวดลอ้ มใหย้ ัง่ ยนื
๑.๑ มกี ารปลกู ผกั สวนครวั (ไมน่ อ้ ยกวา่ 5 ชนดิ ) เพอื่ ใช้ ๒.๑ มีการบริหารจัดการขยะมูลฝอย ด้วยการย่อย
ประกอบอาหารในครัวเรือน ลดรายจ่าย และแบ่งปัน สลายดว้ ยน้ำ� หมกั ชีวภาพ และทำ� เป็นปยุ๋ ชีวภิ าพใช้ใน
เพ่ือนบ้าน ได้แก่ ต้นแค ตะไคร้ กระเพราพริกข้ีหนู ครวั เรอื น
ตน้ มะนาว ตน้ หนอ่ ไม้ ๒.๒ มีการท�ำกิจกรรมความสะอาดบ้านเรือนให้เป็น
๑.๒ การเลี้ยงสัตว์ ได้มีการเล้ียงสัตว์เป็นอาหารใน ระเบยี บ ถูกสขุ ลกั ษณะ เปน็ ระเบียบ มคี วามปลอดภยั
ครวั เรอื น ไดแ้ ก่ การเลย้ี งไกบ่ า้ น ไกพ่ นื้ เมอื ง ไวข้ ายและ (หน้าบา้ นน่ามอง)
รบั ประทาน ๓. การสรา้ งภูมิคมุ้ กันทางสังคม
๑.๓ การแปรรูปอาหารเพ่ือเป็นการถนอมอาหารไว้ ๓.๑ มีการรวมกลุ่มอาชีพสตรีท�ำพริกแกงเพ่ือสร้าง
บรโิ ภคในครวั เรอื นและจำ� หนา่ ยสรา้ งรายไดใ้ นครอบครวั รายได้เสริมแกค่ รัวเรอื น
ได้แก่ ท�ำพริกแกงเผ็ด พริกแกงส้ม ท�ำหน่อไม้ดอง ๓.๒ มีการตรวจตราเฝ้าระวังปัญหายาเสพติดภายใน
ส้มแผ่น หมูบ่ า้ น การแพร่ระบาดของเชื้อโรค สมำ่� เสมอ
๓.๓ มกี ารเขา้ รว่ มกจิ กรรมจติ อาสา หรอื รว่ มทำ� กจิ กรรม
สาธารณของหมบู่ า้ น ได้แก่ การปรบั ภมู ทิ ัศน์ ทำ� ความ
สะอาดคู คลอง เปน็ ต้น
หนา้ 90 ๓ สร้าง ทางรอดสงั คมไทย
วทิ ยากรสมั มาชพี ชมุ ชน
นายอดศิ ักดิ์ สงวนสขุ
ท่อี ยู่ บ้านเลขท่ี ๑ หมู่ ๓ ตำ� บลล�ำพยนต์ อำ� เภอตากฟ้า จงั หวดั นครสวรรค์
เบอร์โทรศัพท์ ๐๖๗-๙๐๕-๗๑๐๙
๑. ด้านสรา้ งความมน่ั คงด้านอาหาร ๒. ดา้ นสงิ่ แวดล้อมให้ยงั่ ยืน
๑.๑ มกี ารปลกู ผกั พชื สวนครวั เพอื่ ใชป้ ระกอบอาหาร ๒.๑ มกี ารบรหิ ารจดั การขยะ ลดการใชผ้ ลติ ภณั ฑส์ รา้ ง
ในชีวิตประจ�ำวัน เพื่อลดคาใช่จ่ายประจ�ำวัน และ ขยะ หมกั ขยะเปน็ ปุ๋ย และไมม่ กี ารใชส้ ารเคมี
จ�ำหน่ายผักอินทรีย์เพ่ือส่งเสริมสุขภาพดีให้กับ ๒.๒ มีการจัดบริเวณบ้านให้สะอาด เป็นระเบียบ
ประชาชน สวยงาม มีการตกแต่งบ้านด้วยไม้ดอกไม้ประดับ
๑.๒ มกี ารเลย้ี งหา่ นไวเ้ พอ่ื นำ� ไขเ่ ปน็ อาหารของครวั เรอื น ปลกู ไมย้ นื ตน้ ใหค้ วามรม่ เยน็ และเปน็ ตน้ แบบของการ
๑.๓ มกี ารแปรรปู ผลผลติ เพอ่ื จำ� หนา่ ยเพม่ิ รายได้ และ ปลูกป่า ๓ อยา่ งประโยชน์ ๔ อยา่ ง
เปน็ อาหารของครวั เรอื น ๒.๓ มีการใช้ทรัพยากรในบ้านอย่างคุ้มค่า ประหยัด
เปน็ ต้นแบบของการบรหิ ารจดั การนำ�้ โดยท�ำธนาคาร
นำ�้ ใตด้ ิน
๓. สร้างภมู คิ ุ้มกันทางสงั คม
๓.๑ มีการปฏิบัติติศาสนกิจตามความเช่ือเป็นประจ�ำ
มีการแบ่งปันเอ้อื เฟือ้ เผอ่ื แผร่ ะหวา่ งกนั ในชมุ ชน
๓.๒ มีจิตอาสา เป็นท่ีศึกษาดูงานเรียนรู้ ถ่ายทอด
ประสบการณใ์ ห้กับประชาชนทั่วไป
๓.๓ มกี ารออกก�ำลังกายสม่�ำเสมอ
๓ สร้าง ทางรอดสังคมไทย หนา้ 91
เอกสารอา้ งอิง
นนทกานต์ จนั ทรอ์ อ่ น. (๒๕๔๗). บทความวชิ าการ “ความมนั่ คงทางอาหารของประเทศไทย”
(Thailand Food Security). จาก http://library.senate.go.th/document/Ext๗๐๙๑/
๗๐๙๑๗๗๗_๐๐๐๒.PDF สืบคน้ เมอื่ ๒ มิถนุ ายน ๒๕๖๓
รศ.(พิเศษ) ดร. พรชัย เจดามาน. (๒๕๖๐). เศรษฐกิจพอเพียงกับการพัฒนาท่ีย่ังยืน.
จาก http://personnel.obec.go.th/hris-th/ สบื ค้นเม่ือ ๓ มิถนุ ายน ๒๕๖๓
วิรลั พัชร ประเสรฐิ ศักดิ์. (ไมร่ ะบุป)ี . แนวคิดและค�ำนิยามของความม่ันคงทางอาหาร (Food
security: Concepts and definitions). จาก http://www.polsci.tu.ac.th/fileupload/
๓๖/๒๔.pdf สืบค้นเมื่อ ๒ มถิ นุ ายน ๒๕๖๓
ส�ำนักงานคณะกรรมการพิเศษเพ่ือประสานงานโครงการอันเนื่องมาจากพระราชด�ำริ
(สำ� นกั งาน กปร.). (๒๕๕๔). การประกวดผลงานตามปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง ครงั้ ที่ ๒.
กรุงเทพฯ
สำ� นกั พัฒนาพืน้ ทป่ี ฏริ ปู ท่ดี นิ ส�ำนักงานการปฏริ ูปที่ดนิ เพื่อเกษตรกรรม (ส.ป.ก.) (ไมร่ ะบุปี).
แนวทางการพึ่งพาตนเองในการจัดเก็บน�้ำระดับไร่นา ตามแนวทางศาสตร์พระราชา
ในเขตปฏิรูปทด่ี นิ . จาก https://drive.google.com/file/d/๑ngDw๑oNoh๙f-R๙HakX-
UhGANMdG๙ucX๘๐/view สบื คน้ เมือ่ ๓ มถิ ุนายน ๒๕๖๓
สำ� นกั เสรมิ สรา้ งความเขม้ แขง็ ชมุ ชน กรมการพฒั นาชมุ ชน. (๒๕๕๘). แนวทางการดำ� เนนิ งาน
พฒั นาหมบู่ า้ นเศรษฐกจิ พอเพียงต้นแบบ. กรงุ เทพฯ
หนา้ 92 ๓ สร้าง ทางรอดสงั คมไทย