แนวทางการพฒั นาหมูบ่ า้ น
ตามหลักปรัชญาของ
เศรษฐกจิ
พอเพียง
ส�ำนักเสรมิ สรา้ งความเข้มแข็งชุมชน
กรมการพฒั นาชุมชน
กลมุ่ งานส่งเสริมการบรหิ ารจัดการชุมชน
ค�ำน�ำ
กรมการพฒั นาชุมชน ไดน้ อ้ มนำ� หลกั ปรชั ญาของเศรษฐกจิ
พอเพียง ที่พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช
รัชกาลท่ี 9 พระราชทานไว้ในโอกาสต่างๆ มาเป็นหลัก
ในการพัฒนาหมู่บ้านและชุมชน ต้ังแต่ปี พ.ศ. 2549 เป็นต้นมา
ซึ่งสอดคล้องกับภารกิจหลักของกรมการพัฒนาชุมชน คือ การ
ส่งเสริมกระบวนการเรียนรู้และการมีส่วนร่วมของประชาชน
ผ่านกระบวนการพัฒนาผู้นำ� ชุมชนและส่งเสริมการบริหารจัดการ
โดยชมุ ชน
“แนวทางการด�ำเนินงานพัฒนาหมู่บ้านตามหลักปรัชญา
ของเศรษฐกิจพอเพียง” เล่มน้ีจัดท�ำข้ึนเพ่ือเผยแพร่หลักการ
สาระส�ำคัญของการด�ำเนินงานตามแนวคิดและการประยุกต์
ใช้หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ในการพัฒนาหมู่บ้าน
ที่กรมการพัฒนาชุมชน ได้ส่งเสริมสนับสนุนให้จังหวัด อ�ำเภอ
ด�ำเนินการเพื่อไปขับเคล่ือนการพัฒนาในพ้ืนที่เป้าหมาย
กรมการพัฒนาชุมชน หวังเป็นอย่างย่ิงว่า เอกสารฉบับน้ีจะเป็น
ประโยชน์ในการเรียนรู้ และน�ำไปปรับใช้ในการพัฒนาหมู่บ้าน
ให้เป็น “หมู่บ้านเศรษฐกิจพอเพียง” ที่มีเป้าหมายให้ประชาชน
ในหมู่บ้านมีวิถีชีวิตแบบพอเพียงและมีความสุข รวมท้ังสามารถ
เชอื่ มโยงสกู่ ารพฒั นาในมติ ติ า่ งๆ ตอบสนองตอ่ นโยบายของรฐั บาล
และการขบั เคลอื่ นการพัฒนาอยา่ งยั่งยนื
กรมการพัฒนาชมุ ชน
สิงหาคม 2560
01
สารบัญ 03
15
ส่วนท่ี 1 26
ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี งและหลักการทรงงาน 44
ส่วนท่ี 2 49
หมบู่ า้ นเศรษฐกจิ พอเพยี งต้นแบบ 61
ส่วนท่ี 3
กระบวนการพฒั นาหมู่บ้านเศรษฐกจิ พอเพยี งตน้ แบบ
สว่ นท่ี 4
เคร่อื งมือในการพัฒนาหมบู่ า้ นเศรษฐกจิ พอเพียง
ส่วนท่ี 5
กระบวนการขับเคลื่อนการน้อมน�ำหลักปรชั ญา
ของเศรษฐกิจพอเพยี งไปสูก่ ารปฏบิ ัตจิ นเป็นวถิ ีชีวิต
ภาคผนวก
02
ส่วส่วนทที่ 1่ี 1
ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียงและหลักการทรงงาน
เศรปษรชัฐญกิาจขพอองเเศพรษียฐงกจิ เพปอ็นเพปียรงัชแญละาหชลี้ถักกึงาแรนทรวงกงานรด�ำรงอยู่
อนลลอดบตกาปับงคอรระคนอโะทรดบมแเอบยศาลแบเใรณะฉดลคษขพะรฐณๆคาคัวกะวะวอิจรแกรตคบแคกเาาัดนพะวาลม่อมรวาลรยีดเรมอรอะกมริากหวพะับเะถิีภดมพเากบพัฒาชมปหึงรจนั าพัคียฒุมรัดคตนมาฏจยงชรปรอุกวผาะีผนใิ ะับนวเเกาตเรลนลศวปาพมั้อาตะจรังก็นเรรรงีจยษอินเทศตรปเเวะท�ำสยปงฐถะั้มงรรนดเร่ากลึงศนทัชถปษิมงับริจี่หขยญึงใ้ียจบ็นสะฐนชคหอิ่มงเะารดใทกพแุวมชด้าตั้าบใงดิี่จื่ปาอจงน้ีถชๆย้รอป�พมำใะลึงกัฐนหถงจแเ้ืนตงราเอนอ้กึนทางทพรฐ้อะัน้าเานจิาั้วนง้ัง่ืปงอวชนศภกเใาคนมไท็กนนใวจาัาายวปถรีันหิิดชทกริตยคชาะึงดาใตา่ีใจนจ้ กวมจกรบนนรา่อะาอาขร้พาะาพโบตกกใงรมอลัฒวด้อนกแทภออตงกรทับงนลยค่าาูมปยาทอมงู่ัแะรนานรุคิคงบุรี รกแลภเัใฐๆโสตปุ้มะะนรละลารบา่กลมชปู้อมะยกทะยาาบบคัใน่ียฏาโา้ันงตใดภลรกินภวบใณชใิ ิหันิวาบูัตโมก้ใลแทนัตดนามติติคั้ปงยากนยรคกนรนัวุ้มุงลปคเา์าตอวขที้ฉจกรงรรโ้ัคอพางบะั่ีดนวทะโลพวงมาตแาดเคีพใ้ังปกัทาะฒง้อนมภตยออแมรเศางตจีนเะบผาเสพ่อใภร้ัาหวฉชยหนาามหอทะิ วาตพ้นแดศแแเคนี่ชดั ดตพลัุายผอลลา้าวนีพเะั นคียบทกละะะนรใกองวน่ีข์ินาสาอทหรไมมปงุดกมครรใาราัฐอนวเะยนรบดนถิตนทับรักึง่อกู้าทคคตากงฤรวส้ัวงาษทแ
ละนกั ธุรกจิ ในทคกุ รวะาดมับรใะหม้มัดีสารนะกึ วในังคอณุ ยธ่ารงรยมิ่งควใานมกซาื่อรสนัตย�ำส์วุจิชราิตกแาลระตให่า้มงีคๆวามมารอใชบร้ใู้ทน่ีเหมาะสม ดาเน
วิตด้วยความอดกทนารคววาางมแเพผียนรแมลีสะตกิ ปาัญรดญ�ำาเนแลินะกคาวรามทรุกอขบั้นคอตบอนเพ่ือแใลห้สะมขดณุละแลเดะีพยรว้อกมันต่อการรองรับก
ลี่ยนแปลงอย่างจระวดตเอ้รว็งแเสลระมิกวส้ารงา้ ขงวพางนื้ ฐทา้ังดน้าจนติ วใัตจถขุ สอังงคคมนสใน่ิงแชวาดตลิ ้อโดมยแเฉละพวาัฒะนเจธา้รหรมนา้จทาก่ี โลกภายนอก
นอยา่ งดี ของรัฐ นกั ทฤษฎีและนกั ธุรกจิ ในทุกระดับ ใหม้ สี ำ� นกึ ในคณุ ธรรม
รษฐกจิ *พสอาเพนยีกั งงาทนี่ คพณระะบการทรมสกมาเดร็จพพัฒรนะาปกรามรนิ เศทรรษมฐหกาจิ ภแูมลิพะลสองั คดมลุ ยแเหด่งชชารตัชิกไดาล้ปทรี่ะ9มวพลรจะารกา0พช3ทระารนาใชนดโอากรัสาสเรตื่อ
ความซ่ือสัตย์สุจริต และให้มีความรอบรู้ที่เหมาะสม ด�ำเนินชีวิต
ดว้ ยความอดทน ความเพยี ร มสี ติ ปญั ญา และความรอบคอบ เพอ่ื
ให้สมดุลและพร้อมต่อการรองรับการเปล่ียนแปลงอย่างรวดเร็ว
และกว้างขวาง ทั้งด้านวัตถุ สังคม สิ่งแวดล้อม และวัฒนธรรม
จากโลกภายนอก ไดเ้ ป็นอย่างดี
* สำ� นักงานคณะกรรมการพฒั นาการเศรษฐกิจและสงั คมแห่งชาติ ไดป้ ระมวลจาก
พระราชด�ำรสั เร่ืองเศรษฐกิจพอเพียง ที่ พระบาทสมเดจ็ พระปรมนิ ทรมหาภูมพิ ล
อดลุ ยเดช รชั กาลที่ 9 พระราชทานในโอกาส ตา่ งๆ โดยไดร้ บั พระราชทานพระบรม-
ราชานุญาตให้เผยแพร่ เพ่ือเป็นแนวทางการปฏิบัติของทุกฝ่ายและประชาชน
โดยทั่วไป เม่ือวันท่ี 21 พฤศจิกายน 2542
ความหมายปรชัควญามาหมขาอยปงรเัชศญราษขอฐงกเศิจรษพฐกอจิ พเพอเียพียงง
เศรษฐกิจพเศอเรพษียฐง กหจิมาพยอถึงเพเศยีรษงฐหกิจมทา่ีสยาถมางึ รถเศอุ้มรชษูตฐัวกเอจิ งไทดสี่้ ใาหม้มีคาวราถมอพอมุ้ เชพียตู งวั กเับอตงัวเอง (Self-
Sufficiencไyด) อ้ ยใู่ไหด้โ้มดีคยไวมา่เดมือพดอร้อเนพียซึ่งงตก้อับงสตร้ัวางเพอื้นงฐา(นSทeาlงfด-้าSนuเศffรiษcฐieกิจnขcอyงต)นอเอยงใู่ไหด้ด้โีเดสียยก่อน คือให้
ตนเองสามไารมถเ่ อดยอื ู่ไดด้อรยอ้่างนพอซกง่ึ ินตพอ้ อใงชส้ มริไา้ ดง้มพุ่งหน้ื วฐังทาี่จนะทสรา้างงดควา้ านมเเจศรริญษยฐกกเศจิ รขษอฐกงิจตใหน้เเจอริญงใอหย่าด้ งีรวดเร็วแต่
เพียงอย่างเเดสียยี วกเพอ่ รนาะผคู้ทือ่ีมใีอหาช้ตีพนแเลอะงฐาสนาะมเพาียรงถพออทย่ีจูไ่ ะดพอ้ ่ึงตยนา่ เงอพงไอด้กย่อินมพสอามใาชร้ถมสรไิ ้าดง้มควุ่งาหมวเจังริญก้าวหน้า
และฐานะทางเศรษฐกิจขน้ั ทสี่ งู ขน้ึ ไปตามลาดบั ต่อไปได้
หล0ัก4การพ่ึงตนเอง หันกลับมายึดเส้นทางสายกลาง (มัชฌิมาปฏิปทา) ในการดารงชีวิต ให้สามารถ
พง่ึ ตนเองได้ โดยใชห้ ลกั การพึง่ ตนเอง 5 ประการ คือ
ที่จะสร้างความเจริญ ยกเศรษฐกิจให้เจริญอย่างรวดเร็วแต่เพียง
อย่างเดียว เพราะผู้ท่ีมีอาชีพและฐานะเพียงพอท่ีจะพ่ึงตนเองได้
ยอ่ มสามารถสรา้ งความเจรญิ กา้ วหนา้ และฐานะทางเศรษฐกจิ ขนั้
ทส่ี งู ข้นึ ไปตามลำ� ดับตอ่ ไปได้
หลกั การพงึ่ ตนเอง หนั กลบั มายดึ เสน้ ทางสายกลาง (มชั ฌมิ า
ปฏิปทา) ในการดำ� รงชีวติ ใหส้ ามารถพงึ่ ตนเองได้ โดยใช้หลกั การ
พง่ึ ตนเอง 5 ประการ คือ
1. ดา้ นจติ ใจ ทำ� ตนใหเ้ ปน็ ทพี่ งึ่ ของตนเอง มจี ติ ใจทเี่ ขม้ แขง็
มีจิตส�ำนึกท่ีดี สร้างสรรค์ให้ตนเองและชาติโดยรวม มีจิตใจ
เอ้ืออาทร ประนีประนอม ซ่ือสัตย์สุจริตเห็นประโยชน์ส่วนรวม
เปน็ ทต่ี งั้ ดงั กระแส พระราชดำ� รสั ในพระบาทสมเดจ็ พระปรมนิ ทร-
มหาภูมิพลอดุลยเดช รัชกาลที่ 9 เกย่ี วกับการพัฒนาคน ความว่า
“...บคุ คลตอ้ งมรี ากฐานทางจติ ใจทด่ี ี คอื ความหนกั แนน่
มน่ั คงในสุจริตธรรมและความมุ่งมั่นที่จะปฏิบตั ิหนา้ ที่ใหจ้ นส�ำเรจ็
ท้ังต้องมีกุศโลบาย หรือวิธีการอันแยบยลในการปฏิบัติงาน
ประกอบพร้อมด้วย จึงจะสัมฤทธิผลที่แน่นอน และบังเกิด
ประโยชนอ์ นั ยั่งยืนแกต่ นเองและแผน่ ดนิ ...”
2. ด้านสังคม แต่ละชุมชนต้องช่วยเหลือเก้ือกูลกัน
เชื่อมโยงกันเป็นเครือข่ายชุมชนที่แข็งแรง เป็นอิสระ ดังกระแส
พระราชดำ� รัส พระบาทสมเดจ็ พระปรมนิ ทรมหาภูมพิ ลอดุลยเดช
รชั กาลที่ 9 ความว่า
“...เพื่อให้งานรุดหน้าไปพร้อมเพรียงกัน ไม่ลดหลั่น
จึงขอให้ทุกคนพยายามท่ีจะท�ำงานในหน้าที่อย่างเต็มท่ี และให้
มกี ารประชาสมั พนั ธก์ นั ใหด้ ี เพอื่ ใหง้ านทงั้ หมดเปน็ งานทเ่ี กอ้ื หนนุ
สนับสนนุ กัน...”
05
3. ด้านทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดล้อม ให้ใช้และ
จัดการอย่างฉลาดพร้อมทั้งการเพ่ิมมูลค่า โดยให้ยึดหลักการ
ของความยั่งยืนและเกิดประโยชน์สูงสุด ดังกระแสพระราชด�ำรัส
พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช รัชกาลที่ 9
ความวา่
“...ถ้ารักษาสิ่งแวดล้อมให้เหมาะสมนึกว่าอยู่ได้อีก
หลายร้อยปี ถึงเวลาน้ันลูกหลานของเราก็อาจหาวิธีแก้ปัญหา
ต่อไป เป็นเรื่องของเขาไม่ใช่เรื่องของเรา แต่เราก็ท�ำได้ ได้รักษา
สง่ิ แวดล้อมไวใ้ ห้พอสมควร...”
4. ด้านเทคโนโลยี จากสภาพแวดล้อมที่เปลี่ยนแปลง
รวดเร็ว เทคโนโลยีท่ีเข้ามาใหม่มีทั้งดีและไม่ดี จึงต้องแยกแยะ
บนพน้ื ฐานของภมู ปิ ญั ญาชาวบา้ น และเลอื กใชเ้ ฉพาะที่ สอดคลอ้ ง
กับความต้องการของสภาพแวดล้อม ภูมิประเทศ สังคมไทย
และควรพัฒนาเทคโนโลยีจากภูมิปัญญาของเราเอง ดังกระแส
พระราชด�ำรัสพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช
รัชกาลท่ี 9 ความว่า
“...การเสริมสร้างสิ่งที่ชาวบ้านชนบทขาดแคลนและ
ตอ้ งการ คอื ความรู้ในด้านเกษตรกรรม โดยใช้เทคโนโลยีสมยั ใหม่
เป็นส่ิงที่เหมาะสม...”
“...การใช้เทคโนโลยีอย่างใหญ่โตเต็มรูปหรือเต็มขนาด
ในงานอาชพี หลัก ของประเทศยอ่ มจะมีปัญหา...”
5. ดา้ นเศรษฐกจิ แตเ่ ดิมการพัฒนามักมงุ่ ทกี่ ารเพิ่มรายได้
และไม่มีการมุ่งท่ีการลดรายจ่าย ในเวลาเช่นนี้จะต้องปรับ
ทิศทางใหม่ คือ จะต้องมงุ่ ลดรายจา่ ยก่อนเป็นส�ำคญั และยดึ หลกั
พออย่พู อกนิ พอใช้ และสามารถอยู่ไดด้ ว้ ยตนเองในระดับเบอ้ื งต้น
06
ดงั กระแสพระราชดำ� รสั พระบาทสมเดจ็ พระปรมนิ ทรมหาภมู พิ ล-
อดุลยเดช รัชกาลท่ี 9 ความวา่
“...การท่ีต้องการให้ทุกคนพยายามที่จะหาความรู้และ
สรา้ งตนเองใหม้ น่ั คงนเี้ พอื่ ตนเอง เพอ่ื ทจ่ี ะใหต้ วั เองมคี วามเปน็ อยู่
ที่กา้ วหนา้ ท่มี ีความสขุ พอมีพอกนิ เปน็ ขนั้ หน่ึง และขั้นตอ่ ไปกค็ อื
ใหม้ ีเกยี รติวา่ ยนื ไดด้ ว้ ยตนเอง...”
“...หากพวกเราร่วมมือร่วมใจกันท�ำสักเศษหน่ึงส่วนสี่
ประเทศชาตขิ องเราก็สามารถรอดพน้ จากวกิ ฤตไิ ด้...”
(ทมี่ า : เศรษฐกจิ พอเพยี ง ปรชั ญาชถ้ี งึ แนวทางการดำ� รงชวี ติ สำ� นกั งานคณะกรรมการ
พเิ ศษ เพื่อการประสานงานโครงการอนั เน่ืองมาจากพระราชด�ำร;ิ 2552)
หลกั การทรงงาน 23 ประการ1
1. ศึกษาขอ้ มูลอยา่ งเปน็ ระบบ
การท่ีจะพระราชทานโครงการใดโครงการหนึ่ง จะทรง
ศึกษาข้อมูลรายละเอียดอย่างเป็นระบบ ท้ังจากข้อมูลเบ้ืองต้น
จากเอกสาร แผนที่ สอบถามจากเจ้าหน้าที่ นักวิชาการ และ
ราษฎรในพนื้ ที่ ใหไ้ ดร้ ายละเอยี ดทถี่ กู ตอ้ ง เพอื่ ทจี่ ะพระราชทาน
ความช่วยเหลือได้อย่างถูกต้องและรวดเร็ว ตามความต้องการ
ของประชาชน
1 หลกั การทรงงาน ของพระบาทสมเดจ็ พระปรมนิ ทรมหาภมู พิ ลอดลุ ยเดช บรมนาถ-
บพติ ร (สำ� นกั พระราชวัง)
07
หลักการทรงงาน 23 ประการ1
2. ระเบดิ จากขา้ งใน
หมายความวา่ ตอ้ งสรา้ งความเขม้ แขง็ ใหค้ นในชมุ ชนทเี่ รา
เข้าไปพัฒนาให้มีสภาพพร้อมท่ีจะรับการพัฒนาเสียก่อน มิใช่
การน�ำเอาความเจริญหรือบุคคลจากสังคมภายนอกเข้าไปหา
ชุมชนหมู่บ้านท่ียังไม่ทันได้มโี อกาสเตรียมตัวหรอื ต้งั ตวั
3. แก้ปัญหาที่จุดเลก็
ทรงมองปัญหาในภาพรวม (Macro) ก่อนเสมอ แต่การ
แก้ปัญหาจะเริ่มจากจุดเล็กๆ (Micro) คือ การแก้ไขปัญหา
เฉพาะหน้าท่ีคนมักจะมองข้าม “...ถ้าปวดหัวคิดอะไรไม่ออก…
ตอ้ งแก้ไขการปวดหวั นก้ี อ่ นเพ่อื ใหอ้ ยใู่ นสภาพทค่ี ิดได.้ ..”
4. ท�ำตามล�ำดบั ขนั้
ทรงเริ่มต้นจากสิ่งที่จ�ำเป็นท่ีสุดของประชาชนก่อน ได้แก่
สาธารณสุข ต่อไปจึงเป็นเร่ืองสาธารณูปโภคขั้นพ้ืนฐาน และ
สิ่งจ�ำเป็นส�ำหรับประกอบอาชีพ การพัฒนาประเทศต้องสร้าง
พ้ืนฐาน คือ ความพอมี พอกิน พอใช้ ของประชาชนสว่ นใหญ่
ก่อน จึงค่อยสร้าง ค่อยเสริมความเจริญ และเศรษฐกิจขั้นสูง
โดยลำ� ดับตอ่ ไป
5. ภูมสิ งั คม
การพฒั นาใดๆ ต้องค�ำนงึ ถึง
(1) ภมู ปิ ระเทศของบริเวณนั้น (ดนิ , น�้ำ, ปา่ , เขา ฯลฯ)
(2) สงั คมวิทยา (นสิ ัยใจคอของผคู้ น ตลอดจนวฒั นธรรม
ประเพณีของท้องถิ่น)
08
หลักการทรงงาน 23 ประการ1
6. องค์รวม
ทรงมีวิธีคิดอย่างองค์รวม (Holistic) หรือมองอย่าง
ครบวงจร ทรงมองเหตุการณ์ท่ีเกิดขึ้นและแนวทางแก้ไขอย่าง
เชอ่ื มโยง
7. ไมต่ ิดต�ำรา
การพัฒนาตามแนวพระราชด�ำริมีลักษณะของการพัฒนา
ท่ีอนุโลมและรอมชอมกับสภาพธรรมชาติและส่ิงแวดล้อม และ
สภาพของสังคมจติ วทิ ยาแหง่ ชมุ ชน
8. ประหยดั เรยี บงา่ ย ไดป้ ระโยชน์สงู สุด
ทรงใช้หลักในการแก้ไขปัญหาด้วยความเรียบง่ายและ
ประหยดั ราษฎรสามารถทำ� ไดเ้ อง หาไดใ้ นทอ้ งถน่ิ และประยกุ ต์
ใชส้ ง่ิ ที่มีอยู่ในภมู ิภาคน้นั ๆ มาแก้ไขปญั หา โดยไม่ต้องลงทนุ สงู
หรอื ใช้เทคโนโลยีที่ไมย่ งุ่ ยากนัก “ใหป้ ลูกป่า โดยไม่ตอ้ งปลูกปา่
โดยปล่อยให้ข้ึนเองตามธรรมชาติ จะไดป้ ระหยดั งบประมาณ”
9. ท�ำให้ง่าย (Simplicity)
ทรงคิดค้น ดัดแปลง ปรับปรุง และแก้ไขงานการพัฒนา
ประเทศตามแนวพระราชด�ำริโดยง่าย ไม่ยุ่งยากซับซ้อน ทรง
โปรดท่ีจะท�ำส่ิงยากให้กลายเป็นง่าย ท�ำสิ่งท่ีสลับซับซ้อนให้
เขา้ ใจง่าย
09
หลักการทรงงาน 23 ประการ1
10. การมีส่วนรว่ ม
ทรงเป็นนักประชาธิปไตย เปิดโอกาสให้สาธารณชน
ประชาชน หรอื เจา้ หนา้ ทท่ี กุ ระดบั ไดม้ ารว่ มกนั แสดงความคดิ เหน็
เก่ียวกับเรื่องท่ีต้องค�ำนึงถึงความคิดเห็นของประชาชน หรือ
ความต้องการของสาธารณชน “...ต้องหัดท�ำใจให้กว้างขวาง
หนักแน่น รู้จักรับฟังความคิดเห็น แม้กระท่ังความวิพากษ์
วิจารณ์จากผูอ้ ่ืนอยา่ งฉลาด เพราะการร้จู กั รับฟงั อยา่ งฉลาดน้นั
แทจ้ รงิ คอื การระดมสตปิ ญั ญาและประสบการณอ์ นั หลากหลาย
มาอำ� นวยการปฏบิ ตั บิ รหิ ารงานใหป้ ระสบความสำ� เรจ็ ทสี่ มบรู ณ์
นน่ั เอง...”
11. ประโยชนส์ ่วนรวม
“...ใครต่อใครก็มาบอกว่า ขอให้คิดถึงประโยชน์ส่วนรวม
อาจมานกึ ในใจวา่ ใหๆ้ อยเู่ รอื่ ย แลว้ สว่ นตวั จะไดอ้ ะไร ขอใหค้ ดิ วา่
คนทใ่ี หเ้ พอ่ื สว่ นรวมนนั้ มไิ ดใ้ หแ้ ตส่ ว่ นรวมอยา่ งเดยี ว เปน็ การให้
เพอ่ื ตวั เองสามารถทม่ี สี ว่ นรวมทจ่ี ะอาศยั ได.้ ..” พระบาทสมเดจ็ -
พระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช ทรงระลึกถึงประโยชน์ของ
สว่ นรวมเปน็ ส�ำคญั เสมอ
10
หลกั การทรงงาน 23 ประการ1
12. บริการทจี่ ดุ เดยี ว
ทรงให้ “ศูนย์ศึกษาการพัฒนาอันเนื่องมาจาก
พระราชด�ำริ” เป็นต้นแบบในการบริหารรวมท่ีจุดเดียว
เพ่ือประโยชน์ต่อประชาชนที่จะมาใช้บริการ จะประหยัดเวลา
และคา่ ใชจ้ ่าย โดยมหี น่วยงานราชการตา่ งๆ มารว่ มด�ำเนินการ
และให้บริการประชาชน ณ ที่แห่งเดียว “...เป็นสองด้าน
กห็ มายถงึ วา่ ทสี่ ำ� คญั ปลายทาง คอื ประชาชนจะไดร้ บั ประโยชน์
และตน้ ทางของเจา้ หนา้ ท่ีจะให้ประโยชน์”
13. ใช้ธรรมชาติช่วยธรรมชาติ
การเขา้ ใจถงึ ธรรมชาตแิ ละตอ้ งการใหป้ ระชาชนใกลช้ ดิ กบั
ธรรมชาติ ทรงมองอยา่ งละเอยี ด ถงึ ปญั หาของธรรมชาติ หากเรา
ต้องการแก้ไขธรรมชาติ จะต้องใช้ธรรมชาติเข้าช่วยเหลือ เช่น
การแก้ไขปัญหาป่าเสื่อมโทรม โดยพระราชทานพระราชด�ำริ
การปลูกป่าโดยไม่ต้องปลูก (ต้นไม้) ปล่อยให้ธรรมชาติช่วยใน
การฟืน้ ฟูธรรมชาติ
14. ใช้อธรรมปราบอธรรม
ทรงน�ำความจริงในเรื่องความเป็นไปแห่งธรรมชาติ และ
กฎเกณฑ์ของธรรมชาติมาเป็นหลักการและแนวปฏิบัติที่ส�ำคัญ
ในการแก้ปัญหาและปรับปรุงเปลี่ยนแปลงสภาวะท่ีไม่ปกติ
เช่น การน�ำน้�ำดีขับไล่น�้ำเสีย การใช้ผักตบชวาบ�ำบัดน้�ำเสีย
โดยดดู ซึมส่ิงสกปรกปนเปอื้ นในน้ำ�
11
หลกั การทรงงาน 23 ประการ1
15. ปลูกปา่ ในใจคน
“...เจ้าหน้าที่ป่าไม้ควรจะปลูกต้นไม้ลงในใจคนเสียก่อน
แลว้ คนเหลา่ น้ันกจ็ ะพากันปลูกต้นไม้ ลงบนแผ่นดนิ และรักษา
ต้นไม้ด้วยตนเอง...” การท่ีจะฟื้นฟูทรัพยากรธรรมชาติให้
กลบั คืนมาจะตอ้ งปลูกจติ สำ� นึกใหค้ นรกั ป่าเสียกอ่ น
16. ขาดทนุ คอื กำ� ไร
“...ขาดทุนคือก�ำไร Our loss is our gain… การเสีย
คือการได้ ประเทศก็จะก้าวหน้าและการท่ีคนจะอยู่ดีมีสุขน้ัน
เป็นการนบั ที่เปน็ มลู ค่าเงินไมไ่ ด.้ ..” หลักการ คือ “การให้” และ
“การเสียสละ” เป็นการกระทำ� อนั มผี ลเปน็ กำ� ไร คือ ความอยดู่ ี
มีสุขของราษฎร “...ถ้าเราท�ำอะไรท่ีเราเสีย แต่ในที่สุด ที่เรา
เสียน้ันเป็นการได้ทางอ้อม ตรงกับงานของรัฐบาลโดยตรง เงิน
ของรัฐบาลหรืออีกนัยหน่ึง คือ เงินของประชาชน ถ้าอยากให้
ประชาชนอยู่ดกี นิ ดีก็ต้องลงทุน...”
17. การพึ่งตนเอง
การพัฒนาตามแนวพระราชด�ำริเพ่ือแก้ไขปัญหาใน
เบ้ืองต้นด้วยการแก้ไขปัญหาเฉพาะหน้า เพื่อให้เขาแข็งแรงพอ
ที่จะด�ำรงชีวิตได้ต่อไป แล้วขั้นต่อไปก็คือ การพัฒนาให้เขา
สามารถอยู่ในสังคมได้ตามสภาพแวดล้อม และสามารถ
“พึ่งตนเองได”้ ในท่สี ดุ
12
หลักการทรงงาน 23 ประการ1
18. พออยู่พอกิน
ส�ำหรับประชาชนที่ตกอยู่ในวงจรแห่งความทุกข์เข็ญนั้น
ได้พระราชทานความช่วยเหลือให้เขาได้สามารถอยู่ในข้ัน
“พออยพู่ อกนิ ” เสยี กอ่ นแลว้ จงึ คอ่ ยขยบั ขยายใหม้ ขี ดี สมรรถนะ
ท่ีกา้ วหนา้ ต่อไป “...ถา้ โครงการดี ในไม่ชา้ ประชาชนจะไดก้ ำ� ไร
จะได้ผล ราษฎรจะอยู่ดีกินดีขึ้น จะได้ประโยชนต์ อ่ ไป...”
19. เศรษฐกิจพอเพยี ง
เป็นแนวทางการด�ำเนินชีวิตเพ่ือสร้างความเข้มแข็งหรือ
ภูมิคุ้มกันทุกด้าน ซ่ึงจะสามารถท�ำให้อยู่ได้อย่างสมดุลในโลก
แหง่ การเปลย่ี นแปลง ปรชั ญานส้ี ามารถประยกุ ตใ์ ชไ้ ดท้ งั้ ในระดบั
บคุ คล ชุมชน องคก์ ร และทุกภาคสว่ น
20. ความซื่อสัตย์ สุจรติ จริงใจต่อกัน
“...ผู้ที่มีความสุจริตและบริสุทธ์ิใจ แม้จะมีความรู้น้อยก็
ย่อมท�ำประโยชน์ให้แก่ส่วนรวมได้มากกว่าผู้ที่มีความรู้มาก แต่
ไมม่ คี วามสุจริต ไม่มีความบริสุทธใ์ิ จ...”
21. ท�ำงานอยา่ งมีความสุข
พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช
ทรงพระเกษมส�ำราญและทรงมีความสุขทุกคราที่จะช่วยเหลือ
ประชาชน “...ท�ำงานกับฉัน ฉันไม่มีอะไรจะให้นอกจากการมี
ความสขุ ร่วมกนั ในการทำ� ประโยชนใ์ หก้ ับผู้อืน่ ...”
13
หลกั การทรงงาน 23 ประการ1
22. ความเพยี ร : พระมหาชนก
พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช
ทรงรเิ รมิ่ ทำ� โครงการตา่ งๆ ในระยะแรก ทไ่ี มม่ คี วามพรอ้ มมากนกั
และทรงใช้พระราชทรัพยส์ ว่ นพระองค์ทงั้ สิน้ แตพ่ ระองคก์ ม็ ไิ ด้
ท้อพระราชหฤทยั มุ่งมัน่ พฒั นาบ้านเมอื งใหบ้ งั เกิดความร่มเย็น
เป็นสุข
23. รู้ - รกั - สามคั คี
รู้ : การที่เราจะลงมอื ทำ� สงิ่ ใดน้ัน จะต้องรเู้ สียก่อน รู้ถงึ
ปจั จัยทัง้ หมด รถู้ ึงปัญหา และร้ถู ึงวิธีแกป้ ัญหา
รกั : เมื่อเรารู้ครบด้วยกระบวนความแล้วจะต้องเห็น
คุณค่า เกิดศรัทธา เกิดความรักที่จะเข้าไป ลงมือ
ปฏบิ ตั ิแกป้ ญั หาน้นั ๆ
สามัคคี : เมื่อถึงขั้นลงมือปฏิบัติต้องค�ำนึงเสมอว่าเราท�ำ
คนเดยี วไมไ่ ด้ ต้องร่วมมอื รว่ มใจกนั สามัคคีกัน
เป็นหมู่คณะ จึงจะเกิดพลังในการแก้ปัญหา
ใหล้ ุลว่ งดว้ ยดี
14
ส่วนท่ี 2
หมู่บา้ นเศรษฐกิจพอเพียงตน้ แบบ
ความเปน็ มา
กรมการพฒั นาชมุ ชนมภี ารกจิ เกยี่ วกบั การสง่ เสรมิ กระบวนการ
เรียนรู้และการมีส่วนร่วมของประชาชน ส่งเสริมและพัฒนา
เศรษฐกจิ ฐานรากใหม้ คี วามมนั่ คงและมเี สถยี รภาพ โดยสนบั สนนุ
ให้มีการจัดท�ำและใช้ประโยชน์จากข้อมูลสารสนเทศ ศึกษา
วเิ คราะห์ วจิ ยั จดั ทำ� ยทุ ธศาสตรช์ มุ ชน ตลอดจนการฝกึ อบรมและ
พัฒนาบุคลากรท่ีเกี่ยวข้องในการพัฒนาชุมชน ได้ก�ำหนดหน้าที่
15
ประการหนึ่งในการพัฒนาระบบและกลไก ในการส่งเสริม
กระบวนการเรียนรู้ การจัดการความรู้ การอาชีพ การออม
และการบริหารจัดการเงินทุน ของชุมชนเพ่ือเสริมสร้างขีด
ความสามารถ ของชุมชน ผูน้ ำ� ชุมชน องค์การชุมชนและเครือขา่ ย
องค์การชมุ ชน บริหารจดั การใหช้ ุมชนเขม้ แข็งอย่างยัง่ ยืน
จากภารกิจข้างต้น กระทรวงมหาดไทยจึงไว้วางใจ
มอบหมายภารกิจให้กรมการพัฒนาชุมชน เป็นหน่วยงานหลัก
ในการขับเคลื่อนปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง เนื่องจาก
กระบวนการพฒั นาหมบู่ า้ นชมุ ชนมคี วามสอดคลอ้ งกบั หลกั ปรชั ญา
ของเศรษฐกจิ พอเพียง คือปฏิบัติงานตามหลกั ความพอประมาณ
ความมีเหตุผล สร้างภูมิคุ้มกันที่ดี ด้วยการใช้ความรู้ ความชอบ
ธรรมและคุณธรรม ทำ� ให้ชุมชนพง่ึ ตนเองบนความพอเพยี ง โดย
บรู ณาการการทำ� งานรว่ มกนั ในทกุ กรมและรฐั วสิ าหกจิ โดยเฉพาะ
กรมการปกครอง และกรมสง่ เสริมการปกครองท้องถ่ิน
กรอบความคิด แนวคิดในการขับเคล่ือนปรัชญาของเศรษฐกิจ
พอเพยี ง
จากภารกิจของกรมฯ และภารกิจท่ีได้รับมอบหมายจาก
กระทรวงมหาดไทย กรมฯ จงึ ไดน้ อ้ มนำ� หลกั ปรชั ญาของเศรษฐกจิ
พอเพียง มาขยายผลในกระบวนการท�ำงาน โดยการด�ำเนินงาน
หมู่บ้านเศรษฐกิจพอเพียง ด้วยเกณฑ์ประเมิน 6 ด้าน คือ
ลดรายจ่าย (ท�ำสวนครัว ปลอดอบายมุข) เพิ่มรายได้ (มีอาชีพ
ใชเ้ ทคโนโลยที เ่ี หมาะสม) ประหยดั (มกี ารออม มกี ลมุ่ ออมทรพั ยฯ์ )
การเรียนรู้ (สืบทอดภูมิปัญญา มีการเรียนรู้ปรัชญาเศรษฐกิจ
พอเพียง) อนุรักษ์สิ่งแวดล้อม (ใช้วัตถุดิบในชุมชนประกอบ
16
อาชีพ ปลูกตน้ ไม)้ เอ้อื อารตี ่อกนั (ช่วยเหลอื คนจน รรู้ กั สามคั คี)
ในปี 2549 - 2551 ด�ำเนินการท่ัวประเทศได้ จ�ำนวน 58,537
หมบู่ ้าน
ต่อมา กรมการพัฒนาชุมชน ได้ขยายผลการท�ำงานสู่
ความยั่งยืน โดยการพัฒนาหมู่บ้านเศรษฐกิจพอเพียง ให้เป็น
ต้นแบบ มีศกั ยภาพ 4 ดา้ น 23 ตวั ชีว้ ดั คอื
ด้านจิตใจและสังคม (สามัคคี มีข้อตกลงข้อมูลหมู่บ้าน
มีกองทุน ยึดหลักประชาธิปไตย มีคุณธรรม/จริยธรรม ชุมชน
ปลอดอบายมุข)
ดา้ นเศรษฐกจิ (จดทำ� บญั ชคี รวั เรอื น ลดรายจา่ ย สรา้ งรายได้
รวมกลุ่มพฒั นาอาชีพ การออม มกี ลุม่ ในรปู แบบวสิ าหกจิ ชุมชน)
ด้านการเรียนรู้ (มีและใชข้ ้อมูลชมุ ชน ใช้ภมู ิปัญญาทอ้ งถิน่
สร้างคุณค่า มีศูนย์เรียนรู้ ใช้เทคโนโลยีท่ีเหมาะสมกับหมู่บ้าน
สรา้ งเครือข่ายการพัฒนา)
ด้านทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม (มีจิตส�ำนึกใน
การอนุรักษ์ฯ มีกลุ่ม/องค์กรด้านส่ิงแวดล้อม มีการใช้พลังงาน
ทดแทน และมีการสร้างมูลค่าเพิ่มจากทรัพยากรธรรมชาติและ
สิ่งแวดล้อม)
แบ่งศกั ยภาพการพัฒนาหมบู่ ้าน เป็น 3 ระดบั คือ
ระดับ “พออยู่ พอกิน” เป็นตน้ แบบในการใชช้ วี ติ พง่ึ ตนเอง
เน้นการปฏิบัติท�ำกิน ท�ำใช้ในครัวเรือน เพื่อลดรายจ่าย เพ่ิม
รายได้และมีการออม
ระดบั “อยดู่ ี กนิ ด”ี เปน็ ตน้ แบบในการบรหิ ารจดั การพฒั นา
ในรูปกลุ่ม การพัฒนารายได้ด้วยระบบกลุ่ม เพ่ือเพ่ิมรายได้และ
ขยายโอกาสคนในชุมชน
17
ระดับ “มั่งมี ศรีสุข” เป็นต้นแบบการบริหารการพัฒนา
ในรูปแบบองค์กรเครือข่าย เพ่ือใช้ศักยภาพในการด�ำเนินการ
ยกระดับคุณภาพชีวิตของคนในชุมชน เพ่ือขยายโอกาสในการ
ประกอบอาชีพและส่งเสริมการจัดสวัสดิการให้กับคนในหมู่บ้าน
ชุมชน
*** การจัดระดับหมู่บ้านเศรษฐกิจพอเพียงต้นแบบเป็น
3 ระดบั นี้ สามารถเปน็ ต้นแบบใหห้ มบู่ า้ นอน่ื ๆ ที่มีบริบทใกล้เคียง
กัน น�ำไปเรียนรู้ และขยายผล พัฒนาไปตามศกั ยภาพและเกณฑ์
ชว้ี ดั ไมจ่ ำ� เปน็ ตอ้ งพฒั นาเรม่ิ จากระดบั พออยพู่ อกนิ และหมบู่ า้ นฯ
ตน้ แบบเดมิ ควรมีเปา้ หมายการพฒั นายกระดบั ตนเองใหส้ งู ขึ้น
กลไกในการขับเคลื่อนการพฒั นาหมบู่ า้ นเศรษฐกจิ พอเพียง
ตั้งแตป่ ี 2549 - 2559 กลไกในการพฒั นาหมู่บา้ นเศรษฐกจิ
ประกอบด้วย
1) ค�ำส่ังกระทรวงมหาดไทย ท่ี 525/2551 ลงวันท่ี 11
พฤศจิกายน 2551 เรื่อง คณะกรรมการอ�ำนวยการขับเคลื่อน
ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง กระทรวงมหาดไทย โดยมี รฐั มนตรี
วา่ การกระทรวงมหาดไทยเป็นทปี่ รึกษา ปลดั กระทรวงมหาดไทย
เป็นประธานกรรมการ อธบิ ดกี รมการพฒั นาชุมชนเป็นกรรมการ
2) ค�ำสั่งกระทรวงมหาดไทย ที่ 64/2552 ลงวันที่ 17
กุมภาพันธ์ 2552 เรื่อง แต่งต้ังคณะท�ำงานสนับสนุนการพัฒนา
หมู่บ้านเศรษฐกิจพอเพียง กระทรวงมหาดไทย โดยมี รองปลัด
กระทรวงมหาดไทย (หัวหน้ากลุ่มภารกิจด้านพัฒนาชุมชนและ
สง่ เสรมิ การปกครองทอ้ งถนิ่ ) เปน็ หวั หนา้ คณะทำ� งาน ผอู้ ำ� นวยการ
ส�ำนักเสริมสร้างความเข้มแข็งชุมชน กรมการพัฒนาชุมชน
18
เปน็ เลขานุการ
3) คณะกรรมการขับเคลื่อนปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
ระดับจังหวัด ประกอบด้วย ผู้ว่าราชการจังหวัด เป็นประธาน
รองผู้ว่าราชการจังหวัด ปลัดจังหวัด และนายกองค์การบริหาร
ส่วนจังหวัด เป็นรองประธาน ผู้บังคับการจังหวัดทหารบก
ผู้บังคับการต�ำรวจภูธรจังหวัด หัวหน้าส่วนราชการจังหวัด
ท่ีประธานกรรมการมอบหมาย นายอ�ำเภอทุกอ�ำเภอ ผู้บริหาร
ส ถ า น ศึ ก ษ า ต า ม ท่ี ป ร ะ ธ า น ก ร ร ม ก า ร เ ห็ น ส ม ค ว ร แ ต ่ ง ตั้ ง
ผู้ทรงคุณวุฒิที่ประธานกรรมการเห็นสมควรแต่งตั้งและ
จ่าจังหวัด เป็นกรรมการและมีพัฒนาการจังหวัด เป็นกรรมการ
และเลขานกุ าร
4) คณะกรรมการขับเคล่ือนปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
ระดับอ�ำเภอ ประกอบด้วย นายอ�ำเภอเป็นประธานกรรมการ
ปลัดอ�ำเภอหัวหน้ากลุ่มงานบริหารงานปกครอง และนายก
เทศมนตรนี คร/เมอื ง เปน็ รองประธาน หวั หนา้ สว่ นราชการประจำ�
อ�ำเภอที่ประธานกรรมการเห็นสมควรแต่งต้ัง นายกองค์การ
บรหิ ารสว่ นตำ� บล ทกุ ตำ� บล กำ� นนั ทกุ ตำ� บล นายกเทศมนตรตี ำ� บล
ทุกแห่ง เป็นกรรมการ และมีพัฒนาการอ�ำเภอ เป็นกรรมการ
และเลขานกุ าร
5) ชุดปฏิบัติการขับเคล่ือนฯ ระดับต�ำบล/หมู่บ้าน
ประกอบดว้ ย ปลดั อำ� เภอเปน็ ทปี่ รกึ ษา มพี ฒั นากรเปน็ หวั หนา้ ชดุ
อาสาพฒั นาชมุ ชน และผ้นู ำ� กลุม่ องคก์ ร/องค์กรในชุมชน เปน็ ชดุ
ปฏิบตั กิ าร
19
หน่วยงานภาคกี ารขับเคลอื่ นการพัฒนาหม่บู ้าน
• ครม. มีมติเม่ือวันที่ 20 พฤศจิกายน 2550 เห็นชอบให้
ทกุ หนว่ ยงานทมี่ สี ว่ นเกย่ี วขอ้ งในการพฒั นาชนบท รว่ มกนั เปน็ ภาคี
และใหก้ ารสนับสนนุ การขับเคลือ่ น “ระเบยี บวาระแห่งชุมชน”
• ลงนามบนั ทกึ ความรว่ มมอื เพอ่ื ขบั เคลอื่ นระเบยี บแหง่ วาระ
ชุมชน จำ� นวน 21 หน่วยงาน ซ่ึงมีโครงการร่วมกันในการส่งเสรมิ
และสนับสนนุ ให้ชมุ ชนดำ� เนินการ คอื
1. จัดท�ำและยกระดบั แผนชุมชนให้มีคณุ ภาพ
2. ขยายผลการขับเคล่ือนปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง
3. ศูนย์การเรียนรู้ชุมชนเป็นเครื่องมือให้ประชาชน
เกดิ การเรียนรแู้ ละมสี ่วนร่วม
หนว่ ยงานทรี่ ว่ มมอื มดี งั น้ี ระหวา่ ง สำ� นกั งานปลดั กระทรวง
มหาดไทย กรมการพัฒนาชุมชน กรมการปกครอง กรมส่งเสริม
การปกครองท้องถิ่น กรมท่ีดิน กรมโยธาธิการและผังเมือง
กรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย กับ กรมส่งเสริมคุณภาพ
สิ่งแวดลอ้ ม กรมส่งเสรมิ การเกษตร กรมสนบั สนนุ บรกิ ารสุขภาพ
ส�ำนกั บรหิ ารการศกึ ษานอกโรงเรยี น ธนาคารเพือ่ การเกษตรและ
สหกรณก์ ารเกษตร สำ� นกั งานกองทนุ สนบั สนนุ การวจิ ยั สำ� นกั งาน
คณะกรรมการวัฒนธรรมแห่งชาติ สถาบันพัฒนาองค์กรชุมชน
(องค์การมหาชน) สมาคมผู้น�ำอาสาพัฒนาชมุ ชนไทย สมาคมผูน้ ำ�
สตรีพัฒนาชุมชนไทย สมาคมก�ำนันผู้ใหญ่บ้านแห่งประเทศไทย
สมาคมองค์การบริหารส่วนจังหวัดแห่งประเทศไทย สมาคม
สันนิบาตเทศบาลแห่งประเทศไทย และสมาคมองค์การบริหาร
สว่ นตำ� บล
20
ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2560 รัฐบาลให้ความส�ำคัญกับ
การน้อมน�ำหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงมาเป็นแนวทาง
ในการพัฒนาประเทศ กระทรวงมหาดไทย จึงได้ก�ำหนดกลไก
ในการขับเคล่ือนปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ให้เกิดผล
อย่างเป็นรูปธรรม และมีประสิทธิภาพสูงสุด โดยการแต่งต้ัง
คณะกรรมการบริหารศูนย์อ�ำนวยการขจัดความยากจนและ
พัฒนาชนบทตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง กระทรวง
มหาดไทย (ศจพ.มท.) ตามคำ� สง่ั กระทรวงมหาดไทย ที่ 310 / 2560
ลงวนั ท่ี 9 มนี าคม 2560 โดยมี รฐั มนตรวี า่ การกระทรวงมหาดไทย
และรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงมหาดไทย เป็นท่ีปรึกษา
ปลัดกระทรวงมหาดไทย เป็นผู้อ�ำนวยการศูนย์ อธิบดีกรม
การพัฒนาชุมชน และที่ปรึกษาด้านการปกครอง ส�ำนักงาน
ปลัดกระทรวงมหาดไทย เป็นกรรมการและเลขานุการร่วม
เพื่อให้ ศจพ.มท. เป็นกลไกขับเคล่อื นในระดับประเทศ
ในระดับจงั หวดั ให้มคี ณะกรรมการบริหารศนู ยอ์ ำ� นวยการ
ปฏิบัติการขจัดความยากจนและพัฒนาชนบทตามปรัชญาของ
เศรษฐกจิ พอเพียงจังหวดั (ศจพ.จ.)
ในระดับอ�ำเภอ ให้มีคณะกรรมการบริหารศูนย์อ�ำนวยการ
ปฏิบัติการขจัดความยากจนและพัฒนาชนบทตามปรัชญาของ
เศรษฐกิจพอเพียงอำ� เภอ (ศจพ.อ.)
ในระดับตำ� บล ใหม้ ที มี ตำ� บล
ในระดับหมู่บ้าน ให้คณะกรรมการหมู่บ้าน (กม.) หรือ
คณะกรรมการหมู่บ้าน อพป. เป็นกลไกในการขับเคลื่อน
การด�ำเนนิ งาน
21
การด�ำเนนิ การพฒั นาหมบู่ ้านเศรษฐกจิ พอเพยี งต้นแบบ
1) คณะกรรมการหมบู่ า้ น พรอ้ มดว้ ย พฒั นากร อาสาสมคั ร
ด�ำเนินการกระตุ้นความคิด ร่วมหาทางออกในการแก้ไขปัญหา
ของครัวเรือนและชุมชนตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
ด้วยตัวช้วี ดั 6x2 น�ำหมู่บา้ นที่ผา่ นเกณฑต์ วั ชว้ี ดั 6x2 คือมีคะแนน
รวมเกนิ 18 คะแนน มาทำ� การประเมนิ ดว้ ยเกณฑป์ ระเมนิ 4 ดา้ น
23 ตวั ชวี้ ดั เพอ่ื จดั ระดบั หมบู่ า้ นเปน็ 3 ระดบั คอื “พออยู่ พอกนิ ”
“อยู่ดี กนิ ด”ี และ “มั่งมี ศรีสุข”
นำ� หม่บู า้ นทผ่ี า่ นการจัดระดับ และมคี วามพรอ้ ม มาด�ำเนนิ
การ สง่ เสรมิ การพัฒนา ดว้ ยการสรา้ งความรู้ ความสามารถของ
แกนน�ำชุมชน ในการขับเคล่ือนการพัฒนาหมู่บ้าน สร้างความรู้
หลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี งใหก้ บั ครอบครวั พัฒนา พฒั นา
ทักษะการด�ำรงชีวิตและขับเคล่ือนกิจกรรมการพัฒนาชุมชนโดย
ชมุ ชนเอง
2) คณะท�ำงานระดับต�ำบล อ�ำเภอ จงั หวัด ประเมนิ ผลการ
พัฒนา รับรองและให้จังหวัดประกาศเป็นหมู่บ้านเศรษฐกิจพอ
เพยี งตน้ แบบ
การเชดิ ชูเกยี รตแิ ละความสำ� เรจ็ ในการด�ำเนนิ งาน
จัดให้มีการคัดเลือกหมู่บ้านที่ประสบความส�ำเร็จในการ
พัฒนา และได้รับพระกรุณาจากสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา
สยามบรมราชกุมารี ทรงพระราชทานนามและโล่รางวัลหมู่บ้าน
เศรษฐกิจพอเพียง “อยู่เย็น เป็นสุข” เม่ือวันท่ี 26 มิถุนายน
2549 และพระราชทานพระราชวโรกาสให้ผนู้ �ำชุมชน ท่มี ีผลงาน
การจดั การพัฒนาดีเดน่ เขา้ เฝา้ ปลี ะ 1 ครัง้ จนถงึ ปัจจบุ นั
22
แนวทางการพัฒนาตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอพียง
ของกรมการพัฒนาชุมชนในปี 2560 - 2561
ไดน้ ำ� หลกั คดิ ในการบรู ณาการงานและตอบสนองนโยบาย
ในการน้อมนำ� หลักปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี งของรฐั บาล โดย
เชื่อมโยงงานของกรมฯ เขา้ กบั หลักปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียง
ใน 2 ระดับ คือ ระดับพื้นฐาน กับระดับก้าวหน้า
1. เศรษฐกิจพอเพียงระดับพื้นฐาน ขับเคลื่อนการพัฒนา
โดยการสร้างสัมมาชพี ชุมชน ในระดบั บคุ คล/ครวั เรอื น มงุ่ หวงั ให้
มกี ารลดการพ่งึ พา ละความฟมุ่ เฟอื ย เลิกอบายมขุ
2. เศรษฐกจิ พอเพยี งระดบั กา้ วหนา้ แยกการขบั เคลอื่ นการ
พฒั นาเปน็ 2 ประเภท คือ
2.1) การสง่ เสริมการรวมกล่มุ เชน่ การรวมกลุ่มพฒั นา
เป็น OTOP การประกอบการของชมุ ชน (CE) หรือ SMEs เพ่ือให้
เกิดการรวมกลมุ่ รวมซ้ือ รวมขาย
1) เศรษฐกิจพอเพียงระดับพ้ืนฐาน ขับเคล่ือนการพัฒนาโดยการสร้างสัมมาชีพ23ชุมชน ในระดับ
2.2) การสง่ เสรมิ ใหเ้ กดิ ความรว่ มมอื สรา้ งเครอื ขา่ ย โดย
การส่งเสริมการพัฒนาวิสาหกิจเพ่ือสังสังคม(SE) มีเป้าประสงค์
ให้เกิดความร่วมมือ ร่วมทุน ร่วมค้า ในการขับเคล่ือนกิจกรรม
การพัฒนา ทั้ง 3 รูปแบบ ต้องอาศัยทุนต่างๆ ในชุมชน เช่น
กลุ่มออมทรัพย์เพ่ือการผลิต กองทุนหมู่บ้าน กองทุนพัฒนา
บทบาทสตรี เปน็ ตน้ เพอ่ื เชอ่ื มโยงสชู่ อ่ งทางการตลาด เพอื่ ใหบ้ รรลุ
เปา้ หมาย “เศรษฐกิจชุมชนเขม้ แขง็ ประชาชนมรี ายไดเ้ พิม่ ขน้ึ ”
การพัฒนาหมู่บ้านเศรษฐกิจพอเพียง จึงเป็นกระบวนการ
จัดการพัฒนาประชาชน พัฒนาหมู่บ้านหรือชุมชน ให้มีวิถีชีวิต
เศรษฐกจิ พอเพยี งและเปน็ สงั คม “อยเู่ ยน็ เปน็ สขุ ” ดว้ ยการนอ้ มนำ�
ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ของพระบาทสมเดจ็ พระปรมนิ ทร-
มหาภูมิพลอดุลยเดช รัชกาลท่ี 9 มาเป็นแนวทางในการด�ำเนิน
งาน โดยเน้นประชาชนเปน็ ศูนยก์ ลางการพฒั นาในการเสริมสรา้ ง
ชมุ ชน ใหเ้ ข้มแขง็ เปน็ การพัฒนาชนบทโดยนำ� แนวทางการพัฒนา
อันเน่ืองมาจากพระราชด�ำริมาใช้ เพ่ือเป็นตัวแบบหรือแนวทาง
ให้กับหน่วยงาน หมู่บ้านหรือชุมชน ประชาชน น�ำไปปรับใช้ให้
เหมาะสมกบั การดำ� เนนิ งานในพนื้ ที่ ดว้ ยการประสานพลงั ระหวา่ ง
ภาคี หรอื พลงั ประชารฐั ไม่ว่าจะเป็นหนว่ ยงานราชการ ปราชญ์
ชาวบ้าน องค์กรพัฒนาเอกชน เอกชน สถาบันการศึกษาและ
ประชาชนในพื้นท่ี ซึ่งเกิดจากแนวคิดการบูรณาการในด้านต่างๆ
นำ� ไปสู่กระบวนการเรยี นรู้ เพอ่ื ช่วยเหลอื ตนเอง และพง่ึ ตนเองได้
24
25
ส่วนท่ี 3
กระบวนการพฒั นาหมู่บ้านเศรษฐกจิ พอเพียงต้นแบบ
กรมการพัฒนาชุมชนได้น้อมน�ำหลักปรัชญาของเศรษฐกิจ
พอเพียงมาเป็นหลกั ในการพฒั นาหมบู่ ้าน/ชุมชน มเี ป้าหมายเพอื่
ให้เกิดความเจริญก้าวหน้าและเป็นสังคม “อยู่เย็น เป็นสุข” ซึ่ง
สอดคล้องกับหลักการพัฒนาชุมชน คือการส่งเสริมกระบวนการ
เรียนรู้และสร้างการมีส่วนร่วมของประชาชน ในการขับเคลื่อน
กระบวนการพัฒนาหมู่บ้านไปทั้งระบบหรือทุกมิติอย่างต่อเน่ือง
เพ่ือให้เศรษฐกิจฐานรากม่ันคงและชุมชนพ่ึงตนเองได้อย่างย่ังยืน
โดยใชก้ ลไกของผนู้ ำ� ชมุ ชนในการขบั เคลอื่ น ไมไ่ ดเ้ ลอื กดำ� เนนิ การ
เฉพาะกิจกรรมหรือเฉพาะกลุ่มบุคคล ใช้ข้อมูลและแผนชุมชน
ในการบรู ณาการพนื้ ทด่ี ำ� เนนิ การและงบประมาณ ทงั้ นไ้ี มส่ ามารถ
ด�ำเนินงานให้เกิดผลส�ำเร็จเพียงหน่วยงานเดียวโดยล�ำพังได้
การด�ำเนินงานจึงเป็นการขับเคล่ือนในรูปแบบการบูรณาการ
โดยโครงสร้างของคณะกรรมการ ในทุกๆ ระดบั
การจัดกิจกรรมในหมู่บ้านเศรษฐกิจพอเพียงต้นแบบ
จึงมขี ัน้ ตอนทีเ่ รม่ิ จากการพัฒนา ส่งเสริม สนบั สนุน บทบาทของ
ผู้น�ำให้เป็นแกนน�ำหรือหัวเรี่ยวหัวแรงหลัก ในการน�ำประชาชน
ในหมู่บ้านให้ลุกขึ้นท�ำกิจกรรมเพ่ือจัดการแก้ไขปัญหาที่เกิดข้ึน
หรืออาจจะเกิดขึ้นในอนาคต ส่งเสริมให้ผู้น�ำจัดกระบวนการ
ท�ำแผนชุมชน สร้างกระบวนการมีส่วนร่วมของประชาชนใน
การคิด ตัดสินใจ ก�ำหนดเป้าหมายการท�ำงานโดยคนในชุมชน
เอง ผลักดัน สร้างความรับผิดชอบให้เกิดกับบุคคลในชุมชนใน
การด�ำเนินการ บริหารจัดการกิจกรรมตามแผนงานการพัฒนา
26
ชมุ ชนพ่งึ ตนเองได้ อย่างย่ังยืน โดยใชก้ ลไกของผู้นาชมุ ชนในการขบั เคลื่อน ไมไ่ ด้เลือกดาเ
กจิ กรรมหรือเฉพาะกลุม่ บคุ คล ใชข้ ้อมลู และแผนชมุ ชน ในการบูรณาการพืน้ ท่ดี าเนินการแ
ทง้ั นไี้ มส่ ามารถดาเนนิ งานใหเ้ กิดผลสาเรจ็ เพียงหน่วยงานเดียวโดยลาพงั ได้ การดาเนนิ งาน
ขับซเ่ึงคสลา่ือมนใานรรถูปบแูรบณบกาากราบรรู กณิจากการรรโมดตย่าโคงรๆงสจร้าางกขทองุกคหณนะ่วกยรรงมากนารโใดนยทมกุ ีๆระดับ
แผนพัฒกานราจหัดกมิจู่บก้ารนรม/ใแนผหนมชู่บุม้านชเนศรษเปฐ็นกิจเคพรอื่อเพงกีย�งำตก้นับแกบาบรพจัฒึงมนีขาั้นตอนที่เริ่มจาก
สนเมับ่ือสไนดุน้ดบ�ำเทนบินากทาขรอมงผีปู้นราะใสหบ้เปก็นาแรกณน์ นมาีคหวราือมหรัวู้เรจี่ยัดวทห�ัำวแเปรง็นหชลุดักคใวนากมารนู้ าประชาชนใ
กิจมกีหรลรมักเสพูื่อตจรัดสก�ำาหรแรกับ้ไกขปาัญรถห่าาทยี่เทกอิดขดึ้นควหารือมอราู้ จจจัดะเเกปิด็นขึ้นแใหนลอน่งาเรคีตยนส่รงเู้สริมให้ผู้นาจัด
แชชชหผุุมมมุลใหแตแภนหชชัชกลก่อารนงนสน้เกปื้อวไาขเูปตเะศญอนัสเ้มปรปผงกูนรหสแลซ็น้าา้นูผยาาขย่ีงรึ่งเล�ำห์เคกพผน็งอรักรรรยฒัลทียเนดับ่ือะส่ิงกนนรนัรุบงกขราพักกัารวามิ้ึนสราษู้ชยรนซทรจกถาก์ุม่ึง้าหัดับเัก่ากสงาสชโยกรษคารรรคนอืาทมมวจะิมรราเาีอสากพพงมสรเ่กวดากพถรัฒม่ิรนคภรบับา้า่ือมรนวจารผรูง่วกาลูายดัตณดิเมมาคคนก่าชขารรเา่รงอาอกมู้อขใืๆอรจบกา่ือหงยแัดรขปใไก้ซาหกดนลเ่ารปยบังึ่ิจเ้้ดะะยอกส็ผนกชาชพขกิดารเลแมุานอัฒกจมรใชหชัมบินางนานนลนภกตบกรฐใ่างแา่ถาจุคานาเกงรลสคคะรนกลมีวย้ๆลจรปาะีปมุ่นใา้รัดยหรจนรตคงรขงัะาะมชคิดู้่าสก้ึนชสหมุู่บงวทาตบเาชๆร้าาพมุกัชดือกนนมาห่ือสาใศนใสตรนนนริปนูนถณม้นักว่ชใ้อมยสจยาพแุม์์เงีกรรงรบกชมกนัดาาา้ียีาันบคนนาธรงนหเว์นรานู้ชนิมดโุกมรดเู้ปาชยจร้านมัดหบีทแเมรพาผาหิ เื่อนยปา
หมเปู่บน็า้ นเคต้รนือแบขบา่ ยต่อระไปหวซา่่ึงผงกลนักาทรจั้งัดกโบั คหรงนก่วายรตงา่างนๆกนบั ออกงจคา์กกรจะกจบั ัดหขม้ึนบู่เพา้ ื่อนป้องกัน แก้ปัญ
มูลอคนื่ ่าๆใหใ้กนับลชกั ุมษชณนแะลพ้วส่ี ยอังนสนามอ้ างรรถวสมรท้างงั้ ภใชาวก้ ะาผรู้ถนอาดเสบรทิมเทรักยี ษนะกกาารรพจฒััดกนาารและพัฒนากล
เขแ้มลแะขก็งยา่ิงรขป้ึนระเสเรมิมินสตรา้ มงเเคกรณือขฑ่า์เยคขรอื่องงภมาือคปเรพะช่ือาวชานงแมผีกนารแแลละกหเปมลุน่ียวนนทรัพยากรจาก
สรก้าางรคพวาั ฒมสนัมาพไ ปันธอ์เยป็น่ าเงคไรมือ่ สข้ิ น่ายสรุ ดะหวโ่าดงยกันส รทุ ปั้งกเับปห็ นนร่วู ปยงแานบ บกับจอ� ำงลคอ์กรง กับหมู่บ้านอ่ืน
น้อกงระรบวมวทน้ังกใชา้กราพรฒัถอนดาบท5เรขียัน้นตกาอรนพหัฒลนกั าแดลังะนก้ีารประเมินตามเกณฑ์เคร่ืองมือ เพื่อวาง
พัฒนาไปอย่างไมส่ ิน้ สุด โดยสรปุ เป็นรปู แบบจาลองกระบวนการพฒั นา 5 ขั้นตอนหลัก
4
OTOP 2
1 x
GVH
5
27
หมู่บ้านเศรษฐกิจพอเพียงขยายผลใหม่ ที่ยังไม่ผ่าน
กระบวนการขับเคลื่อนการพัฒนาด้วยหลักปรัชญาของเศรษฐกิจ
พอเพียง ต้องเริ่มต้นจากขั้นตอนท่ี 1 ถึงข้ันตอนที่ 5 ส�ำหรับ
หมบู่ า้ นทผี่ า่ นการพฒั นามาแลว้ อาจใชเ้ พยี งกระบวนการทบทวน
และขับเคลื่อนการพัฒนาให้เกิดความต่อเนื่อง โดยจัดเวทีเพ่ือ
ดำ� เนินการในขั้นตอนท่ี 3 ทั้งน้ี ถ้าหมู่บา้ นไดร้ ับงบประมาณจาก
หน่วยงานภาคกี ารพฒั นา หรืออยใู่ นแผนของชุมชน ท่คี ดิ ร่วมกนั
ว่าต้องด�ำเนินการจากข้ันตอนท่ี 1 ก็สามารถด�ำเนินการได้
โดยการเพิ่มจ�ำนวนแกนน�ำหมู่บ้าน การเพิ่มจ�ำนวนครัวเรือน
ต้นแบบ การเพิ่มทักษะและส่งเสริมการบริหารจัดการชุมชน
เป็นตน้
ข้ันตอนที่ 1 กระบวนการสรา้ งแกนนำ� หมูบ่ า้ น
มีเป้าหมายเพื่อให้เกิดผู้น�ำการพัฒนาอยู่ในชุมชน และ
สามารถน�ำการพัฒนาได้อย่างมีประสิทธิภาพ ท่ีสอดคล้องกับ
บรบิ ทของชมุ ชน สรา้ งความเปลย่ี นแปลงของชมุ ชนไปสสู่ ง่ิ ทช่ี มุ ชน
ต้องการ หรือเป้าหมายที่ก�ำหนดไว้ เรียนรู้และก�ำหนดวิธีการ
จดั เก็บข้อมลู การวดั ความสำ� เรจ็ รว่ มกนั ของชุมชน
ผนู้ ำ� ชมุ ชนหรอื แกนนำ� ชมุ ชน/แกนนำ� หมบู่ า้ น จงึ ตอ้ งไดร้ บั
การฝึกอบรม เปิดรับความรู้ ปรับเปล่ียนทัศนคติ ค่านิยมท่ีมีต่อ
วถิ ชี วี ติ และฝกึ ทกั ษะการเปน็ ผนู้ ำ� ใหเ้ หมาะสม ดว้ ยการเรยี นรรู้ ว่ ม
กนั ดว้ ยกระบวนการกลมุ่ สามารถไปเสรมิ สรา้ งพลงั การเคลอ่ื นไหว
ของชมุ ชน เป็นการ สรา้ งภาวะผ้นู �ำ จดั ระบบการบรหิ ารจัดการ
ของชุมชน ไปสู่เป้าหมายที่ชุมชนต้องการ ท�ำหน้าที่เป็นผู้น�ำ
การเปลี่ยนแปลง (Change agent) การสร้างผู้น�ำการพัฒนา
28
(Change leader) เพอื่ การเคล่อื นไหวกระบวนการพัฒนาชุมชน
ใหเ้ กดิ ข้นึ อย่างตอ่ เนือ่ ง หรือช่วงโอกาสวกิ ฤตต่างๆ ของชมุ ชน
ผู้น�ำที่จะสร้างหรือพัฒนาให้เป็นแกนน�ำหมู่บ้านเศรษฐกิจ
พอเพยี งจงึ ประกอบไปดว้ ยผนู้ ำ� ทเี่ ปน็ ทางการเชน่ กำ� นนั ผใู้ หญบ่ า้ น
ปราชญ์ชมุ ชน ผนู้ ำ� อช./อช. ผ้นู �ำสตรี ผนู้ ำ� เยาวชน อาสาสมัคร
ของหน่วยงานต่างๆ หรือผู้น�ำท่ีไม่เป็นทางการแต่มีจิตอาสาท่ีจะ
เข้ามาร่วมและพร้อมท่ีจะน�ำการพัฒนา เช่น ปราชญ์ชาวบ้าน
หรือบุคคลภูมิปัญญาของชุมชนด้านต่างๆ ส�ำหรับหมู่บ้านท่ีเป็น
หมู่บ้านเศรษฐกิจพอเพียงต้นแบบแล้ว ควรสนับสนุนให้เยาวชน
คนรุ่นใหม่เข้าไปเป็นแกนน�ำหมู่บ้านให้มากย่ิงข้ึน เพื่อสืบทอด
กิจกรรมและกระบวนการพัฒนาให้เกิดความต่อเน่ืองและย่ังยืน
การฝึกอบรมท่ีจะพัฒนาแกนน�ำส�ำหรับหมู่บ้านขยายผล
(บ้านน้อง) ซ่ึงเป็นหมู่บ้านเป้าหมายท่ีจะได้รับงบประมาณจาก
กรมฯ หรือจากหน่วยงานอื่นๆ จะด�ำเนินการฝึกอบรมสร้างแกน
น�ำหมู่บ้านโดยส�ำนักงานพัฒนาชุมชนจังหวัด จังหวัดจะจัดท�ำ
หลักสูตรให้เหมาะสมกับพ้ืนท่ีและความจ�ำเป็นส�ำหรับจังหวัด
นน้ั ๆ แต่มีเปา้ หมายเดียวกนั นอกจากนีส้ ถาบนั การพัฒนาชมุ ชน
กรมการพัฒนาชุมชน ก็มีหลายหลักสูตรเพื่อพัฒนาผู้น�ำ เช่น
ปราชญ์ผู้น�ำสัมมาชีพชุมชน โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อเพิ่มทักษะ
ในการเป็นผู้น�ำ กลับไปเป็นต้นแบบในการด�ำเนินวิถีชีวิตแบบ
เศรษฐกิจพอเพียง และร่วมขับเคลื่อนการพัฒนาหมู่บ้าน ให้เป็น
หมบู่ ้านเศรษฐกิจพอเพยี ง
นอกจากน้ี รัฐบาลได้ขับเคลื่อนแผนยุทธศาสตร์การพัฒนา
ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ปี พ.ศ. 2557 - 2560
และในปี 2560 กระทรวงมหาดไทยมีการขับเคล่ือนหลักปรัชญา
29
ของเศรษฐกิจพอเพียงไปสู่การปฏิบัติจนเป็นวิถีชีวิต (SEP way
of life) โดยการจัดท�ำคู่มือและแนวทางในการด�ำเนินงาน ซ่ึงมี
คณะทำ� งานทกุ ระดบั โดยเฉพาะชดุ ปฏบิ ตั กิ ารหรอื คณะทำ� งานใน
ระดบั ตำ� บล หมบู่ า้ น ควรสนบั สนนุ ใหผ้ นู้ ำ� ทผ่ี า่ นการฝกึ อบรมแลว้
เป็นคณะท�ำงาน เพ่ือร่วมบูรณาการการท�ำงานกับเจ้าหน้าท่ีของ
หนว่ ยงานตา่ งๆ ท่เี กี่ยวขอ้ ง
ขน้ั ตอนที่ 2 การสง่ เสรมิ ครอบครัวพัฒนา
แกนน�ำหมู่บ้านเศรษฐกิจพอเพียงท่ีผ่านการฝึกอบรม
จากจังหวัด หรือหลักสูตรการพัฒนาแล้วร่วมกับเจ้าหน้าท่ีหรือ
นกั พฒั นา จดั เวทปี ระชาคมหมบู่ า้ นเพอื่ แจง้ แนวทางในการพฒั นา
หมบู่ า้ นและคดั เลอื กครอบครวั พฒั นา มาเปน็ ตน้ แบบและรว่ มเปน็
แกนหลกั ในการขับเคล่อื นการพฒั นา ซง่ึ ในระยะเริม่ ตน้ คัดเลอื ก
อย่างน้อย 30 ครัวเรือนต่อหมู่บ้าน หรือเฉลี่ยร้อยละ 30 ของ
ครัวเรือนท้ังหมด ควรเป็นครัวเรือนท่ีสมัครใจเข้าร่วมโครงการ
ใหก้ ระจายไปตามคมุ้ ตา่ งๆ ภายในหมบู่ า้ น เมอื่ พฒั นาเปน็ ครวั เรอื น
ตน้ แบบไดแ้ ลว้ จะไดข้ ยายผลสคู่ รวั เรอื นอนื่ ๆ ในบรเิ วณใกลเ้ คยี งกนั
ได้ทว่ั ทงั้ หมบู่ ้าน
30
การฝึกอบรมหรือจัดเวทีให้การเรียนรู้แก่ครอบครัวพัฒนา
เพอ่ื ใหเ้ ขา้ ใจหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง และสามารถนำ� ไป
ประยกุ ตใ์ ชใ้ นการดำ� เนนิ ชวี ติ ประจำ� วนั และเปน็ ครวั เรอื นตน้ แบบ
ในการพฒั นา ซงึ่ วธิ กี ารถา่ ยทอดความรดู้ งั กลา่ ว มคี วามหลากหลาย
โดยกรมฯ มงี บประมาณสนบั สนนุ การจดั เวทสี ำ� หรบั หมบู่ า้ นขยายผล
คือ การจัดเวทีในหมู่บ้านและไปศึกษาดูงานที่หมู่บ้านพ่ี หรือ
แหลง่ เรยี นรตู้ า่ งๆ ท่จี ะสรา้ งความเข้าใจให้แก่ครวั เรือนได้
เวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ของหมู่บ้าน วิทยากรกระบวนการ
ควรเนน้ การฝกึ วเิ คราะหต์ นเอง การท�ำบัญชรี บั จา่ ยครวั เรือน ซึง่
น�ำไปสู่การรู้จักตนเองและพึ่งตนเองได้ การวางแผนชีวิต เรียนรู้
จากเครื่องมือการพัฒนาตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
6 ด้าน 12 ตวั ช้ีวัด เพ่ือให้ครัวเรือนพฒั นาเป็นรปู ธรรม การปฏิบัติ
ระดับครัวเรือนเช่ือมโยงสู่ระดับชุมชน และเรียนรู้จากเคร่ืองมือ
เกณฑป์ ระเมนิ 4 ดา้ น 23 ตวั ชวี้ ดั และเกณฑก์ ารประเมนิ ความสขุ
มวลรวมของหมู่บ้าน 6 องค์ประกอบ 22 ตวั ช้วี ัด ซึง่ เป็นเป้าหมาย
ภาพรวม ของการพัฒนาหมู่บ้าน รวมท้ังการวางแผนในการไป
ศกึ ษาดูงาน เพือ่ ให้เห็นของจริงจากผลสำ� เรจ็ ของการน�ำปรชั ญา
ของเศรษฐกจิ พอเพยี งไปใชใ้ นชวี ติ ประจำ� วนั การพฒั นากลมุ่ และ
การพฒั นาหมู่บ้าน
การไปศึกษาดูงานของครัวเรือนพัฒนา ควรค�ำนึงถึง
ประโยชน์ที่จะเกิดขึ้นกับกลุ่มเป้าหมาย เช่น ถ้าต้องการปรับ
ทศั นคติ ตั้งปณิธานและเสรมิ สรา้ งพลังใจ อาจเลือกพน้ื ทโี่ ครงการ
อันเน่ืองมาจากพระราชด�ำริ ศูนย์ศึกษาและพัฒนาอันเนื่อง
มาจากพระราชดำ� ริ แตถ่ ้าต้องการเรยี นรกู้ ารบรหิ ารจดั การชมุ ชน
ฐานเรียนรู้หรือกิจกรรมความส�ำเร็จของกลุ่มหรือของหมู่บ้าน
31
ก็เลือกไปศึกษาจากบ้านพ่ี เป็นต้น โดยทีมเจ้าหน้าที่ วิทยากร
กระบวนการ และแกนนำ� หม่บู ้าน ต้องสรา้ งการมีสว่ นร่วมในการ
ตดั สินใจและรับผิดชอบในการจัดกระบวนการเรยี นรรู้ ่วมกนั
เม่ือครัวเรือนพัฒนาผ่านการฝึกอบรม การศึกษาดูงานแล้ว
ต้องมาจัดท�ำแผนชีวิตของครัวเรือนเพ่ือน�ำไปปฏิบัติตามหลัก
ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง และชว่ ยกนั วเิ คราะหใ์ นการจดั เกบ็
ขอ้ มลู เพม่ิ เตมิ เชน่ บญั ชคี รวั เรอื น ขอ้ มลู ทางดา้ นกายภาพ (ดนิ นำ�้
ป่า) เพ่ือน�ำไปใช้ในการจัดเวทีประชาคมวิเคราะห์ชุมชนและ
ทำ� แผนชมุ ชนในข้นั ตอ่ ไป ให้สอดคลอ้ งกบั ความจ�ำเป็นตามบรบิ ท
ของชุมชนและตามศักยภาพของระดับการพัฒนาของ แต่ละ
หมู่บ้าน ในปี 2560 - 2564 กรมฯ ส่งเสริมให้มีครวั เรอื นสัมมาชพี
ซ่ึงสามารถเป็นกลุ่มเป้าหมายครัวเรือนพัฒนา ทั้งน้ีเพื่อให้เกิด
ประโยชนส์ งู สดุ ตอ่ ประชาชนและมคี วามเหมาะสมตามสถานการณ์
ขัน้ ตอนที่ 3 เวทปี ระชาคมหมู่บ้านจัดทำ� แผนชุมชน
กระบวนการแผนชุมชน เป็นหัวใจในการเสริมสร้าง
ความเข้มแข็งของชุมชน เพ่ือแก้ไขปัญหาของชุมชน เป็นการให้
น้�ำหนักที่ “การแก้ไขปัญหาของชุมชนโดยชุมชน” แนวคิดน้ีอยู่
ภายใต้ความเช่ือว่า คนมีศักยภาพพัฒนาตนเองและชุมชนของ
ตนเองได้ ชมุ ชนมีองคค์ วามรู้ และภูมปิ ญั ญาที่ประชาชนสามารถ
นำ� มาใช้ในการพัฒนาตนเอง และชุมชนของตนเองได้
กระบวนการเสริมสร้างความเข้มแข็งของชุมชนนี้ อยู่ที่
การปรับกระบวนทัศน์และวิธีปฏิบัติให้อยู่บนพื้นฐานของการ
พ่ึงพาตนเองมากข้ึน และพ่ึงพาคนอ่ืนน้อยลง ท้ังในระดับครัว
เรือนและชุมชน การสร้างแรงบันดาลใจของคนในชุมชน จึงเป็น
32
กระบวนทัศน์ใหม่ในการพัฒนา เพ่ือแก้ไขปัญหาตามความเช่ือ
พ้ืนฐานว่า “ปัญหาใคร คนน้ันต้องแก้” ความรู้ท่ีจะน�ำมาใช้ใน
การแก้ไขปัญหาจะเร่ิมจากความรู้ท่ีมี อยู่ในชุมชน น�ำมา
แลกเปล่ียนต่อยอด โดยทุกคนมีส่วนร่วมในการให้และรับความรู้
เปน็ กระบวนการเรยี นรู้มากกว่าการฝกึ อบรม
ผลของการเรียนรู้ด้วยกระบวนการแผนชุมชน เป็นทั้ง
องคค์ วามรทู้ เ่ี กดิ จากการแลกเปลย่ี นเรยี นรู้ และการสรา้ งจติ สำ� นกึ
ถึงระบบคุณค่าในการพึ่งพาตนเองและการช่วยเหลือเกื้อกูลกัน
เป็นส่วนหน่ึงของระบบบริหารจัดการชุมชน ท่ีแสดงให้เห็น
ประสิทธิภาพของความร่วมมือและการเรียนรู้ร่วมกันของคนใน
ชุมชน เพ่ือแก้ไขปัญหาและพัฒนาชุมชนของตนเอง ชุมชนอาจ
ตอ้ งทำ� แผนหลายครงั้ หลายประเดน็ ขน้ึ อยกู่ บั ปญั หาทม่ี ากระทบ
ตามโอกาส แผนชุมชนอาจมีอยู่บ้างแล้ว การนำ� แผนมาทบทวน
ตรวจสอบ เพ่ือติดตามความก้าวหน้าและปรับเปล่ียนเพ่ิมเติมให้
เหมาะสมสถานการณ์จะเปน็ ประโยชนอ์ ยา่ งย่ิง
33
ชุมชนท่ีมีการจัดท�ำแผนแล้ว ควรท�ำความเข้าใจเกณฑ์
ประเมิน ระดับการพัฒนา (4 ด้าน 23 ตัวช้ีวัด) และเกณฑ์วัด
ความสขุ มวลรวมของหมบู่ า้ น/ชุมชน (GVH) ท�ำให้สามารถชว่ ยใน
การวเิ คราะห์ เพอ่ื จะไดร้ วู้ า่ ตอ้ งจดั เกบ็ ขอ้ มลู ใดเพม่ิ เตมิ การทบทวน
แผนชุมชนท�ำให้รู้ว่ามีส่วนท่ีได้แก้ไขปัญหาไปแล้วอย่างไร เช่น
มีการช่วยเหลือคนจนในปริมาณมากน้อยเพียงใด ด้านครอบครัว
การรวมกลุ่ม การบริหารจัดการชุมชน ด้านเศรษฐกิจ สังคม
สงิ่ แวดลอ้ ม จะมกี ารปรบั ปรงุ เปลยี่ นแปลงอยา่ งไรใหเ้ หมาะสมกบั
สภาพปญั ญาของหมู่บ้าน
วิทยากรกระบวนการ ควรเลือกประเด็นการน�ำเวทีให้
เหมาะสมกับศักยภาพและระดับการพัฒนา เช่น หมู่บ้านเร่ิมต้น
การพัฒนาหรือระดับ “พออยู่ พอกิน” ก็วิเคราะห์ตามประเด็น
ตวั ชว้ี ดั 4 ดา้ น 23 ตวั ชว้ี ดั ทเี่ ปน็ ขอ้ พน้ื ฐานของหมบู่ า้ น ประกอบดว้ ย
การสร้างความสามัคคีหรือความร่วมมือของหมู่บ้าน เช่น
การจดั ประชาคมหมบู่ า้ นหรอื การรว่ มกจิ กรรมสาธารณประโยชน์
ของหมู่บ้าน ด้วยหลักประชาธิปไตย ว่ามีการด�ำเนินการหรือ
ไม่ อย่างไร มกี ฎกตกิ าของหมบู่ ้านหรอื ไม่ เร่ิมจากขอ้ ง่ายๆ เชน่
บางชุมชนมีการต้ังค่าปรับ ถ้าครัวเรือนใดไม่เข้าประชุมหมู่บ้าน
หรือไม่ได้เข้าร่วมกิจกรรมสาธารณประโยชน์ มีการส�ำรวจข้อมูล
ของชุมชน การท�ำบัญชีครัวเรือน และน�ำข้อมูลเหล่าน้ีมาใช้ใน
การจดั ทำ� แผนชมุ ชนหรอื ไม่ มกี จิ กรรมสง่ เสรมิ คณุ ธรรม จรยิ ธรรม
หรือการปฏิบัติตามหลักศาสนาหรือไม่ มีกิจกรรมการลดรายจ่าย
การเพมิ่ รายได้ โดยใชเ้ ทคโนโลยที เี่ หมาะสมหรอื ไม่ การสรา้ งสำ� นกึ
ในการอนรุ ักษ์ทรพั ยากร เช่น ดิน น้ำ� ปา่ ไม้ ควรทำ� อย่างไร
34
นอกจากนี้ ให้วิเคราะห์ตามองค์ประกอบของเกณฑ์
การวดั ความสุขมวลรวมของหมู่บ้าน/ชุมชน (GVH) คอื สขุ ภาวะดี
มีครอบครวั อบอุ่น สร้างเศรษฐกจิ ของชมุ ชน บริหารจัดการชมุ ชน
ใหด้ ี มกี ารอนรุ กั ษท์ รพั ยากรธรรมชาตแิ ละสงิ่ แวดลอ้ ม โดยยดึ หลกั
ประชาธปิ ไตย นำ� ขอ้ มลู ทม่ี อี ยแู่ ลว้ เขา้ สกู่ ารแลกเปลยี่ นเรยี นรู้ เชน่
ข้อมูล กชช. 2 ค จปฐ. แหลง่ น�ำ้ และของหน่วยงานภาคตี า่ งๆ ท่ี
เกย่ี วขอ้ ง
ผลจากการวเิ คราะห์ จะเหน็ ว่ามบี างประเดน็ ทห่ี มู่บา้ นหรอื
ชมุ ชนไมแ่ นใ่ จวา่ เปน็ ปญั หาของชมุ ชน หรอื เปน็ เพยี งความตอ้ งการ
ตามกระแส หรือความสะดวกสบาย จึงน�ำไปสู่การจัดเก็บข้อมูล
เพม่ิ เตมิ เพอ่ื ใหไ้ ดห้ ลกั ฐานหรอื ขอ้ บง่ ชถี้ งึ ปญั หา ความรนุ แรงของ
ปญั หา เช่น ตอ้ งชว่ ยกนั จดบญั ชคี รวั เรือน สำ� รวจขอ้ มลู ดนิ นำ้� ปา่
การใชพ้ ลงั งาน เปน็ ต้น และต้องวางแผนแบง่ หน้าทีก่ นั รบั ผดิ ชอบ
และก�ำหนดระยะในการจัดเก็บข้อมูลเพ่ิมเติม และจัดประชาคม
อีกคร้งั เพอื่ นำ� ข้อมลู ไปสูก่ ารจัดท�ำหรือปรับแผนชุมชน
การท�ำงานในเชิงบูรณาการมีความส�ำคัญเป็นอย่างยิ่งใน
กระบวนการท�ำแผนชุมชน จึงควรประสานให้ ศูนย์ประสานงาน
องคก์ ารชมุ ชนตำ� บล (ศอช.ต.) เขา้ มารว่ มในเวทปี ระชาคมหรอื เปน็
วทิ ยากรกระบวนการรว่ มกนั เพอื่ ใชค้ วามสามารถความเชยี่ วชาญ
จากแต่ละหน่วยงาน แต่ละองค์กร หรือหน่วยงานท่ีเก่ียวข้องให้
พร้อมท่จี ะปฏิบัตริ ่วมกัน รว่ มรับผดิ ชอบร่วมกนั
เครื่องมอื เทคนิคในการจัดเวที
• การจดั ประชุมแบบมสี ว่ นรว่ ม (AIC)
• แผนทช่ี มุ ชน (Village Map)
• เส้นแบ่งชว่ งเวลา (Time line)
35
• เครื่องมอื ระดมสมองด้วยบัตรค�ำ (Meta plan)
• เครื่องมือส่งเสริมการมีส่วนร่วมเพ่ือการพัฒนาชุมชน
(Participation Rural Appraisal : PRA)
• การประชุมด้วยกระบวนการก�ำหนดอนาคตหมู่บ้าน
(Future Search Conference : FSC)
• เครอ่ื งมอื สรปุ ประเดน็ และแสดงความเชอ่ื มโยงดว้ ยแผนท่ี
ความคิด (Mind Map)
ส�ำหรับหมู่บ้านขยายผล ควรสนับสนุนให้มีการจัดเวที
ประชาคมท�ำแผนชุมชน และสนับสนุนการท�ำกิจกรรมสาธิต
ซ่ึงเกิดจากความต้องการทส่ี อดคล้องกับปญั หาของชุมชน เสมือน
เปน็ วงจรเลก็ ๆ ของกระบวนการแผนชมุ ชน ทเ่ี กดิ จากการใชข้ อ้ มลู
ชุมชน มาวิเคราะห์ปัญหา ท�ำแผนงาน/กิจกรรมการแก้ไขปัญหา
โดยอาจจะมีงบสนับสนุนค่าวัสดุในการสาธิตกิจกรรมการแก้ไข
ปัญหา เป็นการสง่ เสริมทกั ษะในการบริหารจัดการชมุ ชนเบื้องต้น
แก่ผู้น�ำ เพื่อให้ชุมชนน�ำแผนงานท่ีเหลือไปขับเคลื่อนและด�ำเนิน
การเช่ือมประสานกับงบประมาณโครงการต่างๆ เช่น การสร้าง
สัมมาชีพชุมชน เศรษฐกิจพอเพียงจนเป็นวิถีชีวิต และท�ำแผนท่ี
มองไปถึงกลางทาง คือการรวมกลุ่มเป็น OTOP ผู้ประกอบการ
ชุมชน วิสาหกิจเพ่ือสังคม และมีถึงปลายทางคือการสร้าง
ความยัง่ ยนื ให้กบั หม่บู ้าน/ชุมชน
ส่วนหมู่บ้านพี่ ต้องสนับสนุนให้มีการจัดเวทีทบทวน
การพัฒนาหมู่บ้าน เพื่อปรับแผนชุมชนและจัดกิจกรรมสาธิต
เป็นโอกาสให้ทีมปฏิบัติการของอ�ำเภอ ได้ไปร่วมจัดเวทีการ
แลกเปล่ียนเรียนรู้ และเพ่ิมทักษะในการบริหารจัดการชุมชน
ให้เกิดความต่อเนื่อง ท้ังน้ีในหมู่บ้านพ่ีที่เข้มแข็งก็สามารถระดม
36
พลงั ทนุ จากภายในชมุ ชน มาสนบั สนนุ การขบั เคลอื่ นในขนั้ ตอนนไี้ ด้
หรือด�ำเนินการให้สอดคล้องกับห้วงเวลาการจัดประชาคม
หมู่บา้ นโดยองคก์ รปกครองสว่ นทอ้ งถ่ิน กจ็ ะเปน็ การเสริมพลังใน
การขับเคลื่อนการพฒั นาให้มปี ระสิทธภิ าพย่งิ ขึ้น
ข้ันตอนท่ี 4 สร้างระบบการบริหารจดั การชมุ ชน
การส่งเสริมให้ชุมชนสามารถด�ำเนินงานตามแผนชุมชน
ด้วยระบบการบริหารจัดการชุมชน เพื่อเคลื่อนไหวกิจกรรมของ
ชุมชน เป็นขั้นตอนที่ส�ำคัญท่ีสุดและใช้ระยะเวลายาวนานที่สุด
โดยเร่มิ จากกจิ กรรม แผนงาน โครงการทช่ี ุมชนด�ำเนนิ การไดด้ ้วย
ตนเองก่อนและใหม้ ากที่สุด แลว้ ค่อยประสานแผนหรอื บรู ณาการ
กิจกรรม แผนงาน โครงการท่ีท�ำร่วมกับหน่วยงาน หรือขอรับ
การสนับสนนุ จากหน่วยงานภายนอกในลำ� ดับรองลงไป มิเชน่ น้นั
จะท�ำให้ชุมชนให้ความส�ำคัญหรือเฝ้ารอแต่การช่วยเหลือจาก
หนว่ ยงานภายนอก นกั พฒั นาและแกนนำ� หมู่บา้ น จงึ ต้องส่งเสรมิ
ให้คนในชุมชนโดยเฉพาะครัวเรือนต้นแบบเป็นแกนน�ำในการ
ด�ำเนินการตามแผนชีวิตของตนเอง ก่อให้เกิดเป็นกระบวนการ
ท�ำงานเร่ิมจากการพึ่งตนเอง เพ่ือแก้ปัญหาและพัฒนาครอบครัว
ตนเอง ขยายสู่วงกว้างในระดับชมุ ชน สร้างพฤตกิ รรมการด�ำเนิน
ชีวิตเพื่อส่วนรวม และน�ำไปสู่ความเข้มแข็งของชุมชน พ่ึงตนเอง
ได้อย่างยั่งยนื
การดำ� เนนิ กิจกรรมตามแผนชมุ ชน
การประสานแผนชุมชน กับแผนขององค์กรปกครอง
ส่วนทอ้ งถ่ินและแผนยทุ ธศาสตร์ ในระดับตา่ งๆ เพ่ือขยายโอกาส
37
ของชุมชนในการพัฒนาและแก้ปัญหา เพราะบางแผนงานเป็น
โครงการที่ต้องอาศัยความเชี่ยวชาญจากผู้เช่ียวชาญภายนอก
ชุมชน หรือใช้งบประมาณมากจนเกินความสามารถของชุมชน
ที่จะด�ำเนินการได้เอง อาจต้องร่วมมือกันท�ำระหว่างหน่วยงาน
ภายนอกกับชุมชน และบางกิจกรรมเป็นโครงการใหญ่มี
ความซับซ้อนมาก ต้องใช้ทักษะหลักวิชาการสูงๆ เกินขีด
ความสามารถของชมุ ชน กจ็ ำ� เปน็ ตอ้ งพง่ึ หนว่ ยงานภายนอกทง้ั หมด
การประสานแผนก็เพื่อให้ทราบว่าโครงการหรือกิจกรรมที่ชุมชน
ตอ้ งการ ตอ้ งดำ� เนนิ การดว้ ยความรอบคอบ เพอ่ื ใหเ้ กดิ ประสทิ ธภิ าพ
สงู สดุ การไดพ้ บปะพดู คยุ กบั หนว่ ยงาน องคก์ ร ชมุ ชนอน่ื ๆ จะเปน็
การร่วมกันคิดถึงรายละเอียดของโครงการ อ�ำนาจหรือพลัง
การจดั การ รปู แบบ ลกั ษณะ วธิ กี ารใหก้ ารสนบั สนนุ จากแหลง่ ตา่ งๆ
ช่องทางการแสวงหางบประมาณและทรัพยากรในการจัดท�ำ
กจิ กรรม เชน่ องคก์ รปกครองสว่ นทอ้ งถนิ่ แผนยทุ ธศาสตรจ์ งั หวดั
โครงการขับเคล่ือนการพัฒนาตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจ
พอเพียง (ส�ำนักนายกรัฐมนตรี) และกระทรวงต่างๆ รวมถึง
การขยายพื้นท่ีเป็นโครงการร่วมมือกับชุมชนข้างเคียง เป็น
โครงการภูมินิเวศ หรือโครงการความร่วมมือขยายโอกาสอ่ืน
เพือ่ ให้ผลของกิจกรรมเป็นประโยชน์ มปี ระสิทธิภาพสงู สุด
การด�ำเนินกิจกรรมในแผนชุมชน ความรับผิดชอบ
การเคล่ือนไหวกิจกรรมในแผนชุมชนนอกจากคณะท�ำงานแกน
น�ำชุมชนแล้ว คนในชุมชนเองจะต้องมีส่วนในการร่วมรับผิดชอบ
โครงการกิจกรรมสนใจ การแบ่งหน้าที่ความรับผิดชอบตาม
ความถนดั ความชอบ ความรู้ ทักษะของแตล่ ะบคุ คล แตล่ ะกลุ่ม
คน การแบ่งกันรับผิดชอบในแผนชุมชนแต่ละด้าน เช่น เป็น
38
กรรมการด้านแผนพัฒนาการเกษตร เป็นกรรมการด้านแผน
การพัฒนากองทุนและสวัสดิการ หรือเลือกรับผิดชอบกิจกรรม
เช่น เป็นกรรมการกลุ่มอาชีพ กรรมการจะต้องศึกษาหาความรู้
เพ่ือสร้างความเข้าใจในรายละเอียดของกิจกรรมโครงการนั้นๆ
ให้กับคนอ่ืนๆ ในชุมชน รับรู้ถึงความยากง่าย ลักษณะวิธีการ
ด�ำเนินกจิ กรรม ผลประโยชน์ของกจิ กรรมท่ีผู้เขา้ รว่ มจะได้รบั เป็น
การรวบรวมสมาชิกและสร้างแรงสนับสนุน ช่วยกันผลักดัน
กจิ กรรมของชุมชน
ขน้ั ตอนท่ี 5 การถอดบทเรียนและประเมินผล
การถอดบทเรียนและประเมินผลเป็นขั้นตอนที่ 5 ที่
กรมการพัฒนาชุมชนก�ำหนดไว้ส�ำหรับเป็นเวทีการส่งเสริม
การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ในการขับเคล่ือนการพัฒนาหมู่บ้าน
เศรษฐกิจพอเพียงต้นแบบ ด้วยการจัดเวทีเพ่ือประเมินผลการ
พัฒนาตามตัวชวี้ ดั ประกอบดว้ ย การประเมนิ ตามเกณฑ์ 4 ดา้ น
23 ตัวช้ีวัด เพื่อจัดระดับการพัฒนาหมู่บ้าน เป็น 3 ระดับ คือ
ระดบั พออยพู่ อกนิ อยดู่ กี นิ ดี มงั่ มศี รสี ขุ และเพอ่ื ประเมนิ ความสขุ
มวลรวมของหมบู่ า้ นและชมุ ชนครง้ั ท่ี 2 ตามเกณฑ์ 6 องคป์ ระกอบ
22 ตัวชวี้ ัด
39
กลมุ่ เปา้ หมายในการจดั เวทปี ระชาคมหมบู่ า้ น ประกอบดว้ ย
แกนนำ� หมู่บา้ น ครัวเรอื นตน้ แบบ ผ้แู ทนจากคุ้มต่างๆ ผู้แทนกลุ่ม
องค์กรตา่ งๆ ในหมบู่ ้าน ภาคกี ารพฒั นา โดยการนำ� ของวทิ ยากร
กระบวนการ (อาจเป็นเจา้ หน้าที่ นกั พฒั นา ผนู้ ำ� หรือภาคีเครอื
ข่าย) เพือ่ ร่วมกนั ประเมนิ ผลการพัฒนา ถอดบทเรยี น การพัฒนา
ค้นหาองค์ความรู้ที่เกิดจากการพัฒนา น�ำไปใช้ขยายผลในฐาน
เรียนรู้หรือศูนย์เรียนรู้ชุมชน น�ำปัญหาความเดือดร้อน ตัวช้ีวัด
ทยี่ งั ไมบ่ รรลเุ ปา้ หมาย หรอื ความลม้ เหลว มาวเิ คราะห์ วางแผนใน
การจดั เกบ็ ขอ้ มลู เพมิ่ เตมิ แลว้ นำ� ขอ้ มลู เหลา่ นนั้ เขา้ สเู่ วทปี ระชาคม
หมบู่ า้ นปรบั แผนชมุ ชน รว่ มกนั กำ� หนดกจิ กรรม แผนงาน โครงการ
เพื่อพัฒนาตอ่ ไปอยา่ งไม่มีทีส่ นิ้ สุด
นักพัฒนาและผู้น�ำชุมชน จึงควรน�ำหลักการจัดการความรู้
แบบง่ายๆ เพื่อน�ำองค์ความรู้ของชุมชน ไปจัดสถานการณ์
ให้เกิดการแลกเปล่ียนเรียนรู้ ถ่ายโอนความรู้ ใช้ฐานเรียนรู้หรือ
ศูนย์เรียนรู้ชุมชน เป็นแหล่งในการจัดการความรู้ของชุมชน
ใหส้ ามารถสอ่ื สารเขา้ ใจกนั ไดโ้ ดยงา่ ย เสรมิ สรา้ งใหเ้ ปน็ ชมุ ชนแหง่
การเรียนรู้ สร้างลักษณะนิสัยของคนในชุมชนให้รู้จักเรียนรู้จาก
ปราชญข์ องหมบู่ า้ น เพอื่ ใชอ้ งคค์ วามรขู้ องชมุ ชนในการสรา้ งระบบ
การบริหารจัดการชุมชน นักพัฒนาจึงควรใช้เคร่ืองมือ อุปกรณ์
เทคนิคต่างๆ เพ่ือช่วยเอ้ืออ�ำนวยให้เกิดกระบวนการแลกเปล่ียน
ความรู้ เนน้ การมปี ฏสิ มั พนั ธก์ นั โดยตรง การลอกเลยี นแบบจงึ ไมใ่ ช่
หลกั ประกนั แหง่ ความสำ� เรจ็ เหมอื นทตี่ น้ แบบเคยไดร้ บั ตอ้ งอาศยั
ท้งั ศาสตร์และศลิ ป์ในการท�ำให้เกิดการแลกเปลยี่ น ถ่ายทอดเพ่ือ
ตอ่ ยอดและสรา้ งสรรค์ นำ� ไปสแู่ นวทางปฏบิ ตั ทิ ม่ี ปี ระสทิ ธภิ าพและ
ประสิทธิผลสูงสดุ (Best practices) ของชุมชน ส่ิงนี้อาจไมไ่ ดร้ ับ
40
ผลตอบแทนในระยะส้ัน แต่เป็นสิ่งท่ีจ�ำเป็นในการท�ำให้เกิดการ
พัฒนาขนึ้ ในระยะยาว
หมู่บ้านขยายผล (บ้านน้อง) กรมฯ มีงบประมาณในการ
สนับสนุนการจัดเวที 1 วัน ส่วนหมู่บ้านที่ผ่านการพัฒนาและ
ประกาศเปน็ หมบู่ า้ นเศรษฐกจิ พอเพยี งตน้ แบบแลว้ (บา้ นพ)ี่ กรมฯ
ไมม่ งี บประมาณสนบั สนุนในการจัดเวที นักพัฒนาและผนู้ ำ� ชุมชน
อาจใช้เวทีประชุมประจ�ำเดือนของหมู่บ้าน ซึ่งเป็นกฎระเบียบ
หมบู่ า้ นทดี่ ำ� เนนิ เปน็ ปกตขิ องหมบู่ า้ นเศรษฐกจิ พอเพยี งตน้ แบบอยู่
แลว้ หรือชุมชนที่เขม้ แข็งกอ็ าจใชท้ นุ ภายในชมุ ชน หรอื สวัสดกิ าร
ของชมุ ชนมาสนบั สนนุ ในการดำ� เนนิ การจดั เวที
5.1 การเตรียมความพร้อมกอ่ นการประเมนิ หมู่บา้ น
1) กรมฯ จดั ทำ� คมู่ อื คำ� อธบิ ายตวั ชวี้ ดั วธิ กี าร ขนั้ ตอน
การประเมนิ
2) คณะทำ� งานระดบั จงั หวดั อำ� เภอ สรา้ งความเขา้ ใจ
แก่ผ้ปู ระเมนิ โดยใช้แนวทางค่มู อื หรือเวทกี ารประชุม
3) จังหวัดจัดท�ำแผนปฏิบัติการ เพื่อให้การส่งเสริม
สนบั สนนุ การประเมนิ หมบู่ า้ นฯ ตดิ ตาม ตรวจสอบ และรบั รองผล
การประเมนิ หมู่บ้าน
4) คณะทำ� งานระดบั อำ� เภอ ระดบั ตำ� บล ระดบั หมบู่ า้ น
ด�ำเนนิ การตามแผนปฏิบัติการ
5) ห้วงระยะเวลาของการประเมินผลการด�ำเนินงาน
ของหมบู่ า้ น ดงั น้ี
- ส่งเสริมการพัฒนาหมู่บ้าน ด�ำเนินการพัฒนา
หมู่บ้าน ส่งเสริม สนับสนุน ติดตามหมู่บ้านเป้าหมาย ประมาณ
เดอื นเมษายน - กรกฎาคม
41
- ประเมินหมู่บ้านเพ่ือเป็นหมู่บ้านเศรษฐกิจ
พอเพียงต้นแบบ ด�ำเนินการตรวจสอบ/รับรองและประกาศผล
เปน็ หมบู่ า้ นต้นแบบ ประมาณ สงิ หาคม - กนั ยายน
5.2 การประเมินหมู่บ้านและการจัดท�ำทะเบียนข้อมูล
หมู่บา้ น
1) ระดับหมู่บ้าน คณะกรรมการหมู่บ้าน ผู้น�ำชุมชน
สมาชิกองค์กรปกครองสว่ นทอ้ งถิ่น ในหมูบ่ า้ น ผูท้ รงคุณวฒุ ิ รว่ ม
เวทีประชาคมในการใหข้ ้อมูลตามแบบประเมนิ หมู่บ้านฯ
2) ระดับต�ำบล คณะท�ำงานฯ ผู้ด�ำเนินการจัดเก็บ
ข้อมูลการประเมินหมู่บ้านฯ บันทึกข้อมูลการพัฒนาของหมู่บ้าน
โดยใช้เวทีประชาคม เพ่ือให้ผู้บริหารท้องถ่ิน ก�ำนัน ผู้ใหญ่บ้าน
ตรวจสอบ ยนื ยันความครบถ้วน ถูกต้องข้อมลู ของหมู่บา้ นฯ
3) ระดับอ�ำเภอ คณะท�ำงานฯ พิจารณาตรวจสอบ
การประเมินหมู่บ้านของแต่ละต�ำบล และจัดท�ำทะเบียนข้อมูล
หมู่บา้ นฯ สง่ จังหวดั
4) ระดับจังหวัด รวบรวมทะเบียนข้อมูลหมู่บ้านฯ
ที่อ�ำเภอประเมินแล้วเป็น 3 ระดับ ส่งข้อมูลให้กรมการพัฒนา
ชมุ ชน
5.3 การประกาศหมบู่ า้ นเศรษฐกจิ พอเพยี งตน้ แบบ
1) ระดบั อำ� เภอสนบั สนนุ การจดั เวทกี ารประเมนิ ระดบั
หมู่บ้าน และรับรองผลของหมู่บ้านเพื่อเสนอเป็นต้นแบบ และ
จัดทำ� ทะเบยี นขอ้ มลู หมบู่ า้ นฯ ส่งจังหวดั
2) ระดับจังหวัด ตรวจสอบ รับรองหมู่บ้าน และ
ประกาศเป็นหมู่บ้านเศรษฐกิจพอเพียงต้นแบบ ส่งผลให้กรมการ
พัฒนาชุมชน จังหวัดด�ำเนินการประกาศเป็นหมู่บ้านเศรษฐกิจ
42
พอเพียงต้นแบบระยะเวลาการเป็นหมู่บ้านเศรษฐกิจพอเพียง
ต้นแบบมีระยะเวลา 2 ปี หลงั จากการประกาศ
3) กรมการพัฒนาชุมชน รวบรวม สรุปผลของแต่ละ
จงั หวดั เปน็ ภาพรวมของประเทศนำ� เสนอปลดั กระทรวงมหาดไทย
เพอ่ื ทราบและเผยแพรข่ อ้ มูลเพ่ือใช้ประโยชน์ตอ่ ไป
กรมฯ ท�ำแบบตัวอย่างให้หมู่บ้านได้กรอกข้อมูลที่เป็นผล
จากการประเมินและถอดบทเรียนการพัฒนา เพ่ือเป็นข้อมูล
ให้หน่วยงานภาคีการพัฒนาต่างๆ ท่ีเก่ียวข้องได้ใช้ประโยชน์
จากข้อมูล เพ่ือบูรณาการขับเคลื่อนการพัฒนาต่อไปให้เกิด
ความต่อเน่ือง เป็นชุมชนอยู่เย็นเป็นสุข พึ่งตนเองได้อย่างย่ังยืน
43
ส่วนท่ี 4
เคร่อื งมือในการพัฒนาหมูบ่ า้ นเศรษฐกิจพอเพยี งสว่ นที่ 4
แกนน�ำชุมชน เป็นกลไกหเคลัรกือ่ งในมกือใานรขกับารเคพลัฒ่ือนนาหหมมู่บ่บู ้า้านนเศรษฐกจิ พ
ผซพกนอู้ึ่งฒั ปงำ� นทกราะนุลกมก่หุ อล/มผออบมุ่บู่ ู้านงดอา้ชคา้วนาีพก์ ยอช/ตรกชพีา่/ผ.องต/เ้นูๆคงา่อท/ร�ำงกชอืหแนุๆล.ขกมอ/ุ่มาก่นผนืู่บ่ ยOู้นลนๆา้ ามุ่TานเรชเOชย/วO่นุ่มชPามTวชมุกกชOกนชพบั นลPนสคเุ่มปผมกณอผู้น็น.ลอ/ะู้นากมุ่มกทก�ำลทอพลำ�ไรออุ่งมกสัพามชห/ตนอย.ทล./์งเหัศกพรอครพัอช่ือ์กใอื ชกนย.รช/า.เ์กผตเดุพรคาูน้ผปคอื่รรำ�ลขฏือรกเิตับขอยบิา่าเรบากตัคยผวอคกิลชลงเราื่อชทนติวัรน่นุนหหกมมพู่บู่บส้า้ามนน/กซ/พก่ึงปสอ
ระดับต�ำบชลุดหปฏรือิบัตนิกักาพรรัฒะนดับาตโดาบยลกหรรมือกานรักพพัฒัฒนนาาชุมโดชยนกกรำ� มหกนารดพใัหฒ้นาชุมชน กาห
ใชเ้ คร่ืองมดอื าเสนนิ บังาสนนดนุ ังกนา้ี รดำ� เนินงาน ดังน้ี
1) 1เค) รเอื่คงรมอื่ งอื มใอืนใกนากราปรปรระะเมเมนิ ินศศกั ักยยภภาาพพแแลละะววดัดผลการพพัฒฒั นนาาของ หมู่บ้านเ
ของหมูบ่ ้า1น.1เ1บ) .1อื้ 1เ)งค2ตเรค1น้่ือต2รงัวอื่ ปมชงตรือมว้ี ัวะดัปือชกป)รวี้ อะรดั บะเ)มเดมนิ ้วนิ ตยตาามมเเกกณณฑฑ์ตต์ ัวัวชชี้วี้วัดดั 66Xx22 ((66ดด้า้านน
X2
1.2) เกณฑป์ ระเมินหมบู่ า้ นเศรษฐกิจพอเพยี งต้นแบบ ของ กระทรวง
44
1.2) เกณ ฑ์ประเมนิ 1ห.ม2ู่บ) า้ นเกเศณรษฑฐ์ปกริจะพเอมเพินียหงมตู่บน้ ้าแนบบเศขรษองฐกิจพอกเรพะียทงรวตง้นมแหบาดบไทย
ของกระทรวงมหาดไทย
2. 20.
3. 21.
4. .
5.
6..
7.
13.
8. 15.
9. 16
10 17.
11 18
12 19
เปน็ เครอื่ งมอื หรอื เกณฑก์ ารประเมนิ เพอื่ จดั ระดบั การพฒั นา
ของหมู่บ้านเศรษฐกิจพอเพียงต้นแบบ เพ่ือส่งเสริมสนับสนุน
การพฒั นาใหต้ รงตามศกั ยภาพของหมูบ่ า้ น แยกเป็น 3 ระดบั คือ
“พออยู่ พอกิน” เน้นท่รี ะดบั ครัวเรือน มีเป้าประสงคเ์ พ่อื
พัฒนากิจกรรมการพ่ึงตนเองท�ำกิน ท�ำใช้ ลดรายจ่ายเพ่ิมรายได้
และมกี ารออม ผ่านเกณฑป์ ระเมิน 10 - 16 ตวั ชีว้ ัด
45
เปน็ เครอื่ งมอื หรือเกณฑ์การประเมนิ เพอื่ จดั ระดบั การพฒั นาของหม่บู า้ นเศรษฐก
เพอื่ ส่งเส“รอิมยสู่ดนี ับกสนิ นดนุ ”ีการเนพัฒน้ ทนร่ีาใะหบต้ บรงกตาารมรศวกั มยกภลามุ่พขมอีเงปห้ามป่บู ร้านะสแงยคกเ์ เพปื่อน็ 3 ระดบั คือ
กลสดปมรดาะง่ว้ีเรรรปเบยะพาส้าอเยบฒัรมปจงมิ“ก“น“นิา่คร“กลมพอายม์กะรยา1ุ่มั่เงอ่ังสรพารู่ด7มมอยเง่ิมบีคเยีีไกค-ศรพรดู่รศนิาร์เพ2หิด้ิ่มอืยพีสรด2้วอาขรไีสุขี”ื่อยดรกา่า”ตุขรใจแ้ินเยยหะนัวเ”ลดันไ”บช้น้ะเดก้นใปบี้วมทเนเ้ทแานนกดักี็น่ีรรกี่รล้นละา้นะตาะพรบทมุ่ดทร้นอขฒับั่ีบรยเอ่ีรแยะหพกกนมะดบามามิ่ ราดัรบยู่บบรผะใรับโคา้าา่นหดวอนยรนหมรับม/ไกัวเชกปมูดกเคู่บาุมรล้แู่กบณสณุือช้าุ่มลล้าฑนคนนะภมุ่นมแ์ปนขกาลมีเ/ยรกใปาพะีเชะนาเปาร้าคชยเุมปรชบม้ารโวีชพปรุมืนิออริตะนขกรฒัิชหเส1่าะาแพนายน0งสสลรคิม่ าคง–มะก์เผคโรนพีเอเา1า์เ่าปใค่ือพกนรย6น้าร่ือพปชาไสเตือดกสรุม่งัฒพัวะขด้เชกณชสสัฒนว่้นาาง้วีรฑคยยนารัดิมผ์เ์ากพ่ากาน่ือิจรเใกบกหรณร้เรปิหฑม็นาป์กรตาจร้นระัดแ
กปารรพะกัฒอนบาดอ้วายชอพี งคจ์กดั รเสควรสัือดข่ากิ ยารชมุ ใชนนกาผรยา่ กนรเะกดณับฑคุณป์ รภะาพเมชนิีวิต2เพ3่ิมตโวัอชกาวี้ สดั การประกอบอา
ผ ่านเกณฑป์ 1ร.ะ3เ)ม ินด2ัช3นตีชัว้ีวชัดีว้ คัดวาม “อยู่เย็น เป็นสุข” หรือความสุข
1.3) ดัชนีช้ีวัดควมาวมล“รอวยมู่เขยอ็นงเหปม็นู่บสุข้าน” /ชหุมรือชนคว(าGมrสoุขsมsวลVรiวlมlaขgeองหมู่บ้าน/ชุมช
Happiness : GVHH)appiness : GVH )
GVH)
80-100
61-80
41-60
21-40
0-20
เป็นเครอ่ื งมือใช้ในการประเมินผลลัพธ์ของการพัฒนา โดยการจัดเวทีประชาค
ข้อมูลความเป็นจริงในชุมชน แล้วให้ลงคะแนนความเห็นระดับความสุขร่วมกัน โดยให้ด
ก่อนลงมือพัฒนา หมู่บ้านจะได้รู้ว่าองค์ประกอบความสุขใดบ้างท่ีต้องทากิจกรรมหรือ
แ4ล6ะประเมนิ อีกครง้ั เมอื่ ผ่านการพฒั นาในรอบ 1 ปี
เป็นเคร่ืองมือใช้ในการประเมินผลลัพธ์ของการพัฒนา โดย
การจัดเวทีประชาคมหมู่บ้าน แลกเปล่ียนข้อมูลความเป็นจริงใน
ชุมชน แล้วให้ลงคะแนนความเห็นระดับความสุขร่วมกัน โดยให้
ด�ำเนินการต้นรอบหรือก่อนลงมือพัฒนา หมู่บ้านจะได้รู้ว่าองค์
มือในการสง่ เสรปิมรกะารกเอรียบนครวู้ ไาดม้แสกุข่ ใดบ้างที่ต้องท�ำกิจกรรมหรือวางแผนในการ
พัฒนา และประเมนิ อีกครงั้ เม่ือผา่ นการพัฒนาในรอบ 1 ปี
แผนชมุ ชน 2. เคร่อื งมอื ในการสง่ เสรมิ การเรียนรู้ ไดแ้ ก่
2.1) แผนชมุ ชน
ย์เรยี นรชู้ ุมชน 47
2.2 ศูนย ์เรยี นรชู้ ุมช2น.2) ศนู ย์เรียนร้ชู ุมชน
48
ส่วนท่ี 5
กระบวนการขับเคล่อื นการนอ้ มน�ำหลักปรชั ญา
ของเศรษฐกิจพอเพียงไปสู่การปฏบิ ตั จิ นเป็นวถิ ชี ีวิต
รฐั มนตรวี า่ การกระทรวงมหาดไทยมีคำ� สงั่ กระทรวงมหาดไทย ท่ี 49
รัฐมนตรวี า่ การกระทรวงมหาดไทยมคี าส่ังกระทรวงมหาดไทย ที่