The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

เป็นนการดำเนินงานและแนวคิดการประยุกต์ใช้ หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ในการพัฒนาหมู่บ้าน ตามแนวทาง กรมการพัฒนาชุมชน

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search

แนวทางการพัฒนาหมู่บ้านตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง

เป็นนการดำเนินงานและแนวคิดการประยุกต์ใช้ หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ในการพัฒนาหมู่บ้าน ตามแนวทาง กรมการพัฒนาชุมชน

1. ความเป็นมา
รัฐบาลได้ประกาศนโยบายยึดหลักปรัชญาของเศรษฐกิจ

พอเพยี ง มาเปน็ แนวทางในการพัฒนาประเทศ ในทุกๆ มิติ เพ่ือ
สนับสนุนนโยบายของรัฐบาล กระทรวงมหาดไทยจึงจัดท�ำ
โครงการ “ขับเคลื่อนการน้อมน�ำหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอ
เพยี งไปปฏิบัติจนเปน็ วถิ ีชวี ิต (way of life)” โดยการส่งเสรมิ ให้
ประชาชนเขา้ ใจและนอ้ มนำ� หลกั ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง ไป
เปน็ กรอบในการดำ� เนนิ ชวี ติ ไมใ่ ชช้ วี ติ ตามกระแสจนกอ่ เกดิ ปญั หา
สังคมต่างๆ มากมาย โดยรัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย มี
การปรบั คำ� สงั่ กระทรวงมหาดไทยท่ี 310/2560 ลงวนั ที่ 9 มนี าคม
2560 แต่งตั้งคณะกรรมการบริหารศูนย์อ�ำนวยการขจัดความ
ยากจนและพัฒนาชนบทตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
กระทรวงมหาดไทย (ศจพ.มท.) เพื่อเป็นกลไกในการขับเคลื่อน
โครงการในระดับพ้ืนท่ี โดยมีรัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย
และรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงมหาดไทย เป็นท่ีปรึกษา
ปลดั กระทรวงมหาดไทย เปน็ ผอู้ ำ� นวยการศนู ยผ์ บู้ รหิ ารหนว่ ยงาน
ในสังกัดกระทรวงมหาดไทย และผู้แทนจากกระทรวงท่ีเกี่ยวข้อง
เป็นกรรมการ อธิบดีกรมการพัฒนาชุมชน และท่ีปรึกษาด้าน
การปกครอง ส�ำนักงานปลัดกระทรวงมหาดไทย เป็นกรรมการ
และเลขานุการรว่ ม

50

2. แนวคิดหลกั (Theme) การด�ำเนินงาน
ปรึกษา ปลัด เกพระ่ือทนรว้องมหรา�ำดลไทึกยในเปพ็นรผู้อะามนหวยากการรศุณูนยา์ผธู้บิคริหุณารโหดนย่วกยงาารนนใน้อสมังกนัด�ำและ
กรเะผทยรวแงมพหรา่หดไลทยักปแลระัชผู้แญทานขจาอกงกเรศะทรรษวงฐทก่ีเกิจี่ยพวขอ้อเงพเปียน็ งกแรรลมกะาหร ลอธักิบกดากี รรมทการรงพงัฒานนาชมุ ชน
แลขะทอีป่ งรใึกนษหาดลา้ นวกงารรชัปกกคารลอทง สี่ 9านไักปงาสนกู่ ปาลรัดกปรฏะทบิ รตัวงเิมพหอ่ืาดแไทกยป้ เญั ป็นหการครมวกาามรทแลกุ ะขเลย์ ขาากนุการ
ร่วขมองประชาชน และสร้างความอยู่เย็นเป็นสุขให้ครอบคลุมทั่ว
2. แนทวคงั้ ิดปหรลักะเ(Tทhศemแeล)ะกเากรดดิ าเคนวนิ างามนยง่ั ยนื จงึ กำ� หนดแนวคดิ การดำ� เนนิ งาน
หลักการทเพร่อืงคงนือา้อนมข“รอาสงลใกึืบนใหนสลพาวรนงะรมปัชหกราากัชลรทญณุ ี่ า9าธคิขุณไอปโงดสพู่ยกากอ่ ราปรสฏนาิบ้อนัตมิเนตพา่อื่อแแกลกะา้ปเผรัญยพแหพาัฒครห่วนาลมาักททปุกร่ียัชขญั่ง์ยายากขืนขออง”เงศปรรษะฐชกาิจชพนอแเพลียะงสแรล้าะง
“คสวืบา3มส.อานเยปปู่เย้ารห็ัชน3ญมเ.ปาา็นเขยปอสกงุขา้าพครใหอ่หดร้คาสมอเรานาบนอินตบยคง่อคกาลกลนาาุมุมรรทพพด่ัวัฒน้ืท�ำน้ังทาเปทนท่ีร่ียนิะง่ัว่ั เยงททนื าศ”ง้ั นปแลระะเกเทิดคศวา7ม6ยั่งจยืงันหจวึงกดั าห8น7ด8แนอวำ� คเิดภอการ7ด,2าเ5น5ินงาน คือ
คตรอำ� บบคลลุม7พ5ื้นท,0ี่ท3่ัวท2้ังปหรมะเูบ่ทศา้ น76แจลังหะวัด78,57800อาเชภุมอช7,น255 ตาบล 75,032 หมู่บ้าน และ 7,500

ชุมชน

4. กรอ4บ.กิกจกรรอรบมแกลิจะกระรยระมเวแลลาดะารเนะินยกะาเรวลาดำ� เนินการ

4.1) การคน้ หาและเตรียมครูฝึกระดับอาเภอ ดาเนินการในช่วงเดือนพฤษภาคม – เดอื น มถิ ุนายน
พ.ศ. 2560 โดยให้อาเภอจัดตัง้ ทมี ครฝู ึกระดบั อาเภอเพอ่ื เผยแพร่สรา้ งความเขา้ ใจหลักปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง
ปไปรใะนกพอื้นบดท้วี่ทยุกห1)มขู่บ้า้ารนา/ชชกุมาชรนเชโ่นดยพพัฒิจนาารกณาราอตาาเมภคอวปามลเัดหอมาาเภะอสมทข้อองงถพ่ินื้นอทาเี่อภาอเภขอ้ารซา่ึงชใกนาแรตค่ลรูะเทกษีม5ตค1รรูฝึก
2) ผนู้ าท้องท่ี ท้องถน่ิ 3) ปราชญช์ าวบา้ น หรือคนตน้ แบบ 4) ผู้นาศาสนา มอบกรมการพฒั นาชมุ ชนอบรมทมี

4.1) ก า ร ค ้ น ห า แ ล ะ เ ต รี ย ม ค รู ฝ ึ ก ร ะ ดั บ อ� ำ เ ภ อ
ด�ำเนินการในช่วงเดือนพฤษภาคม - เดือนมิถุนายน
พ.ศ. 2560 โดยใหอ้ ำ� เภอจดั ตงั้ ทีมครฝู กึ ระดับอ�ำเภอเพ่อื เผยแพร่
สร้างความเข้าใจหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงไปในพื้นที่
ทุกหมู่บ้าน/ชุมชน โดยพิจารณาตามความเหมาะสมของพื้นท่ี
อ�ำเภอ ซ่ึงในแต่ละทีมครูฝึกประกอบด้วย 1) ข้าราชการ เช่น
พฒั นาการอำ� เภอ ปลดั อำ� เภอ ทอ้ งถนิ่ อำ� เภอ ขา้ ราชการครู เกษตร
2) ผูน้ ำ� ท้องที่ ทอ้ งถนิ่ 3) ปราชญช์ าวบา้ น หรอื คนต้นแบบ 4) ผู้น�ำ
ศาสนา มอบกรมการพัฒนาชุมชนอบรมทีมครูฝึกระดับอ�ำเภอ
ทศี่ นู ยศ์ กึ ษาและพฒั นาชมุ ชนของกรมการพฒั นาชมุ ชน อำ� เภอละ
5 คน รวม 4,390 คน

ครฝู ึกระดับอ�ำเภอ สรา้ งทมี และฝึกอบรมครฝู ึกระดับต�ำบล
ประกอบดว้ ย พฒั นากร ปลดั อำ� เภอ เจา้ หนา้ ท่ี อปท. ผแู้ ทนกำ� นนั /
ผู้ใหญ่บ้าน ปราชญ์ชาวบ้าน หรือหน่วยงานอื่นๆ ในพ้ืนท่ี ตาม
ศักยภาพและความเหมาะสม

4.2) การฝึกอบรมหรือถ่ายทอดความรู้ให้แก่ประชาชน
เวทคี รง้ั ที่ 1 เปลย่ี น Mindset ดำ� เนนิ การในชว่ ง เดอื นกรกฎาคม
ถึงเดอื นกนั ยายน พ.ศ. 2560 ให้ครบท้งั 75,032 หมบู่ า้ น และ
7,500 ชุมชนโดยครูฝึกระดับอ�ำเภอและระดับต�ำบล ร่วมกัน

52

ถา่ ยทอดความรคู้ วามเขา้ ใจการนอ้ มนำ� หลกั ปรชั ญาของเศรษฐกจิ
พอเพียงไปสู่การปฏิบัติจนเป็นวิถีชีวิตแก่ประชาชนในหมู่บ้าน/
ชมุ ชน โดยใหใ้ ชร้ ปู แบบทมี วทิ ยากรกระบวนการ เนน้ ใหป้ ระชาชน
เข้าใจจากตัวอย่างที่ท�ำส�ำเร็จ เม่ือเข้าใจแล้วให้สามารถก�ำหนด
กรอบชีวิต (ความรู้คู่คุณธรรม) ภายใต้การก�ำกับ ส่งเสริมและ
สนับสนุน จากคณะกรรมการบริหารศูนย์อ�ำนวยการปฏิบัติการ
ขจดั ความยากจนและพฒั นาชนบทตามหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกจิ
พอเพียงระดบั จังหวัด (ศจพ.จ.) และระดบั อ�ำเภอ (ศจพ.อ.)

4.3) การน�ำไปปฏิบัติจนเป็นวิถีชีวิต ทีมครูฝึกติดตาม
หรือจัดเวทีคร้ังท่ี 2 เพื่อให้ประชาชนได้ต้ังปณิธานรายบุคคล
และให้มีสัญญาประชาคม (civil society) ของหมบู่ า้ น/ชมุ ชน
และ ศจพ.จ./ศจพ.อ. รวมทงั้ หน่วยงานตา่ งๆ ในพนื้ ท่ี สนบั สนุน
และส่งเสริมให้ประชาชน หมู่บ้าน/ชุมชน น้อมน�ำหลักปรัชญา
ของเศรษฐกิจพอเพียงไปสู่การปฏิบัติจนเป็นวิถีชีวิต ตั้งแต่เดือน
กรกฎาคม พ.ศ. 2560 เปน็ ต้นไป

4.4) หมู่บ้าน/ชุมชนประกาศตนเองเป็นหมู่บ้านท่ีได้
น้อมน�ำหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงไปปฏิบัติ ส�ำหรับ
หมบู่ า้ นและชมุ ชนทสี่ ามารถดำ� เนนิ การขบั เคลอ่ื นใหเ้ กดิ ผลสำ� เรจ็
เป็นรูปธรรม ในช่วงเดือนสิงหาคมถึงเดือนตุลาคม พ.ศ. 2560
จะเป็นการประกาศโดยประชาชนเพื่อสร้างความดีถวายเป็น
พระราชกุศล แด่ในหลวงรัชกาลท่ี 9 ส่วนประชาชนและหมบู่ า้ น/
ชุมชนอื่นๆ ท่ีอยู่ระหว่างการตั้งปณิธานและขับเคลื่อนกิจกรรม
ก็ด�ำเนินการน้อมน�ำหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงไปสู่การ
ปฏิบัติ จนเป็นวถิ ีชีวติ เมอื่ เกิดผลสำ� เรจ็ ตามเปา้ หมายและมีความ
พร้อม ก็ให้หมบู่ ้าน/ชุมชนประกาศตนเองต่อเน่ืองต่อไป

53

ดีถวายเป็นพระราชกุศล แด่ในหลวงรัชกาลที่ 9 ส่วนประชาชนและหมู่บ้าน/ชุมชน อ่ืน ๆ ที่อยู่
ระหว่างการต้ังปณธิ านและขับเคลอ่ื นกจิ กรรม กด็ าเนินการนอ้ มนาหลักปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี งไปสู่การ
ปฏบิ ตั ิ จนเปน็ วถิ ีชวี ิต เม่ือเกิดผลสาเร็จตามเปา้ หมายและมีความพร้อม ก็ให้หมบู่ ้าน/ชุมชนประกาศตนเอง

5ต.่อเโนค่ืองรตง่อ5สไป. รโคา้ รงงสแรลา้ งะแลกะลกลไไกกกกาารขรับขเคบั ลเ่ือคนลอื่ น

6. ข้ันตอนการดำ� เนินงาน :
1. การจัดประชุมมอบนโยบายและช้ีแจงแนวทาง

การขับเคล่ือนการน้อมน�ำหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
ไปสู่การปฏิบัติจนเป็นวิถีชีวิต เป็นการประชุมผ่านระบบวิดีทัศน์
ทางไกล (Video Conference : VCS) และ DOPA Channel ใน
วันที่ 8 พฤษภาคม 2560 ณ หอ้ งประชมุ 1 ศาลาวา่ การกระทรวง
มหาดไทย เพอื่ รบั ทราบนโยบาย กรอบเวลา และเขา้ ใจกระบวนการ
ข้ันตอนการขับเคลอ่ื นงานพร้อมกันทั่วประเทศ

2. กระทรวงมหาดไทยมีหนังสือส่งั การใหจ้ ังหวัดด�ำเนนิ การ
จัดประชุมคณะกรรมการบริหารศูนย์อ�ำนวยการปฏิบัติการ
ขจัดความยากจนและพัฒนาชนบทตามหลักปรัชญาของ
เศรษฐกิจพอเพียงจงั หวดั (ศจพ.จ.) ในการสร้างความเขา้ ใจใหแ้ ก่
คณะ ศจพ.จ. วางแผนและด�ำเนนิ การตามกรอบระยะเวลา และ
ขนั้ ตอนการดำ� เนนิ งาน รวมทง้ั ใหร้ ายงาน ศจพ.มท. ทราบทกุ ระยะ
ตามแนวทางในคู่มอื ทจ่ี ัดส่งให้

54

6. ข้นั ตอนการดาเนินงาน :
1. การจัดประชุมมอบนโยบายและชี้แจงแนวทางการขับเคลื่อนการน้อมนาหลักปรัชญา ของ

เศรษฐกิจพ3อเ.พียงจไัปดสปู่การรปะฏชิบัตุมิจคนเณป็นวะิถกีชีวริตรเปม็นกกาารปรรบะชรุมิหผ่าานรระศบบูนวิดยิท์อัศน�ำ์ทนางวไกยล ก( Vาidรeo
กงCาoรนปเะnศพทfฏeรรรrอ้ วeิบมษงnกมcัตนั eหฐทาิกก่วั:ดปVไิาจรทCะรSยพเ)ทขเแศอพลจื่อะเัรดพับDคทียOรPวงาAบาอนCม�ำโhยaเยบnภาnายeอกlกจใรน(อนวศบันเแทจวี่ลล8พาะพ.แอฤลพษะ.ัภเฒ)ขา้าคนใเมจพกา2ร่ือ5ชะ6บส0นวรนณบก้าหทางร้อตงคขปั้นารวะตมชาอุมนมป1กเราศขรัชาขล้ัาบญาเวใค่าจลาก่ือานร
การด2�ำ. กเรนะทินรวงงามหนาดไแทยตมีห่งนตังส้ังอื คสง่ัรกูฝารึกใหร้จังะหดวัดับดาตเน�ำนิ กบารลจัดจปัดระทชุม�ำคแณผะกนรรปมฏกาิบรบัตริหิกาารศรูนย์
ก(อศาาจสรรนพดะวน.าจยดเ.นั)บกบันิใานสงรกตาปานนำ�รฏสรบุนิบรว้าัมตลคงทิกคงั้ราวคใารหูฝมรขร้ เฝจูาขึกยัา้ดกึ ใงรคจารใวนะหะาดแ้ศมดกจยับ่พบัคา.ณกมอตทจะ�ำ.ำ�นทศเบแรจภาลพลบะ.อจทพไ.ุกัฒปวรนาะอจงายแดชับะผนเตนรบวาแทมมทลตแะถาถีนดมวาา่่าหทเนยลยาินงักทใทกปนาอรคอรัชูม่ตดญือดาคทมาคขีจ่กวอดัรวางอสเบ่งามศใรรหมระษ้ ยกู้ฐระกาูเ้แิจวรลพกนาอ่เคแอ้พลียรมะงขูฝจนั้นังึกตหำ� อวนัด
หลักป3.รจัชัดญปราะขชุมอคงณเะศกรรษรมฐกการิจบพริหอาเรพศูนียยง์อไาปนวสยู่กกาารรปปฏิบฏัติบิกาัตริจขจนัดเคปวา็นมวยิถากีชจีวนิตและ
พฝระึกัฒใใดรนนนะับดาตกรชับานตะาบาบลรดบทไลดปตับจาจำ� มัหดัดเทปเนมวารทแัชนิ ู่บผีถญนง่า้าาปยาเฏศทนนิบรอแษัตดดฐิกคลงักาวริะนจาพมสช้ี นรอู้กัุบมเพาสชีรยนนงุนนอ้อคามรเูฝนภใึกาอหรหะ(ล้ดคศักับจปรอพราบ.ัชเอภญ.ทอ)าเุขกอพอบื่อพงรสเมศร้ืนท้ารองษทคดฐวคก่ีโาวิจดมาพเมขยอร้าู้แเใใพกจหียก่คงาร้มไรูฝปดึกอสารู่เกะนบาดินรับภงปาตฏนาาิบบรแัตลตกิจ่งนคติจเร้ังปูฝค็นึกรู

วิถีชีวติ ในระดับหมบู่ ้านและชุมชน ให้ครบทุกพน้ื ทีโ่ ดยให้มอบภารกิจในการดาเนนิ งานดงั นี้

7.7กา.รวกดั ผาลรสวาเรัดจ็ ผลสำ� เรจ็

1 ) ใปวน1รัดะ3.จชาดปากวไชา้ ปนจนรดั า(ปะนไเจศดวชฏร้นานษอ้ปากบิฐมรกชนะัติจจชานาห,ิจำ�กชลานนนักไรทปดดวเ่ีไราดป้นรัชน้ตงญน็ช้ังอ้ปาปวี ขวิตมณรอ,ิถใิธงะนชเาศ้ชีทนชำ�รรแีวษัาพหลฐยิตะชกลาปิจกนรกัพระ)ทอเปมไเพมินไี่ รน่ียผดงอ้ชัลไต้ยกปญกาปง้ัวรฏา่ปปาิบฏ9ขณตัิบขจิอัต้อนธิิตงเจนปาเาเ็นศนกอวง1ถิรแผ5ชี ษ่าลีวขนติ อ้ฐะเก)กปณฑิจร์ตพะามเอแมบเนิบพปผียระลงเมิน
การปฏบิ ตั ติ นเอง ผา่ นเกณฑต์ ามแบบประเมนิ ใน 3 ดา้ น
(เศรษฐกจิ , การดำ� รงชวี ติ , ใช้ทรัพยากร) ไมน่ ้อยกวา่ 9
ขอ้ จาก 15 ขอ้

55

2. หมู่บ้าน/ชุมชน ได้น้อมน�ำหลักปรัชญาของเศรษฐกิจ
พอเพียงไปปฏิบตั ิจนเป็นวถิ ชี วี ติ

วดั จาก จำ� นวนหมู่บ้าน/ชุมชน ท่ไี ดท้ �ำสัญญาประชาคม
แลว้ ประเมนิ ผลการปฏบิ ตั ใิ นภาพรวมของหมบู่ า้ น/ชมุ ชน
และใช้เวทีประชาคมประกาศตนเอง ผ่านเกณฑ์ตาม
แบบประเมิน ใน 4 ด้าน (เศรษฐกิจ, การมีส่วนร่วม,
ศักยภาพของหมู่บ้าน/ชุมชน, การบริหารจัดการ
ทรพั ยากร) ไมน่ อ้ ยกว่า 12 ข้อ จาก 20 ขอ้

56

57

อธิบายความเชื่อมโยงของการขับเคล่ือนปรัชญา
ข อ ง เ ศ ร ษ ฐ กิ จ พ อ เ พี ย ง ไ ป สู ่ ก า ร ป ฏิ บั ติ จ น เ ป ็ น วิ ถี ชี วิ ต
(Sep : way of life) และการสร้างสัมมาชีพชุมชน ในหมู่บ้าน
เศรษฐกิจพอเพียง โดยใช้ภาพด้านล่าง นี้

การขบั เคลอ่ื นปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี งไปสกู่ ารปฏบิ ตั ิ
จนเป็นวิถีชีวิต (Sep : way of life) และการสร้างสัมมาชีพชุมชน
เปน็ กจิ กรรมของกรมฯ ทสี่ ง่ เสรมิ การขบั เคลอ่ื นเศรษฐกจิ พอเพยี ง
ขนั้ พน้ื ฐาน เพอื่ ใหบ้ คุ คล ครวั เรอื น ลดการพงึ่ พา ละความฟมุ่ เฟอื ย
เลิกอบายมุข โดยการสร้างสัมมาชีพชุมชนมุ่งเน้นให้เกิดอาชีพ
มรี ายได้ ตอบสนองการผลติ ในระบบเศรษฐกจิ ของชมุ ชน แตส่ าเหตุ
ส�ำคัญของปัญหาในชุมชนคือการบริโภคท่ีเกินตัวและบริโภค
ในสิ่งท่ีชุมชนผลิตไม่ได้ หรือพฤติกรรมการบริโภคตามกระแส
กิจกรรม Sep : way of life จึงมุ่งเน้นให้ประชาชนในชุมชน

58

เข้าใจและปรับเปล่ียนพฤติกรรมชีวิต สู่การลดการพ่ึงพา
ละความฟุ่มเฟือย เลิกอบายมุข โดยกระบวนการบริหารจัดการ
ของชุมชน คือใช้เวทีชาวบ้านในการแลกเปล่ียนเรียนรู้และ
ขับเคลื่อนกิจกรรม จากภาพด้านบนจึงเป็นกิจกรรมขยายความ
ทับซ้อนของวงกลมการผลิต การบริโภคให้ได้มากที่สุด
ซ่ึงสอดคล้องกับเครื่องมือการพัฒนาคุณภาพชีวิต (จปฐ.) ที่กรมฯ
ได้ส่งเสริมมาอย่างต่อเนื่อง เช่น การให้ประชาชนรู้จักปลูกพืช
ผัก เลี้ยงสัตว์ไว้บริโภค ท�ำส่ิงของใช้เอง เหลือก็ขายท�ำให้เกิดราย
ได้ บริโภคในสิ่งท่ีจ�ำเป็นเน้นปัจจัยส่ี ลดค่าใช้จ่ายที่ไม่จ�ำเป็น ลด
ละเลิก อบายมุข เช่น บุหร่ี สุรา ไม่เกี่ยวข้องกับยาเสพติด
และนำ� เงนิ ทเ่ี หลอื จากการอดจากสงิ่ ของทไ่ี มจ่ ำ� เปน็ ในการบรโิ ภค
หรือจากการงดอบายมุข มาเป็นเงินออม ไว้ช่วยเหลือกันเอง
ในชุมชน การเรียนรู้เพื่อมาปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเหล่านี้
จะทำ� ใหค้ รอบครวั อบอนุ่ เกดิ ความรกั ความสามคั คี มคี วามรว่ มมอื
ในการบ�ำรุงดูแลสิ่งสาธารณประโยชน์ เกิดประโยชน์สุขส่วนรวม
และจากข้อมูล จปฐ. ข้อ 22, 23, 24, 25 สามารถประเมิน
เป็นตัวเงิน แสดงผลลัพธ์ของการพัฒนาได้

การแกไ้ ขปญั หาเศรษฐกจิ และสงั คมในชมุ ชน โดยมงุ่ จดั การ
ที่รากเหง้าของปัญหา คือ การผลิตในสิ่งท่ีต้องบริโภคใช้สอย
ในครวั เรอื น หรอื ในชมุ ชน หรอื การบรโิ ภคในสงิ่ ทช่ี มุ ชนผลติ ไดเ้ อง
ไม่ต้องซื้อหามาจากภายนอก ลดพฤติกรรมตามกระแส บริโภค
ในส่ิงท่ีไม่จ�ำเป็น มีความพอประมาณ มีเหตุผล มีความสมดุล
ระหว่างรายได้กับรายจ่าย หมู่บ้าน/ชุมชนจึงต้องมีระบบการ

59

สร้างการเรียนรู้ ใช้คุณธรรมในการบริหารจัดการชุมชน ผลของ
การส่งเสริมกิจกรรมเหล่าน้ีเป็นการสร้างภูมิคุ้มกันในตัวท่ีดี ตาม
หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง กิจกรรม Sep : way of life
จึงเป็นกิจกรรมท่ีเช่ือมโยงไปกับการสร้างสัมมาชีพชุมชน
ในหมู่บ้านเศรษฐกิจพอเพียง และสอดคล้องกับแนวทาง
ของกระทรวงมหาดไทย ตามคู่มือ “การน้อมน�ำหลักปรัชญา
ของเศรษฐกิจพอเพียงไปสู่การปฏิบัติจนเป็นวิถีชีวิต” เน้น
ให้ประชาชนในหมู่บ้าน/ชุมชนท่ัวประเทศ เข้าใจ และน้อมน�ำ
หลกั ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี งมาเปน็ กรอบในการดำ� เนนิ ชวี ติ
“รู้กิน รู้อยู่ รู้ใช้” เพื่อส่งเสริมให้เกิดความสามารถในการ
พ่ึงตนเอง ลดการพ่ึงพาจากภายนอก เพื่อเตรียมพร้อมรับ
ผลกระทบและการเปล่ียนแปลงด้านต่างๆ ท่ีจะเกิดข้ึนในอนาคต
ทั้งใกล้และไกล เป็นการสร้างความพร้อมข้ันพื้นฐานอันมั่นคง
ในการพัฒนาในขั้นเศรษฐกิจพอเพียงระดับก้าวหน้า ต่อไป

60

ภาคผนวก

ค�ำอธิบายตวั ช้ีวดั
1. ดา้ นจติ ใจและสังคม 7 ตัวชี้วดั ประกอบด้วย

1.1 มีความสามัคคีและความร่วมมือของคนในหมู่บ้าน
หมายถึง มีการประชุม/จัดเวทีประชาคมเพื่อแก้ไขปัญหาหรือ
เพื่อการพัฒนา และคนในหมู่บ้าน/ชุมชนมีส่วนร่วมในกิจกรรม
ต่างๆ ของหมูบ่ า้ น

1.2 มีข้อปฏิบัติของหมู่บ้าน หมายถึง มีข้อตกลงร่วมกัน
เพ่ือให้คนในหมู่บ้าน/ชุมชนต้องปฏิบัติควรปฏิบัติและ/หรือ
ข้อห้ามปฏิบัติ ซ่ึงสอดคล้องกับค่านิยม วัฒนธรรม ประเพณี
เพอื่ ให้เกดิ ความสงบสุข

1.3 มีกองทุนในรูปแบบสวัสดิการแก่สมาชิก หมายถึง
หมู่บ้านมีกองทุนสวัสดิการแก่สมาชิกในชุมชน และมีการจัด
สวัสดิการภายในหมู่บ้าน/ชุมชนท่ียากจน ด้อยโอกาสและคนท่ี
ประสบปญั หา

1.4 ยดึ มน่ั ในหลกั การประชาธปิ ไตย หมายถงึ คนในหมบู่ า้ น/
ชุมชนมีความต่ืนตัวและรู้จักรักษาสิทธิหน้าท่ี และเสรีภาพทาง
การเมืองและในฐานะพลเมอื งของประเทศ 

1.5 มีคณุ ธรรม/จริยธรรม หมายถงึ หมู่บ้าน/ชมุ ชนยึดมนั่
ในคณุ ธรรม/จรยิ ธรรมอนั ดีงาม ซึง่ คนในหมู่บา้ น/ชุมชนประพฤติ
ตนและปฏิบตั ิร่วมกันในการด�ำรงชีวิต

61

1.6 คนในหมู่บ้าน/ชุมชนปลอดอบายมุข หมายถึง คนใน
หมู่บ้าน/ชุมชนปฏิบัติตนเพื่อลด ละ เลิกอบายมุข โดยวิธีการ
ตา่ งๆ และไมเ่ กี่ยวข้องกับอบายมขุ

1.7 มีความเชื่อม่ันในปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
หมายถงึ หมบู่ า้ น/ชมุ ชนเรยี นรู้ เขา้ ใจ และนำ� หลกั การตามปรชั ญา
ของเศรษฐกิจพอเพยี งมาปฏบิ ัติเป็นแนวทางในการด�ำรงชีวติ
2. ดา้ นเศรษฐกจิ 5 ตัวช้วี ัด ประกอบดว้ ย

2.1 มีการจดั ทำ� บญั ชีครัวเรอื น หมายถงึ คนในครัวเรอื นมี
การจดั ท�ำบัญชี รายรบั -รายจา่ ย ของครวั เรอื นเป็นประจ�ำ

2.2 มีกิจกรรมลดรายจ่ายและสร้างรายได้ หมายถึง
คนในหมู่บ้านมีการท�ำกิจกรรมเพ่ือลดรายจ่ายในชีวิตประจ�ำวัน
และสามารถสร้างรายได้เพิม่ จากกจิ กรรมดังกลา่ วได้ 

2.3 การรวมกลุ่มเพ่ือพัฒนาอาชีพของหมู่บ้าน หมายถึง
คนในหมบู่ า้ นมกี ารเรยี นรู้ ปรบั ปรงุ และพฒั นาการประกอบอาชพี
ร่วมกันเป็นกลุ่มทั้งในด้านการผลิต การตลาด การจัดการ และ
เงนิ ทุน เพ่อื ให้ได้ผลผลิตมากขึน้ และมคี ณุ ภาพดีขึ้น  

2.4 มีกิจกรรมการออมที่หลากหลาย หมายถึง หมู่บ้านมี
การส่งเสริมให้คนในหมู่บ้านเป็นสมาชิกกลุ่มออมทรัพย์ต่างๆ
และ/หรอื สง่ เสรมิ กลมุ่ ออมทรพั ยต์ า่ งๆ พฒั นารปู แบบการออมเงนิ
ใหห้ ลากหลาย (กลมุ่ ออมทรพั ยเ์ พอื่ การผลติ กลมุ่ ออมทรพั ยส์ จั จะ
กองทุนหมู่บ้าน เยาวชน) เพ่ือนำ� ไปลงทนุ

62

2.5 มีการด�ำเนินงานในรูปแบบวิสาหกิจชุมชน หรือกลุ่ม
ที่มีการด�ำเนินงานในลักษณะเดียวกับรูปแบบวิสาหกิจชุมชน
หมายถึงหมู่บ้านมีการจัดตั้งและบริหารจัดการกลุ่มในรูปแบบ
วิสาหกิจชุมชน หรือกลุ่มที่มีการด�ำเนินงานในลักษณะเดียวกับ
รปู แบบวสิ าหกิจชุมชน
3 ด้านการเรยี นรู้ 7 ตวั ช้วี ัด ประกอบดว้ ย

3.1 มีข้อมูลของชุมชน หมายถึง มีกระบวนการจัดเก็บ
รวบรวม วเิ คราะห์ สังเคราะห์ข้อมูลต่างๆ ของชมุ ชน

3.2 มีการใช้ประโยชน์จากข้อมูลชุมชนและแผนชุมชน
หมายถึง ใช้ข้อมูลของหมู่บ้านในกระบวนการจัดท�ำแผนชุมชน
ซ่ึงเป็นแผนที่แสดงถึงทิศทาง แนวทาง วิธีการแก้ไขปัญหาและ
พัฒนาหมบู่ า้ น

3.3 มกี ารคน้ หาและใชภ้ มู ปิ ญั ญาทอ้ งถน่ิ ในการสรา้ งคณุ คา่
หมายถึง หมู่บ้านมีกระบวนการสืบค้น รวบรวม จัดหมวดหมู่
และเรียนรู้จากความรู้หรือภูมิปัญญาด้ังเดิมท่ีมีอยู่ในท้องถิ่น
และใชป้ ระโยชน์เพือ่ เพม่ิ คณุ ค่าหรือมลู ค่า

3.4 มีการจัดต้ังศูนย์เรียนรู้ในชุมชน หมายถึง หมู่บ้านมี
การจดั สถานท่ีส�ำหรับเป็นศนู ยเ์ รียนรูใ้ ห้คนในและนอกหมู่บ้านได้
คน้ ควา้ หาความรู้ เรยี นรู้ องคค์ วามรู้ และใชค้ วามรใู้ นการดำ� รงชวี ติ

3.5 มกี ารใชเ้ ทคโนโลยที เ่ี หมาะสมกบั ศกั ยภาพของหมบู่ า้ น/
ชมุ ชน หมายถึง มกี จิ กรรมการเรียนรู้และถ่ายทอดเทคโนโลยีและ
วทิ ยาการใหมๆ่ โดยคนในชมุ ชนหรอื นอกชมุ ชน และมกี ารนำ� ไปใช้
อย่างเหมาะสมและเกิดความคุม้ ค่า

63

3.6 มีการสร้างเครอื ข่ายภาคกี ารพัฒนา หมายถึง หมูบ่ ้าน
มีกระบวนการเช่ือมโยงเครือข่าย ในระดับกลุ่มและ/หรือระดับ
หมูบ่ า้ นเพอ่ื แลกเปล่ยี นเรียนรูข้ อ้ มูลขา่ วสาร ประสานงานและทำ�
กจิ กรรมตา่ งๆ

3.7 มีการปฏิบัติตามหลักการของการพ่ึงตนเอง หมายถึง
คนในหมูบ่ า้ น “คดิ เปน็ ท�ำเป็น แกป้ ญั หาเปน็ ”
4. ดา้ นทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละสง่ิ แวดลอ้ ม 4 ตวั ชวี้ ดั ประกอบดว้ ย

4.1 จิตส�ำนึกของการอนุรักษ์ ทรัพยากรธรรมชาติและ
สิ่งแวดล้อม หมายถึง หมู่บ้านมีการสร้างจิตส�ำนึกดูแล รักษา
ทรพั ยากรธรรมชาติและสงิ่ แวดลอ้ มในหมู่บา้ น

4.2 มกี ลมุ่ /องคก์ รดา้ นสงิ่ แวดลอ้ ม หมายถงึ หมบู่ า้ นมกี ลมุ่ /
องค์กรที่คนในหมู่บ้านร่วมกันท�ำกิจกรรมเพื่ออนุรักษ์ทรัพยากร
ธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม และเชื่อมโยงเป็นเครือข่ายกับกลุ่ม/
องคก์ รด้านสงิ่ แวดลอ้ มอ่นื ๆ

4.3 มกี ารใชพ้ ลงั งานทดแทนทส่ี อดคลอ้ งกบั สภาพแวดลอ้ ม
ของชมุ ชน หมายถงึ หมบู่ า้ นมกี ระบวนการสง่ เสรมิ ใหค้ นในหมบู่ า้ น
เรียนรู้ ทดลอง และเลือกใช้พลังงานทดแทนต่างๆ ท่ีเหมาะสม
สอดคล้องกับสภาพแวดลอ้ มและสภาพเศรษฐกิจ 

4.4 มีการสร้างมูลค่าเพ่ิมจากทรัพยากรธรรมชาติและ
ส่ิงแวดล้อม หมายถึง หมู่บ้านมีกระบวนการเรียนรู้ พัฒนาและ
จัดการการใช้ประโยชน์จากทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดล้อม
เพ่ือให้เกิดรายได้อย่างยงั่ ยืน

64

แบบประเมินตนเอง (Checklist/Guideline) ของครัวเรือนในการนอ้ มนำ� หลักปรชั ญา
ของเศรษฐกจิ พอเพยี งไปสู่การปฏบิ ัตจิ นเป็นวิถชี ีวติ

65 กจิ กรรม เปรยี บเทยี บ
1. ด้านเศรษฐกจิ กอ่ นดำ� เนินการ หลังดำ� เนนิ การ

• ท�ำบัญชีรายรบั - รายจา่ ยอย่างสม่�ำเสมอ ❒❒
• วางแผนการใช้จา่ ยและจัดสรรค่าใช้จา่ ยตามความเหมาะสม ❒❒
• ออมเงนิ ไวใ้ ชย้ ามฉกุ เฉนิ จำ� เป็น ❒❒
• มกี ิจกรรมลดรายจ่าย เพ่ิมรายได้ ❒❒
2. ดา้ นการดำ� รงชวี ติ
• มคี วามสุข พอใจกบั ชีวิตทเ่ี ป็นอยู่ ❒❒
• มีความรกั ความอบอ่นุ มีกิจกรรมรว่ มกันในครอบครวั ❒❒
• มสี ขุ ภาพกายและใจดี ❒❒
• ประกอบสัมมาชพี ด�ำรงชีวติ ด้วยความขยันหมน่ั เพยี ร ประหยัด
และซอ่ื สัตยส์ ุจริต ❒❒
• สมาชิกในครัวเรือนไมเ่ กี่ยวข้องกบั ยาเสพติดและอบายมุขอื่นๆ
❒❒

66 เปรียบเทียบ

กจิ กรรม กอ่ นด�ำเนินการ หลังด�ำเนินการ
• มีการวางแผนในการดำ� เนนิ ชีวิต พูดคุยแลกเปลี่ยนความคิดเหน็
กนั ในครัวเรือน ❒❒

• ใชเ้ หตุผลประกอบการตดั สินใจ ❒❒

• เปน็ แบบอย่างท่ีดีของครอบครัว/บคุ คลทัว่ ไป ❒❒

3. ดา้ นการบริหารจดั การทรพั ยากร
• ผลิตอาหารที่ปลอดภัยไว้บริโภคในครวั เรอื น ❒❒

• นำ� ทรัพยากรทีเ่ หลอื ใช้มาสร้างความคุม้ ค่า ❒❒

• มีการเรยี นรู้และน�ำภมู ปิ ญั ญาทอ้ งถน่ิ มาใช้ประโยชนใ์ นการด�ำเนินชวี ติ ❒ ❒

คะแนนรวม
หมายเหต ุ 1. ครัวเรือนประเมินตนเองก่อนและหลงั การนอ้ มนำ� หลกั ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียงมาปฏบิ ัติ
2. กาเครื่องหมาย  ✓  ในกจิ กรรมทีด่ �ำเนินการ
3. ในการประเมินตนเองมคี ะแนนเต็ม 15 คะแนน (กิจกรรมละ 1 คะแนน) โดยต้องมีการท�ำกจิ กรรมครบทั้ง 3 ดา้ น
และไดค้ ะแนนรวมไม่ต�่ำกว่า 9 คะแนน (ร้อยละ 60) จึงจะผา่ นการประเมิน

แบบประเมินตนเอง (Checklist/Guideline) ของหมู่บ้าน/ชุมชน
ในการนอ้ มนำ� หลักปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียงไปส่กู ารปฏิบัตจิ นเป็นวิถีชีวิต

เปรยี บเทียบ
กจิ กรรม ก่อนดำ� เนนิ การ หลงั ดำ� เนนิ การ
1. ด้านเศรษฐกจิ
• สนบั สนนุ ครัวเรอื นให้มกี ารออม ❒❒

• ครวั เรอื นมีการประกอบอาชีพโดยคำ� นงึ ถึงศกั ยภาพและทรัพยากร ❒ ❒
ในหมู่บ้าน/ชมุ ชน
• มกี ารสรา้ งงานในหมู่บา้ น/ชุมชนเพ่อื ลดการอพยพแรงงาน ❒❒

• หมูบ่ ้าน/ชุมชนเขม้ แข็ง พึง่ พาตนเองได้ มีพลงั ในการพฒั นา ❒❒
และแก้ไขปัญหาในพนื้ ทไี่ ดด้ ้วยตนเอง และมีการพฒั นาหมบู่ ้าน/
ชุมชนอย่างตอ่ เนอื่ ง
2. ดา้ นสนับสนนุ การมีส่วนร่วม
• มกี ารรวมกลุ่มและองค์กรทเี่ ขม้ แข็งในชุมชน ❒❒

67 • มเี วท/ี กจิ กรรมการแลกเปลี่ยนความคิดเห็น องคค์ วามร้ใู นหมู่บา้ น/ชุมชน ❒ ❒

• มีแกนนำ� หมู่บา้ น/ชุมชน ปราชญช์ าวบา้ น/ชมุ ชน นักวจิ ยั ชมุ ชนเข้มแข็ง ❒ ❒

68 เปรียบเทียบ

กจิ กรรม ก่อนดำ� เนนิ การ หลงั ด�ำเนนิ การ
• มีเครือข่ายการพัฒนาท่ีรว่ มมอื ช่วยเหลือ แบง่ ปนั กนั ❒❒

• มีการจัดท�ำแผนพัฒนาหมบู่ ้าน/ชมุ ชน ❒❒

• มคี วามสามคั คแี ละความรว่ มมอื ของคนในหมู่บ้าน/ชมุ ชน ❒❒

3. ด้านศักยภาพหม่บู า้ น/ชุมชน
• มฐี านข้อมูลหมู่บา้ น/ชุมชนท่ีจัดเก็บเปน็ ระบบ ทงั้ ทุนทางสังคม เศรษฐกิจ
และทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละสิง่ แวดล้อม ❒ ❒

• มีศนู ย์เรยี นรู้/แหล่งเรียนรู้ และมวี ิทยากรท่พี รอ้ มถา่ ยทอดองคค์ วามรู้ ❒ ❒

• คนในหมู่บ้าน/ชุมชนมีความเอือ้ อาทร แบง่ ปนั กนั มีจิตสาธารณะ สามัคคี ❒ ❒
ร่วมพฒั นาหมู่บ้าน/ชมุ ชนอย่างตอ่ เนอ่ื ง
• อนุรกั ษ์และต่อยอดภูมปิ ญั ญาท้องถ่ิน และสบื ทอดวฒั นธรรม
ประเพณที ้องถ่นิ จากรนุ่ สรู่ ุ่น ❒❒

• บรหิ ารจดั การและอนรุ กั ษท์ รพั ยากรธรรมชาตแิ ละสง่ิ แวดลอ้ มของหมบู่ า้ น/ ❒ ❒
ชุมชนอยา่ งยั่งยนื
• สมาชิกในชมุ ชนเขา้ ถึงบรกิ ารสขุ ภาพที่ดียามเจบ็ ปว่ ย ❒❒

เปรียบเทยี บ
กจิ กรรม กอ่ นดำ� เนนิ การ หลังดำ� เนินการ
• ปลอดอบายมุข ❒❒

• คน้ หาและใช้ภมู ิปญั ญาในการสร้างคุณคา่ ❒❒

• รวบรวมและจัดทำ� เอกสารเพ่อื การเผยแพร่ความรู้ ❒❒

4. การบรหิ ารจัดการทรพั ยากร ❒❒
• มกี ารใชเ้ ทคโนโลยีท่เี หมาะสมกบั หมบู่ า้ น/ชุมชน
คะแนนรวม
หมายเหต ุ 1. หมบู่ า้ น/ชุมชนประเมนิ ตนเองกอ่ นและหลังการน้อมน�ำหลักปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียงมาปฏิบตั ิ
2. กาเคร่อื งหมาย  ✓  ในกิจกรรมทด่ี �ำเนินการ
3. ในการประเมนิ ตนเองมคี ะแนนเต็ม 20 คะแนน (กิจกรรมละ 1 คะแนน) โดยตอ้ งมกี ารท�ำกจิ กรรม ครบทงั้ 3 ดา้ น
และไดค้ ะแนนรวมไม่ตำ่� กวา่ 12 คะแนน (รอ้ ยละ 60) จึงจะผา่ นการประเมิน

69

บรรณานกุ รม
มูลนิธพิ ระดาบส. ค�ำพอ่ สอน ประมวลพระบรมราโชวาท

และพระราชด�ำรัสเก่ยี วกับเศรษฐกิจพอเพียง.
กรุงเทพฯ : 2551
สำ� นกั งานคณะกรรมการพเิ ศษเพ่ือประสานงานโครงการ
อนั เนอ่ื งมาจากพระราชดำ� ริ. เศรษฐกจิ พอเพยี ง
ชถี้ งึ แนวทางการดำ� รงชีวติ . กรุงเทพฯ : 2552
สำ� นักเสรมิ สรา้ งความเขม้ แขง็ ชมุ ชน. แนวทางการด�ำเนินงาน
พฒั นาหมูบ่ า้ นเศรษฐกิจพอเพียงต้นแบบ.
กรงุ เทพฯ : 2558
1) ส�ำนักงานปลัดกระทรวงมหาดไทย คู่มือ การน้อมน�ำ
หลกั ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี งไปสกู่ ารปฏบิ ัตจิ นเปน็
วถิ ีชวี ติ กรงุ เทพ. 2560
2) กรมการพัฒนาชุมชน แบบสอบถาม ข้อมูลความจ�ำเป็น
พืน้ ฐาน ปี 2560 - 2564 กรุงเทพ. 2559

70

คณะผู้จดั ท�ำ

ที่ปรกึ ษา
นายอภิชาต โตดิลกเวชช์ อธบิ ดกี รมการพัฒนาชุมชน
นายอรรษิษฐ์ สัมพันธรตั น์ รองอธิบดกี รมการพฒั นาชมุ ชน
นายทวีป บุตรโพธิ์ รองอธบิ ดีกรมการพัฒนาชุมชน
นายณรงค์ บยุ่ ศริ ิ รองอธบิ ดกี รมการพฒั นาชมุ ชน
นายโชคชยั แกว้ ปอ่ ง ผ้อู ำ� นวยการสำ� นักเสริมสรา้ ง
ความเขม้ แข็งชุมชน

คณะทำ� งาน
นายจ�ำเริญ แหวนเพ็ชร ผู้อ�ำนวยการกลมุ่ งานส่งเสรมิ
การบริหารจัดการชมุ ชน
นางบุบผา เกดิ รักษ์ นักวิชาการพฒั นาชมุ ชนชำ� นาญการ
นางสาวนริ ัตน์ เก้อื เส้ง นกั วิชาการพัฒนาชุมชนช�ำนาญการ
นายเกยี รตภิ ูมิ พมิ พะสาลี นักวชิ าการพัฒนาชุมชนช�ำนาญการ
นายอนันต์ เลศิ แสง นักวิชาการพฒั นาชมุ ชนช�ำนาญการ
นายวีรกิตต์ิ เพชรโชติ นกั วชิ าการพัฒนาชุมชนปฎิบตั ิการ

71

ปีที่พมิ พ์ พ.ศ. 2560
จำ� นวนพิมพ์ 10,000 เล่ม
จัดท�ำโดย :
ส�ำนกั เสรมิ สร้างความเข้มแขง็ ชุมชน กรมการพัฒนาชมุ ชน
ศูนยร์ าชการเฉลิมพระเกียรติ 80 พรรษา 5 ธันวาคม 2550 ชั้น 5
อาคารรฐั ประศาสนภกั ดี ถนนแจง้ วัฒนะ แขวงทงุ่ สองห้อง
เขตหลกั สี่ กรุงเทพฯ 10210
เวบ็ ไซต์ www.cdd.go.th
ออกแบบจดั พิมพ์ :
บรษิ ทั สไตล์ครีเอทฟี เฮ้าส์ จ�ำกดั
32/152 ซอยรามอนิ ทรา 65 ถนนรามอินทรา
เขตลาดพรา้ ว กรงุ เทพฯ 10230
โทรศัพท ์ 0 2945 8051-3 โทรสาร  0 2945 8057
e-mail : [email protected], www.style.co.th

72

สำ� นกั เสรมิ สรา้ งความเขม้ แขง็ ชุมชน กรมการพัฒนาชุมชน
ศูนยร์ าชการเฉลมิ พระเกียรติ 80 พรรษา 5 ธันวาคม 2550
อาคารรฐั ประศาสนภกั ดี ชน้ั 5 ถนนแจ้งวฒั นะ
แขวงทุ่งสองหอ้ ง เขตหลกั สี่ กรุงเทพฯ 10210

www.chumchon.cdd.go.th


Click to View FlipBook Version