สัมมแานชวีพทชาุมงกชานรสราง
“สัมมาชีพชุมชน สรางวิถีที่ยั่งยืน”
กรมการพัฒนาชุมชน กระทรวงมหาดไทย
คำนำ
กรมการพัฒนาชุมชน ดาเนินโครงการสร้างสัมมาชีพชุมชนตามหลักปรัชญา
ของเศรษฐกิจพอเพียง มาตั้งแต่ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๐ โดยมีเป้าหมายให้ประชาชน
ได้รับการพัฒนาอาชีพและมีรายได้ เศรษฐกิจครัวเรือนมีความมั่นคง ประชาชนใช้ชีวิต
อยู่ในชุมชนอย่างมีความสุข สอดคล้องกับนโยบายการบริหารราชการแผ่นดินของรฐั บาล
(พลเอกประยุทธ์ จันทร์โอชา) ด้านการลดความเหลื่อมล้าทางสังคมและการสร้างโอกาส
เข้าถึงบริการของรฐั และเช่ือมโยงยุทธศาสตร์ตามแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหง่ ชาติ
ฉบับท่ี ๑๒ (พ.ศ. ๒๕๖๐ – ๒๕๖๔) การสร้างความเป็นธรรมลดความเหล่ือมล้าในสังคม
และในปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๒ กรมฯ ได้กาหนดพืน้ ทีเ่ ปา้ หมายในการดาเนนิ งาน จานวน
๑๔,๐๐๐ หมู่บ้าน ขับเคลื่อนการดาเนินงานภายใต้แนวคิด “ชาวบ้านสอนชาวบ้าน”
ท่ีเร่ิมต้นด้วยการพัฒนาทักษะการถ่ายทอดองค์ความรู้ให้กับปราชญ์ชุมชนด้านอาชีพ
จากน้ันปราชญ์ชุมชนกลับไปสร้างทีมและจัดการฝึกอบรมอาชีพให้กับครัวเรือนท่ีตอ้ งการ
ฝึกอาชีพในหมู่บ้าน ติดตาม และสนับสนุนอย่างต่อเน่ือง เพ่ือให้ครัวเรือนที่เข้ารับการฝึก
อาชพี สามารถปฏิบัติอาชพี ได้จรงิ และพฒั นาเปน็ อาชพี ทส่ี รา้ งรายได้ให้กบั ครัวเรือนได้อย่าง
มน่ั คง
เอกสาร “แนวทางการสร้างสัมมาชีพชุมชน ปี 256๒” นี้ ประกอบด้วยเน้ือหา
เก่ยี วกับ แนวคดิ หลกั การ และรายละเอยี ดวธิ ีการข้ันตอนการดาเนินงานตามกระบวนการ
สร้างสัมมาชีพชุมชน ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๒ รวมท้ังองค์ความรู้ท่ีเก่ียวข้อง เพื่อช่วย
เสริมสร้างความเข้าใจการดาเนินกิจกรรมส่งเสริมการสร้างสัมมาชีพชุมชนและสนับสนุน
การขับเคล่อื นการสร้างสัมมาชพี ชมุ ชนใหเ้ ป็นไปในทิศทางเดียวกันแก่ผเู้ กี่ยวขอ้ งทุกระดับ
อันจะส่งผลให้การสร้างสัมมาชีพชมุ ชนเกิดประสิทธภิ าพและประสทิ ธผิ ลสงู สดุ
กรมการพฒั นาชุมชน
ตุลาคม 25๖๑
สำรบญั
คานา หนา้
สารบัญ 1
สารบญั ตาราง 9
25
สว่ นที่ 1 บทนา ๓5
ความเป็นมา
นิยามศพั ท์
สว่ นท่ี 2 กระบวนการสรา้ งสัมมาชพี ชุมชน
ส่วนที่ 3 การสนบั สนุนการสร้างสมั มาชพี ชมุ ชน
ส่วนที่ ๔ ตัวอยา่ งสัมมาชีพชมุ ชน
ภาคผนวก
แบบฟอร์มทะเบยี นขอ้ มูลทีมวทิ ยากรสมั มาชพี ชุมชนระดบั หมบู่ า้ น
แบบฟอรม์ ทะเบยี นขอ้ มลู ครวั เรอื นสมั มาชีพชมุ ชน
แบบฟอรม์ ทะเบยี นข้อมูลกล่มุ อาชีพทีจ่ ดั ตงั้ ขนึ้ ตามแนวทาง
สมั มาชีพชุมชน
หลกั เกณฑก์ ารประเมินครัวเรอื นสัมมาชีพชุมชนตัวอยา่ งประจาปีงบประมาณ
พ.ศ. 256๒
แบบฟอร์มรปู เล่มแผนชุมชนระดับตาบล
“การวิเคราะหอ์ าชพี ” กบั การสรา้ งสัมมาชพี ชุมชนตามหลกั ปรชั ญาของ
เศรษฐกจิ พอเพยี ง
สำรบญั ตำรำง
หน้า
ตารางที่ ๑ กรอบการเรียนรู้การเตรียมความพร้อมทีมวิทยากรสมั มาชพี ชุมชน 12
ตารางท่ี ๒ กรอบการเรียนรู้การสง่ เสรมิ การสร้างสัมมาชีพชุมชนในระดบั หมู่บ้าน ๑8
ตารางที่ ๓ กรอบการเรยี นรู้การจดั ตงั้ และพฒั นากลุ่มอาชีพ 23
แนวทางการสรา้ งสมั มาชพี ชุมชน ปี ๒๕๖๒
.......ส...ว่.....น...ท....่ี..๑............
บทนา
ความเป็นมา
แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับท่ี 12 (พ.ศ.2560 - 2564) กาหนดให้
การสร้างความเป็นธรรมลดความเหล่ือมลาในสังคม เป็น ๑ ใน ๑๐ ยุทธศาสตร์ ท่ีมุ่งลดปัญหา
ความเหล่ือมลาด้านรายได้ของกลุ่มคนท่ีมีฐานะทางเศรษฐกิจสังคมท่ีแตกต่างกัน แก้ไขปัญหา
ความยากจน เพม่ิ โอกาสการเขา้ ถึงบริการพืนฐานทางสังคมของภาครัฐ รวมทังเพม่ิ ศักยภาพชุมชน
และเศรษฐกิจฐานรากให้มีความเขม้ แข็ง เพอ่ื ให้ชุมชนพึ่งพาตนเองและได้รับส่วนแบ่งผลประโยชน์
ทางเศรษฐกจิ มากขึน
นโยบายการบริหารราชการแผ่นดินของรัฐบาล (พลเอก ประยุทธ์ จันทร์โอชา
นายกรัฐมนตรี) กาหนดให้การลดความเหลื่อมลาของสังคมและการสร้างโอกาสการเข้าถึงบริการ
ของรัฐ เป็น ๑ ใน ๑๑ ด้าน ที่มุ่งแก้ไขปัญหาเก่ียวกับปากท้องของประชาชนในระดับล่างที่เป็น
คนส่วนใหญ่ของประเทศโดยมีแผนงานที่สาคัญ คือ แผนงานการพัฒนาเศรษฐกิจฐานราก
และชุมชนเข้มแข็ง ซ่ึงได้มอบให้กระทรวงมหาดไทยที่มีกรมการพัฒนาชุมชนเป็นหน่วยงานหลัก
บูรณาการไปสู่การปฏิบัติ และเพื่อให้การดาเนินการตามนโยบายรัฐบาลและข้อสั่งการ
ของนายกรัฐมนตรีเห็นผลเป็นรูปธรรมโดยเร็วและมีความยั่งยืน กระทรวงมหาดไทยกาหนด
โครงการ “ลดความเหล่ือมลา แบ่งปันความสุข”เป็น ๑ ใน ๘ กลุ่มโครงการเน้นหนักท่ีให้
ความสาคัญเป็นพิเศษในเชิงผลสัมฤทธ์ิ โดยโครงการดังกล่าวเน้นการส่งเสริมเศรษฐกิจฐานราก
แก้ปัญหาหนีสินนอกระบบ ความยากจนระดับครัวเรือน พัฒนาคุณภาพชีวิตและขยายโอกาส
คนยากจนในการเข้าถงึ ทรัพยากรและการใหบ้ ริการของรฐั
เพือ่ ขับเคลื่อนนโยบายรัฐบาลและนโยบายกระทรวงมหาดไทยข้างต้น กรมการพฒั นาชุมชน
กาหนดให้การพัฒนาอาชีพครัวเรือน เป็น ๑ ใน ๓ ปัจจัยขับเคล่ือนวาระกรมการพัฒนาชุมชน
ปี ๒๕๖๐ (CDD Agenda 2017) มุ่งผลให้ “เศรษฐกิจครัวเรือนมีความม่ันคง ประชาชน ใช้ชีวิต
อยู่ในชมุ ชนอย่างมคี วามสขุ ” และดาเนินการภายใต้ “โครงการสรา้ งสมั มาชพี ชุมชนตามหลกั ปรัชญา
ของเศรษฐกิจพอเพียง” เพ่ือยกระดับเศรษฐกิจฐานราก คือ “รายได้” ทาให้ประชาชนในชุมชน
มีรายได้เพิ่มขึน มีความมั่นคงและย่ังยืน สังคมอยู่ร่วมกันอย่างมีความสุข ด้วยการสร้างอาชีพ
ผ่านกระบวนการ “สร้างสัมมาชีพชุมชน” ภายใต้แนวคิด “ชาวบ้านสอนชาวบ้าน” สอนอาชีพ
ทีเ่ ขาต้องการอยากทา ประกอบกบั การนอ้ มนาหลักปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียง มาเป็นแนวทาง
1
กรมการพฒั นาชุมชน กระทรวงมหาดไทย
กระบวนการ “สร้างสัมมาชีพชุมชน” เริ่มต้นด้วยการพัฒนาทักษะการถ่ายทอด
องค์ความรู้ให้กับปราชญ์ชุมชนด้านอาชีพ จากนันปราชญ์ชุมชนกลับไปสร้างทีมและจัดการ
ฝึกอบรมอาชีพให้กับครัวเรือนที่ต้องการฝึกอาชีพในหมู่บ้าน ติดตาม และสนับสนุนอย่างต่อเนื่อง
เพื่อให้ครัวเรือนที่เข้ารับการฝึกอาชีพสามารถปฏิบัติอาชีพได้จริง จนพัฒนาเป็นอาชีพท่ีสร้าง
รายได้ให้กบั ครวั เรอื นได้อยา่ งม่นั คง
ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๐ กรมการพัฒนาชุมชนดาเนินโครงการสร้างสัมมาชีพชุมชน
ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ภายใต้การบูรณาการความร่วมมือของประชารัฐ ในพืนที่
ความรับผิดชอบของยุทธศาสตร์ที่ 1 การส่งเสริมการขับเคล่ือนการพัฒนาตามปรัชญาของ
เศรษฐกิจพอเพียงในภาคเกษตรและชนบท 23,589 หมู่บ้าน ประชาชนได้รับการพัฒนาอาชีพ
และมีรายได้ รวม 471,780 คน/ครัวเรือน และในปีงบประมาณ พ.ศ. 2561 กรมฯ ดาเนิน
โครงการดังกล่าวต่อเนื่อง ในพืนที่ 20,140 หมู่บ้าน โดยเป็นหมู่บ้านในพืนท่ีเป้าหมายเดิม
ปีงบประมาณ พ.ศ. 2560 จานวน 16,512 หมบู่ า้ น และหมบู่ ้านเป้าหมายใหม่ จานวน 3,628
หมบู่ ้าน ประชาชนได้รับการพัฒนาอาชพี และมีรายได้ รวม ๕๒๓,๖๔๐ คน/ครวั เรอื น
นิยามศัพท์
สัมมาชีพ หมายถึง อาชีพที่ไม่เบียดเบียนตนเอง ไม่เบียดเบียนผู้อื่น ไม่เบียดเบียน
ส่ิงแวดล้อม และมีรายได้มากกว่ารายจ่าย เป็นความพยายามท่ีจะปรับจากการทามาหากิน
เป็นทามาคา้ ขาย โดยไมไ่ ด้เอากาไรสงู สดุ เปน็ ตวั ตังหรือเป็นเปา้ หมายสุดท้าย และต้องคานงึ ถึง
ความเป็นธรรมทางสังคม คือ ความสุขของตนและคนทางาน รวมถึงประโยชน์ของผู้บริโภค
และผรู้ บั บรกิ ารเป็นหลกั
ปราชญ์ชุมชน หมายถึง ผู้ที่ประกอบสัมมาชีพจนมีความรู้ ความชานาญในการประกอบ
อาชีพหรือมีความเชี่ยวชาญในอาชีพนัน ๆ ประสบความสาเร็จและมีความมั่นคงในอาชีพ
เป็นท่ียอมรบั ของคนในชุมชน พรอ้ มมีจิตอาสาทีจ่ ะถ่ายทอดและขยายผลไปสู่บุคคลอ่ืน ๆ ในชุมชน
วิทยากรสัมมาชีพชุมชน หมายถึง ปราชญ์ชุมชนท่ีผ่านการอบรม หลักสูตร “วิทยากร
ผูน้ าสัมมาชีพ” จากศนู ยศ์ ึกษาและพฒั นาชุมชน
ทีมวิทยากรสัมมาชีพชุมชน หมายถึง ปราชญ์ชุมชนด้านอาชีพท่ีอยู่ในหมู่บ้านเป้าหมาย
สัมมาชีพชุมชน หมู่บ้านละ 5 คนประกอบด้วย วิทยากรผู้นาสัมมาชีพ 1 คน และปราชญ์ชุมชน
ด้านอาชีพที่อยู่ในหม่บู ้านเดยี วกัน รว่ มเป็นทีม อกี หมบู่ า้ นละ 4 คน
หมู่บา้ นเป้าหมายสมั มาชพี ชุมชน ปงี บประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๒ หมายถึง หมบู่ า้ นทไ่ี ม่เคย
ได้รับงบประมาณตามยุทธศาสตร์กรมการพัฒนาชุมชน ปีงบประมาณ พ.ศ. 2560 – 2561
จานวน 14,000 หมูบ่ ้าน โดยจะตอ้ งเปน็ หม่บู ้านทม่ี ีการจดั เก็บข้อมลู ความจาเป็นพืนฐาน (จปฐ.)
หรือหากพืนที่เป้าหมายไม่เพียงพอให้พิจารณาดาเนินการใน “ชุมชน” (เขตเทศบาล) และท่ีมีการ
2
แนวทางการสรา้ งสมั มาชพี ชุมชน ปี ๒๕๖๒
จัดเก็บข้อมูลความจาเป็นพืนฐาน (จปฐ.) และในกรณีพื้นท่ีเป้าหมายเป็นหมู่บ้านท่ีเคยดาเนิน
โครงการท่ีมีลักษณะเดียวกันกับการสร้างสัมมาชีพชุมชนของกรมฯ แต่ได้รับการสนับสนุน
งบประมาณจากแหล่งอ่ืน (นอกเหนือจากงบตามยุทธศาสตร์กรมฯ) สามารถดาเนินโครงการ
สร้างสัมมาชีพชุมชนตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๒ ได้
แต่ “ต้องไมซ่ ำ้ ครวั เรอื นเป้ำหมำยทเี่ คยรว่ มโครงกำรเดิม”
ครัวเรือนเป้าหมาย หมายถึง ครัวเรือนที่อยู่ในหมู่บ้านเป้าหมายสัมมาชีพชุมชน
ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๒ หมู่บ้านละ ๒๐ ครัวเรือน ท่ีแสดงความประสงค์ตอ้ งการเข้ารบั การฝึก
อาชีพตามแบบสารวจความต้องการฝกึ อาชีพของคนในชมุ ชน
ครัวเรือนสัมมาชีพชุมชน หมายถึง ครัวเรือนเป้าหมายที่ผ่านการอบรมฝึกปฏิบัติอาชีพ
โครงการสรา้ งสมั มาชีพชุมชนในระดับหมบู่ ้าน
ครัวเรือนสัมมาชีพชุมชนตัวอย่าง หมายถึง “ครัวเรือนสัมมาชีพชุมชน” ที่ผ่านการ
คดั เลือกตามเกณฑ์ที่กาหนดในระดบั จงั หวดั หรอื ระดับภาค
ทีมสนับสนุนการขับเคลื่อนสัมมาชีพชุมชน หมายถึง ผู้นาชุมชน กลุ่ม องค์กร หรือ
เครือข่ายการพัฒนาชุมชนที่มีศักยภาพ ซ่ึงอยู่ในพืนท่ีเป้าหมายในการสร้างสัมมาชีพชุมชน
ประจาปีงบประมาณ พ.ศ ๒๕๖๒ และได้รับคาสัง่ แต่งตังเป็นทีมสนับสนุนการขับเคล่อื นสัมมาชีพ
ชุมชน โดยในแต่ละทีมอาจจะประกอบด้วย ปราชญ์ชุมชน ผู้นาอาสาพัฒนาชุมชน (ผู้นา อช.)
คณะกรรมการพัฒนาสตรี คณะกรรมการศูนย์ประสานงานองค์กรชุมชน (ศอช.) คณะกรรมการ
เครือข่าย OTOP คณะกรรมการเครือข่ายกลุ่มออมทรัพย์เพ่ือการผลิต หรืออ่ืน ๆ ตามศักยภาพ
ของแต่ละพนื ที่
กลุ่มอาชีพ หมายถึง กลุ่มท่ีจัดตังขึนใหม่ โดยเกิดขึนจากการรวมตัวของผู้แทนครัวเรือน
สัมมาชีพชุมชน ซ่ึงผ่านการฝึกปฏบิ ัติอาชีพตามกิจกรรมสร้างสัมมาชีพชุมชนในระดับหมู่บ้านและ
มีการประกอบอาชีพเดียวกันหรือประเภทอาชีพเดียวกัน ตังแต่ 5 ครัวเรือนขึนไป มาร่วมกัน
ดาเนินการโดยมวี ตั ถุประสงค์เพ่ือช่วยเหลอื ซง่ึ กนั และกนั ในการประกอบอาชีพ
3
กรมการพัฒนาชมุ ชน กระทรวงมหาดไทย
4
แนวทางการสร้างสมั มาชีพชมุ ชน ปี ๒๕๖๒
5
กรมการพัฒนาชมุ ชน กระทรวงมหาดไทย
6
แนวทางการสร้างสมั มาชีพชมุ ชน ปี ๒๕๖๒
7
กรมการพัฒนาชมุ ชน กระทรวงมหาดไทย
8
แนวทางการสรา้ งสมั มาชพี ชุมชน ปี ๒๕๖๒
.......ส...่ว.....น...ท....่ี..๒............
กระบวนการสร้างสัมมาชพี ชมุ ชน
การสร้างสัมมาชีพชุมชน ขับเคล่ือนการดาเนินงานอย่างเป็นกระบวนการ ภายใต้
แนวคิด “ชาวบ้านสอนชาวบ้าน” สอนอาชีพที่เขาต้องการอยากทาประกอบกับการน้อมนา
หลกั ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียงมาเป็นแนวทาง โดยเร่มิ ตน้ จากการพัฒนาทักษะการถ่ายทอด
องค์ความรู้ให้กับปราชญ์ชุมชนด้านอาชีพ จากนันปราชญ์ชุมชนกลับไปสร้างทีมและจัดการ
ฝึกอบรมอาชีพให้กบั ครวั เรือนทตี่ ้องการฝึกอาชีพในหมบู่ ้าน ติดตาม และสนับสนุนอย่างตอ่ เน่ือง
เพื่อให้ครัวเรือนท่ีเขา้ รับการฝกึ อาชีพสามารถปฏบิ ัติอาชีพนันไดจ้ ริง จนพัฒนาเป็นอาชีพทส่ี ร้าง
รายไดใ้ ห้กับครัวเรอื นได้อย่างมั่นคง
ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๒ กรมการพัฒนาชุมชน กาหนดกจิ กรรมขบั เคลอื่ นกระบวนการ
สร้างสัมมาชีพชุมชน ตามโครงการสร้างสัมมาชีพชุมชนตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
ภายใต้แผนงานยุทธศาสตร์สร้างความม่ันคงและลดความเหล่ือมลาทางด้านเศรษฐกิจและสงั คม
ซึ่งมีกจิ กรรมทเี่ ก่ียวเนื่องกนั แบ่งเปน็ 4 กจิ กรรมหลัก และ ๒ กจิ กรรมสนับสนนุ ดงั นี
4 กิจกรรมหลัก ได้แก่
1. พฒั นาผู้นาสัมมาชพี
2. เตรยี มความพรอ้ มทมี วิทยากรสัมมาชพี ชมุ ชน
3. สรา้ งสมั มาชพี ชุมชนในระดบั หมู่บา้ น
4. จดั ตงั และพัฒนากลมุ่ อาชีพ
๒ กิจกรรมสนบั สนุน ได้แก่
๑. บูรณาการแผนชมุ ชนระดบั ตาบลสร้างสัมมาชพี ชุมชน
๒. การประชุมเชิงปฏบิ ัตกิ ารคณะกรรมการพัฒนาสตรีภาค (กพสภ.) ส่งเสรมิ ครวั เรือน
สมั มาชีพชมุ ชน
รายละเอยี ดการดาเนนิ กิจกรรม ดงั นี
9
กรมการพัฒนาชุมชน กระทรวงมหาดไทย
๑. สร้างและพฒั นาผนู้ าสัมมาชพี ชมุ ชน
วัตถุประสงค์ เพ่ือสร้างผู้นาสัมมาชีพให้สามารถถ่ายทอดความรู้ด้านอาชีพ โดย
ตระหนกั ถึงความสาคัญบนพนื ฐานตามหลักปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง ตลอดจนมีความรูแ้ ละ
ทักษะในการวเิ คราะห์อาชีพเพอ่ื เชอ่ื มโยงการตลาดของชุมชนได้
กลุ่มเป้าหมาย ปราชญ์ชุมชนจากหมู่บ้านเป้าหมายสัมมาชีพชุมชน ปีงบประมาณ
พ.ศ. ๒๕๖๒ จานวน ๑๔,๐๐๐ หมบู่ า้ น ๆ ละ 1 คน รวม ๑๔,๐๐๐ คน
ระยะเวลา ดาเนินการ ไตรมาสท่ี 1 (ตลุ าคม - พฤศจิกายน 256๑) ร่นุ ละ ๓ วัน
วิธีการดาเนนิ งาน กจิ กรรมสร้างและพัฒนาผนู้ าสัมมาชีพชมุ ชน ดาเนินการในรูปแบบ
การจัดฝึกอบรมในหลักสูตร “วิทยากรผู้นาสัมมาชีพ” จานวน ๑๕๒ รุ่น โดยศูนย์ศึกษาและ
พฒั นาชุมชน สงั กัดสถาบันการพฒั นาชมุ ชน ทงั ๑๑ แห่ง และประกอบด้วย ๓ หมวดวิชา ไดแ้ ก่
๑. ปรชั ญา หลกั การ และแนวคดิ สสู่ มั มาชพี ชมุ ชน
๒. องคค์ วามรู้สู่การสรา้ งอาชีพ
๓. ทักษะการถา่ ยทอดองค์ความรูส้ ัมมาชีพ
ขนั้ ตอนการดาเนนิ โครงการ
๑. สานักงานพัฒนาชุมชนจังหวัด สารวจและคัดเลือกกลุ่มเป้าหมายเพื่อเข้ารับการ
ฝึกอบรม หลักสูตร “วิทยากรผู้นาสัมมาชีพ” หมู่บ้านละ ๑ คน โดยการพิจารณาให้คัดเลือก
ปราชญ์ชุมชนท่ีมีความเช่ียวชาญหรือมีความชานาญในการประกอบอาชีพ ประสบความสาเร็จ
ในการดาเนินอาชีพจนเป็นที่ยอมรับ มีความพร้อมในการถ่ายทอดองค์ความรู้สู่สาธารณะ
(จิตอาสา) หรือสรา้ งเครอื ข่าย และควรคานึงถงึ ความพรอ้ มของกลุ่มเปา้ หมายทต่ี ้องเป็นแกนหลัก
ส่งเสริมการสร้างสัมมาชีพชุมชนให้เกิดได้จริง ทั้งนี้ ต้องเป็นบุคคลเดียวกับฐานข้อมูลแบบ
สารวจข้อมูลปราชญ์ชุมชนด้านอาชีพเพื่อเตรียมเป็นวิทยากรสัมมาชีพชมุ ชน ปีงบประมาณ
พ.ศ. 256๒ ที่จังหวัดได้รวบรวมสง่ ให้กรมฯ เรียบร้อยแล้ว หรือหากมีการเปล่ียนแปลงเพ่ือให้
ได้บุคคลท่ีสามารถขับเคล่ือนสัมมาชีพชุมชนได้ ขอให้จังหวัดดาเนินการปรับปรุงแก้ไข
ฐานขอ้ มลู และแจ้งให้กรมฯ ทราบ
๒. ศูนย์ศึกษาและพัฒนาชุมชน ประสานจังหวัดส่งกลุ่มเป้าหมายเข้ารับการฝึกอบรม
และดาเนินการฝึกอบรมตาม หลักสูตร “วิทยากรผู้นาสัมมาชีพ” ตามแผนการฝึกอบรม
ของ ศนู ย์ศึกษาและพฒั นาชุมชนแต่ละแหง่
๓. กลุ่มเป้าหมายท่ีผ่านการฝึกอบรมหลักสูตร “วิทยากรผู้นาสัมมาชีพ” แล้วจะ
เรียกว่า “วทิ ยากรสมั มาชีพชมุ ชน” และมีภารกจิ ทต่ี อ้ งดาเนนิ การตอ่ ไป ดังนี
๑) ถ่ายทอดความรู้การเป็น “วิทยากรสัมมาชีพชุมชน” ที่ได้รับจากการฝึกอบรม
ตามหลักสูตร “วิทยากรผู้นาสมั มาชพี ” ใหก้ บั ทีมปราชญช์ ุมชนที่ได้สารวจไว้แลว้ หมบู่ า้ นละ ๔ คน
10
แนวทางการสร้างสัมมาชพี ชุมชน ปี ๒๕๖๒
ในกิจกรรมเตรียมความพร้อมทีมวิทยากรสัมมาชีพชุมชน เพื่อพัฒนาทีมให้มีทักษะการถ่ายทอด
และเทคนคิ การนาเสนอ พร้อมทจ่ี ะกา้ วส่กู ารเปน็ ทมี วิทยากรสมั มาชพี ชุมชนท่มี ีประสทิ ธิภาพ
๒) ทาหน้าที่เป็นแกนนาหลักในการส่งเสริมการสร้างสัมมาชีพชุมชนในกิจกรรม
สร้างสัมมาชพี ชุมชนในระดับหมู่บา้ น ติดตาม และสนับสนุนการประกอบอาชีพของครัวเรือน
เปา้ หมายใหส้ ามารถดาเนินการได้อยา่ งตอ่ เน่ือง
๓) ประสานทีมสนับสนุนการขับเคล่ือนสัมมาชีพชุมชนในพืนที่ สานักงานพัฒนา
ชุมชนอาเภอและหนว่ ยงานท่ีเก่ยี วข้อง เพื่อให้การสนับสนุน ส่งเสริม ขยายผลและต่อยอดการ
สรา้ งสัมมาชพี ชุมชนในหมู่บ้านเพ่อื ไปสู่ความย่ังยืน
ตัวชี้วัดกิจกรรม ร้อยละ 90 ของผู้นาสัมมาชีพท่ีเข้ารับการฝึกอบรมสามารถเป็น
วิทยากรสัมมาชพี ถา่ ยทอดความรดู้ ้านอาชีพได้
๒. เตรยี มความพร้อมทมี วทิ ยากรสัมมาชพี ชุมชน
วัตถุประสงค์ เพ่ือสร้างและพัฒนาทักษะการถ่ายทอดให้ปราชญ์ชุมชนท่ีมีศักยภาพ
ในการร่วมเป็นทีมวิทยากรสัมมาชีพชุมชน เพื่อขับเคลื่อนการสร้างและพัฒนาอาชีพตาม
แนวทางสมั มาชพี ชุมชนใหก้ ับประชาชนในหมู่บา้ น
กลุ่มเปา้ หมาย ประกอบดว้ ย
๑. ปราชญ์ชุมชน ที่อยู่ในหมู่บ้านเป้าหมายสมั มาชีพชุมชน ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๒
หมู่บา้ นละ ๕ คน ประกอบดว้ ย
1) ปราชญช์ มุ ชนทีผ่ ่านการฝึกอบรม หลกั สูตร “วทิ ยากรผู้นาสัมมาชพี ” โครงการ
สร้างและพัฒนาผู้นาสัมมาชพี หมู่บา้ นละ 1 คน
2) ปราชญ์ชุมชนจากฐานข้อมูลแบบสารวจข้อมูลปราชญ์ชุมชนด้านอาชีพ
เพ่ือเตรียมเป็นวิทยากรสัมมาชีพชุมชน ปีงบประมาณ พ.ศ. 25๖๒ ท่ีได้สารวจไว้แล้ว
หมบู่ ้านละ 4 คน เพื่อรว่ มทาหนา้ ทเ่ี ป็นทมี วิทยากรสมั มาชพี ชุมชนในหมู่บ้าน
๒. ประชาชนผู้แทนครัวเรือน ที่อยู่ในหมู่บ้านเป้าหมายสัมมาชีพชุมชน ปีงบประมาณ
พ.ศ. ๒๕๖๒ ท่ีมีความตอ้ งการและสนใจฝึกอบรมอาชีพ หมูบ่ า้ นละ 2๐ คน (๑ คนตอ่ ๑ ครวั เรอื น)
ระยะเวลา ดาเนินการไตรมาส ๑ (พฤศจิกายน - ธนั วาคม 256๑) หม่บู ้านละ ๒ วัน
ขัน้ ตอนการดาเนินงาน สานักงานพฒั นาชมุ ชนอาเภอดาเนินกิจกรรมเตรยี มความพร้อม
ทมี วิทยากรสัมมาชีพชมุ ชน ตามขนั ตอนดังนี
1. ทาความเข้าใจแนวทางการดาเนินกิจกรรมจากเอกสารแนวทางการสร้างสัมมาชีพ
ชุมชน ปี 256๒
11
กรมการพัฒนาชุมชน กระทรวงมหาดไทย
2. กาหนดรูปแบบและวางแผนการดาเนินกิจกรรมเตรียมความพร้อมทีมวิทยากร
สัมมาชพี ชุมชน เพื่อใหบ้ รรลวุ ตั ถุประสงคแ์ ละเปา้ หมายทก่ี รมฯ กาหนด
3. ประสานกลมุ่ เป้าหมายและผ้เู ก่ยี วข้องเพ่ือเตรยี มความพร้อม ประกอบด้วย
๑) ปราชญ์ชมุ ชน ที่เปน็ กลมุ่ เป้าหมาย หม่บู ้านละ 5 คน
๒) ผ้แู ทนครัวเรอื น ทอ่ี ยู่ในหมู่บา้ นเปา้ หมาย หม่บู า้ นละ 2๐ คน
๓) ทีมสนบั สนุนการขับเคล่อื นสมั มาชพี ชมุ ชนในพนื ทแี่ ละหนว่ ยงานภาคีการพัฒนา
4. ดาเนินกิจกรรมเตรียมความพร้อมทีมวิทยากรสัมมาชีพชุมชน ในรูปแบบการจัด
ประชมุ เชิงปฏบิ ตั กิ าร โดยใหม้ ที ีมสนบั สนุนการขบั เคล่อื นสมั มาชีพชุมชนในพืนท่ีและหน่วยงาน
ภาคีการพฒั นาทเ่ี กีย่ วขอ้ งเข้าร่วมกจิ กรรมดว้ ย ตามกรอบการเรียนรู้ ตารางท่ี ๑ ดงั นี
ตารางท่ี ๑ กรอบการเรียนรู้การเตรียมความพร้อมทีมวิทยากรสัมมาชีพชุมชน (๒ วัน)
กิจกรรม วัตถุประสงค์ กระบวนการ สอื่ /อปุ กรณ์ ขอ้ เสนอแนะ
วนั ท่ีหนึ่ง
1. เสรมิ สร้าง ๑. เสรมิ สรา้ ง บรรยายใหค้ วามรู้ - สื่อ Power - วิทยากร
การเรียนรู้ ความรู้ ความเขา้ ใจ ในประเด็นท่ีเกยี่ วกับ Point ควรถาม/
ปรชั ญาของ เกี่ยวกับปรชั ญา • หลักปรัชญาของ - เอกสาร ตอบเพอื่ เน้น
เศรษฐกิจ ของเศรษฐกจิ เศรษฐกจิ พอเพยี ง -คลปิ วิดีโอ ยาความ
พอเพียง พอเพียง • การนอ้ มนาหลัก -กรณศี กึ ษา เข้าใจ
ปรัชญาของเศรษฐกจิ
๒. เสริมสรา้ ง พัฒนาทกั ษะการ พอเพียงสกู่ ารปฏบิ ตั ิ - สื่อ Power - ทีมงาน
และพฒั นา เปน็ วทิ ยากร • ปราชญช์ มุ ชนทีผ่ า่ นการ Point สานักงาน
ทกั ษะ สมั มาชพี ชุมชน อบรมหลักสตู ร “วิทยากร - เอกสาร พฒั นาชมุ ชน
วิทยากร แก่ทีมวิทยากร ผู้นาสมั มาชีพ” ถ่ายทอด - กระดาษ อาเภอ
สมั มาชพี สัมมาชพี ชุมชน ความรู้และเทคนคิ ของ ฟลปิ ชารต์ ทาหนา้ ที่
ชุมชน เพือ่ ให้สามารถนา การเป็นวิทยากรให้แก่ - ปากกาเคมี เปน็ พี่เลียง
ความรู้ ทไ่ี ด้รับไป ปราชญช์ มุ ชนที่จะรว่ ม - กระดาษ และ
ประยุกต์ ใช้ในการ เปน็ ทีมวิทยากรสมั มาชีพ กาว สนับสนุนให้
ปฏบิ ัติหน้าที่ ชุมชน การดาเนิน
วิทยากรสัมมาชีพ • ปราชญ์ชุมชนทีจ่ ะรว่ ม กจิ กรรม
ชมุ ชนไดอ้ ย่างมี เป็นทีมวิทยากรสมั มาชีพ บรรลุ
ประสิทธภิ าพ ชมุ ชน ฝึกปฏิบัติการทา วัตถุประสงค์
12
แนวทางการสรา้ งสัมมาชีพชมุ ชน ปี ๒๕๖๒
กิจกรรม วตั ถปุ ระสงค์ กระบวนการ สอื่ /อุปกรณ์ ข้อเสนอแนะ
๓. วิเคราะห์ เพอื่ พิจารณา หน้าทเี่ ปน็ วทิ ยากร
อาชีพที่ สถานการณอ์ าชีพ
ครัวเรอื น ทีค่ รวั เรือน สมั มาชพี ชุมชน
เป้าหมาย เป้าหมายตอ้ งการ
ต้องการ ฝึกอบรม เชือ่ มโยง ทีมวิทยากรสมั มาชีพ - แบบ - ทมี งาน
ฝึกอบรม กบั ปจั จยั ท่ี
เกย่ี วขอ้ งและ ชมุ ชนแตล่ ะหมู่บา้ น สารวจผทู้ ่ีมี สานกั งาน
โอกาสของการ
ประสบความสาเรจ็ ดาเนนิ การดังนี ความสมคั ร พฒั นาชมุ ชน
ไดอ้ ย่างแทจ้ ริง
• รว่ มกนั วเิ คราะห์ข้อมลู ใจและ อาเภอ
อาชพี ทค่ี รัวเรือน ต้องการฝกึ ทีมสนบั สนนุ
เปา้ หมายมคี วามต้องการ อาชพี ฯ การ
และสนใจ โดยใช้ข้อมลู ของหมู่บ้าน ขับเคลื่อน
จากแบบสารวจ ผทู้ ่มี ี เปา้ หมาย สมั มาชีพ
ความสมคั รใจและตอ้ งการ - ข้อมลู ชุมชน
ฝกึ อาชพี ฯ ทดี่ าเนินการ ศกั ยภาพ และ
สารวจไวแ้ ลว้ และให้ ชุมชน หน่วยงาน
พิจารณาองคป์ ระกอบ - ขอ้ มลู ภาคี รว่ มให้
ทเี่ ก่ียวข้อง เช่น แผน แสดงทศิ คาปรึกษา
ยุทธศาสตรก์ ารพัฒนา ทางการ แนะนา
ระดบั ท้องถิน่ (ตาบล/ พัฒนาด้าน เพือ่ ให้การ
อาเภอ/จังหวดั ) เศรษฐกจิ วิเคราะห์
ทิศทางการพฒั นาด้าน จงั หวัด/ อาชีพฯ
เศรษฐกจิ ของอาเภอ/ อาเภอ สอดคลอ้ ง
จงั หวดั ศักยภาพชมุ ชน - กระดาษ กับความเป็น
ทนุ ชุมชน โอกาส ฟลปิ ชารต์ จรงิ และมี
ความสาเร็จและการ - ปากกา โอกาส
เจรญิ เตบิ โตทางธรุ กจิ เคมี ประสบ
(สรา้ งรายได/้ โอกาสทาง - กระดาษ ผลสาเรจ็
การตลาด) ความ กาว และยง่ั ยนื
สอดคลอ้ งกบั ความร้ขู อง สรา้ งรายได้
ปราชญช์ มุ ชนในหมู่บา้ น ใหค้ รัวเรือน
หรอื หมู่บ้านใกลเ้ คียง เปา้ หมายได้
ในอาเภอเดยี วกนั อยา่ งม่นั คง
ตลอดจนการมแี หลง่
13
กรมการพฒั นาชุมชน กระทรวงมหาดไทย
กจิ กรรม วตั ถุประสงค์ กระบวนการ สื่อ/อุปกรณ์ ขอ้ เสนอแนะ
วนั ท่สี อง เพือ่ ให้ครัวเรือน เรยี นรูท้ สี่ ะดวกตอ่ การ
1. เตรียม เป้าหมาย มีความรู้ เรยี นรู้ ทังทเี่ ป็นบา้ น
ความพรอ้ ม ความเข้าใจ ปราชญ์ชมุ ชนและศนู ย์
ครัวเรือน เกย่ี วกับแนวทาง เรยี นรแู้ ละขบั เคลอ่ื น
เป้าหมาย การสรา้ งสมั มาชีพ ปรัชญาของเศรษฐกิจ
ทจี่ ะเขา้ ร่วม ชุมชนตามหลัก พอเพยี งในอาเภอเดียวกนั
กจิ กรรม ปรชั ญาของ หรือใกลเ้ คยี ง
สรา้ ง เศรษฐกิจพอเพียง • สรุปผลการวเิ คราะห์ฯ
สมั มาชีพ และรว่ มดาเนิน เพอื่ เตรยี มนาเสนอ สร้าง
ชุมชน กจิ กรรมสร้าง ความเข้าใจกบั ครวั เรือน
ในระดับ สัมมาชพี ชุมชน เป้าหมาย
หมู่บ้าน ในระดับหม่บู า้ น
ไดอ้ ยา่ งมี ทีมวทิ ยากรสมั มาชีพ - กระดาษ - ทีมงาน
ประสทิ ธภิ าพ สานักงาน
ชุมชน หมบู่ า้ นละ 5 คน A๔ พัฒนาชุมชน
อาเภอ ทีม
ไปพบผูแ้ ทนครัวเรอื น - กระดาษ สนับสนุน
การ
เปา้ หมาย หมู่บ้านละ 2๐ ฟลปิ ชารต์ ขับเคล่ือน
สัมมาชีพ
คน และดาเนินการดังนี - ปากกา ชมุ ชน และ
หน่วยงาน
• สร้างความเข้าใจ เคมี ภาคีทร่ี ่วม
กจิ กรรม
เก่ยี วกับการสร้าง - กระดาษ รว่ มให้
คาปรกึ ษา
สมั มาชีพชมุ ชน ตามหลกั กาว แนะนา
- ทมี
ปรชั ญาของเศรษฐกิจ วิทยากร
สัมมาชพี
พอเพยี ง ชุมชน
ในประเดน็ ตอ่ ไปนี
- ความเป็นมา
- ความสาคัญ
- กระบวนการสรา้ ง
สัมมาชพี ชมุ ชน
และอื่น ๆ ที่เกยี่ วข้อง
• นาเสนอผลการวเิ คราะห์
อาชีพทค่ี รัวเรอื น
14
แนวทางการสรา้ งสัมมาชพี ชมุ ชน ปี ๒๕๖๒
กิจกรรม วัตถุประสงค์ กระบวนการ ส่ือ/อปุ กรณ์ ข้อเสนอแนะ
2. จัดทา เพื่อใหก้ าร เปา้ หมายตอ้ งการ - กระดาษ สารวจวัสดุ
แผนปฏบิ ตั ิ ขับเคลือ่ นการสรา้ ง ฝึกอบรม A๔ อปุ กรณ์
การตดิ ตาม สมั มาชพี ชุมชน • ทบทวนความต้องการ - กระดาษ สาหรบั การ
สนับสนนุ ดาเนินการไดอ้ ย่าง ของครวั เรือนเป้าหมาย ฟลปิ ชารต์ ฝึกปฏบิ ตั ิ
การประกอบ ตอ่ เนอื่ ง เกดิ ผล ว่ายังคงมคี วามสนใจ/ - ปากกา อาชีพท่ี
อาชีพของ เปน็ รปู ธรรม ตอ้ งการฝึกอาชพี หรือ เคมี ร่วมกัน
ครัวเรือน เปลยี่ นแปลงอาชพี หรอื ไม่ - กระดาษ คัดเลอื ก
สมั มาชพี ซง่ึ กรณีทไ่ี มต่ อ้ งการฝึก กาว - สานักงาน
ชมุ ชน อาชพี ให้ทีมวทิ ยากร พฒั นาชมุ ชน
สมั มาชีพชมุ ชนระดับ อาเภอ
หม่บู ้านหาครวั เรอื นอน่ื เตรยี มจัดหา
ทดแทน หรือถา้ ต้องการ วัสดอุ ุปกรณ์
เปล่ียนอาชีพใหเ้ ปลี่ยน สาหรบั การ
อาชีพตามคาแนะนาของ ฝกึ ปฏบิ ตั ิ
ทมี วิทยากรสมั มาชีพ อาชีพให้
ชมุ ชนระดบั หมูบ่ า้ นได้ ครัวเรือน
• กาหนดเนอื หาการ เปา้ หมาย
ฝึกอบรม สถานที่
ฝกึ อบรม/ศึกษาดงู าน และ - ทมี
วางแผนปฏิบัติการฝกึ วทิ ยากร
อาชพี ทจ่ี ะฝกึ อบรม สัมมาชพี
รว่ มกบั ครวั เรือนเป้าหมาย ชุมชน
ทาหนา้ ท่ี
ทมี วิทยากรสัมมาชีพ ติดตาม
ชมุ ชนในแตล่ ะหมบู่ ้าน สนบั สนุน
และทมี สนับสนุนการ ครัวเรอื น
ขับเคลือ่ นสมั มาชีพชมุ ชน เปา้ หมาย
ในพืนทร่ี ว่ มกันจัดทา
แผนปฏบิ ตั ิการตดิ ตาม
สนับสนุนการประกอบ
อาชีพของครวั เรอื น
เป้าหมายทผี่ ่านการอบรม
15
กรมการพัฒนาชมุ ชน กระทรวงมหาดไทย
กจิ กรรม วตั ถปุ ระสงค์ กระบวนการ ส่อื /อปุ กรณ์ ขอ้ เสนอแนะ
อาชีพ เพ่ือใหส้ ามารถ ตามสดั ส่วน
ประกอบอาชพี ได้อยา่ ง 1 คน ต่อ ๔
ตอ่ เนอื่ ง สรา้ งรายไดใ้ ห้ คนหรอื ๔
ครวั เรือนได้จริง ครวั เรือน
ตัวช้ีวัดกิจกรรม จานวนปราชญ์ชุมชนท่ีได้รับการพัฒนาเป็นทีมวิทยากรสัมมาชีพ
ชมุ ชนในระดับหมูบ่ ้าน
เง่ือนไข : 1. ให้ดาเนินกิจกรรมเตรียมความพร้อมทีมวิทยากรสัมมาชีพชุมชน หลังจาก
ปราชญ์ชุมชน หมู่บ้านละ 1 คน ผ่านการฝึกอบรมหลักสูตร “วิทยากรผู้นาสัมมาชีพ”
โครงการสร้างและพฒั นาผู้นาสัมมาชีพ แลว้
2. การคัดเลือกครัวเรือนเป้าหมายที่จะเข้าร่วมการฝึกอาชีพ ควรพิจารณา จาก
1) ครัวเรอื นที่มีรายไดต้ ่ากว่าเกณฑ์ความจาเป็นพื้นฐาน (จปฐ.) ปี 256๑ ท่ีสามารถพัฒนา
ได้ 2) ครัวเรือนที่มีรายได้น้อย และ 3) ครัวเรือนท่ีมีความต้องการและสนใจฝึกอาชีพ
เพื่อประกอบเป็นอาชีพที่สามารถสร้างให้เกิดรายได้ให้ครอบครัว หมู่บ้านละ 2๐ ครัวเรือน
(ครัวเรือนละ 1 คน) โดย 2๐ ครัวเรือนน้ี จะต้องมีการจัดเก็บข้อมูลความจาเป็นพื้นฐาน
(จปฐ.) ในปี 256๑ เนื่องจากต้องใช้ข้อมูลรายได้เฉล่ียเป็นฐานในการวัดผลตามตัวชี้วัด
งบประมาณในเดือนกันยายน 256๒ และปราชญ์ชุมชนท่ีเข้ารับการอบรมเป็นวิทยากร
สัมมาชีพชุมชนและครัวเรือนสัมมาชีพชุมชน ต้องไม่เปน็ ครัวเรอื นเดยี วกนั
๓. การวิเคราะห์อาชีพ ควรเตรียมข้อมูลท่ีเกี่ยวข้องและดาเนินการโดยผู้ที่มี
ความรู้ ความเชี่ยวชาญ และมีประสบการณ์ในการประกอบอาชีพนั้น ๆ จนประสบ
ความสาเร็จอย่างแท้จริง และควรให้มีผู้แทนจากหน่วยงานทั้งภาครัฐ ภาคเอกชน ในพืนที่
ที่มีความรู้และมีบทบาทภารกิจในการส่งเสริมสนับสนุนการประกอบอาชีพของชุมชน
ร่วมให้ข้อมูลและร่วมวิเคราะห์อาชีพด้วย เพื่อให้การวิเคราะห์อาชีพท่ีต้องการอบรม เป็นไป
ในทิศทางท่ีถูกต้อง และมีโอกาสประสบความสาเร็จได้จริง เช่น ผู้แทนจากสานักงานเกษตร
จงั หวัด/อาเภอ สถาบันการศกึ ษา สถาบันการเงนิ และองคก์ รปกครองสว่ นทอ้ งถ่ิน เป็นต้น
16
แนวทางการสร้างสัมมาชีพชุมชน ปี ๒๕๖๒
๔. การกาหนดเนือหาการฝึกอบรมอาชีพ วิทยากรหลักที่ทาหน้าที่สอนอาชีพ
สถานท่ีอบรมและศึกษาดูงาน ดาเนินการให้แล้วเสร็จในช่วงกิจกรรมเตรียมความพร้อมทีม
วิทยากรสัมมาชีพชุมชน กรณีวิทยากรสัมมาชีพชุมชนในหมู่บ้านไม่มีความรู้ในเรื่อง
ที่ครัวเรือนเป้าหมายต้องการฝึกอาชีพ ให้พิจารณาคัดเลือกจากทีมวิทยากรสัมมาชีพ
ชุมชนระดับหมู่บ้าน หรือประสานขอรับการสนับสนุนจากวิทยากรสัมมาชีพชุมชน
ท่ีอาเภอ/จังหวัดได้จัดทาฐานข้อมูลไว้ และในการศึกษาดูงานให้เน้นหมู่บ้านเศรษฐกิจ
พอเพียงต้นแบบ หรอื ศูนยเ์ รยี นรู้ฯ หรอื บ้านปราชญ์ชุมชนในอาเภอเดียวกนั
๕. จัดทาฐานข้อมูลทีมวิทยากรสัมมาชพี ชุมชน ตามแบบฟอร์มท่ีกรมฯ กาหนด
เพ่อื นาไปสูก่ ารตอ่ ยอดการพัฒนาและการใชป้ ระโยชน์
๓. สร้างสัมมาชีพชุมชนในระดับหมู่บา้ น
วัตถุประสงค์ เพ่ือส่งเสริมให้ประชาชนมีองค์ความรู้ในอาชีพ และนาความรู้
ไปประกอบอาชีพเพ่ือสร้างรายได้เพิ่มขึนให้กับครัวเรอื นตามแนวทางการสร้างสัมมาชีพชุมชน
ตามหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง
กลุ่มเป้าหมาย ประชาชนผู้แทนครัวเรือนท่ีอยู่ในหมู่บ้านเป้าหมายสัมมาชีพชุมชน
ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๒ ท่ีมีความต้องการและสนใจฝกึ อบรมอาชีพ หมู่บ้านละ 2๐ คน (๑ คน
ต่อ ๑ ครวั เรอื น)
ระยะเวลา ดาเนนิ การไตรมาส ๑ - 2 (พฤศจกิ ายน 256๑ - มีนาคม 256๒) หมู่บา้ นละ ๓ วนั
ข้ันตอนการดาเนินงาน สานักงานพัฒนาชุมชนอาเภอ ดาเนินกิจกรรมสร้างสัมมาชพี
ชมุ ชนในระดบั หมบู่ ้าน ตามขนั ตอนดงั นี
1. ทาความเขา้ ใจแนวทางการดาเนินโครงการจากเอกสารแนวทางการสรา้ งสัมมาชพี
ชุมชน ปี 256๒
2. กาหนดรูปแบบและจัดทาแผนปฏิบัติการสร้างสัมมาชีพชุมชนในระดับหมู่บ้าน
ให้สอดคล้องกับแผนปฏิบัติการฝึกอาชีพที่ได้จากกิจกรรมการเตรียมความพร้อมทีมวิทยากร
สมั มาชพี ชมุ ชน เพื่อใหบ้ รรลวุ ัตถุประสงคแ์ ละเป้าหมายทก่ี รมฯ กาหนด
3. ประสานกลุ่มเป้าหมาย (ตามกจิ กรรมเตรยี มความพร้อมทมี วิทยากรสมั มาชีพชุมชน)
และผู้เกี่ยวขอ้ ง ประกอบด้วย
๑) ทมี วิทยากรสมั มาชพี ชมุ ชน หมบู่ ้านละ 5 คน
๒) ประชาชนผแู้ ทนครวั เรอื นที่ตอ้ งการและสนใจฝึกอบรมอาชีพ หมู่บ้านละ 2๐ คน
17
กรมการพฒั นาชุมชน กระทรวงมหาดไทย
๓) ทีมสนบั สนนุ การขับเคลือ่ นสมั มาชพี ชุมชนในพืนทีแ่ ละหน่วยงานภาคีการพัฒนา
ท่จี าเปน็ และเกี่ยวข้อง
4. ดาเนินกิจกรรมสร้างสัมมาชีพชุมชนในระดับหมู่บ้าน ในรูปแบบการฝึกอบรม
โดยสนับสนุนให้ทีมวิทยากรสัมมาชีพชุมชน จานวน 5 คน ทาหน้าท่ีเป็นแกนนาหลักในการ
จัดกระบวนการเรียนรู้ ทีมงานสานักงานพัฒนาชุมชนอาเภอ ทีมสนับสนุนการขับเคลื่อน
สมั มาชีพชุมชนในพืนท่ี และหน่วยงานภาคกี ารพฒั นาทเ่ี กี่ยวขอ้ งเข้าร่วมกิจกรรมและสนับสนุน
กิจกรรมสร้างสัมมาชีพฯบรรลุวัตถุประสงค์และมีประสิทธิภาพ ซ่ึงการอบรมภายใต้กิจกรรม
สร้างสัมมาชีพชมุ ชนในระดับหมบู่ า้ น แบ่งออกเป็น 3 ขนั ตอน
ขันตอนที่ 1 การให้ความรู้ภาควิชาการหรือทฤษฎี เทคนิควิธีการ และความรู้
ทเ่ี กย่ี วข้องกบั การประกอบอาชีพทคี่ รวั เรือนตอ้ งการฝกึ อบรม
ขันตอนท่ี 2 การศึกษาดูงานเพ่ือเพ่ิมพูนความรู้และสร้างแรงจูงใจในการประกอบ
อาชีพ และเสริมสร้างการเรียนรู้ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ณ หมู่บ้านเศรษฐกิจพอเพียง
หรือบ้านปราชญ์ชุมชน หรือศูนย์เรียนรู้และขับเคลื่อนปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงที่เข้มแขง็
หรอื แหลง่ เรยี นรู้อ่ืน ๆ ทเ่ี หมาะสม
ขนั ตอนท่ี 3 ฝกึ ปฏบิ ัตอิ าชพี ให้ครวั เรอื นเปา้ หมาย ตามกรอบการเรียนรู้ ตารางที่ ๒ ดงั นี
ตารางที่ ๒ กรอบการเรยี นรู้การส่งเสริมการสร้างสัมมาชีพชุมชนในระดับหมู่บ้าน (๓ วนั )
กจิ กรรม วัตถุประสงค์ กระบวนการ สือ่ /อปุ กรณ์ ข้อเสนอแนะ
วันท่ีหนึ่ง เพือ่ ให้ วทิ ยากรสัมมาชพี ชมุ ชน - สอื่ Power - ควรจดั
เสรมิ สร้าง กลมุ่ เปา้ หมาย ผเู้ ช่ียวชาญในอาชีพ Point กระบวนการ
ความรู้ ความ มคี วามรู้ ท่กี ลมุ่ เป้าหมายตอ้ งการ - เอกสาร เรยี นรู้ ทงั
เขา้ ใจเกี่ยวกับ ความเขา้ ใจ ฝกึ อบรมดาเนินการ - คลปิ วิดโี อ ลักษณะการ
อาชีพท่ี เกย่ี วกบั อาชีพ รว่ มกบั ทมี วทิ ยากร - กรณีศกึ ษา บรรยาย
กลุ่มเปา้ หมาย ท่ตี อ้ งการ สัมมาชพี ชุมชน ดังนี การสาธิต
ต้องการ ฝึกอบรม และ • ให้ความรเู้ กย่ี วกบั และทดลอง
ฝึกอบรม สามารถนาไป อาชีพท่ีครวั เรือน ฝึกปฏิบตั ิ
ปฏบิ ตั เิ ปน็ ต้องการฝึกอบรม รว่ มด้วย เพอ่ื
อาชีพไดจ้ รงิ สาระสาคญั เสรมิ สรา้ ง
และถูกตอ้ ง ประกอบดว้ ย ความเข้าใจ
อยา่ งเป็นขัน - ความเป็นมาและ ในการเรยี นรู้
เปน็ ตอน ความ สาคญั ของอาชีพ และสามารถ
18
แนวทางการสรา้ งสมั มาชีพชมุ ชน ปี ๒๕๖๒
กิจกรรม วัตถุประสงค์ กระบวนการ สอ่ื /อปุ กรณ์ ขอ้ เสนอแนะ
วนั ทสี่ อง ๑. เพิ่มพนู - วิธีการ/กระบวนการ ปฏิบัตไิ ดจ้ รงิ
ศึกษาดูงาน ความรู้และ ประกอบอาชีพอยา่ ง ใหแ้ กผ่ เู้ ข้า
ด้านการสรา้ ง เสรมิ สรา้ งแรง เป็นลาดบั ขนั ตอน รับการฝึก
และพฒั นา บันดาลใจใน - เทคนิคหรือทักษะ อาชีพ
อาชพี และ การพัฒนา ท่จี าเป็น
เสรมิ สร้างการ อาชีพ - ความรู้ที่เปน็ - ควรมุง่
เรยี นรปู้ รชั ญา ๒. เสรมิ สรา้ ง องคป์ ระกอบและ การปรบั
ของเศรษฐกจิ ความรู้ ความ เกย่ี วขอ้ งกบั การ ทัศนคตทิ ี่ดี
พอเพียง ประกอบอาชพี ให้ ตอ่ การ
ประสบความสาเรจ็ เชน่ ประกอบ
ความรูด้ า้ นการตลาด อาชีพตาม
การพัฒนาคณุ ภาพ แนวทาง
ผลติ ภณั ฑ์ การสร้าง
มูลค่าเพม่ิ ให้สินค้า และ
การบรหิ ารจัดการ
เป็นตน้
• ยกตัวอย่าง หรือสาธติ
การประกอบอาชพี รว่ ม
ดว้ ย เพือ่ ให้
กลุม่ เป้าหมาย มคี วาม
เข้าใจเพิ่มมากขนึ และ
สามารถปฏบิ ัตติ ามได้
• กล่มุ เปา้ หมาย - กจิ กรรม
ศึกษาดงู าน แลกเปลย่ี น การ
ความคดิ เห็นและ ประกอบ
ประสบการณ์กับ อาชพี และ
ผู้ท่ปี ระกอบอาชีพจน กจิ กรรม
ประสบความสาเรจ็ / เสรมิ สร้าง
ผู้ปฏบิ ัตจิ รงิ ณ หมู่บ้าน การเรยี นรู้
เศรษฐกิจพอเพยี ง หรือ ปรัชญาของ
19
กรมการพฒั นาชมุ ชน กระทรวงมหาดไทย
กจิ กรรม วตั ถปุ ระสงค์ กระบวนการ ส่ือ/อุปกรณ์ ขอ้ เสนอแนะ
วันทสี่ าม เข้าใจเกีย่ วกับ บา้ นปราชญช์ ุมชน หรือ เศรษฐกจิ สมั มาชพี
ฝึกปฏบิ ัติ ปรัชญาของ ศูนยเ์ รียนรแู้ ละ พอเพยี ง ชุมชน
อาชีพ เศรษฐกิจ ขับเคล่อื นปรัชญาของ จากสถานที่ ตามหลกั
พอเพยี ง เศรษฐกิจพอเพยี งท่ี จรงิ ปรชั ญาของ
๓. กระตนุ้ ให้ เขม้ แข็งในพนื ท่ี เศรษฐกิจ
เกิดความ พอเพยี ง
ตระหนกั ใน
การ
ปรบั เปลยี่ น
การใชช้ วี ิต
และการ
พฒั นาชมุ ชนท่ี
สมดลุ ตาม
หลักปรชั ญา
ของเศรษฐกิจ
พอเพียง
เพ่ือให้ กลมุ่ เปา้ หมายดาเนนิ การ - วสั ดุ - ทมี
กลุ่มเป้าหมาย ฝกึ ปฏบิ ตั ิอาชีพ ณ บา้ น อุปกรณ์ สนบั สนุนการ
ได้ลงมือ ของตนเองหรือสถานทีท่ ี่ สาหรับใช้ใน ขับเคลือ่ น
ปฏบิ ัติการ เหมาะสม โดยมที มี การ สมั มาชีพ
ประกอบ วทิ ยากรสมั มาชีพชุมชน ประกอบ ชมุ ชน
อาชพี จรงิ ในระดบั หมบู่ ้าน กากับ อาชพี ท่ี ร่วมตดิ ตาม
ดแู ลการฝึกปฏิบัตขิ อง ฝกึ อบรม สนับสนุนการ
กลมุ่ เปา้ หมายอยา่ ง ฝึกปฏบิ ตั ิ
ใกล้ชิด โดยอาจแบ่งความ อาชีพของ
รับผดิ ชอบตามสดั สว่ น ครัวเรือน
วิทยากรสมั มาชีพชุมชน เปา้ หมาย
๑ คน ตอ่ ๔ คน หรือ ๔ และให้
ครวั เรอื น กาลังใจ
20
แนวทางการสรา้ งสัมมาชพี ชุมชน ปี ๒๕๖๒
๕. เมือ่ ดาเนนิ การตามกรอบการเรยี นรูเ้ รยี บร้อยแลว้
๑) ทีมวิทยากรสัมมาชีพชุมชนระดับหมู่บ้านและทีมสนับสนุนการขับเคล่ือน
สัมมาชีพในพืนท่ี ดาเนินการตามแผนปฏิบัติการติดตามสนับสนุนการประกอบอาชีพของ
ครัวเรือนเปา้ หมายทผี่ ่านการฝกึ อบรม ติดตาม สนับสนุนและสง่ เสริมใหค้ รัวเรอื นฯ ให้สามารถ
ประกอบอาชพี ท่ีได้ฝึกปฏิบตั ิอยา่ งจริงจงั และต่อเนอื่ ง ทงั ด้านความรูท้ เี่ กย่ี วขอ้ งกับการประกอบ
อาชีพนันเพ่ิมเติม เพ่ือพัฒนาศักยภาพด้านการผลิตหรือการบริหารจัดการ หรือจะเป็นการ
ชว่ ยเหลือแกไ้ ขปัญหา การสง่ เสรมิ ด้านการตลาดและการจัดหาแหล่งทุนสนบั สนนุ
๒) สานักงานพัฒนาชมุ ชนอาเภอ สนับสนุน ส่งเสรมิ ให้ครัวเรือนเป้าหมายท่ีผ่านการ
ฝึกอบรม ที่ประกอบอาชีพเดียวกันหรือประเภทเดียวกันและประกอบอาชีพอย่างต่อเนื่อง
ให้มีการรวมกลุ่ม และสนับสนุนการจัดตังและพัฒนาเป็นกลุ่มอาชีพตามหลัก 5 ก เพื่อเตรียม
ความพรอ้ มเข้าสู่การลงทะเบยี น OTOP
๓) ทีมสนับสนุนการขับเคล่ือนสัมมาชีพในพืนท่ี ส่งเสริมให้ชุมชนจัดระบบบริหาร
การจัดการเงินทุนสนับสนุนการประกอบอาชีพ ส่งเสริมช่องทางการตลาด เพ่ือให้กลมุ่ สามารถ
ประกอบอาชีพและสร้างรายได้อย่างตอ่ เนื่อง
ตัวชว้ี ดั กิจกรรม
1. จานวนประชาชนเปา้ หมายไดร้ บั การสง่ เสรมิ อาชีพ
2. ร้อยละ 85 ของประชาชนเป้าหมายท่ไี ดร้ ับการส่งเสรมิ อาชีพ นาความรไู้ ปประกอบ
อาชพี ตามแนวทางสัมมาชพี ชุมชน และมรี ายได้เพมิ่ ขนึ
เงือ่ นไข : 1. กิจกรรมสร้างสัมมาชีพชุมชนในระดับหมู่บ้าน ให้ดาเนินการหลังจาก
ดาเนนิ กิจกรรมเตรียมความพรอ้ มทีมวทิ ยากรสมั มาชพี ชมุ ชน เรียบรอ้ ยแล้ว
๒. จัดทาฐานข้อมูลครัวเรือนสัมมาชีพชุมชน ตามแบบฟอร์มท่ีกรมฯ
กาหนด เพอื่ นาไปสูก่ ารต่อยอดการพฒั นา และการใช้ประโยชน์
๓. ทีมวิทยากรสัมมาชีพชุมชนระดับหมู่บ้าน ต้องรวบรวมข้อมูลและ
ประสานสานักงานพัฒนาชุมชนอาเภอ ในการจัดซือวัสดุฝึกอาชีพเพื่อดาเนินการ
สนับสนุนการฝึกอาชีพให้ครัวเรือนเป้าหมายนาไปฝึกอาชีพได้จริงก่อนเร่ิมดาเนินการ
ฝกึ อบรม
๔. วัสดุฝึกอาชีพ ต้องไม่เป็นการซือแจกให้ครัวเรือนโดยไม่มีการให้ความรู้
ด้านอาชีพ และจดั ทาทะเบียนวัสดขุ องแต่ละหมบู่ า้ น
5. หากงบประมาณในการฝึกปฏิบัติอาชีพรายครัวเรือนไม่เพียงพอต่อการ
ฝึกปฏิบัติอาชีพ สามารถฝึกปฏิบัติอาชีพในลักษณะร่วมกันทาแบบกลุ่มได้ โดยจะใช้
สถานที่ฝึกปฏบิ ตั ิ ณ บ้านตนเอง หรอื สถานที่ทีก่ ล่มุ กาหนดกไ็ ด้
21
กรมการพัฒนาชมุ ชน กระทรวงมหาดไทย
6. สนับสนุนครัวเรือนเป้าหมายที่ได้รับการส่งเสริมให้ประกอบอาชีพตาม
แนวทางการสร้างสัมมาชีพชุมชนอย่างต่อเน่ืองให้มีรายได้ และบันทึกรายได้ตามแบบ
บนั ทึกครวั เรอื นสมั มาชีพชมุ ชน
๔. จดั ตั้งและพัฒนากลมุ่ อาชีพ
วัตถุประสงค์ เพื่อส่งเสริมและสนับสนุนให้ครัวเรือนสัมมาชีพชุมชนท่ีผ่านการพัฒนา
ไดม้ กี ารรวมกลุ่ม และสนับสนนุ การจดั ตังและพฒั นาเป็นกล่มุ อาชพี
กลุ่มเป้าหมาย ผู้แทนครัวเรือนสัมมาชีพชุมชนนาความรู้จากการฝึกปฏิบัติอาชีพ
ไปประกอบอาชีพได้อย่างต่อเนื่องและเห็นผลสาเร็จ โดยประกอบอาชีพเดียวกันหรือประเภท
เดียวกัน หมู่บ้านละ ๒๐ คน (จานวนกลุ่มอาชีพที่จะต้องจัดตังและพัฒนาขึนใหม่ คิดเป็นร้อยละ
๑๐ ของจานวนหมบู่ า้ นเป้าหมาย)
ระยะเวลา ดาเนินการไตรมาส ๓ (เมษายน - มถิ นุ ายน 256๒) หมู่บา้ นละ ๒ วัน
ข้ันตอนการดาเนนิ งาน สานกั งานพัฒนาชมุ ชนอาเภอ ดาเนนิ กิจกรรมจัดตังและพัฒนา
กล่มุ อาชพี ตามขันตอนดงั นี
1. ทาความเข้าใจแนวทางการดาเนินกิจกรรมจากเอกสารแนวทางการสร้างสัมมาชพี
ชุมชน ปี 2562
2. จัดทาแผนการดาเนินกิจกรรมจัดตงั และพฒั นากลมุ่ อาชีพ เพื่อให้บรรลุวัตถุประสงค์
และเป้าหมายทกี่ าหนด
3. คดั เลอื กหม่บู ้านเป้าหมายเพ่อื ดาเนินการจดั ตังและพัฒนากลมุ่ อาชพี โดยดาเนินการ
ร่วมกับทีมวิทยากรสัมมาชีพชุมชนและทีมสนับสนุนการขับเคลื่อนสัมมาชีพชุมชนในพืนที่ ซ่ึงมี
เกณฑ์การพิจารณาคดั เลอื ก ดังนี
1) ครัวเรือนสัมมาชีพชุมชนในหมู่บ้านเป้าหมายนาความรู้ท่ีได้รับจากการฝึกปฏิบัติ
อาชพี ไปประกอบเปน็ อาชพี อยา่ งตอ่ เนอื่ ง
๒) ครวั เรือนฯ ตามข้อ 1) มีการประกอบอาชีพเดียวกันหรอื ประเภทอาชีพเดียวกนั
๓) อาชีพ ตามข้อ ๒) สามารถสร้างรายได้ต่อเน่ืองและมีความเชื่อมโยงสอดคล้อง
กบั ความต้องการของตลาด
๔) เป็นกลุ่มอาชีพท่ีจัดตังขึนใหม่ โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อช่วยเหลือซึ่งกันและกัน
ในการประกอบอาชพี และสรา้ งรายได้
22
แนวทางการสรา้ งสมั มาชีพชุมชน ปี ๒๕๖๒
4. ดาเนินกิจกรรมจัดต้ังและพัฒนากลุ่มอาชีพ ในรูปแบบการประชุมเชิงปฏบิ ัติการ โดยให้
ทีมวิทยากรสัมมาชีพชุมชนระดับหมู่บ้าน ทีมสนับสนุนการขับเคล่ือนสัมมาชีพชุมชน
ในพืนท่ีและหน่วยงานภาคีการพัฒนาท่ีเก่ียวข้องเข้าร่วมกิจกรรมและสนับสนุน ตามกรอบ
การเรยี นรู้ ตารางที่ ๓ ดงั นี
ตารางที่ ๓ กรอบการเรียนรกู้ ารจัดต้งั และพัฒนากลุ่มอาชพี (๒ วัน)
กจิ กรรม วัตถุประสงค์ กระบวนการ ส่อื /อุปกรณ์ ขอ้ เสนอแนะ
วนั ท่ีหน่ึง • สร้างความรู้ ความ - เอกสาร - ควรถาม/
เสรมิ สรา้ ง เพ่อื ให้ เขา้ ใจเกี่ยวกับแนว - Power ตอบ เพือ่
ความรู้ ความ กล่มุ เปา้ หมาย ทางการจดั ตังกลุ่มอาชีพ Point เน้นยาความ
เข้าใจ เก่ียวกับ มีความรู้ ประกอบด้วย - ส่อื วดิ ที ศั น์ เขา้ ใจ
กระบวนการ ความเข้าใจ - แนวคดิ /หลักการ ตัวอย่างการ
จัดตังและ และสามารถ - ความสาคัญ ดาเนนิ ทีมสนับสนนุ
พัฒนากลมุ่ ดาเนินการ - วธิ ีการขันตอน กจิ กรรม การ
อาชพี จดั ตงั กลมุ่ - การบริหารจัดการ กลุ่มอาชีพที่ ขับเคล่อื น
- การดาเนินกจิ การ ประสบ สัมมาชีพ
ได้อย่างมี สู่ความย่งั ยนื ความสาเร็จ ชมุ ชนใน
ประสิทธภิ าพ - ความรู้ทเ่ี ก่ียวข้องดา้ น พืนทร่ี ่วม
อื่น ๆ ท่ีเหมาะสม - กระดาษ สนับสนนุ
วนั ทสี่ อง ฟลิปชาร์ท
• ดาเนนิ การ เพือ่ ให้ ทีมสานกั งานพัฒนา - ปากกาเคมี
จัดตงั กลุม่ กลุม่ เปา้ หมาย ชุมชนอาเภอสนบั สนนุ - เทปกาว
• จดั ทา ดาเนนิ การ ใหก้ ลมุ่ เป้าหมาย
แผนปฏิบตั กิ าร จัดตังกลุ่ม • ดาเนินการจดั ตังกลุ่ม
พัฒนากลมุ่ อาชีพและ • จัดทาแผนปฏบิ ัติการ
อาชีพ ร่วมกนั พัฒนากล่มุ อาชีพ
วางแผน
พฒั นากล่มุ
๕. ดาเนินการจดทะเบียนกลุ่มอาชีพกับสานักงานพัฒนาชุมชนอาเภอ หรือหน่วยงาน
ทเ่ี กย่ี วข้อง
23
กรมการพัฒนาชุมชน กระทรวงมหาดไทย
๖. สานักงานพัฒนาชุมชนอาเภอประสานทีมสนับสนุนการขับเคล่ือนสัมมาชีพในพืนที่
หรือบริษัท ประชารัฐรักสามัคคีจังหวัด (วิสาหกิจเพ่ือสังคม) จากัด และหน่วยงานภาคีการ
พัฒนา ใหก้ ารส่งเสริมและสนับสนุนกลมุ่ อาชพี ท่ีได้รับการพฒั นาและจัดตงั ขนึ ใหม่ในด้านต่าง ๆ
เช่น การเข้าถึงปัจจัยการผลิต องค์ความรู้ท่ีเก่ียวข้องและทันสมัย การตลาด การส่ือสารสร้าง
การรบั รู้เพ่อื ความยงั่ ยืน และการบรหิ ารจดั การ เป็นตน้ เพอ่ื ใหก้ ลุ่มสามารถประกอบอาชีพและ
สรา้ งรายได้อย่างตอ่ เน่อื ง
ตวั ชวี้ ดั กิจกรรม
จานวนกลมุ่ อาชพี ท่ีไดร้ บั การจัดตังพัฒนา (รอ้ ยละ ๑๐ ของจานวนหม่บู ้านเปา้ หมาย)
เง่ือนไข : 1. กิจกรรมการจัดตังและพัฒนากลุ่มอาชีพตามแนวทางสัมมาชีพชุมชน
ใหด้ าเนินการหลังจากทีด่ าเนินกิจกรรมสรา้ งสัมมาชีพชมุ ชนในระดับหมบู่ ้านเรียบรอ้ ยแลว้
กิจกรรมนีจะเป็นจุดเชื่อมต่อกระบวนการสร้างสัมมาชีพชุมชนในระดับหมู่บ้าน
ทมี่ ่งุ ยกระดับ/ต่อยอดการประกอบอาชีพของครัวเรอื นเปา้ หมาย สกู่ ารเปน็ กลมุ่ อาชีพ
2. จัดทาฐานข้อมูลกลุ่มอาชีพตามแนวทางสัมมาชีพชุมชนท่ีจัดตังขึน
ตามแบบฟอร์มที่กรมฯ กาหนด เพ่อื นาไปใช้ในการตอ่ ยอดการพฒั นาและอืน่ ๆ
24
แนวทางการสร้างสัมมาชีพชมุ ชน ปี ๒๕๖๒
.......ส...่ว.....น...ท.....่ี ..๓...........
การสนับสนนุ การสรา้ งสมั มาชพี ชมุ ชน
กระบวนการสร้างสัมมาชีพชุมชนตามโครงการสร้างสัมมาชีพชุมชนตามหลักปรัชญา
ของเศรษฐกิจพอเพยี ง ดาเนินการภายใต้แนวคิดที่ให้ชาวบ้านซ่ึงเป็นผู้ทม่ี คี วามรู้ ความเชยี่ วชาญ
และประสบความสาเร็จในการประกอบอาชีพและเป็นทีย่ อมรบั สอนอาชีพให้กับชาวบา้ นในชุมชน
เดยี วกันหรอื ใกล้เคียงทมี่ ีความตอ้ งการหรอื สนใจฝึกอาชีพ หรอื ทีว่ ่า “ชาวบ้านสอนชาวบา้ น” และ
เพ่ือสนับสนุนให้การสร้างสัมมาชีพชุมชนตามโครงการสร้างสัมมาชีพชุมชนตามหลักปรัชญา
ของเศรษฐกิจพอเพียงสัมฤทธิผลย่ิงขึน กรมการพัฒนาชุมชนได้กาหนดให้ ๔ องค์กรสาคัญ
ทุกระดับ ประกอบด้วย คณะกรรมการบริหารสานักงานกลางศูนย์ประสานงานองค์การชุมชน
หรือคณะกรรมการศูนย์ประสานงานองค์การชุมชนระดับจังหวัด (ศอช.จ)/ศูนย์ประสานงาน
องค์การชุมชนระดับอาเภอ (ศอช.อ.)/ศูนย์ประสานงานองค์การชุมชนระดับตาบล (ศอช.ต.)
สมาคมผู้นาสตรพี ฒั นาชมุ ชนไทยหรอื คณะกรรมการพฒั นาสตรจี งั หวัด (กพสจ.)/คณะกรรมการ
พัฒนาสตรอี าเภอ (กพสอ.)/คณะกรรมการพฒั นาสตรตี าบล (กพสต.) สมาคมผู้นาอาสาพฒั นา
ชุมชนไทย หรือคณะกรรมการชมรมผู้นาอาสาพัฒนาชุมชนระดับจังหวัด/อาเภอ และสมาคม
กลุ่มออมทรัพย์เพื่อการผลิตหรือคณะกรรมการเครือข่ายกลุ่มออมทรัพย์เพื่อการผลิต
ระดับจังหวดั /อาเภอ หรอื ผู้แทนคณะกรรมการกลมุ่ ออมทรัพย์เพ่ือการผลติ ทาหน้าทสี่ นับสนุน
การสร้างสมั มาชีพชมุ ชน ในฐานะ “ทมี สนับสนุนการขบั เคลอ่ื นสมั มาชีพชุมชน” ตามบทบาท
ภารกิจท่ีกรมฯ กาหนด ตังแต่ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๐ และจากท่ีผ่านมา พบว่า ในบาง
จังหวัดมีผู้นา กลุ่ม องค์กร เครือข่ายอ่ืน ๆ ที่มีศักยภาพได้เข้ามาร่วมเป็นทีมสนับสนุน
การขับเคลื่อนสัมมาชีพชุมชน อาทิ เครือข่าย OTOP เครือข่ายกองทุนหมู่บ้าน ร่วมเป็น
“ทมี สนบั สนุนการขับเคล่อื นสมั มาชีพชมุ ชน” ดว้ ย นอกจาก ๔ องคก์ รทไี่ ดก้ ล่าวมานี
เพื่อสนับสนุนการสร้างสัมมาชีพชุมชนให้บรรลตุ ามวัตุประสงค์ท่ีกาหนดและเกิดความ
ต่อเนื่องในการขับเคล่ือนการสร้างสัมมาชีพชุมชนในระดับพืนที่หมู่บ้านชุมชน ปีงบประมาณ
พ.ศ. ๒๕๖๒ กรมการพัฒนาชุมชน จึงได้ส่งเสริมและสนับสนุนให้ ผู้นา กลุ่ม องค์กร และ
เครือข่ายที่อยู่ในความรับผิดชอบของกรมฯ มีส่วนร่วมขับเคลื่อนการสร้างสัมมาชีพชุมชน
โดยทาหนา้ ท่ีในกจิ กรรมสนบั สนนุ ดังนี
25
กรมการพัฒนาชมุ ชน กระทรวงมหาดไทย
กิจกรรมบูรณาการแผนชุมชนระดับตาบล
การบูรณาการแผนชุมชนระดับตาบล ประจาปีงบประมาณ พ.ศ.2562 ได้กาหนด
ดาเนินการสนับสนุนบทบาทภารกิจตามระเบียบกระทรวงมหาดไทยว่าด้วยการดาเนินงาน
ศูนย์ประสานงานองค์การชุมชน พ.ศ.2551 โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อส่งเสริมการบูรณาการ
แผนชุมชนระดับตาบล และการใช้ประโยชน์จากแผนชุมชนในการสร้างสัมมาชีพชุมชน
ที่มุ่งเน้นการบูรณาการปัญหา ความต้องการจัดกลุ่มเพื่อสร้างนาหนัก ชีเป้าเพ่ือสร้างความ
ร่วมมือในการจัดการปัญหาและตอบสนองความต้องการ โดยมุ่งเน้นด้านการสร้างสัมมาชีพ
ชุมชน และเพื่อสนับสนุนให้คณะกรรมการศูนย์ประสานงานองค์การชุมชน เป็นกลไกหลัก
ในการบูรณาการแผนชุมชนระดับตาบลสร้างสัมมาชีพชุมชน ที่เช่ือมโยงสู่แผนพัฒนาท้องถ่ิน
แผนพัฒนาอาเภอ และแผนพัฒนาจังหวัด มุ่งเน้นการเพิ่มโอกาสการเข้าถึงแหล่งงบประมาณ
ทส่ี นบั สนุนการยกระดบั /ตอ่ ยอดการสรา้ งสัมมาชีพชมุ ชนใหม้ ปี ระสิทธิภาพเพิ่มขึน
วัตถุประสงค์
1. เพือ่ บรู ณาการแผนชมุ ชนระดบั ตาบลในการสร้างสัมมาชีพชุมชน
2. เพื่อสนับสนุนให้คณะกรรมการศูนย์ประสานงานองค์การชุมชนระดับตาบล
(ศอช.ต.) เป็นกลไกสาคัญในการบูรณาการแผนชุมชนระดับตาบลในการสร้างสัมมาชีพชุมชน
ทเ่ี ชอื่ มโยงสูแ่ ผนพัฒนาทอ้ งถน่ิ แผนพฒั นาอาเภอ และแผนพัฒนาจังหวดั
กลุ่มเป้าหมาย ประกอบด้วย คณะกรรมการศูนย์ประสานงานองค์การชุมชนระดับ
ตาบล (ศอช.ต.) จานวน 6,766 ตาบล ๆ ละไม่น้อยกว่า 40 คน รวมทังสิน 270,640 คน
โดยมีทีมปฏิบัติการตาบลหรือประชารัฐตาบลร่วมสนับสนุนการจัดเวทีบูรณาการแผนชุมชน
ระดบั ตาบลสรา้ งสมั มาชีพชุมชน
ระยะเวลา ดาเนนิ การไตรมาส 1 (ตลุ าคม – ธนั วาคม 2561 ) ตาบลละ 1 วนั
ขัน้ ตอน การบูรณาการแผนชมุ ชนระดบั ตาบลสรา้ งสมั มาชพี ชุมชน แบ่งเปน็ 3 ระยะ ดงั นี
ระยะที่ 1 กอ่ นดาเนินการ
1.1 สานักงานพัฒนาชุมชนอาเภอ ดาเนินการกาหนดกลุ่มเป้าหมาย
โดยพิจารณาคัดเลือกตาบลท่ีมีหมู่บ้านเป้าหมายในการสร้างสัมมาชีพชุมชน ปี 2562
เป็นเกณฑ์ลาดับแรก หากยังได้ตาบลเป้าหมายไม่ครบตามท่ีได้รับการจัดสรรให้พิจารณา
คัดเลือกตาบลที่มีหมู่บ้านเป้าหมายในการสร้างสัมมาชีพชุมชน ปี 2560 - 2561 พร้อมวาง
รูปแบบการจัดเวที บูรณาการแผนชุมชนระดับตาบล เพื่อเช่ือมโยงกับแผนท้องถิ่นในการ
สนับสนุนการสรา้ งสมั มาชีพชุมชน
26
แนวทางการสรา้ งสัมมาชีพชมุ ชน ปี ๒๕๖๒
1.2 สานักงานพัฒนาชุมชนอาเภอ ดาเนินการประชุมทีมปฏิบัติการตาบล
ประธานคณะกรรมการศูนย์ประสานงานองค์การชุมชนระดับอาเภอ (ศอช.อ.) และประธาน
คณะกรรมการศูนย์ประสานงานองค์การชุมชนระดับตาบล (ศอช.ต.) เพื่อหารือ วางแผน
การจัดเวทีการบูรณาการแผนชุมชนระดับตาบลร่วมกัน โดยเฉพาะการเน้นยาบทบาท หน้าท่ี
ความรับผิดชอบที่สาคัญต่อการบูรณาการแผนชุมชนระดับตาบล เช่น การเตรียมทีมวิทยากร
กระบวนการ และการประสานแผนงาน/โครงการเพื่อสนับสนุนการสร้างสัมมาชีพชุมชน
เปน็ ต้น
1.3 สานักงานพัฒนาชุมชนอาเภอ ดาเนินการประชุมคณะกรรมการ
ศูนย์ประสานงานองค์การชุมชนระดับตาบล (ศอช.ต.) เพ่ือสร้างความเข้าใจในเร่ืองท่ีสาคัญ
ต่อการบรู ณาการแผนชุมชนระดบั ตาบล ดังนี
1.3.1 กระบวนการบูรณาการแผนชุมชนระดับตาบล (ศอช.ต. ต้องรู้
บทบาท หน้าท่ีตนเอง และต้องรู้ว่าจะแสดงบทบาทอย่างไรต่อการดาเนินการบูรณาการ
แผนชมุ ชนระดับตาบล และตอ้ งร้ทู ี่มาของแผนชมุ ชน และแผนชุมชนระดบั ตาบล)
1.3.2 กาหนดแผนปฏิบัติการ
1.3.3 สรา้ งความเขา้ ใจโครงรา่ งเลม่ แผนชมุ ชนระดับตาบล
1.3.4 กาหนดบทบาทหน้าทค่ี วามรบั ผิดชอบ
1.3.5 ประสานหน่วยงานทังภาครัฐ ภาคเอกชน และภาคประชาชน
ตามแนวทางประรฐั เขา้ รว่ มเวทีฯ เพอื่ เชือ่ มโยงแผนงาน/โครงการในการพฒั นาหมบู่ ้าน/ตาบล
1.3.6 เตรยี มข้อมลู อปุ กรณ์ และเคร่ืองมอื เช่น ข้อมลู จปฐ. กชช.2ค
ข้อมูลท่ัวไประดับตาบล และข้อมูลอื่น ๆ วัสดุ อุปกรณ์ในการจัดเวทีประชาคม (ปากกาเคมี
กระดาษฟลิปชารท์ )
1.3.7 ประสานขอรบั แผนชมุ ชนจากทกุ หมู่บ้าน/ชุมชน
1.3.8 ประสานขอรับขอ้ มูลตาบลจากองค์กรปกครองส่วนทอ้ งถ่ิน
1.3.9 ประสานขอรับข้อมูลต่าง ๆ จากหน่วยงานภาคีการพัฒนา
ทเ่ี กยี่ วข้อง เชน่ เกษตร สาธารณสขุ กศน. ปศุสัตว์ และอ่นื ๆ ทเ่ี กย่ี วขอ้ ง
1.4 สานักงานพัฒนาชุมชนอาเภอ ส่งเสริมและสนับสนุนคณะกรรมการ
ศูนย์ประสานงานองค์การชุมชนระดบั ตาบล (ศอช.ต.) ดาเนินการรวบรวมแผนชุมชน/หมบู่ ้าน
ให้ครบทกุ หมบู่ ้าน แลว้ จงึ นามาวิเคราะห์ และสงั เคราะหจ์ ดั กล่มุ ปญั หา/ความตอ้ งการ จัดลาดบั
ความสาคัญ จัดกลุ่มแผนงาน/โครงการ โดยขอให้เน้นยาในเรื่องการส่งเสริมอาชีพเป็นลาดับแรก
เพอ่ื เปน็ ขอ้ มลู ในการยกรา่ งการบูรณาการแผนชมุ ชนระดบั ตาบล
1.5 สานักงานพัฒนาชุมชนอาเภอ ส่งเสริมและสนับสนุนคณะกรรมการ
ศูนย์ประสานงานองค์การชุมชนระดับตาบล (ศอช.ต.) ดาเนินการยกร่างการบูรณาการ
27
กรมการพฒั นาชมุ ชน กระทรวงมหาดไทย
แผนชุมชนระดับตาบลตามแบบฟอร์มที่กาหนด โดยการจัดประชุมนาผลการวิเคราะห์
แผนชุมชนจากทุกหมู่บ้านมารวมกัน แล้วยกร่าง “แผนชุมชนระดับตาบล" ก่อนนาเสนอเวที
บรู ณาการแผนชุมชนระดบั ตาบล เพอ่ื ลดขันตอนการทางาน และทาใหผ้ ลงานมีคุณภาพเพราะ
ได้ผา่ นกระบวนการกลั่นกรองมากอ่ น
1.6 สานักงานพัฒนาชุมชนอาเภอ ส่งเสริมและสนับสนุนคณะกรรมการ
ศูนย์ประสานงานองคก์ ารชมุ ชนระดบั ตาบล (ศอช.ต.) ดาเนนิ การกาหนดและเตรียมดาเนนิ การ
ประสานการจัดเวทีบูรณาการแผนฯ อาทิเช่น การกาหนดเวลาและสถานท่ีดาเนินการจดั เวทฯี
และการมีหนังสือเชิญผู้เข้าร่วมเวทีตามแนวทางประชารัฐประกอบด้วย ผู้นาชุมชน ผู้แทน
องค์กรปกครองสว่ นทอ้ งถ่นิ ภาคีภาครฐั ระดับตาบล และภาคเอกชน เปน็ ตน้
ระยะท่ี 2 ระหวา่ งดาเนนิ การ
๒.๑ แนะนาคณะกรรมการฯ/ทีมทางานบรู ณาการแผนชุมชนระดับตาบล
๒.๒ ชีแจงวตั ถุประสงคข์ องการจัดเวทบี รู ณาการแผนชุมชนระดับตาบล
๒.๓ ดาเนินการบูรณาการแผนชุมชนระดับตาบลท่ีมุ่งเน้นการสนับสนุน
การสรา้ งสัมมาชพี ชมุ ชน โดยมวี ิธีการ ดงั นี
2.3.1 วิทยากรกระบวนการทาหน้าท่ีกระตุ้นให้ผู้เข้าร่วมเวที
ร่วมวิเคราะห์ข้อมูลของแต่ละหมู่บ้านวิเคราะห์สถานการณ์ตาบล เพ่ือสังเคราะห์เป็นภาพรวม
ของตาบลด้วยเทคนิค SWOT หรือเทคนิคอื่นตามความเหมาะสม โดยนาแผนชุมชน
ทกุ หมบู่ า้ น/ ทุกชุมชนในตาบลมาวิเคราะห์ร่วมกัน โดยใช้เวทีประชาคมช่วยกันค้นหาวา่ ตาบล
มีปัญหาอะไรบา้ ง มากหรือนอ้ ย จาเป็นเร่งด่วนตอ้ งแก้ไขขนาดไหน อย่างไร เปน็ ปัญหาท่เี กดิ จาก
ปัจจัยในชุมชนเอง หรือเกิดจากปัจจัยภายนอกท่ีส่งผลกระทบต่อคนส่วนใหญ่ในตาบล
โดยนาข้อมูลทัง 2 ประเภท มารวบรวมและประมวลผล ค้นหาศักยภาพของตาบล จากข้อมูล
พนื ฐานของชุมชน และวิเคราะหค์ ณุ ภาพชีวติ รายรับ รายจ่าย เงินออม และหนสี ิน ในภาพรวม
ของตาบลจากข้อมูลพืนฐานของครัวเรือน เช่น ข้อมูล จปฐ. ข้อมูล กชช.2ค และข้อมูลบัญชี
ครัวเรือน ฯลฯ เพ่ือให้ทุกฝ่ายท่ีเกี่ยวข้องได้รับรู้ปัญหาและหาแนวทางแก้ไขในภาพรวม
ของตาบลร่วมกันอยา่ งมเี ปา้ หมาย
2.3.2 นาข้อมูลท่ัวไป และข้อมูลท่ีเจาะลึกแต่ละด้าน เช่น ทุนชุมชน
ทังที่เป็นเงินและไม่ใช่เงิน ธุรกิจชุมชน วัฒนธรรมชุมชน สุขภาพคน ฯลฯ ของแต่ละหมู่บ้าน/
ชุมชนมารวบรวมเป็นข้อมูลระดับตาบล เพื่อใช้ในการวิเคราะห์ จุดอ่อน จุดแข็ง โอกาส และ
ข้อจากัด ของชุมชนให้มีความแม่นยา ชัดเจน สามารถนามากาหนดวิสัยทัศน์ เป้าหมาย และ
ทิศทางการพฒั นาชุมชนได้อยา่ งเหมาะสมกับบรบิ ทของตาบล สาหรับการวางแผนแก้ไขปญั หา
เพอื่ บูรณาการแผนชมุ ชนระดบั ตาบล มรี ายละเอยี ดการดาเนนิ งาน ดงั นี
28
แนวทางการสร้างสัมมาชพี ชมุ ชน ปี ๒๕๖๒
1) วิเคราะห์ชุมชน โดยนาข้อมูลพืนฐานของชุมชนและข้อมูลพนื ฐาน
ของครัวเรือน มาวิเคราะห์ เพ่ือให้รู้วา่ ในตาบลมีทรัพยากรอะไรบ้างที่จะส่งเสริมสัมมาชพี ชมุ ชน
หรือที่เกย่ี วขอ้ งกบั ปญั หาทชี่ ุมชนต้องการแก้ไข
2) การค้นหา โอกาส และแนวทางแก้ไขปัญหา สามารถใช้ข้อมูล
พืนฐานของครัวเรือน วิเคราะห์คุณภาพชีวิตในมิติด้านต่าง ๆ เช่น เศรษฐกิจ สังคมและ
วฒั นธรรม ดา้ นการเรียนรู้ ด้านสขุ ภาวะ ฯลฯ มาเชื่อมโยงกับเปา้ หมายการพัฒนาคุณภาพชีวิต
ของคนในตาบล โดยนามาบรู ณาการและจัดทาเปน็ โครงการต่างๆตามประเด็นทีเ่ ป็นปัญหาร่วม
3) การกาหนดเป้าหมายหรือวิสัยทัศน์ เป็นการกาหนดทิศทาง
การพัฒนาตาบลซึ่งมีทิศทางระยะสัน ระยะกลาง หรือ ระยะยาว โดยใช้ข้อมูลในการค้นหา
ปัญหา สาเหตุ ความจาเป็น ความต้องการจัดลาดับและประเมินตนเอง และนามากาหนด
เป้าหมายหรือวิสัยทัศนข์ องตาบล
4) การกาหนดรายละเอียดการวางแผนเพ่อื แก้ไขปัญหา ประกอบดว้ ย
ก า ร น า ปั ญ ห า ท่ี ชุ ม ช น ส่ ว น ใ ห ญ่ ไ ด้ รั บ ค ว า ม เ ดื อ ด ร้ อ น ห รื อ ผ ล ก ร ะ ท บ ใ น ว ง ก ว้ า ง
มาเปน็ ประเด็นในการบูรณาการแผนชมุ ชนระดบั ตาบล ฉะนนั จะเห็นวา่ การบรู ณาการแผน มใิ ช่
การนาแผนของหมูบ่ า้ น/ชุมชน มารวมกันเทา่ นัน
5) จัดกลุ่มแผนงาน/โครงการ เพ่ือแสวงหาแหล่งงบประมาณ
ให้เหมาะสมกับแผนงาน/โครงการ ดังนัน จึงต้องรู้ว่า แต่ละแผนงาน/โครงการ จะขอรับ
การสนับสนุนงบประมาณจากหน่วยงานใดหรือกาหนดหน่วยงานเจ้าภาพ เพื่อจะได้ประสาน
เชือ่ มโยงกับผู้ทเ่ี ก่ยี วขอ้ งต่อไป โดยจัดกลุม่ แผนงาน/โครงการ เป็น 3 กลุ่ม ดังนี
แผนงาน/โครงการที่ทาเองได้ เช่น การลดรายจ่ายในครัวเรอื น
ด้วยการปลูกผักสวนครัว ลดรายจ่ายท่ีไม่จาเป็น หรือลดต้นทุนการผลิต ด้วยการทาปุ๋ยหมัก
เป็นตน้
แผนที่ต้องทาร่วม เป็นแผนที่ต้องประสานขอรับความร่วมมือ
กับหลายภาคส่วนโดยมีการร่วมกันในด้านทรัพยากร คน หรือ เงิน เช่น โครงการดูแลสุขภาพ
ชุมชน ร่วมกับสานักงานสาธารณสุขอาเภอ โครงการปลูกข้าวพันธ์ุดีร่วมกับสานักงานเกษตร
อาเภอ ด้านการตลาดกับภาคเอกชนหรือบรษิ ทั ประชารัฐรกั สามคั คีจงั หวัด เป็นต้น
แผนที่ต้องขอรับการสนับสนุน เป็นแผนที่ต้องมีการประสาน
เชื่อมโยงกับหน่วยงานท่ีเก่ียวข้อง โดยเฉพาะปัญหาที่ส่งผลกระทบในวงกว้างและเป็นปัญหา
ร่วมกันหลายพืนที่ หากสามารถจัดทารายละเอียดต่างๆ ได้ครบถ้วน และสอดคล้องเชื่อมโยง
กับยุทธศาสตร์ เป้าหมาย/ตัวชีวัด ของหน่วยงานท่ีเก่ียวข้องได้ชัดเจน แผนงาน/โครงการ
ดงั กล่าว ย่อมมีโอกาสได้รับการสนับสนุนสูงกว่า แผนงาน/โครงการที่ไม่ชัดเจน
29
กรมการพฒั นาชมุ ชน กระทรวงมหาดไทย
6) การจัดลาดับแผนงาน/โครงการ จัดโดยยึดหลักความสาคัญ
ความจาเปน็ หรือความสามารถในการแก้ไขปัญหาความต้องการของชุมชน ผ่านเวทีประชาคม
โดยใช้วิธีการต่าง ๆ เชน่ การอภปิ รายถึงความสาคญั ของโครงการ การใชเ้ สียงสว่ นใหญจ่ ากการ
โหวตออกเสียงสนับสนุนในเวทีประชาคม หรือการประเมินข้อมูลด้วยตารางวิเคราะห์คะแนน
ความสาคัญของแผนงาน/โครงการการบูรณาการแผนชุมชนระดับตาบล จาเป็นต้องวิเคราะห์
ทังปัญหา/อุปสรรค และโอกาสที่จะเกิดขึนรอบด้าน ทังนี เพ่ือให้ชุมชนสามารถแสวงหา
ความร่วมมอื และโอกาสในการขอรับการสนับสนุนจากหน่วยงานที่เกี่ยวข้องอยา่ งเปน็ รปู ธรรม
และสอดคล้องกับเป้าหมายของหน่วยงานท่ีขอรับการสนับสนุนในทุกระดับ ฉะนันรูปแบบ
การนาเสนอแผนงาน/โครงการก็ควรจะทาให้สอดคล้องกับแหล่งงบประมาณ โดยจัดทาเป็น
แผนงาน/โครงการ ซึ่งครอบคลุมทัง ๕ ด้าน ได้แก่ ด้านเศรษฐกิจ ด้านสังคมและคุณภาพชีวิต
ดา้ นทรัพยากรธรรมชาติและส่งิ แวดล้อม ดา้ นความม่นั คงและความสงบ และด้านบรหิ ารจัดการ
พรอ้ มทังกาหนดผูร้ บั ผดิ ชอบประสานแผนฯ ของแต่ละดา้ นและให้มแี ผนงาน/โครงการด้านการ
ส่งเสริมการสรา้ งสมั มาชพี ทงั ในระดบั ครัวเรอื นและระดับกลุ่มในภาพรวมของตาบลท่ีชัดเจน
7) การยกร่างแผนชุมชนระดับตาบลเพื่อขอความเห็นชอบคือ
การจัดทาร่างแผนชุมชนระดับตาบลตามมติที่ประชุมของเวทีบูรณาการแผนชุมชนระดับตาบล
เพือ่ นาเข้าสูเ่ วทปี ระชาพจิ ารณ์ในระดับตาบลอกี ครงั เพอ่ื ให้ความเหน็ ชอบ และประกาศใชต้ อ่ ไป
8) จัดทารูปเล่มแผนชุมชนระดับตาบลฉบับสมบูรณ์ จานวน 2 - 4
เล่ม เพอ่ื สง่ มอบให้ องคก์ รปกครองส่วนทอ้ งถน่ิ ในพืนที่ (อบต./เทศบาลตาบล) เพื่อนาไปบรรจุ
ในข้อบัญญัติงบประมาณ ส่งให้อาเภอเพื่อประสานการปฏิบัติเก็บไว้ที่ตาบลหรือที่ทาการของ
ศอช.ต. และอาจส่งให้หน่วยงานที่เกย่ี วข้องตามความเหมาะสมทังนี วิธีการส่งมอบควรกาหนด
รูปแบบให้เป็นทางการ เช่น การยกทีมคณะทางานไปส่งมอบในที่ประชุมขององค์กรปกครอง
ส่วนท้องถ่ินในพืนที่ (อบต./เทศบาลตาบล)ที่ประชุมอาเภอ หรือส่งมอบโดยตรงกับผู้แทน
หน่วยงานท่ีเก่ียวข้อง เป็นต้น โดยให้มีพยาน/สร้างความสาคัญในการส่งมอบ และให้คานึงถึง
แนวทางท่ีกระทรวงมหาดไทยกาหนด เพอื่ ไมใ่ ห้เกดิ ความซาซอ้ นในการดาเนินงาน
ระยะท่ี 3 หลงั ดาเนนิ การ
สานักงานพัฒนาชุมชนอาเภอ ร่วมกับคณะกรรมการศูนย์ประสานงาน
องค์การชุมชนระดับอาเภอ (ศอช.อ.) ส่งเสริมและสนับสนุนคณะกรรมการศูนย์ประสานงาน
องค์การชุมชนระดับตาบล (ศอช.ต.) ดาเนินการติดตามความก้าวหน้าในการดาเนินโครงการ
การประเมินผลสาเร็จของโครงการและการประชาสัมพันธ์ความก้าวหน้าในการดาเนินการ
อยา่ งตอ่ เนอ่ื งทกุ ขนั ตอน เพ่อื ให้เกิดการรบั รู้ทังแนวดิ่ง แนวราบ และคืนกลับสูช่ มุ ชน
30
แนวทางการสร้างสัมมาชีพชุมชน ปี ๒๕๖๒
ประชุมเชิงปฏิบัติการคณะกรรมการพัฒนาสตรีภาค (กพสภ.) ส่งเสริม
ครัวเรอื นสมั มาชพี ชมุ ชน
สานักงานพัฒนาชุมชนจงั หวัดท่ีตังภาค จัดประชุมเชิงปฏิบัติการคณะกรรมการพัฒนา
สตรีภาค (กพสภ.) และเจ้าหน้าท่ีพัฒนาชุมชนผู้รับผิดชอบงานสตรีของจังหวัดในภาค โดยมี
วตั ถปุ ระสงค์เพอ่ื ใหค้ ณะกรรมการพัฒนาสตรีภาค มีความรู้ ความเข้าใจการดาเนินงานสมั มาชีพ
ชุมชนตามหลกั ปรชั ญา ของเศรษฐกิจพอเพียง และสามารถสง่ เสริมองค์กรสตรใี นการสนับสนนุ
การขบั เคลอ่ื นกิจกรรมพฒั นาสตรแี ละครวั เรือนสมั มาชพี ชุมชน
กล่มุ เปา้ หมาย คณะกรรมการพัฒนาสตรีภาค (กพสภ.) 4 ภาค
ระยะเวลา ดาเนินการไตรมาส 1 และ 3
(ตุลาคม – ธนั วาคม 2561 และเมษายน - มถิ ุนายน 2562)
ขั้นตอนการดาเนินงาน
๑. สานกั งานพฒั นาชุมชนจังหวดั ทต่ี งั ภาค (จงั หวัดเชยี งราย ชลบรุ ี ขอนแกน่ และสตูล)
จัดประชุมเชิงปฏิบัติการคณะกรรรมการพัฒนาสตรีภาค (กพสภ.) และเจ้าหน้าที่พัฒนาชุมชน
ผู้รับผิดชอบงานสตรีของจังหวัดในภาค เพื่อสร้างความรู้ ความเข้าใจแนวทางการพัฒนาสตรี
และการสนบั สนนุ การขับเคลื่อนครวั เรือนสัมมาชีพชมุ ชน จานวน ๒ ครัง ดังนี
คร้ังที่ ๑ คณะกรรมการพัฒนาสตรีภาค (กพสภ.) ร่วมกับสานักงานพัฒนาชุมชน
จังหวัดทตี่ งั ภาค ดาเนินการจัดประชมุ เชงิ ปฏบิ ตั ิการฯ ในไตรมาส 1 ระยะเวลาอย่างนอ้ ย ๑ วัน
โดยมเี นอื หา ดงั นี
1) การขับเคลอื่ นครวั เรือนสัมมาชีพชุมชนตามหลักปรชั ญาของเศรษฐกิจ
พอเพียงในหมู่บ้านเป้าหมายสัมมาชีพชุมชน ปีงบประมาณ พ.ศ.2562 จานวน 14,000
หมบู่ ้าน ในพนื ที่ 76 จงั หวดั
2) ดาเนินการตามบทบาทคณะกรรมการพัฒนาสตรีในการสนับสนุน
การพัฒนาอาชีพของครัวเรือนสัมมาชีพชุมชน และแนวทางการคัดเลือกครัวเรือนสัมมาชีพ
ชุมชนตัวอยา่ ง
3) การเช่ือมโยงกับกองทุนพัฒนาบทบาทสตรี โดยสนับสนุนให้
คณะกรรมการพัฒนาสตรี สมัครเป็นสมาชิกกองทุนพัฒนาบทบาทสตรี และการเขียนโครงการ
ขอรับการสนับสนุนงบประมาณจากกองทุนพัฒนาบทบาทสตรี เพ่ือพัฒนาศักยภาพและแก้ไข
ปัญหาเกย่ี วกบั สตรี
๔) จัดทาแผนปฏบิ ัติการของคณะกรรมการพฒั นาสตรีภาค ประจาปี 2562
31
กรมการพฒั นาชมุ ชน กระทรวงมหาดไทย
คร้ังที่ ๒ คณะกรรมการพัฒนาสตรีภาค (กพสภ.) ร่วมกับสานักงานพัฒนาชุมชน
จงั หวัดทตี่ งั ภาค ดาเนนิ การจัดประชุมเชงิ ปฏิบัติการฯ ในไตรมาส 3 โดยมเี นือหา ดังนี
๑) สรุปทบทวนผลการดาเนินงานตามบทบาทของคณะกรรมการสตรี
ในการสนบั สนนุ การขับเคลือ่ นสัมมาชีพชุมชน
๒) การคัดเลอื กครวั เรือนสัมมาชพี ตวั อยา่ งระดับภาค ๆ ละ ๓ ครวั เรอื น
๒. คณะกรรมการพัฒนาสตรีภาค ดาเนินการติดตามสนับสนุนคณะกรรมการพัฒนา
สตรีจังหวดั ตามแผนปฏบิ ตั ิการฯ
๓. สานักงานพัฒนาชุมชนจังหวัดท่ีตังภาค ร่วมกับคณะกรรมการพัฒนาสตรีภาค
พิจารณาคัดเลือกครัวเรือนสัมมาชีพชุมชนตัวอย่างระดับภาค ๆ ละ 3 ครัวเรือน ตามแนวทาง
และหลักเกณฑ์ท่กี าหนด เพ่ือเขา้ รบั การเชิดชูเกียรติในส่วนกลาง
๔. สานักงานพัฒนาชุมชนจังหวัดท่ีตังภาค สรุปผลการดาเนินงานเพื่อเผยแพร่
ประชาสัมพันธ์และรายงานผลพร้อมข้อมูลการจัดการความรู้ครัวเรือนสัมมาชีพชุมชนตัวอย่าง
ระดบั ภาค ส่งใหก้ รมฯ ภายในเดอื นมิถุนายน 2562
กิจกรรมสง่ เสรมิ และสนบั สนุนการประกอบอาชีพของครัวเรือนสัมมาชีพ
ชมุ ชนตัวอยา่ ง
สานักงานพฒั นาชมุ ชนจังหวัดร่วมกับคณะกรรมการพฒั นาสตรจี ังหวัด (กพสจ.) พจิ ารณา
คัดเลือกครัวเรือนสัมมาชีพชุมชนตวั อย่างตามเกณฑก์ ารประเมินท่กี าหนด จังหวัดละ ๑ ครัวเรือน
และส่งเสริมสนับสนุนการประกอบอาชีพแก่ครัวเรือนสัมมาชีพชุมชนตัวอย่าง โดยสนับสนุนวัสดุ
อปุ กรณ์ประกอบอาชีพแก่ครัวเรอื นสมั มาชพี ชุมชนตัวอย่าง จานวน ๕,๐๐๐ บาท
ระยะเวลา ไตรมาส 3 : เมษายน – มิถุนายน 2562
ขน้ั ตอนการดาเนนิ งาน
สานักงานพัฒนาชุมชนจังหวัดร่วมกับคณะกรรมการพัฒนาสตรีจังหวัด (กพสจ.)
ดาเนินการดังนี
1. พิจารณาคัดเลือกครัวเรือนสัมมาชีพชุมชนตัวอย่าง ตามเกณฑ์การประเมิน
ทีก่ าหนด จงั หวดั ละ 1 ครัวเรือน
2. ส่งเสริม สนับสนุนการประกอบอาชีพแก่ครัวเรือนสัมมาชีพชุมชนตัวอย่าง
โดยสนบั สนุนวัสด/ุ อปุ กรณ์ ประกอบอาชีพแก่ครวั เรือน จานวน 5,000 บาท
32
แนวทางการสรา้ งสัมมาชพี ชมุ ชน ปี ๒๕๖๒
ตวั ช้ีวดั กิจกรรม
1. คณะกรรมการพฒั นาสตรจี งั หวดั (กพสจ.) มแี ผนและจดั กิจกรรมตามแผนสนบั สนุน
การสรา้ งสัมมาชพี ชุมชนใหบ้ รรลุเปา้ หมายตามเกณฑท์ ่กี าหนด
2. มคี รวั เรือนสมั มาชีพชุมชนตวั อย่าง จังหวดั ละ ๑ ครวั เรือน
เกณฑช์ ว้ี ัดการบรรลเุ ปา้ หมาย
การขับเคล่ือนสัมมาชีพชุมชนตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ของ
คณะกรรมการพัฒนาสตรีจังหวดั (กพสจ.)
ระดบั จงั หวดั
๑. คณะกรรมการพฒั นาสตรจี งั หวัด (กพสจ.) รว่ มกับสานกั งานพฒั นาชมุ ชนจังหวัด
ขบั เคล่ือนสมั มาชพี ชมุ ชน ระดับจงั หวัด
๒. มีแผนปฏิบตั ิการสนับสนนุ การสรา้ งสัมมาชีพชุมชนฯ ๑ แผน
๓. มกี ารดาเนนิ กจิ กรรมตามแผนปฏิบัติการฯ อย่างน้อย ๓ กิจกรรม
๔. มีการคัดเลือกครัวเรือนสัมมาชีพชุมชนตัวอย่าง และสนับสนุนการประกอบ
อาชีพครวั เรือนสัมมาชพี ชุมชนตัวอย่าง จานวน ๑ ครวั เรอื น
๕. มกี ารจัดการความรู้ครวั เรอื นสัมมาชีพชมุ ชนตัวอย่างระดับจังหวัด และจดั ทาเปน็
เอกสารรูปเลม่ และเผยแพรอ่ งคค์ วามรไู้ ด้ อยา่ งนอ้ ย ๑ ครัวเรอื น
ระดับอาเภอ
๑. คณะกรรมการพัฒนาสตรอี าเภอ (กพสอ.) ร่วมกับสานักงานพัฒนาชุมชนอาเภอ
ขบั เคล่อื นสมั มาชีพชุมชน ระดบั อาเภอ
๒. มแี ผนปฏิบตั ิการสนบั สนุนการสร้างสัมมาชีพชุมชนฯ ๑ แผน
๓. มีการดาเนนิ กิจกรรมตามแผนปฏิบัติการฯ อยา่ งนอ้ ย ๓ กจิ กรรม
๔. ทีมสนับสนุนการขับเคลื่อนระดับอาเภอ สามารถส่งเสริมสนับสนุนครัวเรือน
เป้าหมายสัมมาชีพชมุ ชนในพนื ทอี่ าเภอ ให้มีรายไดเ้ พ่มิ ขึนได้ไมน่ ้อยกวา่ ร้อยละ ๓
๕. มกี ารจดั การความรคู้ รัวเรอื นสัมมาชพี ชุมชนตัวอย่างระดับอาเภอ และจดั ทาเปน็
เอกสารรปู เล่ม และเผยแพร่องค์ความรไู้ ด้ อยา่ งน้อย ๑ ครวั เรอื น
ระดับตาบล
๑. คณะกรรมการพฒั นาสตรตี าบล (กพสต.) ขบั เคลอ่ื นสัมมาชพี ชุมชน ระดับตาบล
๒. มีแผนปฏบิ ัตกิ ารสนับสนนุ การสรา้ งสัมมาชพี ชมุ ชนฯ ๑ แผน
๓. มีการดาเนนิ กจิ กรรมตามแผนปฏิบตั ิการฯ อย่างนอ้ ย ๓ กิจกรรม
33
กรมการพฒั นาชมุ ชน กระทรวงมหาดไทย
๔. ทีมสนับสนุนการขับเคลื่อนระดับตาบล สามารถส่งเสริมสนับสนุนครัวเรือน
เป้าหมายสมั มาชพี ชมุ ชน ใหม้ ีรายไดเ้ พิม่ ขึน
๕. มกี ารจัดการความรูค้ รัวเรือนสมั มาชพี ชมุ ชนตัวอย่างระดับตาบล และจดั ทาเปน็
เอกสารรปู เลม่ และเผยแพรอ่ งค์ความรู้ได้ อยา่ งนอ้ ย ๑ ครัวเรอื น
34
แนวทางการสร้างสมั มาชีพชมุ ชน ปี ๒๕๖๒
.......ส....่ว.....น...ท.....ี่ ..๔..........
ตัวอยา่ งสัมมาชพี ชมุ ชน
กรมการพัฒนาชมุ ชน ส่งเสริมการสรา้ งสัมมาชพี ชมุ ชน ภายใต้ “โครงการสร้างสมั มาชีพ
ชุมชนตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง” โดยมุ่งยกระดับเศรษฐกิจฐานราก คือ “รายได้”
ทาให้ประชาชนในชุมชนมีรายได้เพ่ิมขึน มีความมั่นคงและย่ังยืน สังคมอยู่ร่วมกันอย่างมีความสุข
ด้วยการสร้างอาชีพ ผ่านกระบวนการ “สร้างสัมมาชีพชุมชน” มาตังแต่ ปีงบประมาณ พ.ศ.
๒๕๖๐ ตามแนวคิด “ชาวบ้านสอนชาวบ้าน”ท่ี เริ่มต้นด้วยการพัฒนาทักษะการถ่ายทอด
องค์ความรู้ให้กับปราชญ์ชุมชนด้านอาชีพ จากนันปราชญ์ชุมชนกลับไปสร้างทีมและจัดการ
ฝึกอบรมอาชีพให้กับครัวเรือนที่ตอ้ งการฝึกอาชีพในหมู่บ้าน ตดิ ตาม และสนับสนนุ อย่างต่อเน่ือง
เพื่อให้ครัวเรือนท่ีเข้ารับการฝึกอาชีพสามารถปฏิบัติอาชีพได้จริง จนพัฒนาเป็นอาชีพที่สร้าง
รายได้ให้กับครวั เรอื นได้อยา่ งมนั่ คง นอกจากนียังมีการรวมตัวกนั ของผู้แทนครวั เรอื นท่ีประกอบ
อาชีพเดียวกันเป็นกลุ่มอาชีพ ร่วมกันดาเนินกิจกรรมจนสามารถสร้างรายได้ท่ีม่ันคงยิ่งขึน
ดงั ตัวอย่าง “กลมุ่ สมั มาชีพชมุ ชน” ต่อไปนี
35
กรมการพฒั นาชุมชน กระทรวงมหาดไทย
กลมุ่ สมั มาชพี ชมุ ชนบา้ นชากมะหาด
บา้ นชากมะหาด หมู่ท่ี ๑ ตาบลบางบตุ ร อาเภอบ้านคา่ ย จงั หวดั ระยอง
36
แนวทางการสร้างสัมมาชีพชมุ ชน ปี ๒๕๖๒
กลุ่มสัมมาชพี ชุมชนบา้ นชากมะหาด
บา้ นชากมะหาด หมทู่ ่ี ๑ ตาบลบางบุตร อาเภอบา้ นคา่ ย จงั หวัดระยอง
การสร้างสัมมาชีพชุมชน ณ บ้านชากมะหาด แห่งนี เริ่มต้นขึนในปี พ.ศ. 2560
ครัวเรือนสัมมาชีพชุมชนร่วมกันวิเคราะห์อาชีพและเลือกฝึกอาชีพการทาไม้กวาด และในปี
พ.ศ. 2561 มีครัวเรอื นท่ีขยายผลเพ่ิมจากปี พ.ศ. 2560 อีกจานวน 26 ครัวเรือน เลือกฝกึ
ปฏิบัติอาชีพจักสาน โดยมีครูเล็ก นางวิไลวรรณ พรายเพชรปราชญ์ชุมชนด้านอาชีพซึ่งได้รับ
การอบรม หลักสูตร “วิทยากรผู้นาสัมมาชีพ” จากศูนย์ศึกษาและพัฒนาชุมชนชลบุรี
แลว้ กลบั มาถา่ ยทอดความรู้ให้กับทีมวทิ ยากรสมั มาชพี ชุมชนในหมู่บา้ นอีก 4 คน และร่วมกัน
ฝึกอาชพี ให้กับครวั เรือนเปา้ หมาย รวมถงึ ร่วมเป็นทีมสนบั สนุนการขบั เคลือ่ นสมั มาชีพชุมชน
อาชีพจกั สานผกั ตบชวา มาจากผลการวิเคราะหอ์ าชีพร่วมกนั ของครัวเรอื นสมั มาชีพ
ชุมชน และทีมวิทยากรสัมมาชีพชุมชน มีที่มาจากการที่ชุมชนมีผักตบชวาอยู่ตามลาคลอง
จานวนมาก ประกอบกับปราชญ์ชุมชน มีความสามารถด้านการจักสานจึงมีแนวคิดที่จะนา
ผกั ตบชวามาสานเป็นตะกร้า กระเชา้ ของขวญั กระเปา๋ หมวก รองเท้า และสายรดั กลอ่ งผลไม้
ผลิตภัณฑ์จากสัมมาชีพชุมชน มีการจาหน่ายที่ตลาดประชารัฐ งานโอทอปแฟคตอรี่ และ
ตลาดนัดสัมมาชีพชุมชน และบริษัทประชารัฐรักสามัคคีจังหวัดระยองได้ส่ังผลติ สายรดั กล่อง
ทุเรียนจากชุมชนแห่งนี นอกจากนีปราชญ์ชุมชนมีการเรียนรู้อยู่เสมอโดยไปอบรมเพิ่มเติม
เรื่องการสานผักตบชวาเพม่ิ เติมท่ีจังหวัดนครปฐม เพอ่ื การพัฒนารปู แบบผลติ ภณั ฑใ์ ห้ตรงตาม
ความต้องการของตลาด
รายได้ที่เกิดจากการจาหน่ายผลิตภัณฑ์จักสานผักตบชวา สมาชิกกลุ่มมีรายได้แล้ว
ประมาณ 2,000 บาทต่อเดือน ซ่ึงผลิตภัณฑ์ต่อชินราคาตังแต่ 50 – 300 บาท และกลุ่ม
มีข้อตกลงกันว่าจะหักค่าใช้จ่ายเข้ากลุ่ม เช่น ตะกร้าใบใหญ่ราคา 350 บาท หักเข้ากลมุ่ 40
บาท และตะกร้าใบเล็กราคา 250 บาท หักเข้ากลุ่ม 20 บาท เพ่ือนามาบริหารจัดการและ
หมุนเวียนภายในกล่มุ ตอ่ ไป ซ่ึงจะส่งผลให้เกิดความยัง่ ยนื ต่อการประกอบอาชพี ในชุมชน
37
กรมการพฒั นาชุมชน กระทรวงมหาดไทย
สมั มาชพี ชมุ ชน “กลมุ่ ปลกู เมลอ่ นอนิ ทรยี ์”
บา้ นวงั กวา้ ง หม่ทู ี่ 5 ตาบลปา่ ไร่ อาเภอแมล่ าน จังหวดั ปัตตานี
38
แนวทางการสรา้ งสมั มาชพี ชุมชน ปี ๒๕๖๒
สัมมาชีพชุมชน “กลุม่ ปลกู เมลอ่ นอนิ ทรยี ์”
บา้ นวงั กวา้ ง หม่ทู ่ี ๕ ตาบลป่าไร่ อาเภอแม่ลาน จังหวัดปัตตานี
บ้านวังกว้าง เป็นหมู่บ้านที่ผ่านกระบวนการสร้างสัมมาชีพชุมชนตามหลกั ปรชั ญา
ของเศรษฐกิจพอเพียง มาตังแต่ปี 2560 ผ่านกระบวนการ พัฒนาหมู่บ้านเศรษฐกิจพอเพยี ง
ตามแนวทางของกรมการพัฒนาชุมชน และเป็นพืนท่ีหมู่บ้านเป้าหมายตามยุทธศาสตร์ท่ี 1
ที่ได้รับการพัฒนาผา่ นโครงการบาบัดทุกข์ บารุงสุขแบบ ABC โดยกระทรวงมหาดไทย ทาให้
หมู่บ้านแห่งนี ได้รับการพัฒนาคลอบคลุมในทุก ๆ ด้าน เป็นหมู่บ้านที่มีความเข้มแข็ง และมี
ศักยภาพ ประชาชน ผู้นาชุมชนมีความรู้รักความสามัคคี และที่เห็นเด่นชัด คือ การพัฒนา
ครวั เรอื นเป้าหมายผ้ทู ี่มรี ายได้น้อย ตลอดจนผทู้ ่ไี ด้รับบตั รสวัสดกิ ารแห่งรฐั ให้ได้รับการพัฒนา
ด้านอาชพี
ภายใต้โครงการสร้างสัมมาชีพชุมชนตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ทาให้
เกิดการรวมกลุ่มอาชีพ ตามหลัก 5 ก และสามารถจดทะเบียนผู้ผลิตผู้ประกอบการ OTOP
ชื่อว่า “กลุ่มปลูกเมล่อนอินทรีย์” ปัจจัยความสาเร็จคือ “คน” โดยใช้หลักการประชาธิปไตย
และความรับผดิ ชอบร่วมกนั เร่ิมจาก 1) ประชาคมเพอ่ื หามติรว่ มกันวา่ กลมุ่ จะดาเนินกจิ กรรม
ใด 2) ดาเนินการตามมติของกลุ่มและแผนการดาเนินงานที่ได้วางไว้ 3) พัฒนาคนโดยการ
เรยี นรู้และศึกษาดงู าน ๔) มแี ผนการพฒั นาผลผลติ และเพม่ิ มูลคา่ ของสินคา้ โดยการสร้างตรา
สญั ลักษณ์ (Brand) และพัฒนาบรรจภุ ัณฑ์ และ ๕) แผนการแปรรปู ผลิตภณั ฑส์ ู่การเพิม่ มูลค่า
ปัจจุบัน ตลาดมีความต้องการ “เมล่อน” มาก ไม่เพียงจาหน่ายเฉพาะภายในพืนที่
หรือภายในจงั หวดั แต่กลุ่มมีการจัดสง่ เมล่อนจาหน่ายทั่วทังประเทศ โดยมีการสั่งซอื ผ่านทาง
Social Network ในรอบ 1 - 2 เดือน จะมกี ารสั่งซอื เฉลีย่ ครงั ละ 200 - 300 ลูก โดยเฉลยี่
ลูกละประมาณ 110 บาท นอกจากนี ทางกลุ่มยังมีการดาเนินกิจกรรมอ่ืน ๆ ร่วมด้วย อาทิ
การปลกู แตงกวาญีป่ ุ่น ฟักทองญปี่ ่นุ ขา้ วโพดฮอกไกโด เป็นตน้ ทาใหค้ รัวเรอื นมรี ายได้เพิม่ ขนึ
จากการประกอบสมั มาชพี ประมาณ 600 - 1,000 บาท/ครัวเรือน/เดอื น
บา้ นวงั กว้าง แหง่ นี จงึ เป็นชุมชนแหง่ ความ “อยู่เยน็ เป็นสขุ ” และสามารถตอ่ ยอด
ความสาเรจ็ ไปสู่ความม่ันคง มงั่ ค่ัง ยงั่ ยืนไดใ้ นอนาคต อนั ใกล้
39
กรมการพฒั นาชุมชน กระทรวงมหาดไทย
กลมุ่ สมั มาชพี แปรรปู อาหาร
บา้ นหนองนางขวญั หมทู่ ี่ ๙ ตาบลเมอื งเพยี อาเภอบา้ นไผ่ จงั หวดั ขอนแกน่
40
แนวทางการสร้างสัมมาชพี ชมุ ชน ปี ๒๕๖๒
กลุ่มอาชีพสัมมาชีพชุมชน “แปรรปู อาหาร” (ปลาแดดเดยี ว)
บา้ นหนองนางขวญั หมทู่ ี่ ๙ ตาบลเมืองเพีย อาเภอบ้านไผ่ จงั หวัดขอนแกน่
การสร้างงานสัมมาชีพชุมชน ณ บ้านหนองนางขวัญ เร่ิมดาเนินการ เมื่อ พ.ศ.
๒๕๖๑ ซ่ึงมีปราชญ์ชุมชนและครัวเรือนสัมมาชีพชุมชนร่วมกันวิเคราะห์หาปัญหาของชุมชน
และศึกษาอาชพี ที่จะทาใหเ้ กิดรายได้ ในท่ปี ระชมุ ไดต้ กลงเลือกอาชีพทีเ่ กยี่ วกบั อาหารแปรรูป
โดยมี นางโสภา เชยกลาง ซ่ึงเป็นปราชญ์ที่มีความรู้ในเรื่องการแปรรูปอาหารหลายประเภท
และยังเป็นปราชญ์ชุมชนที่ได้รับการเข้าอบรมหลักสูตร “วิทยากรผู้นาสัมมาชีพ” จากศูนย์
ศึกษาและพัฒนาชุมชนอดุ รธานี ได้นาความรทู้ ่ีไดจ้ ากการอบรมมาถ่ายทอดให้กับทีมวิทยากร
สมั มาชพี ชุมชนในหมู่บ้าน จานวน ๔ ท่าน เพื่อร่วมกนั ให้ความรู้
จากผลการวิเคราะห์อาชีพร่วมกันของทีมวิทยากรและครัวเรือนสัมมาชีพชุมชน
ส่วนใหญ่ชาวบ้านหนองนางขวัญมีการเลียงปลาแบบบ่อดินในครัวเรือน ซ่ึงมีการจาหน่าย
ในรูปแบบพ่อค้ามารับซือในหมู่บ้าน เพ่ือไปจาหน่ายต่อตลาดในอาเภอทาให้ราคาไม่คงที่
หลังจากที่ชุมชนได้มีการเข้าร่วมกิจกรรมในการสร้างสัมมาชีพชุมชนและฝึกอาชีพของ
ครัวเรือน จานวน ๒๖ ครัวเรือน และมีปราชญ์ท่ีความชานาญในการแปรรูปอาหาร จึงได้เกิด
แนวคิดท่ีจะพัฒนาการอาชีพให้มีผลิตภัณฑ์ที่หลากหลายเพ่ือเพ่ิมรายได้ในชุมชน จึงได้ร่วม
กลุ่มจัดตงั กล่มุ อาชีพแปรรูปปลาแดดเด่ยี ว ของครัวเรือนสัมมาชีพชุมชน มีการจาหน่ายตลาด
นัดในชุมชน ตลาดประชารัฐของอาเภอ
กลุ่มมีรายได้จากการจาหน่ายผลิตภณั ฑ์ปลาแดดเดี่ยว ซ่ึงมีรายไดป้ ระมาณ ๕,๐๐๐
บาทต่อเดอื น สินคา้ มีการผลิตในชว่ ง (เดอื นมกราคม – พฤษภาคม) ซง่ึ ผลติ ภณั ฑต์ ่อชนิ มีราคา
ตังแต่ ๖๐ บาท แล้วแต่ขนาดของตัวสินค้า และกลุ่มมีข้อตกลงร่วมกันในการหักค่าใช้จ่าย
เข้ากลุ่มหลังจากที่กลุ่มมีรายได้ผลกาไรเกิดจากการจาหน่ายสินค้า โดยหักเข้ากลุ่ม ๓๐ %
ให้สมาชิก ๕๐ % การบริหารจัดของกลุ่ม ๒๐ % เพ่ือนาไปไว้บริหารจัดการและเงินทุน
หมนุ เวยี นภายในกลุ่มให้เกดิ ความย่ังยืน และตอ่ ยอดในการพฒั นาเป็นสินคา้ OTOP ตอ่ ไป
41
กรมการพัฒนาชุมชน กระทรวงมหาดไทย
กลมุ่ สมั มาชพี ชมุ ชนหมกู ระจก
บ้านสนั ผกั แคใหม่ หมทู่ ี่ ๑๔ ตาบลมว่ งคา อาเภอพาน จงั หวดั เชยี งราย
42
แนวทางการสร้างสัมมาชีพชุมชน ปี ๒๕๖๒
กลมุ่ สมั มาชพี ชมุ ชนหมูกระจก “บ้านสนั ผักแคใหม่”
หมทู่ ี่ 14 ตาบลม่วงคา อาเภอพาน จังหวัดเชยี งราย
บ้านสันผักแคใหม่ เป็นหมู่บ้านเศรษฐกิจพอเพียงต้นแบบ เมื่อปี 2554 ในปี
2559 ได้ดาเนินการโครงการหมู่บ้านเกือกูล เพ่ิมพูนนาใจ สร้างวิถีไทยสามัคคี และ
ในปี 2560 เป็นหมู่บ้านเป้าหมายในการดาเนินการโครงการสร้างสัมมาชีพชุมชน
ในระดับหมู่บ้าน และรวมตัวกันจัดตังกลุ่มอาชีพ “กลุ่มปุ๋ยหมักชีวภาพ” เนื่องจาก
หมู่บ้านสันผักแคใหม่มีอาชีพเกษตรกรรมเป็นส่วนใหญ่ และมองเห็นถึงปัญหาการใช้
สารเคมีในการทานา ที่จะส่งผลกระทบต่อตัวเอง ผู้บริโภคและสิ่งแวดล้อม จึงหันมาใช้
ปุ๋ยชีวภาพในการทานา อีกทังกลุ่มฯ ยังได้พัฒนาทาปุ๋ยหมักจากผักตบชวา เพื่อใช้แทน
ปุ๋ยเคมี ซงึ่ เปน็ การลดต้นทุนการผลติ และลดใช้สารเคมีได้อกี ทางหนึ่งดว้ ย
ในปี 2561 บ้านสันผักแคใหม่ ได้ดาเนินงานโครงการขยายผลการสร้าง
สัมมาชีพชุมชนระดับหมู่บ้าน ท่ีมีความต้องการและสนใจฝึกอาชีพตามโครงการฯ
จานวน 26 ครัวเรือน เข้าร่วมกิจกรรม ซ่ึงกลุ่มเป้าหมายผู้แทนครัวเรือนเป็นผู้หญิง
ตอ้ งการฝึกอาชีพ คือ การทาหมูกระจก เนื่องดว้ ยกลุ่มแมบ่ ้านสันผกั แคใหม่ไดท้ านาพรกิ
จาหน่ายอยู่ก่อนแล้ว จึงมีแนวคิดในการต่อยอดกลุ่มเดิมเป็นการเพ่ิมผลิตภัณฑ์
ที่สามารถนาไปจาหน่ายคู่กัน
รายได้ที่เกิดจากการจาหน่ายผลิตภัณฑ์การทาหมูกระจก ราคากิโลกรัมละ
300 บาท ทาให้กลุ่มมีรายได้ประมาณ 12,000 บาทต่อเดือน (ยังไม่ได้หักค่าใช้จ่าย)
กลุ่มมีข้อตกลงกันว่าการทาหมูกระจกแต่ละครังจะนากาไรส่วนท่ีเหลือหลังจาก
หักค่าใช้จ่ายแล้ว คืนให้แก่สมาชิกท่ีมาร่วมกิจกรรมในแต่ละครัง โดยจะเพิ่มอีก 1 ส่วน
เพื่อหักเข้ากล่มุ ไวเ้ ป็นเงินทุนนามาบรหิ ารจัดการและหมนุ เวียนภายในกลมุ่ ต่อไป
ด้านการจาหน่ายผลิตภัณฑ์ มีการจาหน่ายผลิตภัณฑ์ที่ตลาดประชารัฐ ตลาด
นัดสัมมาชีพชุมชน ตลาดในชุมชน และศูนย์สาธิตการตลาด นอกจากนีปราชญ์ชุมชน
ยังมีการประชาสัมพันธ์และขายสินค้าผ่านเฟสบุ๊ค อีกช่องทางหน่ึง และมีการต่อยอด
กจิ กรรมโดยประสานความร่วมมอื จากหน่วยงาน/ โครงการต่าง ๆ เชน่ เวทีที่ 1โครงการ
ไทยนิยมยั่งยนื งบพัฒนาจังหวัด และงบประมาณจากสานักงานเกษตรอาเภอมาเติมเตม็
ในด้านองค์ความรู้ งบประมาณ วัสดุและอุปกรณต์ ่าง ๆ
43
กรมการพัฒนาชมุ ชน กระทรวงมหาดไทย
44
แนวทางการสรา้ งสมั มาชีพชมุ ชน ปี ๒๕๖๒
ภาคผนวก
แบบฟอรม์ ทะเบยี นขอ้ มลู ทมี วทิ ยากรสมั มาชพี ชุมชนระดบั หมู่บา้ น
แบบฟอรม์ ทะเบียนขอ้ มูลครวั เรอื นสมั มาชีพชมุ ชน
แบบฟอรม์ ทะเบียนขอ้ มลู กลุม่ อาชีพที่จัดตง้ั ขึน้ ตามแนวทางการสรา้ ง
สัมมาชีพชมุ ชน
หลกั เกณฑ์การประเมินครวั เรือนสัมมาชีพชมุ ชนตวั อยา่ งประจาปีงบประมาณ
พ.ศ. 256๒
แบบฟอรม์ รปู เลม่ แผนชมุ ชนระดับตาบล
“การวเิ คราะห์อาชีพ” กบั การสร้างสมั มาชพี ชุมชนตามหลกั ปรชั ญา
ของเศรษฐกจิ พอเพียง
45
กรมการพฒั นาชุมชน กระทรวงมหาดไทย
แบบฟอรม์ ทะเบียนขอ้ มูลทมี วทิ ยากรสัมมาชีพชุมชนระดับหมู่บ้าน
บา้ น......................... หมทู่ ี่.......... ตาบล.........................
อาเภอ........................... จังหวดั ..........................
จานวนหม่บู า้ น ละ 5 คน
ที่ ชือ่ -สกลุ บา้ นเลขท่ี อายุ เบอร์ อาชพี อาชพี ทปี่ ราชญ์มีความ ประเภท หมาย
เหตุ
โทรศพั ท์ หลัก เชยี่ วชาญ/ประสบความสาเร็จ อาชพี
(ระบุอาชีพ) (ระบเุ ลข)
**1
แบบฟอรม์ ทะเบียนข้อมลู ครวั เรอื นสัมมาชีพชุมชน
บา้ น......................... หมทู่ .่ี ......... ตาบล.........................
อาเภอ........................... จังหวัด..........................
จานวนหมู่บา้ น ละ 2๐ ครวั เรือน (ครัวเรอื นละ 1 คน)
ที่ ช่ือ-สกลุ บ้านเลขท่ี อายุ อาชพี รายได้ จานวน อาชพี ท่ี ประเภทอาชพี หมายเหตุ
หลกั เฉลีย่ สมาชกิ อบรม ที่อบรม (ระบุ
(คน) ใน เลข)**1
จปฐ. ครวั เรือน
2561
**1 ให้ระบเุ ลขลงในช่องประเภทอาชพี
11 คอื ประเภท เกษตร : ปลูกพชื 31 คอื ประเภท ทอ่ งเที่ยวชมุ ชน
12 คอื ประเภท เกษตร : เลยี้ งสตั ว์ 41 คือ ประเภท บรกิ าร
13 คอื ประเภท เกษตร : ประมง 51 คอื ประเภท อื่น ๆ
14 คือ ประเภท เกษตร : ผสมผสาน
15 คือ ประเภท เกษตร : อ่นื ๆ
21 คือ ประเภท แปรรูป : อาหาร
22 คือ ประเภท แปรรูป : เครอ่ื งดืม่
23 คือ ประเภท แปรรปู : เคร่ืองแต่งกาย
24 คอื ประเภท แปรรปู : ของใช้ เครอ่ื งประดบั
25 คอื ประเภท แปรรปู : สมุนไพรที่ไม่ใช่อาหาร
46