เอกสารประกอบ
การสอบสาธิตการปฏิบัติการสอน
นางสาวเนตรนภา แม่นธนู รายวิชาวิทยาศาสตร์เพื่อพัฒนา
อาชีพเกษตรกรรม
เลขประจำตัวผู้สอบ 1060541
การศึกษาระดับ ประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.)
เอกสารฉบับนี้ใช้ในการสอบภาค ค
ความเหมาะสมกับตำแหน่ง วิชาชีพ
และการปฏิบัติงานในสถานศึกษา เอกสารฉบับนี้ ประกอบไปด้วย
แผนการจัดการเรียนรู้
ตารางวิเคราะห์หลักสูตร
โครงสร้างรายวิชา
สมรรถนะย่อยและจุดประสงค์การปฏิบัติ
แผนการจัดการเรียนร้มู ุ่งเนน้ สมรรถนะ
และบูรณาการ หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
ชอื่ วชิ า วิทยาศาสตร์เพอื่ พัฒนาอาชีพเกษตรกรรม
รหสั วิชา 20000-1305
ทฤษฎี 1 ปฏิบัติ 2 หน่วยกิต 2
หลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ พุทธศักราช 2562
หมวดวิชาสมรรถนะแกนกลาง กลมุ่ วิชาวิทยาศาสตร์
สานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา
กระทรวงศกึ ษาธิการ
ก
คำนำ
แผนการจัดการเรียนรู้ รายวิชา วิทยาศาสตร์เพ่ือพัฒนาอาชีพเกษตรกรรม (Science for
Agriculture) รหัสวิชา 20000-1305 สาหรับนักเรียนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) หลักสูตร
ประกาศนียบัตรวิชาชีพ พุทธศักราช 2562 ประเภทวิชา เกษตรกรรม หมวดวิชาสมรรถนะแกนกลาง กลุ่ม
วิชา วิทยาศาสตร์ จัดทาข้ึนเพื่อใช้ประกอบการเรียนการสอน โดยจัดการเรียนการสอนทั้งหมด 18 สัปดาห์
สัปดาห์ละ 3 ชั่วโมง เนื้อหาภายในแบ่งออกเป็น 7 หน่วย ได้แก่ เซลล์พืชและเซลล์สัตว์ ระบบการทางาน
ของพืช ระบบการทางานของสัตว์ การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม เทคโนโลยีชีวภาพ ความหลากหลาย
ทางชีวภาพสารชีวโมเลกุล พร้อมทั้งกิจกรรมแบบทดสอบหลังเรียน โดยสัปดาห์ท่ี 18 ทาการสอบปลายภาค
เรียนของทางวิทยาลัย ผู้รายงานได้จัดกิจกรรมการเรียนรู้เพื่อพัฒนาผู้เรียนให้มีทักษะกระบวนการทาง
วิทยาศาสตร์ ให้ผู้เรียนมีพฤติกรรม และลักษณะอันพึงประสงค์ ด้วยกิจกรรมท่ีหลากหลายเน้นท่ีผู้เรียนเป็น
สาคัญ และบรู ณาการเศรษฐกจิ พอเพยี ง เขา้ ไปในแผนการจัดการเรียนรู้ในครัง้ น้ีด้วย
ข้าพเจ้าหวังอย่างยิ่งว่า แผนการจัดการเรียนรู้ รายวิชาวิทยาศาสตร์เพ่ือพัฒนาอาชีพเกษตรกรรม
(Science for Agriculture) รหัสวิชา 20000-1305 สาหรับนักเรียนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.)
เล่มนีจ้ ะเป็นประโยชนต์ อ่ การจดั กจิ กรรมการเรยี นรู้ของครแู ละผูท้ ่สี นใจต่อไป
นางสาวเนตรนภา แมน่ ธนู
ผูจ้ ดั ทา
สำรบญั ข
หนา้
คานา..................................................................................................................................... ก
สารบญั ....................................................................................................................... ........... ข
จุดประสงค์รายวชิ า................................................................................................................ 1
สมรรถนะรายวิชา………………….............................................................................................. 1
คาอธิบายรายวชิ า……............................................................................................................ 1
ตารางวิเคราะห์หลักสูตร……………………................................................................................ 2
โครงสร้าง……………………………………..................................................................................... 3
โครงการจัดการเรียนรู้……………………………………………………………………….………………………. 5
สมรรถนะย่อยและจดุ ประสงคก์ ารปฏิบตั ิ…………………………………………………………………….. 6
หนว่ ยการเรียนรู้และสมรรถนะประจาหนว่ ย………………………………………………………………… 13
การบูรณาการหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี งในด้านการเรยี นการสอน……………………… 18
แผนการจดั การเรยี นรู้มงุ่ เนน้ สมรรถนะ……………………………………………................................ 21
ภาคผนวก………………………………………………………………………………………………………………… 28
ภาคผนวก ก ใบความรู้ 29
ภาคผนวก ข ข้อสอบ 32
ภาคผนวก ค ส่ือการจัดการเรียนรู้ 40
ภาคผนวก ง แบบประเมนิ 41
1
หลักสูตรรายวิชา
ชื่อวชิ า วทิ ยาศาสตร์เพอ่ื พฒั นาอาชพี เกษตรกรรม
รหสั วิชา 20000-1305
ทฤษฎี 1 ปฏิบัติ 2 หนว่ ยกิต 2
หลักสูตรประกาศนยี บตั รวชิ าชีพ พทุ ธศกั ราช 2562
หมวดวชิ าสมรรถนะแกนกลาง กลุ่มวิชาวิทยาศาสตร์
จดุ ประสงค์รายวชิ า เพอื่ ให้
1. รู้และเขา้ ใจเก่ยี วกับเซลล์พืชและเซลล์สัตว์ ระบบการทางานของอวัยวะในพืชและสัตว์ พันธุกรรม
เทคโนโลยชี วี ภาพ ความหลากหลายทางชวี ภาพ และสารชีวโมเลกลุ
2. สามารถสารวจตรวจสอบเก่ียวกับเซลล์พืชและเซลล์สัตว์ ระบบต่างๆ ของพืชและสัตว์ การ
ถา่ ยทอดลักษณะทางพันธุกรรม และการจาแนกสง่ มชี ีว่ตโดยใชก้ ระบวนการทางวท่ ยาาาสตร์
3. มีเจตคต่และก่จน่สัยทด่ี ีต่อการากึ ษาและสารวจตรวจสอบด้วยกระบวนการทางว่ทยาาาสตร์
สมรรถนะรายวิชา
1. แสดงความรเู้ ก่ียวกบั เซลล์พืชและเซลล์สตั ว์ ระบบการทางานของอวยั วะในพืชและสัตว์ พันธุกรรม
เทคโนโลยีชีวภาพ ความหลากหลายทางชวี ภาพ และสารชวี โมเลกุล
2. สารวจตรวจสอบเก่ียวกับโครงสร้าง หน้าที่ องค์ประกอบของเซลล์พืชและสัตว์ และระบบการ
ทางานของอวัยวะในพชื และสัตวต์ ามหลกั การ
3. สารวจตรวจสอบเกย่ี วกับการถ่ายทอดลักษณะทางพนั ธกุ รรมตามหลกั พนั ธุาาสตร์
4. สารวจตรวจสอบเกย่ี วกับเทคโนโลยีชีวภาพ ความหลากหลายทางชีวภาพ และสารชีวโมเลกุลด้วย
กระบวนการทางวท่ ยาาาสตร์
คาอธิบายรายวิชา
าึกษาและปฏ่บตั เ่ กยี่ วกับโครงสรา้ ง หน้าท่ี องคป์ ระกอบของเซลล์พืชและเซลล์สัตว์ ระบบการทางาน
ของอวยั วะในพชื และสตั ว์ พันธุกรรม เทคโนโลยีชีวภาพ ความหลากหลายทางชีวภาพและสารชีวโมเลกลุ
พฤติกรรม 2
หนว่ ยการเรยี นรทู้ ่/ี หัวขอ้ ย่อย ตารางวิเคราะห์หลักสูตร
1. เซลลพ์ ชื และเซลลส์ ัตว์
2. ระบบการทางานของพืช ชอ่ื วิชา วิทยาศาสตร์เพอื่ พัฒนาอาชพี เกษตรกรรม
3. ระบบการทางานของสตั ว์ รหัสวชิ า 20000-1305 ท.ป.น. 1:2:2
4. การถา่ ยทอดลักษณะทางพันธกุ รรม
5. เทคโนโลยีชีวภาพ จานวนคาบสอน 3 คาบ : สปั ดาห์ ระดับชน้ั ปวช.
6. ความหลากหลายทางชีวภาพ
7. สารชวี โมเลกลุ พทุ ธิพิสยั
รวม 3 3 3 1 1 - 2 1 14 4 9
ลาดบั ความสาคญั 4 4 4 2 1 - 1 1 17 2 9
3 3 4 1 1 - 2 1 15 3 9
3 3 3 1 1 - 1 1 13 5 6
3 2 2 1 1 - 1 1 11 7 3
4 4 3 2 2 - 2 1 18 1 6
3 3 2 1 1 - 1 1 12 6 9
23 22 21 9 8 - 10 7 100 - 51
12356 - 47 - - -
ความรู้
ความเข้าใจ
นาไปใช้
ิวเคราะห์
ัสงเคราะห์
ประเมินค่า
ทักษะพิ ัสย
จิต ิพ ัสย
รวม
ลา ัดบความสาคัญ
จานวนช่ัวโมง
3
โครงสร้าง
ช่ือวิชา วิทยาศาสตร์เพ่อื พัฒนาอาชีพเกษตรกรรม รหสั วิชา 20000-1305
ท.ป.น. 1:2:2 จานวนคาบสอน 3 คาบ : สปั ดาห์ ระดับชัน้ ปวช.
หลักสตู รประกาศนยี บัตรวิชาชพี พทุ ธศกั ราช 2562
หมวดวิชาสมรรถนะแกนกลาง
กล่มุ ว่ชาวท่ ยาาาสตร์ (ไม่น้อยกวา่ 4 หน่วยก่ต)
ใหเ้ รียนรายว่ชา 20000-1301 จานวน 2 หน่วยก่ต และเลอื กเรียนรายวช่ าอื่นจนครบหน่วยก่ตท่ีกาหนด
รหสั วชิ า ชอื่ วิชา ท-ป-น
20000-1301 วท่ ยาาาสตร์เพื่อพัฒนาทักษะชวี ต่ 1-2-2
20000-1302 วท่ ยาาาสตร์เพื่อพัฒนาอาชีพชา่ งอุตสาหกรรม 1-2-2
20000-1303 ว่ทยาาาสตร์เพื่อพัฒนาอาชีพธรุ ก่จและบร่การ 1-2-2
20000-1304 ว่ทยาาาสตรเ์ พื่อพฒั นาอาชีพา่ลปกรรม 1-2-2
20000-1305 วท่ ยาาาสตร์เพ่ือพฒั นาอาชีพเกษตรกรรม 1-2-2
20000-1306 โครงงานว่ทยาาาสตร์ 0-2-1
20000*1301 ถึง 20000*1399 รายว่ชาในกลุม่ ว่ชาวท่ ยาาาสตรท์ ่ีสถานาึกษาอาชีวาึกษา *-*-*
หรอื สถาบันพฒั นาเพ่มเต่ม
4
แหล่งขอ้ มลู
ช่อื วิชา วิทยาศาสตรเ์ พ่ือพัฒนาอาชีพเกษตรกรรม รหสั วชิ า 20000-1305
ท.ป.น. 1:2:2 จานวนคาบสอน 3 คาบ : สปั ดาห์ ระดับช้นั ปวช.
หนว่ ยที่ ช่ือหนว่ ย จานวน ทีม่ า
คาบ A B C D E F G
1 เซลล์พชื และเซลลส์ ัตว์ 9 ///////
2 ระบบการทางานของพืช 9 ///////
3 ระบบการทางานของสตั ว์ 9 ///////
4 การถ่ายทอดลักษณะทางพนั ธุกรรม 6 / / / / / / /
5 เทคโนโลยชี วี ภาพ 3 ///////
6 ความหลากหลายทางชวี ภาพ 6 ///////
7 สารชวี โมเลกลุ 9 ///////
รวม 51
หมายเหตุ A = หลกั สตู รรายวชิ า
B = ตาราเอกสาร รายวชิ า วิทยาศาสตรเ์ พือ่ พฒั นาอาชีพช่างอตุ สาหกรรม
C = แบบเฉลยรายวิชา วทิ ยาศาสตร์เพ่ือพัฒนาอาชพี ช่างอุตสาหกรรม
D = ประสบการณ์
E = internet
F = สอื่ ประกอบการสอน รายวิชา วิทยาศาสตร์เพอื่ พัฒนาอาชพี ชา่ งอตุ สาหกรรม
G = ห้องสมดุ
5
โครงการจดั การเรียนรู้
ชื่อวิชา วิทยาศาสตรเ์ พ่ือพัฒนาอาชพี เกษตรกรรม รหสั วชิ า 20000-1305
ท.ป.น. 1:2:2 จานวนคาบสอน 3 คาบ : สัปดาห์ ระดับช้นั ปวช.
สปั ดาหท์ ี่ หน่วยท่ี ชอื่ หน่วย/รายการสอน จานวนคาบ
1-3 1
4-6 2 เซลลพ์ ืชและเซลล์สตั ว์ 9
7-9 3
10-11 4 ระบบการทางานของพืช 9
12 5
13-14 6 ระบบการทางานของสตั ว์ 9
15-17 7
18 การถ่ายทอดลักษณะทางพนั ธุกรรม 6
เทคโนโลยีชวี ภาพ 3
ความหลากหลายทางชวี ภาพ 6
สารชวี โมเลกลุ 9
สอบปลายภาค 3
54
รวมเวลา
6
ชอื่ เร่ือง สมรรถนะย่อยและจดุ ประสงคก์ ารปฏิบตั ิ
1. เซลล์พชื และเซลล์
สัตว์ ชือ่ วิชา วิทยาศาสตร์เพ่อื พัฒนาอาชีพเกษตรกรรม
1. เซลล์และการคน้ พบ รหัสวชิ า 20000-1305
2. ชน่ดและรปู รา่ งของ
เซลล์ ท.ป.น. 1:2:2 จานวนคาบสอน 3 คาบ : สัปดาห์ ระดับชน้ั ปวช.
3. โครงสร้างและ สมรรถนะย่อยและจุดประสงคก์ ารปฏบิ ตั ิ
องค์ประกอบของเซลล์
4. การแบ่งเซลล์ สมรรถนะประจาหน่วยการเรียนรู้
5. การลาเลยี งสารผ่าน 1. แสดงความรู้เกย่ี วกบั เซลล์พชื และเซลลส์ ัตว์
เซลล์ 2. ระบอุ งคป์ ระกอบและหนา้ ทีข่ องเซลลพ์ ืชและเซลลส์ ตั ว์
ปฏิบตั กิ ารทดลองท่ี 1 จดุ ประสงค์การปฏบิ ัติ (Performance Objectives)
เรอื่ ง การลาเลยี งสารผ่าน ด้านความรู้
เซลล์ 1. อธบ่ ายความหมายของเซลล์และการค้นพบเซลล์ได้
2. บอกความแตกตา่ งของเซลล์โพรแคร่โอตและเซลล์ยแู คร่โอตได้
3. ระบุขนาดและรูปร่างของเซลลช์ น่ดตา่ ง ๆ ได้
4. อธบ่ ายโครงสร้างและองค์ประกอบของเซลล์ได้
5. บอกขน้ั ตอนการแบ่งเซลล์แบบไมโทซ่สและไมโอซ่สได้
6. อธ่บายการลาเลียงสารผา่ นเย่อื หุ้มเซลล์และไมผ่ ่านเย่ือหมุ้ เซลลไ์ ด้
ด้านทกั ษะ
1. ใช้ทกั ษะการสงั เกตส่งต่าง ๆ จากการทดลองได้
2. ใชท้ กั ษะการต้ังสมมตฐ่ านในการทดลองได้
3. ใช้ทกั ษะการทดลองจากการทดลองได้
4. ใช้ทักษะการลงความเห็นจากขอ้ มูล และสรปุ ผลการทดลองได้
5. ใช้ทักษะการจดั ทาและสื่อความหมายข้อมลู ได้
ดา้ นจิตพิสัย
1. มคี ณุ ธรรมจร่ยธรรมและลักษณะอนั พึงประสงค์ในการเรียน/บรู ณาการ
เารษฐกจ่ -พอเพยี ง
๒. มเี จตคต่และกจ่ น่สยั ทด่ี ีต่อการาึกษาและสารวจตรวจสอบดว้ ยกระบวนการ
ทางว่ทยาาาสตร์
7
ชือ่ เร่อื ง สมรรถนะย่อยและจดุ ประสงคก์ ารปฏบิ ตั ิ
๒. ระบบการทางานของ
พชื ช่ือวิชา วิทยาศาสตร์เพ่ือพัฒนาอาชีพเกษตรกรรม
1. เนือ้ เยื่อและการ รหัสวชิ า 20000-1305
เจรญ่ เตบ่ โตของพืช
2. โครงสรา้ งและการ ท.ป.น. 1:2:2 จานวนคาบสอน 3 คาบ : สัปดาห์ ระดับช้ัน ปวช.
เจร่ญเต่บโตของราก สมรรถนะย่อยและจุดประสงค์การปฏบิ ัติ
3. โครงสร้างและหน้าที่
ของลาต้น สมรรถนะประจาหน่วยการเรยี นรู้
4. โครงสร้างและหนา้ ท่ี ๑. แสดงความรู้เก่ยี วกบั ระบบการทา งานต่างๆของพชื
ของใบ
5. การลาเลยี งน้าของพืช จดุ ประสงคก์ ารปฏบิ ัติ (Performance Objectives)
6. การลาเลยี งสารอาหาร ดา้ นความรู้
ของพืช 1. อธบ่ ายการทางานของเน้ือเย่ือชนด่ ตา่ ง ๆ ของพชื ได้
2. บอกลักษณะโครงสรา้ งและหน้าที่ของรากพชื ได้
ปฏบิ ัติการทดลองท่ี ๒ 3. บอกลักษณะโครงสรา้ งและความแตกตา่ งของลาตน้ พืชชน่ดตา่ งๆ ได้
เร่อื ง โครงสร้างและหนา้ ท่ี 4. บอกลักษณะโครงสร้างและประเภทของใบพชื ได้
ของใบ 5. อธ่บายกระบวนการลาเลียงนา้ ของพืชได้
6. อธบ่ ายกระบวนการลาเลยี งสารอาหารของพืชได้
ดา้ นทกั ษะ
1. ใชท้ กั ษะการสังเกตส่งต่าง ๆ จากการทดลองได้
2. ใช้ทกั ษะการตงั้ สมมตฐ่ านในการทดลองได้
๓. ใช้ทกั ษะการทดลองจากการทดลองได้
๔. ใช้ทกั ษะการลงความเหน็ จากข้อมูล และสรุปผลการทดลองได้
๕. ใชท้ กั ษะการจดั ทาและสื่อความหมายข้อมูลได้
ด้านจิตพิสยั
1. มีคณุ ธรรมจร่ยธรรมและลักษณะอนั พงึ ประสงค์ในการเรียน/บูรณาการ
เารษฐกจ่ -พอเพียง
๒. มีเจตคต่และก่จนส่ ยั ท่ดี ีต่อการาึกษาและสารวจตรวจสอบดว้ ยกระบวนการ
ทางว่ทยาาาสตร์
8
ชื่อเร่อื ง สมรรถนะยอ่ ยและจดุ ประสงคก์ ารปฏบิ ตั ิ
๓. ระบบการทางานของ
สัตว์ ช่ือวิชา วิทยาศาสตรเ์ พอื่ พัฒนาอาชีพเกษตรกรรม
1. ระบบยอ่ ยอาหาร รหัสวชิ า 20000-1305
2. ระบบไหลเวยี นเลือด
3. ระบบหายใจ ท.ป.น. 1:2:2 จานวนคาบสอน 3 คาบ : สัปดาห์ ระดับชนั้ ปวช.
4. ระบบขบั ถ่าย สมรรถนะย่อยและจุดประสงค์การปฏบิ ัติ
5. ระบบประสาทและ
อวยั วะรบั สมั ผัส สมรรถนะประจาหน่วยการเรยี นรู้
๑. แสดงความรูเ้ กยี่ วกับระบบการทา งานตา่ งๆของสตั ว์
ปฏบิ ตั ิการทดลองท่ี ๓
เรื่อง ระบบไหลเวยี นเลอื ด จุดประสงค์การปฏิบตั ิ (Performance Objectives)
ดา้ นความรู้
1. อธบ่ ายกระบวนการทางานของระบบย่อยอาหารของสัตว์ทีม่ ีกระดกู
สนั หลงั และสตั ว์ทไ่ี ม่มกี ระดูกสันหลังได้
2. บอกวธ่ ีการลาเลียงสารในสัตว์ที่มรี ะบบไหลเวยี นโลห่ตระบบเปิดและระบบ
ปดิ ได้
3. บอกว่ธกี ารลาเลียงสารในสตั ว์ทีม่ ีระบบหวั ใจและหลอดเลอื ดได้
4. ระบุโครงสรา้ งท่ีใช้แลกเปลี่ยนแกส๊ ของสตั ว์นา้ และสตั ว์บกได้
5. บอกกระบวนการทางานของระบบขับถ่ายของสตั วท์ ีม่ ีกระดูกสนั หลังและ
สตั วท์ ไ่ี มม่ ีกระดูกสนั หลงั ได้
6. บอกกระบวนการทางานของระบบประสาทของสัตวท์ ีม่ ีกระดูกสนั
หลงั และสตั ว์ทไ่ี ม่มกี ระดูกสนั หลังได้
ด้านทกั ษะ
1. ใช้ทักษะการสังเกตส่งต่าง ๆ จากการทดลองได้
2. ใชท้ ักษะการต้ังสมมต่ฐานในการทดลองได้
3. ใชท้ ักษะการทดลองจากการทดลองได้
4. ใช้ทกั ษะการลงความเหน็ จากขอ้ มลู และสรุปผลการทดลองได้
5. ใชท้ กั ษะการจดั ทาและสือ่ ความหมายข้อมลู ได้
ดา้ นจิตพิสยั
1. มคี ณุ ธรรมจรย่ ธรรมและลักษณะอนั พงึ ประสงค์ในการเรียน/บูรณาการ
เารษฐกจ่ -พอเพียง
๒. มเี จตคตแ่ ละก่จน่สยั ทด่ี ีต่อการากึ ษาและสารวจตรวจสอบดว้ ยกระบวนการ
ทางว่ทยาาาสตร์
9
ช่ือเรือ่ ง สมรรถนะย่อยและจดุ ประสงคก์ ารปฏิบตั ิ
๔. การถา่ ยทอดลักษณะ ช่ือวิชา วิทยาศาสตร์เพือ่ พัฒนาอาชพี เกษตรกรรม
ทางพนั ธกุ รรม รหัสวิชา 20000-1305
1. ความหมายและ
ประเภทของพันธุกรรม ท.ป.น. 1:2:2 จานวนคาบสอน 3 คาบ : สปั ดาห์ ระดับชัน้ ปวช.
2. การคน้ พบความรู้ทาง สมรรถนะย่อยและจุดประสงค์การปฏิบัติ
พนั ธาุ าสตร์
3. โครโมโซมและยีน สมรรถนะประจาหน่วยการเรียนรู้
4. โรคทางพันธุกรรม ๑. แสดงความรเู้ กย่ี วกบั การถ่ายทอดลักษณะทางพันธกุ รรมตามกฎของเมน
5. การเก่ดมว่ เทชนั เดล
จดุ ประสงคก์ ารปฏิบัติ (Performance Objectives)
ดา้ นความรู้
1. อธบ่ ายความหมายของพันธกุ รรม และยกตัวอยา่ งลักษณะทางพันธกุ รรมได้
2. นาความรตู้ ามกฎของเมนเดลไปใช้อภป่ รายลกั ษณะทางพันธกุ รรมได้
3. นาความร้ทู ่นี อกเหนือกฎของเมนเดลไปใช้อภป่ รายลักษณะทางพันธุกรรม
ได้
4. อธบ่ ายโครงสร้าง ลกั ษณะและหนา้ ท่ีของยีนและโครโมโซมได้
5. นาความรู้เรื่องโรคทางพนั ธกุ รรมไปใชอ้ ภป่ รายความผ่ดปกต่ของสง่ มีชีว่ตได้
6. อภ่ปรายความผ่ดปกต่ทีเ่ ก่ดจากม่วเทชนั ได้
ด้านทักษะ
๑. ใช้ทักษะการสังเกตส่งต่าง ๆ ได้
๒. ใชท้ ักษะการลงความเห็นจากข้อมูลได้
๓. ใชท้ กั ษะการจัดทาและสือ่ ความหมายข้อมูลได้
ด้านจติ พิสัย
1. มคี ุณธรรมจรย่ ธรรมและลักษณะอันพงึ ประสงค์ในการเรียน/บูรณาการ
เารษฐก่จ-พอเพยี ง
๒. มีเจตคตแ่ ละกจ่ น่สัยทีด่ ีต่อการาึกษาและสารวจตรวจสอบด้วยกระบวนการ
ทางว่ทยาาาสตร์
10
ชอ่ื เร่อื ง สมรรถนะยอ่ ยและจุดประสงค์การปฏบิ ตั ิ
๕. เทคโนโลยชี ีวภาพ ชอื่ วิชา วิทยาศาสตร์เพอ่ื พัฒนาอาชพี เกษตรกรรม
1. ความหมายและความ รหัสวชิ า 20000-1305
เป็นมาของ
เทคโนโลยชี ีวภาพ ท.ป.น. 1:2:2 จานวนคาบสอน 3 คาบ : สัปดาห์ ระดับชั้น ปวช.
2. พนั ธวุ ่าวกรรม สมรรถนะย่อยและจุดประสงค์การปฏิบตั ิ
3. การโคลน
4. ประโยชน์ของ สมรรถนะประจาหนว่ ยการเรยี นรู้
เทคโนโลยชี วี ภาพ ๑. แสดงความรูเ้ กี่ยวกบั เทคโนโลยชี ีวภาพและหลักการผลต่ ของส่งมชี ีวต่ ดัด
5. ผลของ แปรพันธุกรรม
เทคโนโลยีชีวภาพทีม่ ตี ่อ
สงั คมและส่งแวดล้อม จดุ ประสงคก์ ารปฏบิ ตั ิ (Performance Objectives)
ด้านความรู้
1. อธ่บายความหมายและความเปน็ มาพร้อมทง้ั ยกตัวอย่างเทคโนโลยีชวี ภาพ
ได้
2. บอกกระบวนการพนั ธวุ ่าวกรรมพร้อมทั้งยกตวั อย่างได้
3. อธ่บายกระบวนการโคลนและบอกข้อดีข้อเสียของการโคลนได้
4. อธบ่ ายการนาเทคโนโลยีชีวภาพไปใชป้ ระโยชน์ในดา้ นต่าง ๆ ได้
5. บอกผลกระทบของเทคโนโลยีชวี ภาพทม่ี ีต่อสังคมและส่งแวดล้อมได้
ด้านทกั ษะ
๑. ใชท้ กั ษะการสงั เกตส่งต่าง ๆ ได้
๒. ใช้ทกั ษะการลงความเห็นจากข้อมลู ได้
๓. ใชท้ กั ษะการจดั ทาและส่อื ความหมายข้อมูลได้
ด้านจติ พิสยั
1. มีคณุ ธรรมจร่ยธรรมและลักษณะอันพงึ ประสงค์ในการเรียน/บูรณาการ
เารษฐกจ่ -พอเพียง
๒. มีเจตคตแ่ ละกจ่ น่สยั ทีด่ ีต่อการาึกษาและสารวจตรวจสอบดว้ ยกระบวนการ
ทางวท่ ยาาาสตร์
11
ชื่อเรอ่ื ง สมรรถนะย่อยและจดุ ประสงค์การปฏิบตั ิ
๖. ความหลากหลายทาง ชอื่ วิชา วิทยาศาสตร์เพื่อพัฒนาอาชพี เกษตรกรรม
ชวี ภาพ รหสั วิชา 20000-1305
1. ความหลากหลายทาง
ชีวภาพ ท.ป.น. 1:2:2 จานวนคาบสอน 3 คาบ : สปั ดาห์ ระดับช้ัน ปวช.
2. การาึกษาความ สมรรถนะย่อยและจดุ ประสงคก์ ารปฏบิ ตั ิ
หลากหลายทางชีวภาพ
3. อาณาจักรของส่งมีชวี ่ต สมรรถนะประจาหนว่ ยการเรียนรู้
4. ความหลากหลายทาง ๑. แสดงความรู้เกย่ี วกบั ความหลากหลายทางชีวภาพและสามารถจัดจาแนก
ชีวภาพในประเทาไทย ส่งมีชวี ่ตออกเปน็ หมวดหมู
5. การสูญเสยี ความ
หลากหลายทางชวี ภาพ จดุ ประสงค์การปฏบิ ัติ (Performance Objectives)
ด้านความรู้
1. อธบ่ ายความสมั พนั ธ์ขององค์ประกอบทท่ี า ให้เก่ดความหลากหลายทาง
ชวี ภาพได้
2. บอกว่ธกี ารที่นกั ว่ทยาาาสตรใ์ ชา้ กึ ษาความหลากหลายทางชวี ภาพได้
3. จัดกลุม่ ส่งมีชีว่ตต่าง ๆ ออกเปน็ หมวดหมไู่ ด้
4. หาเหตุและผลทม่ี าสนับสนนุ ความหลากหลายทางชวี ภาพของประเทาไทย
ได้
5. บอกสาเหตุของการเก่ดความสูญเสยี ความหลากหลายทางชีวภาพได้
ดา้ นทักษะ
๑. ใช้ทกั ษะการสงั เกตส่งต่าง ๆ ได้
๒. ใชท้ ักษะการลงความเห็นจากข้อมลู ได้
๓. ใชท้ กั ษะการจดั ทาและสอ่ื ความหมายข้อมูลได้
ดา้ นจติ พสิ ยั
1. มคี ณุ ธรรมจร่ยธรรมและลักษณะอันพงึ ประสงค์ในการเรียน/บูรณาการ
เารษฐกจ่ -พอเพียง
๒. มีเจตคต่และก่จน่สยั ท่ีดีตอ่ การากึ ษาและสารวจตรวจสอบดว้ ยกระบวนการ
ทางว่ทยาาาสตร์
12
ช่ือเรอ่ื ง สมรรถนะย่อยและจดุ ประสงค์การปฏิบตั ิ
๗. ความหลากหลายทาง
ชวี ภาพ ชอ่ื วิชา วิทยาศาสตร์เพือ่ พัฒนาอาชีพเกษตรกรรม
1. โปรตีน รหัสวิชา 20000-1305
2. เอนไซม์
3. คารโ์ บไฮเดรต ท.ป.น. 1:2:2 จานวนคาบสอน 3 คาบ : สัปดาห์ ระดับชั้น ปวช.
4. ไขมนั สมรรถนะย่อยและจุดประสงค์การปฏบิ ตั ิ
ปฏิบตั กิ ารทดลองท่ี ๔ สมรรถนะประจาหนว่ ยการเรยี นรู้
เรอ่ื ง ทดสอบแป้งและ ๑. แสดงความรู้เก่ียวกบั สารชวี โมเลกลุ และเลอื กบร่โภคอาหารในชวี ่ตประจา
นา้ ตาลในอาหารได้ วันได้อยา่ งถูกสดั สว่ นและปลอดภัย
ปฏิบัตกิ ารทดลองท่ี ๕ จุดประสงค์การปฏิบัติ (Performance Objectives)
เร่อื ง ทดสอบไขมันใน ดา้ นความรู้
อาหารได้ 1. บอกโครงสรา้ งและจาแนกประเภทของโปรตนี และกรดอะมโ่ นได้
2. ทดสอบโปรตีนในอาหารได้
3. อธบ่ ายการทางานของเอนไซม์ได้
4. บอกปจั จัยท่มี ผี ลต่อการทางานของเอนไซม์ได้
5. จาแนกประเภทของคารโ์ บไฮเดรตได้
6. ทดสอบแปง้ และน้าตาลในอาหารได้
7. บอกโครงสร้างและจาแนกประเภทของไขมนั ได้
8. ทดสอบไขมันในอาหารได้
ดา้ นทกั ษะ
1. ใช้ทกั ษะการสังเกตส่งต่าง ๆ จากการทดลองได้
2. ใช้ทกั ษะการต้งั สมมตฐ่ านในการทดลองได้
3. ใชท้ ักษะการทดลองจากการทดลองได้
4. ใช้ทักษะการลงความเหน็ จากข้อมลู และสรุปผลการทดลองได้
5. ใชท้ กั ษะการจัดทาและสอื่ ความหมายข้อมูลได้
ด้านจติ พสิ ัย
1. มีคณุ ธรรมจรย่ ธรรมและลักษณะอันพงึ ประสงค์ในการเรียน/บูรณาการ
เารษฐก่จ-พอเพียง
๒. มเี จตคต่และกจ่ น่สัยทด่ี ีตอ่ การากึ ษาและสารวจตรวจสอบด้วยกระบวนการ
ทางวท่ ยาาาสตร์
13
หนว่ ยการเรยี นรแู้ ละสมรรถนะประจาหน่วย
ช่ือวิชา วิทยาศาสตร์เพ่อื พัฒนาอาชีพเกษตรกรรม
รหสั วิชา 20000-1305
ท.ป.น. 1:2:2 จานวนคาบสอน 3 คาบ : สปั ดาห์ ระดับชั้น ปวช.
ชอ่ื หน่วยการเรยี นรู้ สมรรถนะ
หน่วยการเรยี นรูท้ ี่ 1
เซลล์พชื และเซลลส์ ตั ว์ ความรู้ ทกั ษะ คณุ ลกั ษณะท่พี ึ่งประสงค์
- มเี จตคต่และก่จนส่ ัยที่ดตี ่อ
หน่วยการเรียนรทู้ ่ี 2 1. อธบ่ ายความหมายของ - สารวจตรวจสอบเกยี่ วกับ การาึกษาและสารวจ
ระบบการทางานของพืช โครงสร้างหน้าท่ี ตรวจสอบด้วยกระบวนการ
เซลล์และการคน้ พบเซลล์ องคป์ ระกอบของเซลลพ์ ชื ทางวท่ ยาาาสตร์
ได้
2. บอกความแตกตา่ งของ และสตั ว์ - มเี จตคต่และก่จนส่ ยั ที่ดตี ่อ
การาึกษาและสารวจ
เซลลโ์ พรแครโ่ อตและ ตรวจสอบด้วยกระบวนการ
ทางว่ทยาาาสตร์
เซลล์ยูแครโ่ อตได้
3. ระบขุ นาดและรปู ร่างของ
เซลลช์ นด่ ต่างๆ ได้
4. อธ่บายโครงสรา้ งและ
องค์ประกอบของเซลล์ได้
5. บอกขน้ั ตอนการแบ่ง
เซลลแ์ บบไมโทซส่ และไมโอ
ซ่สได้
6. อธบ่ ายการลาเลียงสาร
ผ่านเย่ือหมุ้ เซลลแ์ ละ
ไมผ่ า่ นเยื่อหมุ้ เซลลไ์ ด้
1. อธ่บายการทางานของ - สารวจตรวจสอบเกยี่ วกบั
ระบบการทางานของ
เน้อื เย่ือชน่ดตา่ งๆ ของ อวยั วะในพชื ตามหลักการ
พชื ได้
2. บอกลกั ษณะโครงสรา้ ง
ภายนอกและภายในของ
รากพชื ได้
3. ระบหุ น้าท่แี ละชน่ดของ
รากพชื ได้
4. อธ่บายโครงสรา้ งภายใน
ของลาต้นพืชได้
5. บอกความแตกต่างของ
ลาต้นพืชชน่ดตา่ งๆ ได้
6. อธ่บายโครงสรา้ ง
ภายนอก
และภายในของใบพืชได้
7. จาแนกประเภทของใบพืช
ได้
8. อธบ่ ายกระบวนการ
ลาเลียงนา้ ของพชื ได้
14
หนว่ ยการเรียนรแู้ ละสมรรถนะประจาหน่วย (ต่อ)
ชือ่ วิชา วิทยาศาสตร์เพอ่ื พัฒนาอาชีพเกษตรกรรม
รหสั วชิ า 20000-1305
ท.ป.น. 1:2:2 จานวนคาบสอน 3 คาบ : สัปดาห์ ระดับชั้น ปวช.
ช่ือหนว่ ยการเรยี นรู้ สมรรถนะ
หนว่ ยการเรยี นรทู้ ี่ 3 ความรู้ ทกั ษะ คณุ ลกั ษณะท่พี ่ึงประสงค์
ระบบการทางานของสตั ว์ 9. อธ่บายกระบวนการ
- สารวจตรวจสอบเกยี่ วกบั - มเี จตคต่และกจ่ นส่ ัยท่ดี ตี ่อ
ลาเลยี งสารอาหารของ ระบบการทางานของ การาึกษาและสารวจ
พืชได้ อวยั วะในสตั ว์ตามหลักการ ตรวจสอบด้วยกระบวนการ
10. ระบุปัจจยั ทีม่ ผี ลต่อการ ทางว่ทยาาาสตร์
สังเคราะหด์ ว้ ยแสงของ
พชื ได้
1. อธ่บายว่ธีการย่อยอาหาร
ของสตั วท์ ไ่ี ม่มกี ระดูก
สันหลังได้
2. อธ่บายกระบวนการยอ่ ย
อาหารของสัตวท์ ่มี กี ระดูก
สันหลังได้
3. บอกวธ่ ีการลาเลยี งสารใน
สตั ว์ทีม่ รี ะบบไหลเวยี น
โลห่ตระบบเปิดและ
ระบบปดิ ได้
4. บอกวธ่ กี ารลาเลยี งสารใน
สตั วท์ ่มี ีระบบหวั ใจและ
หลอดเลอื ดได้
5. สรุปโครงสร้างทีใ่ ช้
แลกเปลยี่ นแกส๊ ของ
สตั ว์น้าได้
6. สรุปโครงสรา้ งทใี่ ช้
แลกเปลย่ี นแก๊สของ
สตั ว์บกได้
7. ระบุโครงสรา้ งทีใ่ ชข้ ับถ่าย
ของสัตวท์ ไี่ มม่ กี ระดูก
สนั หลังได้
8. อธบ่ ายวธ่ ีการขบั ถา่ ยของ
สตั วท์ ่มี กี ระดูกสันหลังได้
15
หน่วยการเรียนรแู้ ละสมรรถนะประจาหนว่ ย (ต่อ)
ชอ่ื วิชา วิทยาศาสตร์เพ่อื พัฒนาอาชีพเกษตรกรรม
รหัสวิชา 20000-1305
ท.ป.น. 1:2:2 จานวนคาบสอน 3 คาบ : สปั ดาห์ ระดับชนั้ ปวช.
ช่อื หนว่ ยการเรียนรู้ สมรรถนะ
หนว่ ยการเรยี นรูท้ ่ี 4 ความรู้ ทักษะ คณุ ลกั ษณะท่ีพงึ่ ประสงค์
การถา่ ยทอดลกั ษณะทาง
พันธุกรรม 9. อธบ่ ายการทางานของ
ระบบประสาทอยา่ งง่าย
ของสตั วท์ ่ีไม่มีกระดกู
สันหลังได้
10. สรปุ กระบวนการทางาน
ของระบบประสาทของ
สัตวท์ ่ีมกี ระดกู สันหลงั ได้
1. อธ่บายความหมายของ - สารวจตรวจสอบเกยี่ วกับ - มเี จตคต่และกจ่ นส่ ัยท่ดี ตี ่อ
การถ่ายทอดลกั ษณะทาง การากึ ษาและสารวจ
พันธุกรรม และยก พันธกุ รรมตามหลกั ตรวจสอบด้วยกระบวนการ
ตัวอย่างลักษณะทาง พนั ธุาาสตร์ ทางวท่ ยาาาสตร์
พันธกุ รรมได้
2. นาความรูต้ ามกฎของ
เมนเดลไปใชอ้ ภ่ปราย
ลกั ษณะทางพันธกุ รรมได้
3. นาความรทู้ ่ีนอกเหนอื กฎ
ของเมนเดลไปใช้อภ่ปราย
ลกั ษณะทางพนั ธกุ รรมได้
4. อธบ่ ายโครงสร้าง
ลกั ษณะ
และหน้าทข่ี องยนี และ
โครโมโซมได้
5. นาความรเู้ รอ่ื งโรคทาง
พันธกุ รรมไปใช้อภ่ปราย
ถึงความผด่ ปกตข่ อง
ส่งมีชีวต่ ได้
6. อภป่ รายเกยี่ วกับความ
ผด่ ปกต่ทีเ่ กด่ จาก
มว่ เทชนั ได้
16
หน่วยการเรยี นร้แู ละสมรรถนะประจาหน่วย (ตอ่ )
ชื่อวิชา วิทยาศาสตรเ์ พ่อื พัฒนาอาชพี เกษตรกรรม
รหัสวิชา 20000-1305
ท.ป.น. 1:2:2 จานวนคาบสอน 3 คาบ : สปั ดาห์ ระดับชั้น ปวช.
ชื่อหน่วยการเรียนรู้ ความรู้ สมรรถนะ คุณลักษณะท่ีพึ่งประสงค์
หน่วยการเรยี นรทู้ ่ี 5 ทกั ษะ - มเี จตคต่และกจ่ นส่ ัยที่ดตี ่อ
เทคโนโลยีชวี ภาพ 1. อธบ่ ายความหมายและ - สารวจตรวจสอบเกยี่ วกบั การาึกษาและสารวจ
ความเปน็ มาพร้อมทง้ั เทคโนโลยชี ีวภาพ ตรวจสอบดว้ ยกระบวนการ
หนว่ ยการเรยี นร้ทู ่ี 6 ยกตวั อย่างเทคโนโลยี ทางว่ทยาาาสตร์
ความหลากหลายทางชวี ภาพ ชีวภาพได้ - สารวจตรวจสอบเกย่ี วกับ
ความหลากหลายทาง - มีเจตคตแ่ ละก่จนส่ ยั ที่ดตี ่อ
2. สรปุ เกย่ี วกบั กระบวนการ ชวี ภาพด้วยกระบวนการ การากึ ษาและสารวจ
พันธวุ า่ วกรรมพรอ้ มทงั้ ทางว่ทยาาาสตร์ ตรวจสอบดว้ ยกระบวนการ
ยกตวั อยา่ งได้ ทางว่ทยาาาสตร์
3. อธบ่ ายกระบวนการ
โคลนนง่ และบอกข้อดี
ขอ้ เสียของการโคลนนง่ ได้
4. อภ่ปรายถึงการนา
เทคโนโลยีชวี ภาพไปใช้
ประโยชนใ์ นดา้ นต่างๆ ได้
5. ระบุถงึ ผลกระทบของ
เทคโนโลยชี ีวภาพทมี่ ีตอ่
สงั คมและส่งแวดล้อมได้
1. อธ่บายถงึ ความสมั พนั ธ์
ขององคป์ ระกอบท่ีทาให้
เก่ดความหลากหลายทาง
ชวี ภาพได้
2. ระบุถงึ ว่ธกี ารที่
นกั วท่ ยาาาสตรใ์ ชา้ กึ ษา
ความหลากหลายทาง
ชวี ภาพได้
3. จัดกลุ่มสง่ มชี วี ่ตตา่ งๆ
ออกเปน็ หมวดหมไู่ ด้
4. หาเหตแุ ละผลทีม่ า
สนับสนนุ ถงึ ความ
หลากหลายทางชวี ภาพ
ของประเทาไทยได้
5. สรุปถึงสาเหตุของการ
เกิดความสญู เสยี ความ
หลากหลายทางชีวภาพได้
17
หนว่ ยการเรยี นรแู้ ละสมรรถนะประจาหน่วย (ตอ่ )
ชอื่ วิชา วิทยาศาสตรเ์ พือ่ พัฒนาอาชพี เกษตรกรรม
รหสั วชิ า 20000-1305
ท.ป.น. 1:2:2 จานวนคาบสอน 3 คาบ : สัปดาห์ ระดับชน้ั ปวช.
ช่อื หน่วยการเรยี นรู้ สมรรถนะ
หนว่ ยการเรยี นร้ทู ่ี 7 ความรู้ ทกั ษะ คุณลักษณะทพ่ี ึ่งประสงค์
สารชวี โมเลกลุ
1. ระบุโครงสรา้ งของกรด - สารวจตรวจสอบเกยี่ วกบั - มีเจตคตแิ ละกิจนสิ ัยท่ดี ตี ่อ
อะมโิ นและโปรตนี ได้ สารชีวโมเลกลุ ดว้ ย การศึกษาและสารวจ
กระบวนการทาง ตรวจสอบดว้ ยกระบวนการ
2. แยกชนิดของกรดอะมิโน วิทยาศาสตร์ ทางวิทยาศาสตร์
ได้
3. ทดสอบโปรตีนในอาหาร
ได้
4. อธิบายการทางานของ
เอนไซม์ได้
5. ระบปุ จั จยั ที่มผี ลตอ่ การ
ทางานของเอนไซมไ์ ด้
6. จาแนกประเภทของ
คารโ์ บไฮเดรตได้
7. ทดสอบแป้งและน้าตาลใน
อาหารได้
8. อธิบายโครงสรา้ งของ
ไขมนั ได้
9. แยกประเภทของกรด
ไขมันได้
10. ทดสอบไขมันในอาหาร
ได้
18
การบูรณาการหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงในดา้ นการเรียนการสอน
ชอ่ื วิชา วิทยาศาสตร์เพือ่ พัฒนาอาชีพเกษตรกรรม รหัสวชิ า 20000-1305
จานวนคาบสอน 3 คาบ : สปั ดาห์ ระดบั ช้นั ปวช. มีการบูรณาการกับ
การบูรณาการหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียงในดา้ นการเรยี นการสอน
หลักความพอประมาณ
ผสู้ อนจัดสรรเวลาในการดาเนินกิจกรรมการเรยี นการสอนเพ่อื ให้ผเู้ รียนมีความรู้ และทักษะ
การปฏิบตั งิ านได้อย่างเหมาะสม
ผู้สอนกาหนดเกณฑ์การประเมินเหมาะสมกับเน้ือหา
ผู้สอนเลอื กใชส้ ื่อการสอนเหมาะสมกับเรื่อง /วัย/ระดบั ชน้ั ของผเู้ รียน
ผสู้ อนจดั กิจกรรมการเรยี นรไู้ ดเ้ หมาะสมกับเรื่อง/วัย/ระดบั ชนั้ ของผเู้ รียน
ผู้เรยี นปฏบิ ตั กิ ารทางานตามลาดบั ข้ันตอน
ผู้เรยี นจดั สรรเวลาในการทากิจกรรมไดต้ ามเวลาทก่ี าหนด
ผูเ้ รียนใช้เคร่อื งและอุปกรณท์ ่ีใชใ้ นการทดลองได้อย่างถกู ต้อง
19
หลกั ความมีเหตผุ ล
การแกป้ ัญหาโจทย์ในเร่อื งที่เรียน
ผูเ้ รียนเข้าใจข้นั ตอนการทดลองได้อย่างถกู ต้อง
มุ่งเนน้ ให้ผู้เรียนไดฝ้ ึกทกั ษะการวิเคราะหแ์ ละปฏิบัตกิ ารทดลอง
ผู้เรยี นสามารถคิดวเิ คราะหใ์ นการแก้ปัญหาโจทยไ์ ด้อย่างเป็นข้ันเปน็ ตอน
หลักความมีภูมิคมุ้ กันในตวั ทีด่ ี
ผูเ้ รียนมีการวางแผนลาดบั ขัน้ การทางานอย่างเปน็ ระบบ
ผู้เรยี นศกึ ษาและปฏบิ ตั กิ ารทดลองและการประยุกตใ์ ช้อยา่ งละเอยี ดและรอบคอบ ได้อย่าง
ถกู ต้อง
ผู้เรยี นปฏบิ ตั งิ านตามข้ันตอนคานึงถึงความปลอดภยั ในการทดลอง
การตดั สินใจและการดาเนินกิจกรรมตา่ ง ๆ ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง ต้องอาศัยเง่อื นไขความรู้
และคุณธรรมเป็นพนื้ ฐาน ดงั น้ี
เง่ือนไขความรู้
เซลล์พืชและเซลลส์ ตั ว์
ระบบการทางานของพืช
ระบบการทางานของสตั ว์
การถา่ ยทอดลักษณะทางพนั ธุกรรม
เทคโนโลยชี ีวภาพ
ความหลากหลายทางชีวภาพ
สารชีวโมเลกลุ
เงื่อนไขคุณธรรม
มีวนิ ัยในการเรยี น ตรงต่อเวลา
มคี วามซื่อสตั ย์ตอ่ ตนเองและผู้อ่ืน
ความสามัคคี แบ่งปัน มีนา้ ใจ ชว่ ยเหลอื ผ้อู ื่น
ความอดทน มงุ่ มัน่ ทีจ่ ะทางานให้ประสบผลสาเร็จ
การใช้สตปิ ัญญาในการปฏบิ ัติงานและการแกป้ ัญหาโจทย์
20
การจดั กจิ กรรมการเรียนตามหลักปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี งส่งผลกระทบท่ีดใี น 4 มิติ ดังนี้
มิตดิ ้านวัตถุ
ผู้เรียนรู้จักใช้วัสดุ-อุปกรณ์ในการเรียนอย่างประหยัด เพราะในข้ันตอนการแสดงวิธีคานวณจะให้
ผู้เรียนใช้กระดาษใช้แล้วหน้าเดียวกลับมาใช้ใหม่ได้อย่างคุ้มค่า และผู้เรียนมีวินัย ในการทางานโดยคานึงถึง
ความปลอดภยั
มติ ดิ ้านสังคม
กิจกรรมการเรียนให้ผ้เู รยี นแบ่งเป็นกลุ่ม ประเมินผลงานเป็นกลุ่มทาให้ผู้เรียนรู้จัก การทางานเป็น
ทีม มีความรับผิดชอบ เกิดการช่วยเหลือเก้ือกูลกัน มีความสามัคคีในหมู่คณะ ผู้เรียนมีระเบียบวินัย มีความ
ซ่ือสตั ย์ รูจ้ ักพงึ่ ตนเองได้ ผเู้ รียนมีภูมิคุ้มกันทาให้หา่ งไกลยาเสพติด
มติ ิดา้ นวัฒนธรรม
ผ้เู รยี นรรู้ ักสามัคคี มีนา้ ใจ รู้จักแบง่ ปัน ใหค้ วามร่วมมอื กบั ผ้อู ืน่ ยอมรับความคดิ เหน็ ของผอู้ ่ืน
มติ ดิ า้ นส่ิงแวดล้อม
ห้องเรียนสะอาด ผู้เรียนมีกิจนิสัยรักความสะอาด สะท้อนให้ตระหนักถึงความปลอดภัยในการ
ปฏิบตั งิ าน และอนรุ ักษ์พลังงานโดยการใชพ้ ลังงานอยา่ งประหยัด
21
แผนการจดั การเรียนร้มู งุ่ เน้นสมรรถนะ บทที่ 2
ชอ่ื วิชา วิทยาศาสตร์เพ่อื พัฒนาอาชีพเกษตรกรรม เวลาเรยี นรวม 6 คาบ
ชือ่ หน่วยการเรียนรู้ ระบบการทางานของพืช
สอนคร้งั ที่ 5/17
ชอื่ เรือ่ ง การลาเลียงนา้ ของพืช
จานวน 3 คาบ
หวั ข้อเรือ่ ง
1.1 เนื้อเยื่อบร่เวณปลายยอด
1.2 โครงสร้างภายในลาต้น
1.3 การเจรญ่ เต่บโตขั้นที่สองของลาตน้ พืชใบเลยี้ งคู่
1.4 ชน่ดของลาต้น
1. สาระสาคัญ/แนวคดิ สาคัญ
การดารงชีว่ตของพชื มกี ระบวนการทางานต่างๆ อย่างเป็นระบบ เร่มต้ังแต่ระบบเนื้อเย่ือโครงสร้างของ
รากลาตน้ ใบซ่งึ ในโครงสร้างเหล่าน้จี ะมีเนือ้ เยื่อลาเลียงเพ่ือลาเลียงสารอน่นทรีย์พวกน้าและแร่ธาตุจากด่นโดย
ระบบท่อน้าแก๊สคาร์บอนไดออกไซด์เข้าทางปากใบสารอน่นทรีย์เหล่าน้ีพืชนาไปใช้ในกระบวนการสังเคราะห์
ดว้ ยแสงโดยการรวมกันทางเคมีของคาร์บอนไดออกไซด์และน้ามีพลังงานแสงเป็นตัวช่วยได้เป็นคาร์โบไฮเดรต
และผลพลอยได้คอื ออกซ่เจนและน้าสารอาหารที่พชื สร้างไดจ้ ะลาเลียงไปทางท่ออาหารไปยงั ส่วนต่างๆ ของพืช
สง่ ผลให้พืชมีการเจร่ญเต่บโตและสามารถดารงชีว่ตอยู่ได้
2. สมรรถนะประจาหน่วย
1. แสดงความรเู้ ก่ยี วกับระบบการทางานต่างๆ ของพืช
๓. จุดประสงคก์ ารเรยี นรู้
๓.1 จดุ ประสงค์ท่ัวไป
1. เพอื่ ให้มีความรู้ความเขา้ ใจและอธบ่ ายกระบวนการลาเลียงนา้ ของพชื ได้
3.2 จดุ ประสงค์เชงิ พฤติกรรม
ด้านความรู้
1. อธ่บายองค์ประกอบของลาต้นและบอกหนา้ ท่ีขององคป์ ระกอบต่าง ๆ ภายในลาต้นได้
2. อธบ่ ายการลาเลียงน้าของพืชได้
ดา้ นทักษะ
๑. ใชท้ กั ษะสารวจตรวจสอบเกยี่ วกับระบบการทางานของอวัยวะในพืชตามหลักการ
คุณลักษณะทพี่ งึ ประสงค์
๑. มเี จตคตแ่ ละก่จนส่ ยั ท่ีดีตอ่ การาึกษาและสารวจตรวจสอบดว้ ยกระบวนการทาง
ว่ทยาาาสตร์
๒. ความมีเหตมุ ีผลในการปฏ่บัต่งาน ตามหลักปรัชญาเารษฐก่จพอเพียง นักเรียนจะต้องมี
การใช้เทคน่คที่แปลกใหม่ ใช้ส่ือและเทคโนโลยี ประกอบการ นาเสนอท่ีน่าสนใจ
นาวัสดุในท้องถ่นมาประยุกตใ์ ชอ้ ย่างคุม้ ค่าและประหยดั
22
๔. เนือ้ หาสาระ
ในหนังสือเรยี น วช่ าวท่ ยาาาสตร์เพ่ือพัฒนาอาชพี เกษตรกรรม (Science for Agriculture)
รหัสวช่ า 20000-1305 หลกั สูตรประกาานยี บตั รวช่ าชีพ พทุ ธาักราช 2556 ประเภทวช่ า เกษตรกรรม
หมวดว่ชา สมรรถนะแกนกลาง กลุ่มว่ชา วท่ ยาาาสตร์ รวบรวมโดย ณฐั ญา อมั รน่ ทร์ บทที่ 2 เร่ือง ระบบ
การทางานของพชื
5. เน้ือหาสาระการเรยี นรู้
๑. กลไกการลาเลยี งนา้ ของพืช
๒. โครงสรา้ งทที่ าหน้าทใ่ี นการลาเลียงนา้
๓. ขนั้ ตอนการลาเลยี งนา้ และแรธ่ าตุ
4. ปจั จัยควบคมุ การลาเลยี งน้า
๑. กลไกการลา้ เลยี งนา้ ของพชื
1.1 แรงดันราก เม่อื พืชดูดน้าทางรากตลอดเวลา ทาใหป้ ร่มาณนา้ ในรากมจี านวนมากขึน้ จน
เก่ดแรงดันในรากสูงมากข้ึนจนสามารถดันให้ของเหลวไหลข้ึนไปตามท่อลาเลียงน้า แรงดันน้ีเรียกว่า แรงดัน
ราก
1.2 แรงดึงเน่ืองจากการคายน้า ท่อลาเลียงน้าเป็นท่อลาเลียงของพืชท่ีมีเส้นผ่าาูนย์กลาง
ขนาดเล็ก ซ่ึงมีแรงดึงดูดระหว่างโมเลกุลของน้าทาให้น้าเคลื่อนท่ีข้ึนไปในหลอดเล็กๆ นี้ได้สูงกว่า
หลอดทมี่ รี ูใหญก่ ว่า กระบวนการนเี้ รยี กวา่ คะปลิ ลารแี อคชนั
2. โครงสรา้ งท่ที า้ หนา้ ท่ีในการลา้ เลียงนา้
2.1 อะโพพลาสต์ คือ การท่ีน้าและแร่ธาตุผ่านจากเซลล์หนึ่งไปยังเซลล์หนึ่ง โดยผ่าน
ช่องว่างระหวา่ งผนงั เซลลใ์ นชัน้ คอร์เทกซ์และผา่ นเซลล์ทไี่ ม่มีชวี ่ต
2.2 ซ่มพลาสต์ คือ การที่น้าและแร่ธาตุผ่านจากเซลล์หนึ่งไปยังอีกเซลล์หนึ่ง โดยผ่าน
ไซโทพลาซึมทีเ่ ชอ่ื มต่อกันและทะลุไปอีกเซลลห์ น่ึงและผา่ นทางพลาสโมเดสมาตา
3. ขนั ตอนการล้าเลยี งน้าและแร่ธาตุ มีขนั้ ตอนต่างๆ ดงั น้ี
3.1 เม่อื นา้ และแร่ธาตผุ า่ นขนรากของชน้ั เอพ่เดอร์ม่ส ซงึ่ เข้าไดท้ ั้ง 2 ว่ธี คือ ว่ธีอะโพพลาสต์
ผา่ นผนังเซลล์ของแตล่ ะเซลล์ และวธ่ ซี ม่ พลาสต์ผ่านเยอ่ื หมุ้ เซลลเ์ ข้าสู่ไซโทพลาซึม
3.2 ถ้าการลาเลียงน้ันเข้าทางอะโพพลาสต์ น้าและแร่ธาตุบางส่วนจะลาเลียงเข้าเซลล์
เอพ่เดอรม์ ส่ และคอร์เทกซ์โดยว่ธซี ม่ พลาสต์
3.3 นา้ และแร่ธาตุท่เี ข้าสเู่ อนโดเดอรม์ ส่ ทางผนงั เซลล์ดว้ ยวธ่ อี ะโพพลาสต์ จะไม่สามารถผ่าน
แคสพาเรียนสตร่ปของเอนโดเดอร์ม่สไปได้โดยว่ธีอะโพพลาสต์ จึงใช้ว่ธีซ่มพลาสต์เพื่อผ่านเยื่อหุ้มเซลล์ของ
เอนโดเดอรม์ ส่
3.4 เซลล์ของเอนโดเดอร์ม่สและเซลล์ในช้ันสตีล ส่งน้าและแร่ธาตุเข้าสู่ท่อลาเลียงน้า
ซึง่ ประกอบด้วยเทรคดี และเวสเซล ซงึ่ เปน็ เซลลท์ ี่ตายแลว้ ไมม่ ีโพรโทพลาซมึ เหลอื แต่ผนงั เซลล์ และเมื่อน้าและ
แร่ธาตุเข้าสู่ท่อลาเลียงน้าจึงเปลี่ยนจากว่ธีซ่มพลาสต์เป็นอะโพพลาสต์ หลังจากนั้นจะลาเลียงขึ้นสู่ลาต้นเข้าสู่
ท่อลาเลยี งนา้ แล้วลาเลียงน้าต่อไปยังส่วนตา่ งๆ เพอ่ื ส่งนา้ ไปใหท้ ุกๆ เซลลข์ องต้นพชื
4. ปัจจัยควบคุมการล้าเลียงน้า ได้แก่ ปร่มาณน้าในด่น อุณหภูม่ในด่น สารละลายในด่น
อากาาในด่น
23
๖. กิจกรรมการเรยี นการสอน
โดยใช้ Application โปรแกรม Plickers และ Google Classroom : ครูและนักเรียนมี Line group
สาหรับนัดหมายวันและเวลาเรียน และส่งงานผ่าน Google Classroom อีกท้ังใช้ Power Point ในการ
นาเสนอเนื้อหาการเรียนรใู้ นแตล่ ะหน่วย
ข้ันตอนการสอนหรือกจิ กรรมของครู ขั้นตอนการสอนหรอื กจิ กรรมของนกั เรยี น
1. ขน้ั นาเขา้ สบู่ ทเรยี น (40 นาที)
- ให้นักเรียนทาแบบทดสอบก่อนเรียนจานวน 20 ข้อ เป็น - นักเรียนทุกคนทาแบบทดสอบกอ่ นเรียน
ขอ้ สอบแบบปรนยั ชนด่ 4 ตัวเลอื ก ด้วยแอปพลเ่ คชัน Plickers จานวน 20 ข้อ ใช้เวลา 20 นาที
- ครูทบทวนเร่ืองกลไกการลาเลียงน้าของพืชในหัวข้อแรงดัน
ราก แรงดึงเน่ืองจากการคายน้า โดยใช้สื่อการสอน PowerPoint - นกั เรยี นทกุ คนฟังทาความเข้าใจ
ประกอบ
- ครูกระตุ้นความสนใจของนักเรียนโดยถามคาถาม Prior - นักเรยี นทุกคนตอบคาถาม
Knowledge โดยมแี นวคาถาม ดังน้ี
1. เน้ือเย่ือท่อลาเลียงน้าและแร่ธาตุของพืชคืออะไร
(แนวตอบ: ทอ่ ไซเลม็ (Xylem))
2. ครูถามให้นักเรียนค่ดต่อไปว่า “พืชขนาดใหญ่หรือพืช
ที่มคี วามสูงมากจาเป็นต้องมที ่อลาเลยี งน้า (Xylem) หรือไม่เพราะ
เหตุใด”
(แนวตอบ: จาเป็น เพราะท่อลาเลียงน้าหรือไซเล็ม (Xylem)
ใชส้ าหรบั ลาเลยี งน้าและธาตอุ าหารจากรากไปยังสว่ นต่าง ๆ)
2. ข้ันใหค้ วามรู้ ( 60 นาที ) 2. ขั้นให้ความรู้
- ครูใหน้ ักเรยี นากึ ษาวด่ โี อ เรอื่ ง โครงสร้างทีท่ าหนา้ ท่ีในการ - นักเรียนากึ ษาวด่ โี อเร่อื ง โครงสรา้ งทท่ี าหนา้ ท่ใี นการ
ลาเลยี งน้าแบบอะโพพลาสต์ และเรอื่ ง โครงสรา้ งทที่ าหนา้ ท่ใี น ลาเลียงนา้ แบบอะโพพลาสต์ และเรือ่ ง โครงสรา้ งทที่ า
การลาเลยี งนา้ แบบซม่ พลาสต์ใน Google Classroom หนา้ ทใ่ี นการลาเลียงน้าแบบซม่ พลาสต์
ใน Google Classroom
3. ขน้ั ประยุกตใ์ ช้ ( 40 นาที ) 3. ขั้นประยกุ ตใ์ ช้
- ครูให้นักเรียนาึกษาใบความรู้พร้อมทั้งอธ่บายประกอบ - นักเรยี นากึ ษาใบความรู้ เรื่อง
หวั ข้อเรื่อง 1. โครงสร้างทที่ าหน้าท่ีในการลาเลียงนา้ แบบอะโพ
1. โครงสร้างท่ีทาหน้าท่ีในการลาเลียงน้าแบบอะโพพลาสต์และ พลาสตแ์ ละโครงสร้างทที่ าหนา้ ทใี่ นการลาเลียงนา้
โครงสร้างทที่ าหนา้ ท่ใี นการลาเลียงน้าแบบซม่ พลาสต์ แบบซ่มพลาสต์
2. ขัน้ ตอนการลาเลียงนา้ และแร่ธาตุ 2. ขั้นตอนการลาเลียงน้าและแรธ่ าตุ
3. ปัจจัยควบคุมการลาเลียงนา้ 3. ปจั จัยควบคมุ การลาเลยี งน้า
- ครใู ห้นกั เรยี นเขา้ ไปตอบคาถามใน Google Classroom - นกั เรยี นเขา้ ไปตอบคาถามใน Google Classroom
- นักเรยี นซกั ถามข้อสงสยั ท่ีเก่ดขนึ้
24
ข้นั ตอนการสอนหรือกิจกรรมของครู ขน้ั ตอนการสอนหรอื กิจกรรมของนกั เรียน
4. ข้นั สรุปเนอื้ หาและประเมนิ ผล ( 40 นาที ) 4. ขนั้ สรุปเนอ้ื หาและประเม่นผล
- . ครแู ละนักเรียนร่วมกันสรุปเน้ือหาทไ่ี ดเ้ รียนใหม้ ีความ - ครูและนกั เรยี นรว่ มกนั สรุปเนอ้ื หาทีไ่ ดเ้ รยี นให้มีความ
เขา้ ใจในท่าทางเดยี วกัน พร้อมร่วมกันอภ่ปราย เข้าใจในท่าทางเดยี วกัน พรอ้ มรว่ มกันอภ่ปราย
- ครถู ามคาถามรปู การลาเลยี งน้าแบบอโพพลาสต์และแบบ - นักเรียนทาแบบทดสอบหลังเรยี น 20 ข้อใชเ้ วลา 20
ซม่ พลาสตแ์ ตกตา่ งกนั อยา่ งไร นาที
- ครูใหน้ กั เรียนทาแบบทดสอบหลังเรยี น จานวน 20 ข้อ - นักเรียนนาคะแนนจากแบบทดสอบก่อนเรียนและหลงั
เปน็ ขอ้ สอบแบบปรนยั ชนด่ 4 ตัวเลอื ก ด้วยแอปพล่เคชัน เรยี นมาเปรียบเทยี บกนั ว่าเปน็ อยา่ งไรมีผลตา่ งกนั อยา่ งไร
Plickers เพอ่ื ดูความก้าวหนา้ ของตนเอง
- ผ้สู อนมอบหมายให้ผเู้ รียนทาก่จกรรมตามสมรรถนะรายวช่ า - นักเรียนจัดทารายงานพรอ้ มทาเปน็ Powerpoint
โดยแบ่งผเู้ รยี นออกเป็นกลุม่ กลมุ่ ละ 4-5 คนจับฉลากเลอื กท้ัง 4 นาเสนอ
หวั ขอ้ ดังน้ี กลไกการลาเลยี งนา้ ของพืช
โครงสร้างทที่ าหนา้ ที่ในการลาเลยี งนา้ ข้นั ตอนการลาเลียงน้า
และแรธ่ าตุ ปจั จยั ควบคุมการลาเลียงนา้ ใหน้ ักเรยี นจัดทา
รายงานพรอ้ มทาเปน็ Powerpoint นาเสนอ แล้วนาเสนอที่หน้า
ชั้นเรียนในชว่ งโมงต่อไป
7. สอื่ การเรยี นรู้/แหล่งการเรยี นรู้
7.1 ส่อื ส่งิ พมิ พ์
- ว่ทยาาาสตร์เพ่อื พัฒนาอาชีพเกษตรกรรม
7.2 สอ่ื โสตทศั น์
- คล่ปวด่ ีโอโครงสร้างทีท่ าหนา้ ทใี่ นการลาเลียงน้าแบบอะโพพลาสต์
- คลป่ วด่ ีโอโครงสรา้ งทที่ าหนา้ ที่ในการลาเลียงน้าแบบซม่ พลาสต์
7.3 หุ่นจาลองหรอื ของจริง
- แบบจาลองลาต้นพืชตดั ตามขวาง
7.4 อ่ืน ๆ
- ส่อื ประกอบการสอน PowerPoint
8. เอกสารประกอบการจดั การเรยี นรู้
8.1 ใบความรู้โครงสร้างท่ีทาหน้าทีใ่ นการลาเลียงน้าแบบอะโพพลาสต์
8.2 ใบความรู้โครงสร้างทที่ าหนา้ ท่ใี นการลาเลียงน้าแบบซ่มพลาสต์
8.3 ใบความรู้ขั้นตอนการลาเลียงน้าและแรธ่ าตุ
8.4 ใบความรู้ปัจจยั ควบคุมการลาเลยี งน้า
9. การบูรณาการ/ความสัมพนั ธก์ บั วิชาอน่ื
- การบรู ณาการของหลกั ปรัชญาเารษฐก่จพอเพียงเงื่อนไขความรู้เข้ากบั ใบงาน ใบกจ่ กรรม
- การบูรณาการกับวช่ าเทคโนโลยีสารสนเทาและการสอ่ื สาร
- การบรู ณาการกับสาระการเรียนรู้เทคโนโลยชี วี ภาพ การบรู ณาการการบูรณาการ ก่จกรรมร่วม
ทางานกล่มุ
25
10. การวัดผลและประเมนิ ผล
10.1 เคร่อื งมือวัดผล
- ก่อนเรยี น แบบทดสอบก่อนเรียน
- ขณะเรียน คาถามใน Google Classroom
- แบบสงั เกตพฤตก่ รรมขณะเรยี น
หลังเรยี น แบบทดสอบหลังเรียน
10.2 วธิ วี ดั ผล
- ตรวจแบบทดสอบก่อนเรยี น
- ตรวจแบบทดสอบหลงั เรียน
- สังเกตพฤต่กรรมขณะเรียน
10.3 เกณฑ์การประเมินผล ประเม่นจากการทาก่จกรรมระหว่างเรียน เกณฑ์ผ่านร้อยละ 60
ขนึ้ ไป
11. แหล่งเรยี นรู้
11.1. ห้องเรียนวท่ ยาาาสตร์
11.2. หอ้ งสมุดว่ทยาลัยเทคนค่
11.3. หอ้ งคอมพ่วเตอร์
11.4. บคุ คล/ผรู้ ู้
12. ผลงาน / ชนิ้ งาน / ความสาเรจ็ ของผูเ้ รยี น
สมรรถนะท่พี ึงประสงค์
12.1 ผู้เรียนสรา้ งความเขา้ ใจเก่ยี วกับการลาเลียงนา้ ของพชื
12.2 ตั้งคาถาม
12.3 อภป่ รายแสดงความคด่ เหน็ ระดมสมอง
12.4 การประยุกตค์ วามรสู้ ู่งานอาชีพ
13. สมรรถนะการสรา้ งคา่ นิยม
การปลูกฝังคุณธรรม จร่ยธรรม และเจตคต่ทด่ี ตี ่อว่ชาชีพ
26
บันทึกหลังการสอน
1. ผลการใช้แผนการจดั การเรียนรู้
............................................................................................................................. .................................................
.................................................................................. ......................................................................................
............................................................................................................................. ..............................................
............................................................................................................................. .................................................
2. ผลการเรยี นของนกั เรียน/ผลการสอนของครู/ปัญหาที่พบ
...................................................................................................................................................... ........................
........................................................................................................... .............................................................
............................................................................................................................. ..............................................
................................................................................................................................................... ...........................
3. แนวทางการแกป้ ัญหา
............................................................................................................................. .................................................
.................................................................................. ......................................................................................
............................................................................................................................. ..............................................
............................................................................................................................. .................................................
ลงชอ่ื ...............................................
(นางสาวเนตรนภา แม่นธนู)
วันท่.ี .......... เดือน ......................… พ.า. .........
27
รายการตรวจสอบและอนญุ าตใหใ้ ช้
ควรอนญุ าตให้ใชใ้ นการสอนได้
ควรปรับปรงุ เก่ยี วกับ..............................................................................................................................
.............................................................................................. ..................................................................
................................................................................................................................................................
.............................................................
ลงชอื่ (..................................................)
หัวหนา้ หมวด/แผนกวิชา
............./.........................../...............
เหน็ ควรอนุญาตให้ใช้ในการสอนได้
ควรปรับปรุงดงั เสนอ
อื่นๆ........................................................................................................................................................
.............................................................................................. ..................................................................
................................................................................................................................................................
.............................................................
ลงช่อื (..................................................)
รองผ้อู านวยการฝา่ ยวชิ าการ
............./.........................../...............
อนุญาตให้ใช้ในการสอนได้
อนื่ ๆ........................................................................................................................................................
.............................................................................................. ..................................................................
....................................................................................................... .........................................................
.............................................................
ลงชอื่ (..................................................)
ผอู้ านวยการวทิ ยาลยั
............./.........................../...............
28
ภาคผนวก
29
ภาคผนวก ก ใบความรู้ บทท่ี 2
เวลาเรยี นรวม 6 คาบ
ใบความรู้ที่ 1
ชอ่ื วิชา วิทยาศาสตรเ์ พื่อพัฒนาอาชีพเกษตรกรรม สอนคร้งั ที่ 5/17
ชอ่ื หน่วยการเรยี นรู้ ระบบการทางานของพืช
แผนการจัดการเรยี นรู้เร่อื ง การลาเลียงน้าของพืช จานวน 3 คาบ
ใบความรู้ : โครงสร้างท่ที าหนา้ ทใี่ นการลาเลียงนา้ แบบอะโพพลาสต์และซมิ พลาสต์
โครงสรา้ งท่ีทา้ หน้าท่ีในการล้าเลียงน้า
การท่ีน้าและแร่ธาตุที่รากดูดซึมจากด่นจะผ่านเซลล์ชั้นนอกคือ เอพ่เดอร์ม่สเข้าสู่เซลล์ช้ันใน คือ
คอร์เทกซ์ เอนโดเดอร์ม่ส และไซเลมของราก โดยอาาัยการลาเลียงทางด้านขา้ ง (Lateral transport)
ซึ่งอยู่ในแนวรัามีของต้นพืช และเป็นระยะทางสั้น ๆ น้าและแร่ธาตุจากด่นจะถูกดูดซึม โดยขนรากผ่านชั้น คอร์เทกซ์
จนถงึ เอนโดเดอรม์ ่สโดย มี 2 ว่ธี
รูป การลาเลยี งนา้ แบบอะโพพลาสตแ์ ละแบบซ่มพลาสต์
(ท่มี า : http://study.com/cimages/videopreview/types-of-cell-junctions_01005411_142186.jpg)
แบบอโพพลาสต์ (Apoplast) น้าในด่นจะเข้าสูร่ ากผา่ นชน้ั คอร์เทกซข์ องรากไปจนถงึ ช้นั เอนโดเดอรม์ ่สโดยน้าจะ
ผา่ นจากเซลลห์ น่ึงไปยังอีกเซลลห์ น่งึ ทางผนงั เซลล์ หรือผ่านทางช่องว่างระหว่างเซลล์
แบบซิมพลาสต์ (Simplast) น้าจะเคลื่อนผา่ นเซลล์หนึง่ ผา่ นไปอีกเซลลห์ น่งึ ทางไซโทพลาซึมท่อลาเลยี ง พลาส
โมเดสมาตา และเย่ือหมุ้ เซลล์ผ่านชนั้ เอนโดเดอรม์ ส่ ก่อนเข้าสูท่ ่อลาเลยี งไซเลม็ ต่อไป
30
ใบความรูท้ ่ี 2 บทที่ 2
ชอื่ วิชา วิทยาศาสตรเ์ พ่อื พัฒนาอาชีพเกษตรกรรม เวลาเรยี นรวม 6 คาบ
ชอ่ื หน่วยการเรียนรู้ ระบบการทางานของพืช
แผนการจดั การเรียนรู้เรอื่ ง การลาเลยี งนา้ ของพืช สอนครั้งท่ี 5/17
ใบความรู้ : ข้นั ตอนการลาเลียงน้าและแรธ่ าตุ
จานวน 3 คาบ
ขันตอนการล้าเลยี งนา้ และแรธ่ าตุ
ในพืชจะมีการลาเลียงน้า และ แร่ธาตุจากด่นผ่านทางรากไปสู่ลาต้น ก่ง ก้าน และใบ โดยผ่านท่อเล็กๆ มากมาย
เรียกท่อเล็กๆ น้ีว่า ท่อลาเลียงน้าไซเล็ม (Xylem) น้าตาลกูลโคสและสารอาหารอื่นๆ จะถูกลาเลียงไปยัง ก่ง ก้านลาต้น
ผ่าน ทางท่อลาเลียงอาหาร โฟลเอ็ม (Phloem) ไปยังส่วนที่กาลังเจร่ญเต่บโต สู่ส่วนท่ีสร้างอาหารไม่ได้ คือรากและหัว
ไปสูส่ ่วนที่ทาหน้าที่สะสมอาหาร คือรากและเมล็ด โดยอาหารจะแพร่ออกจากรากไปตามท่อ ลาเลียงอาหาร ไปยังเซลล์
ต่างๆ โดยตรง การลาเลยี งอาหารส่วนใหญเ่ กด่ ข้ึนในตอนกลางคืน ลักษณะการลาเลยี งอาหารในท่อลาเลียง อาหารมีดงั นี้
1. อตั ราการลาเลียงอาหารเกด่ ขึ้นได้ชา้ กวา่ การลาเลยี งน้าและเกลือแรใ่ นท่อลาเลยี งน้า
2. ท่าทางการลาเลยี งในท่อลาเลยี งอาหารเก่ดขึน้ ไดท้ งั้ ในแนวข้ึนและแนวลง ในเวลาเดียวกนั แตก่ ารลาเลยี งในทอ่
ลาเลียงนา้ จะเกด่ ในแนวข้นึ ในทา่ เดียว
3. เซลลท์ ี่ทาหนา้ ทีล่ าเลียงอหารโดยตรงต้องเป็นเซลลท์ ี่ยงั มีชีว่ต ส่วนเซลลท์ ีใ่ ชใ้ นการลาเลียงนา้ และแร่ธาตเุ ป็นเซลล์ที่
ไมม่ ชี ีวต่ ข้อแตกตา่ ง ของท่อลาเลียงน้าและท่อลาเลยี งอาหารของพชื ใบเลย้ี งเดี่ยวและใบเล้ยี งค่คู ือ มัด(กลุ่ม)ของท่อ
ลาเลียงของพชื ใบเล้ียงเดยี่ วจะอยู่ไม่เปน็ ระเบียบ สว่ นพชื ใบเลย้ี งค่จู ะเป็นระเบยี บ
11 แหลง่ สรา้ ง หรอื ใบสังเคราะหด์ ว้ ยแสง สร้างอาหารประเภทน้าตาล
21 นา้ ตาลท่พี ชื สร้างข้นึ จะถูกลาเลยี งเข้าสซู่ ฟี ทว่ บ์ ในรปู ของนา้ ตาลซโู ครส ด้วย
กระบวนการแพร่แบบแอกทีฟทรานสปอรต์ ทาใหค้ วามเข้มขน้ ของสารละลาย
ซโู ครสบร่เวณซีฟท่วบต์ น้ ทางสงู ขนึ้
31 น้าที่อยภู่ ายในทอ่ ไซเล็มจงึ ออสโมซส่ เขา้ สู่ซฟี ท่วบต์ ้นทางช่วยลาเลียงสารละลาย
ซูโครสไปยังแหลง่ ใช้
41 นา้ ตาลซโู ครสจะแพร่แบบแอกทีฟทรานสปอรต์ เข้าส่เู น้อื เยือ่ พืช หรอื บร่เวณ
แหล่งใช้ ทาใหค้ วามเข้มขน้ ของสารละลายซโู ครสบรเ่ วณ
ซฟี ทว่ บป์ ลายทางต่าลง
51 นา้ ทอี่ ยู่ภายในซฟี ท่วบป์ ลายทางจงึ ออสโมซ่สออก เข้าส่ทู ่อไซเลม็
31
ใบความรทู้ ี่ 3 บทท่ี 2
ช่อื วิชา วิทยาศาสตร์เพอ่ื พัฒนาอาชพี เกษตรกรรม เวลาเรียนรวม 6 คาบ
ช่อื หน่วยการเรยี นรู้ ระบบการทางานของพืช
แผนการจัดการเรยี นรู้เรอ่ื ง การลาเลียงน้าของพชื สอนครั้งที่ 5/17
ใบความรู้ : ปจั จยั ควบคุมการลาเลยี งนา้
จานวน 3 คาบ
ปัจจัยควบคุมการล้าเลยี งนา้
1. ปรมิ าณน้าในดิน
2. อุณหภูมิในดิน
3. อากาศในดิน
อากาศในดิน อากาาในด่นและการถ่ายเท
อ า ก า า ใ น ด่ น มี ค ว า ม ส า คั ญ ต่ อ ก า ร ดู ด น้ า
เช่นเดียวกัน เพราะรากต้องการออกซ่เจนไปใช้ใน
กระบวนการเมแทบอล่ซึมถ้าด่นอัดตัวกันแน่น
เก่นไป จนไม่มีช่องว่างของอากาา หรือมีน้าขังอยู่
อากาาในด่นจะน้อยลง ทาให้รากขาดแก๊ส
ออกซ่เจน ส่งผลให้การดูดน้าของพชื กน็ ้อยลงดว้ ย
ปริมาณน้าในดิน เมื่อน้าในด่นมีปร่มาณมากพอ อัตรา อุณหภูมิในดิน มีส่วนเกี่ยวข้องกับ
การดดู นา้ ของรากจะมีมากตามไปด้วย แต่ถ้ามีปร่มาณน้าในด่น การลาเลียงนา้ ด้วยอุณหภูม่ในด่นต้องไม่สูง
มากเก่นไปจนเก่ดการท่วมขังอยู่ท่ีโคนต้นพืชมากจนเก่นไป หรือต่าเก่นไป รากจึงจะดูดน้าได้ดีและ
อัตราการดูดน้าก็จะลดน้อยลง และช้าลงกว่าปกต่ เนื่องจาก รวดเร็วในกรณีที่อุณหภูม่สูงเก่นไป หรือต่า
สภาพน้าท่วมขังราก ทาให้ปร่มาณแก๊สออกซ่เจนที่เซลล์ของ มาก ๆ จนน้ากลายเป็นน้าแข็งแล้วรากพืช
รากไดร้ บั จะลดน้อยลง เพราะปร่มาณแก๊สออกซ่เจนในน้าย่อม จะไม่สามารถดูดน้าได้ ทาให้รากขาดน้า
น้อยกว่าที่มีอยู่ในอากาา จึงเก่ดผลกระทบทาให้กระบวนการ 3.3 สารละลายในด่น การท่ีสารละลายใน
เมแทบอล่ซึมของเซลลท์ ีร่ ากเกด่ ข้ึนน้อยกว่าอัตราปกต่ มีผลทา ด่นมีความเข้มข้นสูงมากไปทาให้พืชต้อง
ใหร้ ากขาดน้าไดท้ ง้ั ๆ ทร่ี ากแช่อยู่ในนา้ สูญเสียน้าให้กับด่น น้าจากใบและรากจึง
แพร่ออกสู่ด่น จนทาให้พืชสูญเสียน้าไป
มากจนอาจทาให้พืชถงึ ตายได้
32
ภาคผนวก ข ขอ้ สอบ
แบบทดสอบกอ่ นเรยี น บทท่ี 2
ชอื่ วิชา วิทยาศาสตรเ์ พ่อื พัฒนาอาชพี เกษตรกรรม เวลาเรยี นรวม 6 คาบ
ชอ่ื หน่วยการเรียนรู้ ระบบการทางานของพืช สอนครั้งที่ 5/17
เรอ่ื ง การลาเลียงน้าของพืช จานวน 3 คาบ
1. ชน้ั ในสุดของลาตน้ พชื เปน็ ทอ่ี ยูข่ องเซลล์ชนด่ ใด
6. พชื ลาเลยี งน้าจากรากขึ้นไปจนถงึ ใบได้ โดยใช้กลไกใน
1. พธ่ ขอ้ ใด
2. สตีล
3. คอรเ์ ทกซ์ 1. การปดิ เปดิ ของปากใบ
4. มัดทอ่ ลาเลยี ง 2. การแพรแ่ ละออสโมซ่ส
3. การไหลเน่ืองจากแรงดัน
2.เพราะเหตใุ ดพืชใบเลี้ยงเด่ยี วส่วนใหญจ่ ึงไม่มีเน้ือไม้ 4. แรงดันรากและแรงดงึ เน่อื งจากการคายนา้
1. ไม่มีแคมเบยี ม
2. ไม่มมี ดั ท่อลาเลียง 7. ขอ้ ใดคือความแตกตา่ งระหวา่ งลาต้นพชื ใบเลย้ี งเดี่ยว
3. เอนโดเดอร์มส่ เรยี งตัวชั้นเดียว และพืชใบเล้ยี งคู่
4. ท่อนา้ และท่ออาหารมีขนาดเล็ก
1. ลาต้นพชื ใบเลย้ี งคู่มเี พยี งทอ่ โฟลเอ็มเทา่ นั้น
3.ลาต้นของเผือกจดั อยู่ในกลุ่มเดยี วกบั พชื ในขอ้ ใด 2. ลาตน้ พืชใบเลย้ี งเดี่ยวสงั เคราะหด์ ว้ ยแสงได้
1. แหว้ 3. ลาตน้ พืชใบเลี้ยงเดยี่ วมเี พยี งท่อไซเลม็ เทา่ นน้ั
2. ขมน้่ 4. การเรียงตัวของกล่มุ มดั ท่อลาเลียงภายในลาต้น
3. มนั ฝรัง่
4. หัวหอม 8. กระบวนการใดไม่เกยี่ วข้องกับการลาเลยี งน้าและธาตุ
อาหาร
4.ลาต้นของพืชชนด่ ใดมีลกั ษณะแตกต่างจากพวก 1. การแพร่
1. องุน่ 2. ออสโมซ่ส
2. ผกั บงุ้ 3. แอคทีฟทรานสปอร์ต
3. ผกั กระเฉด 4. การแพรแ่ ละออสโมซส่
4. ผกั ตบชวา
9. ขอ้ ใด ถูกต้องเกี่ยวกบั รปู แบบการลาเลยี งน้าจากขนราก
5.การลาเลยี งนา้ ของพืชเกย่ี วขอ้ งกบั ปัจจัยในข้อใด ผ่านเขา้ ส่เู อนโดเดอร์มส่
นอ้ ยทสี่ ดุ 1. ซม่ พลาสต์ อโพพลาสต์
1. อากาาในด่น 2. อโพพลาสต์ ซม่ พลาสต์
2. อุณหภมู ่ในดน่ 3. อโพพลาสต์ ซ่มพลาสต์ อโพพลาสต์
3. ฮอร์โมนของพชื 4. ซม่ พลาสต์ อโพพลาสต์ อโพพลาสต์
4. ปร่มาณนา้ ในดน่
10. ข้อใดไม่ใช่กลไกการลาเลียงน้าของพืช
1. อะโพพลาสต์ (Apoplast)
2. แรงดนั ราก (Root Pressure)
3. แรงดึงเนอ่ื งจากการคายน้า (Transpiration Pull)
4. ข้อ 2 และ ขอ้ 3
33
แบบทดสอบก่อนเรียน บทที่ 2
ชื่อวิชา วิทยาศาสตรเ์ พ่ือพัฒนาอาชพี เกษตรกรรม เวลาเรียนรวม 6 คาบ
ชื่อหน่วยการเรียนรู้ ระบบการทางานของพืช สอนครง้ั ที่ 5/17
เรอื่ ง การลาเลียงนา้ ของพชื จานวน 3 คาบ
16. ขอ้ ใดไม่ถกู ต้องเกีย่ วกบั “ปากใบเปิด”
11. การท่ีน้าและแรธ่ าตผุ า่ นจากเซลลห์ น่ึงไปยงั เซลล์ 1. โพแทสเซียมไอออนแพร่เข้าสูเ่ ซลลค์ ุม
หน่ึงโดยผ่านช่องว่างระหว่างผนังเซลล์เป็นการลาเลียง 2. น้าจงึ ออสโมซส่ ออกจากเซลล์คุม
น้าแบบใด 3. น้าจึงออสโมซ่สเขา้ สู่เซลลค์ มุ
1. ซม่ พลาสต์ (Symplast) 4. ความเขม้ ข้นของสารละลายภายในเซลลค์ ุมสูง
2. อะโพพลาสต์ (Apoplast)
3. แรงดนั ราก (Root Pressure) 17. ขอ้ ใดเกย่ี วข้องกับการการปดิ เปิดของปากใบ
4. แรงดึงเนือ่ งจากการคายน้า (Transpiration 1. แสงสว่าง
Pull) 2. อณุ หภมู ่ท่เี หมาะสม
3. ปร่มาณคาร์บอนไดออกไซด์
12. การลาเลยี งน้าแบบซ่มพลาสต์ (Symplast) จะ 4. ถกู ทั้งขอ้ 1 2 3
ลาเลยี งน้าผ่านส่งใด
1. ผ่านช่องวา่ งระหว่างผนงั เซลล์ 18. ขอ้ ใดไม่ใช่ความสาคญั ของน้าต่อพชื
2. ผา่ นเทรคดี 1. นา้ ช่วยใหเ้ ซลลพ์ ชื เหี่ยว
3. ผา่ นไซโทพลาซึม 2. น้าชว่ ยให้เซลลพ์ ชื เต่ง
4. ผา่ นเวสเซล 3. นา้ เป็นตัวทาละลาย
4. นา้ ทาหน้าทคี่ วบคุมอุณหภูม่ของเซลล์และลาต้นพชื
13. นา้ และแรธ่ าตผุ า่ นขนรากช้นั ใด 19. ชั้นของเน้ือเย่ือทมี่ ักไม่พบในลาตน้ แต่มกั พบในรากคือ
1. ผ่านช่องว่างระหว่างผนงั เซลล์ ขอ้ ใด
2. ผ่านเทรคดี 1. เอพเ่ ดอรม์ ส่
3. ผ่านไซโทพลาซึม 2. เอนโดเดอรม์ ส่
4. ผ่านเอพ่เดอร์มส่ 3. เพรไ่ ซเค่ล
4. เอนโดเดอร์มส่ และเพร่ไซเคล่
14. ขอ้ ใดไม่ใช่ปจั จยั ควบคุมการลาเลยี งน้า
1. สารละลายในดน่
2. ปร่มาณน้าในดน่
3. อณุ หภมู ใ่ นดน่
4. อากาาในด่น
15. ขอ้ ใดคือโครงสร้างภายในของลาต้นของพืชใบ 20. ในกลุ่มท่อลาเลยี งของพืช มีเซลล์ชนด่ หน่ึงทไี่ มม่ หี นา้ ท่ี
เล้ยี งเดีย่ ว เกี่ยวขอ้ งกับการลาเลยี งน้าและอาหาร เซลล์ชน่ดน้คี ืออะไร
1. เซลลค์ อมพาเนียน
1. กลุม่ ท่อลาเลยี งจะเรียงเปน็ ระเบียบในแนวรัามี 2. เซลลไ์ ฟเบอร์
2. เหน็ ขอบเขตของเนือ้ เยื่อพธ่ อย่างชัดเจน 3. เซลล์เทรคดี
3. กลุ่มทอ่ ลาเลียงจะกระจายท่ัวไปในเน้ือเยือ่ พ้ืน 4. เอนโดเดอรม์ ่สและเพรไ่ ซเค่ล
4. มเี นื้อเย่ือเจรญ่ วาสค่วลาร์แคมเบียมระหวา่ งโฟล
เอ็ม
34
เฉลย แบบทดสอบกอ่ นเรียน บทที่ 2
ช่อื วิชา วิทยาศาสตร์เพ่ือพัฒนาอาชพี เกษตรกรรม เวลาเรียนรวม 6 คาบ
ช่ือหน่วยการเรยี นรู้ ระบบการทางานของพืช สอนคร้ังท่ี 5/17
เรอ่ื ง การลาเลยี งนา้ ของพืช จานวน 3 คาบ
1. ช้นั ในสุดของลาต้นพืชเป็นทอี่ ยขู่ องเซลลช์ น่ดใด
6. พชื ลาเลยี งน้าจากรากขน้ึ ไปจนถงึ ใบได้ โดยใช้กลไกใน
1. พ่ธ ขอ้ ใด
2. สตีล
3. คอร์เทกซ์ 1. การปิดเปิดของปากใบ
4. มัดทอ่ ลาเลียง 2. การแพร่และออสโมซ่ส
3. การไหลเน่ืองจากแรงดนั
2.เพราะเหตุใดพชื ใบเลย้ี งเดี่ยวสว่ นใหญ่จึงไมม่ ีเน้ือไม้ 4. แรงดนั รากและแรงดึงเน่อื งจากการคายนา้
1. ไม่มีแคมเบียม
2. ไม่มีมดั ท่อลาเลยี ง 7. ขอ้ ใดคือความแตกต่างระหวา่ งลาตน้ พชื ใบเล้ยี งเดยี่ ว
3. เอนโดเดอร์ม่สเรียงตวั ชั้นเดยี ว และพชื ใบเลยี้ งคู่
4. ท่อนา้ และท่ออาหารมีขนาดเลก็
1. ลาตน้ พืชใบเลย้ี งคมู่ เี พียงท่อโฟลเอม็ เทา่ น้ัน
3.ลาตน้ ของเผือกจัดอยู่ในกลุ่มเดียวกบั พืชในข้อใด 2. ลาตน้ พชื ใบเลีย้ งเดี่ยวสงั เคราะห์ดว้ ยแสงได้
1. แห้ว 3. ลาต้นพชื ใบเล้ียงเดยี่ วมีเพยี งท่อไซเล็มเท่าน้นั
2. ขมน้่ 4. การเรียงตวั ของกลุ่มมัดท่อลาเลียงภายในลาตน้
3. มันฝรง่ั
4. หัวหอม 8. กระบวนการใดไม่เกย่ี วข้องกบั การลาเลียงนา้ และธาตุ
อาหาร
4.ลาตน้ ของพืชชน่ดใดมีลักษณะแตกต่างจากพวก 1. การแพร่
1. องุ่น 2. ออสโมซ่ส
2. ผักบ้งุ 3. แอคทีฟทรานสปอร์ต
3. ผักกระเฉด 4. การแพร่และออสโมซ่ส
4. ผกั ตบชวา
9. ข้อใด ถูกต้องเก่ยี วกับรูปแบบการลาเลยี งน้าจากขนราก
5.การลาเลียงนา้ ของพชื เกี่ยวข้องกับปจั จยั ในข้อใด ผ่านเขา้ สู่เอนโดเดอรม์ ่ส
น้อยทีส่ ุด 1. ซม่ พลาสต์ อโพพลาสต์
1. อากาาในด่น 2. อโพพลาสต์ ซ่มพลาสต์
2. อณุ หภมู ใ่ นดน่ 3. อโพพลาสต์ ซ่มพลาสต์ อโพพลาสต์
3. ฮอร์โมนของพชื 4. ซม่ พลาสต์ อโพพลาสต์ อโพพลาสต์
4. ปร่มาณนา้ ในด่น
10. ขอ้ ใดไม่ใช่กลไกการลาเลียงนา้ ของพืช
1. อะโพพลาสต์ (Apoplast)
2. แรงดนั ราก (Root Pressure)
3. แรงดงึ เน่ืองจากการคายนา้ (Transpiration Pull)
4. ขอ้ 2 และ ขอ้ 3
35
เฉลย แบบทดสอบก่อนเรยี น บทท่ี 2
ช่อื วิชา วิทยาศาสตร์เพือ่ พัฒนาอาชพี เกษตรกรรม เวลาเรียนรวม 6 คาบ
ชอื่ หน่วยการเรียนรู้ ระบบการทางานของพืช สอนครง้ั ที่ 5/17
เรือ่ ง การลาเลยี งน้าของพชื จานวน 3 คาบ
16. ข้อใดไม่ถกู ต้องเกี่ยวกับ “ปากใบเปิด”
11. การทนี่ า้ และแรธ่ าตผุ า่ นจากเซลล์หนง่ึ ไปยงั เซลล์ 1. โพแทสเซียมไอออนแพร่เข้าสูเ่ ซลลค์ ุม
หนึ่งโดยผา่ นช่องว่างระหว่างผนังเซลล์เป็นการลาเลยี ง 2. นา้ จึงออสโมซ่สออกจากเซลล์คุม
นา้ แบบใด 3. นา้ จงึ ออสโมซ่สเขา้ สเู่ ซลล์คุม
1. ซม่ พลาสต์ (Symplast) 4. ความเขม้ ขน้ ของสารละลายภายในเซลล์คุมสูง
2. อะโพพลาสต์ (Apoplast)
3. แรงดันราก (Root Pressure) 17. ขอ้ ใดเกี่ยวข้องกับการการปดิ เปิดของปากใบ
4. แรงดึงเนอื่ งจากการคายน้า (Transpiration 1. แสงสว่าง
Pull) 2. อณุ หภมู ่ท่เี หมาะสม
3. ปรม่ าณคาร์บอนไดออกไซด์
12. การลาเลยี งนา้ แบบซ่มพลาสต์ (Symplast) จะ 4. ถูกท้งั ขอ้ 1 2 3
ลาเลียงนา้ ผา่ นสง่ ใด
1. ผา่ นช่องว่างระหวา่ งผนงั เซลล์ 18. ข้อใดไม่ใช่ความสาคัญของน้าต่อพชื
2. ผ่านเทรคีด 1. นา้ ชว่ ยให้เซลล์พชื เห่ียว
3. ผา่ นไซโทพลาซึม 2. น้าชว่ ยให้เซลลพ์ ชื เต่ง
4. ผา่ นเวสเซล 3. น้าเป็นตวั ทาละลาย
4. นา้ ทาหนา้ ทีค่ วบคุมอุณหภูม่ของเซลล์และลาต้นพชื
13. นา้ และแร่ธาตุผา่ นขนรากชัน้ ใด 19. ช้นั ของเน้ือเย่ือทม่ี ักไม่พบในลาตน้ แตม่ กั พบในรากคือ
1. ผา่ นชอ่ งวา่ งระหว่างผนังเซลล์ ข้อใด
2. ผา่ นเทรคดี 1. เอพเ่ ดอร์มส่
3. ผ่านไซโทพลาซึม 2. เอนโดเดอร์มส่
4. ผา่ นเอพ่เดอรม์ ่ส 3. เพร่ไซเค่ล
4. เอนโดเดอร์ม่สและเพร่ไซเคล่
14. ขอ้ ใดไม่ใช่ปจั จยั ควบคมุ การลาเลยี งนา้
1. สารละลายในด่น
2. ปร่มาณนา้ ในดน่
3. อุณหภูม่ในดน่
4. อากาาในด่น
15. ขอ้ ใดคือโครงสรา้ งภายในของลาต้นของพชื ใบ 20. ในกลมุ่ ท่อลาเลยี งของพืช มีเซลล์ชนด่ หน่ึงทไี่ มม่ หี นา้ ท่ี
เลย้ี งเด่ียว เก่ยี วขอ้ งกับการลาเลียงนา้ และอาหาร เซลล์ชน่ดน้คี ืออะไร
1. เซลลค์ อมพาเนยี น
1. กลมุ่ ทอ่ ลาเลียงจะเรียงเป็นระเบยี บในแนวราั มี 2. เซลล์ไฟเบอร์
2. เหน็ ขอบเขตของเน้อื เยื่อพ่ธอย่างชัดเจน 3. เซลล์เทรคีด
3. กลุม่ ท่อลาเลยี งจะกระจายท่วั ไปในเนื้อเย่ือพื้น 4. เอนโดเดอรม์ ส่ และเพรไ่ ซเค่ล
4. มีเนื้อเยื่อเจร่ญวาสคว่ ลารแ์ คมเบียมระหว่างโฟล
เอ็ม
36
แบบทดสอบหลังเรยี น บทที่ 2
ชอื่ วิชา วิทยาศาสตร์เพ่อื พัฒนาอาชีพเกษตรกรรม เวลาเรียนรวม 6 คาบ
ชือ่ หน่วยการเรียนรู้ ระบบการทางานของพืช สอนครง้ั ที่ 5/17
เรือ่ ง การลาเลียงน้าของพชื จานวน 3 คาบ
1. พืชลาเลยี งน้าจากรากขึ้นไปจนถงึ ใบได้ โดยใช้กลไก 6. ข้อใดไมใ่ ช่กลไกการลาเลยี งน้าของพชื
ในข้อใด 1. แรงดนั ราก (Root Pressure)
1. การปดิ เปดิ ของปากใบ 2. อะโพพลาสต์ (Apoplast)
2. การแพรแ่ ละออสโมซส่ 3. แรงดงึ เน่ืองจากการคายนา้ (Transpiration Pull)
3. แรงดันรากและแรงดึงเนือ่ งจากการคายน้า 4. ข้อ 2 และ ขอ้ 3
4. การไหลเนื่องจากแรงดนั
2. กระบวนการใดไม่เกีย่ วข้องกับการลาเลียงนา้ และ 7. ข้อใด ถกู ต้องเกย่ี วกับรูปแบบการลาเลียงนา้ จากขนราก
ธาตอุ าหาร ผ่านเข้าส่เู อนโดเดอร์ม่ส
1. การแพร่ 1. อโพพลาสต์ ซ่มพลาสต์
2. ออสโมซส่ 2. ซม่ พลาสต์ อโพพลาสต์
3. การแพร่และออสโมซ่ส 3. อโพพลาสต์ ซม่ พลาสต์ อโพพลาสต์
4. แอคทีฟทรานสปอรต์ 4. ซม่ พลาสต์ อโพพลาสต์ อโพพลาสต์
3. ลาตน้ ของพืชชน่ดใดมีลักษณะแตกต่างจากพวก 8. การลาเลียงน้าของพืชเก่ยี วข้องกบั ปัจจัยในข้อใดน้อย
1. ผักบุง้ ท่สี ุด
2. องนุ่ 1. อากาาในดน่
3. ผักกระเฉด 2. ฮอรโ์ มนของพชื
4. ผกั ตบชวา 3. อณุ หภมู ใ่ นด่น
4. ปรม่ าณน้าในดน่
4. เพราะเหตใุ ดพืชใบเลี้ยงเด่ียวสว่ นใหญจ่ งึ ไมม่ ีเน้ือไม้ 9. ขอ้ ใดคือความแตกตา่ งระหว่างลาต้นพชื ใบเลย้ี งเดีย่ ว
1. ไม่มีแคมเบยี ม และพชื ใบเลี้ยงคู่
2. ไม่มมี ดั ท่อลาเลยี ง 1. ลาต้นพืชใบเล้ยี งค่มู เี พยี งทอ่ โฟลเอม็ เท่านนั้
3. เอนโดเดอร์มส่ เรียงตัวช้นั เดียว 2. ลาต้นพชื ใบเลย้ี งเดยี่ วสังเคราะหด์ ว้ ยแสงได้
4. ท่อนา้ และท่ออาหารมีขนาดเลก็ 3. การเรยี งตวั ของกลมุ่ มัดท่อลาเลียงภายในลาตน้
4. ลาต้นพชื ใบเลีย้ งเดยี่ วมีเพยี งท่อไซเล็มเท่านน้ั
5.ลาตน้ ของเผือกจดั อยู่ในกลุ่มเดียวกับพชื ในขอ้ ใด 10. ชั้นในสุดของลาต้นพืชเป็นท่ีอยู่ของเซลล์ชน่ดใด
1. แห้ว 1. คอร์เทกซ์
2. ขมน้่ 2. สตีล
3. มนั ฝรัง่ 3. พ่ธ
4. หัวหอม 4. มัดทอ่ ลาเลยี ง
37
แบบทดสอบหลังเรียน บทที่ 2
ชือ่ วิชา วิทยาศาสตรเ์ พ่อื พัฒนาอาชพี เกษตรกรรม เวลาเรยี นรวม 6 คาบ
ชอ่ื หน่วยการเรยี นรู้ ระบบการทางานของพืช สอนครัง้ ที่ 5/17
เร่ือง การลาเลยี งน้าของพชื จานวน 3 คาบ
11. ขอ้ ใดไม่ถูกต้องเกยี่ วกบั “ปากใบเปิด” 16. น้าและแรธ่ าตผุ ่านจากเซลลห์ นึ่งไปยังเซลล์หน่งึ โดยผ่าน
1. โพแทสเซยี มไอออนแพร่เข้าสเู่ ซลลค์ มุ ชอ่ งวา่ งระหว่างผนงั เซลล์เป็นการลาเลยี งนา้ แบบใด
2. นา้ จงึ ออสโมซ่สออกจากเซลล์คุม 1. ซม่ พลาสต์ (Symplast)
3. น้าจึงออสโมซ่สเข้าสเู่ ซลลค์ ุม 2. อะโพพลาสต์ (Apoplast)
4. ความเข้มข้นของสารละลายภายในเซลลค์ มุ สูงการท่ี 3. แรงดันราก (Root Pressure)
4. แรงดึงเนือ่ งจากการคายนา้ (Transpiration Pull)
12.ในกลุ่มทอ่ ลาเลียงของพืช มเี ซลลช์ น่ดหน่งึ ท่ไี ม่มี 17.ขอ้ ใดคือโครงสรา้ งภายในของลาต้นของพชื ใบเล้ียงเด่ียว
หน้าที่เกี่ยวข้องกบั การลาเลยี งน้าและอาหาร เซลล์ชนด่ นี้ 1. กลมุ่ ท่อลาเลยี งจะกระจายท่วั ไปในเนื้อเยือ่ พื้น
คอื อะไร 2. เห็นขอบเขตของเนอื้ เยอ่ื พธ่ อยา่ งชัดเจน
1. เซลลเ์ ทรคดี 3. กลมุ่ ท่อลาเลยี งจะเรียงเป็นระเบียบในแนวราั มี
2. เซลลไ์ ฟเบอร์ 4. มีเน้อื เยื่อเจร่ญวาสคว่ ลาร์แคมเบียมระหวา่ งโฟลเอ็ม
3. เซลล์คอมพาเนียน
4. เอนโดเดอร์ม่สและเพร่ไซเค่ล
13. ขอ้ ใดไม่ใช่ความสาคญั ของน้าต่อพืช 18. การลาเลียงน้าแบบซ่มพลาสต์ (Symplast) จะลาเลยี งนา้
1. น้าช่วยให้เซลล์พืชเหยี่ ว ผ่านส่งใด
2. น้าชว่ ยใหเ้ ซลลพ์ ืชเตง่ 1. ผ่านช่องวา่ งระหวา่ งผนงั เซลล์
3. น้าเปน็ ตวั ทาละลาย 2. ผ่านเทรคีด
4. น้าทาหนา้ ทคี่ วบคุมอุณหภมู ข่ องเซลลแ์ ละลาต้นพืช 3. ผ่านไซโทพลาซึม
4. ผ่านเวสเซล
14. ชน้ั ของเนื้อเยอ่ื ทีม่ ักไม่พบในลาตน้ แต่มกั พบในราก 19. นา้ และแรธ่ าตุผ่านขนรากช้นั ใด
คือข้อใด 1. ผ่านเอพ่เดอรม์ ่ส
1. เอนโดเดอร์มส่ และเพร่ไซเค่ล 2. ผา่ นเทรคีด
2. เอนโดเดอรม์ ส่ 3. ผ่านไซโทพลาซึม
3. เพร่ไซเค่ล 4. ผ่านชอ่ งวา่ งระหวา่ งผนงั เซลล์
4. เอพเ่ ดอร์ม่ส
15. ขอ้ ใดไม่ใช่ปัจจยั ควบคมุ การลาเลียงน้า 20. ข้อใดเกยี่ วข้องกับการการปิดเปิดของปากใบ
1. สารละลายในด่น 1. แสงสว่าง
2. ปร่มาณน้าในด่น 2. อณุ หภูมท่ ่เี หมาะสม
3. อุณหภูม่ในด่น 3. ปร่มาณคารบ์ อนไดออกไซด์
4. อากาาในดน่ 4. ถกู ท้ังขอ้ 1 2 3
38
เฉลย แบบทดสอบหลังเรียน บทที่ 2
ช่อื วิชา วิทยาศาสตร์เพื่อพัฒนาอาชพี เกษตรกรรม เวลาเรยี นรวม 6 คาบ
ช่อื หน่วยการเรียนรู้ ระบบการทางานของพืช สอนคร้ังท่ี 5/17
เร่อื ง การลาเลียงนา้ ของพชื จานวน 3 คาบ
1. พชื ลาเลียงนา้ จากรากขึน้ ไปจนถงึ ใบได้ โดยใชก้ ลไกใน 6. ขอ้ ใดไมใ่ ช่กลไกการลาเลยี งนา้ ของพชื
ขอ้ ใด 1. แรงดนั ราก (Root Pressure)
1. การปิดเปดิ ของปากใบ 2. อะโพพลาสต์ (Apoplast)
2. การแพร่และออสโมซส่ 3. แรงดึงเนื่องจากการคายนา้ (Transpiration Pull)
3. แรงดันรากและแรงดึงเนอื่ งจากการคายนา้ 4. ขอ้ 2 และ ข้อ 3
4. การไหลเนื่องจากแรงดนั
2. กระบวนการใดไม่เกี่ยวข้องกบั การลาเลียงนา้ และธาตุ 7. ขอ้ ใด ถกู ต้องเก่ยี วกบั รปู แบบการลาเลียงนา้ จากขนราก
อาหาร ผา่ นเข้าสูเ่ อนโดเดอรม์ ส่
1. การแพร่ 1. อโพพลาสต์ ซ่มพลาสต์
2. ออสโมซส่ 2. ซ่มพลาสต์ อโพพลาสต์
3. การแพร่และออสโมซส่ 3. อโพพลาสต์ ซม่ พลาสต์ อโพพลาสต์
4. แอคทีฟทรานสปอร์ต 4. ซ่มพลาสต์ อโพพลาสต์ อโพพลาสต์
3. ลาตน้ ของพืชชนด่ ใดมีลักษณะแตกตา่ งจากพวก
8. การลาเลียงน้าของพชื เก่ียวขอ้ งกับปัจจัยในข้อใดน้อยท่ีสุด
1. ผกั บ้งุ 1. อากาาในด่น
2. องุ่น 2. ฮอรโ์ มนของพืช
3. ผักกระเฉด 3. อณุ หภมู ่ในดน่
4. ผกั ตบชวา 4. ปรม่ าณน้าในดน่
4. เพราะเหตุใดพชื ใบเลี้ยงเด่ียวส่วนใหญ่จึงไม่มีเนื้อไม้
1. ไม่มีแคมเบยี ม 9. ข้อใดคือความแตกตา่ งระหว่างลาตน้ พชื ใบเล้ยี งเดีย่ วและ
2. ไมม่ มี ัดท่อลาเลียง พชื ใบเลยี้ งคู่
3. เอนโดเดอร์ม่สเรยี งตัวช้นั เดียว
4. ท่อน้าและท่ออาหารมีขนาดเล็ก 1. ลาตน้ พชื ใบเลีย้ งคู่มีเพียงทอ่ โฟลเอม็ เทา่ น้ัน
2. ลาตน้ พชื ใบเลย้ี งเด่ียวสงั เคราะห์ด้วยแสงได้
5.ลาต้นของเผอื กจดั อยู่ในกลุ่มเดียวกับพืชในข้อใด 3. การเรยี งตวั ของกลุ่มมดั ท่อลาเลียงภายในลาต้น
1. แหว้ 4. ลาตน้ พืชใบเล้ยี งเด่ยี วมีเพยี งท่อไซเล็มเทา่ นน้ั
2. ขม้่น
3. มันฝร่งั 10. ช้ันในสดุ ของลาตน้ พชื เป็นที่อย่ขู องเซลล์ชนด่ ใด
4. หัวหอม 1. คอร์เทกซ์
2. สตลี
3. พ่ธ
4. มดั ท่อลาเลียง
39
เฉลย แบบทดสอบหลงั เรียน บทท่ี 2
ช่อื วิชา วิทยาศาสตร์เพือ่ พัฒนาอาชีพเกษตรกรรม เวลาเรยี นรวม 6 คาบ
ชอ่ื หน่วยการเรียนรู้ ระบบการทางานของพืช สอนครัง้ ที่ 5/17
เรอื่ ง การลาเลยี งนา้ ของพืช จานวน 3 คาบ
11. ขอ้ ใดไม่ถูกต้องเกี่ยวกับ “ปากใบเปิด” 16. นา้ และแรธ่ าตผุ ่านจากเซลลห์ นึ่งไปยังเซลล์หน่งึ โดยผ่าน
1. โพแทสเซียมไอออนแพร่เข้าสูเ่ ซลลค์ ุม ช่องว่างระหวา่ งผนังเซลล์เป็นการลาเลยี งนา้ แบบใด
2. นา้ จึงออสโมซ่สออกจากเซลลค์ ุม 1. ซ่มพลาสต์ (Symplast)
3. น้าจึงออสโมซ่สเข้าสเู่ ซลล์คมุ 2. อะโพพลาสต์ (Apoplast)
4. ความเขม้ ขน้ ของสารละลายภายในเซลล์คุมสูงการที่ 3. แรงดนั ราก (Root Pressure)
4. แรงดึงเนอื่ งจากการคายนา้ (Transpiration Pull)
12.ในกล่มุ ท่อลาเลยี งของพืช มีเซลลช์ น่ดหนง่ึ ทไ่ี ม่มี 17.ขอ้ ใดคือโครงสรา้ งภายในของลาต้นของพชื ใบเล้ียงเด่ียว
หนา้ ท่ีเก่ยี วข้องกบั การลาเลียงน้าและอาหาร เซลล์ชน่ดนี้ 1. กลุ่มทอ่ ลาเลยี งจะกระจายท่วั ไปในเนื้อเยื่อพื้น
คอื อะไร 2. เหน็ ขอบเขตของเนื้อเยอ่ื พธ่ อยา่ งชัดเจน
1. เซลล์เทรคีด 3. กลมุ่ ทอ่ ลาเลียงจะเรียงเป็นระเบียบในแนวราั มี
2. เซลลไ์ ฟเบอร์ 4. มเี น้ือเย่ือเจร่ญวาสคว่ ลาร์แคมเบียมระหวา่ งโฟลเอ็ม
3. เซลล์คอมพาเนียน
4. เอนโดเดอร์มส่ และเพร่ไซเค่ล
13. ข้อใดไม่ใช่ความสาคญั ของน้าต่อพชื 18. การลาเลียงนา้ แบบซ่มพลาสต์ (Symplast) จะลาเลยี งนา้
1. นา้ ชว่ ยใหเ้ ซลล์พืชเห่ยี ว ผา่ นส่งใด
2. น้าชว่ ยใหเ้ ซลลพ์ ชื เต่ง 1. ผา่ นช่องว่างระหวา่ งผนงั เซลล์
3. น้าเป็นตวั ทาละลาย 2. ผา่ นเทรคดี
4. นา้ ทาหนา้ ทีค่ วบคุมอุณหภมู ่ของเซลลแ์ ละลาต้นพืช 3. ผ่านไซโทพลาซึม
4. ผ่านเวสเซล
14. ชั้นของเนื้อเยอื่ ท่ีมักไม่พบในลาต้น แต่มักพบในราก 19. น้าและแรธ่ าตุผ่านขนรากช้นั ใด
คือข้อใด 1. ผ่านเอพ่เดอรม์ ่ส
1. เอนโดเดอร์มส่ และเพร่ไซเค่ล 2. ผา่ นเทรคีด
2. เอนโดเดอร์ม่ส 3. ผ่านไซโทพลาซึม
3. เพร่ไซเค่ล 4. ผ่านชอ่ งวา่ งระหว่างผนงั เซลล์
4. เอพเ่ ดอร์มส่
15. ขอ้ ใดไม่ใช่ปัจจัยควบคมุ การลาเลยี งน้า 20. ข้อใดเกี่ยวข้องกับการการปิดเปิดของปากใบ
1. สารละลายในด่น 1. แสงสวา่ ง
2. ปร่มาณนา้ ในด่น 2. อณุ หภูม่ที่เหมาะสม
3. อุณหภมู ่ในดน่ 3. ปร่มาณคารบ์ อนไดออกไซด์
4. อากาาในด่น 4. ถูกทง้ั ขอ้ 1 2 3
40
ภาคผนวก ค สื่อการจัดการเรียนรู้
แบบจาลองลาตน้ พชื ตัดตามขวาง
41
ภาคผนวก ง แบบประเมิน
รายละเอยี ดการประเมนิ ผลการเรยี นรู้
จดุ ประสงค์เชิงพฤตกิ รรม
ดา้ นความรู้
1. อธบ่ ายองค์ประกอบของลาต้นและบอกหน้าท่ีขององคป์ ระกอบตา่ ง ๆ ภายในลาตน้ ได้
2. อธบ่ ายการลาเลยี งน้าของพืชได้
วิธกี ารประเมนิ : แบบทดสอบหลงั เรยี น
เครอ่ื งมอื : ขอ้ สอบ
เกณฑ์การตดั สนิ : ไมต่ า่ กว่ารอ้ ยละ 60 จากคะแนนเตม็
ดา้ นทกั ษะ
1. ใชท้ กั ษะสารวจตรวจสอบเกย่ี วกับระบบการทางานของอวัยวะในพืชตามหลักการ
วธิ ีการประเมิน : ทกั ษะสารวจ
เครื่องมอื : ใบงานใน Google Classroom
เกณฑก์ ารตัดสิน : ไม่ตา่ กว่าร้อยละ 60 จากคะแนนเตม็
ด้านคุณลกั ษณะท่พี ึงประสงค์
1. มีเจตคต่และก่จน่สยั ทด่ี ีตอ่ การาึกษาและสารวจตรวจสอบด้วยกระบวนการทาง
วท่ ยาาาสตร์
วธิ ีการประเมนิ : พฤตก่ รรมในชั้นเรยี น,กจ่ กรรมกล่มุ
เคร่อื งมือ : แบบประเม่นทักษะกระบวนการทางว่ทยาาาสตร์
เกณฑก์ ารตดั สนิ : ไมต่ า่ กวา่ ร้อยละ 60 จากคะแนนเต็ม
แบบทดสอบหลังเรยี น
าึกษาการพัฒนาของผ้เู รยี น เปรยี บเทียบกบั คะแนนก่อนเรียน ถา้ มคี ะแนนสงู ข้ึนแสดงว่าผ้เู รยี น
มีการพัฒนา
42
แบบประเมนิ ทกั ษะกระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์
ระดบั ช้นั ……………………………………………………………………….
จดุ ประสงคก์ ารเรียนรู้ : นักเรียนทาการทดลองเพอื่ าึกษาเกี่ยวกบั การลาเลยี งน้าของพืชได้
คาช้แี จง ให้ผู้สอน สังเกตการณ์ใช้กระบวนการทางวท่ ยาาาสตร์ของนักเรียนในขณะทาการทดลอง
โดยลงระดบั คะแนน 1-3 ลงในชอ่ งวา่ ง
ข้อ รายการประเมนิ กลมุ่ กลมุ่ กลมุ่ กลมุ่ กลมุ่
1234 5
1. การต้งั คาถามเกย่ี วกบั ประเดน็ หรือเรอ่ื ง หรือสถานการณ์ที่
จะาึกษาตามท่กี าหนดใหแ้ ละตามความสนใจ
2. การวางแผนการสังเกตเสนอว่ธสี ารวจตรวจสอบ ากึ ษา
คน้ คว้าและคาดการณส์ ง่ ทีจ่ ะพบจาการสารวจตรวจสอบ
3. การเลอื กอปุ กรณเ์ หมาะสมในการสารวจตรวจสอบ
4. การบันทึกขอ้ มลู ในเชง่ ประมาณและนาเสนอผล
5. การสร้างคาถามใหมเ่ พ่อื การสารวจตรวจสอบ
6. การแสดงความคด่ เห็นและสรุปส่งท่ีได้เรยี นรู้
7. การบันทึกและอธบ่ ายผลการสารวจตรวจสอบอยา่ ง
ตรงไปตรงมา
8. การนาเสนอจัดแสดงผลงาน โดยอธ่บาย ด้วยวาจาหรือ
เขียนอธบ่ ายกระบวนการและผลของงานใหผ้ ู้อืน่ เขา้ ใจ
รวม
ผลการประเมนิ
กลมุ่ 1...........ผ่าน ............ไม่ผา่ น............
กลุ่ม 2...........ผ่าน ............ไม่ผา่ น............
กลุ่ม 3...........ผ่าน ............ไม่ผา่ น............
กลมุ่ 4...........ผ่าน ............ไม่ผ่าน............
กลุม่ 5...........ผ่าน ............ไม่ผา่ น............
ลงชอื่ …………………………………………(ผ้สู อน)
(นางสาวเนตรนภา แม่นธน)ู
เกณฑก์ ารตดั สินการประเมิน ............./.............../.............
คะแนน 17-24 หมายถงึ ดี
คะแนน 9-16 หมายถงึ พอใช้
คะแนน ต่ากว่า 9 หมายถึง ปรับปรงุ
เกณฑก์ ารผ่าน กลุ่มได้คะแนนอยา่ งน้อย 9 คะแนน (ระดับ พอใช้) ขน้ึ ไป ถงึ จะผา่ นเกณฑ์
43
แบบประเมินผลการนาเสนอผลงาน
ชือ่ กลมุ่ ……………………………………………ช้ัน………………………หอ้ ง............................
รายชื่อสมาชก่
1……………………………………เลขที่……. 2……………………………………เลขท…่ี ….
3……………………………………เลขที่……. 4……………………………………เลขท…่ี ….
๕……………………………………เลขท…ี่ ….
ที่ รายการประเม่น คะแนน ข้อคด่ เหน็
32 1
1 เน้ือหาสาระครอบคลมุ ชดั เจน (ความรเู้ กยี่ วกับเนอื้ หา ความถูกตอ้ ง
ปฏภ่ าณในการตอบ และการแก้ไขปัญหาเฉพาะหนา้ )
2 รปู แบบการนาเสนอ
3 การมสี ว่ นรว่ มของสมาชก่ ในกลมุ่
4 บคุ ล่กลกั ษณะ กร่ ย่ า ท่าทางในการพูด น้าเสียง ซึ่งทาให้ผู้ฟังมีความ
สนใจ
รวม
ผูป้ ระเมน่ …………………………………………………
(นางสาวเนตรนภา แม่นธนู)
เกณฑ์การใหค้ ะแนน
1. เนื้อหาสาระครอบคลุมชดั เจนถกู ตอ้ ง
3 คะแนน = มีสาระสาคัญครบถ้วนถกู ต้อง ตรงตามจุดประสงค์
2 คะแนน = สาระสาคญั ไมค่ รบถว้ น แตต่ รงตามจดุ ประสงค์
1 คะแนน = สาระสาคญั ไม่ถูกต้อง ไม่ตรงตามจดุ ประสงค์
2. รูปแบบการนาเสนอ
3 คะแนน = มรี ปู แบบการนาเสนอท่ีเหมาะสม มีการใช้เทคน่คท่แี ปลกใหม่ ใช้สื่อและเทคโนโลยี
ประกอบการ นาเสนอที่นา่ สนใจ นาวสั ดใุ นทอ้ งถ่นมาประยุกต์ใชอ้ ย่างคุ้มคา่ และประหยัด
2 คะแนน = มเี ทคน่คการนาเสนอท่แี ปลกใหม่ ใช้สอ่ื และเทคโนโลยปี ระกอบการนาเสนอที่นา่ สนใจ แต่ขาดการ
ประยกุ ตใ์ ช้ วัสดุในท้องถ่น
1 คะแนน = เทคน่คการนาเสนอไมเ่ หมาะสม และไมน่ ่าสนใจ
3. การมีส่วนร่วมของสมาช่กในกลุ่ม
3 คะแนน = สมาชก่ ทุกคนมีบทบาทและมีส่วนรว่ มก่จกรรมกลุ่ม
2 คะแนน = สมาช่กสว่ นใหญ่มีบทบาทและมีส่วนร่วมกจ่ กรรมกลุม่
1 คะแนน = สมาชก่ สว่ นน้อยมีบทบาทและมีสว่ นร่วมก่จกรรมกลุ่ม
4. ความสนใจของผู้ฟงั
3 คะแนน = ผู้ฟงั มากกวา่ ร้อยละ 90 สนใจ และให้ความร่วมมอื
2 คะแนน = ผู้ฟงั รอ้ ยละ 70-90 สนใจ และใหค้ วามร่วมมอื
1 คะแนน = ผู้ฟงั นอ้ ยกวา่ รอ้ ยละ 70 สนใจ และให้ความร่วมมือ
44
แบบประเมินกระบวนการทางานกล่มุ
ชอื่ กล่มุ ……………………………………………ช้นั ………………………หอ้ ง............................
รายชอื่ สมาชก่
1……………………………………เลขที่……. 2……………………………………เลขที่…….
3……………………………………เลขท่ี……. 4……………………………………เลขท่…ี ….
5……………………………………เลขท่ี…….
ที่ รายการประเม่น คะแนน ขอ้ ค่ดเห็น
321
1 การกาหนดเปา้ หมายร่วมกนั
2 การแบ่งหน้าท่รี บั ผ่ดชอบและการเตรียมความพร้อม
3 การปฏบ่ ตั ่หนา้ ท่ีทไี่ ดร้ บั มอบหมาย
4 การประเม่นผลและปรบั ปรุงงาน
รวม
ผู้ประเมน่ …………………………………………………
วนั ท…ี่ ………เดือน……………………..พ.า…………...
เกณฑ์การใหค้ ะแนน
1. การกาหนดเปา้ หมายรว่ มกนั
3 คะแนน = สมาช่กทุกคนมสี ่วนรว่ มในการกาหนดเป้าหมายการทางานอยา่ งชัดเจน
2 คะแนน = สมาช่กส่วนใหญ่มสี ่วนรว่ มในการกาหนดเป้าหมายในการทางาน
1 คะแนน = สมาชก่ สว่ นน้อยมีสว่ นร่วมในการกาหนดเปา้ หมายในการทางาน
2. การหนา้ ท่รี ับผด่ ชอบและการเตรียมความพรอ้ ม
3 คะแนน = กระจายงานไดท้ ว่ั ถงึ และตรงตามความสามารถของสมาช่กทุกคน มกี ารจดั เตรยี มสถานท่ี
สอ่ื / อปุ กรณไ์ ว้อย่างพรอ้ มเพรียง
2 คะแนน = กระจายงานไดท้ วั่ ถึง แต่ไมต่ รงตามความสามารถ และมีส่ือ / อุปกรณไ์ วอ้ ยา่ งพรอ้ มเพรยี ง
แต่ขาดการจัดเตรยี มสถานท่ี
1 คะแนน = กระจายงานไมท่ ั่วถงึ และมสี อ่ื / อปุ กรณ์ไมเ่ พียงพอ
3. การปฏ่บัต่หนา้ ทท่ี ี่ไดร้ บั มอบหมาย
3 คะแนน = ทางานไดส้ าเรจ็ ตามเปา้ หมาย และตามเวลาที่กาหนด
2 คะแนน = ทางานไดส้ าเร็จตามเป้าหมาย แตช่ า้ กวา่ เวลาทก่ี าหนด
1 คะแนน = ทางานไม่สาเรจ็ ตามเปา้ หมาย
4. การประเมน่ ผลและปรบั ปรงุ งาน
3 คะแนน = สมาช่กทุกคนรว่ มปรึกษาหารือ ต่ดตาม ตรวจสอบ และปรบั ปรุงงานเปน็ ระยะ
2 คะแนน = สมาช่กบางส่วนมสี ่วนร่วมปรึกษาหารือ แตไ่ มป่ รบั ปรงุ งาน
1 คะแนน = สมาชก่ บางส่วนมีสว่ นร่วมไมม่ สี ว่ นรว่ มปรึกษาหารือ และปรบั ปรุงงาน
45
แบบประเมินรายงาน
คาชี้แจง : ใหผ้ ู้สอนประเมนิ ช้ินงาน/ภาระงาน แลว้ ขีด ลงในชอ่ งทต่ี รงกบั ระดบั คะแนน
ลาดับที่ รายการประเมนิ 4 ระดับคะแนน 1
รวม 32
1 ความถกู ตอ้ งของเน้ือหา
2 ความสมบรู ณข์ องรูปเล่ม
3 ความตรงต่อเวลา
ลงช่ือ ................................................... ผ้ปู ระเมนิ
................./................../..................
เกณฑก์ ารประเมินรายงาน
ประเด็นท่ีประเมิน 4 ระดบั คะแนน 1
32
เน้ือหาสาระของ
1. ความถูกตอ้ ง เนื้อหาสาระของ เน้ือหาสาระของ เน้ือหาสาระของ รายงานไม่ถกู ต้องเป็น
สว่ นใหญ่
ของเนือ้ หา รายงานถกู ตอ้ งครบถว้ น รายงานถูกตอ้ งเป็นส่วน รายงานถกู ต้องบาง
ใหญ่ ประเด็น
2. ความสมบูรณ์ มีองคป์ ระกอบครบถว้ น มอี งค์ประกอบครบถว้ น มีองคป์ ระกอบครบถ้วน องคป์ ระกอบไม่
ของรปู เล่ม สมบูรณ์ มคี วามเปน็ สมบรู ณ์ มคี วามเป็น สมบูรณ์ แตย่ ังไม่เป็น ครบถว้ น ไมเ่ ปน็
ระเบียบ และรูปเลม่ ระเบียบ แต่รปู เลม่ ไม่ ระเบียบ และรปู เล่มไม่ ระเบยี บ และรปู เล่มไม่
สวยงาม สวยงาม สวยงาม สวยงาม
3. ความตรงตอ่ ส่งช้ินงานภายในเวลาท่ี สง่ ช้ินงานชา้ กวา่ เวลาท่ี สง่ ช้นิ งานชา้ กว่าเวลาท่ี ส่งชน้ิ งานช้ากว่าเวลาที่
เวลา กาหนด กาหนด 1 วนั กาหนด 2 วัน กาหนด 3 วนั ขนึ้ ไป
เกณฑก์ ารตัดสนิ คณุ ภาพ
ช่วงคะแนน ระดบั คณุ ภาพ
11-12 ดีมาก
9-10 ดี
6-8 พอใช้
ต่ากว่า 6 ปรบั ปรงุ
ใบความรทู้ ่ี 1 บทที่ 2
ชือ่ วิชา วิทยาศาสตรเ์ พื่อพัฒนาอาชพี เกษตรกรรม เวลาเรยี นรวม 6 คาบ
ชื่อหน่วยการเรียนรู้ ระบบการทางานของพืช
แผนการจดั การเรียนรู้เรอื่ ง การลาเลียงน้าของพืช สอนครง้ั ท่ี 5/17
ใบความรู้ : โครงสร้างทท่ี าหนา้ ท่ีในการลาเลียงนา้ แบบอะโพพลาสต์และซิมพลาสต์
จานวน 3 คาบ
โครงสร้างท่ีทา้ หน้าที่ในการล้าเลยี งน้า
การท่ีน้าและแร่ธาตุที่รากดูดซึมจากดินจะผ่านเซลล์ช้ันนอกคือ เอพิเดอร์มิสเข้าสู่เซลล์ช้ันใน คือ
คอร์เทกซ์ เอนโดเดอรม์ ิส และไซเลมของราก โดยอาศยั การลา้ เลยี งทางดา้ นข้าง (Lateral transport)
ซ่ึงอยู่ในแนวรัศมีของต้นพืช และเป็นระยะทางส้ัน ๆ น้าและแร่ธาตุจากดินจะถูกดูดซึม โดยขนรากผ่านช้ัน คอร์เทกซ์
จนถงึ เอนโดเดอร์มสิ โดย มี 2 วธิ ี
รูป การลา้ เลยี งน้าแบบอะโพพลาสตแ์ ละแบบซมิ พลาสต์
(ทมี่ า : http://study.com/cimages/videopreview/types-of-cell-junctions_01005411_142186.jpg)
แบบอโพพลาสต์ (Apoplast) น้าในดนิ จะเขา้ สูร่ ากผ่านช้นั คอรเ์ ทกซข์ องรากไปจนถงึ ชน้ั เอนโดเดอร์มสิ โดยน้าจะ
ผ่านจากเซลล์หน่ึงไปยงั อีกเซลลห์ น่งึ ทางผนังเซลล์ หรือผา่ นทางชอ่ งวา่ งระหว่างเซลล์
แบบซิมพลาสต์ (Simplast) น้าจะเคล่ือนผา่ นเซลล์หนง่ึ ผา่ นไปอีกเซลลห์ น่งึ ทางไซโทพลาซึมท่อล้าเลียง พลาส
โมเดสมาตา และเย่ือหุม้ เซลล์ผ่านชนั้ เอนโดเดอร์มสิ ก่อนเข้าสู่ท่อล้าเลยี งไซเล็มต่อไป