The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

แผนการจัดการเรียนรู้ ภาค ค สอศ

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by Kru Nick-Name, 2022-04-26 06:50:33

แผนการจัดการเรียนรู้ ภาค ค สอศ

แผนการจัดการเรียนรู้ ภาค ค สอศ

ใบความร้ทู ี่ 2 บทท่ี 2
ชื่อวิชา วิทยาศาสตร์เพื่อพัฒนาอาชีพเกษตรกรรม เวลาเรียนรวม 6 คาบ
ชอ่ื หน่วยการเรียนรู้ ระบบการทางานของพืช
แผนการจดั การเรียนรู้เรอื่ ง การลาเลียงน้าของพืช สอนครงั้ ที่ 5/17
ใบความรู้ : ขั้นตอนการลาเลียงนา้ และแรธ่ าตุ
จานวน 3 คาบ

ขนั ตอนการล้าเลียงนา้ และแรธ่ าตุ

ในพืชจะมีการล้าเลียงน้า และ แร่ธาตุจากดินผ่านทางรากไปสู่ล้าต้น กิ่ง ก้าน และใบ โดยผ่านท่อเล็กๆ มากมาย
เรยี กทอ่ เล็กๆ น้ีว่า ท่อล้าเลียงน้าไซเล็ม (Xylem) น้าตาลกูลโคสและสารอาหารอ่ืนๆ จะถูกล้าเลียงไปยัง กิ่ง ก้านล้าต้น
ผ่าน ทางท่อล้าเลียงอาหาร โฟลเอ็ม (Phloem) ไปยังส่วนที่ก้าลังเจริญเติบโต สู่ส่วนที่สร้างอาหารไม่ได้ คือรากและหัว
ไปสู่สว่ นท่ีทา้ หน้าที่สะสมอาหาร คือรากและเมล็ด โดยอาหารจะแพร่ออกจากรากไปตามท่อ ล้าเลียงอาหาร ไปยังเซลล์
ตา่ งๆ โดยตรง การลา้ เลียงอาหารส่วนใหญเ่ กิดข้ึนในตอนกลางคนื ลักษณะการล้าเลยี งอาหารในท่อลา้ เลยี ง อาหารมดี งั น้ี
1. อตั ราการล้าเลยี งอาหารเกดิ ขนึ้ ไดช้ า้ กว่าการล้าเลียงน้าและเกลือแร่ในท่อล้าเลียงน้า
2. ทิศทางการลา้ เลียงในท่อล้าเลยี งอาหารเกิดขึน้ ได้ท้งั ในแนวขึน้ และแนวลง ในเวลาเดียวกนั แตก่ ารลา้ เลยี งในท่อ
ลา้ เลียงนา้ จะเกิดในแนวข้นึ ในทศิ เดียว
3. เซลล์ทีท่ ้าหนา้ ที่ลา้ เลยี งอหารโดยตรงต้องเป็นเซลลท์ ่ียังมีชวี ิต ส่วนเซลลท์ ีใ่ ชใ้ นการลา้ เลียงน้าและแรธ่ าตุเปน็ เซลลท์ ่ี
ไม่มชี วี ติ ข้อแตกตา่ ง ของท่อล้าเลยี งน้าและท่อลา้ เลยี งอาหารของพืชใบเลี้ยงเดี่ยวและใบเลย้ี งคคู่ อื มัด(กลุ่ม)ของท่อ
ลา้ เลียงของพืชใบเลย้ี งเดยี่ วจะอยู่ไม่เปน็ ระเบียบ สว่ นพืชใบเล้ียงคจู่ ะเปน็ ระเบยี บ

11 แหล่งสรา้ ง หรือใบสังเคราะหด์ ว้ ยแสง สร้างอาหารประเภทน้าตาล

21 น้าตาลทีพ่ ืชสรา้ งขน้ึ จะถกู ล้าเลยี งเขา้ สซู่ ฟี ทิวบ์ ในรปู ของนา้ ตาลซโู ครส ด้วย
กระบวนการแพรแ่ บบแอกทีฟทรานสปอร์ต ทา้ ใหค้ วามเข้มขน้ ของสารละลาย

ซโู ครสบริเวณซฟี ทวิ บ์ตน้ ทางสูงขน้ึ

31 น้าที่อยภู่ ายในทอ่ ไซเลม็ จึงออสโมซสิ เข้าสู่ซฟี ทิวบ์ต้นทางชว่ ยลา้ เลียงสารละลาย
ซโู ครสไปยังแหล่งใช้

41 น้าตาลซโู ครสจะแพรแ่ บบแอกทฟี ทรานสปอรต์ เขา้ สู่เนื้อเยอ่ื พชื หรอื บริเวณ
แหลง่ ใช้ ท้าให้ความเขม้ ข้นของสารละลายซโู ครสบรเิ วณ

ซฟี ทวิ บป์ ลายทางต่า้ ลง

51 น้าท่ีอยู่ภายในซฟี ทิวบ์ปลายทางจงึ ออสโมซิสออก เขา้ สทู่ ่อไซเลม็

ใบความรูท้ ี่ 3 บทท่ี 2
ช่อื วิชา วิทยาศาสตรเ์ พื่อพัฒนาอาชีพเกษตรกรรม เวลาเรยี นรวม 6 คาบ
ชอื่ หน่วยการเรยี นรู้ ระบบการทางานของพืช
แผนการจัดการเรียนรู้เร่อื ง การลาเลียงนา้ ของพืช สอนครัง้ ที่ 5/17
ใบความรู้ : ปัจจัยควบคุมการลาเลียงนา้
จานวน 3 คาบ
ปจั จัยควบคุมการล้าเลียงน้า

1. ปริมาณน้าในดิน
2. อุณหภูมใิ นดิน
3. อากาศในดนิ

อากาศในดิน อากาศในดินและการถ่ายเท
อ า ก า ศ ใ น ดิ น มี ค ว า ม ส้ า คั ญ ต่ อ ก า ร ดู ด น้ า
เช่นเดียวกัน เพราะรากต้องการออกซิเจนไปใช้ใน
กระบวนการเมแทบอลิซึมถ้าดินอัดตัวกันแน่น
เกินไป จนไม่มีช่องว่างของอากาศ หรือมีน้าขังอยู่
อากาศในดินจะน้อยลง ท้าให้รากขาดแก๊ส
ออกซิเจน ส่งผลใหก้ ารดูดน้าของพชื ก็น้อยลงดว้ ย

ปริมาณน้าในดิน เมื่อน้าในดินมีปริมาณมากพอ อัตรา อุณหภูมิในดิน มีส่วนเกี่ยวข้องกับ
การดดู น้าของรากจะมมี ากตามไปดว้ ย แต่ถ้ามีปริมาณน้าในดิน การลา้ เลียงน้าด้วยอุณหภูมิในดินต้องไม่สูง
มากเกินไปจนเกิดการท่วมขังอยู่ที่โคนต้นพืชมากจนเกินไป หรือต้่าเกินไป รากจึงจะดูดน้าได้ดีและ
อัตราการดูดน้าก็จะลดน้อยลง และช้าลงกว่าปกติ เนื่องจาก รวดเร็วในกรณีที่อุณหภูมิสูงเกินไป หรือต่้า
สภาพน้าท่วมขังราก ท้าให้ปริมาณแก๊สออกซิเจนท่ีเซลล์ของ มาก ๆ จนน้ากลายเป็นน้าแข็งแล้วรากพืช
รากไดร้ บั จะลดน้อยลง เพราะปริมาณแก๊สออกซิเจนในน้าย่อม จะไม่สามารถดูดน้าได้ ท้าให้รากขาดน้า
น้อยกว่าท่ีมีอยู่ในอากาศ จึงเกิดผลกระทบท้าให้กระบวนการ 3.3 สารละลายในดิน การท่ีสารละลายใน
เมแทบอลซิ ึมของเซลลท์ ่ีรากเกดิ ข้นึ นอ้ ยกว่าอัตราปกติ มีผลท้า ดินมีความเข้มข้นสูงมากไปท้าให้พืชต้อง
ให้รากขาดน้าได้ทั้ง ๆ ทีร่ ากแช่อยใู่ นน้า สูญเสียน้าให้กับดิน น้าจากใบและรากจึง
แพร่ออกสู่ดิน จนท้าให้พืชสูญเสียน้าไป
มากจนอาจท้าให้พชื ถงึ ตายได้



สำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา
กระทรวงศึกษาธิการ

เลขประจำตัวผู้สบ 231500025


Click to View FlipBook Version