The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

SARปี64-รร.ขุนห้วยตากพัฒนาศึกษา

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by innkiaw, 2022-05-03 07:41:12

SAR ปี 64-รร.ขุนห้วยตากพัฒนาศึกษา

SARปี64-รร.ขุนห้วยตากพัฒนาศึกษา

ความเหน็ ชอบของคณะกรรมการสถานศกึ ษา

การพัฒนาคุณภาพการศึกษาประจำปีการศึกษา 2564 สถานศึกษามีภาระหน้าที่จะต้องดำเนิน
การตามพระราชบัญญัติการศกึ ษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 ทีก่ ำหนดไวช้ ดั เจนในมาตรา 48 ให้สถานศึกษา มกี ารจัดทำ
รายงานพัฒนาคุณภาพเสนอต่อหน่วยงานต้นสังกัดเป็นประจำทุกปี ดังน้ันโรงเรียนขุนห้วยตากพัฒนาศึกษา
จึงได้ดำเนินการประชุมหารอื คณะกรรมการสถานศึกษาและคณะครู ตลอดได้แนวปฏบิ ัติ พร้อมทั้งได้ดำเนินการ
รวบรวมข้อมูล ผลงาน ซึ่งทางโรงเรียนไดด้ ำเนินกจิ กรรม ตามสาระ การเรียนรู้ ตลอดจนผลสัมฤทธ์ิทางการเรียน
ของนักเรียนทุกช้ันในรอบปีการศึกษา การจัดทำรายงานประจำปีของสถานศึกษา ประจำปีการศึกษา 2564
คณะกรรมการสถานศึกษาได้ให้ความเห็นชอบและผ่านความเห็นชอบของคณะกรรมการสถานศึกษาเป็นที่
เรยี บรอ้ ยแล้ว

(นายพรี พนั ธุ์ ยืนยงครี มี าศ)
ประธานคณะกรรมการสถานศกึ ษาขน้ั พน้ื ฐาน

โรงเรยี นขนุ ห้วยตากพฒั นาศึกษา

วันที่ 2 พฤษภาคม 2565

คำนำ

รายงานการประเมินตนเองตนเองของสถานศึกษา เป็นการสรุปผลการจัดการศึกษาที่สะท้อนผลการ
พฒั นาคุณภาพของสถานศกึ ษา ซ่งึ เปน็ ผลสำเรจ็ จากการบริหารจัดการศึกษาท่ีสอดคล้องกับมาตรฐานการศึกษาข้ัน
พืน้ ฐานและการศึกษาปฐมวยั พระราชบญั ญตั กิ ารศึกษาแห่งชาติ พทุ ธศักราช 2542 ฉบับท่ี 2 ได้กำหนดความมุ่ง
หมายและหลกั การในด้านคุณภาพการศกึ ษาตามหมวด 6 มาตรฐานและการประกนั คุณภาพการศกึ ษา มาตรา 48
กำหนดให้หน่วยงานต้นสังกัดและสถานศึกษา จัดให้มีระบบการประกันคุณภาพภายใน และถือว่าการประกัน
คุณภาพภายในเป็นส่วนหนึ่งของกระบวนการบริหารการศึกษาที่ต้องดำเนินการอย่างต่อเนื่อง โดยมีการจัดทำ
รายงานประจำปีเสนอต่อหน่วยงานต้นสังกัด หน่วยงานที่เกี่ยวข้องและเปิดเผยต่อสาธารณชน เพื่อนำไปสู่การ
พัฒนาคณุ ภาพและมาตรฐานการศึกษาและเพ่อื รองรับการประเมนิ คณุ ภาพภายนอก

โรงเรียนขุนห้วยตากพัฒนาศึกษาจัดทำรายงานคุณภาพการศึกษาประจำปีขึ้น โดยแต่งตั้งคณะทำงาน
ประเมนิ ผลการดำเนินงานของโรงเรียนในรอบปที ่ผี ่านมา ตามมาตรฐานและค่าเป้าหมายทต่ี ั้งไว้หวงั เปน็ อย่างย่ิงว่า
ข้อสรุปจากการนำเสนอในการประเมินตนเอง จะเป็นสารสนเทศที่สถานศึกษาจะนำไปพัฒนาสถานศึกษาให้ได้
คณุ ภาพตามมาตรฐานและดยี ิง่ ขึ้น

(นายพิภพ โพนสาลี)

ผู้อำนวยการโรงเรียนขุนห้วยตากพฒั นาศึกษา

สารบัญ หนา้

คำนำ 1
สารบญั 1
สว่ นที่ 1 บทสรปุ ของผู้บรหิ าร 1
4
ตอนที่ 1 ขอ้ มลู พ้ืนฐาน 4
ตอนที่ 2 การนำเสนอผลการประเมนิ ตนเอง 8
สว่ นท่ี 2 ขอ้ มลู พ้ืนฐาน 9
1. ข้อมูลพื้นฐาน 15
2. ขอ้ มลู พ้ืนฐานแผนพฒั นาการจดั การศึกษาของสถานศกึ ษา 18
3. ผลการดำเนนิ งานตามแผนปฏบิ ตั กิ ารประจำปขี องสถานศึกษา 19
4. ผลสัมฤทธิ์ทางการเรยี นของผเู้ รียน 19
5. นวตั กรรม/แบบอย่างทดี่ ี (Innovation/Best Practice) 20
6. รางวลั ท่ีสถานศกึ ษาไดร้ บั 20
7. ดำเนนิ งานตามนโยบายกระทรวงศึกษาธิการและนโยบายสพป.ตาก เขต 1 21
8. ผลการประเมินคุณภาพภายนอกของ สมศ. ท่ีผ่านมา 21
9. หน่วยงานภายนอกทโ่ี รงเรยี นเขา้ รว่ มเปน็ สมาชกิ 42
ส่วนที่ 3 ผลการประเมนิ ตนเองของสถานศึกษา 45
1. ผลการประเมนิ รายมาตรฐาน 47
2. สรปุ ผลการประเมนิ คณุ ภาพตามมาตรฐานการศึกษาของสถานศกึ ษา 48
3. จดุ เดน่ 48
4. จุดควรพฒั นา 48
5. แนวทางการพัฒนา 49
6. ความตอ้ งการชว่ ยเหลอื
7. ความโดดเดน่ ของสถานศกึ ษา (ถา้ มี)
ภาคผนวก

1

ส่วนที่ 1
บทสรุปของผู้บรหิ าร

ตอนท่ี 1 ข้อมลู พน้ื ฐาน

โรงเรียนขุนห้วยตากพฒั นาศึกษา รหัส106360075 ที่ตัง้ เลขที่ 105 ตำบลท้องฟา้ อำเภอบ้านตาก

จังหวัดตาก สงั กัดสำนกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาขัน้ พ้นื ฐาน email [email protected]

ไดร้ บั อนญุ าตจดั ตง้ั เม่อื ปี พ.ศ 2526 เปิดสอนระดบั อนุบาล 1 ถึงระดบั มัธยมศกึ ษาปที ่ี 3 จำนวนนักเรียน 567 คน

จำนวนบุคลากรโรงเรียน 21 คน

ตอนท่ี 2 การนำเสนอผลการประเมินตนเอง

ระดับปฐมวัย

1) มาตรฐานการศึกษาระดับปฐมวยั ระดบั คุณภาพ ยอดเย่ียม

2) หลักฐานสนบั สนนุ ผลการประเมนิ ตนเองตามระดบั คุณภาพ

2.1 แผนพัฒนาคณุ ภาพการศึกษา

2.2 แผนปฏิบตั กิ ารประจำปกี ารศึกษา 2564

2.2.1 รายงานสรุปโครงการอบรมและพฒั นาสอ่ื การเรยี นการสอนระดับปฐมวัย

2.2.2 รายงานสรุปโครงการดูแลความสะดาดนักเรยี นปฐมวยั

2.2.3 รายงานสรปุ โครงการจัดซ้ือวัสดุพฒั นาการเดก็ ปฐมวัย

2.3 หลักสูตรสถานศกึ ษา ระดับปฐมวัย

2.4 แผนการจัดประสบการณ์การเรยี นรู้การศึกษาปฐมวัย

2.5 แบบรายงานผลการวเิ คราะหก์ ารคัดกรองผเู้ รยี นเปน็ รายบคุ คล

2.6 แบบรายงานการประเมนิ พัฒนาการนักเรียนระดับปฐมวัย

2.7 ระบบฐานขอ้ มลู สารสนเทศการพฒั นาเด็กปฐมวยั ตามมาตรฐานชาติ

3) โรงเรียนมแี ผนจะพฒั นาตนเองตอ่ ไปอยา่ งไรใหไ้ ดร้ ะดบั คุณภาพท่ีดีขนึ้ กวา่ เดิม 1 ระดับ

3.1 แผนปฏิบตั ิงานที่ 1 สง่ เสริมการจัดการเรยี นการสอนโดยใช้ภาษาอังกฤษบูรณาการในการ

จดั ประสบการณ์การเรียนรู้

3.2 แผนปฏบิ ัติงานท่ี 2 ส่งเสริมการจัดการเรยี นการสอนโดยใช้แนวทางการจดั การเรียนรู้

“โครงการบ้านนักวิทยศาสตร์นอ้ ย”

4) นวตั กรรม/แบบอย่างทด่ี ี

4.1 KHT-IMPROVE Model สอดคลอ้ งกบั มาตรฐาน ท่ี 2 กระบวนการบรหิ ารและการ

จัดการของผ้บู รหิ ารสถานศึกษา

4.2 นวตั กรรมการเรียนการสอนแบบโครงการ(Project Approach) คอื การศกึ ษาสืบคน้ ลงลกึ ใน

เร่ืองทเี่ ดก็ สนใจหรอื ทั้งผสู้ อนและเด็กสนใจ แบ่งเปน็ 3ระยะคือ การเร่มิ โครงการ พฒั นา

โครงการ และสรุปโครงการ ซึง่ ในแต่ละระยะประกอบไปด้วย การอภิปราย การสืบคน้ การ

นำเสนอและจัดแสดงผลงานภาคเรยี นละ1คร้ังมีการบูรณาการร่วมกับการสอนภาษาธรรมชาติ

เปน็ การส่งเสริมทกั ษะทางภาษาและสร้างเจตคติทดี่ ีในการเรยี นรูภ้ าษาแบบองคร์ วมคอื ฟงั

พูด อา่ น เขยี น

2

5) ความโดดเดน่ ของสถานศกึ ษา
5.1 สังคมโดยรอบบรเิ วณท่ตี ง้ั ของสถานศึกษาเป็นสงั คมชนเผา่ มง้ จึงทำให้มีทรัพยากรทางภูมิ
ปัญญาและวัฒนธรรมของชนเผา่ มง้
5.2 ภูมิประเทศทีต่ ั้งของสถานศึกษาเป็นพนื้ ท่ีป่าบนภูเขาจงึ มีทรัพยากรธรรมชาติเปน็ แหล่ง
เรียนรู้ภายนอกห้องเรียน
5.3 ไดร้ ับความร่วมมือจากเครือข่ายชมุ และเครือข่ายองคก์ รทเี่ กยี่ วข้องทง้ั ภายในและภายนอก
ท้องถ่นิ

6) โรงเรียนไดด้ ำเนนิ งานตามนโยบายกระทรวงศึกษาธกิ าร
6.1 ดำเนนิ การสถานศึกษาปลอดภัย
6.2 ดำเนินการโครงการโรงเรียนคณุ ธรรมสพฐ.
6.3 ดำเนินการโครงการระบบดแู ลช่วยเหลอื นกั เรียน
6.4 โครงการบ้านนกั วทิ ยาศาสตรน์ อ้ ย

ระดบั การศึกษาข้นั พ้ืนฐาน
1) มาตรฐานการศึกษาระดับการศึกษาขั้นพืน้ ฐาน ระดบั คุณภาพ ยอดเย่ยี ม
2) หลกั ฐานสนบั สนนุ ผลการประเมินตนเองตามระดบั คุณภาพ
2.1) แผนพฒั นาคุณภาพการศกึ ษา
2.2) แผนปฏบิ ัติการประจำปีการศกึ ษา 2564
2.3) รายงานสรปุ โครงการตามแผนปฎิบัตกิ ารประจำปกี ารศกึ ษา
2.4) แผนยกระดบั ผลสัมฤทธท์ิ างการศึกษา
2.5) แผนนเิ ทศภายในสถานศกึ ษา
2.6) หลักสูตรสถานศึกษา
2.7) แผนการจัดการการเรยี นรูท้ ุกกลมุ่ สาระวิชา
2.8) วจิ ยั ในชั้นเรยี น
2.9) เอกสารรายงานการวดั และประเมนิ ผลผเู้ รียน
3) โรงเรยี นมีแผนจะพฒั นาตนเองตอ่ ไปอย่างไรให้ไดร้ ะดบั คุณภาพท่ีดีขน้ึ กวา่ เดมิ 1 ระดบั
3.1 แผนปฏบิ ัตงิ านที่ 1 สง่ เสรมิ นกั เรยี นจัดทำโครงงานทักษะอาชพี เนน้ ใหผ้ เู้ รียนคดิ เองทำเอง
โดยใชส้ ่ือ แหล่งเรยี นรทู้ ้งั ภายในและภายนอกสถานศึกษา เพอ่ื การคน้ คว้าและออกแบบ สง่ ผลให้
มีการพัฒนาสมรรถนะทีจ่ ำเปน็ ตามหลักสูตร
3.2 แผนปฏิบัติงานที่ 2 บริหารโดยการมีส่วนร่วมกับทุกภาคส่วนในการพัฒนาคุณภาพของ
นกั เรียนตามมาตรฐานการศกึ ษา

4) นวตั กรรม/แบบอยา่ งท่ดี ี
4.1 KHT-IMPROVE Model สอดคล้องกับมาตรฐาน ท่ี 2 กระบวนการบริหารและการ
จัดการของผูบ้ รหิ ารสถานศกึ ษา
4.2 15 นาทีทอง แกไ้ ขปญั หาอ่านไม่ออก เขียนไมไ่ ด้ สอดคลอ้ งกบั มาตรฐานท่ี 1 คุณภาพ
ของผ้เู รยี น

3

5) ความโดดเดน่ ของสถานศกึ ษา
5.1 สงั คมโดยรอบบริเวณทตี่ ง้ั ของสถานศึกษาเปน็ สังคมชนเผา่ ม้ง จึงทำให้มีทรพั ยากรทางภมู ิ
ปัญญาและวัฒนธรรมของชนเผา่ ม้ง
5.2 ภมู ิประเทศที่ตัง้ ของสถานศกึ ษาเป็นพื้นท่ีป่าบนภูเขาจงึ มที รพั ยากรธรรมชาตเิ ปน็ แหลง่ เรียนรู้
ภายนอกหอ้ งเรยี น
5.3 ได้รบั ความร่วมมือจากเครอื ข่ายชุมและเครือขา่ ยองคก์ รทีเ่ ก่ยี วขอ้ งทั้งภายในและภายนอก
ทอ้ งถน่ิ

6) โรงเรียนได้ดำเนนิ งานตามนโยบายกระทรวงศึกษาธิการ
6.1 ดำเนนิ การสถานศึกษาปลอดภยั
6.2 ดำเนนิ การโครงการโรงเรียนคุณธรรมสพฐ.
6.3 ดำเนินการโครงการระบบดูแลช่วยเหลอื นกั เรียน
6.4 ดำเนนิ การกจิ กรรม 1 โรงเรยี น 1 อาชพี
6.5 ดำเนนิ กิจกรรม 1 โรงเรียน 1 กฬี า
6.6 ดำเนนิ กิจกรรม 1 โรงเรียน 1 ดนตรี
6.7ดำเนินกจิ กรรม 1 โรงเรียน 1 นวัตกรรม (ดา้ นการเรยี นการสอน)
6.8 ดำเนนิ กจิ กรรม 1 โรงเรียน 1 นวตั กรรม (ด้านการบรหิ ารจัดการสถานศกึ ษา)

ลงนาม....................................................(ผ้อู ำนวยการโรงเรียน)
(นายพิภพ โพนสาลี)

วนั 2 เดอื นพฤษภาคม พ.ศ. 2565

4

สว่ นท่ี 2
ข้อมูลพ้ืนฐาน

1. ขอ้ มลู พ้ืนฐาน
1.1 โรงเรียนขนุ ห้วยตากพฒั นาศึกษา รหัสโรงเรยี น 1063160075

ที่ตั้งเลขท่ี 105 แขวง/ตำบล ท้องฟ้า เขต/อำเภอบ้านตาก จังหวัดตาก สังกัดสำนักงานคณะกรรมการ
การศกึ ษาข้ันพืน้ ฐาน โทรศัพท์ 093-3171817 email [email protected]
ได้รับอนุญาตจัดตั้งเมื่อปีพุทธศักราช 2526 เปิดสอนระดับชั้นอนุบาล 1 ถึง ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3

จำนวนนักเรียน 567
7 คนจำนวนบคุ ลากรโรงเรยี น 21 คน

การจัดการเรยี นการสอน
 ปกติ (สามัญศกึ ษา)
 English Program ได้รับอนุญาตเม่อื ...................................................

 อ่ืนๆ โปรดระบุ................................................................................................................

1.2 จำนวนหอ้ งเรียน/ผูเ้ รยี นจำแนกตามระดบั ทเี่ ปดิ สอน

ระดบั ทเ่ี ปิดสอน จำนวนหอ้ งเรียน จำนวนผเู้ รียนปกติ จำนวนผู้เรียนทม่ี ี รวมจำนวน
ความต้องการพเิ ศษ ผูเ้ รียน
เตรียมอนุบาล หอ้ งเรยี นปกติ ห้องเรยี น EP ชาย หญงิ ชาย หญิง
ระดับก่อนประถมศึกษา - - -- -
อนบุ าลปีที่ 1 5 - -- -- -
อนบุ าลปที ี่ 2 1 - 88 -- 16
อนบุ าลปีที่ 3 2 - 29 31 -- 60
2 - 27 23 -- 50
รวม 5 - 64 62 -- 126
ระดบั ประถมศกึ ษา 10 - -- -- -
ประถมศึกษาปีที่ 1 3 - 35 32 -- 67
ประถมศกึ ษาปีที่ 2 2 - 35 26 -- 61
ประถมศกึ ษาปที ่ี 3 1 - 29 26 -- 55
ประถมศกึ ษาปที ่ี 4 1 - 17 27 -- 44
ประถมศึกษาปที ี่ 5 2 - 45 25 -- 70
ประถมศึกษาปที ่ี 6 1 - 33 25 -- 58
10 - 194 161 -- 355
รวม 3 - -- -- -
ระดับมธั ยมศกึ ษาตอนตน้ 1 - 16 17 -- 33
มัธยมศึกษาปีที่ 1 1 - 14 23 -- 37
มัธยมศกึ ษาปีที่ 2 1 - 4 12 -- 16
มัธยมศึกษาปที ่ี 3 3 - 34 52 -- 86
18 - 292 275 -- 567
รวม --
รวมทง้ั สนิ้

5

1.3 จำนวนครูและบคุ ลากรทางการศึกษา

1.3.1 สรุปจำนวนครแู ละบุคลากรทางการศึกษา จำแนกวุฒิการศึกษาและประเภท/ตำแหนง่

จำนวนครูและบคุ ลากรทางการศึกษา

ประเภท/ตำแหน่ง ต่ำกวา่ ป.ตรี ป.โท ป.เอก รวม

ป.ตรี

1. ผูบ้ ริหารสถานศกึ ษา - --- -

- ผอู้ ำนวยการ - -1- 1

- รอง/ผ้อู ำนวยการ - -1- 1

รวม - --- -

2. ครรู ะดบั ปฐมวัย - --- -

- ครูบรรจุ - 1- - 1

- ครูต่างชาติ - --- -

3. ครรู ะดบั ขั้นพนื้ ฐาน - --- -

- ครบู รรจุ - 11 1 - 12

- ครพู นักงานราชการ - 1- - 1

- ครูอัตราจ้างงบประมาณสพป. - 1- - 1

ตาก 1

- ครอู ตั ราจ้างโรงเรยี นจ้าง - 1- - 1

- ครูพเี่ ลย้ี งเดก็ พิการเรียนรว่ ม - 1- - 1

- ครูอัตราจ้างเจ้าท่ี วิทย์ , คณิต - -- - -

- อน่ื ๆ - 2- - 1

รวม - --- -

4. บุคลากรทางการศึกษา - --- -

- เจ้าหนา้ ท่ธี ุรการ - --- -

- นกั การภารโรง - --- -

5.อ่นื ๆ (ระบ)ุ ... - --- -

รวม - 18 3 - 21

รวมทง้ั สน้ิ - - - - 21

สรปุ อัตราส่วน

ระดบั ปฐมวยั
จำนวนผู้เรยี นต่อครู 40 : 1
จำนวนผูเ้ รยี นต่อห้อง 40 : 1

ระดบั การศึกษาขัน้ พนื้ ฐาน
ระดบั ประถมศึกษา

จำนวนผเู้ รียนตอ่ ครู 40 : 1
จำนวนผ้เู รยี นต่อหอ้ ง 40 : 1

6

ระดบั มธั ยมศึกษาตน้
จำนวนผ้เู รียนตอ่ ครู 40. : 1

จำนวนผเู้ รยี นตอ่ ห้อง 40 : 1

1.3.2 สรุปจำนวนครูผู้สอน จำแนกตามระดบั และกลมุ่ สาระการเรยี นรู้

กรณีท่ี 1 ครูสอนหลายระดับชั้นใหก้ รอกข้อมลู ในระดบั ท่มี ีจำนวนช่ัวโมงสอนมากที่สดุ

กรณที ี่ 2 ครทู ีจ่ บวิชาเอกการประถมศึกษาถอื วา่ ตรงเอกสามารถสอนไดใ้ นทกุ วิชา ใน

ระดบั ประถมศกึ ษา

จำนวนครูผสู้ อน

ระดบั /กลมุ่ สาระการเรียนรู้ ปฐมวยั ประถมศึกษา มธั ยมศกึ ษาตน้
ตรงเอก ไม่ตรง ตรงเอก ไม่ตรง ตรงเอก ไมต่ รง

เอก เอก เอก

ปฐมวัย 2 1 - - - -

ภาษาไทย - -131-

คณติ ศาสตร์ - - -11-

วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี - - 1 - 1 -

สังคมศึกษา ศาสนา - - -312

วัฒนธรรม

สขุ ศึกษาและพลศกึ ษา - -1-1-

ศลิ ปะ - - 1 - 1 -

การงานอาชพี - -1-1-

ภาษาตา่ งประเทศ - -1-1-

รวม 2 1 6 7 8 2

1.3.3 สรปุ จำนวนครูผสู้ อนกจิ กรรมพฒั นาผูเ้ รียน จำนวนครูผสู้ อน

กจิ กรรมพฒั นาผ้เู รียน ประถมศกึ ษา มัธยมศึกษา

 กจิ กรรมนักเรียน --
- ลูกเสือ
- เนตรนารี 53
- ยวุ กาชาด
- ผบู้ ำเพญ็ ประโยชน์ -2
- กจิ กรรมชุมนมุ ชมรม
- อน่ื ๆ...ให้ระบุ 6-

 กจิ กรรมแนะแนว --
 กิจกรรมเพื่อสงั คมและสาธารณประโยชน์
14 5

--

12 3

12 3

7

1.3.4 สรุปจำนวนครูและบคุ ลากรทางการลูกเสอื เนตรนารี ยวุ กาชาดและผูบ้ ำเพ็ญประโยชน์

ลูกเสือ/เนตรนารี จำนวน จำนวนวุฒทิ างลูกเสอื การจัดตัง้ กองลกู เสอื
/ยวุ กาชาด/ผู้บำเพ็ญประโยชน์ จัดต้งั ไม่จดั ต้งั
ผ้บู งั คบั บญั ช มวี ฒุ ิ ไมม่ ีวฒุ ิ


ลูกเสอื เนตรนารี สำรอง 3 3- - 

ลกู เสอื เนตรนารี สามญั 5 5- - 

ลกู เสอื เนตรนารี สามญั รนุ่ ใหญ่ 6 6 - - 

ยุวกาชาด 6 -6- 

ผู้บำเพญ็ ประโยชน์ 19 - 19 - 

รวม 39 14 25 - -

1.3.5 สรุปจำนวนครูท่ีทำหน้าท่คี ดั กรอง และนักเรียนท่ีมีความตอ้ งการจำเปน็ พเิ ศษ

(กรณโี รงเรยี นมนี ักเรยี นพเิ ศษเรียนรว่ ม)

จำนวนครทู ี่ทำหนา้ ที่คัดกรอง จำนวนนักเรยี นทมี่ คี วาม
ตอ้ งการพเิ ศษ

ครูทไี่ ดร้ ับการข้นึ ทะเบยี น ครูทม่ี วี ฒุ ิทาง ขึ้น ไมข่ นึ้
เปน็ ผ้คู ดั กรองของกระทรวงศกึ ษาธกิ าร การศกึ ษาพเิ ศษ
ทั้งหมด ทะเบีย ทะเบยี
นน

1 - - 20 2 18

- --

1.3.6 สรปุ จำนวนครทู ี่เข้ารับการอบรมเก่ยี วกับโรงเรยี นคณุ ธรรม

ปี พ.ศ......... หน่วยงานท่ีเข้ารบั การอบรม จำนวนครทู ่เี ข้ารับ
การอบรม
--
-- -
-- -
-

8

2. ข้อมลู พนื้ ฐานแผนพัฒนาการจัดการศกึ ษาของสถานศึกษา

การพัฒนาการจัดการศกึ ษาของสถานศึกษา

ปรัชญา สรา้ งชีวติ ท่ีแจม่ ใสดว้ ยปรชั ญาเศรษฐกิจพอเพียง

วสิ ัยทัศน์ ปี 25๖๓-256๖ โรงเรยี นขนุ หว้ ยตากพัฒนาศึกษา มงุ่ ม่นั สร้างโอกาสทาง

การศึกษาน้อมนำปรัชญาเศรษฐกจิ พอเพียงและพัฒนาคณุ ภาพการศกึ ษาสู่

มาตรฐานสากล

พนั ธกจิ 1. ประชาสัมพันธแ์ ละเกณฑเ์ ดก็ วัยเรยี นเข้าเรยี นครบทุกคน

2. จัดการศึกษาตั้งแต่ระดับปฐมวัยถึงระดับมัธยมศึกษาปีที่ 3 อย่างมี

คณุ ภาพ

3. จัดการศึกษาให้สอดคล้องกับสภาพบริบทและภูมิประเทศ และจัด

อย่างหลากหลายวธิ ีการ

4. เฝ้าระวังและติดตามนักเรียนที่มีแนวโน้มและออกกลางคันกลับเข้า

เรียนอย่างจรงิ จงั

5. ส่งต่อนักเรยี นให้ไดร้ บั การศึกษาสูงข้ึนท้งั สายสามญั และสายอาชพี

6. สนับสนุนและสง่ เสริมนักเรียนทีม่ ีความพร้อมทางดา้ นการศึกษาสู่การ

แข่งขันความเปน็ เลศิ ทางวชิ าการทัง้ ภาครฐั และเอกชน

7. พฒั นานักเรยี นให้มนี สิ ัยรักความสะอาด กริ ิยา มารยาทงดงาม มีจิต

เมตตา เอ้อื เฟอื้ เผ่ือแผ่ และมจี ติ อาสา

8. พฒั นาทกั ษะชีวติ แกน่ กั เรียนให้มีอนาคตทแี่ จม่ ใส

9. ปลูกฝั่งให้นักเรียนมีความกตัญญูต่อผู้มีพระคุณ รักและเทิดทูนใน

สถาบันชาติ ศาสนา พระมหากษตั รยิ ์

เป้าหมาย 1.มุ่งพัฒนาโรงเรียนและ อาคารสถานที่ สิ่งแวดล้อม ให้พอเพียงกับ

นักเรียนและเรยี นอย่างมีความสขุ

2.จัดใหม้ ีการพฒั นาบคุ ลากรอยา่ งน้อยปลี ะ 1 ครง้ั

3.พัฒนาหลกั สูตรและกระบวนการเรียนการสอนใหเ้ หมาะสมกับสภาพของ

โรงเรียน

4.จัดให้ระบบบริหารและจัดการตามหลักธรรมาภบิ าล

ยทุ ธศาสตร์หรือกลยุทธ์ กลยทุ ธท์ ี่ 1 จัดการศึกษาเพื่อความม่ันคง
กลยุทธ์ที่ 2 พัฒนาคุณภาพผู้เรียน และส่งเสริมการจดั การศึกษาเพ่ือสร้าง
เอกลักษณ์ ขดี ความสามารถในการแขง่ ขัน
อัตลกั ษณ์ กลยุทธท์ ่ี 3 พัฒนาผบู้ ริหาร ครแู ละบคุ ลากรทางการศกึ ษา
กลยุทธ์ที่ 4 สร้างโอกาสในการเข้าถงึ บริการการศกึ ษาที่มคี ณุ ภาพ
มมี าตรฐาน และลดความเหล่ือมลำ้ ทางการศกึ ษา
กลยทุ ธ์ท่ี 5 เพ่ิมประสิทธิภาพการบริหารจัดการ

อนรุ ักษว์ ฒั นธรรมชนเผา่ ม้ง

แตง่ กายเรียบรอ้ ย

9

3. ผลการดำเนินงานตามแผนปฏบิ ัตกิ ารประจำปขี องสถานศกึ ษา

ยทุ ธศาสตร์ เป้าหมาย ผลสำเร็จ ***
ตามแผนฯ สอดคล้องกบั
โครงการ ปรมิ าณ คณุ ภา ปริมาณ คุณภา มาตรฐาน ตัวชว้ี ัดประเดน็ การ
ของโรงเรียน (รอ้ ย พ (จำนวน) พ(รอ้ ย การศกึ ษา ตดิ ตามประเมินผล
ละ) ละ)
(อธิบาย ของ ของ
) สถานศึกษา กระทรวงศึกษาธกิ า

ระดบั ปฐมวัย 80 ดเี ลศิ 80 ดเี ลศิ 1 ร

ยุทธศาสตร์ 1. โครงการอบรมและพัฒนาส่ือ 80 ดีเลศิ 80 ดีเลิศ 1 มาตรฐานท่2ี
ที่ 1 การเรยี นการสอนระดบั ปฐมวัย 80 ดเี ลิศ 80 ดเี ลศิ 2 ตัวชี้วดั ท่ี 2.4
ดา้ นร่างกาย ด้านอารมณ์จิตใจ
ดา้ นสงั คมและสติปัญญา 80 ดีเลศิ 80 ดีเลิศ 2 มาตรฐานท2่ี
ตวั ชว้ี ดั ที่ 2.4
2. โครงการจดั ซอ้ื วสั ดุพัฒนาการ 80 ดเี ลิศ 80 ดเี ลศิ 2 มาตรฐานท่ี 2
ปฐมวัย ตวั ชว้ี ัดที่ 2.1
80 ดีเลิศ 80 ดีเลศิ 1
3.โครงการพฒั นาและปรบั ปรงุ 80 ดเี ลศิ 80 ดีเลิศ 1 มาตรฐานที่ 2
หลกั สตู รถานศกึ ษาและหลักสตู ร 80 ดเี ลิศ 80 ดีเลศิ 1 ตวั ชว้ี ัดที่ 2.6
กลุ่มสาระการเรยี นรู้ 80 ดเี ลิศ 80 ดเี ลศิ 1,3
มาตรฐานท่ี 2
4.โครงการพัฒนาระบบงาน ตวั ชี้วดั ท่ี 2.1
ประกันคณุ ภาพภายใน
สถานศกึ ษา มาตรฐานท่ี 1
ตวั ช้วี ดั ที่ 1.1
ระดบั การศึกษาขั้นพื้นฐาน มาตรฐานที่ 1
ตวั ชี้วดั ท่ี 1.1,1.2
ยุทธศาสตร์ 1.โครงการพัฒนาและปรับปรงุ มาตรฐานที่ 1
ท่ี 1 หลักสูตรถานศกึ ษาและหลกั สูตร ตัวชี้วดั ที่ 1.1,1.2
กลุ่มสาระการเรยี นรู้ มาตรฐานที่ 1

2.โครงการยกระดบั ผลสมั ฤทธ์ิ ตัวชว้ี ดั ที่
ทางการศึกษา 1.1.1,1.1.2
มาตรฐานที่ 3
3.โครงการหอ้ งสมดุ มชี ีวติ เพมิ่ ตัวช้ีวัดท่ี 3.1,3.2
พิชติ รกั การอา่ น

4.โครงการระบบดแู ลชว่ ยเหลอื
นักเรยี น

5.โครงการพฒั นานักเรยี นใหม้ ี
ทักษะการพดู และการสนทนา
ภาษาองั กฤษรองรับเข้าสู่ AEC

6.โครงการเข้าคา่ ยลูกเสอื เนตร 80 ดเี ลศิ 80 ดีเลศิ 3 10
นารี ยุวกาชาด 80 ดีเลิศ 80 ดีเลิศ 1,3
มาตรฐานท่ี 3
7.โครงการพฒั นาทักษะชีวติ ตวั ชว้ี ดั ท่ี 3.1,3.2
มาตรฐานท่ี 1
8.โครงการนเิ ทศภายในโรงเรยี น 80 ดีเลศิ 80 ดีเลิศ 2
ตัวชี้วดั ที่
9.โครงการจัดกจิ กรรมการเรยี นรู้ 80 ดเี ลศิ 80 ดเี ลศิ 1,3 1.1.1,1.1.2
แบบโครงงาน มาตรฐานท่ี 3
ตัวชี้วดั ท่ี 3.1,3.2
10..โครงการการแก้ไขปัญหาการ 80 ดีเลิศ 80 ดีเลศิ 1,3 มาตรฐานที่ 2
อา่ นไม่ออกและการเขยี นไมไ่ ด้ ตัวช้ีวัดท่ี
2.1,2.2,2.3
11.โครงการรรู้ กั รเู้ รยี น 80 ดีเลศิ 80 ดเี ลิศ 3
80 ดเี ลศิ 80 ดีเลศิ 1,3 2.5,2.6
12.โครงการจัดกิจกรรมวนั มาตรฐานท่ี 1
สำคัญ
ตัวชว้ี ดั ที่
13.โครงการพฒั นาคณุ ธรรม 80 ดเี ลิศ 80 ดเี ลิศ 1,3 1.1.1,1.1.2
จรยิ ธรรม 1.1.3,1.1.5
มาตรฐานท่ี 3
14.โครงการส่งเสรมิ 80 ดีเลศิ 80 ดเี ลศิ 1,3 ตัวชี้วดั ท่ี 3.4,3.5
มาตรฐานที่ 1
ตวั ชว้ี ัดท่ี
1.1.1,1.1.2
1.1.3,1.1.4
มาตรฐานท่ี 3
ตวั ชว้ี ดั ท่ี 3.1,3.2
มาตรฐานที่ 3
ตัวชว้ี ัดที่ 3.1,3.2
มาตรฐานท่ี 1
ตัวชวี้ ดั ที่
1.1.1,1.1.2
1.1.3,1.1.4
มาตรฐานท่ี 3
ตัวชว้ี ดั ท่ี 3.1,3.2
มาตรฐานที่ 1
ตัวชว้ี ดั ท่ี
1.2.1,1.2.2
มาตรฐานท่ี 3
ตวั ชี้วดั ที่ 3.1,3.5
มาตรฐานที่ 1

ประชาธปิ ไตยและวินยั นักเรียน

11

ตัวชว้ี ัดท่ี

1.1.3,1.1.6

มาตรฐานที่ 3

ตัวช้ีวัดท่ี

3.1,3.2,3.5

15.โครงการสง่ เสรมิ สุขภาพ 80 ดีเลศิ 80 ดเี ลศิ 1,3 มาตรฐานท่ี 1

อนามยั โรงเรยี น ตัวชี้วัดที่ 1.1.6

มาตรฐานท่ี 3

ตวั ชวี้ ัดท่ี 3.1,3.2

16.โครงการพฒั นาระบบงาน 80 ดีเลิศ 80 ดีเลิศ 2 มาตรฐานที่ 2

ประกันคุณภาพภายใน ตวั ช้วี ดั ที่ 2.2,2.3

สถานศึกษา

17.โครงการรวมพลงั ขนุ หว้ ยตาก 80 ดเี ลศิ 80 ดีเลศิ 3 มาตรฐานท่ี 3

พฒั นาศึกษาตา้ นยาเสพติดและ ตวั ชี้วัดท่ี

อบายมขุ 3.1,3.2,3.5

18.โครงการสอนซอ่ มเสรมิ และ 80 ดีเลิศ 80 ดีเลิศ 1,3 มาตรฐานท่ี 1

พัฒนา 8 กลมุ่ สาระการเรยี นรู้ ตัวชี้วัดท่ี

1.1.1,1.1.2

มาตรฐานท่ี 3

ตัวชี้วดั ที่ 3.1,3.2

19.โครงการโรงเรยี นสจุ ริต 80 ดีเลิศ 80 ดีเลิศ 3 มาตรฐานที่ 3

ตัวชี้วดั ท่ี 3.2,3.3

20.โครงการจดั ซอ้ื โตะ๊ -เกา้ อ้เี พ่อื 80 ดเี ลศิ 80 ดีเลิศ 3 มาตรฐานที่ 3

พัฒนาการเรยี นการสอน ตวั ชว้ี ัดที่ 3.1,3.2

21.โครงการพฒั นาการเรียนการ 80 ดเี ลศิ 80 ดีเลศิ 1,3 มาตรฐานที่ 1

สอนด้วย ICT ตวั ชี้วัดท่ี 1.1.4

มาตรฐานที่ 3

ตัวชีว้ ัดท่ี 3.2

22.โครงการขอรับเงินอดุ หนนุ 80 ดเี ลิศ 80 ดีเลศิ 1,3 มาตรฐานที่ 1

เพอื่ จัดหาสอ่ื การเรยี นการสอน ตัวชว้ี ดั ท่ี 1.1.4

ส่ือเทคโนโลยสี ารสนเทศ มาตรฐานที่ 3

ตวั ช้วี ดั ท่ี 3.2

23.โครงการตดิ ต้งั ระบบ 80 ดเี ลศิ 80 ดเี ลศิ 1,3 มาตรฐานที่ 1

อนิ เทอร์เน็ตเพอ่ื พัฒนาคุณภาพ ตัวชวี้ ัดท่ี 1.1.4

ทางการศึกษา มาตรฐานท่ี 3

ตัวชว้ี ัดที่ 3.2

ยทุ ธศาสตร์ 1.โครงการกำกับติดตามงาน 80 ดีเลิศ 80 ดีเลศิ 1,2,3 มาตรฐานที่ 1

ที่ 2 การเงินโรงเรยี น ตัวช้วี ดั ท่ี 1.1.,1.2

2.โครงการศลิ ปหัตถกรรม 80 ดีเลิศ 80 ดีเลิศ 1,3 12
นักเรยี น
มาตรฐานท่ี 2
3.โครงการรับนักเรยี น 80 ดเี ลิศ 80 ดีเลิศ 1 ตัวช้ีวดั ท่ี 2.3
มาตรฐานท่ี 3
4.โครงการเกษตรเพอื่ อาหาร 80 ดเี ลิศ 80 ดเี ลศิ 3 ตัวช้วี ัดที่ 3.2
กลางวนั ในพระราชดำริตามหลกั 1,3 มาตรฐานที่ 1
ปรชั ญาเศรษฐกจิ พอเพียง
ตัวช้ีวัดท่ี
5.โครงการสวนพฤกษศาสตร์ 80 ดีเลิศ 80 ดีเลศิ 1.1.1,1.1.2
โรงเรยี น 1.1.3,1.1.4
มาตรฐานท่ี 3
6.ดีเจเสยี งใสใสใ่ จสาระ 80 ดเี ลศิ 80 ดเี ลศิ 1,3 ตัวช้ีวดั ท่ี 3.1,3.2
มาตรฐานท่ี 1
7.โครงการสง่ เสรมิ ประชาธปิ ไตย 80 ดเี ลิศ 80 ดเี ลิศ 1,3 ตัวชว้ี ดั ท่ี
และวนิ ยั นักเรียน 1.1.1,1.1.2
มาตรฐานท่ี 3
8.โครงการพฒั นาอาคารสถานท่ี 80 ดเี ลิศ 80 ดีเลิศ 2 ตัวชว้ี ดั ท่ี 3.1,3.3
2
ยทุ ธศาสตร์ 9.โครงการซอ่ มแซมปรับปรงุ 80 ดีเลศิ 80 ดเี ลศิ 2 มาตรฐานที่ 1
ที่ 3 พัฒนางานโสตทศั นปู กรณ์ 80 ดีเลศิ 80 ดีเลศิ ตัวชี้วัดท่ี
1.1.6,1.2.2
1.โครงการพฒั นาครแู ละ
บุคลากรทางการศกึ ษา มาตรฐานท่ี 3
ตัวชว้ี ัดที่ 3.1,3.2
มาตรฐานท่ี 1

ตวั ชว้ี ดั ท่ี
1.1.6,1.2.2
มาตรฐานท่ี 3
ตัวช้วี ดั ที่ 3.1,3.2
มาตรฐานที่ 1
ตวั ชว้ี ัดที่
1.1.3,1.1.6
มาตรฐานที่ 3
ตัวชว้ี ัดที่
3.1,3.2,3.5
มาตรฐานท่ี 2
ตวั ชวี้ ดั ที่ 2.5
มาตรฐานท่ี 2
ตวั ชว้ี ดั ท่ี 2.5
มาตรฐานที่ 2
ตัวชี้วดั ท่ี 2.4

2.โครงการจดั จ้างครูผ้สู อน 80 ดีเลศิ 80 ดีเลศิ 2 13
ลกู จ้างช่ัวคราว 80 ดเี ลศิ 80 ดเี ลศิ 2
มาตรฐานท่ี 2
3.โครงการพฒั นาศักยภาพ 2 ตัวช้วี ดั ที่ 2.2,2.4
คณะกรรมการสถานศกึ ษา 2 มาตรฐานที่ 2
2
ยทุ ธศาสตร์ 1.โครงการความสัมพันธร์ ะหวา่ ง 80 ดีเลศิ 80 ดีเลศิ 1,3 ตัวช้ีวดั ที่ 2.4

ท่ี 4 ชมุ ชน มาตรฐานท่ี 2
ตัวชวี้ ัดที่ 2.5
2โครงการกำกบั ตดิ ตามพสั ดุ 80 ดเี ลศิ 80 ดีเลิศ มาตรฐานที่ 2
ตวั ชว้ี ดั ท่ี 2.2,2.6
โรงเรยี น มาตรฐานที่ 2
ตวั ชว้ี ัดท่ี 2.2,2.6
3.โครงการพัฒนาระบบงาน 80 ดเี ลิศ 80 ดีเลศิ มาตรฐานท่ี 1

ธรุ การโรงเรยี น ตัวชว้ี ัดท่ี
1.1.1,1.1.2
4.โครงการบัณฑติ นอ้ ย 80 ดีเลิศ 80 ดเี ลิศ มาตรฐานท่ี 3
ตัวชี้วดั ที่ 3.1,3.2
5.โครงการพฒั นาระบบ 80 ดเี ลศิ 80 ดีเลิศ 1,3 มาตรฐานที่ 1
สารสนเทศ ตวั ชี้วดั ท่ี 1.1.4
มาตรฐานท่ี 3
6.โครงการส่งเสรมิ และพัฒนา 80 ดเี ลศิ 80 ดเี ลศิ 1,3 ตัวชี้วดั ที่ 3.2
ทักษะการฟัง-พูดภาษาไทยเพือ่ มาตรฐานท่ี 1
การสอื่ สารสำหรบั ผู้ใหญ่บนพื้นท่ี ตัวช้ีวัดที่
1.1.1,1.1.2
สูง
1.1.3
7.โครงการสหกรณโ์ รงเรยี น 80 ดีเลศิ 80 ดีเลิศ 3 มาตรฐานท่ี 3
2 ตัวชี้วดั ที่ 3.1,3.2
ยุทธศาสตร์ 8.โครงการรถรบั สง่ นกั เรียน 80 ดเี ลิศ 80 ดีเลิศ 3 มาตรฐานท่ี 3
ที่ 5 ห้องเรียนเคล่อื นทกี่ ิว่ สามล้อ 80 ดเี ลิศ 80 ดเี ลศิ 2 ตัวช้วี ัดที่ 3.1,3.3
80 ดีเลิศ 80 ดเี ลศิ มาตรฐานท่ี 2
9.โครงการรกั ษาความปลอดภัย 1,3 ตัวชี้วัดท่ี 2.5
ในสถานศกึ ษา 80 ดเี ลศิ 80 ดเี ลศิ มาตรฐานที่ 3
ตัวชี้วดั ที่ 3.2,3.3
1.โครงการพัฒนาระบบงาน มาตรฐานที่ 2
ประกนั คณุ ภาพภายใน ตัวช้ีวัดที่ 2.2,2.3
สถานศึกษา
มาตรฐานท่ี 1
2.โครงการยกระดบั ผลสัมฤทธิ์ ตวั ช้วี ดั ที่
ทางการศกึ ษา 1.1.1,1.1.2

14

3.ทัศนศกึ ษานกั เรยี น 80 ดีเลศิ 80 ดเี ลศิ 3 มาตรฐานท่ี 3
80 ดีเลิศ 80 ดเี ลิศ 2 ตวั ชี้วดั ที่ 3.1,3.2
4.โครงการสนับสนนุ น้ำมัน 80 ดเี ลิศ 80 ดเี ลศิ 2
เช้ือเพลิงเพ่อื ใช้ในโรงเรียน 80 ดเี ลศิ 80 ดเี ลิศ 2 มาตรฐานที่ 3
5.โครงการซ่อมแซมบำรุงรถ ตัวชี้วดั ท่ี 3.1,3.2
ราชการ
6.โครงการพัสดุโรงเรียน มาตรฐานท่ี 2
ตวั ช้วี ดั ที่ 2.2,2.6
มาตรฐานที่ 2
ตวั ชว้ี ัดที่ 2.2,2.6

มาตรฐานท่ี 2
ตวั ชวี้ ดั ที่ 2.2,2.6

กลยุทธ์ที่ 1 จดั การศกึ ษาเพ่อื ความม่ันคง

กลยุทธท์ ี่ 2 พฒั นาคณุ ภาพผเู้ รียน และส่งเสรมิ การจัดการศึกษาเพ่อื สร้างขดี ความสามารถในการแข่งขนั
กลยทุ ธ์ท่ี 3 พฒั นาผบู้ ริหาร ครแู ละบุคลากรทางการศึกษา

กลยุทธ์ท่ี 4 สรา้ งโอกาสในการเขา้ ถึงบรกิ ารการศึกษาท่ีมคี ุณภาพ
มมี าตรฐาน และลดความเหลอ่ื มล้ำทางการศกึ ษา
กลยุทธท์ ่ี 5 เพมิ่ ประสทิ ธิภาพการบริหารจัดการ

15

4. ผลสัมฤทธท์ิ างการเรียนของผู้เรยี น

4.1 ระดบั ปฐมวัย

ผลการพฒั นาเดก็

จำนวน รอ้ ยละของเดก็ ตามระดบั คุณภาพ

ผลพัฒนาการดา้ น เด็ก ดี พอใช้ ปรบั ปรงุ

ทงั้ หมด จำนวน รอ้ ยละ จำนวน ร้อยละ จำนวน รอ้ ยละ

1. ดา้ นรา่ งกาย 126 126 100 - - - -

2. ด้านอารมณ์-จิตใจ 126 126 100 - - - -

3. ด้านสังคม 126 126 100 - - - -

4. ด้านสตปิ ญั ญา 126 126 100 - - - -

4.2 ระดับการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน

ผลการทดสอบทางการศกึ ษาระดับชาตขิ ้นั พนื้ ฐาน (O-NET)

เปรยี บเทียบผลการทดสอบระดบั ชาติขั้นพน้ื ฐาน (O-NET) ของนักเรียนชัน้ ประถมศึกษาปที ่ี 6

วิชา จำนวน จำนวน คะแนน คะแนนเฉล่ยี ผลการ *** *** ***
นักเรียน เฉลี่ยระดบั ทดสอบ (O-NET)
นักเรยี ประเทศ ผลต่าง ร้อยละ แปลผล
น ที่เขา้ สอบ 2562 2563 2564 คะแนน ของ พัฒนาการเทียบกับ
ปี 2564 (1) (2) (3) คะแนน
ทง้ั หม เฉลี่ย รอ้ ยละ 3
ด (4) เฉลย่ี (6)
(5)

คณติ ศาสตร์ 54 47 36.83 26.22 - 31.95 5.73 2.86 มพี ัฒนาการแตไ่ มถ่ ึงรอ้ ยละ 3

วิทยาศาสตร์ 54 47 34.31 28.88 - 33.67 4.79 2.39 มีพัฒนาการแต่ไม่ถึงร้อยละ 3

ภาษาไทย 54 47 50.38 42.96 - 35.53 -7.43 -3.72 ไม่มีพฒั นาการ

ภาษาองั กฤษ 54 47 39.22 24.09 - 25.80 1.71 0.85 มีพฒั นาการแต่ไม่ถึงร้อยละ 3

*** (4) = (3) – (2) กรณที ีม่ ผี ลต่างคะแนนเฉล่ยี (4) ติดลบ ให้ใส่เคร่ืองหมายลบ

*** (5) = (4) x 100 ร้อยละของคะแนนเฉลย่ี (5) ให้ใส่เคร่อื งหมายลบ

(2)

*** (6) การแปลผลพัฒนาการ มีคา่ รอ้ ยละของคะแนนเฉล่ยี (5) ต้งั แต่ 3.00 ข้ึนไป แปลผล

ว่า “มีพฒั นาการ”

มีค่าร้อยละของคะแนนเฉลย่ี (5) 0.1 – 2.99 แปลผลว่า “มี

พัฒนาการแตไ่ ม่ถงึ รอ้ ยละ 3”

มคี า่ รอ้ ยละของคะแนนเฉลี่ย (5) ติดลบ แปลผลว่า “ไมม่ พี ัฒนาการ”

16

เปรยี บเทยี บผลการทดสอบระดบั ชาติข้ันพน้ื ฐาน (O-NET) ของนกั เรยี นช้นั มธั ยมศึกษาปที ี่ 3

วิชา จำนวน จำนวน คะแนน คะแนนเฉล่ยี ผลการ *** *** ***
นักเรียน นักเรยี น ทดสอบ (O-NET) ผลตา่ ง รอ้ ยละของ แปลผล
ทั้งหมด ทีเ่ ข้าสอบ เฉล่ียระดบั คะแนน คะแนน พัฒนาการเทียบกับรอ้ ยละ
ประเทศ 2562 2563 2564 เฉลยี่
ปี 2564 (1) (2) (3) (4) เฉล่ีย 3
(5) (6)

คณติ ศาสตร์ 16 16 24.47 24.52 - 21.23 -3.29 -1.645 ไม่มพี ฒั นาการ

วทิ ยาศาสตร์ 16 16 31.45 29.40 - 30.02 0.62 0.31 มพี ฒั นาการแต่ไมถ่ งึ
รอ้ ยละ 3

ภาษาไทย 16 16 51.19 45.29 - 47.68 2.39 1.195 มพี ัฒนาการแต่ไมถ่ งึ
ร้อยละ 3

ภาษาอังกฤษ 16 16 31.11 27.61 - 26.95 -0.66 -0.33 ไม่มพี ัฒนาการ

*** (4) = (3) – (2) กรณที ีม่ ีผลต่างคะแนนเฉลี่ย (4) ติดลบ ใหใ้ ส่เครื่องหมายลบ

*** (5) = (4) x 100 ร้อยละของคะแนนเฉลี่ย (5) ให้ใส่เครอื่ งหมายลบ

(2)

*** (6) การแปลผลพัฒนาการ มีคา่ รอ้ ยละของคะแนนเฉลี่ย (5) ต้ังแต่ 3.00 ขน้ึ ไป แปลผล

วา่ “มีพัฒนาการ”

มคี ่าร้อยละของคะแนนเฉลี่ย (5) 0.1 – 2.99 แปลผลว่า “มี

พฒั นาการแต่ไมถ่ งึ รอ้ ยละ 3”

มีคา่ รอ้ ยละของคะแนนเฉลยี่ (5) ตดิ ลบ แปลผลว่า “ไม่มพี ัฒนาการ”

ผลการประเมนิ การทดสอบความสามารถพืน้ ฐานของผู้เรยี นระดบั ชาติ (National Test : NT)

เปรียบเทียบผลการทดสอบสมรรถนะของนกั เรยี นช้นั ประถมศึกษาปีที่ 3

สมรรถนะ จำนวน จำนวน คะแนนเฉลี่ย คะแนนเฉลี่ยผลการทดสอบ *** *** ***
นักเรียน นักเรยี น ระดบั สมรรถนะ ผลต่าง ร้อยละของ แปลผล
ทั้งหมด ทีเ่ ขา้ สอบ ประเทศ คะแนน คะแนน พฒั นาการเทยี บ
2562 2563 2564 เฉลี่ย กับร้อยละ 3
ปี 2564 (1) (2) (3) (4) เฉล่ยี
(5) (6)

ดา้ นภาษา 62 62 56.14 28.06 31.57 27.85 -3.72 -1.86 ไม่มีพฒั นาการ
(Literacy)

ดา้ นคำนวณ 62 62 49.44 28.57 29.60 21.70 -7.9 -3.95 ไมม่ พี ัฒนาการ
(Numeracy)

*** (4) = (3) – (2) กรณที ่มี ผี ลต่างคะแนนเฉลีย่ (4) ติดลบ ใหใ้ สเ่ ครอ่ื งหมายลบ
*** (5) = (4) x 100 รอ้ ยละของคะแนนเฉลี่ย (5) ให้ใส่เคร่อื งหมายลบ

(2) มคี ่ารอ้ ยละของคะแนนเฉล่ีย (5) ตั้งแต่ 3.00 ขึ้นไป แปลผล
*** (6) การแปลผลพัฒนาการ
วา่ “มพี ัฒนาการ”

17

พฒั นาการแตไ่ มถ่ ึงรอ้ ยละ 3” มีค่ารอ้ ยละของคะแนนเฉลยี่ (5) 0.1 – 2.99 แปลผลว่า “มี
มีคา่ รอ้ ยละของคะแนนเฉลีย่ (5) ตดิ ลบ แปลผลว่า “ไม่มพี ฒั นาการ”

จำนวนและรอ้ ยละของนกั เรียนท่มี ผี ลการเรียนระดับ 3 ขน้ึ ไป

ระดบั ประถมศึกษา

ระดับผลการเรียน

กลุม่ สาระ ป.1 ป.2 ป.3 ป.4 ป.5 ป.6
การเรียนร้/ู รายวชิ า
จำนวน จำนวน จำนวน จำนวน จำนวน จำนวน
ภาษาไทย จำน นักเรยี นที่ รอ้ ยละ จำน นักเรีย รอ้ ยละ จำน นกั เรยี นทีม่ ี ร้อยละ จำน นักเรียนท่ีมี รอ้ ยละ
วน มีผลระดับ วน นท่ีมีผล จำน นักเรยี น ร้อยละ จำน นกั เรียนทม่ี ี ร้อยละ วน ผลระดบั 3 วน ผลระดับ 3
นกั เ 3 ขึ้นไป นกั เ ระดับ นักเ ขึน้ ไป นกั เ ขึ้นไป
รียน รยี น 3 ขึ้นไป วน ท่มี ีผล วน ผลระดบั 3 รยี น รียน
นกั เ ระดับ 3 นกั เ ขึ้นไป
67 33 49.25 61 23 37.70 70 30 42.86 52 9 17.31
รยี น ขน้ึ ไป รยี น

55 26 47.27 44 27 61.36

คณิตศาสตร์ 67 32 47.76 61 27 44.26 55 28 50.91 44 16 36.36 70 13 18.57 52 18 34.62

วทิ ยาศาสตร์และ 67 38 56.72 61 22 36.07 55 35 63.64 44 23 52.27 70 30 42.86 52 23 44.23

เทคโนโลยี

สงั คมศึกษา ศาสนา 67 29 43.28 61 40 65.57 55 25 45.45 44 22 50.00 70 26 37.14 52 45 86.54

และวฒั นธรรม

ประวตั ศิ าสตร์ 67 28 41.79 61 36 59.02 55 26 48.15 44 25 56.86 70 38 54.29 52 31 59.62

สขุ ศกึ ษาและ 67 45 67.16 61 55 90.16 55 36 65.45 44 44 100 70 64 91.43 52 51 98.08

พลศกึ ษา

ศิลปะ 67 35 52.24 61 59 96.72 55 40 72.73 44 44 100 70 61 87.14 52 52 100

การงานอาชพี 67 33 49.25 61 57 93.44 55 38 69.09 44 5 11.36 70 41 58.57 52 42 80.77

ภาษาต่างประเทศ 67 27 40.30 61 19 31.15 55 26 47.27 44 26 59.09 70 41 58.57 52 26 50

ระดบั มัธยมศกึ ษาตอนต้น

ระดับผลการเรียน (ภาคเรยี นท่ี 2)

ม.1 ม.2 ม.3

กลุม่ สาระ จำนวน จำนวน จำนวน
การเรียนรู้/รายวชิ า นักเรียนทีม่ ี
จำนวน นกั เรยี นที่ ร้อยละ จำนวน นกั เรยี นทีม่ ี รอ้ ยละ จำนวน ผลระดบั 3 รอ้ ยละ
ภาษาไทย นกั เรยี น มผี ลระดับ นกั เรยี น ผลระดบั 3 นกั เรยี น
คณิตศาสตร์ ขนึ้ ไป 20.00
วทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี 33 3 ขนึ้ ไป ขึ้นไป 15 53.33
สงั คมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม 33 15 3 53.33
สขุ ศกึ ษาและพลศกึ ษา 33 6 18.18 37 2 5.56 15 8 40.00
ประวตั ิศาสตร์ 33 15 8 66.67
ศิลปะ 33 18 54.55 37 21 56.76 15 6 93.33
การงานอาชพี 33 15 100.00
ภาษาตา่ งประเทศ 33 4 12.12 37 17 45.95 15 10 66.67
33 15 14 46.67
33 12 36.36 37 27 72.97 15 15

18 54.55 37 22 61.11 10
7
25 75.76 37 32 86.49

22 66.67 37 33 89.19

16 48.48 37 20 54.05

13 39.39 37 17 45.95

18

ผลการประเมนิ ความสามารถดา้ นการอา่ นของผู้เรยี น (Reading Test : RT)

เปรยี บเทยี บผลการทดสอบความสามารถด้านการอ่านของนักเรยี นชน้ั ประถมศกึ ษาปีที่ 1

ความสามารถ จำนวน จำนวน คะแนนเฉล่ยี คะแนนเฉลยี่ ผลการทดสอบ *** *** ***
ดา้ นการอ่าน นักเรยี น นักเรียน ระดบั ดา้ นการอา่ น ผลต่าง รอ้ ยละของ แปลผล
ท้งั หมด ที่เข้าสอบ ประเทศ พฒั นาการเทียบ
ปี 2564 2562 2563 2564 คะแนน คะแนน กบั ร้อยละ 3
(1) (2) (3) เฉลีย่ เฉล่ีย
(4) (5) (6)
มีพฒั นาการ
อ่านรูเ้ รอื่ ง 65 65 72.79 62.94 60.36 68.61 8.25 4.13
มพี ัฒนาการ
อ่านออกเสยี ง 65 65 69.95 49.86 46.65 69.38 22.73 11.37

*** (4) = (3) – (2) กรณที ม่ี ผี ลตา่ งคะแนนเฉลี่ย (4) ติดลบ ให้ใส่เครือ่ งหมายลบ

*** (5) = (4) x 100 รอ้ ยละของคะแนนเฉล่ีย (5) ให้ใส่เคร่ืองหมายลบ

(2)

*** (6) การแปลผลพฒั นาการ มคี ่ารอ้ ยละของคะแนนเฉล่ยี (5) ตงั้ แต่ 3.00 ขึ้นไป แปลผล

ว่า “มีพัฒนาการ”

มคี า่ ร้อยละของคะแนนเฉลี่ย (5) 0.1 – 2.99 แปลผลว่า “มี

พัฒนาการแตไ่ ม่ถงึ รอ้ ยละ 3”

มคี า่ รอ้ ยละของคะแนนเฉล่ีย (5) ติดลบ แปลผลว่า “ไมม่ พี ฒั นาการ”

นวัตกรรม/แบบอยา่ งท่ดี ี (Innovation /Best Practice )
นวัตกรรม (Innovation) หมายถึง แนวคิดหรือวิธีการที่นำมาใช้ในการปฏิบัติ เพื่อแก้ปัญหาหรือ

เพื่อการพฒั นา ซึ่งทำใหเ้ กดิ การเปลี่ยนแปลงทางความคิด กระบวนการ หรือองค์กร อย่างสิ้นเชิงหรอื เห็นไดช้ ัด

เป็นการพัฒนาต่อยอด เพิ่มมูลค่า มีเป้าหมายในเชิงบวก ซึ่งมีเกณฑ์การพิจารณา คือมีความสร้างสรรค์ (C –
Creative), มีความใหมใ่ นบริบทนน้ั ๆ (N - New) มคี ุณค่ามปี ระโยชน์ (V – Value-Added) และปรับใช้ได้อย่าง

เหมาะสม (A - Adaptive)
แบบอย่างที่ดี (Best - Practice) หมายถึง รปู แบบวิธีปฏิบัติหรือข้ึนตอนการปฏิบัติท่ีทำให้สถานศึกษา

ประสบความสำเร็จ หรือสู่ความเป็นเลิศตามเป้าหมาย เป็นที่ยอมรับในวงวิชาการหรือวิชาชีพ มีหลักฐานของ

ความสำเร็จปรากฏชัดเจน โดยมีการสรุปรูปแบบวิธีปฏิบัติหรือขั้นตอน การปฏิบัติตลอดจนความรู้และ
ประสบการณ์ มีร่องรอยหลักฐานเชิงประจักษ์ เผยแพร่ให้หน่วยงานภายในหรือภายนอกสามารถนำไปใช้

ประโยชน์

ชือ่ นวัตกรรม/แบบอยา่ งท่ดี ี มาตรฐานด้าน ระดบั การศกึ ษา
1. KHT-IMPROVE Model
2. 15 นาทที อง แกไ้ ขปญั หาอา่ นไมอ่ อก เขยี นไม่ได้ มฐ. ที่ 2 กระบวนการบริหาร

และการจดั การของผ้บู ริหาร ระดับปฐมวัย ถึง ระดบั ขน้ั

สถานศึกษา พื้นฐาน

มฐ.ท่ี 1 คณุ ภาพของผู้เรยี น ระดบั ขนั้ พ้นื ฐาน

19

5. รางวลั ท่ีสถานศกึ ษาไดร้ บั

5.1 ปีการศกึ ษาปจั จุบนั

ชื่อรางวัล ประเภทรางวลั ระดบั หน่วยงาน หมายเหตุ

ทม่ี อบรางวลั

1. ตน้ แบบการดำเนนิ งานระบบ รางวัลชนะเลศิ  เขตพ้นื ที/่ สำนักงานเขตพน้ื ท่ี

ประกนั คณุ ภาพภายใน ระดับทอง อันดบั จังหวัด การศึกษา

สถานศึกษา 1  ภาค/ประเทศ ประถมศึกษาตาก

 นานาชาติ เขต 1

5.2 ปีการศึกษาทีผ่ ่านมา (ย้อนหลังไมเ่ กิน 3 ปี)

ชือ่ รางวัล ปี พ.ศ..... หน่วยงาน หมายเหตุ
ที่ได้รบั รางวัล ทมี่ อบรางวัล

1. โรงเรียนรางวลั พระราชทาน - -
-
2. นกั เรยี นรางวัลพระราชทาน -
สพป.ตาก เขต1
4. โรงเรียนคุณธรรม (ระดบั 1,2,3,4 ดาว) 2564
-
5. โรงเรียนเศรษฐกจิ พอเพียง -
-
6. อื่น ๆ -

6.ดำเนินงานตามนโยบายกระทรวงศึกษาธกิ าร (ปรบั ตามนโยบายแตล่ ะปี) มี ไม่มี

ประเดน็ ตวั ช้วี ัด 

1. การปลกู ฝังความมรี ะเบียบวินยั ทศั นคติที่ถกู ต้องผ่านกระบวนการลกู เสือ เนตรนารี ยวุ กาชาด 

2. การจัดการเรยี นรเู้ พือ่ สรา้ งทกั ษะพ้นื ฐานทเี่ ชื่อมโยงสู่การสร้างอาชีพและการมีงานทำ
3. การจดั การเรยี นการสอนท่ีส่งเสรมิ การคิดวเิ คราะห์ด้วยวธิ กี าร Active Learning 

4. การจัดการเรียนการสอนเพอื่ ฝึกทักษะการคดิ แบบมีเหตุผลและเป็นขั้นตอน (Coding)
5. การพัฒนาครใู ห้มีความชำนาญในการจดั การเรยี นรู้ภาษาอังกฤษและภาษาคอมพวิ เตอร(์ Coding) 

6. การจัดการเรยี นรู้ดว้ ย STEM Education 
6.1 สถานศกึ ษามีการจดั การเรยี นการสอนแบบ STEM Education
6.2 สถานศกึ ษามนี วัตกรรมจากการเรยี นรตู้ ามแนวทาง STEM Education 

7. การเรยี นภาษาองั กฤษเพอื่ ใช้ในการส่ือสารและเพิม่ ทักษะสำหรบั ใช้ในการประกอบอาชพี
8. การจดั การเรยี นรภู้ าษาต่างประเทศ (ภาษาทส่ี าม)

9. การสง่ เสริมทักษะการอา่ น เขยี นภาษาไทยเพอื่ ใชเ้ ปน็ เครอ่ื งมอื ในการเรยี นรู้ภาษาอนื่

10.การใชด้ ิจิทลั แพลตฟอรม์ เพื่อการเรียนร้หู รือสร้างอาชพี
11.อื่น ๆ ตามนโยบายเขต (ใหพ้ มิ พ์เพ่มิ เตมิ นโยบายคว๊ิกวนิ )
11.1 1 โรงเรยี น 1 นวัตกรรม
11.2 1 โรงเรียน 1 กีฬา
11.3 1 โรงเรยี น 1 ดนตรี
11.4 โรงเรยี นคุณธรรม สพฐ.

20

7. ผลการประเมนิ คุณภาพภายนอกของ สมศ. ที่ผา่ นมา

รอบการประเมิน ระดบั คณุ ภาพผลการประเมิน
ระดบั ปฐมวัย ระดบั การศึกษาข้นั พื้นฐาน

รอบท่ี 3 (พ.ศ. 2554 – 2558) - -

รอบท่ี 4 (พ.ศ. 2559 – 2563) ด้านที่ 1 ดี ด้านที่ 1 ดี

ด้านท่ี 2 ดี ดา้ นที่ 2 ดี

ด้านท่ี 3 ดี ดา้ นท่ี 3 ดี

8. หน่วยงานภายนอกท่ีโรงเรียนเขา้ ร่วมเป็นสมาชกิ
1……………………-………………………….

21

สว่ นที่ 3
ผลการประเมินตนเองของสถานศกึ ษา

1. ผลการประเมนิ รายมาตรฐาน การปฏิบตั ิงาน จำนวนเด็ก (คน) *** ผลการ
ระดบั ปฐมวยั ไม่ เปา้ หมาย ผลการ ประเมิน
มาตรฐานท่ี 1 คณุ ภาพของเดก็ ทัง้ หมด ผา่ นเกณฑ์ ประเมิน คุณภาพท่ี
ปฏบิ ตั ิ ปฏิบตั ิ (รอ้ ยละ) ท่กี ำหนด (รอ้ ยละ)
ประเด็นพิจารณา ได้
92.06
1 มีพฒั นาการดา้ นร่างกาย แข็งแรง  90 126 116 91.26 ยอดเยย่ี ม
มีสุขนิสยั ทด่ี ี และดแู ลความปลอดภยั  90 126 115 ยอดเย่ยี ม
ของตนเองได้  90 100
 90 126 126 100 ยอดเยี่ยม
1.1 รอ้ ยละของเดก็ มนี ้ำหนัก ส่วนสงู 126 126 ยอดเยี่ยม
ตามเกณฑม์ าตรฐาน  90 98.41
1.2 รอ้ ยละของเด็กเคลือ่ นไหวรา่ งกาย  90 126 124 91.26 ยอดเยย่ี ม
คล่องแคลว่ ทรงตัวไดด้ ี ใชม้ อื และตา  90 126 115 100 ยอดเยย่ี ม
ประสานสัมพนั ธไ์ ด้ดี  90 126 126 ยอดเยย่ี ม
 90 89.68
1.3 ร้อยละของเดก็ ดูแลรกั ษาสุขภาพ  90 126 113 87.30 ดเี ลศิ
อนามยั สว่ นตนและปฏิบัติจนเป็นนิสัย 126 110 89.68 ดเี ลิศ
126 113 ดเี ลิศ
1.4 รอ้ ยละของเด็กปฏิบตั ิตนตาม
ขอ้ ตกลงเกี่ยวกับความปลอดภยั
หลกี เลี่ยงสภาวะ
ท่ีเสยี่ งต่อโรค สงิ่ เสพติด และระวงั ภัย
จากบุคคล ส่ิงแวดลอ้ ม และ
สถานการณ์ท่ีเส่ยี งอันตราย

2 มีพัฒนาการดา้ นอารมณ์ จิตใจ
ควบคุม และแสดงออกทางอารมณ์ได้

2.1 ร้อยละของเดก็ รา่ เรงิ แจ่มใส
แสดงอารมณ์ ความรสู้ กึ ได้เหมาะสม

2.2 ร้อยละของเด็กรูจ้ กั ยับยงั้ ชง่ั ใจ
อดทนในการรอคอย

2.3 รอ้ ยละของเด็กยอมรับและพอใจใน
ความสามารถ และผลงานของตนเอง
และผ้อู น่ื

2.4 รอ้ ยละของเดก็ มจี ิตสำนกึ และ
ค่านยิ ม ท่ีดี

2.5 รอ้ ยละของเด็กมคี วามม่ันใจ กลา้
พูด กล้าแสดงออก

2.6 รอ้ ยละของเดก็ ชว่ ยเหลอื แบ่งปนั

22

การปฏิบัตงิ าน จำนวนเดก็ (คน) *** ผลการ
ปฏบิ ตั ิ ไม่
ประเด็นพจิ ารณา เปา้ หมาย ทั้งหมด ผ่านเกณฑ์ท่ี ผลการประเมนิ ประเมนิ
ปฏบิ ตั ิ (รอ้ ยละ) (รอ้ ยละ) คุณภาพทไ่ี ด้
2.7 รอ้ ยละของเดก็ เคารพสทิ ธิ รหู้ น้าที่  กำหนด
รับผดิ ชอบ อดทนอดกลั้น  90
2.8 ร้อยละของเด็กซอ่ื สัตย์สจุ รติ มี  90 126 110 87.30 ดีเลศิ
คุณธรรม จริยธรรม ตามทสี่ ถานศกึ ษา 90
กำหนด  126 126 100 ยอดเยย่ี ม
2.9 รอ้ ยละของเด็กมีความสขุ กบั ศิลปะ  90
ดนตรี และการเคลอ่ื นไหว  90 126 126 100 ยอดเยี่ยม
3 มพี ฒั นาการดา้ นสงั คม ช่วยเหลือ  90
ตนเองและเป็นสมาชิกท่ีดีของสังคม 90 126 126 100 ยอดเยี่ยม
3.1 รอ้ ยละของเด็กช่วยเหลอื ตนเอง 
ในการปฏบิ ตั ิกิจวัตรประจำวนั มีวินัย 90 126 126 100 ยอดเยี่ยม
ในตนเอง  126 126 100 ยอดเยยี่ ม
3.2 ร้อยละของเด็กประหยัดและ 90 126 126 100 ยอดเยย่ี ม
พอเพียง 
3.3 ร้อยละของเดก็ มีสว่ นร่วมดแู ล  90 126 126 100 ยอดเยย่ี ม
รักษาส่งิ แวดลอ้ มในและนอกห้องเรยี น  90
3.4 ร้อยละของเดก็ มีมารยาทตาม  90 126 126 100 ยอดเยย่ี ม
วฒั นธรรมไทย เชน่ การไหว้ การยม้ิ 90
ทกั ทาย และ 126 105 83.33 ดเี ลิศ
มสี ัมมาคารวะกบั ผู้ใหญ่ ฯลฯ 126 105 83.33 ดเี ลิศ
3.5 รอ้ ยละของเดก็ ยอมรับหรือเคารพ 126 105 83.33 ดเี ลิศ
ความแตกต่างระหวา่ งบุคคล เชน่ 126 105 83.33 ดเี ลศิ
ความคดิ พฤติกรรม พ้ืนฐานครอบครวั
เช้ือชาติ ศาสนา วัฒนธรรม เป็นต้น
3.6 รอ้ ยละของเดก็ เล่นและทำงาน
รว่ มกบั ผู้อืน่ ได้ แกไ้ ขขอ้ ขดั แยง้ โดย
ปราศจาก
การใช้ความรนุ แรง
4 มีพัฒนาการดา้ นสติปญั ญา สอ่ื สารได้
มที กั ษะการคิดพนื้ ฐาน และแสวงหา
ความรไู้ ด้
4.1 ร้อยละของเด็กสนทนาโต้ตอบและ
เล่าเรอ่ื งให้ผู้อื่นเขา้ ใจ
4.2 รอ้ ยละของเด็กตง้ั คำถามในสง่ิ ที่
ตนเองสนใจหรอื สงสัย และพยายาม
ค้นหาคำตอบ
4.3 ร้อยละของเดก็ อา่ นนิทานและเลา่
เรอ่ื ง
ท่ตี นเองอ่านไดเ้ หมาะสมกบั วยั
4.4 ร้อยละของเดก็ มคี วามสามารถใน
การคดิ รวบยอด การคดิ เชงิ เหตผุ ลทาง
คณิตศาสตรแ์ ละวทิ ยาศาสตร์ การคดิ
แก้ปัญหาและสามารถตดั สินใจในเรอ่ื ง
งา่ ย ๆ ได้

23

การปฏบิ ัติงาน จำนวนเด็ก (คน) *** ผลการ

ประเดน็ พิจารณา ไม่ เปา้ หมาย ทั้งหมด ผา่ นเกณฑท์ ่ี ผลการประเมนิ ประเมิน
ปฏิบัติ ปฏิบตั ิ (ร้อยละ) กำหนด (ร้อยละ) คณุ ภาพทไี่ ด้

4.5 รอ้ ยละของเดก็ สร้างสรรคผ์ ลงาน  90 126 126 100 ยอดเยี่ยม
ดเี ลศิ
ตามความคิดและจินตนาการ เชน่ งาน
ยอดเยย่ี ม
ศลิ ปะ การเคลอ่ื นไหวท่าทาง การเล่น

อิสระ ฯลฯ

4.6 ร้อยละของเด็กใชส้ อ่ื เทคโนโลยี  90 126 105 83.33

เช่น แว่นขยาย แมเ่ หล็ก กล้องดิจิตอล

ฯลฯ เปน็ เคร่อื งมือในการเรียนรู้และ

แสวงหาความรู้ได้

5 เพ่ิมเติมประเด็นพิจารณาได้

5.1 …….

สรปุ ผลการประเมิน = ผลรวมผลการประเมินทกุ ประเด็นพจิ ารณา 100

จำนวนประเดน็ พิจารณา

หมายเหตุ กรอกข้อมลู เฉพาะแถบสีขาว

วิธคี ำนวณ

*** ผลการประเมิน (ร้อยละ) = 100 x จำนวนเดก็ ผา่ นเกณฑท์ โ่ี รงเรียนกำหนด

จำนวนเด็กทัง้ หมด

แปลผลการประเมินคุณภาพท่ีได้

รอ้ ยละ 00.00 – 49.99 = กำลงั พัฒนา

รอ้ ยละ 50.00 – 59.99 = ปานกลาง

ร้อยละ 60.00 – 74.99 = ดี

ร้อยละ 75.00 – 89.99 = ดเี ลศิ

ร้อยละ 90.00 – 100 = ยอดเยยี่ ม

24

กระบวนการพฒั นาทสี่ ง่ ผลตอ่ ระดบั คุณภาพของมาตรฐานที่ 1

1.โรงเรียนขุนห้วยตากพัฒนาศึกษามีกระบวนการพัฒนาเด็กที่หลากหลาย ส่งเสริมให้เด็กมี
พฒั นาการดา้ นร่างกาย แขง็ แรง มสี ขุ นิสยั ทดี่ ี และดูแลความปลอดภัยของตนเองได้

2.โรงเรียนจดั ให้เด็กได้รับประทานอาหารที่สะอาด ถูกสุขลักษณะ ปริมาณเหมาะสมตามวัย มีการ
ควบคุมดูแลใหเ้ ดก็ ดื่มนมเป็นประจำทุกวนั อยา่ งสมํา่ เสมอ มีการชัง่ น้ำหนัก วดั สว่ นสงู ภาคเรียนละ 2 ครั้ง

3.มีการจัดกิจกรรมสุขภาพดีมีสุขเพื่อส่งเสริม พัฒนาการด้านร่างกายให้กับเด็ก และได้รับความ
ร่วมมือจากโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านห้วยพลู ในการดูแลส่งเสริมสุขภาพอนามัยของเด็ก
นอกจากนีย้ ังมีการสง่ เสรมิ ให้เดก็ ได้เลน่ กีฬาตามความสามารถ สนบั สนนุ ใหเ้ ข้าร่วมการแขง่ ขันกีฬาในระดับ
กลมุ่ โรงเรยี น

4.เด็กช่วยเหลอื ตนเองในการปฏิบัติกิจวัตรประจำวัน สามารถรับประทานอาหารด้วยตนเอง และมี
มารยาทใน การรับประทานอาหาร

5.เด็กรู้จักดูแลรักษาความสะอาดทั้งภายในและนอกห้องเรียน รู้จักช่วยเหลือแบ่งปันเพื่อนใน
หอ้ งเรียน ทำงานร่วมกบั เพื่อนๆ ได้

6.ครูได้ดำเนนิ การจดั ประสบการณก์ ารเรียนการสอนตามแผนการจัดประสบการณก์ ารเรียนรู้ และมี
การจดั กิจกรรมรอ้ ง เลน่ เตน้ อ่าน ให้เด็กไดแ้ สดงออกตามศักยภาพของตนเอง

7.โรงเรียนขุนหว้ ยตากพัฒนาศึกษาไดส้ ่งเสรมิ ใหเ้ ด็กมีพัฒนาการด้านสติปัญญา สื่อสารได้ มีทักษะ
การคิดพื้นฐาน และแสวงหาความรูไ้ ด้ โดยการเขา้ ร่วมโครงการบ้านนกั วิทยาศาสตร์นอ้ ยแหง่ ประเทศไทย ทำ
ให้เด็กไดฝ้ ึกปฏิบตั กิ ารทดลอง การสังเกต ความคดิ สร้างสรรค์ รจู้ กั แกป้ ัญหา

มาตรฐานที่ 2 กระบวนการบริหารและการจัดการ 25

การปฏบิ ัติงาน *** ผลการประเมิน
ผลสำเร็จ(ขอ้ ) คุณภาพทีไ่ ด้
ประเดน็ พิจารณา ปฏบิ ตั ิ ไม่ ยอดเยย่ี ม
ปฏิบตั ิ 5
ยอดเยี่ยม
1 มีเปา้ หมายวสิ ยั ทัศน์และพนั ธกจิ ทส่ี ถานศกึ ษากำหนดชัดเจน 5
ยอดเยี่ยม
1.1 กำหนดเป้าหมายทสี่ อดคลอ้ งกับบริบทของสถานศกึ ษา  5 ยอดเยี่ยม
5 ยอดเยี่ยม
ความต้องการของชุมชน ท้องถิ่น วัตถุประสงคข์ องแผนการ 5
ยอดเยย่ี ม
ศกึ ษาชาติ นโยบายของรัฐบาลและตน้ สงั กดั 5 ยอดเย่ียม
5 ยอดเยี่ยม
1.2 กำหนดวสิ ยั ทศั น์ และพนั ธกจิ ที่สอดคล้อง เชอ่ื มโยง  5 ยอดเยย่ี ม
5 ยอดเยย่ี ม
กบั เป้าหมาย แผนยุทธศาสตรช์ าติ แผนการศกึ ษาแห่งชาติ 5
ยอดเยย่ี ม
นโยบายของรฐั บาลและต้นสังกดั 5 ยอดเยี่ยม
5
1.3 กำหนดเปา้ หมาย วิสัยทศั น์ และพนั ธกิจ ทันตอ่  ยอดเยี่ยม
5 ยอดเยย่ี ม
การเปลยี่ นแปลงของสงั คม 5 ยอดเยย่ี ม
5
1.4 นำเปา้ หมาย วิสยั ทศั น์ และพนั ธกจิ ผา่ นความเห็นชอบ 

จากคณะกรรมการบริหารโรงเรยี น

1.5 นำเป้าหมาย วสิ ัยทศั น์ และพันธกิจของโรงเรยี นเผยแพร่ 

ตอ่ สาธารณชน

2 มีระบบบริหารจัดการคณุ ภาพของสถานศกึ ษา

2.1 มกี ารวางแผนพัฒนาคณุ ภาพการจดั การศกึ ษาอย่างเปน็ 

ระบบ

2.2 มกี ารนำแผนไปปฏบิ ัติ ตดิ ตามตรวจสอบประเมินผลและ 

ปรับปรงุ พฒั นางานอย่างต่อเนอ่ื ง

2.3 มีการบรหิ ารอตั รากำลัง ทรพั ยากรทางการศกึ ษาจดั ระบบ 

ดแู ลช่วยเหลือนกั เรียน และระบบการนิเทศภายใน

2.4 สถานศกึ ษามีการนำข้อมูลมาใชใ้ นการพัฒนาสถานศึกษา 

2.5 สถานศึกษาให้บคุ ลากรและผทู้ เี ก่ียวขอ้ งทกุ ฝา่ ยมีสว่ นร่วม 
ในการวางแผน ปรับปรุง พฒั นา และรว่ มรบั ผิดชอบตอ่ ผลการ
จดั การศกึ ษา 

3 ดำเนินงานพฒั นาวิชาการท่เี น้นคุณภาพผ้เู รียนรอบดา้ นตาม 
หลักสูตรสถานศึกษาและทกุ กล่มุ เปา้ หมาย 

3.1 บรหิ ารจัดการเกี่ยวกบั งานวชิ าการ ในดา้ นการพฒั นา
หลักสูตรสถานศึกษา

3.2 บรหิ ารจดั การเกีย่ วกับงานวชิ าการ ในดา้ นการพัฒนา
หลักสตู รตามความตอ้ งการของผูเ้ รียน ที่สอดคลอ้ งกบั บรบิ ท
ของสถานศึกษา ชมุ ชน และทอ้ งถิน่

3.3 บรหิ ารจดั การเกี่ยวกบั กิจกรรมเสริมหลักสตู รท่เี น้น
คณุ ภาพผู้เรยี นรอบด้านเชอ่ื มโยงวถิ ชี ีวติ จริง

3.4 กำหนดหลกั สตู รสถานศึกษาครอบคลมุ การจัดการเรียน
การสอนทกุ กลุ่มเปา้ หมาย

3.5 สถานศึกษามีการปรับปรงุ และพัฒนาหลกั สูตรใหท้ นั ต่อ
การเปลี่ยนแปลงของสงั คม

26

การปฏิบตั ิงาน *** ผลการประเมิน
ผลสำเร็จ(ข้อ) คณุ ภาพทีไ่ ด้
ประเดน็ พจิ ารณา ปฏิบตั ิ ไม่ ยอดเยยี่ ม
ปฏบิ ตั ิ 5 ยอดเยี่ยม
4 พฒั นาครูและบุคลากรให้มคี วามเช่ียวชาญทางวชิ าชพี 5 ยอดเยย่ี ม
4.1 ส่งเสริม สนบั สนนุ พัฒนาครู บคุ ลากร ใหม้ คี วาม  5 ยอดเยี่ยม
เช่ียวชาญทางวชิ าชพี 5 ยอดเยี่ยม
4.2 จดั ให้มีชมุ ชนการเรยี นร้ทู างวชิ าชพี  5
ยอดเยย่ี ม
4.3 นำชมุ ชนการเรยี นรทู้ างวชิ าชีพเขา้ มาใช้ในการ  5 ยอดเยย่ี ม
พัฒนางานและการเรียนรขู้ องผเู้ รยี น  5 ยอดเยี่ยม
 5 ยอดเย่ียม
4.4 มีการตรวจสอบ ทบทวน การปฏิบัตงิ านของครู 5 ยอดเยี่ยม
บคุ ลากร ท่ีมีผลตอ่ การเรยี นรู้ของผูเ้ รยี น  5
 ยอดเยย่ี ม
4.5 ถอดบทเรยี นเพือ่ สรา้ งนวัตกรรมหรอื วิธีการที่เป็น  5 ยอดเยย่ี ม
แบบอยา่ งทดี่ ที ่ีส่งผลต่อการเรียนรขู้ องผเู้ รยี น  5
 ยอดเยี่ยม
5 จัดสภาพแวดลอ้ มทางกายภาพและสังคมที่เอื้อตอ่ การ 5
จัดการเรียนรอู้ ยา่ งมีคณุ ภาพ  ยอดเยี่ยม
 5
5.1 จดั สภาพแวดลอ้ มทางกายภาพภายในหอ้ งเรียน ท่ี ยอดเย่ียม
เอือ้ ตอ่ การเรยี นรู้ และคำนงึ ถงึ ความปลอดภยั  5

5.2 จัดสภาพแวดลอ้ มทางกายภาพภายนอกห้องเรียน 
ท่เี อื้อต่อการเรยี นรู้ และคำนงึ ถงึ ความปลอดภัย

5.3 จัดสภาพแวดล้อมท่สี ่งเสรมิ ใหผ้ เู้ รยี นเกดิ การ
เรยี นรเู้ ป็นรายบุคคล และเปน็ กลุม่

5.4 จัดสภาพแวดลอ้ มทางสังคม ท่เี ออ้ื ต่อการจัดการ
เรียนรู้ และมีความปลอดภยั

5.5 จดั ใหผ้ เู้ รียนไดใ้ ชป้ ระโยชนจ์ ากการจัด
สภาพแวดล้อมตามศกั ยภาพของผ้เู รยี น

6 จัดระบบเทคโนโลยสี ารสนเทศเพ่อื สนับสนนุ
การบรหิ ารจดั การและการจดั การเรยี นรู้

6.1 ไดศ้ กึ ษาความต้องการเทคโนโลยีสารสนเทศ
ท่ีเหมาะสมกบั สภาพของสถานศกึ ษา

6.2 จัดระบบเทคโนโลยสี ารสนเทศเพ่อื บริหารจดั การ
และการจดั การเรียนรทู้ เี่ หมาะสมกบั สภาพของ
สถานศกึ ษา

6.3 พัฒนาระบบเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อบริหาร
จดั การและการจัดการเรยี นร้ทู เ่ี หมาะสมกับสภาพของ
สถานศกึ ษา

6.4 ให้บริการเทคโนโลยสี ารสนเทศเพ่อื ใชใ้ นการ
บริการจัดการและการจัดการเรียนรทู้ ีเ่ หมาะสมกบั
สภาพของสถานศึกษา

6.5 ติดตามผลการใช้บรกิ ารระบบเทคโนโลยี
สารสนเทศของสถานศกึ ษาเพ่อื ใชใ้ นการบรกิ ารจัดการ
และการจดั การเรยี นรูท้ ีเ่ หมาะสมกบั สภาพของ
สถานศึกษา

27

การปฏบิ ตั ิงาน *** ผลการประเมนิ
ผลสำเรจ็ (ข้อ) คุณภาพทไ่ี ด้
ประเดน็ พิจารณา ปฏิบัติ ไม่
ปฏิบตั ิ 6 ยอดเยย่ี ม

7 โรงเรียนเพิม่ เตมิ ได้

7.1-7.5

สรุปผลการประเมนิ = ผลรวมผลสำเรจ็ ทกุ ประเด็นพิจารณา

จำนวนประเดน็ พจิ ารณา

หมายเหตุ กรอกขอ้ มูลเฉพาะแถบสีขาว
*** ผลสำเร็จ = จำนวนขอ้ ทป่ี ฏบิ ัติในแต่ละประเด็นพจิ ารณา

แปลผลการประเมินคณุ ภาพทีไ่ ด้ ค่าเฉลี่ยผลการประเมนิ คณุ ภาพทไี่ ด้
ปฏบิ ตั ิ 1 ขอ้ ไดร้ ะดบั คุณภาพ กำลังพัฒนา 1.00 – 1.49 ระดับคณุ ภาพ กำลังพฒั นา
ปฏิบตั ิ 2 ขอ้ ไดร้ ะดับคณุ ภาพ ปานกลาง 1.50 –2.49 ระดับคุณภาพ ปานกลาง
ปฏิบัติ 3 ข้อ ไดร้ ะดับคณุ ภาพ ดี 2.50 – 3.49 ระดับคุณภาพ ดี
ปฏิบตั ิ 4 ข้อ ไดร้ ะดบั คุณภาพ ดเี ลิศ 3.50 – 4.49 ระดบั คณุ ภาพ ดเี ลศิ
ปฏบิ ตั ิ 5 ข้อ ไดร้ ะดบั คณุ ภาพ ยอดเยีย่ ม 4.50 – 5.00 ระดับคณุ ภาพ ยอดเยี่ยม

กระบวนการพฒั นาทีส่ ง่ ผลต่อระดบั คณุ ภาพของมาตรฐานท่ี2

1.การจดั การศกึ ษาปฐมวัยของโรงเรียนขนุ ห้วยตากพฒั นาศึกษาได้มีการกำหนดเป้าหมาย วสิ ัยทัศน์ และ
พนั ธกิจของสถานศึกษาไว้อย่างชัดเจน มอี งคป์ ระกอบท่ีสำคญั เพ่ือทจี่ ะขบั เคลอื่ นการศึกษาระดับปฐมวัยได้แก่ การ
พัฒนาวิชาการทเ่ี น้นคุณภาพผ้เู รยี นรอบด้านตามหลักสตู รสถานศกึ ษาปฐมวัย

2.มีการพัฒนาหลักสูตรการศึกษาปฐมวัยให้สอดคล้องกับบริบทของท้องถิ่น พิจารณาจากวัยของเด็ก
ประสบการณข์ องเด็ก โดยเปน็ หลักสตู รท่ีมุ่งพฒั นาเดก็ ทุกดา้ น ท้งั ดา้ นรา่ งกาย อารมณจ์ ติ ใจ สังคม และสติปัญญา
เพื่อให้ผู้เรียนมีความสุขในการเรียนรู้ มีการพัฒนาครูและบุคลากรให้มีศักยภาพ สำหรับด้านระบบกลไก การ
เสริมสร้างความตระหนักรับรู้ และความเข้าใจการจัดการศึกษาปฐมวัย โดยให้ผู้มีส่วนรว่ มทกุ ฝ่ายได้มบี ทบาทใน
การมีส่วนร่วมการจัดการศึกษา โดยให้มีการประสานความร่วมมือเพื่อร่วมกันพัฒนาผู้เรียนตามศักยภาพ
3.โรงเรยี นขนุ หว้ ยตากพัฒนาศกึ ษาไดจ้ ัดสงิ่ อำนวยความสะดวกที่จำเป็นซง่ึ เออื้ ประโยชน์ และอำนวยความสะดวก
ต่อการพัฒนาเด็ก ทั้งด้านร่างกาย อารมณ์ จิตใจ สังคม และสติปัญญา หลักสูตรสถานศึกษาเป็นรูปแบบการจดั
ประสบการณ์ที่ก่อให้เกิดการเตรียมความพร้อม เน้น การเรียนรู้ผ่านการเล่นและการลงมือปฏิบัติด้วยตนเอง
สอดคล้องกับวิถีชีวิตของครอบครัว ชุมชน และท้องถิ่น มีสื่อเทคโนโลยีใช้ในการสืบเสาะหาความรู้ มีการจัดสิ่ง
อำนวยความสะดวกให้บริการด้านสื่อเทคโนโลยีสารสนเทศ อปุ กรณ์เพ่ือสนับสนุนการจดั ประสบการณ์เพื่อพัฒนา
ครูอย่างเพียงพอและทัว่ ถงึ มีการกำหนดมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษาที่สอดคล้องกับมาตรฐานการศึกษา
ปฐมวัยและอัตลักษณท์ ีส่ ถานศกึ ษากำหนด

4.มีการจัดทำแผนการจัดประสบการณ์ที่สอดคล้องกับมาตรฐานตามหลักสูตรการศึกษาปฐมวัยมีการ
ประเมินผลตรวจสอบคุณภาพภายในสถานศึกษา ติดตามผลการดำเนินงานและจัดทำรายงานผลการประเมิน
ตนเองประจำปี มีการนำผลการประเมินไปปรับปรุงพัฒนาคุณภาพสถานศึกษา โดยทุกฝ่ายมีส่วนร่วม พร้อมท้ัง
รายงานผลการประเมนิ ตนเองให้หน่วยงานตน้ สงั กัดอย่างต่อเน่อื ง

28

มาตรฐานท่ี 3 การจัดประสบการณ์ทีเ่ น้นเดก็ เปน็ สำคญั

การปฏบิ ตั ิงาน จำนวนครู (คน) ผลการ
ประเมิน
ประเด็นพิจารณา ปฏบิ ัติ ไม่ เปา้ หมาย ผา่ นเกณฑ์ ผลการประเมนิ คุณภาพทไ่ี ด้
ปฏบิ ัติ (รอ้ ยละ) ทก่ี ำหนด (รอ้ ยละ)
1 จัดประสบการณ์ทสี่ ง่ เสรมิ ใหเ้ ด็กมพี ฒั นาการ บรรจุ 100 ยอดเยย่ี ม
ทุกดา้ น อย่างสมดุลเตม็ ศกั ยภาพ 100 ยอดเยย่ี ม
1.1 มีการวเิ คราะห์ข้อมูลเดก็ เปน็ รายบคุ คล  80 11 100 ยอดเยย่ี ม
1.2 จัดทำแผนและใชแ้ ผนการจดั ประสบการณ์  80 11
จากการวเิ คราะห์มาตรฐานคุณลักษณะที่พึง 100 ยอดเย่ยี ม
ประสงค์ในหลักสตู รสถานศึกษา  80 1 100 ยอดเยี่ยม
1.3 จดั กิจกรรมทส่ี ง่ เสริมพฒั นาการเด็กครบ 1 100 ยอดเยย่ี ม
ทกุ ด้าน ทง้ั ด้านรา่ งกาย ดา้ นอารมณจ์ ติ ใจ
ด้านสังคม และด้านสตปิ ญั ญา โดย ไม่มงุ่ เนน้  80 11 100 ยอดเยี่ยม
การพัฒนาดา้ นใดดา้ นหน่ึงเพียงด้านเดยี ว  80 11 100 ยอดเยี่ยม
100 ยอดเยี่ยม
2 สรา้ งโอกาสให้เด็กไดร้ บั ประสบการณ์ตรง เลน่  80 11
และปฏบิ ัติอย่างมคี วามสขุ 100 ยอดเยย่ี ม
2.1 จัดประสบการณ์ทเ่ี ช่อื มโยงกับ  80 11
ประสบการณเ์ ดิม  80 11
2.2 ให้เด็กมโี อกาสเลอื กทำกิจกรรมอยา่ ง  80 11
อสิ ระ ตามความต้องการความสนใจ
ความสามารถ ตอบสนองต่อวิธีการเรียนรขู้ อง  80 11
เดก็ เปน็ รายบคุ คล หลากหลายรปู แบบจาก
แหล่งเรียนรทู้ หี่ ลากหลาย
2.3 เด็กไดเ้ ลอื กเลน่ เรยี นรลู้ งมือ กระทำ และ
สร้างองคค์ วามรดู้ ้วยตนเอง

3 จดั บรรยากาศที่เออื้ ต่อการเรียนรู้ ใชส้ อื่ และ
เทคโนโลยที เ่ี หมาะสมกบั วัย
3.1 จัดบรรยากาศและสภาพแวดลอ้ มใน
ห้องเรียนได้สะอาด ปลอดภัย และอากาศ
ถ่ายเทสะดวก
3.2 จดั ใหม้ พี ้นื ทแี่ สดงผลงานเด็ก พนื้ ที่
สำหรับมุมประสบการณแ์ ละการจัดกจิ กรรม
3.3 จัดใหเ้ ดก็ มีสว่ นรว่ มในการจดั ภาพ
แวดล้อมในห้องเรียน เช่น ปา้ ยนเิ ทศ การดูแล
ตน้ ไม้
เป็นต้น
3.4 ใชส้ ่ือและเทคโนโลยีทีเ่ หมาะสมกับช่วง
อายุ ระยะความสนใจ และวิถกี ารเรยี นรขู้ อง
เดก็ เช่น กลอ้ งดจิ ิตอล คอมพิวเตอร์ สำหรับ
การเรียนรู้
กลุ่มย่อย สอื่ ของเล่นทีก่ ระตุ้นให้คิดและหา
คำตอบ เปน็ ตน้

29

การปฏิบัติงาน จำนวนครู (คน)
ผ่านเกณฑ์
ประเด็นพิจารณา เปา้ หมาย *** ผลการ
(ร้อยละ) บรรจุ ที่กำหนด ผลการประเมิน ประเมนิ
ปฏบิ ตั ิ ไม่ คณุ ภาพท่ไี ด้
ปฏิบตั ิ (ร้อยละ)

4 ประเมินพัฒนาการเด็กตามสภาพจริงและนำ

ผลการประเมินพัฒนาการเดก็ ไปปรบั ปรุงการ

จดั ประสบการณแ์ ละพัฒนาเดก็

4.1 ประเมินพฒั นาการเด็กจากกจิ กรรมและ  80 1 1

กจิ วตั รประจำวันดว้ ยเครอื่ งมือและวิธกี ารที่ 100 ยอดเย่ียม
ยอดเยี่ยม
หลากหลาย ยอดเย่ยี ม
ยอดเยย่ี ม
4.2 วเิ คราะหผ์ ลการประเมนิ พฒั นาการเดก็  80 1 1 100
โดยผู้ปกครองและผู้เกี่ยวขอ้ งมีสว่ นร่วม ยอดเยี่ยม

4.3 นำผลการประเมินท่ีได้ไปพฒั นาคณุ ภาพ  80 1 1 100
เด็กอยา่ งเปน็ ระบบและตอ่ เน่อื ง

4.4 นำผลการประเมนิ แลกเปลี่ยนเรียนรู้โดยใช้  80 1 1 100
กระบวนการชุมชนแห่งการเรยี นรูท้ างวิชาชพี

5 เพิม่ เตมิ ประเดน็ พิจารณาได้

5.1 ………

สรปุ ผลการประเมนิ = ผลรวมผลการประเมนิ ทุกประเดน็ พิจารณา 100

จำนวนประเดน็ พจิ ารณา

หมายเหตุ กรอกขอ้ มูลเฉพาะแถบสีขาว

วิธคี ำนวณ

*** ผลการประเมิน (รอ้ ยละ) = 100 x จำนวนครผู ่านเกณฑ์ที่โรงเรยี นกำหนด

จำนวนครูทัง้ หมด

แปลผลการประเมินคณุ ภาพท่ีได้

รอ้ ยละ 00.00 – 49.99 = กำลังพฒั นา

รอ้ ยละ 50.00 – 59.99 = ปานกลาง

รอ้ ยละ 60.00 – 74.99 = ดี

ร้อยละ 75.00 – 89.99 = ดเี ลศิ

ร้อยละ 90.00 – 100 = ยอดเยยี่ ม

30

กระบวนการพฒั นาที่ส่งผลต่อระดบั คุณภาพของมาตรฐานที่ 3

1.จัดการศึกษาปฐมวัยมุ่งเน้นความสำคัญของการพัฒนาการในทุกๆ ด้าน ทั้งทางด้านร่างกาย อารมณ์
จิตใจ สังคมและสติปัญญา มีความรู้ คุณธรรม จริยธรรม และวัฒนธรรมในการดำรงชีวิต ซึ่งเป็นการจัด
ประสบการณก์ ารเรยี นรู้ที่เนน้ ผู้เรียนเป็นสำคัญ เพ่ือสามารถอยู่ร่วมกับผอู้ ื่นได้อย่างเปน็ สุข ภายใต้คำว่า เก่ง ดี มี
สุข ประสบการณ์ในรปู แบบบรู ณาการการเรยี นรู้ แบบเรยี นผา่ นเล่น เพอื่ ใหเ้ ด็กได้ประสบการณต์ รง เกิดการเรียนรู้
และมีการพฒั นาท้ังทางดา้ นร่างกาย อารมณ์จิตใจ สังคม และสตปิ ัญญา ซ่ึงสามารถยดื หยนุ่ ได้ความเหมาะสมและ
สอดคล้องกับหลักสตู รปฐมวัย

2.หอ้ งเรียนและนอกห้องเรยี น มกี ารใชส้ อ่ื และเทคโนโลยีทเี่ หมาะสมกับวัย จดั ประสบการณ์การเรียนรู้ท่ี
ครอบคลุมพัฒนาการในทุกๆด้านให้เหมาะสมกับวัย ดังนี้ ด้านร่างกาย พัฒนาการเคลื่อนไหวทางร่างกาย เด็ก
เคลื่อนไหวอย่างเหมาะสมตามจินตนาการเพื่อให้ร่างกายทุกส่วนทั้งกล้ามเนื้อมัดใหญ่มัดเล็กให้ทำงานอย่างมี
ประสทิ ธภิ าพดา้ นอารมณ์ จิตใจ

3.เด็กมพี ฒั นาการด้านอารมณค์ วามรูส้ ึกได้อย่างเหมาะสม รจู้ กั ยับยัง้ ชง่ั ใจ รูจ้ กั การรอคอย กล้าแสดงออก
ช่วยเหลือแบ่งปันมีความรับผิดชอบด้านสังคม เด็กช่วยเหลือตัวเองในการปฏิบัติกิจวัตรประจำวันได้ มีวินัยใน
ตนเองเล่นร่วมกับผูอ้ ื่นได้ มสี มั มาคารวะตอ่ ผู้ใหญด่ า้ นสติปญั ญา มคี วามคดิ ร่วมยอด รูจ้ กั การแก้ปัญหา สื่อสารและ
มที กั ษะความคิดพ้นื ฐานแสวงหาความร้ไู ดอ้ ยา่ งเหมาะสมตามวยั

4.จัดประสบการณก์ ารเรยี นร้ทู ่สี ่งเสรมิ ให้เด็กไดป้ ระสบการณ์โดยตรง จากการเรียนผ่านการเล่น โดยลงมือ
ปฏิบัติจรงิ ด้วยตนเองและการเรยี นรรู้ ายกลุ่ม เพ่อื กอ่ ใหเ้ กดิ ความมนี ำ้ ใจความสามคั คี การแบง่ ปนั และการรอคอย
เพ่อื สง่ ผลให้เด็กเกิดการเรียนรู้ได้อยา่ งมคี วามสุข

31

ระดับการศึกษาขน้ั พ้นื ฐาน การปฏิบตั ิงาน จำนวนผ้เู รยี น (คน) *** ผลการ
มาตรฐานที่ 1 คณุ ภาพของผ้เู รยี น ปฏิบตั ิ ไม่ ผลการ ประเมนิ
เป้าหมาย ทง้ั หมด ผ่านเกณฑ์ ประเมิน คณุ ภาพทไ่ี ด้
ประเดน็ พิจารณา ปฏิบตั ิ (ร้อยละ) ทีก่ ำหนด (ร้อยละ)
ดเี ลศิ
ผลสมั ฤทธิ์ทางวชิ าการของผู้เรียน  80 441 371 84.13 ดเี ลิศ
 80 441 375 85.03 ดเี ลศิ
1 มีความสามารถในการอา่ น การเขียน  80 441 369 83.67 ดีเลิศ
การสือ่ สาร และการคดิ คำนวณ  80 441 356 80.72
1.1 ร้อยละของผเู้ รยี นมีทกั ษะในการอ่านใน ดเี ลิศ
แต่ละระดบั ชัน้ ตามเกณฑ์ทีส่ ถานศึกษา  80 441 359 81.41
กำหนด ดเี ลิศ
1.2 รอ้ ยละของผเู้ รียนมที ักษะในการเขียนใน  80 441 371 84.13 ดีเลศิ
แตล่ ะระดบั ชั้นตามเกณฑท์ ีส่ ถานศึกษา  80 441 357 80.95 ดเี ลิศ
กำหนด  80 441 358 81.18
1.3 ร้อยละของผเู้ รียนมีทักษะในการสือ่ สาร
ในแตล่ ะระดับช้ันตามเกณฑท์ ่สี ถานศกึ ษา
กำหนด
1.4 ร้อยละของผเู้ รียนมีทกั ษะในการคิด
คำนวณในแตล่ ะดับชน้ั ตามเกณฑ์ที่
สถานศึกษากำหนด

2 มีความสามารถในการคิดวิเคราะห์ คดิ อย่าง
มีวจิ ารณญาณ อภปิ รายแลกเปลย่ี นความ
คิดเห็นและแกป้ ัญหา
2.1 ร้อยละของผเู้ รยี นมีความสามารถในการ
คิดจำแนกแยกแยะ ใคร่ครวญ ไตร่ตรอง
อย่างรอบคอบโดยใชเ้ หตผุ ลประกอบการ
ตดั สินใจ
2.2 ร้อยละของผูเ้ รยี นมกี ารอภิปราย
แลกเปลีย่ นความคดิ เห็น
2.3 ร้อยละของผู้เรยี นมีการแก้ปัญหาอย่างมี
เหตผุ ล

3 มคี วามสามารถในการสร้างนวตั กรรม
3.1 ร้อยละของผูเ้ รียนมคี วามสามารถในการ
รวบรวมความรู้ได้ทัง้ ตัวเองและการทำงาน
เป็นทีม

32

การปฏิบัตงิ าน จำนวนผเู้ รยี น (คน) *** ผลการ
ปฏบิ ัติ ไม่ ผลการ ประเมนิ
ประเด็นพจิ ารณา เปา้ หมาย ท้งั หมด ผา่ นเกณฑ์ ประเมนิ คณุ ภาพทไ่ี ด้
ปฏบิ ตั ิ (ร้อยละ) ทีก่ ำหนด (รอ้ ยละ) ดเี ลศิ
3.2 รอ้ ยละของผู้เรียนสามารถเช่อื มโยงองคค์ วามรู้ 
และประสบการณม์ าใช้ในการสรา้ งสรรค์สิ่งใหม่ ๆ 80 441 358 82.09 ดเี ลศิ
อาจเป็นแนวความคดิ โครงการ โครงงาน ชน้ิ งาน  ดเี ลิศ
ผลผลิต  80 441 370 83.90
4 มคี วามสามารถในการใช้เทคโนโลยสี ารสนเทศ และ 80 441 375 85.03 ดเี ลศิ
การส่ือสาร  ดีเลิศ
4.1 ร้อยละของผเู้ รยี นมีความสามารถในการใช้  80 441 364 82.54 ดีเลิศ
เทคโนโลยสี ารสนเทศและการสือ่ สาร  80 441 365 82.77
4.2 ร้อยละของผ้เู รียนมีความสามารถในการนำ 80 441 369 83.67 ดเี ลิศ
เทคโนโลยสี ารสนเทศและการสอื่ สารเพ่ือพฒั นา  80 441 373 84.58 ดเี ลิศ
ตนเองและสงั คมในด้านการเรยี นรู้ การสอื่ สาร การ  80 441 380 86.17
ทำงานอย่างสร้างสรรค์ และมคี ณุ ธรรม
5 มีผลสมั ฤทธิท์ างการเรียนตามหลักสตู รสถานศกึ ษา
5.1 รอ้ ยละของผู้เรียนบรรลกุ ารเรยี นรตู้ ามหลักสตู ร
สถานศกึ ษา
5.2 ร้อยละของผูเ้ รียนมคี วามก้าวหนา้ ในการเรียนรู้
ตามหลกั สูตรสถานศึกษาจากพืน้ ฐานเดมิ
5.3 ร้อยละของผู้เรียนมีความก้าวหน้าในผลการ
ทดสอบระดบั ชาติ หรือผลการทดสอบอน่ื ๆ
6 มีความรทู้ กั ษะพ้นื ฐาน และเจตคตทิ ี่ดีต่องานอาชีพ
6.1 รอ้ ยละของผู้เรยี นมีความรู้ ทกั ษะพืน้ ฐานและ
เจตคติทีด่ ีในการศกึ ษาตอ่

6.2 รอ้ ยละของผเู้ รยี นมีความรู้ ทักษะพื้นฐานและ
เจตคติทดี่ ใี นการจัดการ การทำงานหรอื งานอาชีพ
7 โรงเรียนเพ่มิ เตมิ ได้
7.1...
คุณลกั ษณะทพ่ี ึงประสงคข์ องผูเ้ รยี น

1 การมคี ุณลักษณะและค่านิยมท่ีดีตามทีส่ ถานศึกษา  80 441 381 86.39 ดีเลศิ
กำหนด  80 441 381 87.07 ดเี ลิศ
1.1 รอ้ ยละของผูเ้ รยี นมพี ฤติกรรมเปน็ ผู้ทมี่ ีคุณธรรม
จรยิ ธรรม เคารพในกฎกติกา

1.2 ร้อยละของผเู้ รียนมีคา่ นยิ มและจติ สำนึกตามที่
สถานศึกษากำหนด โดยไม่ขดั กบั กฎหมายและ
วฒั นธรรมอันดีของสงั คม

33

การปฏิบตั ิงาน เปา้ หมา จำนวนผเู้ รยี น *** ผลการ
ย (คน) ผลการ ประเมนิ
ปฏิบั ไม่ (ร้อย ประเมิน คุณภาพที่
ประเดน็ พจิ ารณา ติ ปฏิบตั ิ ละ) ผ่าน (รอ้ ย
เกณฑ์ที่ ละ) ได้
ทั้งหม กำหนด 95.24 ยอดเยย่ี ม
ด 98.64 ยอดเยีย่ ม

2 ความภูมใิ จในท้องถ่นิ และความเป็นไทย 96.83 ยอดเยยี่ ม

2.1 ร้อยละของผเู้ รียนมีความภูมิใจในทอ้ งถ่ิน  90 441 420 99.55 ยอดเยี่ยม
435 ยอดเยย่ี ม
เห็นคณุ ค่าของความเป็นไทย 100
427 ดีเลศิ
2.2 ร้อยละของผูเ้ รยี นมสี ่วนรว่ มในการ  90 441 88.91
439
อนุรักษว์ ฒั นธรรมและประเพณีไทยรวมทั้ง 441

ภูมปิ ญั ญาไทย

3 การยอมรับทจ่ี ะอยู่รว่ มกันบนความแตกต่าง

และหลากหลาย

3.1 ร้อยละของผ้เู รียนยอมรบั และอยู่รว่ มกัน  80 441

บนความแตกต่างระหว่างบุคคลในดา้ นเพศ

วัย เชือ้ ชาติ ศาสนา ภาษาวฒั นธรรม

ประเพณี

4 สขุ ภาวะทางรา่ งกายและจิตสงั คม

4.1 ร้อยละของผเู้ รียนมีการรักษาสุขภาพ  90 441

กาย สุขภาพจิต อารมณแ์ ละสงั คม และ

แสดงออกอยา่ งเหมาะสมในแตล่ ะช่วงวยั

4.2 รอ้ ยละของผเู้ รียนสามารถอยู่ร่วมกบั คน  90 441

อน่ื อย่างมีความสุข เขา้ ใจผู้อน่ื ไมม่ ีความ

ขัดแยง้ กบั ผู้อ่ืน

5 โรงเรียนเพิ่มเติมได้

5.1...

สรปุ ผลการประเมิน = ผลรวมผลการประเมนิ ทกุ ประเด็นพจิ ารณา

จำนวนประเด็นพิจารณา

หมายเหตุ กรอกขอ้ มลู เฉพาะแถบสีขาว

วธิ คี ำนวณ 100 x จำนวนผู้เรยี นผ่านเกณฑท์ โี่ รงเรียนกำหนด
*** ผลการประเมิน (รอ้ ยละ) = จำนวนผเู้ รียนทงั้ หมด

แปลผลการประเมนิ คณุ ภาพที่ได้ = กำลงั พฒั นา
= ปานกลาง
ร้อยละ 00.00 – 49.99 ดี
ร้อยละ 50.00 – 59.99 = ดีเลศิ
= ยอดเยี่ยม
ร้อยละ 60.00 – 74.99 =
รอ้ ยละ 75.00 – 89.99
ร้อยละ 90.00 – 100

34

กระบวนการพัฒนาทส่ี ง่ ผลต่อระดบั คณุ ภาพของมาตรฐานท่ี 1

โรงเรียนขุนห้วยตากพัฒนาศึกษา มีกระบวนการจัดการศึกษาโดยเน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ และเล็งเห็นถึง
ความสำคัญในการพัฒนาเด็กไทยให้เป็นมนุษย์ที่สมบูรณ์ ทั้งร่างกายและจิตใจ สติปัญญา ความรู้ คุณธรรม
จริยธรรม และวัฒนธรรมในการดาเนนิ ชีวิต สามารถอยู่ร่วมกับผู้อื่นได้อย่างมีความสุข เปิดโอกาสให้สังคม มี
ส่วนร่วมในการจัดการศึกษา พัฒนาสาระ และกระบวนการเรียนรู้ เป็นไปอย่างต่อเนื่อง มีเป้าหมายในการ
พัฒนาผ้เู รียนแบบองคร์ วมและคานงึ ถึงความแตกตา่ งระหว่างบุคคลเพือ่ ให้ผู้เรียนไดร้ ับการพฒั นาตามศักยภาพ
ของตนเองและเตรียมความพร้อมเกี่ยวกับทักษะที่จำเป็นสำหรับศตวรรษที่ 21 เน้นการพัฒนาผู้เรียนให้มี
ความสามารถในการอ่าน เขยี น และส่ือสารท้งั ภาษาไทย และภาษาอังกฤษอย่างมีประสิทธภิ าพ มุ่งให้ผู้เรียนมี
ความรู้ความสามารถในการคิดอย่างเป็นรูปแบบ รู้จักใช้เหตุผล มีทักษะในการทำงาน และสร้างสรรค์ผลงาน
ด้วยความภาคภูมิใจ ผ่านกิจกรรม 8 กลุ่มสาระ พัฒนาการเรียนรู้ ที่ส่งเสริมผู้เรียนใหส้ ามารถเชือ่ มโยงความรู้
ทั้ง 8 กลุ่มสาระการเรียนรู้ ได้อย่างมีเหตุผลและสามารถนำไปประยกุ ต์ใช้เพื่อเพิ่มพูนความรู้ความสามารถใน
การเรียนและแก้ปัญหา หรอื ขอ้ สงสัย และมีการพฒั นากระบวนการคิดออกแบบดัดแปลงทาให้เกิดความรู้ใหม่
และสามารถทำงานร่วมกบั ผอู้ น่ื ได้

นอกจากนี้สถานศกึ ษายงั ส่งเสรมิ ให้นกั เรียนมีคุณลักษณะอนั พึงประสงค์ตามหลกั สตู รแกนกลางการศึกษา
ขั้นพืน้ ฐาน เอื้ออาทรผูอ่ืน กตัญ ูกตเวทีตอบุพการีและผูมีพระคุณ ยอมรับความคิดและวัฒนธรรมที่แตกตาง
ตระหนักรูคุณคารวมอนุรกั ษและพฒั นาสิง่ แวดลอมโดยจดั กจิ กรรมโครงการพัฒนาคุณธรรม จรยิ ธรรม สำหรับ
เยาวชนพืน้ ที่สูงสู่ครอบครัว โครงการส่งเสริมประชาธิปไตยและวินัยนกั เรยี น โครงการพัฒนาศูนย์การเรยี นรู
เศรษฐกิจพอเพียง สงเสริมใหนักเรียนมีสุขนิสัยในการดูแลสุขภาพ ออกกําลังกายสม่ำเสมอ มีน้ำหนัก
สวนสูงและมีสมรรถภาพทางกายตามเกณฑมาตรฐาน รูจักปองกันและหลกี เลยี่ งส่งิ เสพติดใหโทษเห็นคุณคาใน
ตนเองมีมนุษยสัมพนั ธที่ดีรวมท้ังซาบซึ้งเหน็ คุณคาในศิลปะอันงดงามสรางผลงานและเขารวมกิจกรรมศิลปะ/
ดนตรี/นันทนาการโดยจัดโครงการสงเสรมิ สุขภาพอนามัยในโรงเรียน โครงการสถานศึกษาสีขาวปลอดยาเสพ
ติดและอบายมุข มุ่งเน้นใหผ้ ู้เรียนมีคุณลักษณะและคา่ นิยมท่ีดีตามทส่ี ถานศึกษากำหนดโดยไม่ขัดกับกฎหมาย
และวัฒนธรรมอันดีของสงั คม มีสุขภาวะทางร่างกายและสังคม ความภูมิใจในทอ้ งถิ่น และความเป็นไทยการ
ยอมรบั ท่ีจะอยรู่ ว่ มกนั บนความแตกต่างและหลากหลาย

ดา้ นผลสัมฤทธ์ิทางการเรยี นผู้เรียนสามารถอ่านออกและเขยี นคล่องตามมาตรฐานการอ่านในแต่
ละระดับช้นั สามารถเขียน ส่อื สารได้ดี สามารถคดิ วิเคราะห์ คดิ อย่างมวี ิจารณญาณ อภิปรายแลกเปล่ียนความ
คดิ เห็นในการแกป้ ญั หา ร้จู กั การวางแผนสามารถทำงานร่วมกบั ผูอ้ ื่นได้ดีตามหลกั ประชาธปิ ไตย กล้าแสดงออก
และแสดงความคิดเห็น หรือวิพากษ์ได้อย่างสร้างสรรค์ สืบค้นข้อมูลหรือแสวงหาความรู้จากสื่อเทคโนโลยีได้
ดว้ ยตนเอง รวมท้ัง สามารถวเิ คราะหจ์ ำแนกแยกแยะไดว้ า่ สิง่ ไหนดี สำคัญ จำเป็น รวมทงั้ ร้เู ท่าทันส่ือและสังคม
ที่เปลี่ยนแปลง อย่างรวดเร็ว ร่วมอนุรักษว์ ัฒนธรรม ธรรมชาติ มีคุณธรรม จริยธรรมช่วยเหลือสังคม มีความรู้
ทักษะพ้นื ฐาน และเจตคตทิ ่ีดตี ่องานอาชพี

มาตรฐานที่ 2 กระบวนการบริหารและการจัดการ 35

การปฏบิ ัติงาน *** ผลการประเมิน
ผลสำเร็จ(ขอ้ ) คุณภาพทีไ่ ด้
ประเดน็ พิจารณา ปฏบิ ตั ิ ไม่ ยอดเยย่ี ม
ปฏิบตั ิ 5
ยอดเยี่ยม
1 มีเปา้ หมายวสิ ยั ทัศน์และพนั ธกจิ ทส่ี ถานศึกษากำหนดชัดเจน 5
ยอดเยี่ยม
1.2 กำหนดเป้าหมายทสี่ อดคลอ้ งกับบริบทของสถานศกึ ษา  5 ยอดเยี่ยม
5 ยอดเยี่ยม
ความต้องการของชุมชน ท้องถิ่น วัตถุประสงค์ของแผนการ 5
ยอดเยย่ี ม
ศกึ ษาชาติ นโยบายของรัฐบาลและตน้ สงั กัด 5 ยอดเย่ียม
5 ยอดเยี่ยม
1.2 กำหนดวสิ ยั ทศั น์ และพนั ธกจิ ที่สอดคลอ้ ง เชอ่ื มโยง  5 ยอดเยย่ี ม
5 ยอดเยย่ี ม
กบั เป้าหมาย แผนยุทธศาสตรช์ าติ แผนการศกึ ษาแห่งชาติ 5
ยอดเยย่ี ม
นโยบายของรฐั บาลและต้นสังกดั 5 ยอดเยี่ยม
5
1.3 กำหนดเปา้ หมาย วิสัยทศั น์ และพนั ธกิจ ทนั ตอ่  ยอดเยี่ยม
5 ยอดเยย่ี ม
การเปลยี่ นแปลงของสงั คม 5 ยอดเยย่ี ม
5
1.4 นำเปา้ หมาย วิสยั ทศั น์ และพนั ธกจิ ผา่ นความเหน็ ชอบ 

จากคณะกรรมการบริหารโรงเรยี น

1.5 นำเป้าหมาย วสิ ัยทศั น์ และพนั ธกจิ ของโรงเรยี นเผยแพร่ 

ตอ่ สาธารณชน

2 มีระบบบริหารจัดการคณุ ภาพของสถานศกึ ษา

2.1 มกี ารวางแผนพัฒนาคณุ ภาพการจดั การศกึ ษาอย่างเปน็ 

ระบบ

2.2 มกี ารนำแผนไปปฏบิ ัติ ตดิ ตามตรวจสอบประเมินผลและ 

ปรับปรงุ พฒั นางานอย่างต่อเนอ่ื ง

2.3 มีการบรหิ ารอตั รากำลัง ทรพั ยากรทางการศกึ ษาจดั ระบบ 

ดแู ลช่วยเหลือนกั เรียน และระบบการนิเทศภายใน

2.4 สถานศกึ ษามีการนำข้อมูลมาใชใ้ นการพฒั นาสถานศึกษา 

2.5 สถานศึกษาให้บคุ ลากรและผทู้ เี ก่ียวขอ้ งทุกฝ่ายมีสว่ นร่วม 
ในการวางแผน ปรับปรุง พฒั นา และรว่ มรบั ผิดชอบตอ่ ผลการ
จดั การศกึ ษา 

3 ดำเนินงานพฒั นาวิชาการท่เี น้นคุณภาพผเู้ รียนรอบดา้ นตาม 
หลักสูตรสถานศึกษาและทกุ กล่มุ เปา้ หมาย 

3.1 บรหิ ารจัดการเกี่ยวกบั งานวชิ าการ ในดา้ นการพฒั นา
หลักสูตรสถานศึกษา

3.2 บรหิ ารจดั การเกีย่ วกับงานวชิ าการ ในด้านการพฒั นา
หลักสตู รตามความตอ้ งการของผูเ้ รียน ที่สอดคล้องกบั บรบิ ท
ของสถานศึกษา ชมุ ชน และทอ้ งถิน่

3.3 บรหิ ารจดั การเกี่ยวกบั กิจกรรมเสริมหลกั สูตรทีเ่ น้น
คณุ ภาพผู้เรยี นรอบด้านเชอ่ื มโยงวถิ ชี ีวติ จริง

3.4 กำหนดหลกั สตู รสถานศึกษาครอบคลมุ การจัดการเรียน
การสอนทกุ กลุ่มเปา้ หมาย

3.5 สถานศึกษามีการปรับปรงุ และพัฒนาหลักสตู รใหท้ นั ต่อ
การเปลี่ยนแปลงของสงั คม

การปฏบิ ัติงาน *** 36
ผลสำเรจ็ (ข้อ)
ประเดน็ พจิ ารณา ปฏบิ ัติ ไม่ ผลการประเมิน
ปฏบิ ตั ิ 5 คุณภาพทีไ่ ด้
4 พัฒนาครแู ละบคุ ลากรให้มคี วามเชีย่ วชาญทางวิชาชพี 5
4.1 สง่ เสรมิ สนบั สนนุ พัฒนาครู บคุ ลากร ให้มีความเชย่ี วชาญ  5 ยอดเยย่ี ม
ทางวิชาชีพ 5 ยอดเย่ยี ม
4.2 จดั ใหม้ ชี มุ ชนการเรยี นรู้ทางวิชาชีพ  5 ยอดเยี่ยม
ยอดเยย่ี ม
4.3 นำชมุ ชนการเรียนรูท้ างวชิ าชีพเขา้ มาใช้ในการพัฒนางาน  5 ยอดเยย่ี ม
และการเรยี นร้ขู องผูเ้ รยี น  5
 5 ยอดเยย่ี ม
4.4 มกี ารตรวจสอบ ทบทวน การปฏบิ ัตงิ านของครู บคุ ลากร 5 ยอดเยย่ี ม
ท่มี ผี ลตอ่ การเรียนร้ขู องผู้เรียน  5 ยอดเยี่ยม
 ยอดเยย่ี ม
4.5 ถอดบทเรียนเพือ่ สร้างนวัตกรรมหรือวธิ ีการท่เี ป็น  5 ยอดเยี่ยม
แบบอยา่ งทีด่ ที ส่ี ง่ ผลตอ่ การเรียนรู้ของผเู้ รยี น  5
 5 ยอดเยี่ยม
5 จัดสภาพแวดล้อมทางกายภาพและสังคมที่เอื้อต่อการจดั การ 5 ยอดเยี่ยม
เรียนรู้อย่างมคี ณุ ภาพ  5 ยอดเยย่ี ม
 ยอดเยย่ี ม
5.1 จัดสภาพแวดลอ้ มทางกายภาพภายในหอ้ งเรยี น ที่เอ้ือตอ่  ยอดเยย่ี ม
การเรียนรู้ และคำนึงถงึ ความปลอดภยั 

5.2 จดั สภาพแวดลอ้ มทางกายภาพภายนอกหอ้ งเรยี น ทเ่ี ออ้ื
ตอ่ การเรียนรู้ และคำนึงถึงความปลอดภัย

5.3 จดั สภาพแวดลอ้ มทีส่ ง่ เสรมิ ใหผ้ ้เู รยี นเกดิ การเรยี นรเู้ ป็น
รายบุคคล และเปน็ กลมุ่

5.4 จัดสภาพแวดลอ้ มทางสงั คม ทเ่ี ออ้ื ตอ่ การจัดการเรยี นรู้
และมคี วามปลอดภัย

5.5 จัดให้ผู้เรยี นไดใ้ ช้ประโยชนจ์ ากการจัดสภาพแวดล้อมตาม
ศักยภาพของผเู้ รยี น

6 จัดระบบเทคโนโลยสี ารสนเทศเพอื่ สนบั สนนุ การบริหาร
จัดการและการจัดการเรียนรู้

6.1 ได้ศกึ ษาความตอ้ งการเทคโนโลยีสารสนเทศ
ทเ่ี หมาะสมกับสภาพของสถานศึกษา

6.2 จัดระบบเทคโนโลยสี ารสนเทศเพื่อบรหิ ารจดั การและการ
จัดการเรยี นร้ทู ีเ่ หมาะสมกบั สภาพของสถานศึกษา

6.3 พัฒนาระบบเทคโนโลยสี ารสนเทศเพ่ือบรหิ ารจดั การและ
การจดั การเรียนรู้ท่เี หมาะสมกับสภาพของสถานศกึ ษา

6.4 ใหบ้ รกิ ารเทคโนโลยสี ารสนเทศเพื่อใช้ในการบรกิ ารจัดการ
และการจดั การเรยี นรูท้ ี่เหมาะสมกับสภาพของสถานศกึ ษา

6.5 ตดิ ตามผลการใชบ้ รกิ ารระบบเทคโนโลยีสารสนเทศของ
สถานศึกษาเพื่อใช้ในการบริการจัดการและการจัดการเรยี นรทู้ ี่
เหมาะสมกบั สภาพของสถานศึกษา

การปฏิบัตงิ าน *** 37
ผลสำเร็จ(ข้อ)
ประเดน็ พิจารณา ปฏิบัติ ไม่ ผลการประเมนิ
ปฏบิ ตั ิ 6 คณุ ภาพท่ีได้

7 โรงเรียนเพิม่ เติมได้ ยอดเยย่ี ม

7.1-7.5

สรุปผลการประเมนิ = ผลรวมผลสำเรจ็ ทกุ ประเด็นพิจารณา

จำนวนประเด็นพจิ ารณา

หมายเหตุ กรอกขอ้ มลู เฉพาะแถบสีขาว
*** ผลสำเร็จ = จำนวนขอ้ ทีป่ ฏบิ ัติในแต่ละประเด็นพจิ ารณา

แปลผลการประเมนิ คุณภาพท่ไี ด้ คา่ เฉลีย่ ผลการประเมินคณุ ภาพทไ่ี ด้
ปฏิบัติ 1 ขอ้ ไดร้ ะดบั คุณภาพ กำลังพัฒนา
ปฏบิ ัติ 2 ข้อ ไดร้ ะดบั คณุ ภาพ ปานกลาง 1.00 – 1.49 ระดับคุณภาพ กำลังพัฒนา
ปฏิบตั ิ 3 ข้อ ไดร้ ะดับคุณภาพ ดี 1.50 –2.49 ระดับคณุ ภาพ ปานกลาง
ปฏิบัติ 4 ขอ้ ไดร้ ะดับคณุ ภาพ ดเี ลศิ 2.50 – 3.49 ระดับคณุ ภาพ ดี
3.50 – 4.49 ระดับคุณภาพ ดีเลิศ
ปฏิบัติ 5 ขอ้ ไดร้ ะดบั คุณภาพ ยอดเยย่ี ม 4.50 – 5.00 ระดบั คณุ ภาพ ยอดเย่ียม

38

กระบวนการพัฒนาทสี่ ง่ ผลตอ่ ระดบั คุณภาพของมาตรฐานที่ 2

โรงเรียนขุนห้วยตากพัฒนาศึกษาได้ดำเนินการวิเคราะห์สภาพปัญหา ผลการจัดการศึกษาที่ผ่านมา โดย
การศึกษาข้อมลู สารสนเทศจากผลการนิเทศ ตดิ ตาม ประเมินการจดั การศกึ ษาตามนโยบายการ ปฏิรปู การศึกษา
และจัดประชมุ ระดมความคิดเห็น จากบคุ ลากรในสถานศึกษาเพอ่ื วางแผน รว่ มกันกำหนดเป้าหมาย ปรับวิสยั ทัศน์
กำหนดพันธกิจ กลยุทธ์ในการจัดการศึกษาของสถาน ศึกษาเพื่อพัฒนาคุณภาพผู้เรียนมีการปรับแผนพัฒนา
คุณภาพจัดการศึกษา แผนปฏิบัตกิ ารประจำปีใหส้ อดคล้องกับสภาพปญั หาความต้องการพัฒนาและนโยบายการ
ปฏิรปู การศกึ ษาพรอ้ มทง้ั จดั หาทรัพยากร จดั สรรงบประมาณ มอบหมายงานให้ผู้รบั ผิดชอบดำเนนิ การพัฒนาตาม
แผนงานเพอ่ื ให้บรรลุเป้าหมายทีก่ ำหนดไว้ มกี ารดำเนนิ การนิเทศ กำกบั ตดิ ตาม ประเมนิ ผลการดำเนนิ งาน และ
สรุปผลการดำเนินงาน จัดสภาพแวดล้อมทางกายภาพทั้งภายในและภายนอกห้องเรยี น ปรับปรุงภูมทิ ัศน์และ
แหล่งเรียนรู้ภายในโรงเรียน และสภาพแวดล้อมทางสังคมที่เอื้อต่อการจัดการเรียนรู้ให้มีความปลอดภัยอย่างมี
คุณภาพ

2.1 สถานศึกษามีการกำหนดเป้าหมาย วิสัยทัศน์และพันธกิจสอดคล้องกับสภาพ ปัญหาความต้องการ
พัฒนาของสถานศึกษา นโยบายการปฏิรูปการศึกษา ความต้องการของชุมชนท้องถิ่น และสอดคล้องกับแนว
ทางการปฏริ ูปตามแผนการศกึ ษาชาติ

2.2 แผนพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษา แผนปฏิบัติการประจำปี สอดคล้องกับ การพัฒนาผู้เรียนทุก
กลมุ่ เปา้ หมาย มีการพัฒนาครแู ละบคุ ลากรทางการศกึ ษาให้มคี วามรู้ ความเช่ยี วชาญตามมาตรฐานตำแหนง่ ขอ้ มลู
สารสนเทศมีความถูกต้อง ครบถ้วน ทันสมัย นำไปประยุกต์ใช้ได้ ดำเนินการอย่างเป็นระบบ และมีกิจกรรมจัด
สภาพแวดลอ้ มทางกายภาพและ สงั คมที่กระตุน้ ผเู้ รยี นใหใ้ ฝ่เรยี นรู้

2.3 สถานศึกษามีการปรับแผนพฒั นาคุณภาพการจัดการศึกษา แผนปฏบิ ัติการ ประจำปี ให้สอดคล้องกับ
สภาพปญั หา ความต้องการพัฒนา และนโยบายการปฏิรปู การศกึ ษา โดยผมู้ สี ว่ นไดเ้ สียมสี ว่ นรว่ มในการพัฒนาและ
รว่ มรบั ผิดขอบ

2.4 ผู้เกี่ยวข้องทุกฝ่าย และเครอื ขา่ ยการพฒั นาคณุ ภาพสถานศกึ ษา มสี ่วนร่วมใน การร่วมวางแผนพฒั นา
คุณภาพการศึกษา และรับทราบ รับผดิ ชอบตอ่ ผลการจัดการศกึ ษา

2.5 สถานศึกษามีการนิเทศ กำกับ ติดตาม และประเมินผลการบรหิ ารและการจัดการศึกษาทีเ่ หมาะสม
เปน็ ระบบและตอ่ เนือ่ ง เปิดโอกาสใหผ้ เู้ กย่ี วข้องมสี ่วนรว่ มในการจดั การศกึ ษา

2.6 สถานศกึ ษามรี ูปแบบการบรหิ ารและการจัดการเซงิ ระบบโดยทุกฝ่ายมีส่วนร่วม ยึดหลักธรรมาภิบาล
และแนวคดิ หลักปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี งโดยมุง่ พัฒนาผ้เู รยี นตามแนวทางปฏิรูปการศึกษา

2.7 สถานศึกษามีการระดมทรัพยากรเพื่อการพัฒนาคุณภาพการศึกษาจาก เครือข่ายอุปถัมภ์ ส่งผลให้
สถานศกึ ษามีส่ือ และแหลง่ เรยี นรูท้ ม่ี ีคุณภาพ

39

มาตรฐานที่ 3 กระบวนการจดั การเรียนการสอนทเ่ี น้นผู้เรียนเป็นสำคญั

การปฏิบตั ิงาน จำนวนครู (คน) *** ผลการ
เปา้ หมาย ผลการ ประเมนิ
ประเด็นพิจารณา ไม่ ประเมนิ (รอ้ ย คุณภาพที่
ปฏบิ ตั ิ ปฏิบัติ (ร้อยละ) บรรจุ ผ่านเกณฑ์ ละ)
ท่กี ำหนด ได้
100
1 จัดการเรยี นรู้ผา่ นกระบวนการคิดและ ยอดเยี่ยม
ปฏิบตั ิจรงิ และสามารถนำไปประยกุ ตใ์ ชใ้ น 100
100 ยอดเยี่ยม
ชวี ติ ได้ ยอดเยี่ยม
100 ยอดเยย่ี ม
1.1 จัดกิจกรรมการเรียนร้ตู ามมาตรฐาน  80 13 13 ยอดเยีย่ ม
100 ยอดเยี่ยม
การเรยี นรู้ ตวั ช้ีวัดของหลกั สูตรสถานศึกษา
ท่ีเน้นให้ผเู้ รียนไดเ้ รียนรู้ โดยผา่ น 100 ยอดเยี่ยม
กระบวนการคดิ และปฏบิ ตั ิจริง 100
100
1.2 มแี ผนการจดั การเรยี นรทู้ สี่ ามารถ  80 13 13 100
100
นำไปจดั กิจกรรมได้จรงิ

1.3 มีรปู แบบการจัดการเรียนรเู้ ฉพาะ  80 13 13

สำหรับผู้ท่ีมคี วามจำเปน็ และตอ้ งการความ

ช่วยเหลอื พเิ ศษ  80 13 13

1.4 ฝึกทักษะใหผ้ ้เู รียนไดแ้ สดงออก แสดง
ความคดิ เห็น สรุปองค์ความรู้ และนำเสนอ
ผลงาน

1.5 สามารถจดั กจิ กรรมการเรียนร้ใู ห้  80 13 13

ผู้เรยี นสามารถนำไปประยกุ ต์ใช้ใน
ชีวติ ประจำวันได้

2 ใชส้ ือ่ เทคโนโลยีสารสนเทศ และแหล่ง 80 13 13

เรียนรู้ที่เอื้อตอ่ การเรียนรู้  13
 13
1.1 ใช้สอ่ื เทคโนโลยสี ารสนเทศในการ
จัดการเรยี นรู้

1.2 ใชแ้ หล่งเรียนรู้ และภมู ปิ ัญญาทอ้ งถน่ิ

ในการจัดการเรยี นรู้ 13
1.3 สรา้ งโอกาสใหผ้ ู้เรียนไดแ้ สวงหาความรู้ 

ดว้ ยตนเองจากส่อื ท่ีหลากหลาย

3 มกี ารบรหิ ารจดั การชัน้ เรียนเชิงบวก 80 13 13

3.1 ผสู้ อนมีการบรหิ ารจดั การชนั้ เรยี น โดย  13 100
เนน้ การมีปฏสิ ัมพนั ธเ์ ชิงบวก  13 100

3.2 ผสู้ อนมกี ารบริหารจัดการชนั้ เรียน ให้
เดก็ รกั ครู ครูรักเดก็ และเด็กรกั เดก็ เด็กรกั
ท่จี ะเรียนรู้ สามารถเรยี นรู้ร่วมกันอย่างมี
ความสขุ

40

การปฏบิ ัตงิ าน จำนวนครู (คน) *** ผลการ
ผลการประเมิน ประเมนิ
ประเดน็ พจิ ารณา ปฏบิ ตั ิ ไม่ เป้าหมาย บรรจุ ผา่ นเกณฑ์ท่ี คณุ ภาพทไ่ี ด้
ปฏิบัติ (ร้อยละ) กำหนด (รอ้ ยละ) ยอดเยี่ยม
100
4 ตรวจสอบและประเมนิ ผู้เรยี นอยา่ งเป็นระบบ 100 13 13 ยอดเยย่ี ม
13 100
และนำผลมาพัฒนาผเู้ รียน ยอดเย่ยี ม
100
4.1 มกี ารตรวจสอบและประเมนิ คุณภาพการ 

จดั การเรยี นรู้อย่างเป็นระบบ

4.2 มีขน้ั ตอนโดยใชเ้ คร่ืองมือและวิธีการวัด 

และประเมินผลทเี่ หมาะสมกบั เป้าหมายในการ

จดั การเรยี นรู้

4.3 เปิดโอกาสให้ผเู้ รยี นและผมู้ ีสว่ นเกย่ี วข้องมี 

สว่ นรว่ มในการวัดและประเมนิ ผล

4.4 ใหข้ อ้ มูลยอ้ นกลับแก่ผ้เู รียนเพอื่ นำไปใชใ้ น 

การพัฒนาการเรียนรู้

5 มกี ารแลกเปลย่ี นเรียนรู้และใหข้ ้อมลู สะทอ้ น 100 13

กลับเพอื่ พฒั นาปรบั ปรงุ การจัดการเรียนรู้

5.1 และผู้มีสว่ นเก่ยี วขอ้ งรว่ มกันแลกเปลย่ี น 

ความรแู้ ละประสบการณ์ในการจัดการเรยี นรู้

5.2 นำขอ้ มูลปอ้ นกลบั ไปใชใ้ นการปรับปรุง 

และพฒั นาการจัดการเรียนรูข้ องตนเอง

6 โรงเรยี นเพ่ิมเตมิ ได้

6.1…..

สรปุ ผลการประเมิน = ผลรวมผลการประเมินทุกประเด็นพจิ ารณา

จำนวนประเดน็ พิจารณา

หมายเหตุ 1.กรอกขอ้ มูลเฉพาะแถบสีขาว

วิธคี ำนวณ 100 x จำนวนครผู ่านเกณฑท์ ่โี รงเรียนกำหนด
*** ผลการประเมิน (ร้อยละ) = จำนวนครูท้งั หมด

แปลผลการประเมินคุณภาพที่ได้ = กำลงั พฒั นา
รอ้ ยละ 00.00 – 49.99 = ปานกลาง
ร้อยละ 50.00 – 59.99 = ดี
= ดีเลศิ
ร้อยละ 60.00 – 74.99 ยอดเย่ยี ม
ร้อยละ 75.00 – 89.99 =

ร้อยละ 90.00 – 100

41

กระบวนการพัฒนาที่ส่งผลต่อระดับคุณภาพของมาตรฐานท่ี 3

โรงเรยี นขุนห้วยตากพัฒนาศึกษา ส่งเสริมให้ครูจดั กระบวนการเรียนการสอนทีเ่ น้นผู้เรียนเป็นสำคัญ ทั้งดาน
ความรู ทักษะกระบวนการ สมรรถนะ และคุณลกั ษณะท่ีพงึ ประสงค ออกแบบการเรียนรู จัดทาํ สอื่ การสอน ครูมี
การวัดและประเมนิ ผลท่ีมุงเนนการพฒั นาการเรยี นรูของผูเรียน ครจู ัดการเรียนการสอนตามวิชาท่ี ไดรบั มอบหมาย
เต็มเวลาเต็มความสามารถ ครูประพฤติปฏิบัติตนเปนแบบอยางที่ดี และเปนสมาชิกที่ดีของสถานศึกษา ครูได
พัฒนาตนเองอยางตอเนื่อง ครไู ดพฒั นาในเรอื่ งของการใชเทคโนโลยี ศกึ ษาดงู าน สงเสรมิ ใหคณะครรู วมกิจกรรม
ทางวชิ าการทง้ั ในสถานศึกษาและนอกสถานศกึ ษาอยางตอเน่ือง ครมู ีการศึกษาวิจยั และพฒั นาการจัดการเรียนรูใน
วิชาที่ตนรบั ผดิ ชอบ มีรูปแบบการจัดการเรยี นรูเ้ ฉพาะสำหรับผู้ทีม่ ีความจำเป็นและต้องการความช่วยเหลือพิเศษ
โดยจัดทำแผน IEP เพื่อนำไปใชจ้ ัดกิจกรรมการเรียนการสอนแก่นักเรียนการศึกษาพิเศษ (เรียนรวม) โรงเรียนได
ดําเนินงาน/กิจกรรม/โครงการทีห่ ลากหลายที่สงเสริมใหครบู ูรณาการกับการเรยี นการสอน เชน กิจกรรมลดเวลา
เรียน เพ่มิ เวลารู โครงการยกระดับผลสมั ฤทธ์ิทางการศกึ ษา โครงการห้องสมดุ มีชีวติ เพม่ิ พชิ ิตรักการอา่ น โครงการ
ส่งเสริมการเรียนรู้จากแหล่งเรียนรู้ โครงการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบโครงงาน โครงการรู้รัก รู้เรียน โครงการ
พัฒนาคณุ ธรรม จริยธรรม สำหรบั เยาวชนพื้นทสี่ งู ส่คู รอบครัว เป็นต้น

ประเด็นภาพความสำเร็จด้านกระบวนการจัดการเรียนการสอนท่ีเนน้ ผูเ้ รียนเป็นสำคญั ท่ีสนับสนุนผลการ
ประเมินตนเอง ได้แก่ โครงการพัฒนาหลกั สูตรสถานศึกษาและหลักสตู รกลุ่มสาระการเรยี นรู้ โครงการยกระดบั
ผลสมั ฤทธท์ิ างการศึกษา โครงการพฒั นาบุคลากรทางการศึกษาเพ่อื พัฒนาใหครูจัดการเรยี นการสอนที่เนนผูเรียน
เปนสําคัญ เนน้ นักเรียนไดล้ งมือปฏิบตั ิจริง การบันทกึ การใช้สอ่ื เทคโนโลยีและแหล่งเรยี นรู้ เอกสารการตรวจสอบ
และประเมนิ ผูเ้ รียนอยา่ งเปน็ ระบบ และนำผลมาพัฒนาผเู้ รียนมกี ารบรหิ ารจดั การชนั้ เรียนเชงิ บวก สงผลใหผลการ
ประเมนิ คณุ ภาพมาตรฐานอยูในระดับยอดเยยี่ ม

3. สรปุ ผลการประเมินคุณภาพตามมาตรฐานการศึกษาของสถานศกึ ษา 42
ระดับปฐมวัย
ระดับคุณภาพ
มาตรฐานการศกึ ษา ยอดเยี่ยม
ยอดเยี่ยม
มาตรฐานที่ คณุ ภาพของเดก็
1 1. มีพฒั นาด้านร่างกาย แขง็ แรง มีสุขนสิ ัยทด่ี ี และดแู ลความปลอดภยั ยอดเยย่ี ม
ของตนเองได้ ยอดเยี่ยม
2. มีพัฒนาการด้านอารมณ์ จติ ใจ ควบคมุ และแสดงออกทางอารมณ์ได้
3. มีพัฒนาการดา้ นสังคม ช่วยเหลอื ตนเองและเปน็ สมาชิกท่ดี ีของสงั คม ดเี ลิศ
4. มีพัฒนาการดา้ นสตปิ ญั ญา ส่ือสารได้ มีทักษะการคดิ พืน้ ฐาน และ
แสวงหาความร้ไู ด้ ยอดเยย่ี ม
5. โรงเรียนเพ่ิมเติมได้... ยอดเยี่ยม

มาตรฐานท่ี กระบวนการบรหิ ารและการจัดการ ยอดเยย่ี ม
2 1. มีหลักสูตรครอบคลุมพัฒนาการทงั้ ส่ดี ้าน สอดคล้องกบั บรบิ ทขอ ยอดเย่ยี ม
ท้องถิ่น ยอดเยย่ี ม
2. จดั ครูใหเ้ พยี งพอกับช้นั เรยี น ยอดเยี่ยม
3. สง่ เสริมให้ครูมีความเชย่ี วชาญด้านการจัดประสบการณ์
4. จดั สภาพแวดลอ้ มและสอ่ื เพ่อื การเรียนรู้อยา่ งปลอดภัยและเพียงพอ ยอดเยี่ยม
5. ใหบ้ ริการสื่อเทคโนโลยีสารสนเทศและสอ่ื การเรยี นร้เู พอื่ สนบั สนนุ การ
จัดประสบการณ์ ยอดเย่ยี ม
6. มรี ะบบบรหิ ารคุณภาพทเี่ ปิดโอกาสให้ผู้เกี่ยวข้องทกุ ฝา่ ยมีส่วนร่วม ยอดเยย่ี ม
7. โรงเรียนเพม่ิ เตมิ ได.้ ..
ยอดเยยี่ ม
มาตรฐานที่ การจดั ประสบการณ์ท่เี น้นเดก็ เป็นสำคญั
3 1. จดั ประสบการณ์ทส่ี ง่ เสริมให้เดก็ มีพัฒนาการทุกด้าน อยา่ งสมดุลเตม็ ยอดเยี่ยม
ศักยภาพ
2. สร้างโอกาสให้เดก็ ได้รับประสบการณ์ตรง เลน่ และปฏบิ ัติอย่างมี ยอดเยี่ยม
ความสุข
3. จดั บรรยากาศท่เี อื้อตอ่ การเรียนรู้ ใชส้ ือ่ และเทคโนโลยที ี่เหมาะสมกบั ยอดเย่ียม
วัย
4. ประเมนิ พฒั นาการเด็กตามสภาพจรงิ และนำผลการประเมินพฒั นาการ
เด็กไปปรับปรุงการจดั ประสบการณแ์ ละพัฒนาเด็ก
5. โรงเรยี นเพมิ่ เตมิ ได้...

สรุปผลการประเมินคณุ ภาพระดับปฐมวัย

43

การคิดระดบั คุณภาพของสรุปผลการประเมนิ

1. การแปลผลระดับคณุ ภาพของประเด็นพจิ ารณาและมาตรฐานการศึกษา

ระดับคุณภาพ คะแนน

ยอดเยี่ยม = 5

ดเี ลิศ = 4

ดี = 3

ปานกลาง = 2

กำลงั พฒั นา = 1

2. หาระดับคุณภาพของแต่ละมาตรฐาน ดังน้ี

2.1 หาคะแนนเฉล่ียของแตล่ ะมาตรฐานโดยใชส้ ูตร

คะแนนเฉล่ยี แตล่ ะมาตรฐาน = ผลรวมคะแนนทกุ ประเด็นพจิ ารณาของแตล่ ะมาตรฐาน

จำนวนประเด็นการพิจารณา

2.2 แปลผลคะแนนเฉลี่ยแตล่ ะมาตรฐานเปน็ ระดบั คุณภาพ

เชน่ คะแนนเฉล่ยี มาตรฐานที่ 1 = 4+5+4+4 = 17 = 4.4 = ดเี ลศิ

44

หมายเหตุ: ทศนิยมต่ำกวา่ .5 ปดั ลง ตัง้ แต่ .5 ปดั ข้ึน

3. หาระดบั คุณภาพของสรปุ ผลการประเมิน ดังนี้

3.1 หาคะแนนเฉลยี่ ของสรุปผลการประเมนิ โดยใช้สูตร

คะแนนเฉล่ยี ของสรุปผลการประเมนิ = ผลรวมคะแนนเฉล่ยี ของแตล่ ะมาตรฐาน

จำนวนมาตรฐาน

3.2 แปลผลคะแนนเฉลยี่ สรปุ ผลการประเมนิ เปน็ ระดับคณุ ภาพ

เชน่ คะแนนเฉลีย่ ของสรุปผลการประเมนิ = 4.4+4.33+4.25 = 12.98 = 4.33 = ดีเลิศ

33

หมายเหตุ: ทศนิยมตำ่ กวา่ .5 ปัดลง ตัง้ แต่ .5 ปดั ขึ้น

ระดบั การศกึ ษาข้นั พน้ื ฐาน 44

มาตรฐาน มาตรฐานการศึกษา ระดบั คุณภาพ
ดเี ลศิ
มาตรฐานท่ี คุณภาพของผูเ้ รยี น ดเี ลิศ
ดีเลศิ
1 ผลสมั ฤทธิท์ างวิชาการของผเู้ รียน ดเี ลศิ

1. มีความสามารถในการอา่ น การเขียน การสอื่ สาร และการคิดคำนวณ ดีเลศิ
ดเี ลศิ
2. มีความสามารถในการคดิ วิเคราะห์ คิดอยา่ งมีวิจารณญาณ อภิปราย ดีเลิศ
ดเี ลศิ
แลกเปลย่ี นความคดิ เห็นและแกป้ ัญหา ดีเลศิ
ดีเลิศ
3. มีความสามารถในการสร้างนวตั กรรม ดเี ลศิ
ดเี ลิศ
4. มีความสามารถในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ และการสือ่ สาร ดเี ลศิ
ยอดเย่ียม
5. มผี ลสัมฤทธทิ์ างการเรียนตามหลกั สูตรสถานศึกษา ยอดเยยี่ ม
ยอดเยีย่ ม
6. มคี วามรทู้ กั ษะพืน้ ฐาน และเจตคติทีด่ ีต่องานอาชพี ยอดเยย่ี ม

คณุ ลักษณะที่พึงประสงค์ของผ้เู รียน ยอดเยย่ี ม
ยอดเยย่ี ม
1. การมีคุณลักษณะและค่านยิ มท่ีดีตามท่สี ถานศึกษากำหนด
ยอดเยย่ี ม
2. ความภูมใิ จในทอ้ งถนิ่ และความเปน็ ไทย
ยอดเยี่ยม
3. การยอมรับท่จี ะอยู่ร่วมกนั บนความแตกตา่ งและหลากหลาย ยอดเยย่ี ม

4. สุขภาวะทางรา่ งกายและจิตสังคม ยอดเยี่ยม
ยอดเยี่ยม
มาตรฐาน กระบวนการบรหิ ารและการจัดการ ยอดเยี่ยม
ยอดเยย่ี ม
ท่ี 1. มีเปา้ หมายวิสัยทัศน์และพนั ธกจิ ท่สี ถานศึกษากำหนดชดั เจน
2 2. มรี ะบบบรหิ ารจัดการคุณภาพของสถานศกึ ษา ยอดเยยี่ ม

3. ดำเนนิ งานพฒั นาวชิ าการที่เนน้ คุณภาพผเู้ รียนรอบด้านตามหลกั สตู ร

สถานศกึ ษาและทกุ กลมุ่ เป้าหมาย

4. พัฒนาครูและบคุ ลากรให้มีความเชีย่ วชาญทางวิชาชพี

5. จดั สภาพแวดลอ้ มทางกายภาพและสังคมท่ีเออื้ ต่อการจดั การเรยี นรู้อย่าง

มีคุณภาพ

6. จัดระบบเทคโนโลยีสารสนเทศเพ่อื สนับสนุนการบริหารจดั การและการ

จัดการเรียนรู้

7. โรงเรยี นเพมิ่ เติมได.้ ..

มาตรฐาน กระบวนการจดั การเรียนการสอนท่ีเนน้ ผู้เรียนเปน็ สำคัญ

ท่ี 1. จดั การเรยี นรู้ผ่านกระบวนการคิดและปฏิบัตจิ ริง และสามารถนำไป

3 ประยุกตใ์ ชใ้ นชีวติ ได้

2. ใช้สือ่ เทคโนโลยสี ารสนเทศ และแหล่งเรียนรทู้ ่ีเออ้ื ต่อการเรยี นรู้

3. มีการบรหิ ารจดั การช้ันเรยี นเชงิ บวก

4. ตรวจสอบและประเมนิ ผ้เู รยี นอย่างเปน็ ระบบ และนำผลมาพฒั นาผเู้ รยี น

5. มีการแลกเปลยี่ นเรยี นรู้และใหข้ ้อมลู สะทอ้ นกลับเพอ่ื พฒั นาปรบั ปรุงการ

จดั การเรยี นรู้

6. โรงเรียนเพม่ิ เติมได.้ ..

สรปุ ผลการประเมนิ คณุ ภาพระดับการศกึ ษาขัน้ พน้ื ฐาน

*** สรุปผลการประเมินคุณภาพคดิ แบบเดียวกบั ระดบั ปฐมวยั ***

45

3. จุดเดน่
ระดบั ปฐมวยั (เขยี นเปน็ ขอ้ หรือเขยี นเป็นบรรยายรอ้ ยแก้ว)

คุณภาพของเดก็
1.เดก็ มพี ฒั นาการดา้ นร่างกาย แข็งแรง มีสขุ นสิ ัยท่ดี ี และดแู ลความปลอดภัยของตนเองได้
2.เด็กมีพัฒนาการดา้ นอารมณ์ จิตใจ ควบคุม และแสดงออกทางอารมณ์ไดด้ ี
3.เด็กชว่ ยเหลอื ตนเอง ในการปฏบิ ัตกิ จิ วตั รประจำวนั ได้ มวี นิ ยั ในตนเองดี
กระบวนการบรหิ ารและการจัดการ
1.มหี ลกั สตู รครอบคลุมพฒั นาการทั้ง ๔ ดา้ น สอดคลอ้ งกบั บริบทของท้องถ่ิน
2.จดั สภาพแวดล้อมและสื่อเพอ่ื การเรียนรูอ้ ย่างปลอดภัยและเพยี งพอ
3.จัดครใู ห้เพียงพอกบั ชัน้ เรียน
การจดั ประสบการณ์ทีเ่ นน้ เดก็ เปน็ สำคญั
1.จัดประสบการณ์ทีส่ ่งเสรมิ ให้เด็กมพี ฒั นาการทกุ ด้าน อย่างสมดลุ เตม็ ศักยภาพ
2.สรา้ งโอกาสใหเ้ ด็กไดร้ ับประสบการณ์ตรง เล่นและปฏบิ ัติอย่างมคี วามสขุ
3.จดั บรรยากาศทเ่ี ออ้ื ตอ่ การเรยี นรู้ ใช้สอ่ื และเทคโนโลยีที่เหมาะสมกับวัย


Click to View FlipBook Version