46
ระดบั การศึกษาขั้นพืน้ ฐาน (เขียนเป็นขอ้ หรือเขยี นเป็นบรรยายรอ้ ยแกว้ )
คณุ ภาพของผ้เู รียน
1. ผู้เรียนมผี ลสมั ฤทธิ์ทางการเรียน ความสามารถในดา้ นการอา่ น การเขยี น การสอ่ื สาร การคดิ คำนวณ อยูใ่ น
ตามเกณฑ์ที่สถานศกึ ษากาหนด ทกุ ระดบั ชั้น
2. ผู้เรยี นมที กั ษะในการแสวงหาองค์ความรดู้ ว้ ยตนเอง ใฝเ่ รียนร้แู ละพัฒนาตนเองอย่างตอ่ เนอ่ื ง ควบคู่ กบั การ
มีคุณธรรม จริยธรรม และค่านิยมทพี่ ึงประสงคพ์ ร้อมท่ีจะช่วยเหลือ แบ่งปนั สผู่ ู้ด้อยโอกาสในสังคม
3. ผูเ้ รยี นมีความประพฤติดา้ นคุณธรรม จรยิ ธรรม ค่านิยม จิตสงั คมและจิตสานกึ ตามท่สี ถานศกึ ษากำหนด โดย
ไม่ขดั กับกฎหมายและวัฒนธรรมอนั ดขี องสังคม ผเู้ รยี นปฏบิ ตั ติ ามกฎระเบียบ วนิ ัย ปรากฏชัดเจน
4. ผูเ้ รยี นเกิดการเรยี นรู้ในการการยอมรบั ทจี่ ะอยู่ร่วมกนั บนความแตกตา่ งและความหลากหลายโดยผ่านโครงการ
และ กิจกรรมต่าง ๆ
5. ผู้เรียนมสี ขุ ภาพกายและสขุ จิตท่ีดี เพราะโรงเรยี นขนุ หว้ ยตากพฒั นาศกึ ษามกี ารจัดบริการใหค้ าปรึกษาโดย
ไดร้ ับความอนุเคราะหจ์ ากโรงพยาบาลสง่ เสรมิ ตำบลบ้านหว้ ยพลู และมกี ารดแู ลสขุ ภาพ โภชนาการ และการ
ป้องกันโรคติดตอ่ อย่างเป็นระบบ
กระบวนการบรหิ ารและการจัดการ
1. โรงเรยี นขนุ หว้ ยตากพัฒนาศึกษามวี สิ ยั ทศั นแ์ ละแผนพัฒนาโรงเรียนทชี่ ัดเจน ไดร้ ับความร่วมมอื จากทุกภาค
ส่วน ทเ่ี ก่ยี วขอ้ งกบั การจดั การศึกษา ทัง้ ผูบ้ ริหาร ครู ผปู้ กครอง ในการวางแผนพฒั นาโรงเรียนอยา่ งต่อเนอ่ื งและ
เปน็ ระบบ
2. โรงเรียนขุนหว้ ยตากพัฒนาศกึ ษาส่งเสริมการเรยี นรูอ้ ย่างมีประสิทธภิ าพและเหมาะสมตามศักยภาพของผ้เู รยี น
โดยจดั สภาพแวดลอ้ มทั้งภายในและภายนอกห้องเรียนทีเ่ อ้ือต่อการเรียนรู้ จดั ระบบเทคโนโลยีท่ีทันสมัยและเป็น
ปจั จุบัน มีการพัฒนาระบบฐานขอ้ มลู เชิงเดย่ี วทใ่ี ช้ในปจั จบุ นั ควบคู่กับการพัฒนา เพอื่ สนับสนุนการสบื ค้นและ
การวเิ คราะห์
3. โรงเรียนขุนห้วยตากพัฒนาศึกษามีระบบการบริหารจดั การเรือ่ งมาตรการการแพร่ระบาดของโรคตดิ เช้ือไวรัส
โคโรนา่ 2019 (COVID-19) ตามขอ้ กาหนดของกระทรวงสาธารณสุขอยา่ งเครง่ ครัด มกี ารดาเนินงานตาม
มาตรฐานอย่างเป็นระบบ
4. โรงเรยี นขุนหว้ ยตากพัฒนาศึกษามกี ารน้อมนาหลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี งมาเปน็ แนวทางในการบริหาร
จดั การการเรียนการสอน การพัฒนาครลู งส่นู กั เรียน โดยการปลูกฝังแบบอย่างการพฒั นาชีวิตท่ียงั่ ยืน และมกี าร
เผยแพรส่ ู่ผู้ปกครอง ชุมชน
5. ครไู ด้รบั การพัฒนาเปน็ ครูมอื อาชพี ตามเกณฑ์มาตรฐานวิชาชพี ครทู ง้ั ทางด้านวชิ าการ ด้านคณุ ธรรม จริยธรรม
และด้านอ่ืนๆ
กระบวนการจัดการเรียนการสอนทเี่ นน้ ผ้เู รียนเปน็ สำคัญ
1. นกั เรียนไดเ้ รยี นรู้จากหอ้ งเรียนธรรมชาตทิ ี่ใหน้ กั เรียนคน้ คว้า หาความร้ดู ้วยการปฏิบัติจรงิ ซงึ่ ถือเป็น การ
เรียนร้แู บบ Active Leaning โดยนักเรยี นจะได้เรยี นรู้ ทกุ ขั้นตอนของการปฏิบัติ
2. ครูมีความโดดเด่นในการด้านการจดั การเรยี นการสอน และกิจกรรมทเ่ี นน้ ผเู้ รยี นเป็นศนู ยก์ ลาง เพ่ือพัฒนา
ทกั ษะกระบวนการคิดขน้ั สูง
3. ครไู ดร้ ับการอบรมใหม้ ีความรูใ้ นเร่อื งการจดั การเรยี นการสอน โดยเน้นผเู้ รียนเป็นสำคัญ
4. ครูได้จัดโครงการระบบดูแลชว่ ยเหลือผู้เรียนโดยครูประจำช้นั อกี ทง้ั ยังสง่ เสรมิ ใหผ้ ู้เรียนมที ักษะ ในการอยู่
ร่วมกบั ผูอ้ นื่ ไดอ้ ย่างมีความสขุ
47
4. จุดควรพฒั นา
ระดับปฐมวยั (เขียนเปน็ ขอ้ หรอื เขยี นเป็นบรรยายรอ้ ยแกว้ )
คณุ ภาพของเด็ก
1.ปลกู ฝงั ในเร่ืองสขุ นิสยั ที่ดี เชน่ การลา้ งมอื ก่อนรับประทานอาหาร ล้างมอื ก่อนออกจากหอ้ งน้ำ ห้องส้วม และ
การเลอื กรบั ประทานอาหารท่มี ีประโยชน์ ให้เปน็ นิสัย
2.ปลกู ฝงั ในเร่ืองสุขนิสัยที่ดี ใหเ้ ด็กเลือกรับประทานอาหารท่ีดีและมีประโยชนต์ ่อรา่ งกาย
3.เดก็ มีความมน่ั ใจในตนเอง กลา้ พูด กล้าแสดงออก ใช้ภาษาไทยในการสอื่ สารแทนภาษาถ่นิ อย่างสม่ำเสมอ
กระบวนการบรหิ ารและการจดั การ
1.สร้างเครือข่ายความร่วมมอื ของผู้มีสว่ นเกี่ยวขอ้ งในการจัดการศกึ ษาของโรงเรยี นใหม้ คี วามเขม้ แข็ง
2.มสี ว่ นร่วมรบั ผดิ ชอบต่อการจัดการศกึ ษาและการขับเคลอ่ื นคุณภาพการจัดการศกึ ษา
3.จดั ให้มีครูจบการศึกษาปฐมวัยและผ่านการอบรมการศกึ ษาปฐมวัย ครบชนั้ เรียน
การจดั ประสบการณ์ท่เี น้นเดก็ เปน็ สำคญั
1.ควรนำภมู ปิ ญั ญาท้องถนิ่ มาจัดกิจกรรมใหน้ กั เรียนได้เรียนรมู้ ากยงิ่ ขนึ้
2.ควรมกี ารให้ขอ้ มูลยอ้ นกลับแกน่ ักเรียนทันทเี พ่ือให้นักเรยี นไดน้ ำไปใชพ้ ัฒนาตนเองตอ่ ไป
3.มีนำผลการประเมินแลกเปลย่ี นเรยี นร้โู ดยใช้กระบวนการชมุ ชนแหง่ การเรียนรู้
ระดบั การศึกษาขัน้ พน้ื ฐาน (เขยี นเปน็ ขอ้ หรอื เขยี นเปน็ บรรยายรอ้ ยแกว้ )
คณุ ภาพของผู้เรียน
1. ควรเนน้ พัฒนาดา้ นวชิ าการท่ีเน้นคุณภาพผู้เรียนรอบดา้ นทุกกลุ่มเปา้ หมาย โดยเนน้ ผลการเรียนระดบั ชาติ ให้
มากข้นึ
2. ควรสง่ เสริมและสนับสนนุ การจัดกจิ กรรมเพ่อื ใหผ้ ู้เรยี นไดฝ้ ึกทักษะการคิดแก้ปัญหาไดด้ ว้ ยตนเองเพิ่มมากขึ้น
ทัง้ ในและนอกช่วั โมงเรยี น และทุกกลุ่มสาระวชิ า
กระบวนการบรหิ ารและการจัดการ
1. สรา้ งเครอื ข่ายความร่วมมือของผู้มีสว่ นเกย่ี วขอ้ งในการจดั การศกึ ษาของโรงเรียนใหม้ ีความเขม้ แข็ง มีส่วนการ
รับผดิ ชอบต่อผลการจดั การศึกษาและการขบั เคล่ือนคุณภาพการจัดการศกึ ษา
2. ควรพฒั นาระบบเทคโนโลยีสารสนเทศให้มีความสมบรู ณค์ รบถว้ น ทันสมัย เรยี กใชไ้ ดส้ ะดวก และตรงตาม
ความต้องการ เพื่อชว่ ยใหก้ ารดาเนนิ งานภายในโรงเรยี นมีประสิทธภิ าพมากยิง่ ขน้ึ
กระบวนการจัดการเรยี นการสอนท่เี น้นผูเ้ รียนเปน็ สำคัญ
1. ควรพฒั นาครูและบคุ ลากรทางการศึกษาใหม้ ีทักษะในการใช้เทคโนโลยีสอ่ื สารสนเทศที่ทันสมัย เพอื่ พร้อม ท่ี
จะเปน็ ผ้อู ำนวยความสะดวก (Facilitator) ให้แก่ผเู้ รียนมากยง่ิ ขึ้น
2. ครคู วรพัฒนาวชิ าชีพหรือ PLC เพื่อให้แลกเปล่ียนเรยี นรแู้ ละสร้างเครือข่ายในการพัฒนาการเรยี นการสอนที่
เน้นผูเ้ รียนเปน็ สำคญั รว่ มกัน
48
5. แนวทางการพฒั นา (เขยี นเป็นขอ้ หรอื เขยี นเปน็ บรรยายร้อยแก้ว)
ส่งเสรมิ ครูพัฒนากิจกรรมการเรยี นการสอนโดยใช้เทคโนโลยีเพื่อเพ่มิ ประสทิ ธิภาพและสร้างประสบการณ์
การเรียนร้ขู องผเู้ รยี นให้มากย่ิงขึ้น รวมทงั้ สร้างแรงจูงใจให้เกิดความม่งุ มนั่ ในการศึกษา เพอื่ ก้าวสู่ ความเปน็
เลิศทางวชิ าการ สนบั สนุนใหท้ กุ กลมุ่ สาระยกระดับผลสมั ฤทธิ์ทางการเรียน โดยใหค้ รทู ุกคน และผู้ปกครองเข้า
มามสี ว่ นรว่ ม เพมิ่ ประสิทธภิ าพในการจดั กจิ กรรมทีเ่ น้นทกั ษะการคิดแกป้ ญั หาไดด้ ้วยตนเองในทุกกลุม่ สาระ
การเรียนรู้ กำหนดวตั ถุประสงค์ของระบบการนเิ ทศการสอนตามหลกั สากลด้วยการใช้วงจรพัฒนา PDCA ใหม้ ี
ความชัดเจน เนน้ การพัฒนาการจัดการเรียนการสอนโดยนำ Feedback ท่ีได้จากการนิเทศแต่ละครั้งมา
ปรบั ปรุงแผนการสอนให้เปน็ รูปธรรมและมีประสิทธภิ าพ นำข้อมูลสารสนเทศมาใช้ในการพัฒนาและปรับปรงุ
อย่างต่อเนอ่ื งและเปน็ ระบบ
6. ความต้องการช่วยเหลอื (เขียนเปน็ ขอ้ หรอื เขยี นเปน็ บรรยายร้อยแกว้ )
ควรให้มีการอบรมเชิงปฏบิ ัติการในการสรา้ งขอ้ สอบทสี่ อดคลอ้ งกบั มาตรฐานการเรียนรู้ตาม
แนวทาง การประเมิน NT, O-NET ทกุ กลมุ่ สาระการเรียนรู้ และการทำสอบระดับชาตขิ องแต่ละระดับช้ัน
7.ความโดดเด่นของสถานศึกษา(ถา้ ม)ี
ความโดดเดน่ หมายถึง การดำเนนิ งานของสถานศกึ ษาทีส่ ง่ เสริมสถานศึกษาเปน็ ต้นแบบในการ
พัฒนาการจัดการศึกษาด้านต่างๆ เร่งรัดคุณภาพสถานศึกษาสู่การเป็นสถานศึกษาที่มีสมรรถนะสูงและ
พร้อมสำหรบั การแข่งขันระดับสากลในอนาคต
การพิจารณาความโดดเด่นให้พิจารณาจากสัดส่วน ร้อยละ เมื่อเทียบกับเด็กทั้งหมดของปริมาณ
ผลงานที่เป็นที่ยอมรับในวงวิชาการระดับท้องถิ่น ระดับภูมิภาค ระดับชาติหรือระดับนานาชาติอย่าง
ต่อเนื่อง (ทั้งนี้ กรณีที่ได้รับรางวัลให้ระบุข้อค้นพบที่แสดงถึงการบรรลุผลลัพธ์ที่ต้องการของ
สถานศกึ ษา หนว่ ยงานทมี่ อบรางวลั และระบุปีท่ไี ด้รับรางวัลโดยต้องไม่เกิน 2 ปี ย้อนหลัง)
กระบวนการพฒั นาความโดดเดน่ ของสถานศึกษา
-
49
ภาคผนวก
1. ประกาศโรงเรยี น เรือ่ ง การกำหนดมาตรฐานการศึกษาและค่าเป้าหมายความสำเรจ็ ของโรงเรยี น
ระดบั ปฐมวยั และระดับการศกึ ษาขน้ั พนื้ ฐาน
2. รายงานการประชุมหรือการใหค้ วามเหน็ ชอบ SAR ของคณะกรรมการบริหารโรงเรยี น
3. คำสง่ั แต่งตงั้ คณะทำงานจดั ทำ SAR
4. หลักฐานการเผยแพร่ SAR ใหผ้ ูม้ ีส่วนเกยี่ วขอ้ งหรอื สาธารณชนรบั ทราบ
5. แผนผังอาคารสถานท่ี
6. โครงสร้างการบริหารงานโรงเรียน
7. โครงสร้างหลกั สตู ร เวลาเรียน ของโรงเรียน
8. อืน่ ๆ หากโรงเรยี นต้องการแนบ
(ควรแสกนไฟลเ์ ปน็ ไฟล์ .pdf ใหพ้ รอ้ มตอ่ การแนบไฟล์ในระบบ)
50
ประกาศโรงเรียนขุนห้วยตากพัฒนาศกึ ษา
เร่ือง ให้ใช้มาตรฐานการศึกษา ระดบั ปฐมวยั และระดบั การศึกษาขั้นพ้ืนฐาน
เพอ่ื การประกนั คุณภาพภายในของสถานศกึ ษา
-------------------------------------------------------
โดยที่มีประกาศใช้กฎกระทรวงการประกนั คุณภาพการศึกษา พ.ศ. 2561 นโยบายการปฏิรูปการศกึ ษา
ในทศวรรษที่สองที่กำหนดเป้าหมายและยุทธศาสตร์การพัฒนาคุณภาพคนไทยและการศึกษาไทยในอนาคต
ประกอบกับมีนโยบายปฏิรูประบบการประเมินและการประกนั คุณภาพทั้งภายในและภายนอกของทุกระดับก่อน
จะมีการประเมนิ คุณภาพในรอบต่อไป จำเป็นต้องปรับปรุงมาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐานให้สอดคล้องกัน จึงให้
ยกเลกิ ประกาศกระทรวงศึกษาธกิ าร เรื่อง ให้ใชม้ าตรฐานการศึกษาระดับปฐมวัย เพือ่ การประกนั คุณภาพภายใน
ของสถานศกึ ษา ลงวันท่ี 27 กรกฎาคม พ.ศ. 2554 ประกาศกระทรวงศกึ ษาธิการ เรอ่ื ง ใหใ้ ช้มาตรฐานการศึกษา
ขัน้ พ้ืนฐาน เพ่อื การประกนั คณุ ภาพภายในของสถานศึกษา ลงวันท่ี 11 ตุลาคม พ.ศ. 2559
พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 และที่แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2545 มาตรา 9
(3) ได้กำหนดการจัดระบบ โครงสร้าง และกระบวนการจัดการศึกษาให้ยึดหลักสำคัญข้อหนึ่ง คือมีการกำหนด
มาตรฐานการศึกษา และจดั ระบบการประกันคุณภาพการศกึ ษาทกุ ระดับและประเภทการศกึ ษา โดยมาตรา 31ให้
กระทรวงมีอำนาจหน้าที่กำกับดูแลการศึกษาทุกระดับและทุกประเภท กำหนดนโยบาย แผน และมาตรฐาน
การศึกษาและมาตรา 48 ให้หน่วยงานต้นสังกัดและสถานศึกษาจัดให้มีระบบประกันคุณภาพภายในสถานศกึ ษา
และใหถ้ ือวา่ การประกนั คุณภาพภายในเปน็ สว่ นหนงึ่ ของการบริหารการศึกษาท่ตี ้องดำเนนิ การอย่างตอ่ เน่ือง โดยมี
การจัดทำรายงานประจำปีเสนอต่อหน่วยงานต้นสังกัดหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง และเปิดเผยต่อสาธารณชน เพ่ือ
นำไปสกู่ ารพัฒนาคุณภาพมาตรฐานการศึกษา และเพือ่ การรองรับการประกนั คุณภาพภายนอก
โรงเรียนขนุ หว้ ยตากพฒั นาศึกษาจึงประกาศให้ใช้มาตรฐานการศกึ ษา ระดบั ปฐมวัยและรับการศกึ ษาขั้นพื้นฐาน
เพ่อื การประกนั คุณภาพภายในของสถานศกึ ษา จำนวน 3 มาตรฐาน ตามเอกสารแนบทา้ ยประกาศนี้ เพือ่ เป็นเป้าหมาย
ในการพัฒนาคุณภาพการศึกษา ระดับปฐมวัย ระดับการศึกษาขั้นพื้นฐานและการประเมินคุณภาพ ภายในตั้งแต่ปี
การศึกษา 2562 เปน็ ตน้ ไป
ประกาศ ณ วนั ท่ี 16 เดือน พฤษภาคม พ.ศ. ๒๕64
(นายพภิ พ โพนสาลี)
ผูอ้ ำนวยการโรงเรียนขุนหว้ ยตากพฒั นาศึกษา
51
มาตรฐานการศกึ ษา ระดบั ปฐมวยั
แนบทา้ ยประกาศโรงเรยี นขุนห้วยตากพัฒนาศกึ ษา เร่ือง ให้ใชม้ าตรฐานการศกึ ษาข้ันพน้ื ฐาน ระดบั ปฐมวยั และ
ระดบั การศกึ ษาข้นั พื้นฐานเพ่อื การประกนั คณุ ภาพภายในของสถานศึกษา
ฉบบั ลงวันที่ 16 เดอื น พฤษภาคม พ.ศ. ๒๕64
.....................................
มาตรฐานการศกึ ษา ระดับปฐมวัย เพอ่ื การประกนั คุณภาพภายในของสถานศึกษา พ.ศ.๒๕61 มี
จำนวน 3 มาตรฐาน ได้แก่
มาตรฐานที่ 1 คุณภาพของเดก็
มาตรฐานที่ 2 กระบวนการบริหารและการจดั การ
มาตรฐานที่ 3 การจดั ประสบการณ์ทเ่ี น้นเด็กเปน็ สำคญั
แตล่ ะมาตรฐานมีรายละเอียดดังน้ี
มาตรฐานท่ี 1 คณุ ภาพของเดก็
1.1เด็กมีพฒั นาการด้านร่างกาย แขง็ แรง มีสขุ นสิ ยั ทด่ี ี และดูแลความปลอดภยั ของตนเองได้
1.2 เด็กมพี ฒั นาการด้านอารมณ์ จิตใจ ควบคุม และแสดงออกทางอารมณไ์ ด้
1.3 เด็กมพี ัฒนาการด้านสังคม ชว่ ยเหลือตนเอง และเป็นสมาชกิ ท่ีดีของสงั คม
1.4 เดก็ มพี ฒั นาการดา้ นสิตปิ ญั ญา ส่อื สารได้ มที ักษะการคิดพน้ื ฐาน และแสวงหาความรูไ้ ด้
มาตรฐานที่ 2 กระบวนการบรหิ ารและการจดั การ
2.1 โรงเรียนมหี ลกั สตู รครอบคลุมพฒั นาการทั้ง 4 ด้าน สอดคล้องกับบรบิ ทของทอ้ งถ่นิ
2.2 โรงเรยี นจัดครูใหเ้ พยี งพอกับช้นั เรียน
2.3 โรงเรยี นส่งเสริมใหค้ รมู คี วามเช่ียวชาญดา้ นการจัดประสบการณ์
2.4 โรงเรยี นจดั สภาพแวดล้อมและสอ่ื เพอื่ การเรียนรู้ อย่างปลอดภยั และเพยี งพอ
2.5 โรงเรียนให้บริการส่อื เทคโนโลยีสารสนเทศและสอื่ การเรยี นรูเ้ พื่อสนบั สนุนการจัดประสบการณ์
2.6 โรงเรียนมรี ะบบบริหารคณุ ภาพท่เี ปิดโอกาสให้ผู้เก่ียวขอ้ งทกุ ฝา่ ยมีสว่ นรว่ ม
มาตรฐานท่ี 3 การจัดประสบการณ์ทีเ่ น้นเด็กเป็นสำคัญ
3.1 ครูจัดประสบการณ์ทีส่ ง่ เสริมให้เด็กมีการพัฒนาการทุกดา้ นอยา่ งสมดุลเตม็ ศกั ยภาพ
3.2 ครสู รา้ งโอกาสใหเ้ ดก็ ได้รบั ประสบการณต์ รง เล่นและปฏิบัติอยา่ งมคี วามสุข
3.3 ครจู ัดบรรยากาศท่ีเออื้ ต่อการเรยี นร้ใู ชส้ อ่ื และเทคโนโลยีทีเ่ หมาะสมกับวัย
3.4 ครูประเมินพฒั นาการเดก็ ตามสภาพจริงและนำผลประเมนิ พัฒนาการเดก็ ไปปรบั ปรุง
การจัดประสบการณ์และพัฒนาเดก็
52
มาตรฐานการศึกษา ระดับการศึกษาขนั้ พ้นื ฐาน
แนบทา้ ยประกาศโรงเรียนขนุ ห้วยตากพฒั นาศกึ ษา เร่อื ง ใหใ้ ช้มาตรฐานการศึกษาขน้ั พน้ื ฐาน ระดับปฐมวัยและ
ระดบั การศกึ ษาข้นั พ้นื ฐานเพ่ือการประกันคุณภาพภายในของสถานศกึ ษา
ฉบบั ลงวันที่ 16 เดือน พฤษภาคม พ.ศ. ๒๕64
.....................................
มาตรฐานการศกึ ษาขน้ั พ้ืนฐาน เพื่อการประกันคุณภาพภายในของสถานศกึ ษา พ.ศ.๒๕61 มีจำนวน
3 มาตรฐาน ดังนี้
มาตรฐานท่ี ๑ คณุ ภาพของผู้เรยี น
๑.๑ ผลสมั ฤทธ์ิทางวิชาการของผู้เรยี น
๑.๒ คุณลกั ษณะทพี่ งึ ประสงคข์ องผ้เู รยี น
มาตรฐานที่ 2 กระบวนการบริหารและการจัดการ
มาตรฐานที่ 3 กระบวนการจัดการเรยี นการสอนทเี่ นน้ ผู้เรียนเป็นสำคญั
แตล่ ะมาตรฐานมรี ายละเอยี ดดงั น้ี
มาตรฐานที่ 1 คณุ ภาพของผเู้ รยี น
๑.๑ ผลสมั ฤทธท์ิ างวิชาการของผู้เรยี น
๑) นกั เรยี นมีความสามารถในการอา่ น การเขยี น การส่ือสารตามเกณฑ์ท่ีสถานศึกษากำหนด
2) นักเรยี นมคี วามสามารถคิดคำนวณไดต้ ามเกณฑท์ ส่ี ถานศกึ ษากำหนด
3) นกั เรียนมีความสามารถในการวิเคราะหแ์ ละคิดอยา่ งมีวิจารณญาณ อภิปราย แลกเปลย่ี นความคดิ เห็น และ
แก้ปญั หาไดต้ าเกณฑ์
4) นกั เรียนมผี ลงานหรือชนิ้ งานจากการทำงานกล่มุ หรือเดี่ยวได้ และสามารถอธบิ ายหลกั การแนวคดิ
ขัน้ ตอนการทำงานและปัญหาอุปสรรคของการทำงานได้
5) นกั เรียนสามารถใชเ้ ทคโนโลยสี ารสนเทศในการสืบค้นข้อมลู ได้
๖) นักเรยี นมผี ลสัมฤทธิ์ทางการเรยี นตามหลักสูตรสถานศกึ ษา
๗) นักเรยี นมีความรู้ ทกั ษะพน้ื ฐานและเจตคตทิ ีด่ ีพรอ้ มที่จะศกึ ษาต่อในระดบั ช้ันท่ีสูงขน้ึ
๑.๒ คณุ ลกั ษณะทีพ่ ึงประสงคข์ องผเู้ รียน
๑) นกั เรียนมีคุณลักษณะและคา่ นิยมท่ีดตี ามเกณฑท์ ่สี ถานศึกษากำหนด
๒) นกั เรยี นมสี ่วนร่วมในกิจกรรมประเพณีของท้องถ่ินและมคี วามภูมใิ จในความเปน็ ไทย
๓) นกั เรยี นอย่รู ว่ มกนั อยา่ งมีความสุขบนความแตกต่างทางวฒั นธรรมและความหลากหลาย
๔) นกั เรียนมีสขุ ภาพร่างกายทแี่ ขง็ แรงสมบูรณ์และแสดงออกอยา่ งเหมาะสมตามชว่ งวัย
มาตรฐานที่ ๒ กระบวนการบริหารและการจัดการ
2.๑. โรงเรียนกำหนดเปา้ หมายวิสัยทัศน์ และพันธกจิ ทช่ี ัดเจน
๒.2 โรงเรียนมีระบบบรหิ ารจัดการคณุ ภาพของสถานศกึ ษาตามระบบ PDCA
2.3 โรงเรยี นมีการพฒั นาวชิ าการตามคุณภาพผู้เรยี นตามหลักสูตรสถานศึกษาทุกกลุ่มเป้าหมาย
2.4 โรงเรยี นส่งเสรมิ และสนับสนนุ พัฒนาครแู ละบุคลากรใหม้ คี วามเชี่ยวชาญทางวชิ าชพี
2.5 โรงเรียนจัดสภาพแวดล้อมทางกายภาพและสภาพแวดล้อมทางสังคมที่เอื้อต่อการจัดการเรียนรู้อย่างมี
คณุ ภาพ
2.6 โรงเรยี นจัดระบบเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อสนับสนุนการบรหิ ารจดั การและการจัดการเรียนรู้
มาตรฐานที่ ๓ กระบวนการจดั การเรยี นการสอนที่เน้นผเู้ รียนเป็นสำคัญ
3.1 ครูสามารถจัดการเรยี นรูใ้ หน้ ักเรยี นเกิดกระบวนการคิดและคดิ สรา้ งสรรค์โดยการปฏบิ ัติจริงและ
53
สามารถนำไปประยุกตใ์ ช้ในชวี ติ ได้
3.2 ครสู ามารถใชส้ ือ่ เทคโนโลยสี ารสนเทศ และแหลง่ เรียนรู้ที่หลากหลายทเ่ี อื้อตอ่ การเรียนรู้
3.3 ครูมกี ารบริหารจัดการชั้นเรียนเชิงบวก
3.4 ครมู ีการตรวจสอบและประเมินผเู้ รียนอยา่ งเปน็ ระบบและนำผลมาพฒั นาผเู้ รยี น
3.5 ครูมกี ารแลกเปลี่ยนเรียนรแู้ ละให้ข้อมลู สะท้อนกลบั เพื่อพัฒนาและปรับปรงุ การจดั การเรียนรู้
54
การกำหนดค่าเปา้ หมายตามมาตรฐานการศกึ ษา ระดับปฐมวยั
เพอื่ การประกนั คณุ ภาพภายในโรงเรียนขุนหว้ ยตากพฒั นาศกึ ษา ปีการศกึ ษา 2564
******************************************************
มาตรฐาน สพฐ. 3 มาตรฐาน คา่ เปา้ หมาย
ปีการศึกษา 2564
มาตรฐานท่ี 1 คุณภาพของเด็ก ยอดเยย่ี ม
1.1 มกี ารพัฒนาด้านร่างกาย แขง็ แรง มีสุขนสิ ยั ท่ีดี และดูแลความปลอดภัยตนเองได้ 90
1.2 มีการพัฒนาดา้ นอารมณ์ จิตใจ ควบคมุ และแสดงออกทางอารมณ์ได้ 80
1.3 มีการพฒั นาการด้านสงั คม ชว่ ยเหลอื ตนเอง และเปน็ สมาชกิ ที่ดีของสังคม 80
1.4 มพี ฒั นาการดา้ นสติปัญญา สอื่ สารได้ ทักษะการคิดพน้ื ฐานและแสวงหาความรู้ได้ 80
มาตรฐานที่ 2 กระบวนการบรหิ ารและจัดการ ยอดเย่ยี ม
2.1 มีหลกั สตู รครอบคลุมพัฒนาการทงั้ 4 ด้าน สอดคล้องกับบรบิ ททอ้ งถน่ิ 90
2.2 จัดครใู ห้เพียงพอกบั ช้นั เรยี น 80
2.3 ส่งเสริมให้ครมู ีความเชยี่ วชาญด้านการจดั ประสบการณ์ 80
2.4 จดั สภาพแวดล้อมและส่ือเพือ่ การเรียนรู้ อยา่ งปลอดภัยและเพยี งพอ 90
2.5 ใหบ้ รกิ ารส่อื เทคโนโลยีสารสนเทศและส่ือการเรียนรู้เพ่ือสนบั สนนุ การจัดประสบการณ์ 90
2.6 มีระบบบรหิ ารคณุ ภาพท่ีเปดิ โอกาสให้ผเู้ กย่ี วขอ้ งทุกฝ่ายมีส่วนร่วม 80
มาตรฐานที่ 3 การจัดประสบการณ์ท่ีเนน้ เดก็ เปน็ สำคญั ยอดเยย่ี ม
3.1 จัดประสบการณ์ท่ีสง่ เสริมให้เดก็ มีพัฒนาการทุกด้านอยา่ งสมดุลเต็มศกั ยภาพ 90
3.2 สรา้ งโอกาสใหเ้ ด็กไดร้ บั ประสบการณต์ รง เล่นและปฏบิ ัติอยา่ งมีความสขุ 90
3.3 จดั บรรยากาศทีเ่ ออ้ื ตอ่ การเรียนรใู้ ช้สื่อเทคโนโลยีที่เหมาะสมกับวยั 90
3.4 ประเมนิ พฒั นาการเดก็ ตามสภาพจริงและนำผลประเมนิ พฒั นาการเด็กไปปรับปรุงการจดั 90
ประสบการณแ์ ละพฒั นาเดก็
สรุปผลการประเมินในภาพรวมของสถานศกึ ษา ยอดเยย่ี ม
เกณฑก์ ารตัดสินคุณภาพของมาตรฐานมี 5 ระดับ ระดบั คณุ ภาพ
ค่ารอ้ ยละ ระดับกำลังคุณภาพ
ระดับปานกลาง
น้อยกว่ารอ้ ยละ 60.00
ร้อยละ 60.00-69.99 ระดบั ดี
รอ้ ยละ 70.00-79.99 ระดบั ดเี ลศิ
ร้อยละ 80.00-89-99 ระดับยอดเย่ียม
ร้อยละ 90.00 ขนึ้ ไป
55
การกำหนดคา่ เป้าหมายตามมาตรฐานการศกึ ษา ระดบั การศึกษาข้นั พ้ืนฐาน
เพ่อื การประกนั คุณภาพภายในโรงเรียนขนุ ห้วยตากพัฒนาศึกษา ปกี ารศกึ ษา 2564
******************************************************
มาตรฐาน สพฐ. 3 มาตรฐาน ค่าเป้าหมาย
ปกี ารศึกษา 2564
1.คณุ ภาพผเู้ รยี น ดีเลศิ
ดีเลศิ
1.1 ผลสัมฤทธ์ิทางวิชาการของผเู้ รยี น 80
80
1) มคี วามสามารถในการอ่าน การเขียน การสื่อสารและการคิดคำนวณ
80
2) มีความสามารถในการคิดวิเคราะห์ คิดอยา่ งมีวิจารณญาณ อภปิ ราย แลกเปลี่ยนความคดิ เห็นและ 80
80
แก้ปญั หา 80
ดีเลิศ
3) มีความสามารถในการสร้างนวัตกรรม 80
90
4) มีความสามารถในการใชเ้ ทคโนโลยีสารสนเทศและการสอ่ื สาร 80
90
5) ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนตามหลกั สูตรสถานศกึ ษา ยอดเย่ยี ม
90
6) มคี วามรู้ ทกั ษะพนื้ ฐาน และเจตคติทีด่ ีต่องานอาชพี 80
80
1.2 คุณลกั ษณะอันพงึ ประสงค์ของผู้เรยี น 90
90
1) มีคณุ ลักษณะและคา่ นยิ มท่ดี ีตามที่สถานศกึ ษากำหนด 80
ดเี ลิศ
2) มีความภมู ใิ จในทอ้ งถิ่นและความเปน็ ไทย 80
80
3) ยอมรับทจี่ ะอยู่ร่วมกันบนความแตกต่างและหลากหลาย 80
80
4) มีสขุ ภาวะทางรา่ งกายและจติ สงั คม 80
ดเี ลศิ
2.กระบวนการบรหิ ารและการจัดการ
2.1 เปา้ หมาย วิสัยทัศน์ และพันธกจิ ทสี่ ถานศกึ ษากำหนดชัดเจน
2.2 มีระบบบรหิ ารจัดการคุณภาพของสถานศกึ ษา
2.3 ดำเนนิ งานพัฒนาวิชาการทเี่ น้นคุณภาพผ้เู รียนรอบด้านตามหลักสูตรสถานศึกษา
2.4 พฒั นาครูและบุคลากรใหม้ คี วามเชี่ยวชาญทางอาชพี
2.5 จดั สภาพแวดล้อมทางกายภาพและสงั คมที่เอื้อต่อการจดั การเรียนรู้
2.6 จัดระบบเทคโนโลยสี ารสนเทศเพอ่ื สนบั สนุนการบริหารจดั การและการจัดการเรียนรู้
3.กระบวนการจดั การเรียนการสอนทเ่ี นน้ ผเู้ รียนเป็นสำคญั
3.1 จดั การเรยี นรผู้ า่ นกระบวนการคิดและการปฏิบตั ิจรงิ และสามารถนำไปประยุกต์ใช้ในการดำเนินชีวิต
3.2 ใชส้ อื่ เทคโนโลยแี ละแหลง่ เรยี นรทู้ ่เี อ้ือต่อการเรยี นรู้
3.3 มีการบรหิ ารจัดการช้ันเรียนเชิงบวก
3.4 ตรวจสอบและประเมินผเู้ รยี นอยา่ งเปน็ ระบบ และนำผลมาพัฒนาผเู้ รียน
3.5 มีการแลกเปล่ยี นเรยี นรูแ้ ละใหข้ อ้ มูลปอ้ นกลบั เพอื่ ปรบั ปรุงและพฒั นาการจัดการเรยี นรู้
สรปุ ผลการประเมนิ ในภาพรวมของสถานศกึ ษา
เกณฑก์ ารตดั สินคุณภาพของมาตรฐานมี 5 ระดับ
ค่าร้อยละ ระดบั คุณภาพ
น้อยกว่าร้อยละ 60.00 ระดบั กำลงั คณุ ภาพ
รอ้ ยละ 60.00-69.99 ระดบั ปานกลาง
ร้อยละ 70.00-79.99 ระดับดี
ร้อยละ 80.00-89-99 ระดบั ดีเลศิ
รอ้ ยละ 90.00 ขึน้ ไป ระดับยอดเยยี่ ม
56
คำสั่งโรงเรียนขนุ ห้วยตากพัฒนาศึกษา
ท่ี 121 / ๒๕๖4
เร่ือง แตง่ ตงั้ และมอบหมายบุคลากรรับผดิ ชอบมาตรฐานและประเด็นการศกึ ษาเพ่อื
การรายงานผลการปฏิบัติงานการประเมินตนเอง (SAR) ประจำปกี ารศกึ ษา ๒๕๖4
*********************************************************
ตามประกาศกฎกระทรวงว่าด้วยระบบ หลักเกณฑ์ และวิธกี ารประกนั คุณภาพการศึกษา พ.ศ. ๒๕๖๑ มี
นโยบายให้ปฏิรูประบบการประเมินและการประกันคุณภาพทั้งภายในและภายนอกของทุกระดับก่อนจะมีการ
ประเมินคุณภาพในรอบต่อไป จำเปน็ ต้องปรบั ปรุงมาตรฐานการศึกษาขั้นพนื้ ฐานใหส้ อดคลอ้ งกัน
ทางโรงเรยี นขนุ ห้วยตากพฒั นาศกึ ษา จงึ จดั บุคลากรทางการศึกษาของโรงเรียนเป็นผู้รับผิดชอบมาตรฐาน
การศกึ ษาปฐมวัย ๓ มาตรฐาน ๑๔ ประเดน็ และมาตรฐานการศึกษาขน้ั ฐาน ๓ มาตรฐาน ๒๑ ประเด็น เพ่ือให้
มขี ้อมลู อย่างครบถว้ นเพ่ือเตรยี มรองรับการประเมนิ คุณภาพการศึกษาจากองค์กรมหาชน(สมศ.) จึงขอมอบหมาย
และแต่งต้งั ผู้รบั ผดิ ชอบมาตรฐานตา่ งๆ ดงั นี้
คณะอำนวยการ
๑. นายพิภพ โพนสาลี ผู้อำนวยการโรงเรยี น ประธานคณะทำงาน
๒. นางสาวอินทอุ ร ดีวงั ทอง รองผู้อำนวยการ รองประธานคณะทำงาน
๒. นางทุติยภรณ์ โพรง้ พนม ครู คศ.2 คณะทำงาน
๓. นางสาวบษุ บา คำมี ครู คศ.๑ คณะทำงาน
๔. นางมธรุ ส เฟอื งผ้งึ ครู คศ.2 คณะทำงานและเลขานุการ
๔. นางสาวเบญจวรรณ กนั ทาธง ครู คศ. 1 คณะทำงานและผู้ชว่ ยเลขานกุ าร
บคุ ลากรทางการศกึ ษาทีร่ บั ผิดชอบมาตรฐานและประเด็นการพัฒนา
มาตรฐานการศึกษาปฐมวัย ๓ มาตรฐาน ๑๔ ประเด็น
มาตรฐานที่ ๑ คุณภาพของเดก็
นางสาวบษุ บา คำมี หัวหนา้ มาตรฐานท่ี ๑
๑.๑ มีพฒั นาการด้านรา่ งกาย แขง็ แรง มีสขุ นสิ ยั ที่ดี และดูแลความปลอดภยั ของตนเองได้
นางสาวบษุ บา คำมี
๑.๒ มีพัฒนาการด้านอารมณ์ จิตใจ ควบคุม และแสดงออกทางอารมณไ์ ด้
นางสาวสุดารัตน์ เจ๊กพ่วง
๑.๓ มพี ฒั นาการด้านสังคม ช่วยเหลอื ตนเอง และเปน็ สมาชกิ ทีด่ ีของสังคม
นางบษุ บา แย้มชู
๑.๔ มพี ฒั นาการด้านสติปัญญา ส่อื สารได้ มีทักษะการคดิ พนื้ ฐาน และแสวงหาความรไู้ ด้
นางสาวบษุ บา คำมี
นางสาวสุดารตั น์ เจก็ พว่ ง
57
มาตรฐานท่ี ๒ กระบวนการบรหิ ารและการจัดการ นางทตุ ยิ ภรณ์ โพร้งพนม หวั หน้ามาตรฐานท่ี 2
๒.๑ มีหลกั สูตรครอบคลมุ พฒั นาการทัง้ ๔ ดา้ น สอดคล้องกบั บรบิ ทของทอ้ งถ่นิ
๒.๒ จัดครใู ห้เพียงพอกับชนั้ เรียน
๒.๓ ส่งเสรมิ ให้ครูมีความเช่ยี วชาญด้านการจดั ประสบการณ์
๒.๔ จัดสภาพแวดล้อมและส่ือเพื่อการเรียนรู้ อย่างปลอดภัย และเพยี งพอ
๒.๕ ให้บริการสือ่ เทคโนโลยีสารสนเทศและสอื่ การเรยี นรเู้ พอ่ื สนบั สนุนการจัดประสบการณ์
๒.๖ มรี ะบบบรหิ ารคณุ ภาพท่ีเปิดโอกาสให้ผู้เก่ยี วข้องทกุ ฝา่ ยมีส่วนร่วม
นางทุติยภรณ์ โพรง้ พนม
นางสาวเบญจวรรณ กันทาธง
นายปภงั กร เฮอื นทา
มาตรฐานที่ ๓ การจดั ประสบการณ์ที่เนน้ เดก็ เปน็ สำคญั
นางสาวบุษบา คำมี หัวหนา้ มาตรฐานท่ี ๓
๓.๑. จดั ประสบการณ์ทีส่ ง่ เสริมใหเ้ ด็กมีพฒั นาการทุกดา้ นอยา่ งสมดุลเตม็ ศักยภาพ
นางสาวบษุ บา คำมี
๓.๒ สรา้ งโอกาสให้เด็กได้รบั ประสบการณ์ตรง เล่นและปฏิบตั ิอยา่ งมีความสุข
นางสาวบษุ บา คำมี
๓.๓ จดั บรรยากาศทีเ่ อื้อตอ่ การเรยี นรูใ้ ช้สอื่ และเทคโนโลยที เี่ หมาะสมกบั วัย
นางนางสาวสดุ ารัตน์ เจก็ พ่วง
๓.๔ ประเมินพฒั นาการเดก็ ตามสภาพจริงและนำผลการประเมนิ พัฒนาการเด็กไปปรบั ปรุง การจัด
ประสบการณ์และพฒั นาเดก็
นางสาวบษุ บา คำมี
นางสาวสุดารัตน์ เจ๊กพว่ ง
นางบุษบา แยม้ ชู
มาตรฐานการศึกษาขั้นฐาน ๓ มาตรฐาน ๒๑ ประเด็น
มาตรฐานท่ี ๑ คณุ ภาพผเู้ รียน นางมธรุ ส เฟืองผ้ึง หัวหน้ามาตรฐานที่ 1
๑.๑ ผลสัมฤทธท์ิ างวิชาการของผเู้ รียน
๑) มีความสามารถในการอา่ น การเขียน การสอื่ สาร และการคิดคำนวณ
นางสาวเบญจวรรณ กนั ทาธง
๒) มีความสามารถในการคิดวเิ คราะห์ คิดอยา่ งมวี ิจารณญาณ อภิปรายแลกเปล่ียน ความคดิ เหน็ และ
แกป้ ญั หา
นางมธรุ ส เฟืองผึง้
๓) มคี วามสามารถในการสร้างนวัตกรรม
นางสาวไพนารนิ เยน็ ใจ
นายนยิ ม เฟอื งผงึ้
๔) มคี วามสามารถในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสอ่ื สาร
นายนรนิ ทรฤ์ ทธ์ิ เถินบรุ นิ ทร์
นางสาวพชิ ญา อองกลุ นะ
58
๕) มีผลสมั ฤทธิ์ทางการเรียนตามหลกั สตู รสถานศึกษา
นางสาวเบญจวรรณ กันทาธง
นางมธุรส เฟอื งผง้ึ
๖) มีความรู้ ทักษะพ้นื ฐาน และเจตคติท่ีดีต่องานอาชีพ
นายกิตตพิ ฒั น์ แซย่ า่ ง
นางสาวพัทธานันท์ ประเทศ
๑.๒ คณุ ลักษณะที่พึงประสงคข์ องผเู้ รยี น
๑) การมคี ณุ ลกั ษณะและค่านิยมทีด่ ตี ามทสี่ ถานศึกษากำหนด
นายศุภกร นาคม
นายไตรวุฒิ แกว้ เขยี ว
๒) ความภมู ใิ จในทอ้ งถิ่นและความเป็นไทย
นายธนันต์ แซ่ยา่ ง
นายศรณั ย์ แซย่ า่ ง
๓) การยอมรบั ทจ่ี ะอยู่ร่วมกนั บนความแตกต่างและหลากหลาย
นายกติ ตพิ ฒั น์ แซ่ยา่ ง
นายศรัณย์ แซ่ย่าง
๔) สุขภาวะทางร่างกาย และจติ สงั คม
นายปภังกร เฮือนทา
นายไตรวฒุ ิ แกว้ เขยี ว
มาตรฐานที่ ๒ กระบวนการบริหารและการจัดการ นางทุตยิ ภรณ์ โพรง้ พนม หวั หน้ามาตรฐานท่ี 2
๒.๑ มเี ปา้ หมายวิสยั ทัศนแ์ ละพนั ธกจิ ท่สี ถานศึกษากำหนดชัดเจน
๒.๒ มรี ะบบบริหารจดั การคุณภาพของสถานศึกษา
๒.๓ ดำเนนิ งานพฒั นาวิชาการทเ่ี นน้ คุณภาพผู้เรยี นรอบดา้ นตามหลักสูตรสถานศกึ ษา และทุกกล่มุ เป้าหมาย
๒.๔ พัฒนาครแู ละบคุ ลากรใหม้ ีความเชี่ยวชาญทางวชิ าชพี
๒.๕ จัดสภาพแวดลอ้ มทางกายภาพและสังคมท่ีเอื้อต่อการจดั การเรียนรู้อยา่ งมคี ุณภาพ
๒.๖ จัดระบบเทคโนโลยสี ารสนเทศเพอ่ื สนับสนุนการบริหารจัดการและ การจัดการเรียนรู้
นางทตุ ยิ ภรณ์ โพรง้ พนม
นางสาวเบญจวรรณ กนั ทาธง
นายปภังกร เฮอื นทา
มาตรฐานที่ ๓ กระบวนการจัดการเรียนการสอนที่เนน้ ผเู้ รยี นเปน็ สำคญั
นางมธุรส เฟืองผง้ึ หัวหนา้ มาตรฐานท่ี 3
๓.๑ จดั การเรียนรผู้ ่านกระบวนการคิดและปฏิบตั ิจรงิ และสามารถนำไปประยุกต์ใช้ในชวี ติ ได้
นายนรินทร์ฤทธิ์ เถินบรุ นิ ทร์
นายปภงั กร เฮอื นทา
๓.๒ ใชส้ ่ือ เทคโนโลยีสารสนเทศ และแหล่งเรยี นรู้ทเ่ี อือ้ ต่อการเรียนรู้
นางสาวพิชญา อองกุลนะ
59
นายหัสดินทร์ แสงวนัส
๓.๓ มีการบริหารจัดการชน้ั เรียนเชิงบวก
นางทุตยิ ภรณ์ โพรง้ พนม
นายเจนณรงค์ โตเอี่ยม
๓.๔ ตรวจสอบและประเมนิ ผู้เรียนอยา่ งเปน็ ระบบ และนำผลมาพฒั นาผเู้ รยี น
นางมธรุ ส เฟืองผง้ึ
นางสาวเบญจวรรณ กันทาธง
๓.๕ มกี ารแลกเปลี่ยนเรยี นรแู้ ละใหข้ อ้ มูลสะทอ้ นกลบั เพือ่ พฒั นาและปรบั ปรงุ การจัดการเรยี นรู้
นางมธรุ ส เฟืองผง้ึ
นางสาวเบญจวรรณ กนั ทาธง
ใหค้ ณะทำงานท่ีไดร้ บั การแต่งต้งั ตามคำสงั่ ปฏิบัติหนา้ ท่ีตามที่ไดร้ ับมอบหมายอย่างเคร่งครดั ถูกตอ้ ง
และสำเร็จตามวัตถปุ ระสงค์ เพอ่ื ประโยชนข์ องทางราชการเป็นสำคัญ
ทงั้ น้ีตั้งแตว่ นั ที่ 14 เดอื น ธันวาคม พ.ศ. 2564
สัง่ ณ วันท่ี 14 เดอื น ธนั วาคม พ.ศ. 2564
( นายพภิ พ โพนสาลี )
ผูอ้ ำนวยการโรงเรียนขุนห้วยตากพฒั นาศกึ ษา
60
61
โครงสรา้ งและอัตราเวลาการจัดการเรียนรู้
หลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนขุนหว้ ยตากพัฒนาศกึ ษาพทุ ธศกั ราช 25๖๑
ตามหลกั สูตรแกนกลางการศึกษาขนั้ พนื้ ฐาน พทุ ธศักราช ๒๕๕๑ (ฉบบั ปรับปรงุ พ.ศ. ๒๕๖4)
ระดบั ชัน้ ประถมศึกษา
เวลาเรียน
กล่มุ สาระการเรยี นรู/้ กิจกรรม ระดับประถมศึกษา
ป. ๑ ป. ๒ ป. ๓ ป. ๔ ป. ๕ ป. ๖
กลมุ่ สาระการเรยี นรู้ ๑๖๐
๑๖๐
๑. ภาษาไทย ๑๖๐ ๑๖๐ ๑๖๐ ๑๖๐ ๑๖๐ ๘๐
๑๒๐
๒. คณิตศาสตร์ ๑๖๐ ๑๖๐ ๑๖๐ ๑๖๐ ๑๖๐ ๔๐
๓. วิทยาศาสตร์ ๘๐ ๘๐ ๘๐ ๘๐ ๘๐ ๘๐
๔. สังคมศกึ ษาศาสนาและวฒั นธรรม ๑๒๐ ๑๒๐ ๑๒๐ ๑๒๐ ๑๒๐ ๘๐
๘๐
-ประวตั ศิ าสตร์ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๘๐
-ศาสนา ศลี ธรรม จริยธรรม ๘๐
๘๔๐
-หน้าทพ่ี ลเมอื ง วัฒนธรรม ๘๐ ๘๐ ๘๐ ๘๐ ๘๐ ๑๒๐
และการดำเนนิ ชวี ติ ในสังคม ๔๐
๓๐
-เศรษฐศาสตร์ ๔๐
๑๐
-ภูมิศาสตร์
40
๕. สุขศึกษาและพลศกึ ษา ๘๐ ๘๐ ๘๐ ๘๐ ๘๐ 40
๖. ศลิ ปะ ๘๐ ๘๐ ๘๐ ๘๐ ๘๐
๗. การงานอาชพี และเทคโนโลยี ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๘๐ ๘๐
๘. ภาษาต่างประเทศ ๑๒๐ ๑๒๐ ๑๒๐ ๘๐ ๘๐
รวมเวลาเรยี น (พ้ืนฐาน) ๘๔๐ ๘๔๐ ๘๔๐ ๘๔๐ ๘๔๐
กจิ กรรมพัฒนาผเู้ รยี น ๑๒๐ ๑๒๐ ๑๒๐ ๑๒๐ ๑๒๐
๑. กิจกรรมแนะแนว ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐
๒. ลกู เสือ – เนตรนารี ๓๐ ๓๐ ๓๐ ๓๐ ๓๐
๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐
๓. กจิ กรรมชมุ นุม ๑๐ ๑๐ ๑๐ ๑๐ ๑๐
๔. กิจกรรมเพื่อสังคม และ
สาธารณประโยชน์ ๔๐ ชวั่ โมง
รายวิชาเพม่ิ เตมิ - - - 40 40
๑. ภาษาไทย 40 40 40 40 40
2. ต้านทจุ รติ
๑,๐๔๐ ช่ัวโมง/ปี
รวมเวลาเรยี นทัง้ หมด
62
โครงสร้างและอตั ราเวลาการจดั การเรียนรู้
หลกั สูตรสถานศกึ ษาโรงเรยี นขุนห้วยตากพฒั นาศกึ ษาพุทธศักราช 25๖๑
ตามหลกั สูตรแกนกลางการศึกษาขนั้ พ้ืนฐาน พทุ ธศักราช ๒๕๕๑ (ฉบับปรับปรงุ พ.ศ. ๒๕๖4)
ระดับช้ันมธั ยมศึกษาตอนตน้
เวลาเรยี น
กล่มุ สาระการเรยี นรู้/ กจิ กรรม ระดับมธั ยมศึกษาตอนต้น
ม. ๑ ม. ๒ ม. ๓
กลมุ่ สาระการเรียนรู้
๑. ภาษาไทย ๑๒๐ (๓ นก.) ๑๒๐ (๓ นก.) ๑๒๐ (๓ นก.)
๒. คณิตศาสตร์ ๑๒๐ (๓ นก.) ๑๒๐ (๓ นก.) ๑๒๐ (๓ นก.)
๓. วิทยาศาสตร์ ๑๖๐ (๔ นก.) ๑๖๐ (๔ นก.) ๑๖๐ (๔ นก.)
๔. สงั คมศึกษา ศาสนา และวฒั นธรรม ๑๖๐ (๔ นก.) ๑๖๐ (๔ นก.) ๑๖๐ (๔ นก.)
-ประวัติศาสตร์ ๔๐ ๔๐ ๔๐
-ศาสนา ศีลธรรม จริยธรรม ๑๒๐ ๑๒๐ ๑๒๐
-หนา้ ท่พี ลเมอื ง วัฒนธรรม
และการดำเนินชีวิตในสงั คม
-เศรษฐศาสตร์
-ภมู ิศาสตร์
๕. สุขศึกษาและพลศึกษา ๘๐ (๒นก.) ๘๐ (๒ นก.) ๘๐ (๒ นก.)
๖. ศิลปะ ๘๐ (๒นก.) ๘๐ (๒ นก.) ๘๐ (๒ นก.)
- ดนตร/ี นำฎศิลป์
๗. การงานอาชพี และ เทคโนโลยี ๔๐ (๑ นก.) ๔๐ (๑ นก.) ๔๐ (๑ นก.)
๘. ภาษาต่างประเทศ ๑๒๐ (๓ นก.) ๑๒๐ (๓ นก.) ๑๒๐ (๓ นก.)
รวมเวลาเรยี น (พน้ื ฐาน) ๘๘๐(๒๒นก.) ๘๘๐(๒๒นก.) ๘๘๐(๒๒นก.)
กจิ กรรมพัฒนาผเู้ รยี น ๑๒๐ ๑๒๐ ๑๒๐
๑. กิจกรรมแนะแนว ๔๐ ๔๐ ๔๐
๒. ลกู เสอื – เนตรนารี 35 35 35
๓. กจิ กรรมชุมนุม 3๐ 3๐ 3๐
๔. กจิ กรรมเพ่ือสงั คม ฯ ๑5 ๑5 ๑5
รายวชิ าเพ่ิมเตมิ ปีละ ๒๐๐ ชัว่ โมง
1. วิทยาการคำนวณ ๘๐ (๒นก.) ๘๐ (๒นก.) ๘๐ (๒นก.)
2.. ตา้ นทุจรติ ๔๐ (๑นก.) ๔๐ (๑นก.) ๔๐ (๑นก.)
3. การงานอาชีพ ๘๐ (๒นก.) ๘๐ (๒นก.) ๘๐ (๒นก.)
รวมเวลาเรียนทั้งหมด ๑,๒๐๐ ชั่วโมง/ปี
63
64
65
66
67
68
69
70
71
72
73
74
75
76
77
78
79
80
81
82
83
84