The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

กลุ่มพัฒนาการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย สำนักงาน กศน.

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by maw.nfe, 2020-04-17 05:09:33

ทักษะการประกอบอาชีพ อช11002 ประถม

กลุ่มพัฒนาการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย สำนักงาน กศน.

Keywords: หนังสือเรียน กศน.

หนงั สือเรียนสาระการประกอบอาชีพ

รายวชิ า ทกั ษะการประกอบอาชีพ

(อช11002)

ระดบั ประถมศึกษา
(ฉบบั ปรับปรุง พ.ศ. 2560)

หลกั สูตรการศึกษานอกระบบระดบั การศึกษาข้นั พ้นื ฐาน
พทุ ธศกั ราช 2551

สานกั งานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั
สานกั งานปลดั กระทรวงศึกษาธิการ
กระทรวงศึกษาธิการ

ห้ามจาหน่าย

หนงั สือเรียนเล่มน้ีจดั พิมพด์ ว้ ยเงินงบประมาณแผน่ ดินเพื่อการศึกษาตลอดชีวติ สาหรับประชาชน ลิขสิทธ์ิ
เป็นของ สานกั งาน กศน. สานกั งานปลดั กระทรวงศึกษาธิการ

เอกสารทางวชิ าการลาดบั ที่ 27/2555

หนงั สือเรียนสาระการประกอบอาชีพ

รายวชิ า ทกั ษะการประกอบอาชีพ (อช11002)

ระดบั ประถมศึกษา
ฉบบั ปรับปรุง พ.ศ. 2560

ลิขสิทธ์ิเป็นของ สานกั งาน กศน. สานกั งานปลดั กระทรวงศึกษาธิการ
เอกสารทางวชิ าการลาดบั ท่ี 27/2555

คํานํา

กระทรวงศึกษาธิการไดประกาศใชหลักสูตรการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน
พุทธศกั ราช 2551 เมือ่ วนั ที่ 18 กนั ยายน พ.ศ. 2551 แทนหลักเกณฑและวิธกี ารจดั การศึกษานอกโรงเรยี น
ตามหลกั สูตรการศึกษาข้ันพน้ื ฐาน พุทธศักราช 2544 ซึ่งเปนหลักสูตรที่พัฒนาข้ึนตามหลักปรัชญาและ
ความเช่ือพนื้ ฐานในการจดั การศึกษานอกโรงเรียน ที่มีกลุมเปาหมายเปนผูใหญมีการเรียนรูและสั่งสม
ความรู และประสบการณอยางตอ เนอื่ ง

ในปงบประมาณ 2554 กระทรวงศึกษาธิการไดกําหนดแผนยุทธศาสตรในการขับเคลื่อน
นโยบายทางการศึกษาเพ่ือเพ่ิมศักยภาพและขีดความสามารถในการแขงขันใหประชาชนไดมีอาชีพท่ี
สามารถสรางรายไดท ีม่ ง่ั ค่งั และมัน่ คง เปนบุคลากรท่ีมีวินัย เปยมไปดวยคุณธรรมและจริยธรรม และมี
จิตสาํ นกึ รับผิดชอบตอ ตนเองและผอู ่นื สํานกั งาน กศน. จงึ ไดพ ิจารณาทบทวนหลักการ จดุ หมาย มาตรฐาน
ผลการเรียนรทู ี่คาดหวัง และเนือ้ หาสาระ ทัง้ 5 กลุมสาระการเรียนรู ของหลักสูตรการศึกษานอกระบบ
ระดับการศกึ ษาขนั้ พืน้ ฐาน พุทธศกั ราช 2551 ใหมีความสอดคลอ งตอบสนองนโยบายกระทรวงศึกษาธิการ
ซึง่ สงผลใหต องปรบั ปรงุ หนังสือเรียนโดยการเพ่ิมและสอดแทรกเน้ือหาสาระเกี่ยวกับอาชีพ คุณธรรม
จรยิ ธรรมและการเตรียมพรอ ม เพือ่ เขา สปู ระชาคมอาเซียน ในรายวิชาที่มีความเกี่ยวของสัมพันธกัน แต
ยังคงหลักการและวิธีการเดิมในการพัฒนาหนังสือที่ใหผูเรียนศึกษาคนควาความรูดวยตนเอง ปฏิบัติ
กจิ กรรม ทาํ แบบฝกหัด เพื่อทดสอบความรูความเขาใจ มีการอภิปราย แลกเปล่ียนเรียนรูกับกลุม หรือ
ศกึ ษาเพ่มิ เตมิ จากภมู ปิ ญ ญาทองถิ่น แหลง การเรียนรแู ละสอ่ื อ่ืน

การปรับปรงุ หนังสอื เรยี นในครั้งน้ี ไดรบั ความรวมมอื อยา งดยี ่ิงจากผูทรงคณุ วฒุ ใิ นแตล ะสาขาวิชา
และผเู ก่ียวขอ งในการจัดการเรียนการสอนที่ศึกษาคนควา รวบรวมขอมูลองคความรูจากส่ือตาง ๆ มา
เรยี บเรยี งเนื้อหาใหครบถว นสอดคลองกับมาตรฐาน ผลการเรียนรูที่คาดหวัง ตัวช้ีวัดและกรอบเน้ือหา
สาระของรายวชิ า สํานักงาน กศน. ขอขอบคุณผูม สี ว นเกยี่ วของทุกทานไว ณ โอกาสน้ี และหวังวา หนงั สือเรียน
ชุดนจี้ ะเปน ประโยชนแกผูเรียน ครู ผูสอน และผูเกี่ยวของในทุกระดับ หากมีขอเสนอแนะประการใด
สาํ นกั งาน กศน. ขอนอมรบั ดว ยความขอบคุณย่ิง

สารบญั หนา

คํานาํ 1
คําแนะนําการใชห นงั สือเรยี น
โครงสรางรายวชิ าทกั ษะการประกอบอาชีพระดบั ประถมศกึ ษา 2
บทท่ี 1 ทกั ษะในการเขา สูอ าชพี 5
10
เรอ่ื งท่ี 1 ความจําเปนในการฝก ทกั ษะอาชพี กระบวนการผลติ 14
กระบวนการตลาดท่ใี ชน วัตกรรม เทคโนโลยี 17
23
เรอ่ื งท่ี 2 ความหมาย ความสําคัญของการจดั การอาชีพ 24
เรื่องท่ี 3 แหลงเรยี นรแู ละสถานทฝ่ี ก อาชพี
เรื่องท่ี 4 การวางแผนในการฝก ทกั ษะอาชีพ 31
เรื่องท่ี 5 การฝก ทกั ษะอาชพี 35
บทท่ี 2 การทําแผนธรุ กิจเพอื่ การเขา สอู าชีพ 39
เรื่องท่ี 1 การวเิ คราะหชุมชน 40
เร่ืองท่ี 2 การกําหนดวสิ ยั ทัศน พนั ธกจิ เปา หมาย กลยทุ ธ 46
49
ในการกําหนดแผนธรุ กจิ ชมุ ชน 52
เรือ่ งที่ 3 การวางแผนปฏบิ ัตกิ าร 55
บทที่ 3 การจดั การการผลติ และการบรกิ าร 56
เรอ่ื งท่ี 1 การจดั การเกยี่ วกับการควบคุมคณุ ภาพ 62
เรอื่ งที่ 2 การใชน วัตกรรมเทคโนโลยใี นการผลติ 66
เรอ่ื งท่ี 3 การลดตนทนุ การผลิตและการบรกิ าร 67
เรอ่ื งที่ 4 การจดั ทาํ แผนการจัดการการผลติ และการบรกิ าร 70
บทที่ 4 การจดั การการตลาด 73
เรอ่ื งท่ี 1 การจดั การการตลาด 75
เรื่องที่ 2 การจดั ทาํ แผนการจัดการการตลาด
บทท่ี 5 การขบั เคลือ่ นสรางธุรกิจเพื่อเขา สอู าชพี
เรอ่ื งที่ 1 การวเิ คราะหค วามเปน ไปไดข องแผนปฏิบัตกิ าร
เรื่องที่ 2 การพฒั นาแผนปฏบิ ัตกิ าร
เรื่องท่ี 3 ขน้ั ตอนการขับเคลอื่ นการสรา งธุรกจิ
เร่ืองที่ 4 ปญ หา อปุ สรรค และแนวทางแกไข

บทที่ 6 โครงการเขาสูอาชพี หนา
เรื่องที่ 1 ความสําคัญของโครงการประกอบอาชพี 80
เร่อื งท่ี 2 ข้นั ตอนการเขยี นโครงการประกอบอาชีพ
เรื่องที่ 3 การเขียนแผนปฏิบัตกิ ารประกอบอาชพี 81
เร่อื งที่ 4 การตรวจสอบโครงการประกอบอาชพี 83
90
บรรณานุกรม 92
93

คําแนะนําการใชห นงั สอื เรียน

หนังสือเรียนสาระการประกอบอาชีพ รายวิชาทักษะการประกอบอาชีพ ระดับประถมศึกษา
เปน แบบเรยี นท่จี ัดทาํ ข้ึน สาํ หรบั ผเู รียนทเ่ี ปน นักศกึ ษานอกระบบ

ในการศึกษาหนงั สือเรยี นสาระการประกอบอาชีพ รายวชิ าทกั ษะการประกอบอาชีพ ผูเรียนควร
ปฏบิ ตั ดิ งั น้ี

1. ศึกษาโครงสรางรายวิชาใหเขาใจในหัวขอและสาระสําคัญ มาตรฐานการเรียนรู ระดับผลการ-
เรยี นรูทค่ี าดหวงั และขอบขา ยเนือ้ หาของรายวชิ านน้ั ๆ โดยละเอยี ด

2. ศึกษารายละเอียดเนื้อหาของแตละบทอยางละเอียด และทํากิจกรรมตามที่กําหนด
แลวตรวจสอบกบั แนวตอบกิจกรรมตามทีก่ าํ หนด ถาผเู รียนตอบผดิ ควรกลับไปศกึ ษาและทําความเขาใจ
ในเนอ้ื หานน้ั ใหมใหเ ขาใจ กอนท่ีจะศึกษาเรือ่ งตอ ๆ ไป

3. ครูควรทบทวนสาระสําคัญของสาระการประกอบอาชพี ใหผเู รียนสามารถเชือ่ มโยงระหวา ง
รายวชิ าได ทาํ ใหค วามเขาใจตอ เนื่องกบั รายวิชาทกั ษะการประกอบอาชีพ

4. หนังสือเรียนเลมนี้เนนการจัดการเรียนรูในลักษณะกระบวนการสวนใหญ จะยกตัวอยาง
อาชีพเกษตรกรรม แตอ าชพี อื่น ๆ ก็สามารถนาํ กระบวนการไปใชได

5. หนงั สือเรยี นเลมนมี้ ี 6 บท คอื
บทที่ 1 ทกั ษะในการเขา สอู าชีพ
บทที่ 2 การทําแผนธรุ กจิ เพ่อื การเขา สอู าชีพ
บทที่ 3 การจัดการการผลิตหรือการบรกิ าร
บทท่ี 4 การจัดการการตลาด
บทท่ี 5 การขับเคลือ่ นสรางธรุ กิจเพอื่ เขา สอู าชีพ
บทที่ 6 โครงการเขาสอู าชพี

โครงสร้างรายวชิ าทกั ษะการประกอบอาชีพ

สาระสําคญั

ทักษะการประกอบอาชีพ ชวยใหผปู ระกอบการสามารถดาํ เนินการในอาชีพที่ตนเลือก
ใหบรรลุเปาหมาย ซ่ึงการจัดการประกอบอาชีพจะประสบความสําเร็จได จะตองมีความรูความเขาใจ
ในเรอ่ื ง ทกั ษะในการเขาสอู าชีพ การทําแผนธรุ กิจเพอ่ื การเขาสอู าชพี การจดั การการผลติ หรอื การบริการ
การจัดการการตลาด การขับเคล่อื นสรางธุรกจิ เพอ่ื เขา สอู าชพี ตลอดจนการจัดทาํ แผน และโครงการเขา สู
อาชีพทีเ่ หมาะสมถูกตอ ง

ผลการเรียนรทู ่ีคาดหวัง
1. อธบิ ายทกั ษะท่เี กยี่ วกับกระบวนการผลติ กระบวนการตลาดที่ใชนวัตกรรม
เทคโนโลยี ในอาชีพทต่ี ัดสินใจเลอื กได
2. ยอมรบั และเหน็ คณุ คาในการฝก ทกั ษะการเขาสูอาชีพ
3. ปฏิบตั กิ ารวิเคราะหทักษะในอาชพี ท่ีตัดสินใจเลือก
4. อธบิ ายความหมาย ความสาํ คญั ของการจดั การอาชพี ได
5. ดําเนินการจัดทําแผนธุรกจิ ดานการจดั การการผลิตหรือการบริการ และดา นการ
จดั การการตลาด และการขับเคลอ่ื นธรุ กจิ ตามแนวคิดปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี งได
6. ยอมรบั และเห็นคุณคาในการจดั การเขา สูธุรกิจอยา งมคี ุณธรรม
7. ปฏบิ ัตกิ ารจัดทําแผนและโครงการเขา สอู าชีพได

ขอบขา ยเนื้อหา ทักษะในการเขา สอู าชีพ
บทที่ 1 การทาํ แผนธรุ กจิ เพ่อื การเขา สอู าชพี
บทที่ 2 การจดั การการผลิตหรือการบรกิ าร
บทท่ี 3 การจดั การการตลาด
บทที่ 4 การขับเคลื่อนสรา งธุรกจิ เพอ่ื เขาสอู าชพี
บทที่ 5 โครงการเขา สอู าชพี
บทที่ 6

สอื่ ประกอบการเรยี นรู
1. ใบความรู
2. ใบงาน
3. แหลงเรียนรดู า นประกอบธรุ กจิ และการตลาด

1

บทท่ี 1

ทกั ษะในการเขา สูอาชพี

สาระสําคัญ
กระบวนการผลิตกระบวนการตลาดทใ่ี ชน วัตกรรมเทคโนโลยี การจัดการทนุ และระบบการจัดการ

เพ่ือการประกอบอาชีพโดยประยุกตใชภูมิปญญา สํารวจแหลงเรียนรูและสถานท่ีฝกทักษะ เพื่อการ
ประกอบอาชีพ การวางแผนในการฝกทักษะอาชีพ

ตวั ชว้ี ัด
1. อธิบายความจําเปนในการฝกทกั ษะอาชพี กระบวนการผลติ กระบวนการตลาดทใี่ ช
นวตั กรรม เทคโนโลยี
2. อธบิ ายความหมาย ความสําคญั ของการจัดการอาชีพและระบบการจดั การ เพอื่ การเขา สู
อาชีพ
3. สาํ รวจแหลงเรยี นรูแ ละสถานทฝี่ กทกั ษะเพื่อการเขาสูอาชพี
4. วางแผนในการฝก ทกั ษะอาชีพ
5. ฝก ทักษะอาชีพตามแผนทก่ี ําหนดไวได โดยมกี ารบนั ทกึ ขนั้ ตอนการฝก ทกุ ข้ันตอน

ขอบขายเน้อื หา
เรือ่ งที่ 1 ความจําเปน ในการฝก ทกั ษะอาชพี กระบวนการผลิต กระบวนการตลาดทใี่ ช
นวตั กรรม เทคโนโลยี
เร่อื งที่ 2 ความหมาย ความสําคญั ของการจดั การอาชพี
เรอ่ื งท่ี 3 แหลง เรยี นรแู ละสถานท่ฝี ก อาชีพ
เรอ่ื งที่ 4 การวางแผนในการฝกทกั ษะอาชพี
เร่ืองท่ี 5 การฝก ทกั ษะอาชีพ

สอื่ ประกอบการเรยี นรู
ใบความรู
1. ใบงาน
2. แหลง เรียนรู

2

เรือ่ งที่ 1

ความจําเปนในการฝก ทกั ษะอาชพี กระบวนการผลิต กระบวนการตลาด
ที่ใชนวตั กรรม เทคโนโลยี

ในการผลิตสินคาทุกประเภท ทั้งภาคเกษตรกรรมและภาคอุตสาหกรรม กระบวนการผลิต
กระบวนการตลาด จําเปนตอ งดําเนินกิจกรรมควบคูกันไป จะผลิตอะไรตองมีการนําเสนอผลงานหรือ
ชิน้ งานจากน้นั จึงมีการสั่งจองสินคาเพื่อผูผลิตจะไดทราบความตองการทั้งดานขนาด คุณภาพ ปริมาณ
และราคาของสินคาท่ีเปน ธรรม เพื่อผผู ลิตทีจ่ ะไดคาํ นวณตน ทุน เพอ่ื การตกลงในการผลิตสินคาน้ัน ถาเปน
เกษตรกรจะปลกู พืชชนดิ หน่ึงเกษตรกรจะตอ งไปศกึ ษาหาความรูของพชื ชนิดนน้ั อยางถกู ตอ ง เร่อื งพันธุ
ทต่ี อ งการของตลาด ดนิ ฟา อากาศเปน อยางไร ชว งฤดูกาลใด ปรมิ าณผลผลติ ตอ ไร การเตรยี มดิน การปลูก
การดแู ลรักษา ความตอ งการใชป ุยหมกั เกษตรกรจะตองคดิ คน สูตรปุยหมักที่พืชชนิด นั้น มีความตองการ
ธาตุอาหารท่ีถูกตอง จึงเปนสูตรปุยหมักใหม ทําใหเกิดเปนนวัตกรรมปุยหมักข้ึน ชวงแรกอาจจะใช
แรงงานคนในการทําปุยหมัก เพราะความตองการในปริมาณไมมาก ตอ มามคี วามตอ งการปริมาณมากข้นึ
จาํ เปน ตอ งซื้อเคร่ืองผสมปยุ หมกั เคร่อื งอัดเมด็ ปุยหมกั การพรวนดิน จําเปนตองใชเครื่องพรวนดิน เพื่อ
ลดคา แรงงาน ทําใหม ีการใชเ ทคโนโลยขี ้นึ

ดงั นัน้ กระบวนการผลิต กระบวนการตลาด ไมส ามารถแยกจากกันได จะทําใหผูผลิตสามารถผลิต
สินคา ไดตามความตองการของตลาด ไมใ ชป ลกู พชื ตามใจชอบหรือตามคนอื่น แลวคอยไปหาตลาดจึงเกิด
ปญ หาสนิ คาราคาถูก จําหนายไมได เพราะมปี รมิ าณมากและคุณภาพไมตรงกับความตองการของตลาด
ทาํ ใหเกิดการประทวงเปนประจํา

ทจี่ ังหวัดสระแกว ไดร วมกลมุ เกษตรกรปลกู หนอไมฝรั่ง
อินทรีย เพ่ือการสงออก เกิดจากปญ หาการปลูกมนั สาํ ปะหลัง
และขาวโพดเลี้ยงสัตว ไมไดราคา ทําใหเกษตรกร ดังกลาว
ชวยกนั คิดหาทางแกไข จึงไดขอสรุปตองปลูกพืชที่ตลาด
ตองการจงึ พากันไปศึกษาดูงานการปลูกหนอไมฝร่ังที่จังหวัด
นครปฐม พอไดแ นวความคิดแลว ก็ปรับเปลี่ยนจากการใช
ปุย เคมี สารเคมปี อ งกนั กําจดั โรคและแมลง มาเปนเกษตรแบบ
อินทรีย มีการอบรมความรูเรื่องตาง ๆ เกี่ยวกับการปลูก
หนอไมฝรง่ั และเกษตรอินทรียกับวิทยากร ผูรู ในสาขาตาง ๆ
พรอมกบั หาบริษัทที่มคี วามตองการที่จะรับซื้อสินคามีการ
ตกลงราคาซื้อ ขาย การคัดเกรด กําหนดปริมาณกอนทําการ
ปลูก มีการทําสัญญาซื้อขายลวงหนา ครั้งละ 3 ป ทําให
เกษตรกรมีความม่นั ใจวาผลิตออกมาแลวขายไดแ นน อน มี

3

การจายคาผลผลิตอาทิตยละครั้งโอนเงินผานบัญชีของ
ธนาคารโดยตรง เม่ือทําไดระยะหน่ึง เกิดปญหาเรื่องการทํา
ปุยหมัก เพราะเกษตรกรไมมีเวลาท่ีจะไปหาวัสดุ และการ
ทาํ ปุย หมัก จึงมกี ารตกลงรวมหนุ เพื่อจัดตั้งกลุมผลิตปุยหมัก
ขึ้นโดยสูตรปุยเกิดจากเกษตรท่ีไดผลผลิตมาก นําองค
ความรูของแตละคนมารวมกัน จึงไดสูตรปุยที่มีความ
เหมาะสมกับหนอไมฝรั่ง มีการสงปุยหมักไปวิเคราะหหา
ธาตุอาหาร ความเปนกรดดาง และอื่น ๆ ท่ีสํานักงานวิจัย
และพฒั นาพชื สวนจนั ทบรุ ี

มกี ารลดตนทุนในการใชปุยหมักลงแตเดิมจะใช
จํานวน 300 กโิ ลกรัมตอ ไร 20 วันครง้ั โดยการนาํ ปยุ หมัก
จํานวน20 กโิ ลกรมั ไปแชในน้ํา200 ลิตร เปนเวลา 7-15 วัน
จาํ นวน 100 กิโลกรัม ใชเครื่องพน ยาแรงดันสูงและหัวฉีด
อัดท่ีปุยน้ําในดิน ทําใหตนหนอไมฝรั่ง สามารถนําไปใช
ไดเลย เดิมใชการหวานลงบนดิน เวลาใหน้ําอาจมีการ
ไหลชะลา งไปได

คณุ ธรรมและคุณสมบตั ทิ ่ดี ขี องผมู อี าชีพในกระบวนการผลิต
1. ซื่อสัตยต อ ผบู ริโภค
2. รักษาคุณภาพของสินคา ใหค งท่ี และปรับปรงุ ใหด ขี นึ้
3. ไมป ลอมปนสนิ คา หรือปลอมสินคา
4. ไมก ักตนุ สินคา
5. ไมเอาเปรยี บแรงงาน

6. มคี วามรู ความชํานาญในอาชพี ของตนเองเปนอยา งดี
7. มคี วามรักในอาชพี ของตนเอง เมือ่ เกดิ ปญหาตองไมท อถอย
8. มีความเชอ่ื มั่นในตนเอง เพอ่ื สามารถตดั สนิ ใจไดทันตอเหตุการณบ างอยาง
9. มีความคดิ ริเร่มิ และมมี นุษยสมั พนั ธท่ีดี
คุณธรรมและคณุ สมบัตทิ ดี่ ขี องผูมอี าชีพในกระบวนการตลาด
1. ไมห วงั กําไรเกนิ ควร 2. ซ่อื สัตย และจรงิ ใจตอผูซอ้ื
3. ไมปลอมปนเพอื่ ทํากําไร 4. ไมโ กง ราคา

5. จาํ หนา ยสินคา ท่คี วบคุมคุณภาพ 6. จาํ หนายสนิ คาที่ไดมาตรฐาน
7. ไมกักตุนสินคา

4

ใบงานท่ี 1

ใหผเู รียนเขยี นบรรยายงานหรืออาชีพท่ีมอี ยูในทองถน่ิ มา 1 อาชีพ ท่ีมีการใชก ระบวนการผลิต
กระบวนการตลาดทีใ่ ชน วตั กรรม เทคโนโลยที เี่ หมาะสมมาพอสงั เขป

.......................................................................................................................................................
.....................................................................................................................................................................
.....................................................................................................................................................................
.....................................................................................................................................................................
.....................................................................................................................................................................
.....................................................................................................................................................................
.....................................................................................................................................................................
.....................................................................................................................................................................
.....................................................................................................................................................................
.....................................................................................................................................................................
.....................................................................................................................................................................
.....................................................................................................................................................................
.....................................................................................................................................................................
.....................................................................................................................................................................
.....................................................................................................................................................................
.....................................................................................................................................................................
.....................................................................................................................................................................
.....................................................................................................................................................................
.....................................................................................................................................................................
.....................................................................................................................................................................
.....................................................................................................................................................................
.....................................................................................................................................................................
.....................................................................................................................................................................
.....................................................................................................................................................................
.....................................................................................................................................................................
.....................................................................................................................................................................
.....................................................................................................................................................................
.....................................................................................................................................................................

5

เรือ่ งท่ี 2
ความหมาย ความสําคญั ของการจดั การอาชพี

อาชีพ หมายถึง หนาท่ีการงานท่ีพึงประสงคตอสังคม และสรางผลตอบแทนที่
เปน รายไดตรงตามความตองการเพื่อการดํารงชีวิต โดยเฉพาะอยางยิ่งในปจจุบันมีการแขงขันกันมาก
อาชีพตาง ๆ จําเปนตองมีความรูความสามารถ ความชํานาญ ทั้งภาคทฤษฎี และปฏิบัติ ผูท่ีประสบ
ผลสาํ เร็จในอาชพี ของตนเอง จะตองมีการคนควา หาความรูจากแหลงเรียนรูตาง ๆ เพื่อเพ่ิมพูนความรู
ความสามารถ ใหสอดคลอ งกับการเปลี่ยนแปลงอยูตลอดเวลา การที่จะจัดการอาชีพใหไดผลสําเร็จนั้น
จําเปนตอ งมปี จจยั หลายดา น เชน

1. การหาขอมูลจากเอกสารในแหลง ตาง ๆ
2. ส่อื จากวิทยุ โทรทศั น หนังสือพิมพ
3. ศึกษาจากแหลงเรียนรูในอาชีพนัน้ ๆ
4. พบผรู ู ภมู ปิ ญญาในชมุ ชน
5. มีการทดลอง วิเคราะห เพ่อื จดั การอาชพี น้ัน
ดงั นั้น การจดั การอาชีพทสี่ ําคัญ คอื ตอ งรวู าตนเองมคี วามรู ความสามารถ ความถนดั
ความชํานาญ และมีคุณสมบตั ิเหมาะสมกับอาชพี นนั้

การจัดการ หมายถึง กระบวนการในการบริหารงาน โดยอาศยั บุคคลอนื่ ทํางาน เพื่อให
บรรลุวัตถุประสงคทตี่ งั้ ไวอยา งมปี ระสิทธภิ าพ

การจัดการอาชีพ หมายถึง กระบวนการในการจัดกิจกรรมงานอาชีพ นับต้ังแต
การวางแผน การจัดองคการ การตัดสินใจ การส่ังการ การควบคุม การติดตามผล เพ่ือใหไดผลผลิต
หรอื บริการที่เปน ทต่ี อ งการของลกู คา และไดร บั การยอมรบั จากสังคม

คุณลักษณะที่สําคญั ในการจัดการอาชพี
1. มีความคิดริเริ่มสรางสรรค ชางคิด รูจักดัดแปลงส่ิงตาง ๆ ที่เปนสิ่งเกิดขึ้นใหม

มคี วามแปลกใหมน า สนใจ ซ่ึงเกดิ ขึ้นไดหากเปนคนชา งสังเกต และสามารรวบรวมความรูหลาย ๆ ดาน
เขา ดว ยกนั

2. มีความเพยี รพยายาม เปน ลักษณะทสี่ ําคญั มากทจ่ี ะทาํ ใหการประกอบอาชีพ
ประสบความสําเรจ็

3. มีความอดทน ผูที่อดทนเปนผูท่ีไมยอมแพอะไรงาย ๆ นั่นคือ เปนผูที่จะทําอะไร
ตองมีเปาหมายความสําเร็จไวลวงหนา ปรารถนาอยางแรงกลาท่ีจะไปถึงเปาหมายท่ีต้ังไว
และปฏิบัติจริงเม่ือพบกับความลมเหลวก็ไมยอทอ ฟนฝาอุปสรรค และนําผลของการลมเหลวมาเปน
บทเรียน และแกไ ขปรับปรงุ ใหด ขี นึ้

6

4. มคี วามเชื่อมั่นในตนเอง ในการประกอบอาชีพ ตองเปนผูมีความเชื่อมั่นในตนเอง
กลาทําในส่ิงทีค่ วรทํา โดยคาํ นึงถึงสง่ิ ดังตอ ไปน้ี

4.1. มขี อมลู ทด่ี ี
4.2. ศกึ ษาหาความรอู ยเู สมอ
4.3. รูจ ักวเิ คราะห และตดั สนิ ใจจากขอมลู ดว ยตนเอง
4.4. เก็บขอ มลู และเร่ืองท่ีตดั สินใจ เพื่อใชเ ปน แนวทางในการตดั สินใจไดถูกตอง
5. มีความรอบรู และทันสมยั ในการประกอบอาชีพ ตองเปนผูท่ีมีความรอบรู โดยการ
ติดตามขาวสาร และแสวงหาความรูอยเู สมอ
6. สามารถสื่อสารไดดีมีประสิทธิภาพ เพราะการส่ือสารมีความสําคัญตอการเขาใจ
ในการตดิ ตอ ซ่งึ กันและกัน การสอ่ื สารที่มีคุณภาพจะนําไปสูการยอมรับ และปฏิบัติตามความคาดหวัง
ของผูสง สาร ในทางตรงขา มหากการสื่อสารบกพรองก็จะเกิดการปฏบิ ัตใิ นส่ิงที่ผสู ง สารไมตอ งการได
7. มีมนษุ ยสมั พนั ธท่ดี ี ซง่ึ เปนคณุ ลกั ษณะทส่ี าํ คัญอกี ประการหนงึ่ ของผปู ระกอบอาชพี
การมีมนุษยสัมพันธท ําใหล ูกคาสนใจท่ีจะคาขายดวย หรือทําธุรกิจรวมกัน รวมไปถึงผูรวมงานเต็มใจ
ท่ีจะทํางานดวย การมีมนุษยส ัมพันธจงึ เปน โอกาสทจ่ี ะทาํ ใหก ารประกอบอาชพี มีความสาํ เรจ็ มากย่งิ ขน้ึ
8. กลาเส่ียงอยางมีเหตุผล ผูประกอบอาชีพโดยเฉพาะผูลงทุนประกอบอาชีพ
ของตนเอง ตองกลาที่จะตัดสินใจลงทุน กลาตัดสินใจในการทํางาน กลาเสี่ยง แตจะเปนการเสี่ยง
โดยศกึ ษาขอมลู อยา งรอบคอบแลว
9. ความซ่ือสัตย การประกอบอาชีพทุกอยางจะตองทําดวยความซื่อสัตย สุจริต
เพื่อจะไดเ ปนทเี่ ชอ่ื ใจแกล กู คา หรอื ผทู ีม่ าติดตอธุรกจิ
10. ความรับผิดชอบ การประกอบอาชีพจําเปนอยางย่ิงท่ีจะตองมีความรับผิดชอบ
ทั้งกับลูกคา สังคม และสภาพแวดลอม ซึ่งก็หมายถึงการมคี ุณธรรมน่ันเอง

ความสําคัญของการจัดการอาชพี มีดังน้ี
1. มรี ายได ที่สามารถตอบสนองความตอ งการเพื่อการดาํ รงชวี ติ ของตนเอง และครอบครัว
2. อยูในสังคมได เมอ่ื มีอาชพี ทด่ี ี และสจุ รติ ทําใหส งั คมยกยองและใหเ กียรติ สามารถ

สรา งประโยชนใ หกับครอบครวั และสังคมได
3. มีเวลาในการทํางานอยางเต็มท่ี การมีอาชีพท่ีดี และสุจริต เปนการใชเวลาท่ีตนเอง

มอี ยูใ หเกิดประโยชนมากที่สุด
4. เศรษฐกิจของประเทศดีขึ้น เม่ือคนมีอาชีพที่สุจริต ทําใหเกิดรายได จึงเปน

สวนสําคัญในการพฒั นาประเทศ สงผลทาํ ใหรายไดเ ฉลย่ี ของประชากรสูงขึ้น
5. มีคุณภาพชีวิตดีข้นึ ตามหลกั ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียง

7

ประเภทของอาชีพ
อาชีพมอี ยูห ลากหลายประเภท และมีลักษณะงานที่แตกตางกัน การเลือกอาชีพขึ้นอยู

กับความชอบของแตละบุคคล โอกาส และความชํานาญในอาชีพนั้น ๆ โดยสามารถจําแนกอาชีพ
ประเภทตาง ๆ ดงั นี้

1. ประเภทการผลติ มีความหลากหลายในการผลิตของอาชีพนน้ั ๆ มีวิธกี ารดาํ เนินการ
ของแตล ะอาชพี แตกตา งกนั อาจเปน เจาของกจิ การ หรอื ลูกจาง โดยแบงไดด ังนี้

1.1 ผูขายที่อาจจะเปน ผผู ลิตสนิ คา หรือเปน ผทู ไี่ ปรับวตั ถดุ บิ จากแหลงผลิต
มาประกอบเปน สินคา ขน้ึ มา

1.2 ผูขายท่ีเปนคนกลางขายสินคา คือคนที่มีเงินทุนท่ีสามารถเปนผูซ้ือสินคา
หรือผลผลิต สวนใหญจ ะเปน ดา นการเกษตรเพ่อื จําหนายผลผลิตสง ใหพอ คาตอไป

2. ประเภทการบริการ เปนอาชีพที่มีความตองการของตลาดแรงงานสูง เนื่องจาก
สภาวะความเปลย่ี นแปลงของโลกปจจุบนั ที่มีการแขงขันกันตลอดเวลา ทําใหบุคคลมีโอกาส และเวลา
ใหก บั ครอบครัวนอยลง การประกอบอาชีพในการใหบ รกิ ารจงึ เขามาทดแทนการประกอบกิจกรรมตาง ๆ
ในชวี ิตประจําวนั นอกจากนอ้ี าชีพดานบริการยังใชเงินลงทุนนอย แตไดคาตอบแทนสูง และเปนอาชีพ
ทสี่ ุจรติ เปน ทย่ี อมรับของสังคม

3. ประเภทราชการและรัฐวิสาหกิจ เปนอาชีพท่ีมีความม่ันคง และสรางรายได
สมํ่าเสมอตลอดไป หากผูประกอบอาชีพรูจักใชจายอยางประหยัดก็สามารถดํารงชีวิตอยูได ขอสําคัญ
ตองซื่อสัตย รับผิดชอบตออาชีพ และรักอาชีพของตนเองไมกอใหเกิดความเส่ือมเสียตอหนวยงานท่ี
ตนเองสังกัดอยู อาชพี เหลานี้ไดแก ครู ทหาร ตํารวจ พยาบาล แพทย และขาราชการอื่น ๆ ที่ทํางานใน
กระทรวง ทบวง และกรมตา ง ๆ ทเี่ ปนหนวยงานราชการ โดยรับคาตอบแทนเปนเงินเดือนท่ีไดจากการ
ชําระภาษขี องประชาชน โดยถือวา เปนเงนิ ของแผนดนิ ดังน้ัน ขา ราชการทกุ คนจงึ มีหนาท่ปี ฏบิ ตั ิงานเพื่อ
สนองนโยบายของรัฐบาล และบริการประชาชนดวยความเต็มใจ เพ่ือการศึกษา พัฒนา บริหาร
และคุมครองปองกันประเทศชาติ

8

การจดั การอาชีพโดยยดึ หลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงสามารถวเิ คราะหได ดงั นี้

หลกั ความพอประมาณ เหมาะสมกับฐานะการเงนิ
เหมาะสมกับแรงงาน
สอดคลองกับความรคู วามสามารถ
ชวงเวลาการประกอบอาชพี
เลือกทาํ เลทต่ี ัง้ เหมาะสม
ประกอบอาชพี ทีส่ อดคลอ งกบั สภาพแวดลอ ม
ทางภมู ิประเทศ และสังคม

หลักความมีเหตผุ ล มวี ินยั ทางการเงนิ
หลักการมภี มู คิ ุม กนั ในตัวทด่ี ี เปน แรงจงู ใจในการเดนิ ทางไปสูเ ปาหมาย
มีเปา หมายในการดาํ รงชีวติ

ประหยดั อดออม
ปรับตัวเขา กับสภาพแวดลอ ม
เปนอาชีพที่มีความม่นั คงในชีวติ และครอบครวั
สุขภาพทีด่ ี
ครอบครวั อบอุน
มีความขยนั อดทน มุงมน่ั

คุณธรรม ความซ่อื สัตย สจุ รติ
ความรู มีสติปญญาในการดาํ เนินชวี ิต
ยดึ ธรรมะในการดําเนนิ ชีวิต
ขยนั หมนั่ เพียร อดทน
ไมทําใหตวั เอง และผอู ่ืนเดอื ดรอ น รจู กั แบงปน

รดู า นวิชาการทเ่ี กยี่ วของ
รวู ธิ ีวิเคราะหร ายรับ รายจา ย
รูจักการทาํ บญั ชี
มีหลักธรรมะในการดาํ เนินชวี ิต

9

ใบงานที่ 2

ใหผเู รยี นสํารวจอาชพี ในชมุ ชน แยกเปน ชาย – หญงิ เรยี งลาํ ดบั อาชพี จากมากไปหานอ ย

พรอมวเิ คราะหว า ทาํ ไมบางอาชีพมีคนทาํ มาก และบางอาชีพมีคนทํานอย วา เปน เพราะอะไร
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………

10

เรื่องท่ี 3

แหลง เรียนรแู ละสถานที่ฝก อาชีพ

ความหมายของแหลง เรียนรู

แหลงเรยี นรู หมายถงึ แหลงขอ มูล ขาวสาร สารสนเทศ และประสบการณที่สนับสนุน
สงเสริมใหผูเรียนใฝเรียน ใฝรู แสวงหาความรู และเรียนรูดวยตนเองตามอัธยาศัยอยางกวางขวาง
และตอ เนื่อง เพ่ือเสริมสรางใหผูเรียนเกิดกระบวนการเรียนรูและเปนบุคคลแหงการเรียนรู การเรียนรู
ทีเ่ นน ผเู รียนเปนศนู ยก ลางเปน แนวคดิ ทม่ี งุ เนน การเรียนรขู องผเู รียน

ความสาํ คญั ของแหลง เรียนรู

1. เปนแหลง เสรมิ สรา งจนิ ตนาการและความคดิ รเิ รม่ิ สรา งสรรค
2. เปน แหลง ศกึ ษาตามอัธยาศยั
3. เปนแหลงเรียนรตู ลอดชีวิต
4. เปนแหลงสรา งความรู ความคดิ วชิ าการและประสบการณ
5. เปนแหลง ปลกู ฝงคา นิยมรกั การอานและแหลงศกึ ษาคน ควา แสวงหาความรดู ว ยตนเอง
6. เปนแหลงสรา งความคิดเกิดอาชพี ใหมส ูความเปนสากล
7. เปน แหลง เสริมประสบการณต รง
8. เปนแหลง สง เสริมมิตรภาพความสัมพันธร ะหวางคนในชุมชนหรือผูเปนภูมิปญ ญาทองถนิ่

ประเภทของแหลง เรยี นรู

แหลงเรียนรูมีท้ังภายในและภายนอกชุมชน ซ่ึงแหลงเรียนรูเหลาน้ีสามารถ แบงออกเปน
2 ประเภท คอื แหลงเรยี นรทู มี่ อี ยแู ลว ตามธรรมชาติ และทีม่ นษุ ยสรางขึ้น

1. แหลงเรียนรูที่มีอยูแลวตามธรรมชาติ เชน
บรรยากาศ สิ่งแวดลอ ม ปรากฏการณธรรมชาติ ส่ิงมีชีวิต
ปา ภูเขา แหลงนํา้ ทะเล สตั วแ ละพชื ตาง ๆ ฯลฯ

11

2. แหลงเรียนรูที่มนษุ ยสรา งขนึ้ เชน ชมุ ชน วิถชี ีวิต อาชพี ภูมปิ ญ ญา
ประเพณี วัฒนธรรม สถาบัน โบราณสถาน สถานท่ีสําคัญ สถานประกอบการ
หองสมุดโรงเรียน หองสมุดเคล่ือนที่ หองเรียน หองปฏิบัติการตาง ๆ
หองโสตทัศนศกึ ษาหอ งมัลตมิ ีเดีย เวบ็ ไซต หอ งอนิ เทอรเนต็ หองเรยี นสีเขยี ว
พิพิธภัณฑ สวนพฤกษศาสตร สวนสุขภาพ สวนหิน สวนสมุนไพร
สวนวรรณคดี สวนหยอม สวนผเี สอ้ื บอเลี้ยงปลา เรือนเพาะชาํ ฯลฯ

ภมู ิปญญาทองถน่ิ หรอื ภมู ิปญ ญาพืน้ บา นหมายถงึ ความรูของชาวบา นในทองถน่ิ ซงึ่ ไดม าจากประสบการณ
และความเฉลยี วฉลาดของชาวบา น รวมทั้งความรูท่ีสั่งสมมาแตบรรพบุรุษสืบทอดจากคนรุนหนึ่งไปสู
คนอีกรุนหนึ่ง ระหวางการสืบทอดมีการปรับ ประยุกต เปล่ียนแปลง จนอาจเกิดเปนความรูใหมตาม
สภาพการณทางสังคม วัฒนธรรมและส่ิงแวดลอม ภูมิปญญาเปนความรูท่ีประกอบไปดวยคุณธรรม ซ่ึง
สอดคลองกับวิถชี ีวิตด้งั เดิมของชาวบาน ในวิถดี ง้ั เดิม ชวี ติ ของชาวบา นไมไ ดแบง แยกเปน สว น ๆ หากแต
ทุกอยางมีความสัมพันธกัน การทํามาหากิน การอยูรวมกันในชุมชน การปฏิบัติศาสนา พิธีกรรมและ
ประเพณี ความรูเปนคุณธรรม เม่ือผูคนใชความรู เพ่ือความสัมพันธท่ีดีระหวาง คนกับคน คนกับ
ธรรมชาติ และคนกับสง่ิ เหนือธรรมชาติ ดังเชน

ภาคเหนือ มภี มู ิปญ ญาเก่ยี วกับการแกะสลักไม ทมี่ ีความลกึ สลบั ซบั ซอน สามารถมองไดหลายมิติ
และไดถ า ยทอดภูมปิ ญ ญานนั้ ออกไปอยา งกวา งขวางโดยวิธีการตาง ๆ

ภาคตะวนั ออกเฉยี งเหนอื มีภมู ปิ ญญาในการทอผา ไหมลวดลายตา ง ๆ ตามถน่ิ ฐานของภมู ิปญญาน้นั
จนเปนท่ียอมรับกันทว่ั โลก แตละจังหวดั มกี ารจัดงานผลิตภณั ฑหนงึ่ ตาํ บลหนึ่งผลติ ภัณฑ

ภาคกลาง มีการอนุรักษวัฒนธรรมการละเลนมากมาย เชน ลิเก รําตัด เปนตน ปจจุบันไดมี
หลายหนวยงานท้ังภาครัฐและเอกชน มีการสนับสนุนสงเสริมภูมิปญญาแขนงนี้ใหเด็กและเยาวชน
เรียนรกู ารแสดงเหลา นเ้ี พอื่ ใหส ืบทอดตอไป

ภาคใต มกี ารสืบทอดการทําหนงั ตะลุง การแสดงมโนราห มีการทาํ ตวั หนงั ตะลงุ ออกมามากมาย
ทําเปน ของทร่ี ะลกึ หรือของชํารว ย ใครเห็นกร็ วู าเปน สนิ คาทม่ี าจากฝม ือภมู ิปญ ญาของคนภาคใต

สถานทฝ่ี ก อาชพี
ตัวอยาง สถานทฝ่ี กอาชพี ของรฐั บาล

1. ศูนยการศึกษานอกโรงเรียนกาญจนาภิเษก “วิทยาลัย ในวัง” รับฝกวิชาชีพเพื่อการมีงานทํา
หลกั สตู รระยะส้นั 60 ชัว่ โมง ไดแก วิชาชพี ลายไทยเบอื้ งตน โถประดับพลอย พนื้ ฐานการจดั ดอกไม การทํา
บายศรี (ผา ) อาหารวา ง แกะสลักของออน และการตกแตงผลิตภัณฑขนมอบ ปนตุกตาดินไทย เครื่องหอม
ดอกไมป ระดิษฐ เคร่อื งแขวน และศลิ ปะภาพนูนตาํ่ (ผาไทย) สอบถามรายละเอียด โทร. 0 2431 3623 ตอ 14
โทรสาร 0 2431 3624 หรือ www.nfe.go.th/0415/

12

2. ศนู ยฝ ก อาชพี กรงุ เทพมหานคร ท้งั 8 แหง ตดิ ตอไดท ี่
2.1 ศูนยฝ ก อาชพี กรงุ เทพมหานคร วัดธรรมมงคล โทรศัพท 0 2331 7573-4
2.2 ศูนยฝก อาชีพกรงุ เทพมหานคร สวนลมุ พินี โทรศัพท 0 2251 5849, 0 2251 5268
2.3 ศูนยฝกอาชีพกรุงเทพมหานคร วดั วรจรรยาวาส โทรศพั ท 0 2292 0194
และ 0 2289 3478
2.4 ศนู ยฝกอาชีพกรุงเทพมหานคร บางพลดั โทรศัพท 0 2423 2026
2.5 ศูนยฝ กอาชพี กรุงเทพมหานคร จัตจุ กั ร 2 (มีนบรุ ี) โทรศพั ท 0 2540 4375-6
2.6 ศูนยฝ กอาชีพกรุงเทพมหานคร วดั สุทธาวาส บางกอกนอ ย โทรศพั ท 0 2412 4611-2
2.7 ศูนยฝ กอาชพี กรุงเทพมหานคร จตจุ กั ร 1 โทรศัพท 0 2272 4741, 0 2272 4742
2.8 ศูนยฝก อาชีพกรงุ เทพมหานคร มหาวทิ ยาลยั รามคาํ แหง โทรศัพท 0 2369 2823-4

3. สถาบนั พฒั นาฝม ือแรงงานจังหวดั ทกุ แหง
4. สาํ นักสง เสรมิ และฝกอบรม มหาวิทยาลยั เกษตรศาสตร โทรศพั ท 0 2942 8831

ตวั อยา ง สถานทฝี่ กอาชพี ของเอกชน ซงึ่ มคี าใชจายในการฝกอาชพี แตล ะอาชพี แตกตา งกันออกไป เชน

1. วชิ าชีพของศูนยอาชีพและธุรกิจมติชน สอบถามรายละเอียดท่ี โทร.0 2589 2222, 0 2589 0492,
0 2954 4999 ตอ 2100, 2101, 2102, 2103

2. คมชัดลึกฝกอาชีพ หนังสือพิมพ คม ชัด ลึก “โครงการฝกอบรมอาชีพระยะสั้น” เปดอบรม
หลักสูตรเด็ดเคล็ดลับของสารพันอาหาร งานฝมือ และอีกหลายงานวิชาชีพ ติดตอ ศูนยลูกคาเนช่ัน กรุป
1854 ถ.บางนา - ตราด แขวงบางนา เขตบางนา กรุงเทพฯ 10260 โทร. 0 2338 3356-57 แฟกซ 0 2338 3942

3. สถานประกอบการ เชน สถาบันเสริมความงาม สถาบันสอนอาหาร เปนตน

13

ใบงานท่ี 3

1.ใหผูเรียนสํารวจภูมิปญญาทองถ่ินในชุมชนของตนเองแลวบันทึกตามแบบฟอรมที่กําหนดให
อยางนอ ย 5 อยา ง

ที่ ช่ือภมู ปิ ญ ญาทอ งถนิ่ ทอ่ี ยู ภูมปิ ญญาเรอ่ื ง ประโยชน

1

2

3

4

5

2. ใหผเู รียนสาํ รวจสถานท่ฝี ก อาชีพในชมุ ชนของตนเองหรอื ชุมชนใกลเ คียงแลวบนั ทกึ ตามแบบฟอรมที่
กําหนดให อยางนอ ย 5 แหง

ที่ ชือ่ สถานทฝี่ ก อาชพี อาชีพที่ฝก ประโยชน
1

2

3

4

5

14

เรอื่ งที่ 4

การวางแผนในการฝกทักษะอาชพี

จากการสาํ รวจแหลง เรยี นรู และสถานทฝ่ี ก ทักษะอาชีพแลว การวางแผนในการฝกทักษะอาชีพ
จดั เปน สง่ิ จาํ เปน ทผ่ี เู รียนควรจะพิจารณา โดยการกําหนดสงิ่ ตาง ๆ ตอ ไปน้ี

1. ความรูและทักษะท่ตี อ งฝกอาชีพ
ผูเรียนจะตองคํานึงถึงตัวเองกอนวามีความชอบ นิสัย ความถนัด สภาพทางสังคม เปนตน

ทจี่ ะทาํ ใหต ัวเองประสบผลสาํ เรจ็ ในอาชีพนน้ั ๆ แยกการวางแผนการฝกอาชีพดงั น้ี
1. ศึกษาเก่ียวกับอาชีพตาง ๆ การศึกษาหาความรูในอาชีพตาง ๆ จะทําใหไดรูวาตนเอง

มคี วามสนใจในอาชีพอะไร มีใจรักงานดา นใด มคี วามถนดั ดานใด ผูเรยี นจะไดฝก ปฏิบัติงานนั้น ๆ ซ่งึ จะ
ทําใหเกิดความรูค วามเขา ใจ และมีทกั ษะการปฏิบัติในอาชพี นน้ั ได

2. สรางลักษณะนิสัยในการทํางาน คือมีความกระตือรือรน ขยันขันแข็ง มีความอดทน
ในการทํางาน และทํางานรวมกับผูอ่ืนได เม่ือผูเรียนทราบวาคนที่ประกอบอาชีพตองมีนิสัยเหลาน้ี
ผูเรยี นจะไดฝ ก ตนเองในขณะทย่ี ังเรยี นอยู จะทําใหนสิ ยั เหลาน้ีติดตัวผูเ รียนตลอดไป

3. การฝกปฏิบัติงานตาง ๆ หรือทดลองทํางาน ชวยใหผูเรียนสามารถนําสิ่งที่ผูเรียนปฏิบัติ
และฝกฝนไปประกอบอาชพี ในอนาคตได และผเู รียนควรทีจ่ ะฝก งานหลาย ๆ งาน เพือ่ จะไดรูวาเราชอบ
และสนใจงานดานไหน และเปนการเตรยี มตัวที่จะประกอบอาชพี ดวย

4. การฝกวางแผนการทาํ งาน เปนส่ิงจาํ เปนสําหรับการทาํ งานทุกอยา ง มกี ารกลา วกนั โดยทั่วไป
วา “การวางแผนการทํางานทด่ี ีเหมือนกับทํางานน้ันเสร็จไปครึ่งหนึ่ง” แสดงใหเห็นวาความสําคัญของ
การวางแผนงานมคี าตอ การทํางานถึงรอยละหาสิบของงานท้ังหมดจึงเปนสิ่งจําเปนมาก การฝกในเร่ือง
การวางแผนทําไดกับงานทุกอยาง การเรียนควรมีแผนในการเรียนแตละวัน แตละสัปดาห แตละเดือน
แตละป การทํากิจกรรมตาง ๆ ก็ตองมีการวางแผน ถาฝกทําอยูเปนประจํา เม่ือเราประกอบอาชีพ
กจ็ ะนําไปใชไ ดด ี เพราะเราทาํ จนเกดิ เปนนิสยั แลว

2. วธิ กี ารฝก
ผเู รียนเมือ่ รจู ักตัวเองแลว จะเขารับการฝกในอาชีพตา ง ๆ ตามความตอ งการของตัวเอง สวนมาก

ในการฝก อาชีพจะเนนการปฏิบัติ ดังน้ันจะตองกลับมาฝกปฏิบัติท่ีบานเพ่ือใหเกิดทักษะความชํานาญ
เพ่มิ ความมน่ั ใจ อาจจะมีการเสริมเพม่ิ เตมิ ในสงิ่ ท่ขี าดไปหรอื ตลาดมีความตองการ จะไดเปนองคความรู
ของตวั เองได

15

3. แหลง ฝก
ไดกลา วในเรอื่ งท่ี 2 แลว ใหผูเรียนสํารวจแหลง ฝกอาชพี ท่ใี กลบา นเพ่อื การเดนิ ทางไปกลับไดจ ะได

ลดคา ใชจ ายในเรอื่ งการเดินทางที่พักและอาหาร หรือถาไกลควรมีการสอบถามเร่ืองท่ีพัก คาใชจายตาง ๆ
เพอื่ จะไดไ มต อ งเสยี คาใชจายสงู หรือหาแหลงฝกอาชีของสวนราชการท่ีมีการฝกใหฟรี และเม่ือฝกจบ
หลกั สูตรแลว ยังมงี านรองรับดวย

4. วนั เวลา ในการฝก
ผูเรียนควรสํารวจหาขอมูลแหลงฝกอาชีพ เพ่ือจะไดตัวเลือกที่ดีท่ีสุด เชน วิชาอาชีพเดียวกัน

ก็หาระยะการฝก วา แตกตางกนั อยางไร บางแหง อาจใชเ วลานานแตมีการนําผูเรียนไปฝกในสถานประกอบการ
โดยตรง ผเู รยี นสามารถนําขอ มูลมาวิเคราะหเ พ่ือประโยชนข องผูเรยี นเอง

เม่ือผูเรียนกําหนดส่ิงตาง ๆ ดังกลาวแลว จึงนําขอมูลที่ไดมาวางแผนการฝกทักษะอาชีพ
เพ่ือใชเปนแผนการฝก ตอ ไป

16

ใบงานท่ี 4

ใหผูเรยี นวางแผนการฝก ทกั ษะอาชพี ทตี่ นสนใจ ตัง้ แตก ารตดั สนิ ใจเลอื กอาชพี แหลงฝก อาชพี
วธิ กี ารฝกอาชีพ และระยะเวลาในการฝก อาชพี

………………………………………………………………………………………………….
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………

17

เร่ืองท่ี 5

การฝก ทกั ษะอาชพี

การจดบนั ทกึ
ความสําเรจ็ ในการฝก อาชพี สวนหน่ึงคือ การมีขอมูลท่ีดีไวชวยในการตัดสินใจ เพราะขอมูล

ท่ีบนั ทึกไวจ ะบอกใหทราบวากิจการดําเนินไปไดอยางเหมาะสมเพียงใด หากเกิดปญหาก็ยอมหาทาง
แกไ ขไดทันทวงที และเราสามารถใชข อ มลู เพื่อการวางแผนในอนาคตไดอ ีกดว ย

การจดบันทึกขอมูลทาํ ไดห ลายรูปแบบตามลกั ษณะความแตกตา งของการฝกอาชพี ซ่ึงแตละคน
อาจคิดรูปแบบการบันทึกขอมูลอ่ืน ๆ ตางกันออกไป ขอสําคัญตองเปนแบบที่ลงรายการไดงาย
ไมซ บั ซอ นตรวจสอบงา ย

ประโยชนข องการจดบนั ทึกกจิ กรรมการฝก อาชีพ
1. เพื่อปองกนั การลืม
2. เปนขอมลู ในการตดั สินใจ
3. เกบ็ ไวเ ปนหลักฐาน
4. ไดทราบขอบกพรองและหาทางแกไ ขไดทันทว งที
5. เปนขอ มูลในการเปรยี บเทียบการดําเนินงานแตล ะครัง้
6. เปน การควบคมุ ติดตามการดาํ เนนิ งาน
7. เปน ขอมลู ในการวางแผนงานในคร้งั ตอไป

ลักษณะและหลกั การบันทกึ กิจกรรมและรายการตา ง ๆ
ในการฝกอาชพี แตล ะอาชพี อาจมีลักษณะกจิ กรรมท่ีแตกตางกันไป การบันทึกกิจกรรมจึงตอง

แตกตางกันไปดวย เชน การบันทึกการทํางาน การบันทึกกิจการฟารม การบันทึกรานคาสหกรณ
เปน ตน ดงั น้ันการบนั ทึกจงึ ตอ งบันทึกตามความเหมาะสมกบั ลักษณะของกจิ กรรมดว ย

หลักการบันทึกกิจกรรมและรายการตาง ๆ
1. บนั ทกึ อยางสมํ่าเสมอและทันตอ เหตุการณ
2. จดบนั ทกึ อยางมรี ะบบ
3. ขอความถกู ตอ ง ชัดเจน เขา ใจงาย และเปนประโยชนตอ การฝก อาชีพ

18

การบนั ทึกขอ มลู การฝกอาชพี
การบันทึกขอมูลการฝกอาชีพ เปนกิจกรรมท่ีสําคัญท่ีผูประกอบอาชีพทุกคนควรปฏิบัติ

เปน ประจาํ เพราะการบนั ทึกทาํ ใหทราบวา ไดท าํ อะไรบาง มีอะไรบา ง มีการตดิ ตอนัดหมายกบั ใครเมอื่ ไร
การบันทึกทําใหผูฝกอาชีพมีขอมูลที่สะดวกแกการติดตามผลงาน หรืออาจจะใชวางแผนตอไปใน
อนาคตได

ขอ แนะนาํ ในการบันทึกรายการ
1. การเขียนตัวหนังสอื จะตอ งอานงาย สะอาดเรียบรอย
2. การบันทกึ รายการตองเรียงตามลาํ ดบั กอ น – หลัง ของเหตกุ ารณท ่ีเกิดขึ้น
3. การบนั ทึกทีเ่ ปน ตัวเลขที่มีตั้งแต 3 หลกั ขึ้นไปใหใชเคร่ืองหมายจุลภาค ( , ) โดยนับจาก
จุดทศนยิ มไปทางซายมอื ทกุ 3 หลัก

การบันทกึ ขอมลู แบงออกเปน 2 ลักษณะ
1. การบนั ทึกขอมูลทไ่ี มเกี่ยวของกับเงนิ
การบันทึกขอมูลท่ีไมเก่ียวของกับเงินเปนขอมูลที่พบในชีวิตประจําวัน วิธีบันทึกสวนมาก

จะบนั ทกึ เพ่อื ปอ งกนั การลืมหรือเตือนความจาํ ส่ิงท่ใี ชในการจดบันทกึ อาจทําขึ้นเองตามความตองการ
หรอื ความจําเปน เชน การจดบนั ทกึ นัดหมายตาง ๆ

ตวั อยางการบนั ทึกการประกอบอาชพี

วัน เดอื น ป รายการ หมายเหตุ
3 มถิ ุนายน …
13 มถิ นุ ายน … ซ้อื อาหารปลาดุกใหญ 2 กระสอบ
เกษตรกรบานลําน้ําเกล้ียงเยี่ยมชมการเลี้ยง
30 มถิ นุ ายน … ปลาดุก
จับปลาดกุ ขายรานพลอยโภชนา จํานวน 200 ตัว

2. การบนั ทกึ ขอมูลทีเ่ กี่ยวของกับเงิน
การจดบนั ทึกขอ มูลท่ีเก่ยี วกับการเงนิ สว นมากจะใชว ธิ ีทาํ ทะเบยี นหรือบันทึกบัญชี การบันทึก
บัญชีของผูฝกอาชีพ มักใชหลักเกณฑในการลงบัญชี รายรับ - รายจาย เฉพาะการรับจายเงินสดจริง
เทานน้ั

19

รปู แบบที่ 1 ใชหนา เดยี วมี รายรับ - รายจาย อยูดวยกนั ลงรายการเรื่อย ๆ ในแตล ะวนั

วัน เดอื น ป รายการ รายรบั รายจา ย คงเหลอื หมายเหตุ
บาท สต. บาท สต. บาท สต.

1 ก.พ. … 1. รบั เงนิ ขายไก 8,000 - 524 -
2. จา ยคาไฟฟา 365 -
3. จา ยคา อาหาร 7,111 -
80 -
2 ก.พ. … 1. ขายไขไก 1,200 - 560 -
2. จายคารถ
3. จา ยคาอาหารไก

560 -

รปู แบบที่ 2 แยกบญั ชรี ายรบั - รายจา ยไวด านคนละขางของหนาบัญชี

รายรบั รายจา ย
จํานวนเงนิ จํานวนเงนิ
ว.ด.ป. รายการ บาท สต. หมายเหตุ ว.ด.ป. รายการ บาท สต. หมายเหตุ

1 ก.พ. .. 1. รับเงินขายไก 8,000 - 1. จายคาไฟฟา 524 -

รวมรายรับ 8,000 - 2. จา ยคาอาหาร 365 -
รวมรายจาย 889 - รวมรายจาย 889 -
ยอดคงเหลอื 7,111 -

2 ก.พ. 1. ขายไขไก 1,200 - 1. จายคา รถ 80 -

รวมรายรับ 1,200 - 2. จายคาอาหารไก 560 -
รวมรายจา ย 640
ยอดคงเหลอื 560 รวมรายจาย 640 -

20

รูปแบบที่ 3 แยกบญั ชีรายรบั 1 เลม บญั ชีรายจาย 1 เลม
บญั ชรี ายรบั เดือน กุมภาพนั ธ พ.ศ. ....

เลขที่ รายการ วนั เดอื น ป จาํ นวนเงนิ หมายเหตุ
1 ขายไก 1 ก.พ. 51 บาท สต.
2 ขายไขไก 2 ก.พ. 51
8,000 -
1,200 -

บัญชรี ายจาย เดอื น กมุ ภาพันธ พ.ศ. ....

เลขที่ รายการ วัน เดอื น ป จาํ นวนเงนิ หมายเหตุ
1 คาไฟฟา 1 ก.พ. 51 บาท สต.
2 คา อาหาร 1 ก.พ. 51
3 คารถ 2 ก.พ. 51 524 -
4 คาอาหารไก 2 ก.พ. 51 365 -
80 -
560 -

ปญหาและการแกป ญ หา
ในการฝกอาชีพจะตองมีปญหาเกิดขึ้นทุกระยะ จะมากนอยแตกตางกัน ดังน้ัน ผูเรียนจะตอง

ปรึกษากบั ครู อาจารย ผูร ู ภมู ปิ ญญา เพ่ือชว ยแกปญหา ในบางคร้ังพอ แม ญาติพ่นี อ ง เพื่อนฝูง คนใกลชิด
ก็สามารถชว ยแกปญ หาตา ง ๆ ได เมื่อเกดิ ปญหาอยา เก็บไว หรือแกไปในทางที่ผิด จะทําใหการฝกอาชีพ
ของผเู รยี น ไมป ระสบผลสําเรจ็

ขอ เสนอแนะ
ผูเ รียนบางคนมีความสามารถในการจํา และมกี ารบันทกึ แบบไมมีรปู แบบ ท่ีตัวเองมีความเขาใจ

บางคร้งั ก็จดบนั ทกึ แบบสมดุ บนั ทึกรายวนั ทาํ ใหไมสามารถแยกเปนสวนได ควรแยกเปนบัญชี
รายรบั - รายจาย บัญชีทรัพยสิน - หนี้สิน และอื่น ๆ เพ่ือสะดวกในการคนหา หรือคนอื่นสามารถอาน
เขา ใจนําไปปฏิบัตไิ ด

21

ใบงานท่ี 5

1. ใหผูเรียนบันทกึ การประกอบอาชีพลงในแบบทีก่ าํ หนดให
บนั ทกึ การประกอบอาชีพ..............................................................

วนั เดอื น ป รายการ หมายเหตุ
................................................................. ................................................
.............................. ................................................................. ...............................................
.............................. ................................................................. ................................................
.............................. ................................................................. ...............................................
.............................. ................................................................. ................................................
.............................. ................................................................. ...............................................
.............................. ................................................................. ................................................
.............................. ................................................................. ...............................................
.............................. ................................................................. ................................................
.............................. ................................................................. ...............................................
.............................. .................................................................
.............................. ................................................................. ................................................
.............................. ................................................................. ...............................................
.............................. ................................................................. ................................................
.............................. ................................................................. ...............................................
.............................. ................................................................. ................................................
.............................. ................................................................. ...............................................
.............................. ................................................................. ................................................
.............................. ................................................................. ...............................................
.............................. ................................................................. ................................................
.............................. ................................................................. ...............................................
.............................. ................................................................. ................................................
.............................. ................................................................. ...............................................
.............................. ................................................................. ................................................
.............................. ...............................................

22

2. ใหผ เู รียนบันทกึ การประกอบอาชีพใน 1 เดอื น ลงในตารางทีก่ าํ หนดให

รายรับ รายจา ย

ว.ด.ป. รายการ จํานวนเงนิ หมายเหตุ ว.ด.ป. รายการ จาํ นวนเงนิ หมายเหตุ
บาท สต. บาท สต.

23

บทที่ 2
การทาํ แผนธรุ กจิ เพอ่ื การเขาสอู าชีพ

สาระสาํ คญั
ในการทําแผนธรุ กิจเพอื่ การเขาสอู าชีพ ผดู ําเนินการจะตอ งมีความเขา ใจความหมาย ความสําคญั

ของการจัดการในการเขาสูอาชีพ วิเคราะหขอมูลชุมชน โดยระดมความคิดเห็นของคนในชุมชน เพ่ือ
กําหนดวิสัยทัศน พันธกิจ รายได คานิยมของชุมชน เปาหมาย และกลยุทธตามแนวคิดปรัชญาของ
เศรษฐกจิ พอเพยี ง

ตัวช้วี ดั
1. วเิ คราะหชมุ ชนโดยการระดมความคดิ เหน็ ของคนในชุมชน และกําหนดวสิ ยั ทัศน พันธกจิ

รายได คา นยิ มของชมุ ชน เปาหมาย และกลยทุ ธ ตามแนวคดิ ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง
2. วางแผนปฏิบตั กิ าร

ขอบขา ยเน้ือหา
เรอ่ื งท่ี 1 การวเิ คราะหชมุ ชน / จุดแขง็ / จุดออ น / โอกาส / อปุ สรรค
เรือ่ งท่ี 2 การกาํ หนดวิสยั ทศั น พนั ธกจิ เปา หมาย และกลยทุ ธในการกําหนดแผน
ธรุ กิจของชุมชน

เร่ืองท่ี 3 การวางแผนปฏิบตั กิ าร

สื่อประกอบการเรยี นรู
1. ใบความรู
2. ใบงาน

24

เรอ่ื งที่ 1
การวเิ คราะหช ุมชน

การดําเนินงานอาชีพใหประสบความสําเร็จ ถึงแมวาผูท่ีจะดําเนินการประกอบอาชีพ ไดมี
การตัดสินใจเลือกประกอบอาชีพ ดวยการวิเคราะหความเปนไปได รวมท้ังไดมีการศึกษาขอมูล
องคประกอบทเี่ กี่ยวของมาแลว กต็ าม

ในการเขา สอู าชพี ไมวา จะเปน อาชีพอะไร จาํ เปนทีจ่ ะตองศกึ ษาวา งานอาชีพดังกลาวมคี วาม
เหมาะสมสอดคลองกบั สภาพบริบทของพน้ื ท่ี ไดแ ก ทรัพยากรธรรมชาติ ลักษณะภูมิอากาศ ภูมิประเทศ
ศลิ ปะ วฒั นธรรม ประเพณี วิถีชีวิต และทรัพยากรมนุษย

ดังน้ัน เพื่อเปน การสรางความเช่ือม่นั และสามารถกาํ หนดเปาหมายในการดาํ เนินงานอาชพี
ไดอยา งเหมาะสม จึงควรไดมีการวิเคราะหช ุมชนเกย่ี วกับสภาพบริบทของพนื้ ท่กี ับงานอาชีพท่ีตัดสินใจ

การดาํ เนนิ การวิเคราะหช ุมชน โดยท่ัวไปนิยมใชเทคนิค SWOT ในการประเมิน เพราะ
เปนเทคนิคสําหรับการวิเคราะหสภาพแวดลอมท่ีมีผลกระทบวา มีผลดีหรือผลเสียอยางไรตอส่ิงท่ี
จะกระทํา มรี ายละเอียด ดงั นี้

S (Strengths) จุดแข็ง หมายถึง ความสามารถ หรือสถานการณภายในชุมชนที่เปน เชิงบวก ซ่ึง
สามารถนํามาใชป ระโยชนใ นการทํางาน เพ่ือใหง านบรรลวุ ตั ถุประสงค หรือกอใหเกิดประโยชนตอการ
ทํางาน สง ผลใหงานทที่ ําเกดิ ความเขมแขง็

W (Weaknesses) จุดออน หมายถึง สถานการณภายในชุมชนท่ีเปนเชิงลบ ซึ่งไมสามารถ
นํามาใชเ ปน ประโยชนในการทาํ งาน เพื่อใหง านบรรลวุ ตั ถุประสงค หรือไมกอใหเกิดประโยชนตองาน
อาจสงผลใหงานท่ที าํ เกิดความลม เหลวได

O (Opportunities) โอกาส หมายถึง ปจจัยและสถานการณภายนอกชมุ ชน ทีเ่ ออ้ื ประโยชน ในการ
ทาํ งานใหบรรลุวตั ถุประสงค หรอื หมายถึง สภาพแวดลอ มภายนอกทเ่ี ปนประโยชนต อการดําเนินงาน

T (Threats) อุปสรรค หมายถึง ปจจัยและสถานการณภายนอกชุมชน ท่ีขัดขวางหรือไม
สนบั สนนุ ตอการทํางานใหบ รรลุวตั ถุประสงค หรอื หมายถึง สภาพแวดลอมภายนอกท่เี ปน ปญหาตอการ
ดําเนินงาน

ในการดาํ เนนิ การวิเคราะหชุมชนตามสภาพบริบทของพื้นที่ ไดแก ทรัพยากรธรรมชาติ
ลกั ษณะภูมอิ ากาศ ภูมิประเทศ ศลิ ปะ วัฒนธรรม ประเพณี และวิถีชีวิต และทรัพยากรมนุษย กบั
งานอาชีพท่ตี ัดสนิ ใจเลือก ดว ยเทคนคิ SWOT เพอื่ การเขา สอู าชพี มขี ้ันตอนการดําเนนิ งานดงั น้ี

1. กําหนดประเดน็ สภาพบรบิ ทของพื้นที่ที่มคี วามสมั พนั ธต องานอาชีพท่ตี ัดสนิ ใจเลอื ก เพื่อ
การนํามาวิเคราะห เชน

1.1 กลมุ อาชีพเกษตรกรรม ประเด็นสภาพบริบททค่ี วรนํามาวิเคราะห ไดแ ก
ทรัพยากรธรรมชาติ ลักษณะภมู อิ ากาศ ลกั ษณะภูมิประเทศ และทรัพยากรมนษุ ย

25

1.2 กลมุ อาชพี อุตสาหกรรม ประเด็นสภาพบริบทที่ควรนํามาวเิ คราะห ไดแ ก
ทรพั ยากรธรรมชาติ ลักษณะภูมิประเทศ สภาพภูมอิ ากาศ ศิลปะ วัฒนธรรม ประเพณี และวิถีชวี ิต

1.3 กลมุ อาชีพพาณิชยกรรม ประเด็นสภาพบรบิ ทท่ีควรนํามาวเิ คราะห ไดแก
ทรพั ยากรธรรมชาติ ภมู ิอากาศ ภูมปิ ระเทศ และทําเลท่ีตงั้

1.4 กลมุ อาชีพความคดิ สรางสรรค ประเด็นสภาพบริบททคี่ วรนาํ มาวิเคราะห ไดแก
ทรพั ยากรธรรมชาติ ทรัพยากรมนษุ ย

1.5 กลมุ อาชีพอํานวยการและอาชีพเฉพาะทาง ประเดน็ สภาพบรบิ ททคี่ วรนาํ มา
วิเคราะห ไดแก ทรัพยากรธรรมชาติ ลักษณะภมู อิ ากาศ ภมู ิประเทศ ศิลปะ วฒั นธรรม ประเพณี
วิถชี วี ติ และทรพั ยากรมนษุ ย

2. กาํ หนดรายละเอยี ดยอ ยท่จี ะทําการวิเคราะหใ นแตล ะประเด็นของสภาพบรบิ ท แตละดานกับ
งานอาชพี ท่ีตดั สินใจเลอื ก เชน

ประเด็นของสภาพบริบท รายละเอียดของประเดน็
1. ทรพั ยากรธรรมชาติ
1.1 ความเหมาะสมและคุณภาพของทรัพยากรธรรมชาติ
2. ภมู ิอากาศ 1.2 ทรพั ยากรธรรมชาติในชมุ ชน และหรือ ชุมชนขา งเคยี งที่

3. ภูมิประเทศ เอ้ือตองานอาชีพ
1.3 ปรมิ าณและคา ใชจา ยในการซอื้ ทรพั ยากร
1.4 ปริมาณนาํ้ แหลงนาํ้ ทีต่ อ งใชในงานอาชพี
1.5 รายละเอยี ดของประเด็นอน่ื ๆ ท่ีเก่ยี วของ
2.1 ลกั ษณะภูมอิ ากาศ
2.2 สภาพภูมิอากาศกับการสนบั สนุนงานอาชีพ
2.3 ความสมั พันธของภมู ิอากาศกบั สภาพพน้ื ที่
2.4 ความสัมพนั ธของภูมอิ ากาศกับทรัพยากรธรรมชาติ
2.5 รายละเอียดของประเด็นอนื่ ๆ ท่ีเกี่ยวขอ ง
3.1 ลักษณะภูมิประเทศ
3.2 สภาพภมู ปิ ระเทศกับการเกอ้ื หนนุ งานอาชพี
3.3 ความสัมพนั ธของภูมปิ ระเทศกบั งานอาชีพ
3.4 ความสัมพันธข องภมู ิประเทศกบั ทรพั ยากรธรรมชาติ
3.5 รายละเอียดของประเดน็ อนื่ ๆ ที่เกีย่ วขอ ง

26

ประเด็นของสภาพบริบท รายละเอยี ดของประเด็น
4. ศลิ ปะ วัฒนธรรม ประเพณี 4.1 งานอาชพี สอดคลองกบั ศลิ ปะของชมุ ชน
วิถีชีวิต 4.2 งานอาชีพมีความสัมพนั ธก ับวฒั นธรรมของชุมชน
4.3 งานอาชีพมคี วามสัมพันธก ับประเพณขี องชมุ ชน
5. ทรพั ยากรมนษุ ย 4.4 งานอาชีพมีความสมั พนั ธก ับวิถชี ีวิตของคนในชุมชน
4.5 รายละเอยี ดของประเดน็ อน่ื ๆ ท่เี กย่ี วขอ ง

5.1 ความรใู นการประกอบอาชีพของตนเอง
5.2 ผูร ูในชุมชน ท่มี คี วามรเู กยี่ วกับงานอาชพี
5.3 แรงงานในชุมชนท่ีจาํ เปนตอ งใชใ นงานอาชีพ
5.4 การบรหิ ารงานบคุ คล แรงงาน
5.5 ความสัมพันธของคนในชุมชนกบั ผูประกอบการ
5.6 รายละเอยี ดของประเดน็ อน่ื ๆ ทเี่ กยี่ วของ

3. เมื่อสามารถกาํ หนดรายละเอยี ดยอยไดใ นแตล ะประเด็นของสภาพบรบิ ทแลว ในการ
วิเคราะห ใหด ําเนนิ การวเิ คราะหใ นแตล ะดานดวยเทคนคิ SWOT ตามตารางวเิ คราะห ดงั นี้

อาชพี ทต่ี ดั สนิ ใจเลอื ก .................................................

สถานการณภ ายในชุมชน

จุดแขง็ จดุ ออน

1. ทรพั ยากรธรรมชาติ 1. ทรพั ยากรธรรมชาติ

2. ลกั ษณะภมู อิ ากาศ 2. ลักษณะภูมิอากาศ
3. ภูมิประเทศ 3. ภูมปิ ระเทศ
4. ศลิ ปะ วฒั นธรรม ประเพณี และวิถีชีวติ 4. ศลิ ปะ วัฒนธรรม ประเพณี และวิถชี วี ติ
5.ทรัพยากรมนษุ ย 5.ทรัพยากรมนษุ ย

สถานการณภายนอกชมุ ชน

โอกาส อุปสรรค

1. ทรัพยากรธรรมชาติ 1. ทรัพยากรธรรมชาติ
2. ลักษณะภูมอิ ากาศ 2. ลกั ษณะภูมิอากาศ
3. ภมู ปิ ระเทศ 3. ภมู ิประเทศ
4. ศิลปะ วัฒนธรรม ประเพณี และวถิ ชี ีวติ 4. ศลิ ปะ วฒั นธรรม ประเพณี และวถิ ีชีวติ
5.ทรัพยากรมนษุ ย 5.ทรพั ยากรมนษุ ย

27

4. ดําเนินการวิเคราะหระบุขอมูลตามความเปนจริง ตามหัวขอของรายละเอียดยอยในแตละ
ประเด็นของสภาพบริบทชุมชนวา มีความสัมพันธกับงานอาชีพที่ตัดสินใจเลือกอยางไร ท้ังนี้ ในการ
วเิ คราะหร ะบขุ อมูล ผูด าํ เนนิ การ ไดแ ก ผูท่ีตัดสินใจเลือกอาชีพ เปนผูดําเนินการเอง โดยตองวิเคราะห
ระบุขอ มูลดวยความเปน จรงิ

ในการวิเคราะหระบุขอมูลสถานการณภายในชุมชน เปนการวิเคราะห ระบุขอมูล
เกีย่ วกบั รายละเอยี ดยอ ยในแตละประเด็น แยกขอ มูลภายในชุมชนทีเ่ ปน เชงิ บวกหรอื เปน สวนสนับสนุน
เก้ือหนุนใหงานอาชีพประสบความสําเร็จ ในดานจุดแข็ง และระบุขอมูลในชุมชนที่เปนเชิงลบ
หรือเปนขอมูลท่ีอาจจะเปนปญหาไดกับงานอาชีพ ในดานจุดออน

ในการวิเคราะหระบุขอมูลสถานการณภายนอกชุมชน เปนการวิเคราะหระบุขอมูลเก่ียวกับ
รายละเอียดยอยในแตละประเด็น แยกขอมูลภายนอกชุมชนท่ีเปนเชิงบวก หรือเปนสวนสนับสนุน
เออื้ ประโยชนในการทาํ งานอาชีพใหบ รรลุวตั ถุประสงค หรือเปนประโยชน ตอการดําเนินงาน ในดาน
โอกาส และระบขุ อมูลภายนอกชุมชนที่เปนเชิงลบ หรืออาจจะเปนสิ่งท่ีขัดขวาง หรือไมสนับสนุนตอ
การทาํ งานอาชีพใหบรรลวุ ตั ถปุ ระสงค หรอื เปนปญ หาตอ การดําเนินงานอาชีพ ในดา นอปุ สรรค

ตวั อยางการวิเคราะหร ะบุขอ มูล
อาชพี การทาํ น้ํามนั มะพรา วกลนั่ เย็น
สถานการณภ ายในชมุ ชน
จดุ แขง็ จดุ ออน
1. ทรัพยากรธรรมชาติ ในพนื้ ท่ีตําบลเกาะกดู 1. ทรัพยากรธรรมชาติ ไมมีขอมูลเปนจดุ ออน
มมี ะพราวเปนจาํ นวนมาก สวนใหญจาํ หนายเปน 2. ลักษณะภมู ิอากาศ อาจมีปญ หาไดในชวงฤดู
มะพรา วลกู ยังไมมีการนํามาแปรรูปผลผลิต มรสมุ เพราะเรอื โดยสารทีจ่ ะฝากผลผลิตไป
ประเภทอ่ืน จําหนา ยอาจจะหยดุ เดนิ เรือ
2. ลกั ษณะภูมอิ ากาศ ตําบลเกาะกดู มลี กั ษณะ 3. ภมู ปิ ระเทศ ตาํ บลเกาะกดู หางจากฝงรวม
ภูมิอากาศ ท่ีเหมาะสมตอการทองเท่ียว 80 กิโลเมตรทางทะเล อาจจะมปี ญ หาใน
มนี กั ทองเทย่ี วทง้ั ชาวไทยและชาวตางประเทศนยิ ม การขนสง และการจาํ หนายผลผลิตได
เดินทางมาเที่ยวเปน จาํ นวนมาก จงึ เกอ้ื หนนุ ใน 4. ศิลปะ วัฒนธรรม ประเพณี และวิถชี วี ติ
การดาํ เนินงานอาชีพ ไมม ีขอ มลู เปน จุดออน
3. ภูมปิ ระเทศ ตําบลเกาะกดู มภี ูมปิ ระเทศเปน เกาะ 5.ทรัพยากรมนษุ ย ไมมขี อ มูลเปน จุดออ น
ท่ีมธี รรมชาติสวยงาม มีนกั ทอ งเทยี่ วทง้ั ชาวไทย
และชาวตางประเทศเดินทางมาเทย่ี วเปน จาํ นวนมาก
จึงเกอื้ หนนุ ในการดาํ เนินงานอาชพี

28

อาชีพ การทาํ นา้ํ มนั มะพราวกล่ันเย็น
สถานการณภ ายในชมุ ชน
จดุ แขง็ จดุ ออน
4. ศลิ ปะ วัฒนธรรม ประเพณี และวถิ ชี วี ติ นา้ํ มัน
มะพราว มกี ารผลติ และใชม าตง้ั แตอดตี แตส ว นใหญ
เปนการทาํ นํา้ มันมะพราวกล่ันรอน จงึ ทาํ ให
ขาดความนยิ ม การทาํ น้ํามนั กลนั่ เยน็ จงึ เปน
การพฒั นาผลติ ภณั ฑใ หม ีความเหมาะสม
5. ทรัพยากรมนุษย ในพ้ืนทีต่ ําบลเกาะกูด
มคี รู กศน. ท่มี ีความรใู นการทํานํ้ามันมะพรา ว
กลั่นเย็น และไมต องใชแรงงาน เพราะสามารถ
ดําเนินการไดด ว ยสมาชกิ ภายในครอบครวั

สถานการณภายนอกชมุ ชน
โอกาส อปุ สรรค
1. ทรพั ยากรธรรมชาติ นอกจากตาํ บลเกาะกูดแลว 1. ทรพั ยากรธรรมชาติ ไมม ขี อ มูลเปน อปุ สรรค
ท่ตี ําบลเกาะหมาก ซ่ึงเปนตาํ บลในอําเภอ 2. ลักษณะภมู อิ ากาศ อาจมีปญหาไดในชว งฤดู
เกาะกูด มมี ะพรา วจาํ นวนมาก สามารถนํามะพรา ว มรสุม เพราะเรอื โดยสารท่ีจะฝากผลผลติ ไป
มาผลติ ได หากเกดิ ปญ หาขาดแคลนมะพราวท่ี จําหนา ยอาจจะหยุดเดนิ เรอื
ตําบลเกาะกดู 3. ภมู ิประเทศ ตําบลเกาะกดู หา งจากฝง รวม
2. ลักษณะภมู อิ ากาศ ลักษณะภมู ิอากาศ มี 80 กโิ ลเมตรทางทะเล อาจจะมปี ญหาในการขนสง
ความเหมาะสมตอการทอ งเที่ยว มนี กั ทองเที่ยวทงั้ และการจาํ หนายผลผลติ ได
ชาวไทยและชาวตางประเทศนยิ มเดินทางมาเที่ยว 4. ศิลปะ วฒั นธรรม ประเพณี และวถิ ีชวี ิต
เปน จาํ นวนมาก จงึ เกือ้ หนุนในการดาํ เนนิ งาน ไมม ีขอ มูลเปน อุปสรรค
อาชพี 5.ทรัพยากรมนุษย มีผผู ลติ ในทองถน่ิ อนื่
3. ภมู ิประเทศ ภูมิประเทศของเกาะกูดเปน เกาะ ท่ดี าํ เนนิ การผลิต อาจสง ผลตอการจําหนา ยได
ทม่ี ีธรรมชาติสวยงาม มีนักทอ งเทยี่ วทง้ั ชาวไทย
และชาวตางประเทศเดนิ ทางมาเทย่ี วเปนจาํ นวนมาก
จงึ เก้อื หนนุ ในการดําเนินงานอาชีพ
4. ศิลปะ วฒั นธรรม ประเพณี และวถิ ีชีวิต น้ํามนั
มะพรา วกลน่ั เยน็ เปน ผลิตภัณฑท เ่ี ปน ที่นยิ มของ
นกั ทอ งเทย่ี วท้ังชาวไทยและชาวตางประเทศ
5.ทรพั ยากรมนษุ ย ไมม ีขอ มูลเปน โอกาส

29

5. เมือ่ ดาํ เนนิ การวิเคราะหร ะบขุ อมลู ตามหัวขอ ของรายละเอยี ดยอยในแตละประเดน็ ของสภาพ
บริบทชุมชนแลว ผวู เิ คราะหข อมลู ตองวเิ คราะหสรปุ ขอมูลท้งั หมด เพอ่ื ใหมองเห็นสภาพการณทงั้ หมด
พรอ มทจ่ี ะนาํ ไปกําหนดเปา หมายและทิศทางทีจ่ ะดาํ เนินการอาชีพตอ ไป โดยสรปุ เปนขอเพ่อื ความชดั เจน

ตวั อยางการวิเคราะหส รปุ ขอ มูล
จากผลการวเิ คราะหร ะบขุ อมูล สามารถสรปุ ไดดังน้ี
1. จากขอมูลสภาพการณภ ายใน สรปุ ไดวา อาชีพการทาํ นํา้ มนั มะพรา วกลน่ั เยน็ ในพื้นทต่ี ําบล
เกาะกดู มีทรพั ยากรธรรมชาติทนี่ ํามาใช ไดแก มะพราว ในการทาํ นา้ํ มันมะพรา วกลัน่ เย็นประกอบกบั ตาํ บล
เกาะกดู เปน เกาะท่ีมีธรรมชาติสวยงาม มีลกั ษณะภูมอิ ากาศ ที่เหมาะสม ตอการทอ งเทีย่ ว มีนักทองเท่ียวทงั้
ชาวไทยและชาวตางประเทศนิยมเดนิ ทางมาเท่ยี วเปนจํานวนมาก จงึ เก้ือหนุนในการดาํ เนินงานอาชีพ
และเปน ผลิตภณั ฑท ีม่ กี ารใชม าแตอ ดตี โดยในการผลติ นนั้ มีผูรูที่สามารถใหคาํ ปรึกษา และสามารถ
ดําเนินการไดด ว ยสมาชกิ ภายในครอบครัว
ทั้งน้ี หากมกี ารดาํ เนินการผลิตน้ํามนั มะพรา วกล่นั เยน็ เปนอาชีพ ตอ งคาํ นึงระยะทางของตําบล
เกาะกดู หางจากฝงรว ม 80 กิโลเมตรทางทะเล และสภาพภมู ิอากาศในชว งฤดมู รสมุ เพราะเรอื โดยสารที่
จะฝากผลผลิตไปจําหนา ยอาจจะหยดุ
2. จากขอมูลสภาพการณภ ายนอก สรปุ ไดว า อาชพี การทําน้ํามันมะพราวกล่นั เย็น หากประสบ
ปญหาวตั ถดุ บิ คือ มะพรา ว สามารถทีจ่ ะประสานขอซอ้ื จากตําบลเกาะหมากได เพราะมรี ะยะทางไม
หา งไกล และเปนพ้ืนทท่ี ี่มมี ะพรา วจาํ นวนมากเชนเดียวกัน จากการมาทองเทย่ี วที่ตําบลเกาะกูด เพอ่ื
ชืน่ ชมธรรมชาตทิ ี่สวยงาม ของนกั ทองเทีย่ วท้ังชาวไทยและชาวตางประเทศสามารถเกื้อหนุนใน
การดําเนนิ งานอาชพี ไดเปน อยางดี และน้าํ มันมะพรา วกลน่ั เยน็ เปน ผลิตภัณฑท เ่ี ปนท่นี ยิ มของ
นักทองเทย่ี วทง้ั ชาวไทยและชาวตางประเทศ
3. ภาพรวมการวิเคราะหสภาพการณส รุปไดว า

1. มีความเหมาะสมและเปนไปได ในการดาํ เนินงานอาชพี การทาํ น้ํามนั มะพรา วกลั่นเย็น
เพราะสามารถใชม ะพราวซงึ่ เปนทรัพยากรธรรมชาติ ทมี่ ีสามารถใชไดจาํ นวนมาก ในพื้นทตี่ าํ บลเกาะกดู

2. สามารถดาํ เนินการผลิตน้ํามนั มะพรา วกล่ันเย็น และจาํ หนา ยใหแ กน ักทองเทยี่ วทงั้
ชาวไทยและชาวตางประเทศ ท่เี ดนิ ทางมาทองเทย่ี วท่ตี ําบลเกาะกูดได

3. ดาํ เนินการอาชพี ใชก ารบรหิ ารจัดการอาชพี ในลักษณะครอบครวั
4. เม่ือสามารถวเิ คราะหกาํ หนดเปาหมายและทศิ ทาง ทจ่ี ะดาํ เนนิ การอาชีพไดแ ลว เพ่ือใหเ กดิ
เปา หมายสงู สุดและเสน ทางการดาํ เนินงานอาชีพ ผปู ระกอบการควรจดั ทาํ แผนพัฒนาธุรกจิ ชุมชน เพอื่ ให
การบริหารจดั การงานอาชีพเปน ไปอยางมรี ะบบและเปา หมายทีช่ ัดเจน

30

ใบงานท่ี 6

ใหผ เู รยี นวิเคราะหช ุมชน ตามสภาพบริบทของพน้ื ท่ี ไดแ ก ทรัพยากรธรรมชาติ ลกั ษณะ
ภูมิอากาศ ภูมิประเทศ ศลิ ปะ วัฒนธรรม ประเพณี วิถีชวี ติ และทรพั ยากรมนษุ ย กบั งานอาชีพ
ท่ตี ดั สนิ ใจเลอื ก ดว ยเทคนคิ การวเิ คราะหช ุมชน เพื่อการเขาสอู าชีพ

อาชพี ท่ตี ัดสินใจเลือก .................................................

สถานการณภายในชมุ ชน
จดุ แขง็ จุดออน

1. ทรัพยากรธรรมชาติ 1. ทรัพยากรธรรมชาติ

2. ลักษณะภูมิอากาศ 2. ลกั ษณะภมู ิอากาศ
3. ภูมิประเทศ 3. ภูมิประเทศ
4. ศิลปะ วัฒนธรรม ประเพณี และวิถีชีวติ 4. ศลิ ปะ วฒั นธรรม ประเพณี และวถิ ชี ีวติ

5.ทรพั ยากรมนุษย 5.ทรัพยากรมนษุ ย
สถานการณภ ายนอกชมุ ชน

โอกาส อุปสรรค

1. ทรัพยากรธรรมชาติ 1. ทรัพยากรธรรมชาติ
2. ลักษณะภูมิอากาศ 2. ลกั ษณะภมู ิอากาศ

3. ภูมปิ ระเทศ 3. ภูมิประเทศ
4. ศิลปะ วัฒนธรรม ประเพณี และวิถชี วี ติ 4. ศิลปะ วัฒนธรรม ประเพณี และวถิ ชี ีวติ
5.ทรัพยากรมนุษย 5.ทรพั ยากรมนษุ ย

31

เรอ่ื งที่ 2
การกําหนดวสิ ยั ทัศน พันธกิจ เปา หมาย กลยทุ ธ

ในการกาํ หนดแผนธุรกจิ ชุมชน

การดํารงชวี ิตของคนเรา มีเหตุการณมากมายหลายอยางเขามาเก่ียวของกับชีวิตของ แตละคน
องคกร ชุมชน มีท้ังเปนคุณและเปนโทษ ทําใหการดําเนินชีวิตผิดพลาด ทําใหเกิดความไมเช่ือมั่นใน
ตัวเอง องคกร ชุมชน สงผลใหหยอนสมรรถภาพในการทํางาน หรือการบริหารงานน้ัน จึงตองมีการ
กาํ หนดวิสัยทศั น พนั ธกิจ เปาหมาย กลยุทธ ในการกาํ หนดแผนธุรกิจชุมชน

ความหมายของวิสัยทัศน
หมายถงึ การมองภาพอนาคตของผนู าํ และสมาชิกในองคกร ชุมชน และกําหนดความตองการ

รวมสุดทาย พรอมเช่ือมโยงกับภารกิจ คานิยม และความเชื่อเขาดวยกัน แลวมุงสูจุดหมายปลายทางที่
ชัดเจน ทาทาย มีพลัง และความเปนไปได โดยเปนความตองการของชุมชน และทุกคนในชุมชน
เห็นพอ งตองกันแลว

ตวั อยา ง
“หมบู า นทับทมิ สยาม 05 เปน ชมุ ชนเกษตรอินทรีย เพื่ออยูดีมีสุข ตามหลักปรัชญาของ

เศรษฐกจิ พอเพียง ภายในป...........”
เม่ือไดวิสัยทัศนของชุมชนแลว ทุกครัวเรือนจะตองกําหนดวิสัยทัศนของครอบครัว เพ่ือให

สอดคลองกบั วิสัยทศั นช มุ ชน
ตัวอยา ง
“ครอบครัวนายสมนึก มีมุกร เปนครอบครัวผลิตหนอไมฝรั่งเกษตรอินทรีย เพื่อการ

สงออก ภายในป...............”

ความหมายของพนั ธกจิ
หมายถงึ ความประสงค หรือความมงุ หมายพ้นื ฐานขององคกร ชุมชน ทจ่ี ะตอ งทําเพื่อใหเกิดผล

ตามวิสยั ทศั นท่กี าํ หนดไว อาจกลาวไดว าเปน ขอบเขตในการดําเนนิ งานขององคก รหรอื ชมุ ชนก็ได พันธกิจ
ทด่ี จี ะสามารถแยกความแตกตาง และคุณคาขององคกร ชุมชนแตละแหงได อยางชัดเจน ดังนั้น พันธกิจ
จะบงบอกวา ธุรกจิ ขององคก ร ชุมชนคืออะไร อะไรคือส่ิงที่องคกร ชุมชนตองการจะเปน และบางคร้ัง
อาจแสดงสิ่งที่องคกร ชุมชนกําลังใหบริการแกลูกคาอยูทั้งผลิตภัณฑ และบริการ ซึ่งมักจะคํานึงถึง
สง่ิ ตอไปนี้

32

อะไร - เพื่อระบุถึงหนา ท่ีของชมุ ชนวา จะดาํ เนนิ การอะไรบา ง เชน การทาํ ธรุ กจิ
การสนองความตอ งการของลูกคาดว ยตวั สนิ คาและบริการประเภทใด

ใคร - จะใหบริการแกผูบริโภคในกลมุ ใด และกลุมเปา หมายทีส่ าํ คัญเปน ใคร
ทําไม - จะทาํ ใหช มุ ชนยนื หยดั อยูได
อยางไร - จะมีกรรมวิธีในการปฏิบัติอยางไร มีวิธีการขายสินคาและบริการดวยวิธีการใด

ใชเทคโนโลยกี ารผลติ และใหบ รกิ ารแบบไหน
ตัวอยาง
พนั ธกจิ ของชุมชนบานทบั ทิมสยาม 05

1. ชุมชนบานทับทิมสยาม 05 รวมกับภาคีพัฒนา สรางผูนําชุมชนหรือภูมิปญญาให
เปนผชู ํานาญการเรอื่ งเกษตรอนิ ทรีย

2. จดั เวทีประชาคมทุกวันที่ 5 เวลา 18.00น.ของทุกเดือน
3. ประสานงานขอความชวยเหลอื จากภาครัฐและเอกชน

ความหมายของเปาหมาย
หมายถึง สิง่ ทเี่ ราตองการจะใหเ ปน ไปตามขอ บง ชคี้ วามสําเร็จตามพันธกิจ จะตองมีผล

ออกมาในเชิงปริมาณ คอื เปน รูปธรรม สามารถคิดคํานวณ หรือคิดหาเปอรเ ซน็ ตไ ด
ตวั อยาง
“ชมุ ชนบานทับทมิ สยาม 05 ผลติ หนอไมฝ รงั่ เกษตรอินทรียเพื่อการสงออกใหไดพ้ืนท่ี

ปลกู จํานวน 100 ไร ภายในป. ..........”

ความหมายของกลยุทธ
หมายถึง ตัวที่ถูกกําหนดข้ึนมาเพื่อเปนกรอบของการจัดการใหดําเนินงานเปนไป

ตามเปา หมาย ที่จะชว ยชน้ี ําถงึ กระบวนการในการวางแผนปฏิบตั กิ ารตอไป
ตวั อยา ง
1. กลยทุ ธธุรกิจ
1.1 เปนสนิ คาเดยี่ ว ที่เปน ตวั ทาํ รายไดด ที ส่ี ุด
1.2 ขยายผลการผลติ ไปสชู มุ ชนอืน่
2. กลยทุ ธการตลาดและผลติ ภณั ฑ
2.1 มกี ารทาํ สญั ญาซ้อื ขายลว งหนา
2.2 สินคา มกี ารรบั รองมาตรฐานเกษตรอินทรยี สากล
2.3 คน ควาเพอ่ื ไดน วัตกรรม เทคโนโลยีชวยในการผลติ

33

3. กลยทุ ธหนา ท่ีของชมุ ชน
3.1 สภาวะแวดลอ มทงั้ ภายในและภายนอก
3.2 ทนุ และทรพั ยากรธรรมชาตทิ ม่ี อี ยู

1. สภาพการประกอบอาชีพในชมุ ชน
ในแตละชุมชน หรือทองถ่ินมีสภาพแวดลอมแตกตางกันออกไป สภาพความเปนอยูของ

ประชากรในแตล ะชมุ ชนกแ็ ตกตางกนั ออกไปดว ย ฉะนนั้ การเลือกประกอบอาชพี โดยเฉพาะอยางยง่ิ การ
เลือกประกอบอาชีพอิสระ หากเรามีความรูความเขาใจสภาพของชุมชน และการประกอบอาชีพท่ี
ดาํ เนนิ การอยูในชุมชนนัน้ ๆ กจ็ ะทาํ ใหเรามขี อ มูลเบื้องตนสําหรบั นํามาพิจารณาเพื่อใหเห็นชองทางใน
การประกอบอาชีพ รวมท้งั จะชวยใหเราสามารถตดั สินใจเลือกประกอบอาชพี ไดเ หมาะสมยิ่งขึน้

2. สภาพความตองการของชมุ ชน
ความตองการของชุมชนเปน ปจ จัยสําคญั อยางหนงึ่ ในการตดั สนิ ใจเลือกประกอบอาชีพ เพราะวา

เราจะไดรวู าชมุ ชนตอ งการอะไรบาง เราจะไดพ จิ ารณาเพ่ือใหตอบสนองความตองการน้ัน จึงจําเปนตอง
มกี ารสํารวจความตอ งการของชมุ ชนเกย่ี วกบั การประกอบอาชีพ ซ่ึงสามารถรวบรวมขอมูลไดหลายวิธี
เชน การสมั ภาษณ การตอบแบบสอบถาม หรือการสังเกตการใชจายของคนในชุมชนวา ในแตละวันมี
ความตองการอุปโภค บริโภคสิ่งใด ผูเรียนจะตองออกแบบสรางเครื่องมือ หรือแบบสอบถามสําหรับ
การเกบ็ รวบรวมขอ มูล นาํ มาสรุปสภาพความตองการโดยเรยี งลําดบั จากมากไปหานอย

3. สภาพความพรอ มในการประกอบอาชพี
เมือ่ ผเู รียนไดส าํ รวจความตอ งการของชุมชนแลว กพ็ อจะมองเหน็ แนวทางในการเลอื กอาชีพบา ง

แลววาควรจะประกอบอาชีพใดในชุมชน แตกอนท่ีจะตัดสินใจเลือกอาชีพควรจะไดพิจารณาถึงความ
พรอ มในการประกอบอาชพี กอนวาเรามีความพรอม และเหมาะกับตัวเราเอง จึงจะทําใหการประกอบ
อาชพี ประสบความสาํ เร็จ

เมื่อไดสภาพการประกอบอาชีพแลว ก็สามารถกําหนดวิสัยทศั น พนั ธกจิ เปาหมาย และกลยุทธไ ด

34

ใบงานท่ี 7

ใหผ ูเรยี นกําหนดวิสัยทศั น พนั ธกิจ เปาหมาย และกลยุทธ ในการกําหนดแผนธุรกิจ
ของชมุ ชน 1 อาชพี ทตี่ วั เองชอบ และถนัด
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………

35

เรอื่ งที่ 3
การวางแผนปฏบิ ัตกิ าร

เม่อื ผเู รียนไดก าํ หนดแผนธรุ กจิ ของชุมชนแลว ก็พอมองเห็นแนวทางในการเลือกอาชีพ ควรท่ี
จะประกอบอาชีพใดในชุมชน แตกอนจะตัดสินใจเลือกควรจะตองพิจารณาถึงความพรอมในการ
ประกอบอาชีพกอนวา เรามีความพรอมท่ีจะประกอบอาชีพมากนอยเทาใด ดังน้ัน การประกอบอาชีพ
ใหประสบผลสาํ เรจ็ จําเปนตองมกี ารวางแผนอยางเปนระบบ

การจัดทาํ แผนการปฏบิ ตั กิ าร

มขี ้นั ตอนของการจัดทําแผนการปฏบิ ัติการ 5 ขน้ั ตอน ดังนี้
1. การวางแผน การวางแผนเปนจดุ เริ่มตน ในการดําเนินการ โดยกาํ หนดวัตถุประสงค

และวธิ ดี ําเนินงาน เพื่อใหบรรลวุ ตั ถุประสงคทีก่ ําหนดอยา งมปี ระสทิ ธภิ าพ และประสิทธผิ ล

ความสาํ คญั ของการวางแผน
1. เปนการคาดการณสงิ่ ท่จี ะเกิดในอนาคต
2. เปนการกาํ หนดวธิ ีการดาํ เนนิ งานตา ง ๆ อยา งเปน ขนั้ ตอน เพอื่ ใหบรรลุวัตถุประสงค
3. ทาํ ใหบ คุ คลรูหนา ที่ และความรบั ผิดชอบอยางชดั เจน
4. ทาํ ใหเกดิ การประสานงานทีด่ ี และเปนระบบในองคกร

หลกั สาํ คัญในการวางแผน
1. การศกึ ษาขอมลู พนื้ ฐานเพือ่ การวางแผน

1.1 การวิเคราะหผลตอบแทนของการลงทุน การทํากิจกรรมใดสิ่งที่ตองการคือ
ผลตอบแทนทไ่ี ดก าํ ไร ดงั นน้ั การประกอบธุรกิจจึงเปนกิจกรรมที่ตองการกําไร คือ กําไรท่ีเปนตัวเงิน
และกําไรท่เี ปนผลพลอยไดต อ สงั คม

1.2 การพจิ ารณาเกีย่ วกับสถานท่ีประกอบการ ศึกษาสถานที่ประกอบการอยูใกลแหลง
ชมุ ชน วัตถดุ ิบ แรงงาน ตลอดถงึ การขนสง ทจี่ ะสงผลใหป ระสบผลสาํ เร็จในการประกอบอาชีพ

1.3 ชวงระยะเวลาการผลิต มคี วามจําเปน อยา งย่งิ มีการวเิ คราะหช วงระยะความตองการ
ของผูบริโภค ตลอดจนใชชวงที่วิกฤตใหเปนโอกาส เชน น้ํามันราคาสูงจะตองปรับเปลี่ยนมาใช
แกส แทน เปนตน

1.4 ความตองการของผบู รโิ ภค จะตองสาํ รวจความตองการของผูบริโภค มีความตองการ
สินคา แบบใด ปรมิ าณมากนอ ยเพยี งไร

36

2. การกําหนดเปา หมาย จะตองมกี ารกําหนดเปา หมาย 2 ลกั ษณะคือ
2.1 เปาหมายเชิงปริมาณ จะตองมีการกําหนดปริมาณสินคาที่จะผลิตเขาสูตลาด

วา มีอะไร จํานวนเทา ไร ในแตละชวงเวลา
2.2 เปาหมายเชงิ คณุ ภาพ มีปจจัยที่พิจารณา คือ ลักษณะผลผลิตเขาสูตลาด และขนาด

ผลผลติ และอ่นื ๆ

ตัวอยา ง ตารางแสดงเปาหมายการผลิต

ผลผลติ ปริมาณผลผลิต คณุ ภาพผลผลิต
1.ไดรบั รองมาตรฐานเกษตรอินทรีย
ผกั กนิ ผล 2. - มะเขือเทศ 15 ลูก/ก.ก.
- มะเขอื เทศ
- มะเขือยาว 50 ก.ก./วนั - มะเขือยาว 10 ลกู /ก.ก.
- บวบหอม 8 ลูก/ก.ก.
- บวบหอม 20 ก.ก./วนั
30 ก.ก./วนั

3. การกําหนดกิจกรรมดําเนินการ เม่ือกําหนดเปาหมายการผลิตแลว จะตองมีการกําหนด
กจิ กรรมดําเนินงานใหส ามารถมผี ลผลิตไดต ามเปาหมาย ไดแก

3.1 การกําหนดสนิ คา ท่ีผลติ ตามลักษณะของสินคา ซงึ่ จะตองผลิตจาํ นวนเทาใดตอวนั
3.2 การจดั ระบบแรงงาน วัตถดุ บิ จาํ นวนเทาไรในแตล ะชว ง
3.3 การจัดอุปกรณใ หค รบและพรอ มทีจ่ ะผลติ ไดตลอดเวลา
3.4 อ่นื ๆ

4. การตรวจสอบแผน การตรวจสอบแผนทาํ ไดโ ดยพิจารณาความเปนไปได ดังนี้
4.1 การลงทนุ เงินทุนทจี่ ะใชตามแผนมีเพยี งพอหรอื ไม
4.2 แรงงานท่จี ะใชต ามขัน้ ตอนการดาํ เนินงานเพยี งพอหรือไม
4.3 ขั้นตอนการดําเนินงาน จะทําไดทนั ตามเวลาและปริมาณงานหรอื ไม
4.4 วสั ดอุ ุปกรณ เพียงพอพรอมใชง านหรือไม
4.5 เมื่อดาํ เนินงานแลวไมขาดทนุ

5. การปฏิบัติตามแผน เมื่อพิจารณาตรวจสอบแผนแลววาสามารถดําเนินการได ลงมือปฏิบัติ
ตามข้ันตอนตาง ๆ ตามแผนโดยมหี ลักการดังน้ี

5.1 ดําเนินงานตามแผน
5.2 ทําการติดตามผลการดําเนินงานอยางละเอียดทุกขั้นตอน ศึกษาสภาพปญหา
หาทางแกไขจากประสบการณแ ละผูรตู าง ๆ

37
5.3 ติดตามผลวา กิจกรรมใดท่ีไมประสบผลสําเร็จ ตองหากิจกรรมอ่ืนหรือผลผลิตอ่ืน
แทนเพื่อจะไดผ ลผลติ ตามแผนที่กําหนดไว

ตวั อยางการวางแผนปฏบิ ัตกิ าร

แผน ผลติ หนอ ไมฝรงั่ อินทรยี 
วตั ถุประสงค ผลติ หนอ ไมฝ ร่ังอนิ ทรียเ พอื่ การสงออก
เปา หมาย
แผนงาน 1 ปลกู หนอไมฝร่ังอนิ ทรยี จ ํานวน 100 ไร
แผนงาน 2 ผลติ ปยุ หมักชวี ภาพวันละ 1 ตนั
ผลติ หนอไมฝ ร่ังอนิ ทรยี เ พ่ือการสง ออก
ผลติ ปุย หมักชีวภาพวนั ละ 1 ตนั

38

ใบงานท่ี 8

ใหผ เู รียนจดั ทาํ การวางแผนปฏิบตั กิ ารอาชพี ท่ีเหมาะสม ตามตวั อยา งทีเ่ รยี นมา
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………

39

บทท่ี 3
การจัดการการผลติ และการบรกิ าร

สาระสาํ คญั
ความรู ความเขา ใจเก่ียวกับการควบคุมคุณภาพผลิตภัณฑ และบริการใหไดตามมาตรฐานของ

สินคา ตลอดจนมีการใชนวัตกรรมและเทคโนโลยีมาชวยในการผลิต เพื่อใหไดผลิตภัณฑท่ีมีขนาด
ปริมาณตามความตองการ การลดตนทุนการผลติ และการบริการ และจัดทําแผนการผลิตและบริการท่ีดี
เปนองคประกอบสาํ คัญของการจดั การการผลติ และบริการ

ตวั ชี้วดั
1. จัดการเกย่ี วกับการควบคมุ คณุ ภาพ
2. อธิบายวิธกี ารใชนวัตกรรม เทคโนโลยใี นการผลติ
3. อธิบายข้นั ตอนการลดตนทนุ การผลติ หรอื การบรกิ าร
4. จดั ทาํ แผนการจัดการผลิตหรือการบริการ

ขอบขา ยเน้อื หา
เรื่องท่ี 1 การจดั การเกี่ยวกับการควบคมุ คุณภาพ
เร่อื งท่ี 2 การใชน วตั กรรม เทคโนโลยีในการผลติ
เร่ืองท่ี 3 การลดตน ทุนการผลิตหรอื การบริการ
เรอ่ื งท่ี 4 การจัดทําแผนการจดั การการผลติ หรือการบริการ

ส่อื ประกอบการเรียนรู
1. ใบความรู
2. แหลง เรียนรู
3. ใบงาน

40

เรื่องที่ 1
การจัดการเกีย่ วกบั การควบคมุ คณุ ภาพ

ในการประกอบอาชีพ เปนเรือ่ งการตัดสินใจเริ่มตนคิด และนําไปสูการปฏิบัติ ซึ่งผูริเริ่มอาชีพ
จะตองจดั การเกย่ี วกับคุณภาพของสินคาทุกขั้นตอนใหเปนไปตามมาตรฐาน ขอกําหนด และมีขอควร
ปฏิบตั ิ ดังนี้

1. การสรา งความคิดในการทําผลิตภัณฑ
เปนการคน หาความคดิ ของตนเองในการทาํ อาชีพ วา จะเปนไปไดหรือไม และมองเหน็

ชองทางท่จี ะขายผลติ ภัณฑข องตนเองท่กี ําหนดไวไ ด ซง่ึ จะตอ งมีเทคนคิ การคนหาอาชีพ คือ
1.1 ตองดคู ุณสมบตั ิของผลิตภัณฑ กลาวคือเมื่อทําผลิตภัณฑขึ้นมาแลว ตองมีปริมาณ

ความตองการของลกู คา เกิดขน้ึ
1.2 ตองกําหนดความตองการและปญหา กลาวคือ ตองรูวาผลิตภัณฑท่ีจะทําสามารถ

แกปญหาอะไรใหกบั ผบู ริโภคไดบ า ง ทั้งในดานการบรกิ าร ความสะดวกสบาย และความสนใจในสินคา

2. เลอื กผลิตภัณฑ หรอื อาชีพ
เปนการพิจารณาเลือกความคิด และทําสินคาท่ีตนเองคิดวาเหมาะสม และสามารถ

สรา งกาํ ไรในการดาํ เนินงานได ซ่ึงตองพิจารณาความรูความสามารถของตนเอง โอกาสในการสรางตลาด
สินคาของตนเอง และจัดเตรยี มวสั ดุอปุ กรณตาง ๆ ใหพ รอ มในการทําผลิตภณั ฑ

3. การทดสอบผลิตภณั ฑ
เปน การพัฒนาแนวความคดิ ของตนเองเกย่ี วกบั ผลิตภณั ฑท ่ตี นเองสรา งขึ้น และพยายาม

สรางภาพลักษณที่ดีในผลิตภัณฑของตนเอง เชน กําหนดชื่อสินคา และตราสินคาท่ีเหมาะสม และ
สอดคลอ งกับผลิตภัณฑ และจะตองมคี าํ ถามในการทดสอบผลิตภัณฑเสมอ ดงั น้ี

3.1 ผลิตภัณฑทีส่ รางขน้ึ นา เชื่อถือหรอื ไม
3.2 ผลิตภัณฑเ ปนทีต่ อ งการ แกป ญ หา หรือตอบสนองความพอใจของผบู รโิ ภค

หรือไม
3.3 ผใู ดเปาหมายใดท่จี ะเปนคนใชผลิตภัณฑของเราบา ง
3.4 ราคาทก่ี ําหนดไวเ หมาะสมกบั คุณภาพของผลิตภณั ฑห รอื ไม

4. มาตรฐานของผลิตภัณฑ
มาตรฐาน คอื เกณฑในการพจิ ารณาผลิตภณั ฑ หรือสินคา เพื่อใหการรับรองวาผลิตภัณฑ

หรอื สินคานั้นมคี ณุ ภาพตามทแ่ี จง ไวใ นฉลาก โดยมมี าตรฐานอุตสาหกรรมทีใ่ ชก ันอยทู ่วั ไป
4.1 มาตรฐานระบบคณุ ภาพ ISO 9000 สว นใหญจ ะใชกบั สินคาหรือผลิตภัณฑที่ตองการ

รับรองคุณภาพ

41

4.2 มาตรฐานระบบการจดั การสิ่งแวดลอม ISO 14000 เปน การรับรองมาตรฐาน
ส่ิงแวดลอ ม โดยเฉพาะโรงงานอุตสาหกรรมทม่ี ีระบบการกําจดั นํ้าเสีย และไมท ําลายสิ่งแวดลอมกจ็ ะได
การรบั รองมาตรฐานน้ี

4.3 มาตรฐานขอกําหนดทั่วไปวาดวยความสามารถของหองปฏิบัติการสอบเทียบ
และหองปฏบิ ตั กิ ารทดสอบ มอก. 1300 - 2537 เปนมาตรฐานทสี่ รางความเช่ือม่นั กลา วคือ หลังจากมีการ
ทดสอบในหองปฏบิ ัติการ หรือการสอบนน้ั แลวจะทําใหเปน ทีย่ อมรับในผลการทดสอบ หรือสอบเทียบ
และผลการทดสอบระหวางประเทศ ซ่ึงจะชวยแกปญหาทางวิกฤตการณในขอตกลงดานการกีดกัน
ทางการคาได

5. ความสําคัญ และประโยชนข องเคร่อื งหมายมาตรฐาน
5.1 ความสาํ คญั ของเครื่องหมายมาตรฐาน
เคร่ืองหมายมาตรฐานท่ัวไปจะพบในสินคา หรือผลิตภัณฑประเภทตาง ๆ

ผลิตภณั ฑท แ่ี สดงเครอ่ื งหมายมาตรฐาน แสดงวา เปน ผลิตภัณฑท ี่ใหค วามมัน่ ใจ คือ
1. มคี ณุ ภาพตรงตามมาตรฐาน
2. ปลอดภัยในการบรโิ ภค
3. ราคาเหมาะสมกบั คณุ ภาพ
4. ผูซ ื้อไดรับความเปน ธรรม

5.2 ประโยชนข องเครื่องหมายมาตรฐาน
เคร่อื งหมายมาตรฐานจะชว ยอํานวยประโยชนแ กบ คุ คลหลาย ๆ ฝาย ทัง้ ผผู ลติ

และผูบรโิ ภค การกําหนดมาตรฐานท่จี ะสงผลตอภาพลักษณ และเศรษฐกจิ ของชาตโิ ดยสว นรวม คือ
1. ปลอดภัยในการใชง าน และการบริโภคสินคา
2. สะดวก ประหยัดเงินและเวลาในการเลือกซอื้ และเลือกใชส ินคา เพราะ

ผลิตภัณฑม าตรฐาน เปน สนิ คา ทส่ี ามารถใชทดแทนกนั และมีมาตรฐานใกลเ คียงกนั
3. ไดรับความยุติธรรมในการซ้ือสินคา หรือผลิตภัณฑท่ีมีคุณภาพเหมาะสม

กับราคา และสามารถเลือกซือ้ ไดต ามความตอ งการ
4. สามารถซ้ือสนิ คาที่มคี ุณภาพ และเหมาะสมกบั การใชป ระโยชนไ ดอ ยา งถกู ตอง
5. สามารถทดแทนช้ินสวนอุปกรณท่ีชํารุดไดสะดวก และรวดเร็ว ไมจําเปนตอง

ปรับเปล่ยี นอปุ กรณใหมท งั้ ชุด เนอ่ื งจากอุปกรณบางชนิดสามารถใชท ดแทนกนั ได
6. ซื้อสวนประกอบ และอะไหลที่ตองการปรับเปลี่ยนไดงาย เนื่องจากอุปกรณ

มใี หเ ลือกใช และมขี ายอยทู ั่วไป

42
การประกอบกิจการจะตองเรียนรูเก่ียวกับเครื่องหมายมาตรฐาน เพื่อรักษาสิทธิ
และประโยชนของกจิ การ นอกจากน้ียังตอ งมีคุณธรรม จริยธรรมทางธุรกิจจึงจะเปนผูประกอบการท่ีดี
ทําใหเกิดความมนั่ คง และเจริญกาวหนา ในอาชพี ตอไป

ภาพท่ี 1 เคร่ืองหมายมาตรฐานผลิตภัณฑ มอก.

ภาพที่ 2 ตรารบั รองคณุ ภาพระบบตรวจสอบสารพษิ


Click to View FlipBook Version