The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

กลุ่มพัฒนาการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย สำนักงาน กศน.

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by maw.nfe, 2020-04-17 05:09:33

ทักษะการประกอบอาชีพ อช11002 ประถม

กลุ่มพัฒนาการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย สำนักงาน กศน.

Keywords: หนังสือเรียน กศน.

43

Hygienic Fresh Fruit and Vegetable
Production Pilot Project
Department of Agriculture Thailand

ภาพที่ 3 ตรารบั รองผกั ผลไมอ นามัย
ภาพท่ี 4 ตรารับรองอาหารปลอดภยั

ภาพที่ 5 เคร่อื งหมายรับรองผลติ ภณั ฑเ กษตรอินทรยี  ACT

44
ภาพท่ี 6 เคร่ืองหมายรับรองผลิตภณั ฑเ กษตรอินทรยี  Organic Thailand

ภาพที่ 9 เครื่องหมายรับรองผลิตภณั ฑเ กษตรอินทรยี  OMIC/JAS
ภาพที่ 10 เครอ่ื งหมายรบั รองผลิตภณั ฑเกษตรอินทรยี  BCS

45

ใบงานท่ี 9

ใหผ เู รียนนําเครือ่ งหมายรับรองสินคามา 1 ชนิ้ พรอมอธบิ ายความหมายดว ย
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………

46

เรื่องที่ 2
การใชน วัตกรรม/เทคโนโลยใี นการผลติ

ในปจจบุ นั มนษุ ยเราตอ งการความสะดวกสบาย จึงมคี วามจําเปน ตองนํานวัตกรรม เทคโนโลยี
มาใชเพื่อชว ยเหลือ หรือประกอบกับงานอาชพี ทม่ี ีอยู และอํานวยความสะดวก ในการดาํ รงชวี ิตประจาํ วนั
ตลอดจนนาํ มาประยุกตใ ชใหเกิดประโยชน เพื่อลดระยะเวลา แรงงาน เพ่ือไดผลผลิตจํานวนมากตามความ
ตองการ

นวตั กรรม หมายถึง ส่ิงประดิษฐที่คิดคนขึ้นมาใหมเพ่ือชวยเหลือ อํานวยความสะดวก พัฒนา
งานใหดีขึ้นท้ังคุณภาพ และปริมาณ ตรงตามความตองการของตัวเอง และผูรับบริการ เชน การทํา
เคร่ืองมืออัดปุยนํ้าใหแกตนพืชในดิน ทําใหประหยัดการใชปุย ตนพืชสามารถใชไดเต็มที่ ไมมีการ
สูญหายจากการชะลา ง และระเหยหายไป เปน ตน

เทคโนโลยี หมายถงึ การนําความรู ทักษะ และทรัพยากรมาสรางวิธีการ หรือส่ิงของเครื่องใช
หรอื การนําวิธกี ารโดยผา นกระบวนการเพ่ือแกป ญหา สนองความตองการ หรือเพิ่มความสามารถในการ
ทาํ งาน เชน อดีตใชแรงงานผสมปุย หมกั ปจจุบันใชเ คร่ืองผสมและอัดเม็ด เปนตน

ระดบั ของเทคโนโลยใี นประเทศไทย จัดแบงออกได 3 ระดบั คอื
1. เทคโนโลยีระดับต่ํา เปนเทคโนโลยีสําหรับใชงานอยางงาย ๆ เปนความคิด

ภมู ิปญญาทองถิน่ ที่ใชกันมาดัง้ เดมิ ไดม ีการพัฒนาจากการใชม อื ขดุ มาใชไม หรือเหล็ก จอบ เสียม เคียว
ขวาน กบไสไม การพายเรอื ใชไ มพาย เปนตน

2. เทคโนโลยรี ะดับกลาง เปนเทคโนโลยีที่อาศัยความรูทางวิทยาศาสตร ไมสลับ ซับซอน
มกี ารใชเ คร่ืองมอื ทนุ แรงอยา งงาย เชน รอก คานดดี รถจักรยาน กงั หนั ลม ระหดั วดิ นาํ้ เปน ตน

3. เทคโนโลยรี ะดับสูง เปน เทคโนโลยีท่ีตองอาศัยความรูและวิทยาการระดับสูง เชน
เคร่อื งพรวนดิน รถแทรกเตอร คอมพวิ เตอร เปนตน
หลกั การเลือกนวตั กรรม เทคโนโลยีในการผลติ

แนวทางในการตดั สนิ ใจเลอื กใชนวตั กรรม เทคโนโลยที เ่ี หมาะสม เพอ่ื นํามาประยุกตใ ชใ นการผลิต
โดยคํานึงถงึ ผลกระทบตอสังคม และสง่ิ แวดลอม

1. เลอื กขนาดทีพ่ อเหมาะกับงาน
2. ใชง าน ราคาถูก และมปี ระสทิ ธภิ าพ
3. สามารถใชว สั ดพุ ้ืนบา น หรอื วัสดทุ อ งถนิ่
4. ใหผลคมุ คา
5. มคี วามสะดวกในการใชงาน
6. ไมเ ปนอนั ตรายตอ ผูใ ช และธรรมชาตสิ ่งิ แวดลอ ม

47

กระบวนการทางนวัตกรรม/เทคโนโลยีในการผลิต
เปนกระบวนการที่มีขั้นตอนการแกปญหา หรือสนองความตองการของมนุษย ใหระบุปญหา

รวบรวมขอมูลที่ตองการผลิต หรอื สรางสง่ิ ของตาง ๆ ประกอบดว ย
1. ระบุปญหาความตองการ
2. รวบรวมขอมลู หรือความรเู พอื่ แสวงหาวธิ กี ารการแกปญ หา
3. เลือกวิธีการในการแกป ญหา
4. วางแผนกาํ หนดวิธีการเพื่อแกปญหา
5. ปฏบิ ตั งิ าน หรอื สรา งส่งิ ของเครื่องใช
6. ทดสอบนําผลงานมาใชป ระโยชน
7. ปรบั ปรงุ พัฒนาผลิตผลงานท่สี มบูรณ

ประโยชนแ ละผลกระทบของนวัตกรรมเทคโนโลยีในการผลิต
1. ประโยชนข องนวัตกรรมเทคโนโลยีในการผลิต
ในปจจุบันโลกของนวัตกรรมเทคโนโลยี ไดมีการนําเอานวัตกรรม/เทคโนโลยี

เขามาใชในชีวิตประจําวันอยางแพรหลาย เชน การดัดแปลงทางพันธุกรรม หรือการแปลงพันธุของ
สงิ่ มีชวี ิต โดยกรรมวิธีพันธุวิศวกรรม (ไมไดเกิดขึ้นเองตามธรรมชาติ) ทําไดโดยใชวิธีการตัดตอยีนส
และนํายนี สแ ปลกปลอมถายทอดเขา ไปในส่งิ มีชวี ิต โดยใชส่ิงตาง ๆ ตอไปน้ี

1. ปรับปรงุ คุณคา ทางโภชนาการของอาหารใหสงู ขนึ้
2. ใหพ ืชมีความทนทานตอโรค และแมลงศตั รูพืช
3. ใหพืชมีความทนทานตอ ความแหงแลง และอณุ หภมู สิ งู หรือตาํ่
4. ยืดระยะเวลาการสกุ ของพชื ผัก และผลไม
5. ทําใหส ัตวผ ลิตโปรตีนทม่ี คี ณุ คา สงู ขึ้น
6. ปศุสัตวทใ่ี หเน้ือมีโปรตนี หรอื ยาปะปนอยู
7. การใหว ัคซีนแกม นุษยในรปู ของผักผลไมท ก่ี ินได
2. ผลกระทบของนวัตกรรม/เทคโนโลยใี นการผลติ
เปนท่ีรูกันดีวาในปจจุบันน้ีนวัตกรรมเทคโนโลยีในการผลิต เขามามีบทบาท
ตอ การดาํ เนินชวี ิตประจาํ วนั ของมนุษยในทุก ๆ ดา น จนแทบจะเปน สว นหนึง่ ของชีวติ มนษุ ยก็วา ได และ
ทกุ วนั นวัตกรรมเทคโนโลยีก็ไดถูกพัฒนาใหเจรญิ กา วหนาย่ิงข้ึนอยางไมหยุดย้ัง นวัตกรรมเทคโนโลยี
เออ้ื อํานวยความสะดวกใหแ กม นษุ ยใ นหลาย ๆ ดาน ไมว า จะเปนการส่ือสาร การคมนาคม ทําใหติดตอ
ถึงกัน ขามทวีปไดโดยใชเวลาไมถึงนาที นอกจากน้ียังมีดานการศึกษา ดานการแพทย ฯลฯ แตใน
ขณะเดยี วกัน นวัตกรรมเทคโนโลยกี ็มโี ทษมหันตถามนษุ ยนําไปใชใ นสิง่ ที่ผิด เชน การโจรกรรมขอมูล
การสรางขีปนาวุธ และระเบิดนิวเคลียร เปนตน สิ่งเหลาน้ีทําใหเกิดโทษอยางรายแรง ทําใหเกิด
การสูญเสยี ชีวิตและทรพั ยส นิ เปน จาํ นวนมาก

48

ใบงานท่ี 10

ใหผเู รียนหานวตั กรรมเทคโนโลยี ชวยการผลิตในอาชพี ทองถ่ินทานข้ึนมา 1 ช้ิน พรอมคาํ อธิบาย
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………

49

เรอ่ื งท่ี 3
การลดตน ทนุ การผลติ และการบริการ

การผลติ มีความจาํ เปนตองลดตนทุนในการผลิต และการบริการก็เชนเดียวกัน เพื่อจะไดราคา
สนิ คา และบรกิ ารท่ีเหมาะสม เปนท่พี งึ พอใจของผูบริโภค ตลอดจนมยี อดของการจําหนายเหมาะสม ซ่ึง
การลดตน ทนุ จะไมทาํ ใหค ุณภาพของผลิตภณั ฑดอ ยลง ในการลดตน ทนุ การผลติ การบริการ ผปู ระกอบการ
มีความจําเปนตองปรับปรุงโครงสรา งในการประกอบธุรกิจตาง ๆ ทั้งคาแรงงาน ตนทุนวัตถุดิบท่ีส่ังมา
จากตางประเทศ คา นํ้ามันเชือ้ เพลิง ปจจยั ในการลดตนทุนการผลิตหรือการบรกิ าร มหี ลายประการ เชน

1. เจา ของธรุ กิจจะตองมีนโยบายและโครงการเพ่ือลดตนทุนการผลิต และการบริการ
อยา งจริงจัง ชัดเจนและตอ เน่อื ง

2. สรางจิตสํานึกพนักงานใหมีจิตสํานึกที่ดีตอโครงการลดตนทุนการผลิต และ
การบริการ

3. มีมาตรการเพมิ่ ประสิทธิภาพและคณุ ภาพของการบริหารจดั การ
3.1 ประสทิ ธภิ าพการผลิต คอื ดัชนชี ี้วัด ใชเ ปรยี บเทียบการผลติ ในแตละเดือนผานมา
3.2 คณุ ภาพสินคา และบรกิ าร จะตองปลกู ฝงใหพ นกั งานมกี ารควบคมุ คณุ ภาพใหได
3.3 การสงมอบสนิ คา /บรกิ าร จะตอ งมอบสนิ คาตรงตามเวลา ตามท่ีลกู คาตองการ
โดยไมม ีปญ หา
3.4 ตนทุนการผลิต ในสินคาประเภทเดียวกันแตตนทุนไมเทากัน การลดตนทุน
มิใชสิ่งท่ีทําใหค ณุ ภาพของสนิ คา ลดลงเสมอไป
3.5 ความปลอดภัย เปนเร่อื งพนกั งานโดยตรง ซ่ึงควรกระทําอยางเครงครัด มีสวน
ทีใ่ หต น ทนุ การผลติ ลดนอยลงรวมท้ังสรางคุณภาพชวี ิตใหกบั พนกั งานได
3.6 ขวัญกําลงั ใจ เปน วิธีท่ีดีท่สี ดุ คอื เพิ่มคา จา งและเพมิ่ สวัสดกิ ารใหกบั พนักงาน
จะทาํ ใหพนักงานทาํ งานอยางเตม็ ท่ี
3.7 ส่ิงแวดลอมท่ดี ี เปนการสรางคุณภาพชีวติ ใหก ับเจาหนาที่ บางธรุ กิจจะเก่ยี วกับ
มาตรฐานและการจดั การกบั ส่ิงแวดลอ มไดด ถี อื วาเปนความรบั ผิดชอบตอสงั คม
3.8 จรรยาบรรณ เมือ่ มีการผลติ /บริการที่พลาดจะตอ งมีการยอมรับผิดและ
ปรับเปลยี่ นใหก ับผูรับบริการ

50
การลดตนทุนการผลิตหรือการบริการจะตองใชวงจร PDCA (Deming Cycle) ควบคุมใหมี
การดําเนินไปอยางตอ เนอื่ ง เมอ่ื เกดิ ปญหาในสวนใดหรือขั้นตอนใดใหมีการปรับปรุงแกไขและพัฒนา
ใหม กี ารตรวจสอบทกุ ขั้นตอน จะทาํ ใหสามารถลดตนทุนการผลิต หรอื การบรกิ ารไดอ ยา งถูกตอ ง

การลดตน ทุนการผลติ หรือการบรกิ าร ใชว งจร PDCA (Deming Cycle)

P (Planning) กิจกรรม/โครงการ
การลดตน ทนุ การผลิตหรือการบรกิ าร

A (Action) การปรบั ปรงุ แกไ ข D (Doing) การปฏบิ ัตงิ าน หรอื การ
และตั้งมาตรฐานในการดําเนนิ งาน ดําเนนิ งาน

C (Check) การตรวจสอบ
กิจกรรม/โครงการ

51

ใบงานที่ 11

ใหผ ูเ รียนบรรยายการลดตน ทุนการผลติ สนิ คา ที่ตัวเองชอบ และคิดวา จะทาํ เปนอาชพี
มาพอเขา ใจ
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………

52

เรอ่ื งที่ 4
การจัดทาํ แผนการจดั การการผลิตหรือการบรกิ าร

1. ปจ จัยการจัดทําแผนการจัดการการผลิตหรือการบรกิ าร ไดแก
1.1 การเลือกทําเลที่ตั้งของโรงงาน เพ่ือใหการผลิตดําเนินไปไดอยางมีประสิทธิภาพ การหา

สถานทตี่ ้ังโครงการท่ีเหมาะสมจึงมีความจําเปนอยางย่ิง หากเลือกทําเลท่ีไมเหมาะสมในการประกอบ
กิจกรรมจะทําใหองคกรประสบปญหาตาง ๆ ได เชน การขาดแคลนแรงงาน คาใชจายในการขนสง
ขาดแคลนทรัพยากรที่จําเปนในการผลิต เปนตน ดังนั้นในการเลือกทําเลที่ต้ังของสถานท่ีประกอบการ
ควรคํานึงถึงปจจัยตา ง ๆ ดงั น้ี

1.2 แหลงวัตถุดิบ การเลือกทําเลท่ีตั้งสถานประกอบการควรคํานึงถึงแหลงวัตถุดิบที่ใชใน
ธรุ กิจ โดยเฉพาะอุตสาหกรรมการผลิตตาง ๆ เพ่อื ความสะดวกในการจดั หาวัตถุดบิ ทม่ี ีคุณภาพดี ราคาถกู
และประหยัดคาขนสง

1.3 แรงงาน คอื การใชแรงงานคนในการผลิตสินคา หรือบริการ ซึ่งมี 2 ประเภท คือ แรงงาน
ที่มีทักษะความชํานาญ และแรงงานท่ัวไป ถาผูประกอบการตองการแรงงานที่มีทักษะความชํานาญ
ควรต้งั สถานประกอบการอยูใ นเมืองใหญ หรือบริเวณใกลเคียง แตถาเปนแรงงานทั่วไปสามารถจัดต้ัง
สถานประกอบการในตางจงั หวัดเพราะแรงงานหาไดง า ย

1.4 การขนสง ในการเลือกทําเลท่ีต้ังสถานประกอบการ ตองคํานึงถึงคาขนสงในดานตาง ๆ
ดังน้ี

- คาขนสง วัตถุดบิ จากแหลง วตั ถดุ บิ ไปยังสถานประกอบการ

- คาขนสง สินคา เพอ่ื จดั เก็บ
- คาขนสงไปสผู บู ริโภค
1.5 สง่ิ อํานวยความสะดวก และสาธารณปู โภคตาง ๆเชน น้าํ ไฟฟา ถนน การสื่อสาร สถานพยาบาล
สถานตี ํารวจ เปน ตน
1.6. กลุมลกู คา ชอ งทางการจาํ หนายสนิ คาโดยท่ัว ๆ ไป

โรงงานผลิตสินคา พอคาขายสง พอคาขายปลีก ลกู คา

พอคา ขายตรง

53

1.7 กฎหมายและระเบียบขอบงั คบั การเลือกทําเลที่ตัง้ ตองศึกษากฎหมายและระเบยี บขอบังคับ
ตา ง ๆ ทเี่ กี่ยวขอ ง เพอื่ ไมใ หเกิดการขดั แยง

2. เงินทนุ
หมายถึง เงนิ ทอ่ี งคก รจัดหามาเพอ่ื ใชลงทุน และดําเนินการประกอบกิจการเพื่อหวังผล

กําไรจากการลงทนุ ซง่ึ เปน ปจจัยสาํ คัญในการดาํ เนินธุรกิจ ต้ังแตเริ่มลงทุนประกอบกิจการ และใชจาย
ระหวางดําเนนิ กิจการ เพอื่ ใหก ารดําเนนิ การเปน ไปอยางมีประสทิ ธิภาพ และความเจรญิ เตบิ โตของธุรกิจ
ประเภทของเงนิ ทุน แบงออกเปน 2 ประเภท คอื

1. เงินทุนคงท่ี คือ เงินท่ีองคกรจัดหามาเพื่อใชในการจัดหาสินทรัพยถาวร
ซึ่งหมายถึง สินทรัพยที่มีอายุการใชงานเกิน 1 ปข้ึนไป เชน คาใชจายเก่ียวกับการเลือกทําเลท่ีต้ัง
สถานประกอบการ ไดแก ราคาที่ดิน คาแรงงาน คาขนสง คาวัสดุอุปกรณ เครื่องจักร คาโรงงาน
คาธรรมเนยี มและภาษี ทจี่ ะตอ งชาํ ระใหองคก รของรัฐเปน ตน

2. เงินทุนหมุนเวียน เปนเงินทุนท่ีองคกรจัดหาเพ่ือใชในการดําเนินการจัดหา
สินทรัพยหมุนเวียน ซ่ึงหมายถึง สินทรัพยท่ีมีอายุการใชงานตํ่ากวา 1 ป เงิน วัตถุดิบในการผลิต
วัสดุสิน้ เปลอื ง คา แรงงาน คาขนสง คาโฆษณา คานาํ้ คาไฟฟา คาโทรศพั ท เปน ตน

ตัวอยา ง การทาํ แผนการจัดการการผลิตหรือการบรกิ าร

ขนั้ ตอนการดําเนนิ งาน ม.ค ก.พ ม.ี ค เม.ย เดอื นทด่ี าํ เนนิ การ ก.ย ต.ค พ.ย ธ.ค.
พ.ค ม.ิ ย ก.ค ส.ค

1. จดั หาแหลง เงินทุน 
2. เตรยี มเครือ่ งจักร 

3. แหลง วตั ถุดบิ 
4. ดําเนินการผลติ 
5. บรรจุหีบหอ 
6. ขนสงรานคา 
7. ผูบรโิ ภค 

54

ใบงานท่ี 12

ใหผ เู รยี นจดั ทําแผนการผลติ หรอื การบรกิ ารในอาชีพท่ตี วั เองชอบ และพรอ ม
จะประกอบอาชพี มาพอสังเขป
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………

55

บทที
การจัดการการตลาด

สาระสําคญั
การจัดการการตลาด เปนการนําสินคา/บริการ ที่ผูประกอบการผลิตไดไปจําหนาย

ใหแกผ บู รโิ ภค ผปู ระกอบการที่ดีตอ งมคี วามรูค วามเขาใจในการจัดการการตลาดเพื่อนําสินคา/ผลผลิต
เขาสูตลาดไดตามกาํ หนด และมีการจดั ทําแผนการจัดการตลาดได เพื่อใหมสี ินคา บรกิ ารตลอดเวลา

ตัวช้ีวัด
1. จัดการการตลาดเพื่อนาํ ผลผลติ เขาสูตลาด
2. จัดทําแผนการจัดการการตลาด

ขอบขา ยเน้อื หา
เรื่องท่ี 1 การจดั การการตลาด
เรื่องท่ี 2 การจัดทาํ แผนการจดั การการตลาด

ส่อื ประกอบการเรยี นรู
1. ใบความรู
2. แหลงเรยี นรู
3. ใบงาน

56

เร่ืองท่ี 1
การจดั การการตลาด

การตลาด หมายถงึ การดําเนนิ กิจกรรมตาง ๆ ที่จะทําใหสนิ คา หรือบรกิ ารจากผผู ลิตไปสผู บู ริโภค
หรอื ผใู ช โดยมวี ตั ถุประสงคเ พอ่ื ความพงึ พอใจของผูบรโิ ภค

ความสําคัญของการตลาด
1. ผูมีความรูดานการตลาด สามารถเขาใจกระบวนการตาง ๆ ที่ผูผลิตสินคาใชเปน

กลยุทธทางการตลาด เพื่อใหผูบริโภคเกิดการรับรู ความสนใจ และตัดสินใจซื้อสินคา และบริการ
โดยปกติแลวองคกรธุรกิจจะมีตนทุนในการผลิตสินคาและบริการ และตนทุนทางการตลาด นั่นคือ
ราคาสินคาและบริการท่ีผูบริโภคจายไปน้ันจะรวมตนทุนทางการตลาดไวแลว เปนการผลักภาระ
ใหก บั ผบู ริโภค

2. การตลาดทําใหเกดิ การแลกเปล่ยี นสินคาและบรกิ าร ในอดีตการตลาดมีความสําคัญ
ไมมากนกั เพราะคนสวนใหญดํารงชีวิตแบบพอยังชีพ และมีการแลกเปล่ียนสินคาและบริการโดยตรง
ไมผานส่อื กลาง คือ เงินตรา และการตลาดในสมัยกอ นมักจะเนน ทกี่ ารผลติ สินคามากกวา การศึกษาความ
ตอ งการของผบู รโิ ภค เพราะความตองการซอื้ มมี ากกวา ความตองการขาย และจํานวนคแู ขง มีนอยราย แตใน
ปจจุบันมีการเปลีย่ นแปลงในดา นตา ง ๆ มากข้นึ ไดแ ก สงั คม วัฒนธรรม เทคโนโลยี การส่ือสาร ความ
ตองการของผูบริโภค อกี ทง้ั ยงั มผี ูป ระกอบการเปนจํานวนมาก ดงั นนั้ ธรุ กิจใดสามารถคงอยูใ นตลาดได
ยอ มมีการตอบสนองความตองการของผูบ ริโภคไดอ ยางมีประสิทธภิ าพ

3. การตลาดชวยพัฒนาเศรษฐกิจ การพัฒนาเศรษฐกิจของประเทศเปนผลมาจาก
การซื้อขาย แลกเปลี่ยนสินคา และบรกิ ารอยางมปี ระสทิ ธิภาพ ไมเกิดการเอารัดเอาเปรียบระหวางผูผลิต
หรือพอ คา กับผูบริโภค
ชนดิ ของตลาดในชุมชน

1 ตลาดทอ งถิ่น
เปนตลาดท่ีมีสถานท่ีต้ังถาวรมีการจําหนายสินคาในทองถ่ินทุกวัน เปนตลาด

ท่ีมีแนวโนม ที่จะใหค าตอบแทนตอผผู ลติ สูงกวาตลาดแบบอ่ืน เนื่องจากผูผลิตสามารถจําหนายผลผลิต
ใหกบั ผบู ริโภคไดโดยตรง ถงึ แมว าจะมีคาใชจ ายในเรือ่ งคา ขนสง และคาแรงเพ่ิมข้ึนแตก็จัดวาไมสูงนัก
เพราะตลาดเหลาน้ีมักไมไดอยูหางไกลกับแหลงผลิต และดวยปริมาณการขายท่ีนอย แรงงานท่ีใชใน
การจัดเตรยี มผลผลติ มักเปน แรงงานในครวั เรอื น

ประโยชนอ ีกดา นหนง่ึ ของการตลาดทองถ่ิน คือ ชวยทําใหผูผลิตและผูบริโภคเกิด
ความรสู ึกรวมกันเปนชุมชน มีเอกลักษณ และมีความผูกพันรวมกัน เปนการสรางกระบวนการเรียนรู
ของผผู ลติ จากการปฏิสมั พนั ธร ะหวางผผู ลิตและผูบริโภค มโี อกาสทีจ่ ะเรยี นรูเกี่ยวกับความตอ งการของ

ผบู ริโภค และความเปลยี่ นแปลงของตลาด ซ่งึ ชวยใหผูผลิตสามารถปรบั เปลยี่ นการผลิตของตวั เอง

57

เพือ่ ใหส อดคลองกับตลาดไดเ รว็ ขนึ้ ทัง้ ยงั เกอื้ กูลตอการพฒั นาสงั คม อนรุ กั ษพลังงาน และชวยฟน ฟู
เศรษฐกจิ ชุมชน โดยทําใหเงินทนุ หมนุ เวยี นอยใู นชุมชนมากข้ึน

2 ตลาดเชา ในทองถ่ิน
เปนตลาดท่ีไมมีท่ีตั้งถาวร อาจใชสถานที่สาธารณะ เชน หนาวัด โรงเรียน ที่วางใน

หมบู า น ซ่งึ สว นใหญเปนตลาดที่เปดขายในชว งเชา ตรู และมกั จะเปดขายในชวงระยะเวลาสั้น ๆ เพียง 2 – 3
ชั่วโมง สมาชิกในชุมชนนําสินคาที่ผลิตไดในครอบครัวมาจําหนาย สินคาสวนใหญมักเปนอาหารสด
หรืออาหารแปรรูปอยางงาย ตลาดแบบนี้เหมาะกับผลผลิตทางการเกษตรรายยอยเปนผลผลิตท่ีผลิต
ในชมุ ชน และมผี ลผลิตทีม่ ีปรมิ าณไมมาก เพราะเปน ตลาดขนาดเลก็

ขอดีคือ เกษตรกรผูผลิตเสียคาใชจายในการขายผลผลิตตํ่ามาก ทําใหเกษตรกร
มีรายรับเต็มจากการขาย ซึง่ ไดเงนิ สดเปนรายไดป ระจํา จะชวยแบงเบาภาระสําหรับคาใชจายประจําวัน
ของครอบครัวเกษตรกรได แตร าคาผลิตผลทีจ่ าํ หนายมกั จะมรี าคาคอ นขางตาํ่ เพราะความสามารถในการ
ซ้อื มอี ยูนอย

3. ตลาดนดั ทองถิน่
สวนใหญเปนตลาดคลายกับตลาดเชาในทองถิ่น แตอาจมีขนาดใหญกวา และมัก

จัดในท่ีมีผูบริโภคอยูหนาแนน เชน โรงพยาบาล สถานที่ราชการตาง ๆ ตลาดนัดน้ีจะเปดขายเฉพาะ
วันที่กําหนด ระยะเวลาในการเปดอาจเพียงคร่ึงวัน หรือเต็มวันข้ึนอยูกับปริมาณของผูบริโภค และ
ขอจํากัดของสถานท่ี

ตลาดนัดเชนน้ีมักตองการกลุมบุคคล หรือองคกรใดองคกรหนึ่ง ท่ีทําหนาที่
ประสานงานกับเจาหนาทข่ี องพืน้ ที่ และประชาสัมพันธใหกับผูบริโภค จะมีสินคาและผลผลิตมากมาย
ใหเลอื ก

4. ตลาดสดเทศบาล
เปน ตลาดทเ่ี ทศบาลจัดต้ังขึ้นในตัวเมือง เพ่ือบริการใหพอคา-แมคา และผูมาใชบริการ
มสี นิ คา อุปโภค บรโิ ภค บางแหงจะจัดสถานท่ีใหกับชาวบานนําผลผลิตของตนเองมาวางจําหนายดวย
ผมู าใชบริการจะไดรับความสะดวก สามารถซื้อ - ขาย สินคาไดตามความตองการ โดยมีเทศบาลคอย
ดูแล ควบคุม ความสะอาด

58

5. หางสรรพสินคา
เปนตลาดท่ีใหบริการที่สะดวกสบาย มีสถานที่จอดรถ บริการรถเข็นสินคา

รานอาหาร จัดสินคาแยกประเภทสินคามาใหเลือก มีราคาสินคาแนนอน ผูซ้ือสามารถเลือกวิเคราะห
สินคา แตล ะชนิดไดใ หตรงกบั วัตถุประสงค
การจดั การการตลาด

คือ การสรางการรับรูระหวางผูขาย กับผูซื้อ เพื่อกระตุนใหลูกคาเกิดความตองการ
สนิ คา และตดั สินใจซื้อ ประกอบดว ย

1. การโฆษณา คือ การสื่อสารโดยการใชส่ือตาง ๆ ที่ไมใชตัวบุคคล และมีคาใชจาย
ในการโฆษณา เชน วิทยุ โทรทัศน และส่ือส่ิงพิมพ เพ่ือสรางการรับรู ความสนใจ ความเชื่อม่ัน และ
การตดั สนิ ใจซ้อื การโฆษณาเปน การใหข อ มลู แบบโปรยหวานที่มีผูร บั รทู ุกเพศ ทกุ วยั

2. การประชาสัมพันธ คือ กิจกรรมตาง ๆ ท่ีสรางความนาเชื่อถือ และสามารถเขาถึง
กลุมเปา หมายไดด ีกวา การสือ่ สารโดยวิธอี ่ืน ๆ เชน การใหข อง การบริจาคเงินชวยเหลอื ผปู ระสบอทุ กภัย
และการใหท นุ การศึกษา เปน ตน

3. การวจิ ัยการตลาด เปนสื่อ หรือเคร่ืองมือสําคัญที่ใชสําหรับคนหาขอมูลท่ีเกี่ยวของ
กับลูกคา ทัง้ ในปจ จุบนั และอนาคตที่เกิดขึ้นเพือ่ ท่ีตนเอง กลมุ หรอื องคกร จะสามารถนําไปใชประโยชน
ในการวางแผนดําเนินการ และใชค วบคมุ การทาํ งานใหด ีขึ้น ซ่ึงการวิจัยการตลาดจะเกีย่ วของกัน

ดังนั้น การวิจัยการตลาด หมายถึง การเก็บรวบรวม และการวิเคราะหขอมูลตาง ๆ
ทเ่ี กี่ยวของกบั การตดั สินใจทางการตลาด และรวมถงึ การสอ่ื ความถึงผลทไ่ี ดจ ากการวิเคราะหเหลาน้ันไป
ยังฝายจัดการ เพ่ือนําขอมูลมาปรับปรุงและพัฒนาผลิตภัณฑ และบริการใหตรงกับความตองการของ
กลมุ ลกู คาเปา หมาย

ข้ันตอนการจัดทําวจิ ัยการตลาด ประกอบดว ยข้ันตอนตา ง ๆ ดังน้ี
1. การกําหนดขอมูลท่ตี องคน หา
2. กําหนดวธิ ีการรวบรวมขอมูล
3. กําหนดแบบฟอรมสาํ หรับการเก็บรวบรวมขอ มูล
4. กาํ หนดระเบียบวิธีการสุมตวั อยา ง
5. กาํ หนดขัน้ ตอน วิธดี าํ เนินการเก็บขอ มลู ตาง ๆ
6. วางแผนพฒั นางานสําหรบั ประมวลขอมลู
7. วางแผนพัฒนางานสําหรับการวิเคราะหขอมูล
8. กําหนดการจัดเตรยี มรายงาน เพ่ือนําเสนอผลการวิจัยตอฝา ยจดั การ

59

4. การสงเสริมการขาย คือ กระบวนการท่ีเกย่ี วของกับการสงเสริมการตลาดในภาพรวม
เพ่ือใหเ ห็นถึงสว นของตลาดที่แตกตางกัน สําหรับผลิตภัณฑอยางใดอยางหน่ึง โดยแยกตลาดเหลาน้ัน
เปนสวนยอย ๆ ในสวนยอยเหลานี้มักจะมีลักษณะเหมือน หรือคลายกันอยางเห็นไดชัด แตก็มีความ
แตกตา งกันเลก็ นอย ดังนี้

1. วิธีตลาดแรงงาน คือ ขายสินคาที่ใชวิธีการเดียวจูงใจลูกคาท้ังหมด เชน การนํา
สนิ คา ไปต้งั แผงขายที่หนา โรงงาน ซ่งึ พนกั งานจะซอื้ กอนกลับบาน เปนตน

2. การตลาดทเ่ี นนใหมีผลิตภัณฑท่ีตางกัน คือ ผูขายพยายามผลิตสินคาหลายแบบ
ที่มลี ักษณะแตกตา งกัน ทั้งรูปราง แบบ คุณภาพ และขนาด

3. การตลาดที่มุงเปาหมาย คือ ผูขายดูความแตกตางของกลุมผูบริโภค แลวพัฒนา
ผลิตภณั ฑใหต รงกบั ตลาด หรอื ความตอ งการของผบู รโิ ภคทกุ กลุม

4. การตลาดควบคู คือ ผขู ายมีสินคาแจก และมีการชิงรางวลั เพ่อื จูงใจผบู ริโภค

5. การทําฐานขอมูลลูกคา ตามแนวคิดทางการตลาดที่มีจุดมุงหมายท่ีการตอบสนอง
ความตอ งการของผูบรโิ ภคใหไ ดรับความพึงพอใจน้ัน ธรุ กิจจาํ เปนตอ งศึกษาถึงพฤติกรรมของผูบริโภค
ในดานตาง ๆ เพ่ือเปนขอมูลในการวางแผนทางการตลาดอยางมีประสิทธิภาพ รูปแบบการวิเคราะห
พฤติกรรมของผูบริโภค มีลกั ษณะเปนสว นประกอบภายในจติ ใจ และความนึกคดิ ของผบู รโิ ภค อาจแยก
ออกไดตามรปู แบบดังนี้

1. ชีใ้ หเห็นปจจัยอิทธิพลตา ง ๆ ทั้งหมดในเชิงรวม
2. ชใี้ หเ หน็ ถึงปจจยั สว นบคุ คล และปจจัยสภาพแวดลอ มทางสังคม ตามสถานการณ
และกระบวนการตัดสินใจซอ้ื
3. ช้ใี หเ ห็นถงึ ปจ จยั ทางสังคม วัฒนธรรม และจิตวิทยาทีม่ ผี ลตอพฤติกรรมในการซื้อ

ประโยชนข องการทําฐานขอ มูลลูกคา
1. ใชปรบั ปรงุ กลยทุ ธการตลาด โดยการวเิ คราะห และออกแบบกลยทุ ธไ ดถ กู ตอ งกวา
2. สามารถมกี ลวิธีการเขาพบลกู คากอ นหลังดว ยวิธตี า งกนั
3. สามารถปรับสว นประสมทางการตลาดท่ถี ูกตอ ง ไดป ระสทิ ธิภาพหลายแงมุมยิ่งขึ้น

โดยใชก ลยุทธเชิงรวมจึงไดผ ลกวา
4. สามารถเพมิ่ คณุ ภาพของศิลปะการปฏิบตั ติ ามผลการตลาด โดยเฉพาะการโนมนาว

ชกั จงู ใจ และการสรางอทิ ธพิ ลเหนอื ผูบ ริโภค

60

6. การกระจายสินคา เปนการจัดการเคลื่อนยายสินคาท่ีพรอมขายไปสูผูบริโภค
ผปู ระกอบการผลติ สนิ คา เพื่อจําหนาย มักจะประสบปญหาการผลิตเกี่ยวกับจํานวนจัดจําหนาย การตั้ง
ราคาขาย หรือควรผลติ ในรูปแบบไหนจงึ จะเหมาะสม ควรมีขอมูลทางการตลาดประกอบการตัดสินใจ
เชน

1. วเิ คราะหผ ลการดําเนินงานของแผนการตลาด ยอดขาย และอัตราสวนในตลาด
มีนอยเพียงใด ชองทางการจัดจําหนายสินคาดีที่สุดหรือไม การกระจายสินคาสูงสุดหรือไม รวมทั้ง
คา ใชจายในการผลติ สินคา

2. วิเคราะหตลาดและพยากรณยอดขาย เพ่ือทราบอาณาเขตการขาย จํานวนลูกคา
และแนวโนม การเจรญิ เติบโตของตลาดสินคาแตล ะชนิด

3. วเิ คราะหผ ลิตภณั ฑ เพอ่ื ใหทราบความตองการ ความพอใจ ทัศนคตทิ ่ีแทจริงของ
ผบู ริโภคท่ีมีตอสินคาใหม รวมทง้ั ตอ งทดสอบผลิตภัณฑห บี หอ

4. ขอ มูลดานโฆษณา การโฆษณามีอทิ ธิพลตอ การตัดสนิ ใจของผบู รโิ ภค
5. วเิ คราะหชองทางการจําหนาย เพื่อกระจายสินคาจากโรงงานไปสูมือผูบริโภค
โดยผา นพอคาสง ตัวแทน หรอื ขายเอง รวมทง้ั การขนสง การจัดหีบหอ

61

ใบงานท่ี 13

ใหผูเรียนอธบิ ายตลาดทีม่ ีอยใู นชุมชนที่เหมาะสมกับอาชีพทีต่ นเองคิดไวพอสังเขป
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………

62

เรื่องท่ี 2
การจดั ทาํ แผนการจดั การการตลาด

หนาท่ีการตลาด คือ กิจกรรมทางการตลาดที่องคกรจะตองดําเนินการใหเปาหมาย
ทางการตลาดสําเร็จลงไดด วยดี สรุปไดด งั นี้

1. การวิเคราะหสภาพแวดลอม และการวิจัยตลาด คือ การตรวจสอบผลกระทบ
ทีเ่ กิดขน้ึ จากสภาวะเศรษฐกจิ และการแขง ขนั ทมี่ ีผลตอ การตลาด

2. การวิเคราะหผูบรโิ ภค คอื การประเมินความตองการ กระบวนการซ้ือของผูบริโภค
ใหเ ขา ใจ

3. การวางแผนการผลิตและบริการ คือ การพัฒนารักษาผลิตภัณฑ ตรา การหีบหอ
รวมทั้งการยกเลิกผลิตภณั ฑบางอยาง

4. การวางแผนเกยี่ วกับราคา คอื การกําหนดชวงราคา เทคนิคการตั้งราคา และการใช
ราคาเปน ตัวรุก หรอื ตง้ั รับ

5. การวางแผนการจัดจําหนาย คือ การกําหนดชองทางการจําหนาย การขนสง การเก็บ
รักษา การแยกแยะ การคา สง การคา ปลกี

6. การวางแผนการสงเสริมการจําหนาย คือ การโฆษณา การขายโดยบุคคล และ
การประชาสมั พันธ

7. การพิจารณาความรับผิดชอบตอสังคม คือ มีความรับผิดชอบในแงความปลอดภัย
ความมศี ีลธรรม และเนนประโยชนค ณุ คา ของสินคา และบรกิ าร

8. การบริการการตลาด คือ การวางแผนทางการตลาด การประเมินถึงความเส่ียง
และประโยชนข องการตดั สินใจทางการตลาด

การวางแผนกลยุทธทางการตลาด
คอื การปรับตัวขององคกรธรุ กจิ เม่อื ประสบปญหาอปุ สรรคในการประกอบธุรกจิ

สามารถแยกเปน 4 แนวทาง ไดแ ก
1. การเจาะตลาด คอื พยายามเพิ่มยอดขาย โดยเจาะเขา สูต ลาดใหม ๆ มากข้นึ
2. การพัฒนาตลาด คอื วธิ ีการเพิ่มยอดขายของผลิตภณั ฑทมี่ อี ยใู นปจจบุ ันใหข ยายตวั

เขาสตู ลาดใหม
3. การพัฒนาผลิตภัณฑ คือ การเพ่ิมยอดขาย โดยวิธีการพัฒนาผลิตภัณฑใหม

หรอื ปรับปรงุ ผลติ ภัณฑเกา
4. การขยายชนิดผลิตภัณฑ คือ การขยายตัวเขาสูธุรกิจดานใหม ๆ เชน ธุรกิจทอผา

ขยายตวั ไปสธู รุ กิจการผลติ รองเทา เปน ตน

63

การวางแผนกลยุทธท างการตลาด เปนการจดั ทาํ แผนกิจกรรมของงานทกุ ดา นทเี่ ขามา
สนบั สนุนแผนงานการตลาดของตนเอง ของกลมุ หรือขององคกร ใหมีประสิทธิภาพสูงสุด โดยทุกฝาย
ชวยกันพิจารณาทางเลือก แลวเลือกทางท่ีเหมาะสมกับเวลาท่ีจะดําเนินการควบคูกับตนทุน คาใชจาย
ท่จี าํ เปน เพื่อใหชวยบรรลุเปา หมายตาง ๆ โดยมีรายละเอยี ดดังนี้

1. สรุปปจจัยภายนอก และภายในท่ีมีผลกระทบดานการตลาดของตนเอง ของกลุม
หรือขององคกร ตลอดจนพิจารณาจุดออน จุดแข็งตาง ๆ ภายใน วิเคราะหภาวการณแขงขัน โดยการ
ตรวจสอบการตลาด

2. พิจารณาปจจัยตาง ๆ ที่มีผลกระทบตอความสําเร็จ หรือลมเหลวของการตลาด
ของตนเอง ของกลุม หรอื ขององคกร

3. ตั้งขอสมมตุ ิฐานอนาคตของตัวเอง ของกลมุ หรือขององคกร
4. กาํ หนดวตั ถุประสงคท างการตลาด
5. กาํ หนดกลยทุ ธใหง านตา ง ๆ บรรลุวัตถุประสงค
6. จดั ทาํ แผนงาน และแผนการดําเนนิ งานตา ง ๆ เพื่อใหบรรลวุ ตั ถุประสงคตามกลยุทธ
ท่วี างไว
7. ติดตามผลเพอื่ ใหปฏิบตั ติ ามแผนทบทวนปรับปรุง ใหสอดคลอ งกับความจาํ เปน ตา ง ๆ

การจัดทาํ แผนการจัดการการตลาด
เปน การคาดการณเหตุการณตาง ๆ ในอนาคต และตัดสินใจเลือกแนวปฏิบัติที่ดีที่สุด

โดยผานกระบวนการคิดกอนทํา เพื่อใหบรรลุผลสําเร็จตามเปาหมายท่ีไดต้ังไว ข้ันตอนการทําแผน
การจัดการการตลาด มีดงั นี้

1. ศึกษาสภาพแวดลอมขององคกรเกี่ยวกับอนาคต เชน ศึกษาถึงปจจัยภายนอก
และภายในขององคกรวามอี ะไรบาง ท่ีตอ งการใหส นบั สนนุ หรือมีผลตอองคกรในอนาคต เชน การทํา
น้ําสมุนไพรของกลุมแมบาน จะตองมีการทําแผนการผลิต เคร่ืองมือ วัตถุดิบ ราคา ผูจัดทําแผน
จําเปนตองติดตามเฝาดูอยูตลอดเวลา และจะตองศึกษาตอไปวาจะมีการพัฒนาอะไรตอไปบาง หรือ
มปี ญหาอะไรท่จี ะเกิดขึ้น ซง่ึ ผทู าํ แผนจะตอ งนาํ มาพิจารณาตอ ไป

2. วตั ถุประสงค ในการกําหนดวตั ถปุ ระสงคจ ะเปนการกําหนดวาจะทําอะไรเพื่อใคร
ในการกําหนดวตั ถุประสงคน ้ันจะตองรัดกมุ และครอบคลมุ ส่ิงทีต่ อ งการ

3. การสรา งเปา หมาย หมายถึง จํานวนท่ีระบุไว และสามารถวัดไดในระยะเวลาสั้น ๆ
เชน ภายในป พ.ศ. 2552 จะตองจาํ หนายน้ําสมนุ ไพรได 100,000 ขวด เปนตน

4. การกําหนดแผนการดําเนินงาน หมายถงึ การกําหนดข้ันตอนในการดําเนินงานตาง ๆ
ซึ่งการกําหนดแผนการดําเนินงานน้ีจะชวยทําใหการดําเนินงานภายในกิจกรรมน้ัน บรรลุ
ตามวตั ถุประสงคทีก่ ําหนดไวไ ดอยา งมปี ระสิทธภิ าพ

64
5. แผนปฏิบัติงาน ในการดําเนินการกิจกรรมตาง ๆ นั้น การมีแผนปฏิบัติงาน
อยางเดียวนั้นยังไมเพียงพอ หากแตตองดําเนินการกิจกรรมน้ัน ๆ อยางตอเน่ืองตามแผนท่ีกําหนดไว
กจิ กรรมน้ันจึงจะสาํ เร็จตามเปาหมาย
6. ในการดําเนินการกิจกรรม ในบางคร้ังตองมีการปรับแผนตามขอมูลยอนกลับ
นั่นหมายถงึ การปฏบิ ตั ิงานตามแผนแลว ผลท่ีไดไมเปนไปตามแผน จะตองปรับแผน อาจจะเปนระบบ
ของงาน หรอื ตัวบคุ คล หรือวิธีการดําเนนิ งานท่ีวางไว

ตวั อยาง ตารางแสดงการจดั ทําแผนการจัดการตลาด

กจิ กรรม ตารางแสดงแผนการดาํ เนินการของกลมุ แมบ าน
เดอื นทดี่ าํ เนนิ การ
วางแผนการตลาด
ประชาสมั พันธ ม.ค. ก.พ. มี.ค. เม.ย. พ.ค. มิ.ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย. ต.ค. พ.ย. ธ.ค.
ใหความรฝู ายขาย 
ดําเนินการขาย
สรปุ ผลการขาย 







65

ใบงานท่ี 14

ใหผ ูเ รยี นวางแผนการขายสนิ คา ของตนเอง แลว เขยี นแผนภมู ิวางแผนการจัดการตลาด
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………

66

บทที่ 5
การขบั เคล่อื นสรางธรุ กจิ เพ่ือเขา สูอาชพี

สาระสําคญั
สิ่งสาํ คญั ในการขบั เคลือ่ นธรุ กจิ เพอ่ื เขาสูอาชีพ ผปู ระกอบการจะตองมีความรูเก่ียวกับ

การวิเคราะหความเปนไปไดของแผนปฏิบัติการ การพัฒนาแผนปฏิบัติการ ขั้นตอนการขับเคลื่อน
การสรา งธุรกิจ สรปุ ปญ หาอปุ สรรค และแนวทางแกไขที่เกิดจากการขับเคลื่อนธุรกิจ เพ่ือการตัดสินใจ
ดําเนนิ การ

ตวั ชี้วัด

1. วิเคราะหค วามเปน ไปไดข องแผนปฏบิ ัตกิ าร
2. พฒั นาแผนปฏบิ ตั กิ าร
3. อธิบายข้นั ตอนการขบั เคล่ือนสรา งธุรกิจได
4. อธบิ ายปญ หา อปุ สรรค และแนวทางแกไ ขทเี่ กดิ จากการขับเคล่ือนธรุ กจิ

ขอบขายเนอ้ื หา
เร่ืองที่ 1 การวเิ คราะหความเปนไปไดข องแผนปฏบิ ตั ิการ
เรอ่ื งท่ี 2 การพฒั นาแผนปฏบิ ตั กิ าร
เรื่องที่ 3 ขนั้ ตอนการขับเคลื่อนการสรา งธรุ กิจ
เรื่องท่ี 4 ปญ หา อุปสรรค และแนวทางแกไข

สอ่ื การเรียนรู 1. ใบความรู
2. แหลงเรียนรู
3. ใบงาน

67

เรือ่ งท่ี 1
การวิเคราะหความเปน ไปไดข องแผนปฏบิ ัตกิ าร

เมื่อดําเนินการจัดทําแผนปฏิบัติการเปนท่ีเรียบรอยแลว ผูประกอบการควรจะตองมีการ
วเิ คราะหค วามเปน ไปไดของแผนควบคูไ ปดวย เพ่ือประเมนิ ความเปนไปไดของแผน เพราะแผนท่ีดีตอง
อยบู นพื้นฐานความเปน ไปไดและนํามาปฏบิ ัตจิ ริง จงึ จะเกดิ ประโยชนค มุ คาในการดาํ เนนิ การจัดทาํ แผน
ดงั กลาวผปู ระกอบธุรกิจจาํ เปน ท่ีจะตองมคี วามรูและประสบการณเฉพาะดานเปนอยางดี หรืออาจสงให
ผเู ช่ียวชาญเฉพาะดานในแตล ะแผนยอ ย ๆ ในแผนธุรกจิ เปนผูว ิเคราะหใหความเห็น ในความเปนไปได
ของแผนดังกลา ว ดังน้ี

1. วเิ คราะหค วามถูกตองนาเช่ือถือของขอมูลพื้นฐานที่จะนํามาใชในการกําหนดแผน
วามีความเที่ยงตรงเพียงใด เพราะถาหากไมเที่ยงตรงมาเสียต้ังแตจุดเริ่มตนแลว สิ่งท่ีจะถูกกําหนดข้ึน
ตามมาก็จะคลาดเคล่ือน และหางไกลความเปนจริงที่อาจเปนไปไดในแผนท้ังหมด เชน การไดขอมูล
เกี่ยวกับคูแขงขันมาไมถูกตอง ก็ทําใหเราประเมินความสามารถของคูแขงขันผิดไป ผลที่ตามมาคือ
อาจทําใหเ ราประมาทคแู ขง ขัน หรอื ใชกลยุทธท ผี่ ดิ ทางไปก็เปน ได ดงั น้ัน ในการวเิ คราะหต องตรวจสอบ
แหลงท่มี าของขอ มลู ใหเปนแหลงที่ถูกตอ งสาํ หรับฐานขอมูล และความทันสมยั ของขอมูล

2. วิเคราะหว ัตถุประสงค จะทําอะไรเพ่ือใคร ในส่ิงที่จะทํามีความยาก - งาย สามารถ
หาวัสดุ หรือวัตถุดิบท่ีจะใชไดตลอดทุกฤดู ท้ังคุณภาพ และปริมาณ เพ่ือตอบสนองตอผูบริโภคท่ีได
กําหนดไว เมือ่ วัตถดุ บิ มนี อย หรือไมพอจาํ นวนผบู รโิ ภคจําเปน ตองลดลงตาม เพอ่ื การดําเนนิ ธุรกิจจะได
ดําเนนิ การไดอยา งราบรื่น ลดความเสี่ยงจากปญ หาส่งิ แวดลอ ม เชน สภาพเศรษฐกจิ สังคม การเมอื ง และ
ภยั ทางธรรมชาติ

3. วิเคราะหเปาหมายที่ไดกําหนดไว ควรมีการวิเคราะหพฤติกรรมของผูบริโภค
จะเกิดประโยชนหลายประการ คือ

3.1 ใชป รบั ปรุงกลยทุ ธก ารตลาด โดยการวเิ คราะห และออกแบบกลยุทธไดถูกตอ งกวา
3.2 สามารถมีกลวิธกี ารเขาพบลูกคากอนหลงั ดว ยวธิ กี ารตา งกนั
3.3 สามารถปรับสว นประสมทางการตลาดท่ีถกู ตองไดป ระสทิ ธิภาพหลายแงม ุม
ยงิ่ ขึ้น โดยใชก ลยุทธเชิงรวมจึงไดผ ลกวา
3.4 สามารถเพ่ิมคณุ ภาพของศิลปะการปฏบิ ัติตามผลการตลาด โดยเฉพาะการโนมนา ว
ชักจงู และการสรา งอทิ ธพิ ลเหนือผูบรโิ ภค
4. วเิ คราะหถ ึงผลตอบแทนของแผนปฏิบัตกิ าร เปนการวเิ คราะหว าจะไดผลตอบแทน
คมุ กับการลงทุนหรอื ไมเม่ือส้นิ สดุ แผนการปฏิบัตกิ ารแลว ตามผลที่คาดวาจะไดรับวาจะไดกําไรเทาไร
หรอื ขาดทนุ เทา ใด

68
หลังจากผานการวิเคราะหทั้ง 3 ขอแลวก็พอประเมินไดวา สมควรท่ีจะจัดทํา
ตามแผนปฏิบัตกิ าร หรอื โครงการนีห้ รอื ไม โดยพจิ ารณาความพรอมของตนเอง และสภาพแวดลอมอื่น ๆ
นาํ มารวมพิจารณาตัดสินใจดวย แผนปฏิบัติการจะเปนไปไดมากนอยเพียงใดก็ข้ึนอยูกับผูปฏิบัติ และ
วิธีปฏิบตั เิ ปนสาํ คัญ หากคิดใหดีแลว จะเห็นวาแมแผนท่ีเขียนข้ึนไวจะดีเพียงใดหากผูนําไปปฏิบัติไมมี
ความเขาใจในแผน ไมเหน็ ความสําคัญ หรือไมใ หความรวมมือดวยแลว ทกุ อยา งก็อาจลมเหลว ส่ิงที่ผูทําแผน
คิดวาเปนไปไดก อ็ าจเปนไปไมไดใ นทส่ี ุด ทางทีด่ แี ลว ในข้ันตอนการเขียนแผน ควรจะไดเปดโอกาสให
ผูท่ีเกี่ยวของ โดยเฉพาะผูท่ีมีหนาที่ในการนําแผนไปปฏิบัติ ไดมีสวนรวมในการจัดทําแผนดวยเพื่อให
แผนนั้น ๆ เกิดความเปนไปไดมากท่ีสดุ ในการนําไปปฏิบัติ

69

ใบงานท่ี 15

ใหผเู รียนนําแผนการปฏบิ ัติการในบทท่ี 2 มาวิเคราะหความเปน ไปไดของแผนปฏบิ ตั ิการ
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………

70

เร่อื งที่ 2
การพัฒนาแผนปฏิบตั ิการ

การพฒั นาแผนปฏบิ ัตกิ าร เปน การนาํ ผลการวิเคราะหค วามเปนไปไดของแผนปฏิบัติการ
ของผูประกอบการมาตอยอด เพื่อพัฒนางานอาชีพในธุรกิจของตนใหดําเนินงานไดดียิ่งข้ึน กลาวคือ
บางครั้งอาชีพหนึ่งอาจมีความสัมพันธกับอีกอาชีพหนึ่งได หรือผลพลอยไดจากอาชีพหน่ึง กอใหเกิด
รายไดในอีกอาชพี หน่ึง เปน การเชื่อมโยงกันเพ่ือลดความเส่ียงของธุรกิจ หรือเพ่ือใหเกิดรายไดเพิ่มข้ึน
ซง่ึ สามารถเชือ่ มโยงได 3 รูปแบบ ดังนี้

1. ความสัมพนั ธร ะหวา งอาชพี โดยศึกษาขอมูลอาชีพหน่ึง กับอีกอาชีพหนึ่งที่เกิดข้ึนใหม
เพ่ือใหอ าชีพทีม่ ีอยูเ กดิ ความสัมพนั ธกัน เชน อาชีพชาวนาเมื่อนวดขา วเสรจ็ แลวจะมฟี างมากมาย ไมม เี วลา
และอุปกรณในการอัดฟาง ก็จะเกิดอาชีพพอคาอัดฟางขายใหกับผูเล้ียงโค กระบือ และฟารมเห็ดฟาง
และจะเกิดอาชพี การทําปุย หมกั จากมูลโค และกระบอื กับเศษกองเหด็ ทเ่ี พาะเหด็ แลว เมอื่ ไดป ุยหมกั ก็จะมี
ธุรกจิ ทําดนิ ปลกู ตนไม ซง่ึ กาํ ลงั เปนที่นิยมกนั อยา งแพรหลาย

ขาวเปลือก ชาวนา ฟาง
โรงสี อดั ฟาง
ปลายขาว เล้ียงสตั ว

ขา วสาร แกลบ รําละเอยี ด มูลสตั ว เพาะเหด็

แปรรปู บริโภค ปยุ หมัก

2. ผลพลอยไดจากการประกอบอาชพี ในการประกอบอาชพี หนงึ่ หลังจากทไ่ี ดผลผลิต
ออกแลว มักจะมีผลพลอยไดของผลิตภณั ฑอ อกมา เชน โรงเล่ือยไมยางพารา จะมีขี้เล่ือยออกมาก จะเกิดอาชีพ
พอคาขายขี้เล่ือยไมยางพารา ซึ่งกําลังเปนท่ีตองการของผูประกอบการเพาะเห็ดกอน โดยรับจัดสงได
ท่ัวประเทศ จะเกิดอาชีพการเพาะเห็ดกอน เม่ือเห็ดออกหมดแลวกอนเห็ดจะถูกทิ้งไป จะมีคนมารับ
ไปทาํ ปยุ หมกั ตอ อีก

71

โรงเลื่อยไมยางพารา

ไมอดั ข้เี ลื่อย ปุยหมกั

เพาะเหด็ ถงุ ดินเพาะปลกู

3. การประยุกตใชทรัพยากรที่มีอยู เกิดอาชีพรับซื้อของเกา ก็กําลังเปนที่นิยม ท่ีเปน
อาชีพอิสระที่มีรายไดดี และก็เกิดรานรับซื้อของเกา แลวนําเอาทรัพยากรเหลานี้มาใชใหม โดยใช
เทคโนโลยเี ขา ชวยก็สามารถไดท รัพยากรกลับมาใชไ ดอกี

ขายเอง รานรบั ซอื้ ของเกา พอ คาของเกา

นํามาใชใหม นาํ มาแปรรูป
ขวดชนิดตา ง ๆ ใหม

ทําโมบาย

โรงงานตาง ๆ รานคา ปลีก

4. ประกอบอาชีพควบคูเก้ือกูลกัน เชน การเลี้ยงสุกรบนบอปลา เมื่อใหอาหารสุกร
เศษอาหารลวงหลน ลงน้ําเปนอาหารของปลา ลา งคอกสกุ รเศษอาหารรวมทั้งสิง่ ขับถายของสุกรก็จะเปน
อาหารปลา น้าํ ในบอปลาใชร ดผัก ดงั นั้นไมไดล งทนุ ดา นอาหารในการเล้ียงปลา แตตองปรึกษาผูรูกอน
วาจะเลี้ยงปลาอะไรและสกุ ร 1 ตวั ตอการเลี้ยงปลากีต่ วั จึงจะไดผ ลตอบแทนท่ีดีและน้ําไมเ นา เสีย

เลยี้ งสุกร มลู สกุ ร เลยี้ งปลา นํา้ ในบอปลา ปลูกผัก

72

ใบงานท่ี 16

ใหผูเรียนยกตัวอยางการพัฒนาแผนปฏิบัติการอาชีพในชุมชนโดยการเช่ือมโยงมา
อยา งนอ ย 2 วิธี พรอมยกตัวอยางประกอบ
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………

73

เรื่องท่ี 3
ขนั้ ตอนการขับเคล่ือนการสรางธุรกิจ

เม่ือผูเรียนไดจัดทําแผนปฏิบัติการแลว จําเปนที่จะตองนําแผนดังกลาวไปจัดทําข้ันตอนการ
ขับเคลื่อนเพ่ือสรางธุรกิจใหเกิดข้ึน จากนั้นนําขอบกพรองในการดําเนินงานมาวิเคราะห เพ่ือจะได
ปรับปรงุ แกไขใหแ ผนปฏิบัติการสมบูรณย่ิงขึน้

ขัน้ ตอนการขับเคล่ือนการสรางธุรกจิ
1. การทําผลิตภณั ฑห รืออาชพี
เปนการคนหาความคิดของตนเองในการทําผลิตภัณฑ วาจะมีความเปนไปได

หรอื ไม และมองเห็นชอ งทางท่จี ะจําหนา ยผลิตภัณฑของตนเองตามทีก่ ําหนดไวไ ด ซ่ึงตองมีการกําหนด
ผลติ ภณั ฑ ดังน้ี

1.1 การจัดซ้ือวัตถุดิบในการผลิต ตองมีการวางแผนการจัดซื้อ จัดหาวัตถุดิบ
มีการตรวจสอบวัตถุดิบท้ังหมด และทุกครั้งท่ีมีการตรวจรับ ตลอดจนวัตถุดิบคงเหลือควรจดบันทึก
โดยมุงไปทว่ี ตั ถใุ นทอ งถิน่ หรือบรเิ วณใกลเ คยี ง เพอ่ื ลดคา ใชจา ยในการขนสง

1.2 ตองดูคุณสมบัติของผลิตภัณฑ เม่ือทําผลิตภัณฑขึ้นมาแลว ตองมีปริมาณ
เพยี งพอกบั ความตองการของผบู รโิ ภคไมมากเกินไปจนผลิตภัณฑเ หลือ และหมดอายุตองนําผลิตภัณฑ
กลับเสยี คาใชจ ายเพมิ่ ข้ึน

1.3 ตองกําหนดความตองการและปญหา ตองรูวาผลิตภัณฑที่จะทําสามารถ
แกป ญหาอะไรใหกับผบู ริโภคได ทงั้ ในดา นบรกิ าร ความสะดวกสบาย ความสนใจในสนิ คา

2. การทดสอบผลติ ภัณฑ
เปนการพัฒนาแนวความคิดของตนเองเก่ียวกับผลิตภัณฑที่ตนเองสรางขึ้น

และพยายามสรางภาพลักษณท่ีดีในผลิตภัณฑของตนเอง เชน การกําหนดชื่อสินคา และตราสินคาท่ี
เหมาะสม และสอดคลอ งกับผลิตภัณฑ และจะตอ งมีคาํ ถามในการทดสอบผลติ ภัณฑเ สมอ เชน

2.1 ผลติ ภัณฑทส่ี รางขึ้นนาเชอ่ื ถือหรอื ไม
2.2 ผลิตภัณฑเปนท่ีตองการ หรือแกปญหา หรือตอบสนองความพึงพอใจของ
ผบู รโิ ภคหรือไม
2.3 ผใู ด หรอื เปาหมายใดท่จี ะเปน คนใชผลิตภัณฑ
2.4 ราคาทก่ี าํ หนดไวเ หมาะสมกับผลิตภณั ฑ ยดึ หลกั ความมีคุณธรรม
2.5 จัดทําการรับรองสินคาใหไดตามมาตรฐานท่ีกําหนด เพ่ือจะไดเครื่องหมาย
รบั รอง

74

3. การพัฒนาการตลาด
การพัฒนาการตลาด ตอ งคาํ นึงถึงสง่ิ ตาง ๆ ไดแก
3.1 ราคาของผลิตภณั ฑ เหมาะสมกับคุณภาพ และกําลังซอื้ ของผบู รโิ ภคหรอื ไม
3.2 การบรรจหุ บี หอ ตอ งมกี ารออกแบบบรรจุภัณฑใหสนิ คาเปนทนี่ าสนใจสาํ หรับ

ผูบริโภค
3.3 การขาย ตองมีการสงเสริมการขายที่เปนรูปธรรม และเขาถึงกลุมเปาหมาย

หรอื ผูต องการผลิตภัณฑไ ดร วดเรว็
3.4 การประชาสมั พนั ธ ตอ งมีการโฆษณา หรอื ทาํ การชวนเชื่อใหผ สู นใจซอ้ื สนิ คา ได
3.5 ผลกําไร และขาดทนุ ตองมีการประเมนิ รายได และรายจา ยในการดําเนินงาน

4. การประเมนิ และวิเคราะหผลิตภณั ฑข องตนเอง
เปน การประเมนิ ความตอ งการของผบู ริโภค และยอดขาย กําหนดผลกาํ ไรและขาดทุน

ของการดําเนินงานวา เหมาะสมจะขยายกิจการ หรอื ลดขนาดกิจการลง โดยทั่วไปนิยมประเมินจากผลกําไร
และขาดทนุ ในการดําเนินงาน พรอมท้ังปจ จัยทีส่ ําคญั อีกประการหน่ึง คือ ตัวของผูประกอบอาชีพเองวามี
ความมงุ ม่นั ที่จะดาํ เนนิ อาชีพตอไปหรอื ไม

5. การพฒั นาผลติ ภณั ฑ หรืออาชพี ใหเจรญิ กา วหนา
เปนการตอบคําถามตนเองหลังจากประเมิน และวิเคราะหวาตนเองสามารถ

ปรับปรุง หรอื เปลีย่ นแปลงผลิตภัณฑ โดยใชเทคนิค และวิธีการตาง ๆ ท่ีตนเองมีความรูความสามารถ
เชน การบรรจุหีบหอ การปรุงแตง และการประชาสัมพันธ เปนตน ซึ่งสิ่งตาง ๆ เหลานี้ตองคํานึงถึง
การยอมรบั ของผบู ริโภคเปน สําคญั

75

เรือ่ งที่ 4
ปญหา อปุ สรรค และแนวทางแกไ ข

ปญหาอปุ สรรค
ในการปฏิบัติงานมักจะมีปญหาและอุปสรรคเขามาเกี่ยวของ ทําใหธุรกิจไมสามารถ

ดําเนนิ งานไปตามแผนปฏิบตั กิ ารท่ีวางไว สว นใหญป ญหาจะเกิดจากสิ่งทีเ่ ราไมสามารถควบคมุ ได เชน
1. ปญ หาจากภัยธรรมชาติ
1.1 ภัยแลง เกิดจากการที่ฝนไมตกตามฤดูกาล หรือการขาดท่ีกักน้ําไวใชในฤดูแลง

สงผลใหเ กษตรกรประกอบอาชพี ทางการเกษตรไมไดเนอื่ งจากการขาดนา้ํ
1.2 อุทกภัย (ภัยน้ําทวม) ในบางคร้ังฝนตกมากเกินไป จนเกินความตองการ

ของเกษตรกร ทาํ ใหเ กิดนา้ํ ทว ม ไรน าเสียหาย บางรายถึงขนาดหมดตัว
1.3 วาตภัย (ภัยลม) อาจจะมาในลักษณะของพายุฤดูรอนท่ีมีกระแสลมพัดแรงมาก

ซง่ึ กอ ใหเกดิ ผลเสยี หายแกพ ืชไร พชื สวน เปนตน
1.4 อัคคภี ัย (ภยั ไฟไหม) มกั จะเกิดในชว งฤดูรอน จากการท่ีกิ่งไมเสียดสีกัน ทําใหเกิด

ไฟปา ซึง่ อาจจะลุกลามเขามาในเขตไรน าของชาวบา น ทําใหเกิดความเสียหาย
1.5 ศัตรูพืช เกือบทุกปพืชไร พืชสวน มักจะถูกทําลายจากต๊ักแตน หนู ฯลฯ ทําให

เกษตรกรเสียหาย และเดือดรอน
2. ปญ หาการตลาด
2.1 ปญ หาการผลิตสินคาและบริการคุณภาพ ปริมาณ ราคา หีบหอ เปนขอมูลในการ

พฒั นาผลิตภัณฑ จุดเสนอขาย จดุ โฆษณา
2.2 ปญหาดานตลาดที่ตองการขาย คือ การกําหนดเปาหมายการขายเปนชวงส้ัน ๆ

3 เดือน 6 เดอื น และปรับปรุงทกุ 3 เดอื น 6 เดือน โดยกาํ หนดพน้ื ท่ี
2.3 ปญหาดานนโยบาย และการขาย ไดแก ชองทางการจําหนายสินคาออกสูตลาด

เปนการสรา งความเขมแขง็ ความมัน่ คงของกจิ การ กลุมหรือองคกร
2.4 ปญหาโฆษณา เพือ่ สง เสริมการขาย การโฆษณา มอี ทิ ธพิ ลทาํ ใหผ ูบริโภคอยากลอง

จงึ ควรเลอื กขอ ความทเี่ หมาะสมกบั กลมุ บริโภค จะเกิดประโยชนมากท่ีสดุ
3. ปญ หาแหลง เงนิ ทนุ
การประกอบอาชีพขนาดยอ ม ลงทนุ ไมม าก แตแหลง เงนิ ทุนไมส นบั สนนุ เพราะธนาคาร

มักใหก ารสนบั สนุนการลงทนุ โครงการใหญเปนสว นใหญ

76

4. ปญหาการขาดการควบคุมการผลิต
ปญหาการขาดการควบคุมการผลิตเกิดจากการทําตามกัน ทําใหเกิดผลเสียหายกับ

ผูลงทนุ โดยเฉพาะอาชีพทางการเกษตร นอกจากจะตอ งอาศยั ธรรมชาตแิ ลว ยังตองอาศัยตลาดเพ่อื รบั รอง
ผลผลติ ดว ย โดยทไ่ี มมหี ลกั ประกนั วา จะขายไดราคาดีเสมอไป เพราะข้ึนอยูกับความตองการของตลาด
เปนสาํ คญั หากไมม กี ารควบคุมการผลติ เกษตรกรทําตามกนั มาก ๆ ผลผลติ ก็จะลนตลาด ตวั อยางปญหา
ที่เกดิ จากการทาํ ตามอยา งกัน

1. เกษตรกรเห็นวาปนี้ แตงโมขายไดราคาสูง คนปลูกแตงโมในปนี้ ไดกําไรมากก็มี
การตามอยางกัน โดยตางก็หันไปปลูกแตงโมกันในปหนา เปล่ียนจากไรขาวโพด มันสาํ ปะหลัง เปน
ไรแตงโม เม่ือเกษตรกรปลูกมาก ผลติ มาก ผลผลิตลนตลาด ราคาแตงโมจึงตกตํ่ามาก เกษตรกรขายได
ราคาถูก เนาเสีย ขาดทุนมากมาย แตราคาขาวโพด และมันสําปะหลังราคาสูงขึ้น ถาเกษตรกรหันไป
ปลูกขาวโพด และมนั สําปะหลังอีก ในปถัดไปราคาอาจถกู ลงเพราะปรมิ าณมากเกินไป

2. หางสรรพสินคาเกิดข้ึนมาแขงขันกันมากเกินความจําเปน ทําใหผูบริโภคไปใช
บริการทีห่ างสรรพสินคา เพราะมเี คร่อื งอาํ นวยความสะดวก มสี ินคาครบทุกอยา ง และมีรายการสงเสริม
การขายดว ย

3. ปญหาคนวางงาน ในปจจุบันมีประชากรเพ่ิมข้ึนในขณะท่ีทํามาหากินเทาเดิม
และอาชีพตาง ๆ ก็ไมไดเพิ่มขึ้น ดังน้ันจึงเกิดปญหาคนไมมีงานทํามากข้ึน ปริมาณการวางงานของ
ประชากรมีผลเสียหายตอเศรษฐกิจของชาติโดยตรง เพราะการมีงานทําคือการสรางผลผลิต และ
การสรา งผลผลิต คือ การทาํ ใหเ ศรษฐกจิ ของชาติดีขึ้น เหตผุ ลของการวางงานอาจมาจาก

- คนวา งงาน เพราะตลาดแรงงานมีนอย
- คนวางงาน เพราะไมมีฝม ือ
- คนวา งงาน ตามฤดกู าล เชน หลงั การทาํ นา
สรุปผลกระทบท่เี กดิ จากการวางงานไดดงั น้ี
- เกิดความสญู เปลาทางแรงงาน
- ทําใหเ ศรษฐกิจในครอบครัวตกต่ํา และกอใหเ กดิ ความตกตํ่าตอ เศรษฐกจิ
โดยรวม
- ทาํ ใหเกิดปญหาสังคม
- ทําใหสขุ ภาพจติ เสอื่ มโทรม

77

แนวทางแกไข
1. ปญ หาจากภัยธรรมชาติ ในการประกอบอาชีพเกษตรกรรม
เกษตรกรควรนําเอาการเกษตรผสมผสานตามแนวทฤษฎีใหมของพระบาทสมเด็จ

พระปรมินทรมหาภมู พิ ลอดุลยเดช มาใช โดยใหแบง พน้ื ที่ออกเปน 4 สวน ตามโครงสรางในอัตราสวน
30 : 30 : 30 : 10

สว นแรก รอ ยละ 30 ใหขดุ สระกกั เกบ็ นํา้ ในฤดูฝนไวเพาะปลูก และใชเสริมการปลูกพืช
ในฤดูแลงไดตลอดป ทั้งยังใชเลี้ยงปลา และปลูกพืชน้ํา พืชริมสระเพื่อบริโภค และเพิ่มรายไดใหกับ
ครอบครัวอีกทางหนึ่งดวย โดยพระราชทานแนวทางการคํานวณวาตองมีน้ํา 1,000 ลูกบาศกเมตรตอ
การเพาะปลูก 1 ไร โดยประมาณ และบนสระนา้ํ อาจสรางเลา ไก เลาหมูไดดวย

สว นทส่ี อง รอ ยละ 30 ใหทาํ นาขาว เนือ่ งจากคนไทยบริโภคขาวเปนอาหารหลัก โดยมี
เกณฑเฉลยี่ เกษตรกรบริโภคขาวคนละ 200 กโิ ลกรมั ขา วเปลือกตอป เกษตรกรมีครอบครัวละ 3 - 4 คน
ดังนั้นปลูกขาว 5 ไร ผลผลิตประมาณไรละ 30 ถัง ซ่ึงเพียงพอตอการบริโภคตลอดป หลังจากการ
เก็บเก่ียวขาวแลวยังสามารถปลูกพืชตระกูลถั่วจะไดประโยชนอีก 2 ทาง คือ ไดผลผลิตจากถั่ว และ
พืชตระกลู ถวั่ จะมีความสามารถตรึงธาตุไนโตรเจนจากอากาศมาเก็บไวท ป่ี มราก ทาํ ใหเพ่มิ ปยุ ไนโตรเจน
ในดินดว ย

สวนทสี่ าม รอ ยละ 30 ใหปลูกไมผล ไมย นื ตน ไมใชสอย ไมทําเชื้อเพลิง ไมสรางบาน
พืชผัก พืชไร พืชสมุนไพร ฯลฯ เพื่อการบริโภค และใชสอยอยางพอเพียง หากเหลือบริโภคก็นําไป
จําหนา ยเปน รายไดตอ ไป

สวนท่ีส่ี รอยละ 10 เปนท่ีอยูอาศัย และอ่ืน ๆ เชน ถนน คันดิน ลานตากผลผลิต
กองปุยหมกั โรงเพาะเห็ด พชื ผักสวนครวั คอกสกุ ร เลาไก เปน ตน

การบริหารจัดการดังกลาว จะสามารถแกปญหาภัยจากธรรมชาติได ทั้งภัยแลง จะมี
แนวกนั้ นา้ํ รอบพน้ื ทอ่ี ทุ กภัย จะมีแนวกําบังลมจากตนไมปลูกรอบแปลงทํากิน วาตภัยไมสามารถเขาได
เพราะมีคนั ดนิ รอ งน้ําปอ งกนั สวนศัตรพู ชื มีการปลกู พชื หมนุ เวยี นทาํ ใหวงจรชวี ิตเปลี่ยนไป ไมสามารถ
เจริญเติบโตได

2. ปญ หาการตลาด
ในการแกป ญ หาเกีย่ วกบั แหลงเงนิ ทุน และการขาดการควบคุม ควรยึดหลักปรชั ญาของ

เศรษฐกิจพอเพยี งของพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภมู พิ ลอดลุ ยเดชมาปฏิบตั ิ ดังนี้
ความพอเพียง
1. ความพอประมาณ พอดี ไมมากไมนอยจนเกินไปกับศักยภาพของตนเองกับ
ภูมสิ ังคม และไมเ บยี ดเบียนตนเองและผอู ื่น

78

2. ความมเี หตผุ ล ตดั สินใจเกี่ยวกบั ความพอเพียง ตองเปนไปอยา งมเี หตมุ ีผล
ตัดสนิ ใจจากเหตุปจ จัยที่เก่ยี วขอ ง และตดั สนิ ใจโดยคํานึงถึงผลท่ีจะเกดิ ข้นึ
อยางรอบคอบ

3. การมภี ูมิคุมกนั ในตัวทีด่ ี คาดการณความเส่ยี งจากการเปล่ยี นแปลงดา นตาง ๆ
ทค่ี าดวาจะเกิดขึ้นในอนาคตทัง้ ใกล และไกล เตรียมตัวใหพ รอ มรับผลกระทบ
กบั ความเปลย่ี นแปลงตาง ๆ

การใชคุณธรรมกาํ กบั ความรู
1. เงื่อนไขคุณธรรม ซ่ือสัตยสุจริต อดทน ความเพียร ใชสติปญญาในการ
ดํารงชวี ติ รูร กั สามัคคี
2. เง่ือนไขความรู ความรูดานวิชาการท่ีเก่ียวของ และความรอบคอบท่ีจะนํา
ความรมู าพิจารณาเชื่อมโยงกันเพ่อื ดําเนินชวี ติ

“.....คําวา พอก็พอเพียง เพียงนี้ก็พอ ดังนั้นคนเราถาพอในความตองการ ก็มีความโลภนอย เมื่อมี
ความโลภนอยกเ็ บยี ดเบยี นคนอืน่ นอย ถา ทกุ ประเทศมคี วามคิด อันนี้ไมใชเศรษฐกิจ มีความคิดวาทําอะไร
ตอ งพอเพียง หมายความวา พอประมาณไมส ุดโตง ไมโ ลภอยางมาก คนเราก็อยูเปนสุข พอเพียงน้ีอาจจะ
มีของหรูหราก็ได แตวาตองไมไปเบียดเบียนคนอ่ืน ตองใหพอประมาณ ตามอัตภาพ พูดจาก็พอเพียง
ทําอะไรกพ็ อเพยี ง ปฏิบัติตนก็พอเพียง.....”

พระราชดํารสั พระบาทสมเดจ็ พระปรมินทรมหาภูมพิ ลอดลุ ยเดช
ณ ศาลาดสุ ดิ าลัย สวนจิตรดา
4 ธนั วาคม 2541

79

ใบงานที่ 17

ใหผ ูเรยี นคนควาหลักการทรงงานของพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช
ท่เี กี่ยวกบั ปญหา อุปสรรค และแนวทางแกไขมา 2 ขอ
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………

80

บทท่ี 6
โครงการเขา สูอาชพี

สาระสาํ คัญ

ในการเขาสอู าชพี ใด ๆ กต็ าม โครงการเปนเสมอื นแนวทาง ทิศทางทีจ่ ะชวยใหการทําอาชีพนั้น
มีความชัดเจน ดงั น้ัน ผูป ระกอบการจะตอ งมีความรู ความเขาใจ ความสําคัญของโครงการประกอบอาชีพ
โดยมีขน้ั ตอนการเขียนโครงการไดถ ูกตอง พรอมเขยี นแผนปฏิบตั กิ ารประกอบอาชีพ สามารถตรวจสอบ
โครงการไดถ กู ตองและเหมาะสม

ตัวช้ีวดั

1. อธบิ ายความสาํ คัญของการทําโครงการประกอบอาชีพ
2. เขียนโครงการ
3. เขียนแผนปฏบิ ัติการ
4. สามารถตรวจสอบโครงการไดถ ูกตอ งและเหมาะสม

ขอบขายเนอ้ื หา

เรอื่ งที่ 1 ความสาํ คญั ของการทําโครงการประกอบอาชีพ
เรื่องท่ี 2 ขัน้ ตอนการเขยี นโครงการ
เร่ืองท่ี 3 การเขยี นแผนปฏบิ ตั กิ าร
เรอ่ื งที่ 4 การตรวจสอบโครงการ

ส่ือประกอบการเรยี นรู

1. ใบความรู
2. ใบงาน
3. อนิ เทอรเ น็ต

81

เรือ่ งท่ี 1
ความสําคัญของการทาํ โครงการประกอบอาชพี

โครงการประกอบอาชีพ เปนการทํางานเพอื่ นําไปสูอาชีพ และการมีรายได โดยกําหนดวิธีการ
ทํางาน และระยะเวลาลวงหนา เชน โครงการถนอมอาหารจากผลไม โดยการปลูกผักปลอดสารพิษ
โครงการถนอมอาหารจากพชื โครงการทาํ ชดุ รบั แขกจากไมยางพารา โครงการทําปุยหมัก เปนตน ซึ่ง
ในการศกึ ษาเรื่องโครงการประกอบอาชพี ควรทราบรายละเอยี ดตอไปนี้

1. ประเภทของโครงการประกอบอาชีพ
โครงการประกอบอาชีพมีหลายประเภท สามารถเลือกตามความถนัด ความสนใจของแตละ

บุคคล การทําโครงการจึงควรเรียนรูประเภทโครงการ และลักษณะโครงการใหละเอียด เพ่ือใชเปน
ขอมูลในการตัดสินใจเลือกโครงการที่ตรงกับความสนใจของตนเอง โดยสามารถแบงประเภทของ
โครงการ ดังน้ี

1.1 ประเภทอนุรักษศิลปวัฒนธรรมไทย เปนโครงการที่ใหคุณคา และเอกลักษณ
ความเปนไทย ซงึ่ เปนการสบื ทอดมรดกไทยใหคงอยูต ลอดไป เชน งานประดิษฐต าง ๆ การทาํ อาหารไทย
และขนมไทย ตลอดจนงานศลิ ปหตั ถกรรมตาง ๆ เปน ตน

1.2 ประเภทรวบรวมเอกสาร หรอื แหลง คน ควา อ่ืน ๆ อาจเปนสมุดภาพ แฟม สะสมงาน
และเอกสารการศึกษาเร่ืองท่ีสนใจ โดยมีเน้ือหาสาระเพียงพอ และเหมาะสมกับวุฒิภาวะของบุคคล
ท้ังดานปรมิ าณ และคณุ ภาพ

1.3 ประเภททดลอง เปนการทดลองเพอื่ หาคําตอบ หรอื หาผลที่จะเกิดข้ึน จากการทดลอง
ทีเ่ หมาะสมกับวุฒภิ าวะของบคุ คล เชน การสกัดสีจากพืช การถนอมอาหารจากพชื ผกั และการผสมพันธุ
ปลากัด เปน ตน

1.4 ประเภทพัฒนาจากงานเดิม เปนการปรับเปลี่ยนรูปแบบวัสดุท่ีใช สีสัน ขนาด
และรปู รา งใหแ ตกตางจากของเดมิ หรือดกี วา เดมิ ทง้ั ดานความสวยงาม และคุณภาพ เชน กลอ งใสปากกา
ดนิ สอ พรมเช็ดเทา กระเปา ผา ถงุ ใสของขวัญ เปนตน

2. ปจจัยการทาํ โครงการประกอบอาชพี
การทําโครงการประกอบอาชีพมีปจจยั ตา ง ๆ ทเี่ ขา มาเกย่ี วของ ดงั นี้
2.1 ความถนัดและความสนใจในการเลือกโครงการ เพ่ือปองกันความผิดพลาด

ที่จะเกิดขนึ้ ระหวางเรียน ทาํ ใหไมส ามารถทําโครงการไดส าํ เร็จตองเปลีย่ นโครงการในระหวา งภาคเรยี น
ซึง่ มผี ลกระทบตอการพฒั นา และพฒั นาตนเอง

82

2.2 การรวมกลมุ ทาํ โครงการ เลือกทําโครงการในส่ิงท่ีสนใจ และมีความถนัดตรงกัน
เพื่อพัฒนาทักษะการทํางานเปนทีม สรางผูนํา และผูตามที่ดี ตลอดทั้งคุณลักษณะที่พึงประสงค
ในการทํางานรว มกับผูอ น่ื ไดอ ยา งเหมาะสม

2.3 การนําทรัพยากรทองถิ่นมาใชทําโครงการ ซึ่งประกอบดวยวัสดุตาง ๆ ที่มี
ตามธรรมชาติ หรอื เศษวัสดุทีเ่ หลือใช รวมท้งั ภูมิปญญาทอ งถ่นิ ท่มี ีความรคู วามสามารถดานตา ง ๆ นํามา
เปนท่ปี รกึ ษาในการทําโครงการ

2.4 งบประมาณในการทําโครงการ ควรใชง บประมาณอยา งประหยดั และราคาไมแ พง
เกนิ ไป ถา สามารถหาวัสดุที่ไมต อ งใชเ งินทนุ ไดจ ะชว ยลดคาใชจา ย ทาํ ใหต น ทนุ ตา่ํ และมีโอกาสที่จะได
กําไรมากขน้ึ

2.5 เวลาในการทําโครงการ การทําโครงการควรพิจารณาดานเวลาอยางรอบคอบ
ทัง้ ในการปฏบิ ตั โิ ครงการตงั้ แตตอนแรก จนถึงขัน้ ตอนสดุ ทาย และประเมนิ วา ต้งั แตแ รกจนผลงานสาํ เร็จ
จะตอ งใชร ะยะเวลานานเทา ใด และอาจเลือกไดม ากกวา 1 โครงการตอภาคเรียน ซ่ึงกําหนดไวในตาราง
แผนปฏิบตั ิงาน ดังน้ี

ลําดับที่ ขนั้ ตอน ภาคเรียนที่ .....1/..........
พ.ค. มิ.ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย.

2.6 สถานทีท่ าํ โครงการ ควรสาํ รวจสถานทเี่ หมาะสม และกําหนดสถานท่ีทัง้ ภายใน
หรอื ภายนอกโรงเรยี นใหช ดั เจน เพือ่ ปองกนั ปญ หาขาดแคลนสถานที่ทาํ โครงการ

2.7 วัสดุอุปกรณ และเครื่องมือที่จําเปน ควรสํารวจวาสิ่งใดที่มีในโรงเรียน และ
ส่ิงใดขาดแคลน ควรจัดหามาจากแหลงใดตามความเหมาะสม

83

เรอื่ งท่ี 2
ขนั้ ตอนการเขยี นโครงการ

การเขียนโครงการ กอนการปฏบิ ัติจรงิ ควรมกี จิ กรรมดังนี้
1. การรวมกันศึกษาตัวอยางโครงการประเภทตาง ๆ เพื่อเปนขอมูลในการตัดสินใจ

เลอื กโครงการใหต รงกับความชอบ และความสนใจของตนเอง นอกจากน้ีตองพิจารณาทักษะพ้ืนฐาน
ในการทําโครงการแตละประเภทวามีความยากงายเพียงใด มีความรู ความสามารถ และความถนัด
เพยี งพอหรอื ไมในการทําโครงการ

2. การรวมกลุม คนที่มคี วามสนใจตรงกนั มคี วามมุงมนั่ ในการทํางานรว มกัน รักการทํางาน
มีความรับผดิ ชอบ มนี า้ํ ใจชว ยเหลอื ซ่ึงกันและกัน ไมเอาเปรยี บผูอน่ื โดยเฉพาะอยางยิง่ ตองมคี วามสนใจ
ในการทาํ โครงการเรื่องเดยี วกนั และรว มหุนกันทําธรุ กจิ บรษิ ัทแบบจาํ ลอง

3. การสํารวจความสนใจ และความตองการของทองถิ่น รวมท้ังทรัพยากรแวดลอม
และวตั ถุดบิ ทจ่ี ะนํามาใชใ นการทําโครงการวามจี าํ นวน และปริมาณเพียงพอในการทําโครงการหรือไม
เพื่อเปนแนวทางการพฒั นาไปสูอ าชีพในอนาคต

4. การตัดสินใจ เปนการนําขอมูลจากการศึกษา และการสํารวจมาพิจารณา
และตัดสนิ ใจเลือกโครงการ โดยทกุ คนมสี ว นรวมในการตัดสนิ ใจเลอื กโครงการ

5. การประชุมกลุม เพื่อเลือกบุคคลเขาสูตําแหนงที่กําหนดไว ตามบทบาทหนาท่ี
ของแตล ะคน โดยมีตําแหนง สาํ คัญดังนี้

5.1 กรรมการผจู ดั การ
5.2 กรรมการฝายผลติ
5.3 กรรมการฝายการเงนิ
5.4 กรรมการฝายบัญชี และเลขานกุ าร
ในกรณีสมาชกิ ในกลุมมีจาํ นวนนอย หรือมากกวา 5 คน อาจปรบั ปรงุ ตาํ แหนง

และจํานวนคนใหเหมาะสม
6. ผใู หค ําปรกึ ษา โดยสมาชิกเลือกอาจารย หรือผูชํานาญเปนท่ีปรึกษา โดยพิจารณา

จากความรคู วามสามารถท่เี หมาะสมกบั โครงการทีก่ าํ หนดไว
7. การประสานงาน สมาชิกภายในกลมุ จะตอ งประสานงานกนั เพ่ือรับผดิ ชอบข้ันตอนตาง ๆ

ของการทํางาน และขออนุญาตอาจารยมาเปนท่ีปรึกษา พรอมกับขอคําแนะนําในการทําโครงการ
ตลอดจนการเขียนโครงการ บันทึกการปฏิบัติงาน การทําบัญชีรายรับ รายจาย และการคิดตนทุน
ผลกาํ ไร - ขาดทุน เพ่ือความถูกตองของโครงการ

84

1. ชอ่ื โครงการ การเขยี นโครงการ
2. หลักการเหตุผล
3. วัตถปุ ระสงค ทาํ อะไร
4. เปา หมาย ทาํ ไมจงึ เลอื กประกอบอาชีพนี้
5. ระยะเวลาดาํ เนินการ ทาํ แลว จะไดอ ะไรหรอื เกดิ ประโยชนอ ยา งไร
6. ข้ันตอนการดําเนนิ งาน ทําแลวมีผลงานอะไรมากนอยเพยี งใด
7. สถานท่ี ทําเมื่อใด
8. งบประมาณ ทําอยา งไร มีขน้ั ตอนทําอยา งไร
9. ผลท่คี าดวา จะไดร ับ ทาํ ท่ีไหน
10. ช่อื ผูดําเนินโครงการ ใชทรพั ยากรอะไรบาง จาํ นวนเทาใด
11. ครูทปี่ รกึ ษาโครงการ สงิ่ ท่ีคดิ วาจะเกดิ ขึ้น
ใครเปน ผูทาํ
ใครเปนผูคอยชว ยเหลือ ใหค ําปรึกษา

ตวั อยา งการเขียนโครงการ

1. ชอื่ โครงการ การผลติ ดินผสมปลูกพืช
2. หลกั การและเหตุผล

ในปจจุบัน ดินผสมปลูกพืชกําลังเปนที่ตองการของประชาชนที่นิยมชมชอบกับ
งานอดิเรกปลกู ตน ไม และแมแตผ ูท ีป่ ลูกตน ไมเปน อาชีพ โดยเฉพาะงานปลูกไมดอกไมประดับในภาชนะ
หรอื พืชผักตาง ๆ ทั้งในเมืองหลวง และในทองถิ่น ตางก็หาซื้อดินผสมปลูกพืชที่บรรจุถุงวางจําหนาย
อยูทวั่ ไป จงึ เกิดธรุ กิจการซอ้ื ขายดนิ ผสมปลกู พืชข้นึ อยางกวางขวางตามทองถ่ินตาง ๆ ดังจะเห็นไดจาก
ในตลาดจาํ หนา ยวัสดเุ กษตร จะมผี ผู ลติ สินคาดนิ ผสมจาํ หนายในนามของดนิ ผสมสดี า ลพบุรี เฟองฟา ฯลฯ
การผลติ ดนิ ผสมปลกู พืช เปนงานท่ีทําไดไมยาก และไมคอยสลับซับซอนมากนัก เพียงแตผูผลิตทราบ
สูตรผสม และจัดหาวัสดุในทองถ่ินมาผสมเขาดวยกัน ก็จะไดดินผสมไปปลูกพืชเปนอยางดี ดังน้ัน
เมื่อไดจ ดั ทําโครงการผลิตดินผสมปลูกพืชข้ึนแลวกจ็ ะทาํ ใหม ีความรู และประสบการณใ นการศึกษาวิชา
เกษตรกรรม ซงึ่ สามารถชวยเหลอื ครอบครวั ไมตอ งไปหาซื้อดินผสมปลกู พืช ซง่ึ สามารถทําไดดีเชนกัน
อกี ท้งั ยังชว ยใหมกี ารทดลองศึกษาคนควาเกี่ยวกับการปลูกพืช โดยใชดินผสมสูตรตาง ๆ ในการศึกษา
วชิ าเกษตรกรรมระดบั สงู ตอไป

3. วตั ถปุ ระสงค
เพ่ือศกึ ษาสูตรดินผสมปลูกพืช จาํ นวน 3 สูตร

85

4. เปา หมาย
ไดส ูตรดนิ ผสมปลกู พชื จํานวน 3 สตู ร

5. ระยะเวลาดําเนนิ การ
1. เร่ิมโครงการ วนั ที่ 1 ตลุ าคม 2552
2. สิน้ สดุ โครงการ วันที่ 31 ธนั วาคม 2552
3. รวมระยะเวลาดาํ เนินงาน 3 เดอื น

6. ขั้นตอนการดาํ เนนิ งาน
1. ศึกษาขอมูลจากหนงั สือและเอกสารเกย่ี วกับดนิ ปุย และการปรบั ปรงุ ดินปลกู พืช
2. ขอคาํ แนะนาํ วิธผี สมดนิ จากผรู ู
3. จัดทําโครงการเสนอตอครูทป่ี รึกษาใหค วามเห็นชอบ
4. จดั หาวัสดุอุปกรณ ไดแก ปุยคอก ทราย ดิน จากบริเวณบาน ซื้อปูนขาว หรือ ปูนมารล
เมลด็ ผกั บุง กระถาง และปยุ ยูเรีย
5. การเตรยี มดนิ ผสมปลกู พืช
5.1 ทบุ ดินเหนียวใหแตกเปน กอ นเลก็ ๆ และผสมตามสตู รทงั้ 3 สตู ร ดงั นี้
สูตรท่ี 1
1. ดินเหนียว 1 สวน
2. ทราย 1 สว น
3. อินทรียวตั ถุ (ขยุ มะพราว ข้เี ถา แกลบ เปลือกถั่ว ปุยคอก ปยุ หมัก)

4. ปูนขาว หรอื ปนู มารล รอยละ 0.5 ของปริมาตรสวนผสมทั้ง 3 สวน

สูตรที่ 2 1 สวน
1. ดนิ เหนียว 1 สว น
2. ปุย คอกเกา 1 สว น
3. ปุยหมกั
1 สวน
สตู รที่ 3 ½ สว น
1. ดินรว น 1 สว น
2. ทราย 1 สว น
3. ใบไมผุ
4. ปยุ คอก

86

สวน หมายถึง สัดสวนโดยปริมาตร 1:1:1: เชน ดินเหนียว 1 บุงก๋ี ผสมปุยคอก 1 บุงกี๋
และปยุ หมัก 1 บุงกี๋

5.2 ปลกู พืชเปรยี บเทียบดนิ โดยใชดนิ ทผี่ สมทั้ง 3 สูตร ใสลงในกระถาง สูตรละ
1 ใบ ใชด ินธรรมดาใสกระถางอีก 1 ใบ

5.3 นาํ เมล็ดผกั บุงไปแชน า้ํ ประมาณ 2 ช่วั โมง คดั เมลด็ ทลี่ อยน้าํ ออก
เพราะเปนเมลด็ เสยี

5.4 ปลูกผักบุงโดยการหวานลงไปในกระถางทงั้ 4 ใบ ๆ ละ 20 เมลด็
5.5 ปฏิบัติดูแลรักษา โดย รดนํ้าเชา เย็น กําจัดวัชพืช ใสปุยยูเรีย 2 คร้ัง ๆ ละ

1 ชอ นแกง 10 วนั คร้งั
5.6 จดบันทึกการปฏิบัติงาน และขอมูลการเจริญเติบโต สภาพแวดลอม ดินฟา

อากาศ อน่ื ๆ

7. สถานท่ี
จดั ทําโครงการทบ่ี รเิ วณเรือนเพาะชําของสถานศึกษา

8. งบประมาณ
จํานวน............................บาท

9. ผลทค่ี าดวาจะไดร ับ
1. ไดรบั ความรู ทกั ษะ และประสบการณเ กี่ยวกบั การผสมดินปลกู พชื
2. ไดป ระสบการณเ กยี่ วกับการปลูกพชื เปรยี บเทยี บดิน ซ่งึ จะเปนแนวทางศกึ ษาคนควา

วชิ าเกษตรกรรมในระดับสูงตอไป
3. ไดด นิ ผสมท่มี ีคุณภาพดี สําหรบั นาํ ไปปลกู พชื ท่บี า น
4. ไดค วามช่นื ชมยนิ ดจี ากครู อาจารย และพอแม ผูป กครอง

10. ชื่อผูทําโครงการ
นาย / นาง / นางสาว...................................................

11. ชอ่ื ครูที่ปรกึ ษา
นาย / นาง / นางสาว...................................................

87
การเขยี นรายงานโครงการ

การเขียนรายงานโครงการ จัดทําเม่ือไดปฏิบัติโครงการบรรลุตามจุดมุงหมายเรียนรู
จบแลว ลกั ษณะการเขยี นจะตองใชภาษาที่เขาใจงา ย สนั้ รัดกุม และสรปุ ไดช ดั เจน ตรงไปตรงมา เพ่ือให
ผูอานไดเขาใจแนวความคิด การดําเนินงาน ศึกษาคนควา และผลที่ไดรับ หัวขอการเขียนรายงาน
โครงการควรประกอบดว ย

1. ชอ่ื โครงการ
2. ช่อื ผูทาํ โครงการ
3. ชือ่ ครู อาจารยท ปี่ รกึ ษา
4. ผลการดําเนินงาน (ระบุจุดมุงหมาย ความสําคัญของโครงการ การดําเนินงาน

และผลการดาํ เนนิ งาน โดยเขียนสรปุ อยางยอ ๆ ใชถอยคําไมมากนัก )
5. สรุปและขอเสนอแนะ (สรุปผลการปฏิบัติงาน โครงการ และใหขอเสนอแนะ

หรือแนวทางท่ดี ําเนินงานตอไป)
6. เอกสารอางองิ

ตัวอยางการเขยี นรายงานโครงการ

1. ช่ือโครงการ การผลิตดินผสมปลกู พืช
2. ช่อื ผูทําโครงการ

นาย / นาง / นางสาว...................................................
3. ชอ่ื ครอู าจารยทป่ี รกึ ษา

นาย / นาง / นางสาว...................................................
4. ผลการดาํ เนนิ งาน

จากการศึกษาโครงการการผลิตดินผสมปลูกพืช โดยมีวัตถุประสงคเพื่อศึกษาสูตร
ดินผสมปลูกพืช เพ่ือใหเกษตรกรไดนําไปใชในการเพาะปลูกพืช และเปนการผลิตดินผสมจําหนาย
เพื่อเพ่ิมรายได โดยมีเปาหมายไดสูตรดินผสมปลูกพืชจํานวน 3 สูตร จากการศึกษาในครั้งนี้พบวา
สูตรดินผสมปลกู ท่ีเหมาะสมมีสวนผสม ดังน้ี

ดินผสมสูตรท่ี 1 เหมาะสําหรับปลูกพืชผักชนิดตาง ๆ โดยเฉพาะในภาคกลาง เชน
ผกั บุง ผกั กาด คะนา มะเขอื เทศ ถั่วฝกยาว แตงกวา ฯลฯ

88

ดินผสมสูตรท่ี 2 เหมาะสําหรับปลูกพืชผักบางชนิด เชน ผักกาดหัว หอมแบง
หอมแดง กระเทียม กะหล่ําปลี กะหล่ําดอก ผักสลัด และไมดอกไมประดับบางชนิด เชน กุหลาบ
เบญจมาศ แกลดิโอลัส ฯลฯ

ดินผสมสูตรท่ี 3 เหมาะสําหรับปลูกไมดอกไมประดับ เชน กุหลาบ เฟองฟา ชบา
โกสน เยอบรี า บอนสี

5. สรุปและขอเสนอแนะ
จากสตู รดนิ ผสมปลูกพืชทั้ง 3 สตู ร จะตอ งใชกับการปลูกพชื และไมดอก ตามความเหมาะสม

ของพชื และจากผลการดาํ เนินการโครงการน้ี ทําใหเกษตรกรสามารถผลิตดินผสมปลูกพืชไดใชเองได
และสามารถผลติ เพือ่ จาํ หนา ยเปน การเพม่ิ รายไดของครอบครัว

6. เอกสารอา งองิ
1. กองบรรณาธิการวารสารบานและสวน. สารานุกรมไมประดับในประเทศไทย

กรุงเทพมหานคร. อมรินทรก ารพมิ พ. 2525
2. มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร. การใชและปรับปรุงดินปลูกตนไมในบาน

กรงุ เทพมหานคร. โรงพมิ พร ุงเรอื งธรรม. 2523

89

ใบงานที่ 18

ใหผ เู รียนเขยี นโครงการท่ตี ัวเองชอบ และมคี วามถนดั มา 1 โครงการ
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………

90

เร่อื งที่ 3
การเขียนแผนปฏิบตั ิการ

การเขียนแผนปฏิบัติการ เปนการนํากิจกรรมตาง ๆ ในโครงการมาเขียน เพื่อนํา
เขาสูการปฏบิ ตั ิ โดยมกี ารกําหนดงาน ระยะเวลา และผปู ฏิบัติ หรอื ผรู บั ผดิ ชอบไวใ นตารางดังนี้

ตัวอยา งแผนปฏบิ ตั ิการ
กิจกรรม การปลูกหนอไมฝ ร่งั เกษตรอินทรีย 2 ไร
ผูรับผดิ ชอบ.....................................................

ที่ กจิ กรรม/โครงการ ระยะเวลาดําเนินการ หมาย
เหตุ
1 ศึกษาขอมูลตาง ๆ ม.ค ก.พ ม.ี ค เม.ย พ.ค ม.ิ ย ก.ค ส.ค ก.ย ต.ค พ.ย ธ.ค
- เกษตรอินทรีย
- การปลกู หนอ ไมฝรั่ง 

2 เขยี นโครงการ 
3 จดั หาและรวบรวม
4 วัสดุ อุปกรณ เงนิ ทุน 
5 สถานท่ี 
6 เตรียมดนิ
7 ปลูกพืชตระกลู ถ่ัว 
8 เพาะเมลด็ 
9 ไถกลบพชื ตระกลู ถว่ั 
10 ใสป ยุ หมัก 1 ตัน/ไร
11 เตรยี มแปลงปลกู 
12 ปลูกหนอไมฝรงั่
13 รดนํ้า 
14 แตงตน 
15 ฉีดเช้ือไตรโคเดอรมา 
16 พรวนดนิ ดายหญา 
17 ใสป ยุ หมัก 300 กก/ไร 
18 เก็บหนอไมเ ขา เกรด 

  






ซึง่ การปฏบิ ตั งิ านโครงการตามแผนทีก่ าํ หนดไว จะตองระบุใหชัดเจนวา ทําเรื่องอะไร
มีใครทาํ บา ง และกําหนดระยะเวลาเสรจ็ สิน้ โครงการดว ย

91

ใบงานท่ี 19

ใหผ เู รยี นจดั ทาํ แผนการปฏบิ ตั ิการ 1 เรอื่ ง ตามแบบฟอรมท่กี ําหนดให

แผนปฏบิ ัตกิ าร
กิจกรรม.................................................................

ผรู ับผิดชอบ................................................

ท่ี กจิ กรรม/โครงการ ระยะเวลาดําเนนิ การ หมาย

ม.ค ก.พ ม.ี ค เม.ย พ.ค ม.ิ ย ก.ค ส.ค ก.ย ต.ค พ.ย ธ.ค เหตุ

92

เรื่องที่ 4
การตรวจสอบโครงการ

การตรวจสอบโครงการ

การตรวจสอบโครงการ หมายถึง การตรวจสอบความคืบหนาของโครงการ ตลอดอายุ
ของโครงการ คําถามท่สี าํ คัญสําหรับผทู าํ โครงการไดแ ก

- โครงการนีค้ บื หนาตามกําหนดเวลาหรอื ไม
- โครงการนจ้ี ะเสรจ็ ภายในงบประมาณทกี่ าํ หนดหรอื ไม
- ผลงานจะเปนไปตามวัตถปุ ระสงคห รือไม
การวิเคราะหขอมูลท่ีไดรับเปนเครื่องมือหน่ึงท่ีใชตอบคําถามเหลานี้ รายงานจะขึ้นอยูกับ
การสรางองคก รและรายงานที่กําหนดไวก อ นหนา น้ี
การตรวจสอบโครงการแบง เปน 2 ประเภท
1. การตรวจสอบโครงการในระหวางการดําเนินการ เพ่ือปรับปรุง เปล่ียนแปลง แกไขใน
กรณีที่ปจจัยตาง ๆ เปล่ียนแปลงไปจากเดิม
2. การตรวจสอบโครงการหลงั การดาํ เนินงาน เพอ่ื ปรบั ปรุงการบริหารโครงการในอนาคต
ลักษณะการตรวจสอบ
- โครงการหลัก ใชวิธกี ารเยยี่ มชม สอบถาม จดบันทกึ
- โครงการขนาดกลาง มีแผนการเขา ตรวจสอบชดั เจน ตรวจสอบเปนระยะ
- โครงการขนาดใหญ มแี ผนการตรวจสอบทชี่ ัดเจนรัดกุม และมีความถี่ในการตรวจสอบมากขึน้
ผูตรวจสอบ
- คนในธุรกจิ กจิ การ องคก ร ท่ไี ดร ับการแตง ต้ัง
- ผูตรวจสอบภายนอกซึ่งเปนกลุมวิชาชีพที่ไดรับการฝกฝน การตรวจสอบโครงการ

มาโดยเฉพาะ
คณุ สมบัติของผตู รวจสอบ

1. มคี วามเช่ยี วชาญความรูดานการตรวจสอบ
2. ไดรบั การยอมรับจากกลุมอาชพี
3. มคี วามรดู า นเทคนิคการบรกิ ารโครงการ : การเงนิ บัญชี ผลกระทบตอสง่ิ แวดลอม
4. มคี วามสามารถในการวเิ คราะห
5. ตองมีความสามารถในการเขยี นรายงาน
6. มคี วามสามารถในการฟง


Click to View FlipBook Version