93
ไมมีรายไดจากงานท่ีทําจะคุมกับสุขภาพรางกายของเราหรือไม ดังน้ันการพิจารณาคาจางแรงงานจึงตอง
พจิ ารณาใหรอบดาน
(2) สถานประกอบการหลายแหง ตอ งการผูทม่ี ีความรู ความสามารถเฉพาะในแตละ
สาขา ตอ งพจิ ารณาวามีความรูความถนัดตรงกบั งานนั้นหรือไม
(3) ความกาวหนาในอาชีพ ควรพิจารณาวาถาเขาไปทํางานรับจางในสถาน
ประกอบการแลว จะมีโอกาสกา วหนาไดอ ยางไร บางสถานประกอบการสนบั สนุนใหบคุ ลากร มีความกาวหนา
โดยการใหม ีการฝก อบรมเพิม่ เตมิ ความรูสงไปศกึ ษาดูงานแตบางสถานประกอบการไมม ีการพัฒนาบุคลากรหรอื
สถานประกอบการบางแหง จายคาแรงงานตามจาํ นวนชน้ิ งานทที่ าํ ได ไมม ีการพัฒนาความรูแตอยางใด
กจิ กรรมที่ 1
วเิ คราะหขอมูลเพอ่ื การจดั ทาํ โครงการพฒั นาอาชพี
ใหผ ูเ รยี นวเิ คราะหขอมูลแลว บันทึกขอมูลตามความเปน จรงิ ตามหวั ขอ ตอไปน้ี
1. อาชีพที่ประกอบการ………………………………………………………………………….
2. ประเภทของอาชีพ ประกอบการเอง
รับจาง
ขอ มลู วเิ คราะหอาชีพประกอบการเอง ขอมูลวเิ คราะหอ าชีพรับจา ง
ประเด็น ขอมูลสภาพจริง ประเด็น ขอมลู สภาพจรงิ
1.ทุน 1. คา จา งแรงงาน
2.แรงงาน 2. ความรกู ับงานอาชีพ
3. ตลาด ทีท่ าํ
4. การจัดการ 3. ความกา วหนา ใน
5. ความถนัด อาชพี
6. ความสอดคลอง
กบั ชมุ ชน
94
เรอื่ งที่ 2 ขนั้ ตอนการเขยี นโครงการพัฒนาอาชีพ
ขอมลู ท่ตี อ งใชใ นการเขียนโครงการพฒั นาอาชีพ
1. ขอมูลที่นํามาใชกําหนดโครงการพัฒนาอาชีพ จะคลายกับการจัดทําแผนแตจะมีรายละเอียด
ของแตละกิจกรรมมากกวา ขอ มูลทจี่ าํ เปนเหลาน้ี ไดแ ก
1. ความตองการของตลาด กอนที่จะเลือกการประกอบอาชีพใด ๆ จะตองมีการสํารวจ
สภาพและความตอ งการของชุมชนท่ีจะใชเปนแหลงประกอบอาชีพ เชน จํานวนประชากรในชุมชน มีเด็ก
ผูใหญ ผูหญิง คนสูงอายุประกอบอาชีพอะไร มีฐานะอยางไร มีรายไดโดยเฉลี่ย สภาพความเปนอยู
ความนยิ มสนิ คาหรอื บรกิ ารในลกั ษณะใด ซงึ่ สินคา หรอื บริการที่ตัดสนิ ใจจะผลติ นนั้ มผี ดู าํ เนินการอยูหรอื ไม
หรอื มีอยูแลว ไมเพยี งพอหรอื ไมม ีคุณภาพ สวนของเราน้ันจะพัฒนาใหแตกตางจากสินคาของผูอ่ืนอยางไร
การสํารวจความตองการนี้อาจมีวิธีการสอบถาม การสังเกต สถิติจากหนวยงานของภาครัฐและเอกชน
เพ่อื ทราบปรมิ าณความตอ งการของตลาดวา ผลิตสินคาไปแลว คมุ ทุนหรือไม
2. ความพรอมในการประกอบอาชีพ เมื่อตัดสินใจเลือกอาชีพแลว จะตองพิจารณา
ความพรอมดานตา ง ๆ ของอาชพี นัน้ ๆ วามีมากนอ ยพียงใด ไดแก
2.1 ความรูค วามสามารถเกย่ี วกับอาชีพ โดยพิจารณาวาจะตอ งใชค วามรคู วามสามารถ
ดา นใดบาง ผปู ระกอบการมพี ืน้ ความรูมากนอยเพียงใด ความรูที่ยังขาดอยูจะสามารถศึกษาความรูเพ่ิมเติม
ดวยวิธีใด
2.2 สถานที่ ท่ีจะใชประกอบการก็มีความสําคัญที่จะตองพิจารณา การประกอบ
อาชพี บางอยางขึน้ อยกู ับการใชสถานทด่ี วย เชน ใชเ น้ือท่มี ากสาํ หรบั การประกอบอาชีพเกษตร สถานท่ีตอง
อยูในแหลงชุมชนสําหรบั อาชพี คาขาย เปน ตน
2.3 เงินทุน ตองใชเงินทุนเทาใดสําหรับอาชีพที่ประกอบการ มีเงินทุนหรือยัง
หากยงั ไมมจี ะจดั หาอยา งไร ทใี่ ด
2.4 วัสดุอุปกรณ จะตองใชวัสดุอุปกรณอะไรบางและมีหรือยัง หากยังไมมี
มีวิธีการท่ีจดั หาไดอยา งไร แหลงซอ้ื อยทู ่ีใด
2.5 ผูรวมงาน ตอ งพจิ ารณาผรู วมงานวามคี วามจาํ เปนตอ งมีกค่ี น ใครบาง แตล ะคน
มีความรูค วามสามารถดา นใดบาง หรอื ควรมอบหมายงานดานใดใหร บั ผดิ ชอบ
2. ขอมูลเพือ่ เขียนโครงการพัฒนาอาชีพ
การใหไดขอมูลเพื่อการเขียนโครงการพัฒนาอาชีพ มีหลายวิธี ซึ่งผูเรียนอาจใชวิธีเดียว
หรอื หลายวธิ ปี ระกอบกันก็ได วิธีการเหลา น้ี ไดแก
1. จากเอกสาร หนังสือ ไดแก หนังสือทั่วไป หนังสือรายป หนังสืออางอิง หนังสือพิมพ
เอกสารรายงานตาง ๆ
2. จากสอื่ ทางไกลตาง ๆ เชน จากรายการโทรทัศน วิทยุ
95
3. จากหนวยงานตาง ๆ การดําเนนิ งานของหนว ยงานจะมขี อมลู ทีน่ า สนใจ เชน ราคาขายสง
ขายปลกี ในรอบป ปริมาณการผลิต ลักษณะของสินคาท่ีตลาดตองการ หนวยงานเหลานี้ เชน กรมสงเสริม
การเกษตร พาณิชยจงั หวัด กรมสง เสรมิ อตุ สาหกรรม
4. ผูรใู นชุมชน โดยการสอบถามผรู ูใ นชุมชน เชน ผนู ําในหมบู า น ครู อาจารย นักวิชาการ
5. จากการสาํ รวจ เราสามารถดําเนินการสํารวจภายในชุมชนดวนตนเอง เพ่ือใหไดขอมูล
ทีช่ ดั เจนและถกู ตอ ง เชน สาํ รวจราคาของสินคา เราอาจสอบถามจากผูขายไดโ ดยตรงหลาย ๆ คน
6. จากการสงั เกต อาจใชว ิธีการสังเกตก็ได เชน สังเกตวธิ ีการขายของผูประกอบการบางคน
ท่ที าํ ใหสนิ คา ขายดีกวา ผูอ่ืน
7. การสัมภาษณ ใชว ธิ ีน้ีเพ่อื ใหไดข อมูลท่มี รี ายละเอียด เชน วิธีและเทคนิคการทําขนมจีบ
เราอาจจะตองใชเวลาสัมภาษณนานกวาวิธีอ่ืน ๆ ซึ่งจะตองจดหัวขอไปลวงหนากอน เพื่อใหไดขอมูล
ทคี่ รบถว นสมบรู ณ
3. การเขยี นโครงการพัฒนาอาชพี
โครงการเปนการกําหนดรายละเอียดในส่ิงที่จะทําอยางมีความสัมพันธ เพ่ือใชในการควบคุม
การดาํ เนินงานอาชีพใหดําเนินไปอยา งเปน ระบบ
การเขยี นโครงการพฒั นาอาชพี มรี ายการทต่ี อ งจดั ทําขอ มูลและรายละเอียด ดงั นี้
1) ชือ่ โครงการ
ชื่อโครงการจะตองมีความชัดเจน เฉพาะเจาะจงเขาใจงา ยวาจะกระทาํ สง่ิ ใด เชน
โครงการเล้ียงไกเน้ือ โครงการปลกู กลว ยน้าํ วา
2) หลักการและเหตผุ ล
การเขียนหลักการและเหตุผล เปน การนําเสนอขอมูลที่แสดงใหเ หน็ ถึงเหตุผลและความจําเปน
หรือความสําคัญและที่มาของโครงการ โดยผูเขียนจะตองระบุถึงสภาพปญหา เหตุผลความจําเปน
พรอมจัดหาขอมูลมาสนับสนุนใหชัดเจน เชน สถิติขอมูลจากหนวยงานภาครัฐ สภาพปญหาของชุมชน
ท่ีผานการประชุมประชาคม หรือนโยบายภาครัฐจากสวนกลาง สวนทองถิ่นซ่ึงจะตองแสดงใหเห็น
ถงึ ความสอดคลอ งและช้ใี หเ หน็ ถงึ ขอ ดีของการดําเนนิ งานโครงการและขอ เสียหากไมมกี ารดําเนินงานโครงการ
3) วัตถุประสงค
วัตถุประสงคเปนขอความท่ีแสดงถึงความตองการหรือผลของการกระทําสิ่งหน่ึงสิ่งใด
ที่ชัดเจน สามารถปฏิบัติวัดและประเมินผลได โครงการหน่ึง อาจจะมีวัตถุประสงคเพียงขอเดียวหรือ
หลายขอ ก็ได
4) เปา หมาย
เปาหมาย เปนการกําหนดผลงานตามโครงการไวลวงหนาวา เมื่อดําเนินงานตามโครงการ
ไปแลว จะไดผ ลอะไร อยา งไร การกาํ หนดเปาหมาย จะมีการกําหนดใน 2 ลกั ษณะ คือ
(1) เปาหมายเชิงปริมาณ เปนการกําหนดผลงานในดานปริมาณวาจะไดงาน กี่ช้ิน กี่คน
ก่เี ลม กี่ชดุ กี่ตําบล กี่แหง ฯลฯ
96
(2) เปาหมายเชิงคุณภาพ เปนการกําหนดคุณภาพของผลงานที่ระบุไวในเชิงปริมาณ
วา งานท่ีไดจ ากโครงการน้นั ดอี ยา งไร มีคณุ คา อยางไร เกดิ ประโยชนอยางไร ฯลฯ
5) วิธีดาํ เนนิ การ
วิธีดําเนินการ เปนการเขียนข้ันตอนรายละเอียดภารกิจที่จะตองปฏิบัติ เพ่ือใหงานบรรลุ
ตามวัตถุประสงคข องโครงการ ดังน้นั ในการเขยี นวธิ ดี ําเนนิ งานจึงควรคาํ นึงถงึ ประเดน็ ตอไปนี้
(1) จําแนกเปนกิจกรรมยอยหลาย ๆ กิจกรรมเรียงตามลําดับ ตั้งแตเร่ิมตนการดําเนินงาน
จนกระท่ังเสร็จสิ้นโครงการใหช ัดเจน
(2) กิจกรรมแตละกจิ กรรมจะตองกาํ หนดระยะเวลา โดยกาํ หนดเปน ปฏิทนิ ปฏบิ ตั งิ าน
ตัวอยาง
ปฏิทินปฏบิ ัติโครงการปลูกกลวยนาํ้ วา 2 ไร
ที่ กิจกรรม ระยะเวลาปฏบิ ัตงิ านตงั้ แต 1 ม.ค. - 31 ธ.ค. 53 หมาย
ม.ค. ก.พ. ม.ี ค. เม.ย. พ.ค. ม.ิ ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย. ต.ค. พ.ย. ธ.ค. เหตุ
1 ศึกษาขอมูลตาง ๆ
เชน ดา นตลาด
แหลงขาย
ปจจยั การผลติ
เขียนโครงการ
2 จัดหาและรวบรวม
3 วั ส ดุ อุ ป ก ร ณ
เงินทุน สถานที่
แรงงาน ทักษะ
ตาง ๆ
4 เ ต รี ย ม แ ป ล ง
ปลูกกลวย
5 ปลูกกลว ย
6 ดูแลรักษาโดยให
ปุย ปองกันกําจัด
7 ศตั รูพชื
ตัดกลวยและจัด
จําหนา ย
8 ตกแตงกอกลว ย
97
เมื่อจัดทําปฏิทินปฏิบัติงานแลวจะตองตรวจสอบความพรอมของปจจัยการผลิต ความรู
ความสามารถของเจา ของ แรงงาน เงินทุน แหลง จําหนาย ทเ่ี ก่ียวของกบั การดําเนินงานอาชีพ เปนการเตรียม
ความพรอ มกอนการดาํ เนินงานโดยใชการตรวจสอบรายการตาง ๆ ดังตวั อยางตอ ไปน้ี
ที่ รายการ มี ไมมี จดั หาไดอยางไร
พอเพียง ขาด
1 รถแทรกเตอรสาํ หรบั เตรยี มดนิ
2 จอบ /
3 วัสดุ อปุ กรณ /
4 ปยุ
5 สารเคมีปราบศัตรูพืช /
6 หนอกลวย /
7 ทีด่ ิน
8 แรงงาน /
9 เงินลงทนุ /
10 แหลงจาํ หนา ย
/
ฯลฯ /
/
6) ระยะเวลาในการดําเนนิ งานโครงการ
การกําหนดระยะเวลาดําเนินกิจกรรมตามโครงการใหระบุการเร่ิมตนกิจกรรมจนกระท่ัง
สนิ้ สดุ เชน ตั้งแต 1 มกราคม 2553 ถงึ วนั ท่ี 31 ธันวาคม 2553
7) งบประมาณ
การกําหนดงบประมาณเปนการแสดงขอมูลในรูปของตัวเงิน หรือส่ิงของท่ีตีคาเปนเงิน
โดยจะตองแจกแจงใหชัดเจนวาจะใชเงินในรายการใดบาง เชน คาแรงงาน คาขนสง คาวัสดุอุปกรณ
ในแตละรายการจะกําหนดใชงบประมาณเทาไร ถาจะใหสมบูรณควรประมาณรายไดที่คาดวาจะไดรับไวดวย
เพื่อจะไดนําไปใชในการจัดการงานอาชีพ ใหมีความคลองตัวและใชในการปรับงบประมาณ คาใชจาย
เพอ่ื ใหเกดิ ความสมดลุ หรอื ผลกําไรในการดําเนนิ งานอาชพี ดังตัวอยา งตอไปนี้
98
ตวั อยา งการจัดทํางบประมาณคาใชจายโครงการปลกู กลว ยนาํ้ วา 2 ไร
งบประมาณที่ตองใช รายไดท ี่คาดวา จะไดรบั
ท่ี รายการ จํานวนเงนิ จาํ นวนเงนิ
1 คาแรงเตรียมแปลงปลูก 3 วนั (บาท) ท่ี รายการ (บาท)
วันละ 100 บาท 300 1 ตดั กลวยขาย 10,000 ลูก 1,000
2 คาหนอกลว ย 150 หนอ ๆ ละ (รอยละ 10 บาท)
750 2 ตดั กลวยขาย 20,000 ลกู
5 บาท (รอ ยละ 20 บาท) 4,000
3 คาแรงปลกู กลว ย 4 วนั ๆ ละ
400 3 ขายใบตอง 500
100 บาท
4 คา ปุย 3 กระสอบ ๆ ละ 300 4 ขายหนอ กลวย 100 หนอ ๆ ละ 500
5 บาท
100 บาท 500 5 ขายปลีกลว ย 300
5 คา สารเคมกี าํ จดั ศัตรพู ชื 1,000 รวม 4,250
6 คา แรงตดั กลว ย 10 วนั ๆ ละ
200
100 บาท 300
7 คาสกึ หรอของรถแทรกเตอร 200
8 คาเชา ทีด่ นิ 300
9 คาดอกเบี้ย 6,300
10 คา นํา้ มันรถ
รวม
8) เครอื ขา ย
เครือขา ย หมายถงึ หนว ยงานทั้งภาครัฐและเอกชน กลุมบุคคล ชุมชนและแหลงวิทยาการ
ทีม่ ีสวนรวมสงเสริม สนับสนุน ประสานงานและมีการจัดกิจกรรมเช่ือมโยงและเก้ือหนุนกัน ในการระบุ
เครือขายจึงตองกําหนดใหชัดเจนวา เครือขายมีหนวยงานหรือบุคคลใดบาง และมีสวนเกี่ยวของกับ
การดาํ เนนิ งานโครงการน้อี ยา งไร
9) การประเมินผลและรายงานผลโครงการพฒั นาอาชพี
การประเมินผลและรายงานผลโครงการพัฒนาอาชีพ เปนการระบุวาการดําเนินงาน
โครงการนี้กาํ หนดจะประเมินผลโครงการน้ีอยางไร ดวยวธิ กี ารใด การประเมินโครงงานนี้สามารถแบงเปน
3 ระยะ คือ
1. ประเมนิ ผลกอ นดําเนนิ โครงการ เปนการตรวจสอบความพรอมของปจ จยั ตา ง ๆ ท่ีตองใช
ไดแก เงินลงทุน วัสดุ อุปกรณ แรงงาน ตลาด ระบบการจัดการ ความถนัด ความสอดคลองของอาชีพ
กับชุมชน เพื่อไมใหเกิดความผดิ พลาดในระยะเรมิ่ ตน โครงงาน
99
2. ประเมนิ ผลระหวางดําเนินโครงการ เปนการประเมินระหวางการดําเนินงานเพ่ือทราบ
ความกาวหนา ของงาน แนวโนม ความสาํ เร็จของโครงการ และมปี ญ หาอปุ สรรคอะไรบางเพอื่ หาวิธแี กไ ข
3. ประเมินผลเม่ือสิ้นสุดโครงการ เปนการประเมินผลเพื่อหาขอสรุปเมื่อส้ินสุดโครงการ
แลววา ประสบผลสําเร็จตามวัตถุประสงคและเปาหมายหรือไม เพราะเหตุใด มีปญหาอุปสรรคอยางไร
และมวี ิธีแกไ ขอยางไร
วิธีการประเมินผลมีหลายวิธี อาจใชหลาย ๆ วิธีประกอบกันก็ได เชน แบบประเมิน
การอภิปราย โดยดําเนินการเม่ือโครงการสิ้นสุดลงตามระยะเวลาที่กําหนด จากน้ัน ประมวลขอมูล
การดําเนินงานสรุปเปน รายงานทุกครั้ง เพ่อื ใชเ ปน ขอ มลู ในการดาํ เนนิ งานครง้ั ตอไป หรอื รายงานใหเจาของ
กจิ การอาชพี ทราบ
10) ผูรบั ผดิ ชอบโครงงานพัฒนาอาชีพ
กําหนดระบุชื่อผูรับผิดชอบโครงการพัฒนาอาชีพ ในกรณีท่ีเปนโครงการที่มีผูรวมงาน
หลายคน ใหร ะบไุ วด วยวา มีกคี่ น ใครบา ง รับผิดชอบการดาํ เนินงานดา นใดของโครงการพัฒนาอาชีพนั้น ๆ
11) ความสมั พนั ธก ับโครงงานอื่น
การระบุความสัมพันธกับโครงการอื่น เปนการระบุวาโครงการท่ีดําเนินงานน้ี
เอ้ือประโยชนตอเนื่องหรือประสานงานกับโครงการอื่นอยางไร นอกจากน้ียังเปนการตรวจสอบดวยวา
โครงการตา ง ๆ ทรี่ ะบุดําเนนิ งานมคี วามสัมพันธก ัน หรอื มคี วามซํา้ ซอนกนั หรอื ไม
12) ผลท่ีคาดวาจะไดรับ
ผลที่คาดวาจะไดรับ เปนการกําหนดผลผลิตในดานตาง ๆ ที่จะเกิดข้ึนทันทีเมื่อสิ้นสุด
โครงการพัฒนาอาชีพรวมถงึ ผลลัพธ ในดานตา ง ๆ ทคี่ าดวาจะเกดิ ขน้ึ ในอนาคต
100
กิจกรรมท่ี 2
การเขยี นโครงการพัฒนาอาชีพ
ใหผ เู รยี นเขียนโครงการพฒั นาอาชพี ตามทีผ่ เู รียนสนใจ คนละ 1 โครงการ
ตามหวั ขอ ตอ ไปน้ี
1. ช่อื โครงการ
2. หลกั การและเหตผุ ล
3. วัตถปุ ระสงค
4. เปา หมาย
5. วิธีดาํ เนนิ การ
6. ระยะเวลาในการดาํ เนินงานโครงการ
7. งบประมาณ
8. เครือขา ย
9. การประเมินผลและรายงานผลโครงการ
10. ผรู ับผิดชอบโครงการ
11. ความสัมพนั ธกบั โครงการอ่ืน
12. ผลท่คี าดวาจะไดร ับ
101
เร่ืองที่ 3 การเขยี นแผนปฏิบตั ิการ
การดาํ เนินงานอาชีพ เมอื่ จัดทําโครงการเรยี บรอยแลว เพื่อใหการปฏิบัติงานเปนไปอยางมี
ระบบ ผูดําเนนิ งานโครงการควรตองจดั ทําแผนปฏิบัติการโดยนาํ ขน้ั ตอนที่ระบุไวในวิธีดําเนินการมาจัดทํา
รายละเอียดตามแบบฟอรม
กจิ กรรมหลัก วัตถุประสงค กลุม พ้นื ที่ดําเนินการ ระยะ งบประมาณ
เปา หมาย เปาหมาย หมบู า น ตําบล อาํ เภอ เวลา
102
เร่ืองท่ี 4 การตรวจสอบโครงการพัฒนาอาชีพ
การดาํ เนินงาน โครงการพัฒนาอาชพี ใหประสบความสําเร็จการตรวจสอบติดตามโครงการ
และการควบคมุ โครงการ เปนระบบทสี่ ําคัญตอการจดั การโครงการไดด าํ เนนิ การไปอยา งมีประสิทธภิ าพ
การตรวจสอบโครงการ หมายถึง กระบวนการการวัดและการตรวจสอบท่ีทําเปนประจํา
ในแตละระยะของการดําเนินงานโครงการ โดยจะทําการวดั และตรวจสอบปจจยั นาํ เขา ไดแก ความพรอม
ของทุน แรงงาน ตลาด การจัดการ ความถนัด ความสอดคลองของอาชีพกับชุมชน กระบวนการ
ดําเนินงาน ตรวจสอบการดําเนินงานโครงการวาเปนไปตามแผนหรือไม และติดตามผลผลิต ผลิตภัณฑ
บริการที่เกิดข้ึนวาเปนอยางไร โดยการติดตามโครงการ มีจุดมุงหมายเพื่อใหขอมูลแกฝายบริหารในการ
ชี้ใหเหน็ สถานการณข องโครงการเกย่ี วกบั การใชทรพั ยากร การปฏิบตั ิกจิ กรรมตา ง ๆ หรอื ผลผลิต ผลติ ภณั ฑ
บรกิ ารของโครงการเพือ่ การแกไ ขปรับปรงุ สถานการณตาง ๆ ของโครงการท่เี ปนปญหาไดทันทวงที
การควบคมุ โครงการ หมายถึง กระบวนการท่ีบงั คบั ใหก ิจกรรมตา ง ๆ เปนไปตามแผนงาน
และวัตถุประสงคที่ไดกําหนดไว การควบคุมโครงการจะชวยกระตุนใหผูบริหารโครงการ ตลอดจน
ผูปฏิบัติงานโครงการใหสนใจชวงการดําเนินงาน เพื่อไมใหการดําเนินงานเบ่ียงเบนไปจากแผน
และเพ่อื แกไขขอผดิ พลาดเม่ือสถานการณไมเปนไปตามท่ีวางแผนไว เพื่อใหโครงการประสบความสําเร็จ
ระบบการควบคุมโครงการเกย่ี วกบั สิ่งตาง ๆ ควรควบคมุ โครงการใน 5 ดาน ดงั นี้
1. การควบคุมทรัพยากรทางกายภาพ ไดแก การตรวจสอบวาวัตถุประสงค อุปกรณ
เครื่องมือ อาคาร ท่ีดิน และบุคลากร ผูปฏิบัติงาน มีปริมาณและลักษณะตามท่ีกําหนดไวสําหรับ
การปฏบิ ัตงิ านเพอื่ ใหเกดิ การประหยัดในการบรรลุวัตถปุ ระสงค
2. การควบคมุ กระบวนการปฏบิ ตั งิ าน ไดแก การตรวจสอบกํากับดูแลเทคนิค เครื่องจักร
เคร่ืองมือตาง ๆ และวิธีปฏิบัติงานของบุคลากร ผูปฏิบัติใหถูกตองตรงตามหลักการที่กําหนดไวสําหรับ
การปฏิบัติงานประเภทน้ัน ๆ
3. การควบคุมผลการปฏิบัติงาน เปนการจัดการใหโครงการการผลิตไดปริมาณตามที่
กาํ หนดไวตามคณุ ภาพ และตามชวงเวลาท่กี าํ หนดไว
4. การควบคุมดา นการเงิน ไดแ ก การควบคมุ ดานรายจาย การควบคมุ ดา นงบประมาณ และ
ดานการบัญชี เพ่ือใหเกิดความมั่นใจวารายรับและรายจายของโครงการเปนไปตามแผนและโครงการ
สามารถทาํ ใหเ กดิ ผลผลติ ผลิตภัณฑ บริการตามวัตถุประสงค
5. การควบคุมบุคลากร เปนการควบคุมพฤติกรรมการปฏิบัติงานของทีมงานโครงการ
ใหเปนไปตามวิธีการท่ีกําหนดไว และใหเปนไปตามกําหนดการโครงการ การควบคุมการปฏิบัติงาน
ของบุคลากรอาจใชการประเมนิ ผลการปฏบิ ัตงิ านแบบเปนระบบและเปน ทางการ
การติดตามและการควบคุมโครงการเปนกิจกรรมที่เกี่ยวเนื่องกัน และมักใชควบคูกัน
เพ่ือปรับการปฏิบตั งิ านใหไ ปสูทิศทางท่ีตองการ กลาวคือ เม่ือไดติดตามดูผลการปฏิบัติงานวาเปนอยางไร
แลวตองมกี ารควบคุมเพือ่ ปรบั การปฏิบัตงิ านใหไ ปสูทิศทางทีก่ าํ หนดไวในแผน เพื่อชวยใหโครงการบรรลุ
103
สิ่งที่เปนวัตถุประสงคของโครงการ ในการดําเนินงานโครงการ การติดตามและการควบคุมจึงชวยให
โครงการมีความเปน อนั หน่งึ อันเดียวกันทง้ั ระบบตลอดอายุของโครงการ
การรายงานผลเปนการสรุปจากผลการประเมินวาเปนไปตามโครงการหรือไม มีปญหา
อุปสรรคอยางไร เพ่ือหาแนวทางแกไข และสงเสริมใหการปฏิบัติงานตามโครงการน้ันมีประสิทธิภาพ
มากยิง่ ขนึ้
การประเมินผลโครงการ นอกจากจะประเมินความสําเร็จตามเปาหมายที่กําหนดไวแลว
ผูประกอบการควรทําการประเมินดานคุณธรรม จริยธรรมของตนเองดวย เพราะผูประกอบการสวนใหญ
จะนึกถงึ แตผ ลกาํ ไรโดยไมค ํานึงถึงคุณธรรม จริยธรรม ซ่งึ จะมีผลตอความมนั่ คงของอาชีพในระยะยาวดว ย
104
กจิ กรรมท่ี 3
ใหผูเรียนบันทึกขอมูล สรุปผลการดําเนินงานโครงการพัฒนาอาชีพของตนเอง
ตามแบบฟอรม ท่กี าํ หนด
รายงานผลเม่อื สิน้ สุดโครงการ
1. ระยะเวลาดําเนนิ งาน
เริ่มโครงงานวนั ท.่ี ....................เดอื น.............................................พ.ศ. ........................................
ส้ินสดุ โครงงานวันท.ี่ ...............เดอื น.............................................พ.ศ. ........................................
รวมเวลาดาํ เนนิ งาน..................ป. ..................................เดอื น.................................วนั .................
2. ตนทนุ การผลติ /การบรกิ าร................................................................................................บาท
3. จํานวนผลผลิตทไ่ี ด/ การบริการทง้ั หมด.....................................................................................
4. การจัดจําหนา ย/บรกิ าร.............................................................................................................
..................................................................................................................................................
5. ราคาจาํ หนายตอ หนวย
ราคาต่าํ สุดหนวยละ............................................................................................................บาท
ราคาสูงสดุ หนว ยละ...........................................................................................................บาท
ราคาเฉลยี่ หนว ยละ............................................................................................................บาท
6. แหลง จําหนา ย ก. .....................................................................................................................
ข. .....................................................................................................................
ค. .....................................................................................................................
7. รายได กาํ ไร ขาดทุน..........................................................................................................บาท
8. การแบงผลกําไร ขาดทนุ (ถา มผี ูรว มงาน) ...............................................................................
.................................................................................................................................................
9. ทรัพยส ินคงเหลอื
9.1 ..............................จาํ นวน.......................................มลู คา ................................บาท
9.2 ..............................จาํ นวน.......................................มูลคา................................บาท
9.3 ..............................จํานวน.......................................มลู คา ................................บาท
9.4 ..............................จํานวน.......................................มลู คา ................................บาท
10. ปญหา อุปสรรค และแนวทางแกไ ข
...............................................................................................................................................
...............................................................................................................................................
11. การตดั สินใจ
11.1 ดําเนนิ งานตอ ระบุเหตผุ ล.........................................................................................
.................................................................................................................................
105
11.2 ดาํ เนนิ งานตอ ระบุเหตผุ ล.........................................................................................
.................................................................................................................................
11.3 ดาํ เนินงานตอ ระบเุ หตุผล.........................................................................................
.................................................................................................................................
11.4 ดาํ เนินงานตอ ระบเุ หตผุ ล.........................................................................................
.................................................................................................................................
ขอ คดิ เหน็ ของผรู .ู ........................................................................................................................................
....................................................................................................................................................................
....................................................................................................................................................................
....................................................................................................................................................................
....................................................................................................................................................................
....................................................................................................................................................................
ลงชื่อ.................................................
(...............................................)
วนั ท.ี่ .......เดือน.................พ.ศ. .........
106
บรรณานกุ รม
ฤทยั ภักดิ์ สมบรู ณ. (2551). พฒั นาอาชพี ระดบั มัธยมศกึ ษาตอนตน นนทบุรี.สํานกั พมิ พลองไลฟ เอ็ด จาํ กดั .
คณะอาจารย กศน. สาระการเรียนรูหมวดวชิ าพฒั นาอาชพี กรงุ เทพฯ บรษิ ทั ไผมีเดยี เซ็นเตอร จํากดั .
ศนู ยฝ ก และพัฒนาอาชพี ราษฎรไทยบริเวณชายแดนสระแกว. (2552) แผนปฏบิ ัติการปงบประมาณ 2552
ศนู ยฝ ก และพฒั นาอาชพี ราษฎรไ ทยบรเิ วณชายแดนสระแกว.
กิจฐเชต ไกรวาส. (2550). การวเิ คราะหแ ละประเมนิ ผลโครงการ, ชลบรุ ี. วทิ ยาลัยการบริหารรัฐกจิ
มหาวิทยาลยั บรู พา.
กองแผนงาน กรมการศกึ ษานอกโรงเรยี น. (2537). คูม อื การดําเนนิ งานโครงการ. กรงุ เทพฯ หา งหนุ สว น
จาํ กัด อารต โปรเกรส.
กองพฒั นาการศกึ ษานอกโรงเรยี น. (2541). ชดุ วชิ าการฝก ทกั ษะและฝก ประกอบการเฉพาะอาชีพ กรุงเทพฯ:
โรงพมิ พช ุมนุมสหกรณก ารเกษตรแหงประเทศไทย จาํ กดั .
สํานักบริหารงานการศกึ ษานอกโรงเรยี น. (2548). คูมือดาํ เนินงานจดั การศกึ ษานอกโรงเรียน เพอ่ื สราง
ชุมชนเขม แข็ง เศรษฐกิจพอเพยี งพน ความยากจน. กรุงเทพฯ: รกั ษการพมิ พ.
กิตตพิ นั ธ ดาสวัสดเ์ิ กยี รต.ิ (2551). การจดั การความเส่ยี งและตรวจสอบอนุพันธเ บอื้ งตน กรุงเทพฯ:
สํานักพิมพเบียรส นั เอ็ดดูเคชน่ั .
สํานกั บรหิ ารงานการศกึ ษานอกโรงเรยี น. แนวทางจัดการศกึ ษาเพอื่ พฒั นาอาชีพ. (กพอ.) กรุงเทพมหานคร:
รังสีการพิมพ.
สํานักงานเลขาธกิ ารสภาการศกึ ษา. (2551). แนวทางการจดั การเรยี นรูที่เนน ผเู รยี นเปน สําคญั . แหลงทมี่ า
http://www.oncc.go.th/publication/50051
กลมุ พัฒนาการศึกษานอกโรงเรียน. สอนใหค ดิ . โรเนยี ว.
มยรุ ี อนมุ านราชธน. (2548). การบรหิ ารโครงการ. กรงุ เทพฯ: สํานักพิมพคะนงึ นจิ การพิมพ.
ศูนยการศกึ ษานอกระบบภาคกลาง. (2544). พัฒนาอาชีพ ระดบั มัธยมศกึ ษาตอนตน กรงุ เทพฯ: สาํ นกั พิมพ
บริษทั เอกพมิ พไ ท จาํ กัด.
107
ท่ีปรกึ ษา บญุ เรือง คณะผูจัดทํา
1. นายประเสรฐิ อม่ิ สุวรรณ
2. ดร.ชัยยศ จาํ ป เลขาธิการ กศน.
3. นายวัชรินทร แกว ไทรฮะ รองเลขาธกิ าร กศน.
4. ดร.ทองอยู ตณั ฑวุฑโฒ รองเลขาธกิ าร กศน.
5. นางรกั ขณา ท่ปี รกึ ษาดานการพฒั นาหลักสตู ร กศน.
ผูอาํ นวยการกลุมพัฒนาการศกึ ษานอกโรงเรยี น
ผเู ขียนและเรยี บเรียง ศนู ยฝก และพัฒนาอาชพี ราษฎรไทยบริเวณชายแดน
นางสาวกฤษณา โสภี จังหวัดสระแกว
ผูบรรณาธกิ าร และพฒั นาปรบั ปรุง ศนู ยการศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศยั
1. นางอบุ ล ทัศนโกวิท อาํ เภอสันทราย จงั หวดั เชียงใหม
สาํ นักงานสงเสรมิ การศกึ ษานอกระบบ
2. นายสุธี วรประดษิ ฐ และการศึกษาตามอธั ยาศัยจงั หวดั ตราด
ศูนยการศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศยั
3. นางสาวสุวิชา อินหนองฉาง อําเภอสนั ทราย จังหวดั เชยี งใหม
ศนู ยฝก และพัฒนาอาชพี ราษฎรไทยบรเิ วณชายแดน
4. นายเสกขภัทร ศรเี มอื ง จงั หวัดอุตรดิตถ
กลมุ พฒั นาการศึกษานอกโรงเรยี น
5. นางดษุ ฎี ศรีวฒั นาโรทยั กลุมพัฒนาการศึกษานอกโรงเรยี น
กลุมพัฒนาการศกึ ษานอกโรงเรยี น
6. นางพรทพิ ย เข็มทอง
7. นางสาวเยาวรัตน คําตรง
คณะทํางาน กลุมพฒั นาการศึกษานอกโรงเรยี น
1. นายสุรพงษ มั่นมะโน กลุม พฒั นาการศกึ ษานอกโรงเรียน
2. นายศภุ โชค ศรีรัตนศลิ ป กลมุ พฒั นาการศึกษานอกโรงเรียน
3. นางสาววรรณพร ปท มานนท กลุมพฒั นาการศึกษานอกโรงเรยี น
4. นางสาวศรญิ ญา กุลประดษิ ฐ กลุมพฒั นาการศึกษานอกโรงเรียน
5. นางสาวเพชรินทร เหลอื งจติ วัฒนา
108
ผ้พู ฒั นาและปรับปรุงครังที (วนั ที - พฤศจกิ ายน )
1. นางอญั ชลี ธรรมวธิ กี ุล
2. นางดษุ ฎี ศรีวัฒนาโรทยั
3. นายสธุ ี วรประดษิ ฐ
4. นางสาวกฤษณา โสภี
5. นายสภุ าพ เมืองนอ ย
6. นางสาวทพิ วรรณ วงคเ รือน
ผูพ มิ พตน ฉบบั
นางสาวเพชรนิ ทร เหลืองจิตวัฒนา กลุมพัฒนาการศึกษานอกโรงเรียน
ผอู อกแบบปก กลุม พัฒนาการศึกษานอกโรงเรียน
นายศภุ โชค ศรีรัตนศลิ ป
109
คณะผูปรับปรงุ ขอ มูลเกี่ยวกับสถาบนั พระมหากษตั ริย ป พ.ศ. 2560
ทปี่ รกึ ษา จาํ จด เลขาธิการ กศน.
หอมดี รองเลขาธิการ กศน.
1. นายสรุ พงษ สุขสเุ ดช ผอู าํ นวยการกลุมพฒั นาการศึกษานอกระบบ
2. นายประเสรฐิ และการศกึ ษาตามอธั ยาศัย
3. นางตรนี ุช กศน.เขตบางซ่ือ กรงุ เทพมหานคร
กลมุ พฒั นาการศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั
ผปู รบั ปรุงขอมลู แกวมณี กลมุ พฒั นาการศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศยั
นางสาวลลติ า กลมุ พฒั นาการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย
กลมุ พฒั นาการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั
คณะทํางาน มั่นมะโน กลุมพฒั นาการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั
1. นายสุรพงษ กลมุ พฒั นาการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัย
2. นายศุภโชค ศรีรตั นศิลป กลุมพฒั นาการศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศัย
3. นางสาวเบ็ญจวรรณ อาํ ไพศรี กลมุ พฒั นาการศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศยั
4. นางเยาวรัตน ปน มณีวงศ
5. นางสาวสลุ าง เพ็ชรสวา ง
6. นางสาวทพิ วรรณ วงคเรือน
7. นางสาวนภาพร อมรเดชาวัฒน
8. นางสาวชมพนู ท สังขพชิ ัย
110
คณะผปู รบั ปรงุ ขอ มูลเกยี่ วกบั สถาบนั พระมหากษตั ริย ป พ.ศ. 2560
ท่ีปรกึ ษา จําจด เลขาธิการ กศน.
หอมดี ผตู รวจราชการกระทรวงศึกษาธกิ าร
1. นายสุรพงษ สุขสุเดช ปฏบิ ตั หิ นาทรี่ องเลขาธิการ กศน.
2. นายประเสรฐิ ผูอ าํ นวยการกลมุ พัฒนาการศกึ ษานอกระบบ
3. นางตรนี ุช และการศกึ ษาตามอัธยาศยั
กศน.เขตสายไหม กรุงเทพมหานคร
ผปู รบั ปรุงขอ มลู กลมุ พฒั นาการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัย
กลุมพฒั นาการศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั
นางสาวปรญิ ญารตั น มาทอง กลุมพฒั นาการศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศัย
กลุมพฒั นาการศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศัย
คณะทาํ งาน มัน่ มะโน กลมุ พฒั นาการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย
1. นายสรุ พงษ กลุมพฒั นาการศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศัย
2. นายศภุ โชค ศรีรตั นศิลป กลมุ พฒั นาการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย
3. นางสาวเบญ็ จวรรณ อําไพศรี กลุมพฒั นาการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัย
4. นางเยาวรัตน ปน มณวี งศ
5. นางสาวสุลาง เพช็ รสวาง
6. นางสาวทิพวรรณ วงคเ รือน
7. นางสาวนภาพร อมรเดชาวัฒน
8. นางสาวชมพูนท สงั ขพชิ ยั