หนงั สือเรียนสาระทกั ษะการดาเนินชีวติ
รายวชิ า ศิลปศึกษา
(ทช21003)
ระดบั มธั ยมศึกษาตอนต้น
(ฉบบั ปรับปรุง พ.ศ. 2560)
หลกั สูตรการศึกษานอกระบบระดบั การศึกษาข้นั พ้นื ฐาน
พทุ ธศกั ราช 2551
สานกั งานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั
สานกั งานปลดั กระทรวงศึกษาธิการ
กระทรวงศึกษาธิการ
ห้ามจาหน่าย
U
หนงั สือเรียนเล่มน้ีจดั พิมพด์ ว้ ยเงินงบประมาณแผน่ ดินเพื่อการศึกษาตลอดชีวติ สาหรับประชาชน
ลิขสิทธ์ิเป็นของ สานกั งาน กศน. สานกั งานปลดั กระทรวงศึกษาธิการ
เอกสารทางวชิ าการลาดบั ท่ี 16/2555
หนงั สือเรียนสาระทกั ษะการดาเนินชีวติ
รายวชิ า ศิลปศึกษา (ทช21003)
ระดบั มัธยมศึกษาตอนต้น
ฉบบั ปรับปรุง พ.ศ. 2560
ลิขสิทธ์ิเป็นของ สานกั งาน กศน. สานกั งานปลดั กระทรวงศึกษาธิการ
เอกสารทางวชิ าการลาดบั ท่ี 16/2555
คํานํา
กระทรวงศึกษาธิการไดประกาศใชหลักสูตรการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาข้ันพื้นฐาน
พุทธศกั ราช 2551 เมอื่ วันท่ี 18 กันยายน พ.ศ. 2551 แทนหลักเกณฑและวิธีการจัดการศึกษานอกโรงเรียนตาม
หลักสูตรการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน พุทธศักราช 2544 ซ่ึงเปนหลักสูตรที่พัฒนาขึ้นตามหลักปรัชญาและความเชื่อ
พื้นฐานในการจัดการศึกษานอกโรงเรียนท่ีมีกลุมเปาหมายเปนผูใหญมีการเรียนรูและส่ังสมความรูและ
ประสบการณอยางตอเนือ่ ง
ในปงบประมาณ 2554 กระทรวงศึกษาธิการไดกําหนดแผนยุทธศาสตรในการขับเคลื่อนนโยบาย
ทางการศึกษาเพือ่ เพม่ิ ศกั ยภาพและขดี ความสามารถในการแขงขันใหประชาชนไดมีอาชีพที่สามารถสรา งรายได
ทม่ี ่งั คัง่ และมน่ั คง เปน บคุ ลากรท่มี วี นิ ยั เปยมไปดว ยคุณธรรมและจริยธรรม และมจี ิตสํานึกรบั ผิดชอบตอตนเอง
และผูอื่น สํานักงาน กศน. จึงไดพิจารณาทบทวนหลักการ จุดหมาย มาตรฐาน ผลการเรียนรูที่คาดหวัง และ
เนื้อหาสาระ ท้ัง 5 กลุมสาระการเรียนรู ของหลักสูตรการศึกษานอกระบบระดับการศึกษา ขั้นพื้นฐาน
พุทธศักราช 2551 ใหมีความสอดคลองตอบสนองนโยบายกระทรวงศึกษาธิการ ซ่ึงสงผลใหตองปรับปรุง
หนงั สือเรยี น โดยการเพิ่มและสอดแทรกเนื้อหาสาระเก่ียวกับอาชีพ คุณธรรม จริยธรรมและการเตรียมพรอม
เพื่อเขาสูประชาคมอาเซียน ในรายวิชาที่มีความเกี่ยวของสัมพันธกัน แตยังคงหลักการและวิธีการเดิมในการ
พฒั นาหนังสอื ทใี่ หผ เู รยี นศกึ ษาคนควาความรูดวยตนเอง ปฏิบัติกิจกรรม ทําแบบฝกหัด เพื่อทดสอบความรู
ความเขาใจ มกี ารอภิปรายแลกเปลี่ยนเรยี นรูกับกลุม หรือศึกษาเพิ่มเติมจากภูมิปญญาทองถ่ิน แหลงการเรียนรู
และส่ืออ่ืน
การปรับปรุงหนังสือเรียนในคร้ังนี้ ไดรับความรวมมืออยางดียิ่งจากผูทรงคุณวุฒิในแตละสาขาวิชา
และผเู กย่ี วของในการจัดการเรียนการสอนทศ่ี กึ ษาคนควา รวบรวมขอมูลองคความรูจากสื่อตาง ๆ มาเรียบเรียง
เนื้อหาใหค รบถวนสอดคลอ งกับมาตรฐาน ผลการเรียนรูที่คาดหวัง ตัวช้ีวัดและกรอบเนื้อหาสาระของรายวิชา
สาํ นักงาน กศน.ขอขอบคุณผูมีสวนเกี่ยวของทุกทานไว ณ โอกาสนี้ และหวังวาหนังสือเรียน ชุดน้ีจะเปน
ประโยชนแ กผเู รยี น ครู ผสู อน และผูเ ก่ียวขอ งในทุกระดับ หากมีขอเสนอแนะประการใด สํานักงาน กศน. ขอ
นอมรับดว ยความขอบคณุ ย่งิ
สารบญั หนา
คาํ นํา 1
คาํ แนะนาํ การใชหนังสือเรยี น 2
โครงสรา งรายวชิ า 9
บทท่ี 1 ทัศนศิลปไทย 32
35
เรื่องท่ี 1 จดุ เสน สี แสง เงา รปู ราง และรปู ทรงทีใ่ ชใ นทศั นศิลปไ ทย 37
เร่อื งที่ 2 ความหมายและเปนมาของทัศนศลิ ปไทย ดา นจติ รกรรมไทย 44
52
ประตมิ ากรรมไทย สถาปต ยกรรมไทย ภาพพมิ พ 53
เร่ืองที่ 3 ความงามและคณุ คา ของทัศนศิลปไทย 62
เรือ่ งที่ 4 การนําความงามของธรรมชาตมิ าสรางสรรคผ ลงาน 79
เรอ่ื งที่ 5 ความคิดสรางสรรค ในการนําเอาวัสดุและส่ิงของตาง ๆ มาตกแตง 81
84
รางกายและสถานที่ 85
เรอื่ งท่ี 6 คณุ คาของความซาบซ้งึ ของวัฒนธรรมของชาติ 86
บทที่ 2 ดนตรไี ทย 90
เร่ืองท่ี 1 ประวัติดนตรีไทย 98
เรื่องท่ี 2 เทคนิคและวิธกี ารเลนของเครอ่ื งดนตรีไทย 101
เร่อื งที่ 3 คณุ คาความงามความไพเราะของเพลงและเครอ่ื งดนตรไี ทย 105
เร่อื งท่ี 4 ประวตั คิ ณุ คา ภมู ปิ ญ ญาของดนตรีไทย
บทที่ 3 นาฏศลิ ปไทย
เรือ่ งท่ี 1 ความเปนมาของนาฏศิลปไ ทย
เร่อื งท่ี 2 ประวัตนิ าฏศลิ ปไทย
เรอ่ื งที่ 3 ประเภทของนาฏศิลปไทย
เรอ่ื งที่ 4 นาฏยศพั ท
เร่ืองท่ี 5 รําวงมาตรฐาน
เรอื่ งที่ 6 การอนุรกั ษนาฏศลิ ปไทย
บทที่ 4 นาฏศิลปไ ทยกบั การประกอบอาชพี 108
เรือ่ งที่ 1 คุณสมบัตขิ องอาชีพนกั แสดงที่ดี 108
เรือ่ งท่ี 2 คุณลกั ษณะของผูประกอบอาชพี การแสดง 108
อาชพี การแสดงหนังตะลงุ 109
อาชพี การแสดงลเิ ก 114
อาชีพการแสดงหมอลํา 117
คณะผูจดั ทํา
คําแนะนําการใชห นังสือเรียน
หนังสือเรียนสาระทักษะการดําเนินชีวิต รายวิชา ศิลปศึกษา ทช21003 เปนหนังสือเรียนท่ีจัดทําข้ึน
สาํ หรับผูเ รยี นท่เี ปนนักศึกษานอกระบบ
ในการศึกษาหนงั สอื เรยี นสาระทกั ษะการดําเนนิ ชีวิต รายวชิ า ศลิ ปศึกษา ผเู รยี นควรปฏบิ ัตดิ ังนี้
1. ศกึ ษาโครงสรางรายวิชาใหเขาใจในหัวขอและสาระสําคัญ ผลการเรียนรูที่คาดหวัง และขอบขาย
เนอ้ื หาของรายวิชาน้ัน ๆ โดยละเอียด
2. ศึกษารายละเอยี ดเนอื้ หาของแตล ะบทอยางละเอียด และทํากิจกรรมตามท่ีกําหนด แลวตรวจสอบ
กบั แนวตอบกจิ กรรมตามทีก่ าํ หนด ถาผเู รียนตอบผดิ ควรกลับไปศึกษาและทําความเขาใจในเนื้อหานั้นใหมให
เขา ใจ กอนทีจ่ ะศกึ ษาเรือ่ งตอ ๆ ไป
3. ปฏิบตั กิ ิจกรรมทา ยเรือ่ งของแตละเรื่อง เพ่ือเปนการสรุปความรู ความเขาใจของเนื้อหาในเรื่องนั้น ๆ
อกี ครง้ั และการปฏิบัติกิจกรรมของแตละเนื้อหา แตละเร่ือง ผูเรียนสามารถนําไปตรวจสอบกับครูและเพ่ือน ๆ ที่
รว มเรยี นในรายวชิ าและระดับเดยี วกนั ไดหนงั สอื เรียนเลม นม้ี ี 4 บท คือ
บทท่ี 1 ทัศนศลิ ปไทย
บทที่ 2 ดนตรีไทย
บทที่ 3 นาฏศิลปไ ทย
บทท่ี 4 นาฏศลิ ปไ ทยกับการประกอบอาชพี
โครงสรา งรายวิชาศิลปศกึ ษา
ระดบั มัธยมศกึ ษาตอนตน
สาระสาํ คญั
มีความรคู วามเขา ใจ มคี ุณธรรม จรยิ ธรรม ช่ืนชม เหน็ คณุ คา ความงาม ความไพเราะ
ธรรมชาติ สิ่งแวดลอ ม ทางทัศนศิลปไทย ดนตรไี ทย นาฏศลิ ปไ ทย และวเิ คราะหไ ดอ ยางเหมาะสม
ผลการเรียนรูที่คาดหวงั
1. อธบิ ายความหมายของธรรมชาติ ความงาม ความไพเราะของทัศนศิลปไทย ดนตรีไทย
และนาฏศิลปไทย
2. อธิบายความรูพนื้ ฐานของ ทศั นศลิ ปไทย ดนตรีไทย และนาฏศิลปไทย
3. สรา งสรรคผ ลงานโดยใชความรูพนื้ ฐาน ดา น ทศั นศลิ ปไ ทย ดนตรีไทย และนาฏศลิ ปไทย
4. ชนื่ ชม เหน็ คณุ คาของ ทศั นศิลปไทย ดนตรไี ทย และนาฏศลิ ปไ ทย
5. วิเคราะห วพิ ากย วจิ ารณ งานดานทัศนศลิ ปไ ทย ดนตรไี ทย และนาฏศิลปไทย
6. อนรุ กั ษสืบทอดภมู ิปญ ญาดานทศั นศิลปไ ทย ดนตรไี ทย และนาฏศิลปไ ทย
ขอบขา ยเนอ้ื หา
บทที่ 1 ทัศนศลิ ปไทย
บทที่ 2 ดนตรีไทย
บทท่ี 3 นาฏศลิ ปไทย
บทท่ี 4 นาฏศลิ ปไ ทยกับการประกอบอาชีพ
สื่อการเรียนรู
1. หนงั สอื เรยี น
2. กิจกรรม
1
บทท่ี 1
ทัศนศิลปไ ทย
สาระสาํ คัญ
ศึกษาเรยี นรู เขา ใจ เห็นคุณคา ความงาม ของทศั นศลิ ปไ ทย และสามารถอธบิ ายความงาม และความ
เปนมาของทศั นศิลปไ ทย ไดอยางเหมาะสม
ผลการเรยี นรทู ีค่ าดหวัง
อธิบายความหมาย ความสําคัญ ความเปนมา ของทศั นศลิ ปไ ทย เขา ใจถงึ ตน กาํ เนดิ ภูมิปญ ญาและการ
อนุรักษทศั นศลิ ปไทย
ขอบขา ยเนอ้ื หา
เรื่องที่ 1 จุด เสน สี แสง เงา รูปราง และรูปทรงท่ใี ชใ นทศั นศิลปไ ทย
เร่ืองท่ี 2 ความเปน มาของทัศนศลิ ปไทยดานจติ รกรรมไทย ประตมิ ากรรมไทย
สถาปตยกรรมไทย ภาพพิมพ
เร่ืองท่ี 3 ความงามของทัศนศิลปไทย
เรอ่ื งท่ี 4 สรางสรรคผลงานจากความงามตามธรรมชาติ
เร่ืองที่ 5 ความคิดสรางสรรค ในการนําเอาวัสดุและสง่ิ ของตา ง ๆ มาตกแตงรา งกายและสถานท่ี
เร่ืองท่ี 6 คุณคาของความซาบซึ้งของวัฒนธรรมของชาติ
2
เร่อื งที่ 1 จุด เสน สี แสง เงา รปู รา ง และรูปทรงทใี่ ชใ นทัศนศลิ ปไทย
จุด ...................................................................
คือ องคป ระกอบทเี่ ล็กท่สี ุด จดุ เปนสิ่งท่ีบอกตําแหนง และทิศทางได การนําจุดมาเรียงตอกันใหเปนเสน
การรวมกันของจดุ จะเกดิ น้าํ หนกั ทใ่ี หป ริมาตรแกร ูปทรง เปนตน
เสน
หมายถึง จุดหลาย ๆ จุดที่เรียงชิดติดกันเปนแนวยาว การลากเสนจากจุดหน่ึงไปยังจุดหน่ึง
ในทศิ ทางทแี่ ตกตางกัน จะเปนทิศมมุ 45 องศา 90 องศา 180 องศา หรือมมุ ใด ๆ การสลับทิศทางของเสนท่ีลาก
ทําใหเ กดิ เปน ลักษณะตาง ๆ
เสนเปน องคป ระกอบพ้นื ฐานท่ีสาํ คัญในการสรา งสรรค เสน สามารถแสดงใหเกิดความหมายของภาพ
และใหความรสู ึกไดต ามลักษณะของเสน เสน ที่เปน พื้นฐาน ไดแก เสน ตรงและเสนโคง
จากเสนตรงและเสนโคง สามารถนาํ มาสรางใหเกดิ เปน เสน ใหมท่ีใหความรูสึกที่แตกตางกันออกไปได
ดงั นี้
เสนตรงแนวตงั้ ใหความรูสกึ แข็งแรง สงู เดน สงา งาม นาเกรงขาม
เสน ตรงแนวนอน ใหความรูสึกสงบราบเรียบ กวา งขวาง การพักผอน หยดุ น่งิ
เสน ตรงแนวเฉียง ใหค วามรูสกึ ไมปลอดภัย การลม ไมหยดุ นง่ิ
เสน ตดั กนั ใหความรูสึกประสานกนั แข็งแรง
3
เสนโคง ใหค วามรสู ึกออนโยนนมุ นวล
เสน คด ใหความรสู ึกเคลื่อนไหวไหลเล่อื น รา เรงิ ตอ เนอื่ ง
เสนประ ใหความรสู ึกขาดหาย ลึกลบั ไมสมบรณู แสดงสวนท่มี องไมเ หน็
เสนขด ใหความรสู กึ หมุนเวียนมนึ งง
เสนหยกั ใหค วามรูสกึ ขดั แยง นากลัว ต่นื เตน แปลกตา
นักออกแบบนาํ เอาความรสู ึกท่มี ีตอ เสน ทแี่ ตกตางกันมาใชใ นงานศิลปะประยุกต โดยใชเสนมาเปล่ียน
รปู รา งของตัวอักษร เพ่ือใหเ กดิ ความรสู ึกเคลื่อนไหวและทําใหสื่อความหมายไดดียง่ิ ขน้ึ
4
สี คอื สที ่นี าํ มาผสมกนั แลวทาํ ใหเกดิ สใี หม ทีม่ ลี กั ษณะแตกตา งไปจากสเี ดมิ แมสีมอี ยู 2 ชนิด คือ
1. แมสขี องแสง เกิดจากการหักเหของแสงผา นแทงแกวปรซิ ึม มี 7 สี คือ มวง คราม น้ําเงิน เขียว เหลือง แสด
แดง สวนสแี ดง สเี ขียว และสนี า้ํ เงิน อยูในรูปของแสงรังสี ซ่ึงเปนพลังงานชนิดเดียวท่ีมีสี คุณสมบัติของแสง
สามารถนาํ มาใชใ นการถายภาพ ภาพโทรทัศน การจัดแสงสีในการแสดงตาง ๆ เปนตน
2. แมสวี ตั ถธุ าตุ เปนสที ่ไี ดมาจากธรรมชาติ และจากการสงั เคราะหโดยกระบวนการทางเคมี มี 3 สี คือ สีแดง
สีเหลือง และสีน้ําเงิน แมสีวัตถุธาตุเปนแมสีท่ีนํามาใชงานกันอยางกวางขวาง ในวงการศิลปะ วงการ
อุตสาหกรรม ฯลฯ แมสวี ัตถุธาตุ เมอื่ นํามาผสมกนั ตามหลกั เกณฑ จะทาํ ใหเกิด วงจรสี ซึ่งเปนวงสีธรรมชาติ เกดิ
จากการผสมกันของแมสวี ัตถุธาตุ เปน สีหลกั ทใ่ี ชงานทว่ั ไป ในวงจรสี จะแสดงส่ิงตา ง ๆ ดังตอไปน้ี
สีแดง สีเหลอื ง สนี ้าํ เงิน
วงจรสี ( Color Circle)
สีขัน้ ท่ี 1 คอื แมสี ไดแก สแี ดง สเี หลอื ง สีน้าํ เงิน
สขี ้ันท่ี 2 คอื สที เ่ี กดิ จากสขี นั้ ที่ 1 หรือแมสผี สมกนั ในอัตราสว นท่ีเทากนั จะทําใหเกิดสใี หม 3 สี ไดแ ก
สีแดง ผสมกับสีเหลอื ง ได สสี ม
สีแดง ผสมกบั สีนา้ํ เงนิ ได สีมว ง
สเี หลือง ผสมกับสีนา้ํ เงิน ได สเี ขยี ว
5
สีขั้นที่ 3 คือ สที ่ีเกิดจากสขี นั้ ท่ี 1 ผสมกบั สขี ั้นที่ 2 ในอตั ราสวนท่เี ทากัน จะไดสอี นื่ ๆ อีก 6 สี คอื
สแี ดง ผสมกับสีสม
ได สีสม แดง
สีแดง ผสมกับสมี ว ง
ได สมี วงแดง
สเี หลอื ง ผสมกับสเี ขียว
ได สเี ขียวเหลอื ง
สนี า้ํ เงนิ ผสมกับสีเขียว
ได สเี ขียวน้ําเงนิ
สีน้ําเงนิ ผสมกบั สมี วง
ได สมี ว งน้ําเงนิ
สเี หลือง ผสมกับสสี ม
ได สสี ม เหลือง
วรรณะของสี คอื สที ใ่ี หค วามรูสกึ รอน-เยน็ ในวงจรสีจะมีสรี อน 7 สี และสเี ย็น 7 สี โดยจะมีสีมวงกับสี
เหลือง ซ่งึ เปนไดท ง้ั สองวรรณะ
สตี รงขา ม หรอื สีตัดกัน หรือสีคปู ฏปิ กษ เปนสีท่ีมีคาความเขมของสี ตัดกันอยางรุนแรง ในทางปฏิบัติ
ไมน ยิ มนํามาใชรวมกนั เพราะจะทําใหแตละสไี มสดใสเทา ที่ควร การนาํ สีตรงขา มกันมาใชรวมกัน อาจกระทํา
ไดด ังนี้
1. มพี ้นื ทข่ี องสีหน่ึงมาก อกี สหี นงึ่ นอย
2. ผสมสอี น่ื ๆ ลงไปในสใี ดสหี นึง่ หรือทัง้ สองสี
3. ผสมสีตรงขา มลงไปในสที งั้ สองสี
สีกลาง คือ สีท่ีเขาไดกับสีทุกสี สีกลางในวงจรสี มี 2 สี คือ สีนํ้าตาล กับ สีเทา สีนํ้าตาล เกิดจากสี
ตรงขามกนั ในวงจรสีผสมกัน ในอตั ราสว นท่เี ทา กัน สนี าํ้ ตาลมคี ุณสมบัติสําคัญ คอื ใชผ สมกับสอี น่ื แลว จะทาํ ให
สีนั้น ๆ เขมข้ึนโดยไมเปล่ียนแปลงคาสี ถาผสมมาก ๆ เขาก็จะกลายเปนสีน้ําตาล สีเทา เกิดจากสีทุกสี ๆ
วงจรสผี สมกนั ในอัตราสวนเทากนั สีเทา มคี ุณสมบตั ทิ ส่ี าํ คญั คือ ใชผสมกับสีอื่น ๆ แลวจะทาํ ให มดื หมน
6
ทฤษฎีสีดังกลา วมีผลใหเ ราสามารถนํามาใชเปนหลักในการเลือกสรรสีสําหรับงานสรางสรรค ของเราได
ซ่ึงงานออกแบบไมไ ดถ กู จํากดั ดวยกรอบความคดิ ของทฤษฎตี ามหลักวิชาการเทาน้ัน แตเราสามารถ คิดนอกกรอบ
แหงทฤษฎนี น้ั ๆ
คณุ ลักษณะของสมี ี 3 ประการ คือ
1. สแี ท หมายถงึ สีที่อยูในวงจรสีธรรมชาติ ทั้ง 12 สี ที่เราเห็นอยูทุกวันน้ีแบงเปน 2 วรรณะ โดยแบง
วงจรสีออกเปน 2 สวน จากสเี หลืองวนไปถึงสมี ว ง คอื
1.1 สีรอ น ใหความรสู ึกรนุ แรง รอ น ต่นื เตน ประกอบดวย สีเหลอื ง สเี หลืองสม สีสม
สแี ดงสม สแี ดง สมี วงแดง สีมว ง
1.2 สีเย็นใหความรูสึกเย็น สงบ สบายตา ประกอบดวย สีเหลือง สีเขียวเหลือง
สเี ขียว สเี ขียวนาํ้ เงนิ สีน้าํ เงิน สีมว งนํ้าเงนิ สมี วง
เราจะเหน็ วา สีเหลือง และสมี ว ง เปนสที ่ีอยไู ดท ัง้ 2 วรรณะ คือ เปน ไดท้ังสีรอ น และสเี ย็น
2. ความจดั ของสี หมายถึง ความสด หรอื ความบริสุทธ์ิของสีใดสีหน่ึง สีท่ีถูกผสมดวย สีดําจนหมนลง
ความจดั หรอื ความบริสทุ ธิจ์ ะลดลง ความจดั ของสจี ะเรียงลาํ ดับจากจดั ทีส่ ดุ ไปจนหมนที่สดุ
3. นํ้าหนักของสี หมายถงึ สที ี่สดใส สีกลาง สที ึบของสแี ตละสี สีทุกสจี ะมีนํ้าหนักในตัวเอง ถาเราผสม
สขี าวเขา ไปในสใี ดสีหนึง่ สนี ั้นจะสวางขนึ้ หรอื มีนาํ้ หนกั ออ นลงถา เพม่ิ สขี าวเขาไปทลี ะนอ ยๆ ตามลาํ ดับ เราจะ
ไดน้ําหนกั ของสที เี่ รียงลําดบั จากแกสดุ ไปจนถงึ ออ นสุด นํา้ หนกั ออนแกข องสที ไี่ ด เกิดจากการผสมดวยสีขาว
เทา และดาํ นาํ้ หนกั ของสีจะลดลงดวยการใชสขี าวผสม ซงึ่ จะทําให เกิดความรูสึกนุมนวล ออนหวาน สบายตา
เราสามารถเปรียบเทยี บระหวางภาพสกี บั ภาพขาวดาํ ไดอยางชดั เจน เม่อื นาํ ภาพสีท่เี ราเห็นวามีสีแดงอยูหลายคา
ท้ังออน กลาง แก ไปถายเอกสารขาว - ดํา เม่ือนํามาดูจะพบวา สีแดงจะมีนํ้าหนักออน แก ต้ังแตขาว เทา ดํา
น่ันเปนเพราะวาสแี ดงมนี า้ํ หนกั ของสีแตกตางกันนน่ั เอง
สตี า งๆ ท่ีเราสัมผสั ดวยสายตา จะทาํ ใหเกิดความรูส กึ ข้ึนภายในตอ เรา ทันทีที่เรามองเห็นสี ไมวาจะเปน
การแตง กาย บา นที่อยอู าศัย เครอ่ื งใชตางๆ แลวเราจะทาํ อยา งไร จงึ จะใชสีไดอยางเหมาะสม และสอดคลองกับ
หลักจิตวิทยา เราจะตองเขาใจวา สใี ดใหค วามรูสกึ ตอมนษุ ยอยางไร ซึง่ ความรูส กึ เก่ยี วกับสี สามารถจําแนกออก
ไดดงั นี้
สีแดง ใหค วามรูสึกรอน รุนแรง กระตุน ทาทาย เคลื่อนไหว ตื่นเตน เราใจ มีพลัง ความอุดมสมบูรณ
ความม่งั คั่ง ความรัก ความสําคญั
สีสม ใหความรูสึก รอน ความอบอุน ความสดใส มีชีวิตชีวา วัยรุน ความคึกคะนอง การปลดปลอย
ความเปรี้ยว การระวัง
สีเหลือง ใหค วามรสู กึ แจมใส ความรา เรงิ ความเบกิ บานสดชนื่ ชวี ติ ใหม ความสด ใหม
สเี ขยี วแก จะทําใหเ กิดความรูสึกเศรา ใจ ความแกชรา
7
สีน้าํ เงิน ใหความรูส กึ สงบ สขุ มุ สุภาพ หนกั แนน เครง ขรึม เอาการเอางาน ละเอยี ด รอบคอบ
สีฟา ใหความรูส กึ ปลอดโปรง โลง กวาง เบา โปรง ใส สะอาด ปลอดภยั ความสวาง ลมหายใจ ความเปน
อิสรเสรภี าพ การชว ยเหลือ แบง ปน
สคี ราม จะทําใหเกดิ ความรูส ึกสงบ
สีมวง ใหความรูสึก มีเสนห นาติดตาม เรนลับ ซอนเรน มีอํานาจ มีพลังแฝงอยู ความรัก ความเศรา
ความผิดหวงั ความสงบ ความสูงศักดิ์
สีน้าํ ตาล ใหค วามรูสึกเกา หนกั สงบเงยี บ
สีขาว ใหความรสู กึ บรสิ ุทธ์ิ สะอาด ใหม สดใส
สีดํา ใหความรูสกึ หนัก หดหู เศรา ใจ ทบึ ตนั
สีชมพู ใหความรูสึก อบอุน ออนโยน นุมนวล ออนหวาน ความรัก เอาใจใส วัยรุน หนุมสาว
ความนารักความสดใส
สีเขยี ว จะทาํ ใหเ กดิ ความรสู กึ กระชุมกระชวย ความเปนหนมุ สาว
สเี ทา ใหความรูสึก เศรา อาลัย ทอแท ความลึกลับ ความหดหู ความชรา ความสงบ ความเงียบ สุภาพ
สุขมุ ถอมตน
สที อง ใหค วามรูสึกหรูหรา โออ า มีราคา สูงคา สิง่ สําคัญ ความเจริญรุงเรือง ความสุข ความรํ่ารวย การ
แผกระจาย
จากความรูสึกดงั กลาว เราสามารถนําไปประยุกตใ ชใ นชวี ิตประจําวนั ไดใ นทุกเร่อื ง
1. การใชสกี ลมกลนื กนั
การใชส ีใหกลมกลืนกัน เปนการใชสีหรอื นาํ้ หนักของสใี หใ กลเคียงกัน หรอื คลายคลึงกัน เชน การใชสี
แบบเอกรงค เปนการใชส ีสีเดียวทมี่ ีนา้ํ หนกั ออ นแกหลายลําดับ
2. การใชสีตัดกัน สีตัดกันคือสีที่อยูตรงขามในวงจรสี การใชสีใหตัดกันมีความจําเปนมาก ในงาน
ออกแบบ เพราะชว ยใหเ กิดความนา สนใจ ในทนั ทที ี่พบเห็น สีตัดกนั อยางแทจรงิ มอี ยดู วยกัน 6 คสู ี คอื
1. สเี หลอื ง ตรงขา มกับ สมี วง
2. สสี ม ตรงขา มกบั สนี ํา้ เงนิ
3. สแี ดง ตรงขามกับ สีเขียว
4. สเี หลอื งสม ตรงขา มกบั สีมว งนา้ํ เงนิ
5. สสี ม แดง ตรงขามกบั สนี า้ํ เงินเขียว
6. สีมวงแดง ตรงขามกบั สีเหลืองเขยี ว
การใชสีตัดกัน ควรคํานึงถึงความเปนเอกภาพดวย วิธีการใชมีหลายวิธี เชน ใชสีใหมีปริมาณตางกัน
เชน ใชสีแดง 20 % สีเขียว 80%
8
ในงานออกแบบ หรือการจดั ภาพ หากเรารจู ักใชสใี หมีสภาพโดยรวมเปนวรรณะรอน หรือวรรณะเย็น
เราจะสามารถควบคมุ และสรา งสรรคภ าพใหเกิดความประสานกลมกลืน งดงามไดง า ยขน้ึ เพราะสีมีอิทธิพลตอ
มวล ปริมาตร และชองวาง สีมีคุณสมบัติที่ทําใหเกิดความกลมกลืน หรือขัดแยงได สีสามารถขับเนนใหเกิด
จุดเดน และการรวมกนั ใหเ กิดเปนหนว ยเดียวกนั ได
สรา งความรสู ึก สใี หค วามรสู กึ ตอ ผพู บเหน็ แตกตา งกันไป ทงั้ น้ีขนึ้ อยกู ับประสบการณ และภูมิหลังของ
แตละคน สีบางสีสามารถรักษาบําบัดโรคจิตบางชนิดได การใชสีภายใน หรือ ภายนอกอาคาร จะมีผลตอการ
สัมผสั และสรางบรรยากาศได
แสงและเงา
แสงและเงา หมายถึง แสงทสี่ อ งมากระทบพน้ื ผวิ ทม่ี ีสีออนแกแ ละพนื้ ผิวสูงต่ํา โคงนูนเรียบหรือขรุขระ
ทาํ ใหปรากฏแสงและเงาแตกตางกัน
ตวั กาํ หนดระดบั ของคานาํ้ หนกั ความเขมของเงาจะขน้ึ อยูก บั ความเขม ของแสง ในที่ที่มีแสงสวางมาก
เงาจะเขมขึ้น และในท่ีที่มีแสงสวางนอย เงาจะไมชัดเจน ในท่ีท่ีไมมีแสงสวางจะไมมีเงา และเงาจะอยูใน
ทางตรงขามกบั แสงเสมอ คานาํ้ หนักของแสงและเงาทเี่ กิดบนวัตถุ สามารถจําแนกเปนลกั ษณะที่ ตาง ๆ ไดดงั น้ี
1. บริเวณแสงสวางจัด เปนบริเวณที่อยูใกลแหลงกําเนิดแสงมากที่สุด จะมีความสวางมากท่ีสุด
ในวตั ถทุ ี่มผี วิ มนั วาว จะสะทอนแหลง กําเนิดแสงออกมาใหเห็นไดช ดั
2. บริเวณแสงสวา ง เปน บรเิ วณทีไ่ ดร ับแสงสวาง รองลงมาจากบริเวณแสงสวางจัด เน่ืองจากอยูหาง
จากแหลงกําเนิดแสงออกมา และเริม่ มคี าน้ําหนกั ออน ๆ
3. บริเวณเงา เปนบริเวณที่ไมไดรับแสงสวาง หรือเปนบริเวณท่ีถูกบดบังจากแสงสวาง ซึ่งจะมีคา
นา้ํ หนกั เขมมากขึ้นกวา บรเิ วณแสงสวาง
4. บริเวณเงาเขม จดั เปน บริเวณที่อยูหางจากแหลงกําเนิดแสงมากท่ีสุด หรือ เปนบริเวณท่ีถูกบดบัง
มาก ๆ หลาย ๆ ช้ัน จะมคี า นํา้ หนกั ทเ่ี ขม มากไปจนถงึ เขมทสี่ ดุ
5. บริเวณเงาตกทอด เปน บริเวณของพ้ืนหลังท่ีเงาของวัตถุทาบลงไป เปน บรเิ วณเงาท่ีอยูภายนอกวัตถุ
และจะมีความเขม ของคา น้ําหนักข้ึนอยูก บั ความเขมของเงา นํา้ หนกั ของพ้นื หลงั
6. ทศิ ทางและระยะของเงา
ความสําคัญของคา นา้ํ หนัก
1. ใหความแตกตา งระหวา งรูปและพืน้ หรือรปู ทรงกับทีว่ า ง
2. ใหความรูสึกเคล่อื นไหว
3. ใหค วามรูสึกเปน 2 มติ ิ แกรปู รา ง และความเปน 3 มติ ิแกร ูปทรง
4. ทําใหเกดิ ระยะความต้ืน - ลกึ และระยะใกล - ไกลของภาพ
5. ทําใหเ กิดความกลมกลืนประสานกนั ของภาพ
9
เร่ืองท่ี 2 ความหมายและความเปน มาของทัศนศลิ ปไทย
ศิลปะประเภททัศนศิลปท ีส่ ําคญั ของไทย ไดแ ก จติ รกรรม ประตมิ ากรรม และสถาปต ยกรรม ซึ่ง
เปน ศลิ ปกรรมท่พี บเห็นทั่วไป โดยเฉพาะศิลปกรรมท่ีเกย่ี วกับพทุ ธศาสนาหรอื พทุ ธศลิ ปท ีม่ ีประวัตคิ วาม
เปน มานบั พันป จนมรี ปู แบบที่เปน เอกลักษณไทย และเปนศลิ ปะไทย ที่สะทอ นใหเห็นวิถชี ีวติ
ขนบธรรมเนียมประเพณี ความเชื่อ และรสนิยมเกย่ี วกบั ความงามของคนไทย ศลิ ปะเหลาน้ี แตล ะสาขามี
เน้อื หาสาระที่ควรคาแกการศึกษาแตกตางกนั ไป
ไทยเปนชาติที่มีศิลปะและวัฒนธรรม ตลอดจนขนบธรรมเนียมประเพณีของตนเองมาชานาน
แลว เริ่มต้งั แตกอนประวตั ิศาสตร ศิลปะไทยจะวิวัฒนาการและสืบเนอ่ื งเปนตัวของตัวเอง ในทสี่ ดุ เทาท่ี
ทราบราว พ.ศ. 300 จนถึง พ.ศ. 1800 พระพุทธศาสนานําเขามาโดยชาวอินเดีย คร้ังนั้นแสดงใหเห็น
อิทธิพลตอ รปู แบบของศลิ ปะไทยในทุก ๆ ดานรวมทง้ั ภาษา วรรณกรรม ศลิ ปกรรม โดยกระจายเปนกลุม
ศิลปะสมัยตาง ๆ เร่ิมต้ังแตสมัยทวาราวดี ศรีวิชัย ลพบุรี เมื่อกลุมคนไทยต้ังตัวเปนปกแผนแลว ศิลปะ
ดังกลาวจะตกทอดกลายเปนศิลปะไทย ชา งไทยพยายามสรา งสรรคใหม ลี กั ษณะพิเศษกวา งานศิลปะของ
ชาติอ่ืน ๆ คือ จะมีลายไทยเปนเครื่องตกแตง ซ่ึงทําใหลักษณะของศิลปะไทยมีรูปแบบเฉพาะมีความ
ออนหวาน ละมนุ ละไม และไดส อดแทรกวฒั นธรรม ขนบธรรมเนยี มประเพณีและความรูสึกของคนไทย
ไวในงานอยางลงตัว ดังจะเห็นไดจากภาพฝาผนังตามวัดวาอารามตาง ๆ ปราสาทราชวัง ตลอดจน
เคร่อื งประดับและเคร่อื งใชท่ัวไป
ลกั ษณะของศลิ ปะไทย
ศลิ ปะไทยไดร บั อทิ ธพิ ลจากธรรมชาติ และสงิ่ แวดลอมในสงั คมไทย ซึ่งมีลักษณะเดน คือ ความ
1B
งามอยางนิ่มนวลมีความละเอียดประณีต ซึ่งแสดงใหเห็นถึงลักษณะนิสัยและจิตใจของคนไทยท่ีได
สอดแทรกไวใ นผลงานทสี่ รา งสรรคข้ึน โดยเฉพาะศิลปกรรมที่เกี่ยวกับพระพุทธศาสนา ซ่ึงเปนศาสนา
ประจําชาตขิ องไทย อาจกลาวไดวาศิลปะไทยสรา งขึน้ เพอ่ื สงเสริมพทุ ธศาสนา เปน การเชื่อมโยงและโนม
นา วจิตใจของประชาชนใหเ กดิ ความเล่ือมใสศรัทธาในพุทธศาสนา
ศิลปะไทยมาจากธรรมชาติ 10
หางหงส ติดตั้งอยปู ลายจนั ทนั มลี กั ษณะคลายหางหงส
รวงผงึ้ ใชป ระดบั อยใู ตข ่อื ดานหนาของโบสถ วหิ าร
มีลักษณะเปน รูปคลา ยรงั ผ้งึ
สาหราย สวนที่ติดอยกู ับเสาตอจากรวงผงึ้ ลงมา
บวั หวั เสา กลบี บวั ประดับบนหัวเสา
มรี ูปแบบมาจากดอกบวั
จติ รกรรมไทย
จิตรกรรมไทย เปนการสรา งสรรคภาพเขยี นทมี่ ีลักษณะโดยทั่วไปมักจะเปน 2 มิติ ไมมีแสงและ
เงา สีพ้นื จะเปนสีเรียบ ๆ ไมฉูดฉาด สีที่ใชสว นใหญจะเปนสีดํา สีนํ้าตาล สีเขียว เสนท่ีใชมักจะเปนเสน
โคง ชว ยใหภาพดูออ นชอ ย นุมนวล ไมแ ข็งกระดา ง จติ รกรรมไทยมักพบในวัดตาง ๆ เรียกวา “จิตรกรรม
ฝาผนงั ”
ภาพจติ รกรรมฝาผนงั วดั สวุ รรณาราม
11
จิตรกรรมไทย จัดเปนภาพเลาเรื่องที่เขียนขึ้นดวยความคิดจินตนาการของคนไทย
มลี กั ษณะตามอุดมคติของชา งไทย คือ
1. เขียนสีแบน ไมคํานึงถึงแสงและเงา นิยมตัดเสนใหเห็นชัดเจน และเสนที่ใช จะแสดง
ความรสู กึ เคลอื่ นไหวนุม นวล
2. เขียนตัวพระ - นาง เปนแบบละคร มีลีลา ทาทางเหมือนกัน แตกตางกัน ดวยสีรางกายและ
เครือ่ งประดับ
12
3. เขียนแบบตานกมอง หรอื เปนภาพต่ํากวา สายตา โดยมุมมองจากท่ีสูง ลงสูลาง จะเห็นเปนรูป
เรื่องราวไดตลอดภาพ
13
4. เขยี นติดตอ กันเปนตอน ๆ สามารถดูจากซา ยไปขวาหรือลา งและบนไดทัว่ ภาพ โดยขน้ั ตอนแต
ละตอนของภาพดว ยโขดหิน ตน ไม กาํ แพงเมือง เปน ตน
5. เขยี นประดบั ตกแตง ดวยลวดลายไทย มีสีทอง สรางภาพใหเดน เกิดบรรยากาศ สุขสวางและมี
คุณคามากข้ึน
การเขยี นลายไทยพ้ืนฐาน
ขั้นท่ี 1 ตองฝกเขียนลายเสนกอน เชน การเขียนเสนตรงโดยไมตองใชไมบรรทัดชวย
การเขียนเสนโคง ใหไ ดเ ปนวงกลมโดยไมต อ งใชวงเวยี น เปน ตน
14
ขั้นที่ 2 หลังจากท่ีฝกเขยี นเสนจนคลองและชํานาญแลว จงึ เร่มิ หัดเขียนลายไทย เชน กนกสามตัว
หรือจะเขยี นภาพตวั ละครในวรรณคดี เชน ตัวพระ ตวั นาง ตัวยกั ษ เปน ตน
ภาพหัดเขยี นลายไทย
เมอ่ื ไดฝ กฝนทกั ษะการเขยี นกนกสามตวั ทีเ่ ปนตนแบบของกนกชนิดอน่ื ๆ คือ กนกเปลว กนก
ใบเทศ และกนกหางโต จนคลอ งมือดแี ลวกค็ งจะเขาใจในโครงสรา งของตวั กนก สว นสําคญั ในการ
เขยี นอยทู ่ีการแบง ตวั ลายและเขยี นยอดลาย ถาแบง ตัวลายและเขียนยอดลายไดจ ังหวะสัดสวนดี สะบัด
ยอดพริว้ ดี ลายกนกน้ันก็ดูงาม
ประติมากรรมไทย
ประติมากรรมเปนผลงานศิลปกรรมท่ีเปนรูปทรง 3 มิติ ประกอบจากความสูง ความกวางและ
ความนูน หรือความลึก รูปทรงน้ีมีปริมาตรท่ีจับตองไดและกินระวางเนื้อท่ีในอากาศ ตางจากรูปทรง
15
ปริมาตรทางจติ รกรรมที่แสดงบนพ้ืนเรียบเปนปริมาตรท่ีลวงตา ประติมากรรมเกิดข้ึนจากกรรมวิธีการ
สรางสรรคแบบตาง ๆ เชน การปนและหลอ การแกะสลัก การฉลุหรือดุน ประติมากรรมทั่วไปมี 3 แบบ
คอื ประติมากรรมแบบลอยตวั สามารถดไู ดโดยรอบ ประติมากรรมนูน มีพื้นรองรับสามารถดูไดเฉพาะ
ดา นหนา และดานเฉียงเทา นน้ั และประตมิ ากรรมแบบเจาะลกึ ลงไปในพื้น
ประตมิ ากรรมไทยเปนผลงานการสรา งสรรคข องบรรพบุรษุ โดยประตมิ ากรของไทยท่ี
สรางสรรคขึน้ เพือ่ รับใชส งั คม ตอบสนองความเช่อื สรางความภูมใิ จ ความพงึ พอใจ และคานิยมแหงชาติ
ภูมิของไทย ประตมิ ากรรมไทยสวนใหญเนนเนอ้ื หาทางศาสนา มักปรากฏอยูตามวัดและวัง มีขนาดตั้งแต
เลก็ ท่สี ุด เชน พระเครือ่ ง เครอ่ื งรางของขลัง จนถึงขนาดใหญที่สุด เชน พระอัจนะ หรือพระอัฏฐารส ซึง่
เปนพระพุทธรูปขนาดใหญก ลางแปลง มีทัง้ ประตมิ ากรรมตกแตง ซ่งึ ตกแตงศิลปวัตถุ ศลิ ปสถาน เพ่อื
เสริมคุณคาแกศ ลิ ปวัตถหุ รือสถานท่ีนัน้ จนถึงประตมิ ากรรมบริสุทธซ์ิ ึง่ เปน ประตมิ ากรรมท่มี คี ุณคา และ
คณุ สมบัตเิ ฉพาะ สมบูรณดว ยตัวของประติมากรรมเอง เม่ือพจิ ารณาภาพรวมของประตมิ ากรรมไทยอาจ
แบง ประตมิ ากรรมออกเปน 3 ประเภทคอื ประตมิ ากรรมรปู เคารพ ประตมิ ากรรมตกแตง และ
ประตมิ ากรรมเพื่อประโยชนใ ชสอย ซง่ึ จะขอกลาวตามลําดบั
ยุคสมยั ของประตมิ ากรรมไทย
ทง้ั ประตมิ ากรรมรูปเคารพ ประติมากรรมตกแตง และประติมากรรมเพื่อประโยชนใ ชส อยผูกพัน
กับความเปล่ียนแปลงของสังคมไทยตลอดมา นอกจากจะแสดงคุณคาทางทัศนศิลป แลวยังสะทอน
วฒั นธรรมอนั ดงี ามของชาตใิ นแตล ะยคุ แตละสมัยออกมาดว ย ยุคสมยั ของไทยนั้น อาจแบงชวงศิลปะใน
เชิงประวัตศิ าสตรต ามหลกั ฐานทางโบราณวตั ถุสถานไดเปน 2 ชว งคอื
1. ชว งศลิ ปะกอนไทย หมายถึงชวงกอนที่คนไทยจะรวมตัวกนั เปนปกแผน ยังไมมีราชธานี ของ
ตนเองทแี่ นนอน แบง ออกเปน 3 สมัยคือ
- สมยั ทวารวดี
- สมยั ศรีวชิ ยั
- สมัยลพบุรี
2. ชว งศิลปะไทย หมายถึงชวงที่คนไทยรวมตวั กนั เปนปกแผนมรี าชธานีท่ีแนนอนแลวแบงออก
เปน 5 สมัยคือ สมัยเชียงแสน สมัยสุโขทัย สมัยอูทอง สมัยอยุธยา และสมัยรัตนโกสินทร
งานประติมากรรมสมัยตาง ๆ ของไทยเหลาน้ีผานการหลอหลอมและผสมผสานของวัฒนธรรม โดย
ดัง้ เดมิ มรี ากเหงามาจากวฒั นธรรมอินเดีย ตอ มาผสมผสานกับวัฒนธรรมจีนและชาตทิ างตะวันตก แตเ ปน
การผสมผสานดวยความชาญฉลาดของชางไทย ประติมากรรมของไทยจึงยังคงรักษารูปแบบท่ีเปน
เอกลกั ษณของไทยไวไ ดอยาง เดนชัด สามารถถายทอดลักษณะความงดงาม ความประณีตวิจิตรบรรจง
16
และลักษณะของความเปน ชาตไิ ทยที่รุงเรอื งมาแตโบราณใหโลกประจกั ษไ ด พอจะกลา วถึงประติมากรรม
ในชวงศิลปะไทยได ดังนี้
- ประติมากรรมไทยสมยั เชียงแสน
- ประตมิ ากรรมไทยสมยั สุโขทยั
- ประติมากรรมไทยสมยั อูทองและสมัยอยุธยา
- ประตมิ ากรรมไทยสมัยรัตนโกสนิ ทร
ผลงานประติมากรรมไทย คุณคา ของงานสวนใหญผูกพันและเกี่ยวของกับศาสนา สรางสรรคขึ้น
จากความเช่ือ คตินิยม ความศรัทธา มีความสัมพันธกันอยางแยกไมออก ยอมมีคุณคา มีความงดงาม
ตลอดจนเปนประโยชนใ ชส อยเฉพาะของตนเอง ซ่งึ ในปจจุบันไดจัดใหมีการเรียนรูเก่ียวกับการอนุรักษ
นยิ มและฟน ฟศู ลิ ปะประเภทน้ี เพ่ือมุงเนนใหค นรนุ หลงั มคี วามเขา ใจ เกิดความช่นื ชมหวงแหนเหน็ คุณคา
ในความเปน ศลิ ปวฒั นธรรมไทยรว มกัน พรอ มท้ังสบื ทอด
ภาพพระพทุ ธรูปทรงเคร่อื งศลิ ปะอยธุ ยา
17
ประติมากรรมไทยเปนผลงานศิลปะทีถ่ กู สรา งสรรคข น้ึ มาดวยความคดิ ฝมือ ความศรทั ธาจากภูมิ
ปญญาท่เี กดิ จากการแกป ญหาของคนในทอ งถิ่น โดยใชเครื่องมือและวสั ดุจากพื้นบานทหี่ า ไดงา ย ๆ เชน
ดนิ เหนยี ว แกลบ ปนู กระดาษสา
ผลงานประตมิ ากรรมไทย แบงออกไดเปน 4 ประเภท สรุปได ดงั นี้
1. ประติมากรรมไทยที่เกิดขึ้นจากความเชื่อ ความศรัทธา คตินิยมเก่ียวของกับศาสนา เชน
พระพุทธรปู ปางตาง ๆ ลวดลายของฐานเจดยี หรือพระปรางคตา ง
2. ประติมากรรมไทยพวกเครอ่ื งใชในชีวิตประจาํ วนั เชน โอง หมอ ไห ครก กระถาง
3. ประติมากรรมไทยพวกของเลน ไดแก ตุกตาดินปน ตุกตาจากกระดาษ ตุกตาจากผา หุน
กระบอก ปลาตะเพียนสานใบลาน หนากาก วัสดจุ ากเปลอื กหอย ชฎาหัวโขน
ปลาตะเพียนสานใบลาน
18
หุนกระบอก
4. ประตมิ ากรรมไทยพวกเคร่อื งประดบั ตกแตง เชน กระถางตน ไม โคมไฟดนิ เผา
19
สถาปต ยกรรมไทย
สถาปต ยกรรมไทย หมายถงึ ศิลปะการกอสรา งของไทย ไดแก อาคาร บานเรือน โบสถ วหิ าร วัง
สถูป และสง่ิ กอสรา งอน่ื ๆ ที่มมี ูลเหตุทม่ี าของการกอ สรางอาคารบา นเรอื นในแตล ะ ทอ งถิน่ จะมีลกั ษณะ
แตกตา งกันไปบา งตามสภาพทาง ภมู ิศาสตร และคตนิ ยิ มของแตละทองถิน่ แตส ่ิงกอสรางทางศาสนาพทุ ธ
มักจะมลี ักษณะท่ีไมแ ตกตางกนั มากนัก เพราะมคี วามเชื่อ ความศรัทธาและแบบแผนพิธกี รรมทเ่ี หมือน ๆ
กัน สถาปตยกรรมทมี่ ักนิยมนํามาเปนขอ ศกึ ษา สวนใหญจ ะเปน สถูป เจดยี โบสถ วิหาร หรอื
พระราชวัง เนื่องจากเปน สิ่งกอสรางท่ีคงทน มกี ารพฒั นารปู แบบมาอยางตอ เนือ่ งยาวนาน และไดร ับการ
สรรคส รา งจากชางฝม ือทเ่ี ช่ยี วชาญ พรอ มทั้งมีความเปนมาทส่ี ําคัญควรแกก ารศึกษา อกี ประการหน่ึงกค็ ือ
สิ่งกอสรา งเหลา น้ี ลวนมีความทนทาน มีอายุยาวนานปรากฏเปนอนุสรณใหเราไดศึกษาเปนอยา งดี
สถาปตยกรรมไทย สามารถจดั หมวดหมู ตามลักษณะการใชง านได 2 ประเภท คือ
1. สถาปต ยกรรมทีใ่ ชเ ปน ทีอ่ ยอู าศัย ไดแก บา นเรือน ตาํ หนัก วังและพระราชวงั เปนตน
บา นหรือเรือนเปน ท่อี ยอู าศยั ของสามญั ชน ธรรมดาทั่วไป ซง่ึ มีท้ังเรือนไม และเรอื นปูนเรือนไมม ี
อยู 2 ชนิด คอื เรือนเครอ่ื งผูก เปนเรือนไมไผ ปูดวยฟากไมไผ หลงั คามงุ ดวย ใบจาก หญาคา หรือใบไม
อกี อยางหน่ึงเรียกวา เรือนเคร่อื งสับ เปนไมจริงท้ังเนื้อออน และเน้ือแข็ง ตามแตละทองถ่ิน หลังคามุง ดวย
กระเบ้ืองดนิ เผา พนื้ และฝาเปนไมจริงทั้งหมด ลกั ษณะเรอื นไมข องไทยในแตละทองถิ่นแตกตางกัน และ
โดยทัว่ ไปแลวจะมีลักษณะสาํ คัญรว มกนั คือเปน เรอื นไมช ้ันเดยี วใตถ ุนสงู หลังคาทรงจัว่ เอยี งลาดชัน
20
ตําหนัก และวัง เปนเรือนท่ีอยูของชนช้ันสูง พระราชวงศ หรือท่ีประทับช้ันรอง ของ
พระมหากษัตริย สําหรับพระราชวัง เปนท่ีประทับของพระมหากษัตริย พระท่ีนั่ง เปนอาคารที่มีทอง พระ
โรงซึ่งมที ปี่ ระทับสาํ หรบั ออกวา ราชการ หรอื กิจการอ่ืน ๆ
ภาพสถาปต ยกรรมวดั เบญจมบพติ ร
2. สถาปต ยกรรมท่ีเก่ยี วของศาสนา ซ่งึ สวนใหญอ ยใู นบริเวณสงฆ ที่เรียกวา วัด ซึ่งประกอบไป
ดวยสถาปตยกรรมหลายอยาง ไดแก โบสถ เปนที่กระทําสังฆกรรมของพระภิกษุ
วิหารใชประดิษฐาน พระพุทธรูปสําคัญ และกระทําสังฆกรรมดวยเหมือนกัน กุฏิ เปนท่ีอยูของ
พระภิกษุ สามเณร หอไตร เปนที่เก็บรักษาพระไตรปฎกและคัมภีรสําคัญทางศาสนา หอระฆังและ
หอกลอง เปนท่ีใชเก็บระฆังหรือกลองเพื่อตีบอกโมงยาม หรือเรียกชุมนุมชาวบาน สถูปเปนท่ี
ฝง ศพ เจดยี เ ปน ท่รี ะลึกอนั เกยี่ วเน่ืองกับศาสนา ซง่ึ แบงได 4 ประเภท คือ
1. ธาตุ เจดีย หมายถึง พระบรมธาตุ และเจดยี ทีบ่ รรจุพระบรมสารรี กิ ธาตุของพระพทุ ธเจา
2. ธรรมเจดีย หมายถงึ พระธรรม พระวนิ ัย คาํ สัง่ สอนทุกอยางของพระพุทธเจา
21
3. บริโภคเจดีย หมายถึง ส่ิงของเคร่ืองใชของพระพุทธเจา หรือของพระภิกษุสงฆไดแก
เครือ่ งอฐั บรขิ ารทั้งหลาย
4. อุเทสิกเจดีย หมายถึง ส่ิงท่ีสรางข้ึนเพ่ือเปนที่ระลึกถึงองคพระพุทธเจา เชน สถูปเจดีย
ณ สถานท่ีทรงประสูติ ตรัสรู แสดงปฐมเทศนา ปรินิพพาน และรวมถึงสัญลักษณอยางอื่น เชน
พระพทุ ธรูปธรรมจกั ร ตนโพธิ์ เปนตน
สถาปตยกรรมไทยแท ณ ทีน่ ้จี ะเรียนรูเฉพาะเร่ืองราวท่ีเกี่ยวกับวัด โดยเนนไปท่ีเร่ืองของโบสถ
และสถูปเจดยี ทมี่ ลี ักษณะโดดเดนทงั้ โครงสรา งและการตกแตงอนั เปน เอกลกั ษณข องไทยโดยเฉพาะ
22
โบสถ หมายถึงสถานทส่ี าํ หรบั พระสงฆใชป ระชุมทําสงั ฆกรรม เชน สวดพระปาฏิโมกข และ
อุปสมบทเปน ตน
ความงามทางศิลปะของโบสถม ี 2 ประเภท
1. ความสวยงามภายในโบสถ ทุกสงิ่ ทกุ อยางจะเนน ไปท่ีสงบน่ิง เพ่ือใหผูเขามากราบไหวมี
สมาธิ ความงามภายในจึงตองงามอยางเย็นตาและเย็นใจ ภายในโบสถท่ัว ๆ ไปจะไมอนุญาตให
พทุ ธศาสนกิ ชนนาํ สิง่ ของเขามาบูชาเคารพภายใน เคร่ืองสักการบูชา เชนดอกไมธูปเทียนจะบูชาเฉพาะ
ดา นนอกเทา นน้ั ความงามทแี่ ทจรงิ ภายในโบสถจงึ เนนท่ีองคพระพุทธรูปที่ประดิษฐานเปนพระประธาน
โดยเฉพาะ
23
2. ความสวยงามภายนอกเปนความงามทัง้ โครงสรางและลวดลายประดับตกแตง ความงาม
ภายนอกเนนสะดุดตา โดดเดน สีสันแวววาวทง้ั สที องและกระจกสี แตยังคงความเปนเอกลักษณของการ
เคารพนับถือ
ในการสงั เกตวาสถานท่ใี ดเรียกวา โบสถ จะมวี ธิ สี ังเกตคือ โบสถจะมีใบเสมา หรือซุม เสมาลอมรอบโบสถ
( บางทีเรียกใบเสมา )
ใบเสมา
24
วิหาร การสังเกตสถานที่ใดเรียกวา วหิ าร เมอ่ื เขาไปอยูในบรเิ วณวัด สถานท่ีสรา งเปนวิหารจะไม
มใี บเสมาลอมรอบ
วิหาร หมายถึงที่อยูอาศัย ( มีเศรษฐีถวายท่ีดิน เพ่ือสรางอาคารเปนพุทธบูชาแดพระพุทธเจา
สาํ หรับเปนท่ีอยแู ละสอนธรรมะ ในปจ จุบันวิหารจึงใชเปนท่ีประดิษฐานพระพุทธรูป เพ่ือใหประชาชน
กราบไหว เปรียบเสมือนเปนที่อยูของพระพุทธเจา ) การวางแปลนของโบสถ วิหาร การกําหนด
ความสาํ คญั ของอาคารท้ังสอง โบสถ จะมีความสําคัญกวาวิหาร โบสถจะมโี ครงสรางใหญกวา สวนใหญ
จะวางแปลนใหอยตู รงกลาง โดยมวี ิหารสรางประกบอยูดา นขาง
25
โครงสรางของโบสถ – วหิ าร
- ชอ ฟา
- หนา บนั
- ใบระกาและ หางหงส
26
สถูป - เจดีย คอื ส่งิ กอสรางสาํ หรบั บรรจุพระบรมสารรี ิกธาตุของพระพทุ ธเจา เมอื่ สมัยพทุ ธกาล
ทผ่ี า นมา คาํ วา สถปู เปนภาษาบาลีหมายถึงมูลดินทีก่ องสูงข้ึนสันนิษฐานวามูลดินนั้นเกิดจากกองเถาถาน
ของกระดกู คนตายทถี่ ูกเผาทบั ถมกันสงู ขึ้นมาจากกองดิน เถาถานธรรมดาไดถูกพัฒนาตามยุคสมัยมีการ
กอ อิฐปด ทับมูลดิน เพ่ือปองกันไมใหถูกฝนชะลาง ในท่ีสุดการกออิฐปดทับก็สูงข้ึนและกลายเปนเจดีย
อยา งทีเ่ ราเหน็ ในปจ จบุ นั
สถปู
สถูป - เจดีย ในประเทศไทยไดรับอิทธิพลมาจากอินเดียและลังกา ตอมาชางไทยแตละยุคสมัยพัฒนา
ปรับปรุงและกลายเปน รูปทรงของไทยตามอดุ มคตใิ นการสรางสรรคจ ินตนาการของชา งไทย
เจดีย
27
เจดยี ย อมุม
เจดียท รงระฆัง
ลูกแกว
ปลี หรอื ปลยี อด
ปอ งไฉน
เสาหาน
องคร ะฆงั
บวั ปากระฆัง
บรรลังก
มาลยั เถา
28
เจดียที่มีรูปรางมาจากทรงลังกา สมัยอยุธยา
ท้ังหมดนี้คือลักษณะของสถาปตยกรรมเกี่ยวกับสิ่งกอสรางของไทยโดยสังเขป ยังมี
สถาปตยกรรมสิ่งกอสรางอีกมากมายท่ีผูเรียนจะตองเรียนรู คนควาดวยตนเอง เพ่ือนํามาเผยแพรใหกับ
สงั คมไดร ับรขู องดี ๆ ทเ่ี ปนเอกลักษณของไทยในอดตี
29
ภาพพิมพ
การพิมพภาพ หมายถึง การถายทอดรูปแบบจากแมพิมพออกมาเปนผลงานที่มีลักษณะ
เหมือนกันกับแมพิมพทุกประการ และไดภาพที่เหมือนกันมีจํานวนตั้งแต 2 ช้ินข้ึนไป
การพิมพภาพเปนงานที่พัฒนาตอเน่ืองมาจากการวาดภาพ ซึ่งการวาดภาพไมสามารถ สราง
ผลงาน 2 ชิ้น ทมี่ ีลกั ษณะเหมือนกนั ทกุ ประการได จึงมีการพัฒนาการพิมพข้ึนมา ชาตจิ ีนเปน ชาติแรก
ทนี่ าํ เอาวธิ ีการพิมพม าใชอยา งแพรหลายมานานนบั พันป จากนั้นจึงไดแพรหลายออกไปในภูมภิ าคตางๆ
ของโลก ชนชาติทางตะวันตกไดพฒั นาการพิมพภ าพ ขึน้ มาอยางมากมาย มีการนาํ เอาเครือ่ งจกั รกลตา งๆ
เขามาใชในการพมิ พ ทาํ ใหการพมิ พม กี าร พฒั นาไปอยางรวดเรว็ ในปจจุบนั
การพิมพภ าพมีองคประกอบที่สาํ คญั ดังน้ี
1. แมพิมพ เปนส่ิงทีส่ ําคญั ท่ีสุดในการพิมพ
2. วสั ดุท่ีใชพิมพลงไป
3. สีท่ใี ชใ นการพมิ พ
4. ผูพมิ พ
ผลงานท่ไี ดจากการพิมพ มี 2 ชนดิ คอื
1. ภาพพมิ พ เปน ผลงานพมิ พท ่เี ปน ภาพตา ง ๆ เพอ่ื ความสวยงามหรอื บอกเลา เร่ืองราวตาง ๆ อาจมี
ขอความ ตัวอกั ษรหรือตวั เลขประกอบหรอื ไมม กี ็ได
2. ส่ิงพมิ พ เปนผลงานพิมพท ี่ใชบอกเลาเรื่องราวตาง ๆ เปนตวั อกั ษร ขอความ ตวั เลข
อาจมภี าพประกอบหรือไมมกี ไ็ ด
30
ประเภทของการพิมพ การพมิ พแ บงออกไดห ลายประเภทตามลกั ษณะตาง ๆ ดังนี้
1. แบง ตามจุดมงุ หมายในการพมิ พ ได 2 ประเภท คอื
1.1 ศิลปภาพพิมพ เปนงานพิมพภาพเพ่ือใหเกิดความสวยงามเปนงานวิจิตรศิลป
1.2 ออกแบบภาพพมิ พ เปนงานพมิ พภาพประโยชนใ ชสอย
นอกเหนือไปจากความสวยงาม ไดแ ก หนังสอื ตา งๆ บัตรภาพตางๆ ภาพโฆษณา ปฏิทิน ฯลฯ จัดเปน
งาน ประยุกตศ ิลป
2. แบงตามกรรมวิธีในการพมิ พ ได 2 ประเภท คอื
2.1 ภาพพิมพตนแบบ เปนผลงานพิมพที่สรางจากแมพิมพและวิธีการพิมพท่ีถูก สรางสรรคและ
กําหนดขึ้นโดยศิลปนเจาของผลงาน และเจาของผลงาน จะตองลงนามรับรองผลงานช้ิน
บอกลาํ ดับทใี่ นการพิมพ เทคนคิ การพมิ พ
2.2 ภาพพมิ พจาํ ลองแบบ ( REPRODUCTIVE PRINT ) เปน ผลงานพมิ พทีส่ รางจากแมพ ิมพ หรือ
วิธีการพิมพวิธีอ่ืน ซึ่งไมใชวิธีการเดิมแตไดรูปแบบเหมือนเดิม บางกรณีอาจเปน
การละเมดิ ลิขสทิ ธผิ์ อู ่ืน
3. แบง ตามจาํ นวนครั้งท่พี ิมพ ได 2 ประเภท คือ
3.1 ภาพพิมพถาวร เปนภาพพิมพท่ีพิมพออกมาจากแมพิมพใด ๆ ที่ไดผลงานออกมามีลักษณะ
เหมอื นกนั ทกุ ประการ ตัง้ แต 2 ชิ้นขึ้นไป
3.2 ภาพพิมพครง้ั เดยี ว เปน ภาพพมิ พทพ่ี มิ พออกมาไดผลงานเพยี งภาพเดียว ถาพิมพอีกจะไดผลงาน
ทไ่ี มเ หมอื นเดิม
4. แบงตามประเภทของแมพ มิ พ ได 4 ประเภท คือ
4.1 แมพมิ พน นู เปนการพมิ พโดยใหส ตี ิดอยูบนผิวหนาที่ทําใหนูนขึ้นมาของแมพิมพ ภาพที่ไดเกิด
จากสีที่ติดอยูในสวนบนน้ัน แมพิมพนูนเปนแมพิมพท่ีทําข้ึนมาเปนประเภทแรก ภาพพิมพชนิดน้ี
ไดแ ก ภาพพมิ พแกะไม
4.2 แมพ ิมพรอ งลกึ เปน การพิมพโ ดยใหสีอยใู นรอ งทที่ าํ ใหลึกลงไปของแมพิมพโ ดยใชแผนโลหะทํา
เปน แมพมิ พ (แผน โลหะที่นิยมใชค ือแผน ทองแดง) และทําใหล ึกลงไปโดยใชนํา้ กรดกดั
แมพ มิ พรองลกึ น้ีพฒั นาขนึ้ โดย ชาวตะวนั ตก สามารถพิมพงาน ทม่ี คี วาม ละเอยี ด คมชัดสูง
สมัยกอนใชใ นการพมิ พ หนงั สือ พระคมั ภรี แผนท่ี เอกสารตาง ๆ แสตมป ธนบัตร ปจจุบันใชในการ
พิมพงานท่ีเปน ศิลปะ และธนบัตร
4.3 แมพมิ พพืน้ ราบ เปน การพมิ พโ ดยใหส ตี ดิ อยบู นผวิ หนา ทรี่ าบเรียบของแมพ มิ พ โดยไมต อ งขุด
หรือแกะพน้ื ผิวลงไป แตใ ชสารเคมเี ขาชว ย ภาพพมิ พ ชนดิ นีไ้ ดแก ภาพพิมพหนิ การพมิ พอ อฟ
เซท ภาพพมิ พก ระดาษ ภาพพมิ พคร้งั เดยี ว
31
4.4 แมพิมพฉลุ เปนการพิมพโดยใหสีผานทะลุชองของแมพิมพลงไปสูผลงานท่ีอยูดานหลัง เปน
การพมิ พชนิดเดียวท่ไี ดร ูปทม่ี ดี านเดียวกนั กับแมพ ิมพ ไมก ลบั ซาย เปน ขวา ภาพพิมพชนิดน้ีไดแก ภาพ
พมิ พฉ ลุ ภาพพิมพตะแกรงไหม
ในอดตี ผคู นมกั จะหาวิชาความรไู ดจ ากในวดั เพราะวัดจะเปน ศนู ยก ลางของนักปราชญห รือผรู ู ใช
เปนสถานท่ใี นการเผยแพรวชิ าความรตู า งๆ จติ รกรรมฝาผนงั ทเ่ี ขยี นตามศาลา โบสถ วหิ ารก็เปนอีกส่ิง
หนง่ึ ทีเ่ ราจะหาความรใู นเรอ่ื งตาง ๆ ไดโ ดยเฉพาะทีเ่ กย่ี วกบั พทุ ธประวตั ิ ชาดก วรรณคดีและนิทาน
พน้ื บาน ซึง่ นอกจากจะไดค วามรใู นเรื่องศาสนา ประวตั ิศาสตร วรรณคดแี ลว เรายงั ไดอรรถรสแหงความ
สนุกสนานเพลดิ เพลินกบั ความสวยงามของภาพพิมพต าง ๆ เหลา นีอ้ ีกดว ย
ภาพพมิ พของไทย เมอ่ื หลายรอ ยปท ่ผี านมา
ภาพพิมพ
32
เรื่องท่ี 3 ความงามและคณุ คาของทศั นศิลปไทย
“ชีวิตสลาย อาณาจักรพินาศ ผลประโยชนของบุคคลมลายหายส้ินไป แตศิลปะเทานั้นท่ียังคง
เหลือ เปน พยานแหงความเปนอจั ฉรยิ ะของมนุษยอยูตลอดกาล”
ขอความขางตนนี้เปนความเห็นอันเฉียบคมของ ทานศาสตราจารยศิลป พีระศรี ผูกอตั้ง
มหาวิทยาลัยศลิ ปากร แสดงใหเห็นวา งานศิลปะเปนสมบัติอันล้ําคาของมนุษยที่แสดงความเปนอัจฉริยะ
บงบอกถึงความเจริญทางดา นจิตใจ และสติปญ ญาอนั สงู กวา ซง่ึ มคี ุณคาตอ ชีวติ และสงั คมดงั น้ี
คณุ คา ในการยกระดบั จติ ใจ
คุณคาของศิลปะอยทู ่ีประโยชน ชวยขจัดความโฉด ความฉอฉลยกระดับวิญญาณความเปน
คนเหน็ แกต น บทกวีของเนาวรตั น พงษไพบูลย กวซี ไี รตข องไทย ไดใ หค วามสําคญั ของงานศลิ ปะในการ
ยกระดับวญิ ญาณความเปน คนกค็ ือ การยกระดบั จติ ใจของคนเราใหสงู ขนึ้ ดวยการไดช น่ื ชมความงาม และ
ความประณตี ละเอยี ดออ นของงานศิลปะ ตวั อยางเชน เมอื่ เราทาํ พรมอนั สวยงาม สะอาดมาปูเตม็ หอง ก็คง
ไมมใี ครกลานาํ รองเทา ท่เี ปอนโคลนมาเหยียบยํา่ ทําลายความงามของพรมไปจนหมดสิ้น ส่ิงท่ีมีคุณคามา
ชว ยยกระดับจติ ใจของคนเราใหมน่ั คงในความดงี ามกค็ ือ ความงามของศิลปะน่ันเองดงั นั้นเมื่อใดที่มนุษย
ไดช่ืนชมความงามของศิลปะเมื่อน้ันมนุษยก็จะมีจิตใจที่แชมช่ืน และละเอียดออนตามไปดวย เวนแต
บคุ คลผูน้นั จะมสี ตวิ ปิ ลาศ
นอกจากน้ีงานศิลปะบางชิ้นยังใหความงามและความรูสึกถึงความดีงาม และงาม
จริยธรรมอยางลึกซึง้ เปนการจรรโลงจติ ใจใหผดู ูเครง เครียดและเศราหมองของศิลปนผูสรางสรรคและผู
ชน่ื ชมไดเ ปนอยางดี ดังนั้นจึงมีการสงเสริมใหเด็กสรางงานศิลปะ เพ่ือผอนคลายความเครงเครียด และ
พัฒนาสุขภาพจิต ซ่งึ เปน จุดเริ่มตน ของพัฒนาการตา ง ๆ อยางสมบูรณ
ความรสู ึกทางความงามของมนุษยมีขอบเขตกวางขวางและแตกตางกันออกไปตามทัศนะ
ของแตละบุคคล เราอาจรวมลกั ษณะเดนของความงามได ดังนี้
1. ความงามเปน สิง่ ท่ปี รากฏขึน้ ในจติ มนษุ ย แมเพียงชว่ั ระยะเวลาหนงึ่ แตจ ะกอใหเกิดความป
ตยิ ินดี และฝง ใจจาํ ไปอกี นาน เชน การไดม โี อกาสไปเทย่ี วชมสถานทต่ี าง ๆ ทมี่ ีธรรมชาตแิ ละศลิ ปกรรมท่ี
สวยสดงดงาม เราจะจาํ และระลึกถงึ ดว ยความปติสุข บางคร้ังเราอยากจะใหผูอืน่ รับรูดวย
2. ความงามทาํ ใหเราเกิดความเพลิดเพลิน หลงใหลไปกับรูปราง รูปทรง สีสัน จนลืมบาง
ส่งิ บางอยางไป เชน ผลไมแกะสลกั ความงามของลวดลาย ความละเอยี ดออน อยากเกบ็ รกั ษาไวจนลมื ไป
วา ผลไมน ้นั มไี วสาํ หรับรบั ประทานมิใชมไี วด ู
3. สิ่งส่ิงหน่ึงเปนไดทั้งสิ่งท่ีสวยงาม และไมงาม ไปจนถึงนาเกลียด อัปลักษณ แตถาไดรับ
การยกยอ งวาเปน สิ่งมีคา มคี วามงามจะตรงกนั ขามกบั สง่ิ อัปลกั ษณท นั ที
33
4. ความงามไมมีมาตราสว นใดมาช่งั ตวง วดั ใหแ นนอนได ทําใหเราไมส ามารถกาํ หนดได
วาส่งิ นนั้ ส่งิ น้ีมคี วามงามเทา ใด
5. ความงามของสิ่งท่มี นษุ ยสรา งขนึ้ เปนผลมาจากความคดิ ทกั ษะฝม ือ หรือภมู ิปญ ญาของ
มนษุ ย แตเ มอ่ื สรา งเปนวตั ถุสง่ิ ของ ตา ง ๆ แลว กลบั เปนความงามของส่งิ นนั้ ไป เชน ความงามของผา
ความงามของรถยนต เปนตน
การรบั รคู าความงาม ความงามเปน เรื่องที่มคี วามสาํ คญั เพิ่มข้นึ ตามลําดับ มนุษยร ับรคู า ความ
งามใน 3 กลุม คอื
1. กลุมที่เห็นวามนุษยรับรูคาความงามไดเพราะส่ิงตาง ๆ มีความงามอยูในตัวเอง เปน
คณุ สมบัติของวัตถุปรากฏออกมาเปนรูปราง รูปทรงสีสัน การอธิบายถึงความงามของงานทัศนศิลปจะ
ไดผลนอยกวา การพาไปใหเหน็ ของจรงิ แสดงใหเ ห็นวาความงามมีอยใู นตวั วัตถุ
2. กลุมทีเ่ หน็ วา มนษุ ยรับรูคา ความงามไดเ พราะจิตของเราคดิ และรูสึกไปเอง โดยกลุม น้เี ห็นวา
ถาความงามมีอยูในวตั ถจุ ริงแตละบคุ คลยอมเห็นความงามน้นั เทากนั แตเนื่องจากความงามของวัตถุที่แต
ละบุคคลเหน็ แตกตา งกนั ออกไปจงึ แสดงวาความงามข้นึ อยกู ับอารมณแ ละความรูสึกของแตละบคุ คล
3. กลุมที่เห็นวามนุษยร บั รูคาความงามไดเพราะเปน สภาวะที่เหมาะสมระหวางวัตถกุ ับจติ กลมุ
นี้เหน็ วา การรบั รคู าความงามน้นั มใิ ชอ ยา งใดอยางหนงึ่ แตเปน สภาวะท่ีสมั พนั ธกันระหวางมนุษยกับวัตถุ
การรับรูท ส่ี มบรู ณตอ งประกอบดว ยวัตถทุ มี่ ีความงาม ความเดน ชัดและผรู บั รตู อ งมีอารมณและความรูสึก
ทีด่ ี พรอ มที่จะรบั รสคณุ คา แหงความงามน้นั ดว ย
จะเห็นไดวาศิลปกรรมหรือทัศนศิลปเปนส่ิงท่ีมนุษยสรางข้ึนจึงมีการขัดเกลาตกแตงให
สวยงามเปน วตั ถุสนุ ทรีย เปนสิง่ ทมี่ คี วามงาม ผูดรู ับรคู า ความงามไดในระดับพนื้ ๆ ใกลเคียงกนั เชน เปน
ภาพเขียน ภาพปนแกะสลัก หรือเปนสิ่งกอสรางที่สวยงาม แตการรับรูในระดับท่ีลึกลงไปถึงขั้นชอบ
ประทบั ใจ หรือชืน่ ชมนั้น เปน เรอื่ งของแตล ะบคุ คล
การรับรูคณุ คาทางศลิ ปะ มีหลายกระบวนการ ดงั น้ี
1. ส่งิ สุนทรีย หมายถงึ งานทัศนศิลปท ่เี กิดจากศิลปน ท่ตี ง้ั ใจสรา งงานอยางจรงิ จัง มกี าร
พฒั นางานตามลําดับ ประณีตเรยี บรอ ย ทง้ั ในผลงาน กรอบ และการติดตั้งทท่ี ําใหงานเดน ชัด
2. อารมณรว ม หมายถงึ สิ่งสุนทรียน ้ันมีความงามของเนื้อหาเรอื่ งราว รปู ราง - รูปทรง สสี นั ที่
สามารถทาํ ใหผ ดู สู นใจ เพลิดเพลินไปกบั ความงามของผลงานนนั้ มีอารมณรว มหรอื
คลอ ยตาม เชน เม่ือเหน็ งานทัศนศลิ ปแ ลวเกิดความรูสึกประทบั ใจและหยุดดอู ยรู ะยะหนง่ึ เปน ตน
3. กาํ หนดจิต เปนขนั้ ตอ เนือ่ งจากการมอี ารมณร ว ม กลา วคอื ในขณะที่เกดิ อารมณรว ม
เพลดิ เพลนิ ไปกับงานทศั นศลิ ป ผดู สู วนใหญจะอยูในระดับท่ีเห็นวาสวยก็พอใจแลว แตถามีการกําหนด
จิตใหหลุดออกจากอารมณรวมเหลา น้นั วา เรากาํ ลงั ดูงานทศั นศิลปท ่ีสรางสรรคอยางตัง้ ใจ จรงิ ใจ แตละจดุ
34
ของผลงานแสดงถึงทกั ษะฝมอื ของศิลปน จติ ของเราจะกลับมาและเริ่มดูในสวนรายละเอียดตาง ๆ ทําให
ไดร สชาติของความงามทแ่ี ปลกออกไป
กระบวนการท้ัง 3 ขน้ั ตอนขางตนยกตัวอยางใหเขาใจงายยิ่งข้ึนก็คือ พระอุโบสถวัดเบญจม
บพธิ ออกแบบโดยเจาฟากรมพระยานริศรานุวัดติวงศ อัจฉรยิ ะศิลปน ของไทย เปนสถาปตยกรรมท่ีสราง
ขน้ึ เพ่ืออทุ ิศใหแ กพระพุทธศาสนา การกอสรางจึงเต็มไปดวยความประณีตบรรจง เปนส่ิงสุนทรีย เปนท่ี
เชิดหนา ชูตาของเมอื งไทยแหง หน่ึงท่ีชาวไทยและชาวตา งประเทศมาเที่ยวชมอยูตลอดเวลาดวยความงาม
ของสถาปตยกรรมและบรรยากาศท่ีรมร่ืน ทําใหแขกผูมาเยือนเกิดความเพลิดเพลิน ประทับใจ และใช
เวลาผอนคลายอิริยาบถอยูนานพอสมควร ผูมาเยือนบางคนฉุกคิดไดวาขณะนี้กําลังอยูตอหนา
สถาปต ยกรรมทง่ี ดงามและมีชอ่ื เสียง ควรจะดูอยางพินจิ พเิ คราะห ดใู หล ะเอียดทีละสวน ซ่ึงออกแบบได
กลมกลนื ทงั้ รูปรางและวัสดุซ่งึ ทําดว ยหินออ นท่ีสวยงามแปลกไปกวา โบสถแหงอื่น กลุมคนท่ีกําหนดจิต
ในสวนใหญจะเปน ผทู ่ีมรี สนยิ มหรือมีพื้นฐานทางศิลปะพอสมควร
เร่อื งท่ี 4 การนาํ ความงามของธรรมชาตมิ าสรางสรรคผลงาน
5
ความคิดสรา งสรรค เปน ส่งิ ท่เี กดิ จากความคดิ สรา งสรรค เปน การดาํ เนินการในลักษณะตาง ๆ
7B
เพ่ือใหเ กิดสง่ิ แปลกใหมท่ีไมเคยปรากฏมากอน สงิ่ ทมี่ ชี วี ิตเทา น้ันท่จี ะมีความคดิ อยางสรา งสรรคได
ความคดิ สรา งสรรคเปน ความคดิ ระดบั สูง เปน ความสามารถทางสติปญ ญาแบบหนึ่ง ทจี่ ะคิดไดห ลาย
ทิศทาง หลากหลายรูปแบบโดยไมมขี อบเขต นําไปสกู ระบวนการคิดเพ่ือสรา งสง่ิ แปลกใหม หรือเพื่อการ
พัฒนาของเดมิ ใหด ขี น้ึ ทําใหเ กดิ ผลงานทีม่ ลี ักษณะเฉพาะตนเปน ตวั ของ ตัวเอง อาจกลาวไดว า มนษุ ยเ ปน
ส่ิงมีชวี ิตเพยี งชนดิ เดียวในโลก ที่มคี วามคดิ สรา งสรรค เนอ่ื งจากตงั้ แตใ นอดีตทผี่ า นมา มแี ตมนษุ ยเทา นน้ั
ที่สามารถสรา งสิ่งใหม ๆ ขนึ้ มาเพ่ือใชป ระกอบในการดาํ รงชวี ิต และสามารถพฒั นาสิง่ ตาง ๆใหดีข้ึน
35
กวา เดมิ รวมถึงมคี วามสามารถในการพัฒนาตน พัฒนาสงั คม พัฒนาประเทศ และรวมถงึ พัฒนาโลกทเ่ี รา
อยูใหมลี กั ษณะที่เหมาะสมกบั มนษุ ยมากทส่ี ดุ ในขณะทส่ี ตั วชนิดตาง ๆ ทมี่ ีววิ ัฒนาการมาเชนเดียวกบั เรา
ยงั คงมีชีวิตความเปน อยูแบบเดิมอยา งไมมกี ารเปลย่ี นแปลง มากกวา ครึ่งหน่งึ ของการพบท่ีย่ิงใหญข อง
โลกไดถูกกระทาํ ข้นึ มาโดยผาน "การคน พบโดยบังเอญิ " หรอื การคน พบบางส่งิ ขณะทก่ี าํ ลงั คน หาบางส่งิ
อยู การพัฒนาความคิดสรา งสรรคข องมนษุ ยจะทําให เกดิ การเปลีย่ นแปลง การสรา งสรรคอาจไม
จาํ เปนตอ งย่งิ ใหญถ ึงขนาดการพฒั นาบางส่ิงขนึ้ มาใหก ับโลก แตม อี าจเกย่ี วขอ งกับพฒั นาการบางอยา งให
ใหมข้นึ มา อาจเปน สง่ิ เลก็ ๆ นอ ย ๆ เพ่ือตัวของเราเอง เมอื่ เราเปล่ียนแปลงตวั เราเอง เราจะพบวาโลกก็
จะเปลี่ยนแปลงไปพรอมกบั เรา และในวถิ แี หง การเปลย่ี นแปลงทีเ่ ราไดมีประสบการณก บั โลกความคดิ
สรางสรรคจึงมีความหมายที่คอนขางกวางและสามารถนําไปใชประโยชนกับการผลิต การสรางสรรค
8B
สง่ิ ประดิษฐใหม ๆ กระบวนการวธิ ีการท่ีคดิ คน ขึน้ มาใหม คาดหวังวา ความคิดสรางสรรคจะชวยใหการ
ดําเนนิ ชีวิตและสังคมของเราดีขึน้ เราจะมคี วามสุข มากขึ้น โดยผานกระบวนการทีไ่ ดป รบั ปรุงข้นึ มาใหม
นท้ี ้ังในดา นปรมิ าณและคณุ ภาพ
การนาํ ธรรมชาติมาสรางสรรคผลงาน
จดุ มง หมายของการคิดสรางสรรค
งานศลิ ปะโดยเฉพาะงานศลิ ปะสมยั ปจจบุ นั ศิลปน จะสรางสรรคง านศลิ ปะในรปู แบบที่หลากหลายมาก
ขน้ึ ทาํ ใหม ขี อบขา ยกวางขวางมาก แตไมว าจะเปน ไปในลกั ษณะใดกต็ าม งานศลิ ปะทกุ ประเภท จะให
คณุ คาทตี่ อบสนองตอ มนษุ ย ในดา นท่ีเปนผลงานการแสดงออกของอารมณ ความรสู กึ และความคดิ เปน
การสอ่ื ถงึ เรือ่ งราวท่ีสําคัญ หรือเหตกุ ารณท ่ปี ระทบั ใจ เปน การตอบสนองตอ ความพึงพอใจ ทัง้ ทางดาน
จติ ใจและความสะดวกสบายดา นประโยชนใชส อยของศลิ ปวัตถุ
36
องคประกอบของการสรางสรรคงานศลิ ปะ
การสรางสรรคจะประสบความสําเร็จเปนผลงานได นอกจาก
ตองอาศัยความคดิ สรา งสรรค เปนตัวกาํ หนดแนวทางและรูปแบบแลว
ยังตองอาศัยความสามารถทีย่ อดเย่ยี มของศิลปน ซ่ึงเปนความสามารถ
เฉพาะตน เปน ความชาํ นาญท่เี กิดจากการฝกฝน และความพยายามอัน
นา ทึ่ง เพราะฝมืออนั เยย่ี มยอด จะสามารถสรา งสรรคผ ลงานที่มีความ
งาม อนั เยีย่ มยอดได นอกจากนีย้ ังตองอาศยั วัสดุ อุปกรณต า ง ๆ มาใช
ในการสรางสรรคเ ชน กัน วสั ดุอุปกรณใ นการสรา งสรรค แบง ออกเปน
วตั ถุดิบทีใ่ ชเ ปนสือ่ ในการแสดงออก และเคร่ืองมอื ท่ีใชสรางสรรคให
เกิดผลงานตามความชํานาญของศิลปนแตละคน แนวทางในการ
สรา งสรรคง านศลิ ปะของศลิ ปน แตละคน อาจมีทม่ี าจากแนวทางที่ตา งกัน บางคนไดร ับแรงบันดาลใจจาก
ความงาม ความคดิ ความรูสึก ความประทับใจ แตบางคนอาจสรางสรรคงานศิลปะเพื่อแสดงออกถึง
ฝมืออนั เยี่ยมยอดของตนเอง เพื่อประกาศความเปน เลิศอยางไมมีท่ีเปรียบปานโดยไมเนนที่เนื้อหาของ
งาน และบางคนอาจสรางสรรคงานศิลปะจากการใชวัสดุที่สนใจ โดยไมเนนรูปแบบและแนวคิดใด ๆ
เลยก็ได
เรื่องท่ี 5 ความคดิ สรางสรรค ในการนําเอาวัสดแุ ละสง่ิ ของตาง ๆ
มาตกแตงรา งกายและสถานที่
ความคิดสรางสรรค คือ กระบวนการคิดของสมองซึ่งมีความสามารถในการคิดไดหลากหลาย
และแปลกใหมจากเดิม โดยสามารถนําไปประยุกตทฤษฎี หรือหลักการไดอยางรอบคอบและมีความ
ถูกตอง จนนําไปสูการคิดคนและสรางส่ิงประดิษฐที่แปลกใหมหรือรูปแบบความคิดใหม นอกจาก
37
ลักษณะการคิดสรางสรรคดังกลาวนี้แลว ยังมีความสามารถมองความคิดสรางสรรคไดหลากหลาย ซึ่ง
อาจจะมองในแงท ่เี ปน กระบวนการคิดมากกวา เนอ้ื หาการคิด โดยท่ีสามารถใชล กั ษณะการคิดสรางสรรค
ในมติ ทิ กี่ วางขึ้น เชนการมีความคิดสรางสรรคในการทาํ งาน การเรียน หรือกิจกรรมที่ตองอาศัยความคิด
สรา งสรรคดวย อยา งเชน การทดลองทางวิทยาศาสตร หรือการเลนกีฬาท่ีตองสรางสรรครูปแบบเกมให
หลากหลายไมซ ํา้ แบบเดิม เพื่อไมใ หคตู อสรู ูทนั เปน ตน ซ่ึงอาจกลาวไดวาเปนลักษณะการคิดสรางสรรค
ในเชิงวิชาการ แตอยางไรก็ตาม ลักษณะการคิดสรางสรรคตาง ๆ ท่ีกลาวนั้นตางก็อยูบนพื้นฐานของ
ความคดิ สรา งสรรค โดยทบ่ี คุ คลสามารถเช่ือมโยงนาํ ไปใชในชวี ิตประจําวันไดดี
ในการสอนของอาจารยเพื่อพัฒนาความคิดสรางสรรค ควรจัดการเรียนการสอนที่ใชวิธีการที่
เหมาะสม ดังนี้
1. การสอน หมายถงึ การสอนเกี่ยวกับการคดิ เห็นในลักษณะความคิดเห็นท่ีขัดแยงในตัวมันเอง
ความคดิ เหน็ ซงึ่ คา นกับสามญั สาํ นกึ ความจรงิ ท่ีสามารถเชื่อถือหรืออธิบายได ความเห็นหรือความเชื่อที่
ฝง ใจมานาน ซง่ึ การคดิ ในลกั ษณะดงั กลาว นอกจากจะเปนวิธีการฝกประเมินคาระหวางขอมูลท่ีแทจริง
แลว ยังชวยใหคิดในสิ่งท่ีแตกตางไปจากรูปแบบเดิมท่ีเคยมี เปนการฝกมองในรูปแบบเดิมใหแตกตาง
ออกไป และเปนสงเสริมความคิดเห็นไมใหคลอยตามกัน (Non – Conformity) โดยปราศจากเหตุผล
ดงั นน้ั ในการสอนอาจารยจ ึงควรกาํ หนดใหน กั ศึกษารวบรวมขอคิดเห็นหรือคาํ ถาม แลวใหน กั ศกึ ษาแสดง
ทกั ษะดวยการอภิปรายโตว าที หรอื แสดงความคิดเห็นในกลุม ยอ ยกไ็ ด
2. การพจิ ารณาลักษณะ หมายถึง การสอนใหนักศึกษา คิดพิจารณาลักษณะตาง ๆ ท่ีปรากฏอยู
ท้ังของมนุษย สัตว สิ่งของ ในลักษณะที่แปลกแตกตางไปกวาท่ีเคยคิด รวมทงั้ ในลกั ษณะทค่ี าดไมถึง
3. การเปรยี บเทยี บอปุ มาอุปมยั หมายถึง การเปรยี บเทียบสงิ่ ของหรือสถานการณที่คลายคลึงกัน
แตกตางกนั หรือตรงกนั ขามกนั อาจเปนคําเปรยี บเทยี บ คาํ พังเพย สุภาษติ
4. การบอกส่งิ ทีค่ ลาดเคล่ือนไปจากความเปนจริง หมายถึง การแสดงความคิดเห็น บงชี้ถึงส่ิงที่
คลาดเคลื่อนจากความจริง ผดิ ปกตไิ ปจากธรรมดาท่วั ไป หรอื สง่ิ ท่ียังไมส มบรู ณ
5. การใชคาํ ถามยัว่ ยุและกระตนุ ใหตอบ หมายถึงการต้ังคาํ ถามแบบปลายเปดและใชคําถามที่ย่ัวยุ
เรา ความรูส ึกใหชวนคิดคน ควา เพือ่ ความหมายทล่ี กึ ซึง้ สมบูรณท ีส่ ดุ เทาทีจ่ ะเปน ได
6. การเปลี่ยนแปลง หมายถึง การฝกใหคิดถึงการเปล่ียนแปลงดัดแปลงการปรับปรุงสิ่งตาง ๆ
ทคี่ งสภาพมาเปนเวลานานใหเปนไปในรูปอื่น และเปดโอกาสใหเปลี่ยนแปลงดวยวิธีการตาง ๆ อยาง
อสิ ระ
7. การเปล่ียนแปลงความเชื่อ หมายถึง การฝกใหนักศึกษาเปนคนมีความยืดหยุน ยอมรับความ
เปล่ียนแปลง คลายความยึดมน่ั ตาง ๆ เพ่อื ปรบั ตนเขา กับสภาพแวดลอ มใหม ๆ ไดดี
8. การสรางส่ิงใหมจากโครงสรางเดิม หมายถึง การฝกใหนักศึกษารูจักสรางส่ิงใหม กฎเกณฑ
ใหม คว า ม คิด ใ หม โ ด ยอา ศั ย โค ร ง สร า ง เดิ ม หรือก ฎ เก ณ ฑ เดิม ท่ี เคย มี แต พ ย าย า ม คิ ด
พลกิ แพลงใหต า งไปจากเดิม
38
9. ทกั ษะการคนควา หาขอมลู หมายถึง การฝกเพอ่ื ใหนักศึกษารูจักหาขอ มลู
10. การคน หาคาํ ตอบคาํ ถามทีก่ าํ กวมไมชดั เจน เปนการฝก ใหน กั ศึกษามคี วามอดทนและพยายามท่ี
จะคนควา หาคาํ ตอบตอ ปญหาท่กี ํากวม สามารถตคี วามไดเปนสองนยั ลกึ ลับ รวมทง้ั ทา ทายความคดิ
11. การแสดงออกจากการหยัง่ รู เปนการฝกใหร ูจักการแสดงความรูสึก และความคิดท่ีเกิดจาก
ส่งิ เรา กบั อวัยวะสมั ผัสทง้ั หา
12. การพัฒนาตน หมายถึง การฝกใหรูจักพิจารณาศึกษาดูความ ลมเหลว ซ่ึงอาจเกิดข้ึนโดย
ต้ังใจหรอื ไมตงั้ ใจ แลว หาประโยชนจากความผิดพลาดนั้นหรือขอบกพรองของตนเองและผูอื่น ทั้งนี้ใช
ความผดิ พลาดเปน บทเรียนนําไปสคู วามสาํ เรจ็
13. ลกั ษณะบคุ คลและกระบวนการคิดสรางสรรค หมายถงึ การศกึ ษาประวัติบุคคลสําคัญทั้งใน
แงลักษณะพฤตกิ รรมและกระบวนการคิดตลอดจนวิธีการ และประสบการณข องบุคคลนัน้
14. การประเมินสถานการณ หมายถึง การฝกใหหาคําตอบโดยคํานึงถึงผลที่เกิดข้ึนและ
ความหมายเกีย่ วเน่ืองกนั ดว ยการตัง้ คาํ ถามวา ถา สิง่ เกิดขึน้ แลวจะเกดิ ผลอยา งไร
15. พัฒนาทักษะการอานอยางสรางสรรค หมายถึง การฝกใหรูจักคิดแสดงความคิดเห็น ควร
สง เสริมและใหโอกาสนกั ศึกษาไดแ สดงความคดิ เห็นและความรูสึกตอเร่ืองที่อานมากกวาจะมุงทบทวน
ขอตา ง ๆ ที่จําไดหรอื เขาใจ
16. การพฒั นาการฟงอยา งสรา งสรรค หมายถึง การฝก ใหเ กิดความรูส ึกนกึ คดิ ในขณะทฟี่ ง อาจ
เปนการฟง บทความ เร่อื งราวหรือดนตรี เพือ่ เปน การศกึ ษาขอมลู ความรู ซ่ึงโยงไปหาสิ่งอืน่ ๆ ตอ ไป
17. พัฒนาการเขียนอยางสรางสรรค หมายถึง การฝกใหแสดงความคิด ความรูสึก การ
จินตนาการผา นการเขียนบรรยายหรอื พรรณนาใหเ หน็ ภาพชดั เจน
18. ทักษะการมองภาพในมติ ิตาง ๆ หมายถงึ การฝกใหแสดงความรูสึกนึกคิดจากภาพในแงมุม
แปลกใหม ไมซ าํ้ เดิม
ศลิ ปะกับการตกแตงทอี่ ยูอาศยั
มนษุ ยเปน สตั วสังคมทตี่ อ งการสถานที่ปกปอง คุมครองจากสิ่งแวดลอมรอบกาย ไมวามนุษย
จะอยแู หง ใด สถานทอี่ ยา งไร ทอ่ี ยูอ าศยั จะสรางขน้ึ เพอ่ื ปองกนั ภยั อันตรายจากส่ิงแวดลอมภายนอก ที่อยู
อาศยั เปน หนึง่ ในปจจัยทมี่ คี วามสําคัญและจําเปนสาํ หรบั การดาํ รงชวี ติ ของมนุษย มนุษยจึงมีการพัฒนาที่
อยอู าศยั เพ่ือสนองความตอ งการและความพอใจของแตละบคุ คล มนษุ ยทุกคนมีการพฒั นาการในชีวติ ของ
ตนเอง มนุษยจึงนาํ พฒั นาการเหลานี้มาใชใหเปนประโยชน การพัฒนาท่ีอยูอาศัยจึงเปนหน่ึงในปจจัยท่ี
สําคัญสําหรับมนุษยที่อยูอาศัยในปจจุบันถูกพัฒนาใหทันสมัยกวา ในอดีตเนื่องจากตองปรับปรุงให
เหมาะสมกับสภาพการณและส่ิงแวดลอมของโลกท่ีเปลี่ยนแปลง แตในการปรับปรุงน้ัน ควรคํานึงถึง
สภาพทางภมู ิศาสตร และวัฒนธรรมทองถิ่นควบคกู นั ไป การพัฒนาท่อี ยูอาศยั นั้นจึงจะเหมาะสมและ
สนองความตอ งการอยางแทจ ริง
39
ที่อยูอาศัยโดยเฉพาะบานในปจจุบัน จะมีรูปแบบที่เรียบงายใกลชิดธรรมชาติและคํานึงถึง
ประโยชนใชสอยเปน หลกั และเนนในเรื่องเทคโนโลยตี า ง ๆ เพิ่มมากขึน้ เพราะเกิดการเปลี่ยนแปลงตาม
รสนิยมการบริโภค นอกจากน้ใี นการจัดตกแตงภายในจะมีการผสมผสานการตกแตงแบบตะวันตกและ
ตะวันออกเขา ดวยกัน ทาํ ใหเ กิดผลงานการตกแตงในรปู แบบที่ใชง านไดสะดวก ตามรูปแบบตะวันตก
ปจ จยั อีกประการหนึ่งในการจดั ตกแตง ภายในบา นคือการนําหลักการทางศิลปะมาผสมผสานเขากับการ
ตกแตง เพ่อื ใหการดาํ รงชวี ติ ภายในบานสะดวกทง้ั กายและใจ และแสดงออกถึงความงดงาม และมีรสนิยม
ของผเู ปน เจา ของบา น องคประกอบทางศิลปะจงึ ถกู นาํ มาเกย่ี วของ องคประกอบทางศิลปะท่ีนํามาใชใน
การจดั แตงแตง ท่ีอยอู าศยั ไดแก
1. ขนาดและสดั สว นนาํ มาใชในการจัดทอ่ี ยูอาศยั ไดแ ก
1.1 ขนาดของหอง ในการกําหนดขนาดของหองตาง ๆจะขึ้นอยกู บั กจิ กรรมท่ีทําหากเปน หอ งที่
ใชกิจกรรมมาก เชน หองอาหาร หองครัว หรือหองรับแขก ควรกําหนดขนาดของหองใหมีพ้ืนที่รองรับ
กจิ กรรมน้นั ๆ ใหเ หมาะสม ไมเลก็ จนเกนิ ไป เพราะจะทาํ ใหคบั แคบและไมสะดวกตอการทาํ กิจกรรม
1.2 จํานวนของสมาชกิ ในครอบครัว ในการกาํ หนดขนาดของหองตาง ๆ ควรคาํ นึงถงึ จาํ นวน
ของสมาชิกวา มมี ากนอ ยเพียงใด เพื่อจะไดก ําหนดขนาดของหองใหเหมาะสมกับสมาชกิ
1.3 เคร่อื งเรอื น ในการกําหนดขนาดของเครอื่ งเรอื น ควรกําหนดใหม ขี นาดพอดกี บั หองและ
สมาชิก หรือขนาดพอเหมาะกบั สมาชกิ ไมส งู หรอื เตี้ยจนใชงานไมสะดวก ในการออกแบบ
เครือ่ งเรือน หรือจัดพ้ืนทภี่ ายในบา นจะมีเกณฑมาตรฐานทใ่ี ชกนั โดยทวั่ ไป ดงั น้ี
หองรบั แขก
-โซฟา ขนาด 0.05 x 0.6 เมตร สงู 0.38 – 0.40 เมตร
หอ งอาหาร
- โตะ อาหารมหี ลายแบบไดแกขนาด 0.75 x 1.00 เมตร จนถงึ 1.10 x 2.40 เมตร
หองครัว
- ควรมีขนาด 0.50 x 0.55 เมตร สูง 0.80 x 0.90 เมตร ความยาวขน้ึ อยูกับหอ ง
40
หอ งนํา้
- ควรมีขนาด 2.00 – 3.00 เมตร ซึ่งแลวแตขนาดของหอง สวนสุขภัณฑในหองจะมีขนาด
มาตรฐานโดยทว่ั ไป
หองนอน
- เตยี งนอนเดย่ี ว มีขนาด 0.90-1.0 x 2.00 เมตร สงู 0.50 เมตร เตยี งนอนคู มขี นาด
1.80 x 2.00 เมตร สงู 0.40 - 0.50 เมตร ตเู สอ้ื ผา ขนาด 0.50 – 0.80 x 2.50 เมตร
2. ความกลมกลืน (Harmony) ความกลมกลืนของศิลปะท่ีนํามา ใชในการจัดตกแตงที่อยูไดแก
2.1 ความกลมกลนื ของการตกแตงท่ีอยูอาศยั การนําธรรมชาติมาผสมผสานในการตกแตง จะทําให
เกิดความสมั พนั ธทงี่ ดงามการใชต น ไมตกแตง ภายในอาคารจะทาํ ใหเกิดบรรยากาศทร่ี ม รื่น เบิกบานและ
เปน ธรรมชาติ
2.2 ความกลมกลืนของเคร่ืองเรอื นในการตกแตงภายในการเลือกเครื่องเรือนเคร่ืองใชที่เหมาะสม
และสอดคลอ งกับการใชส อย จะทาํ ใหเ กดิ ความสัมพนั ธใ นการใชงาน การเลือกวัสดุท่ีใชประกอบเคร่ือง
เรือนภายในครวั ควรเปนวัสดุทีแ่ ข็งแรง ทนทาน ทนรอนและทนรอยขูดขีดไดดี เชน ฟอรไมกา แกรนิต
หรอื กระเบือ้ งเคลือบตาง ๆ
2.3 ความกลมกลืนของสี ในการตกแตง ซง่ึ ตองใชดวยความระมดั ระวังเพราะหากใชไมถ กู ตอ งแลว
จะทําใหค วามกลมกลืนกลายเปน ความขดั แยง การใชส กี ลมกลนื ภายในอาคาร ควรคํานึงถึงวัตถุประสงค
ของหอ งผูใช เคร่ืองเรือนและการตกแตง การใชสีกลมกลืนควรใชวิจารณญาณ เลือกสีใหเหมาะสมกับ
วตั ถปุ ระสงคข องการใช
3. การตัดกนั
ในการตัดกันโดยท่ัวไปของการจดั ตกแตง ทีอ่ ยูอ าศยั นยิ มทาํ ในรปู แบบของการขัดกันในการใชเคร่ือง
เรือนในการตกแตง เพอื่ สรางจุดเดนหรอื จุดสนใจในการตกแตงไมใหเกดิ ความกลมกลืนมากเกินไป การ
ออกแบบเครือ่ งเรือนแบบรวมสมัย จึงไดรับความนิยม เนื่องจากสรางความโดดเดนของการตกแตงได
เปนอยา งดี
4. เอกภาพ
ในการตกแตงสงิ่ ตาง ๆ หากขาดเอกภาพงานท่สี าํ เรจ็ จะขาดความสมบรู ณใ นการตกแตง ภายใน การ
รวมกลุม กิจกรรมเขา ดว ยกัน การรวมพนื้ ท่ีในหองตาง ๆ ใหเ หมาะสมกับกจิ กรรมจงึ เปนการใชเอกภาพใน
การจดั พนื้ ทท่ี ีช่ ดั เจน การจดั เอกภาพของเคร่อื งเรอื นเครอื่ งใชก ็เปน ส่งิ สาํ คัญ หากเคร่ืองเรอื นจดั ไมเ ปน
ระเบียบยอมทาํ ใหผ ูอ าศยั ขาดการใชส อยทดี่ ีและขาดประสิทธภิ าพในการทํางาน
41
5. การซ้าํ
การซํ้าและจงั หวะเปนสง่ิ ท่สี มั พันธก นั การซาํ้ สามารถนาํ มาใชใ นงานตกแตงไดหลายประเภทเพราะ
การซา้ํ ทาํ ใหเ กดิ ความสอดคลองของการออกแบบการออกแบบตกแตง ภายในการซ้ําอาจนํามาใชในเรื่อง
สายตา เชน การปูกระเบื้องปูพ้ืนท่ีเปน ลวดลายตอเนอ่ื ง หรอื การติดภาพประดับผนงั ถึงแมก ารซ้ําจะทําให
งานสอดคลอง หรอื ตอ เนื่อง แตก็ไมค วรใชใ นปรมิ าณทีม่ ากเพราะจะทาํ ใหด ูสบั สน
6. จงั หวะ
การจัดจังหวะของที่อยูอาศัยทําไดหลายลักษณะ เชน การวางผังบริเวณหรือการจัดแปลนบานใหมี
ลกั ษณะที่เชือ่ มพน้ื ที่ตอ เนือ่ งกันเปนระยะ หรอื จงั หวะ นอกจากน้ีการจดั พนื้ ท่ใี ชสอยภายในอาคารนบั เปน
สง่ิ สําคญั เพราะจะทําใหเ กิดระเบียบและสะดวกตอการทาํ งาน และทาํ ใหการทาํ งาน และทําใหการทํางาน
มปี ระสิทธภิ าพยิง่ ขนึ้ การจัดพื้นทใี่ ชสอยภายในอาคารที่นิยมไดแก การจัดพื้นที่การทํางานของหองครัว
โดยแบงพ้นื ทีก่ ารทํางานใหเ ปนจงั หวะตอเนอื่ งกนั ไดแก พื้นที่ของการเกบ็ การปรงุ อาหาร การลาง การ
ทําอาหาร และการเสริ ฟอาหาร เปน ตน
7. การเนน ศิลปะของการเนน ทน่ี าํ มาใชในท่ีอยอู าศยั ไดแก
7.1 การเนน ดว ยสี ไดแ ก การตกแตง ภายในหรือภายนอกอาคารดวยการใชสีตกแตงท่ีกลมกลืน
หรอื โดดเดน เพอ่ื ใหสะดดุ ตาหรอื สดชน่ื สบายตา ซ่ึงขนึ้ อยูกบั วัตถปุ ระสงคของการจัดนนั้
7.2 การเนนดวยแสง ไดแก การใชแสงสวางเนนความงามของการตกแตง และเครื่องเรือน
ภายในบา นใหดูโดดเดน การใชโคมไฟหรอื แสงสวางตาง ๆ สามารถสรางความงามและใหบรรยากาศที่
สดชื่น หรือสุนทรียไดอยางดี ในการใชแสงไฟควรคํานึงถึงรูปแบบของโคมไฟ ที่ถูกตองและ
เหมาะสมกับขนาดและสถานท่ี ตลอดจนความกลมกลนื ของโคมไฟและขนาดของหอง
7.3 เนนดว ยการตกแตง ไดแก การใชวสั ดุ เครอ่ื งเรอื น เครื่องใชหรือของตกแตงตาง ๆ ตกแตง
ใหส อดคลอ งสวยงามเหมาะสมกับรูปแบบและสถานท่ตี กแตง น้นั ๆ
8. ความสมดุล
การใชค วามสมดุลในการจดั อาศยั ไดแก จดั ตกแตง เครือ่ งเรอื น หรือวัสดุตาง ๆ ใหม คี วามสมดุลตอ การ
ใชงาน หรือเหมาะสมกับสถานท่ี เชน การกาํ หนดพ้นื ทใ่ี ชสอยทส่ี ะดวกตอ การทํางาน หรือการจัดทิศทาง
ของเครือ่ งเรือนใหเ หมาะสมกบั สภาพแวดลอ ม และการทํางาน โดยเฉล่ยี กิจกรรมใหเหมาะสมและสมดุล
42
9. สี
สีมคี วามสมั พันธกับงานศิลปะ และการตกแตงสถานที่ เพราะสีมีผลตอสภาพจิตใจและอารมณของ
มนุษย สีใหผูอยูอาศัยอยูอยางมีความสุข เบิกบานและรื่นรมย ดังน้ันสีจึงเปนปจจัยสําคัญของการจัด
ตกแตง ท่อี ยูอ าศัยในการใชส ตี กแตงภายใน ควรคํานงึ ถงึ ส่งิ ตาง ๆ ดังตอไปน้ี
ศิลปะทนี่ ํามาใชใ นท่ีอยู
วตั ถุประสงคข องหอ งหรอื สถานทอ่ี าศยั
ในการใชสตี กแตงภายใน ควรคํานึงถงึ วัตถปุ ระสงคของหองหรือสถานที่ตกแตง เพื่อจะไดใชสี
ไดอยางเหมาะสม การใชสีตกแตงสถานท่ีตาง ๆ ภายในบาน แบงออกเปนหองตางๆ ดังน้ี
หองรับแขก เปนหองที่ใชในการสนทนา หรือตอนรับผูมาเยือน ดังนั้นหองรับแขก ควรใชสี
อบอนุ เชน สคี รีม สีสม ออน หรอื สีเหลืองออน เพื่อกระตนุ ใหเบิกบาน
หองอาหาร ควรมีสที ีด่ ูสบายตา เพื่อเพ่ิมรสชาติอาหาร อาจใชสีที่กลมกลืน นุมนวล เพราะสี
นมุ นวลจะทําใหเ กิดความสบายใจ
หองครัว ควรใชสที ด่ี ูสะอาดตา และรักษาความสะอาดงา ย หอ งควรเปนหองท่ีใชทํากิจกรรมจึง
ควรใชสกี ระตุนใหเ กดิ ความสนใจในการทํากิจกรรม
หองนอน เปน หองท่ีพักผอ น ควรใชส ีท่สี บายตา อบอนุ หรือนมุ นวล แตการใชในหอ งนอนควร
คาํ นึงถึงผูใชดวย
หองนํ้า เปนหองที่ใชทํากิจกรรมสวนตัว และตองการความสบาย จึงควรใชสีที่สบายตาเปน
ธรรมชาติ และสดชนื่ เชน สฟี า สเี ขยี ว หรือสขี าว และควรเปน หอ งทที่ ําความสะอาดไดงา ยทศิ ทาง การใช
สตี กแตง ภายในควรคํานงึ ถึงทิศทางของหอง หองทถ่ี กู แสงแดดสอ งควรใชสอี อน เพ่อื สะทอ นแสง สวน
หอ งทีอ่ ยใู นทีม่ ืด หรอื อับ ควรใชส ีออนเพื่อความสวา งเชน กนั