43
เพศและวัย เพศชายหรอื หญงิ จะใชสีในการตกแตงไมเหมอื นกนั เพศชายจะใชสเี ขมกวาเพศหญงิ
เชน สเี ขยี วเขม สีฟา หรอื เทา สว นเพศหญงิ จะใชสีท่อี อ น และนมุ นวลกวา เชน สคี รีม สีเหลอื ง เปนตน
วยั ในแตล ะวยั จะใชสไี มเหมือนกัน เชน หองเด็กจะใชสีออนหวานนุมนวล หองผูใหญจะมีสีที่
อบอุน หอ งผูสูงอายจุ ะใชส ีทีน่ ุมนวล
ศลิ ปะไมไ ดเ กยี่ วขอ งกับการจัดตกแตงท่ีอยูอาศัยเพียงอยางเดียว แตศิลปะยังชวยจรรโลงใจให
สมาชกิ ในครอบครวั อยูอยา งมคี วามสุข หากตองการความสุขในครอบครัว ปจจัยหน่ึงที่ควรคํานึงถึงสิ่ง
นั้นคือ “ศลิ ปะ”
เร่อื งที่ 6 คุณคาของความซาบซ้ึงของวัฒนธรรมของชาติ
ศิลปะไทย เปนเอกลกั ษณข องชาติไทย ซ่งึ คนไทยทั้งชาตติ า งภาคภูมใิ จอยา งยงิ่ ความงดงามท่สี ืบทอด
14B
อันยาวนานมาตงั้ แตอ ดตี บงบอกถึงวัฒนธรรมทเ่ี กดิ ข้ึน โดยมีพัฒนาการบนพ้นื ฐานของความเปนไทย ลักษณะ
นิสัยท่ีออนหวาน ละมุนละไม รักสวยรักงาม ท่ีมีมานานของสังคมไทย ทําใหศิลปะไทยมีความประณีต
ออ นหวาน เปน ความงามอยา งวจิ ิตรอลังการท่ีทุกคนไดเห็นตอง ตื่นตา ตื่นใจ อยางบอกไมถูกลักษณะความ
งามนจ้ี ึงไดกลายเปน ความรสู กึ ทางสุนทรียภาพโดยเฉพาะคนไทย เม่ือเราไดสืบคนความเปนมาของสังคมไทย
พบวาวิถีชีวิตอยูกันอยางเรียบงาย มีประเพณีและศาสนาเปนเคร่ืองยึดเหนี่ยวจิตใจ สังคมไทยเปนสังคม
เกษตรกรรมมากอ น ดังนนั้ ความผูกพนั ของจติ ใจจึงอยทู ่ธี รรมชาติแมนาํ้ และพืน้ ดิน สง่ิ หลอหลอมเหลาน้ีจึงเกิด
บรู ณาการเปนความคดิ ความเชอ่ื และประเพณใี นทองถนิ่ แลวถา ยทอดเปนวัฒนธรรมไทยอยางงดงาม ท่ีสําคัญ
วัฒนธรรมชวยสง ตอ คุณคาความหมายของสงิ่ อันเปนที่ยอมรับในสังคมหนึ่ง ๆ ใหคนในสังคมนั้นไดรับรูแลว
ขยายไปในขอบเขตที่กวางข้ึน ซ่ึงสวนใหญการสื่อสารทางวัฒนธรรมน้ันกระทําโดยผานสัญลักษณ และ
สญั ลักษณนี้คือผลงานของมนษุ ยน นั้ เองทเ่ี รยี กวา ศิลปะไทย
ปจ จุบันคําวา "ศลิ ปะไทย" กําลงั จะถกู ลมื เมื่ออทิ ธิพลทางเทคโนโลยสี มัยใหมเขา มาแทนทส่ี งั คมเกา ของ
ไทย โดยเฉพาะอยางย่ิงโลกแหงการสื่อสารไดกาวไปล้ํายุคมาก จนเกิดความแตกตางอยางเห็นไดชัดเมื่อ
เปรยี บเทยี บกบั สมยั อดีต โลกใหมยคุ ปจจุบันทําใหคนไทยมีความคดิ หางไกลตัวเองมากข้นึ และอิทธพิ ลดงั กลาว
นี้ทําใหคนไทยลืมตัวเราเองมากขึ้นจนกลายเปนสิ่งสับสนอยูกับสังคมใหมอยางไมรูตัว มีความวุนวายดวย
อํานาจแหงวัฒนธรรมสอื่ สารท่รี บี เรงรวดเร็วจนลมื ความเปนเอกลกั ษณข องชาติ
เมื่อเราหันกลับมามองตัวเราเองใหม ทําใหดูหางไกลเกินกวาจะกลับมาเรียนรูวา พื้นฐานของชาติ
บา นเมืองเดิมเราน้นั มีความเปนมาหรือมีวฒั นธรรมอยางไร ความรสู ึกเชน น้ี ทาํ ใหเราลืมมองอดีตตัวเอง การมีวิถี
ชวี ิตกบั สังคมปจ จุบันจําเปนตอ งด้นิ รนตอ สูก ับปญหาตา ง ๆ ท่ีวง่ิ ไปขา งหนา อยา งรวดเร็ว ถา เรามีปจ จบุ นั โดยไมมี
อดตี เราก็จะมอี นาคตที่คลอนแคลนไมม น่ั คง การดําเนนิ การนาํ เสนอแนวคดิ ในการจัดการเรยี นการสอนศลิ ปะใน
ครงั้ นี้ จงึ เปน เสมือนการคนหาอดีต โดยเราชาวศลิ ปะตอ งการใหอนชุ นไดม องเห็นถงึ ความสาํ คัญ
ของบรรพบุรุษผูสรางสรรคศลิ ปะไทย ใหเ ราทาํ หนาท่สี บื สานตอ ไปในอนาคต
44
ความเปน มาของศิลปะไทย
ไทยเปน ชาติที่มีศลิ ปะและวฒั นธรรม ตลอดจนขนบธรรมเนียมประเพณขี องตนเองมาชา นาน
แลว เริม่ ตัง้ แตก อนประวตั ิศาสตร ศลิ ปะไทยจะววิ ฒั นาการและสบื เน่อื งเปน ตวั ของตัวเองในท่ีสดุ เทาท่ี
เราทราบราว พ.ศ. 300 จนถงึ พ.ศ. 1800 พระพุทธศาสนานาํ เขา มาโดยชาวอินเดีย คร้ังนั้นแสดงใหเห็น
อทิ ธพิ ลตอรปู แบบของศิลปะไทยในทุก ๆ ดา นรวมทง้ั ภาษา วรรณกรรม ศลิ ปกรรม โดยกระจายเปน กลมุ
ศลิ ปะสมยั ตา ง ๆ เรม่ิ ต้ังแตส มัยทวาราวดี ศรวี ชิ ัย ลพบรุ ี เมอ่ื กลมุ คนไทยตงั้ ตวั เปนปก แผน แลว ศลิ ปะ
ดงั กลาวจะตกทอดกลายเปน ศิลปะไทย ชางไทยพยายามสรา งสรรคใหม ีลกั ษณะพเิ ศษกวา งานศิลปะของ
ชาตอิ ืน่ ๆ คอื จะมลี วดลายไทยเปน เครอื่ งตกแตง ซง่ึ ทาํ ใหล กั ษณะของศลิ ปะไทยมีรูปแบบเฉพาะมคี วาม
ออ นหวาน ละมนุ ละไม และไดสอดแทรกวฒั นธรรม ขนบธรรมเนยี มประเพณแี ละความรสู กึ ของคนไทย
ไวใ นงานอยางลงตวั ดงั จะเหน็ ไดจ ากภาพฝาผนังตามวดั วาอารามตา ง ๆ ปราสาทราชวงั ตลอดจน
เครือ่ งประดับและเครื่องใชทวั่ ไป
ประวตั ิศลิ ปะไทย
ศิลปะไทยแบง ไดเ ปนยุคตาง ๆ ดังนี้
1. แบบทวาราวดี ( ราว พ.ศ. 500 – 1200 )
2. แบบศรีวิชยั (ราว พ.ศ. 1200 – 1700 )
3. แบบลพบรุ ี (ราว พ.ศ. 1700 - 1800)
1. แบบทวาราวดี (ราว พ.ศ. 500 - 1200)
เปนฝมือของชนชาตอิ นิ เดีย ซ่ึงอพยพมาสูสวุ รรณภูมิ ศนู ยก ลางอยนู ครปฐม เปนศิลปะแบบ
อดุ มคติ รุนแรกเปนฝมือชาวอินเดีย แตมาระยะหลังเปนฝมือของชาวพื้นเมืองโดยสอดใสอุดมคติทาง
ความงาม ตลอดจนลกั ษณะทางเชือ้ ชาติ ศลิ ปะท่สี าํ คัญคอื
1.1 ประติมากรรม พระพุทธรปู แบบทวาราวดี สังเกตไดชดั เจนคือพระพุทธรูปน่ังหอยพระ
บาทและยกพระหัตถข้ึน โดยสวนมากสลักดวยหินปูน ภาพสลักมากคือบริเวณพระปฐม
เจดยี คือ ธรรมจกั รกับกวางหมอบ
1.2 สถาปตยกรรม ที่ปรากฏหลักฐาน บริเวณนครปฐม กาญจนบุรี ราชบุรี อางทอง
สุพรรณบุรี เปนตน ไดแก สถูปลักษณะเนินดิน ทําเปนมะนาวผาซีก หรือรูปบาตรควํ่า อยูบนฐาน
สเ่ี หลยี่ ม เชน เจดยี น ครปฐมองคเ ดมิ
2. แบบศรวี ิชัย (ราว พ.ศ. 1200 - 1700)
เปน ศิลปะแบบอนิ เดยี - ชวา ศูนยก ลางของศิลปะนอ้ี ยูทไี่ ชยา มีอาณาเขตของศิลปะ ศรี
วชิ ัย เกาะสุมาตรา พวกศรีวิชยั เดมิ เปนพวกทีอ่ พยพมาจากอินเดียตอนใต แพรเขามาพรอ ม
45
พระพุทธศาสนาลทั ธมิ หายาน ไดส รางสิ่งมหัศจรรยข องโลกไวอ ยา งหนง่ึ โดยสลกั เขาทั้งลูกใหเ ปน เขา
ไกรลาศ คือ สถูปโบโรบเู ดอร
ศิลปกรรมในประเทศไทย คือ โดย
1. ประติมากรรม คนพบพระโพธิสัตวอวโลกิเตศวร ทําเปนสัมฤทธ์ิที่ไชยา
สมเดจ็ กรมพระยาดํารงราชานภุ าพ ถอื วา เปนศลิ ปะชั้นเยีย่ มของแบบศรีวชิ ยั
2. สถาปต ยกรรม มงี านตกแตงเขา มาปนอยใู นสถปู เชนสถปู พระบรมธาตไุ ชยา
สถูปวัดมหาธาตุ
3. แบบลพบุรี (ราว พ.ศ. 1700 - 1800)
ศิลปะแบบนี้คลายของขอม ศนู ยก ลางอยูท ่เี มอื งลพบุรี ศาสนาพราหมณเขามามีบทบาท
ตามความเชือ่ สรา งเทวสถานอันใหญโ ตแขง็ แรงคงทนถาวร เชน ปราสาทหนิ พนมรงุ นครวดั นับเปน
ส่ิงมหศั จรรยข องโลก
1. ประติมากรรมสรางพระพุทธรูป พระโพธิสตั ว พระพทุ ธรปู สมยั ลพบุรีเปลอื ยองค
ทอ นบน พระพกั ตรเ กอื บเปน สเี่ หลยี่ ม มฝี มอื ในการแกะลวดลายมาก
46
2. สถาปตยกรรมสรางพระปรางคเปนเทวสถาน การกอสรางใชวัสดุที่แข็งแรง
ทนทาน ทม่ี ีอยูตามทองถนิ่ เชน ศลิ าแลง หินทราย ศิลปะทส่ี าํ คัญไดแ ก พระปรางคส ามยอดลพบรุ ี
ความเปนแวนแควนที่มีศูนยกลางการปกครองท่ีเดนชัดกวาที่เคยมีมาในอดีตแควน
สุโขทัยถือกาํ เนดิ ข้นึ เมื่อราวตน พทุ ธศตวรรษท่ี 19 ภายหลงั จากที่อิทธิพลของอาณาจกั รเขมรเสื่อมคลายลง
ขอ ความในศิลาจารกึ หลกั ท่ี 2 (จารกึ วัดศรชี มุ ) กลาวถงึ กลุมคนไทยนําโดยพอขุนบาง กลางหาวเจาเมอื ง
บางยาง และพอขุนผาเมือง เจา เมอื งราด ไดรวมมือกันขจัดอํานาจปกครองจาก “ขอมสมาดโขลญลําพง”
จากน้ันไดชว ยกนั กอ รางสรา งเมอื งพรอ มกบั สถาปนาพอขุนบางกลางหาวข้นึ เปน ปฐมกษตั ริยป กครองสืบ
มา ศลิ ปะสุโขทัยเปนศิลปะที่เกิดจากการผสมผสานวัฒนธรรมที่เจริญรุงเรืองกอนหนา เชน วัฒนธรรม
เขมร พกุ าม หริภญุ ไชย และวฒั นธรรมรว มสมัยจากลานนา ตอ มาในราวปลายพทุ ธศตวรรษที่ 20 ราชธานี
สุโขทยั จงึ ตกอยูใตอ ํานาจของกรงุ ศรอี ยุธยาราชธานที างภาคกลางท่ีสถาปนาขนึ้ ในราวปลายพุทธศตวรรษ
ที่ 19 ศลิ ปะสโุ ขทยั มพี ื้นฐานอยูท ค่ี วาม เรยี บงาย อนั เกิดจากแนวความคิดทางพุทธศาสนาลทั ธเิ ถรวาท
ทีร่ ับมาจากประเทศศรีลังกา ศิลปกรรมโดยเฉพาะงานดา นประตมิ ากรรมทีส่ รา งขึน้ ในสมยั น้ี ไดรับการยก
ยอ งวามคี วามงดงาม
47
เปน ศิลปกรรมแบบคลาสสิคของไทยทางตอนเหนอื ของแควนสุโขทัยขนึ้ ไปเปนท่ตี งั้ ของ
แควน ลา นนา ซึ่งพระยาเมง็ รายไดท รงสถาปนาขึน้ ในป พ.ศ. 1839 โดยมีเมืองเชยี งใหมเ ปน ราชธานี แควน
ลานนาบางชวงเวลาตอ งตกอยูภ ายใตอ ํานาจทางการเมอื งของแวนแควน ใกลเ คียง จนกระทัง่ ในที่สุดจึงได
ถูกรวมเขา เปนสวนหนง่ึ ของราชอาณาจกั รสยาม เมอ่ื สมัยตน รัตนโกสนิ ทร ศิลปะลา นนา ในชว งตน ๆ สบื
ทอดลักษณะทางศิลปกรรมจากหรภิ ญุ ไชยผสมผสานกับศลิ ปะพกุ ามจากประเทศพมา ตอมาจงึ ปรากฏ
อิทธพิ ลของศิลปะสุโขทยั พมา รวมถึงศิลปะรตั นโกสนิ ทร แตกระนน้ั ลานนาก็ยงั รกั ษาเอกลกั ษณแหง
งานชา งอนั ยาวนานของตนอยไู ด และมีพฒั นาการผานมาถงึ ปจจบุ นั
กอ นสถาปนากรุงศรอี ยธุ ยาใน พ.ศ. 1893 พ้ืนที่ภาคกลาง บริเวณสองฟากของลุมแมนํ้า
เจาพระยา ปรากฏศิลปกรรมรูปแบบหน่ึงซึ่งมีลักษณะผสมผสานระหวางศิลปะทวารวดี ศิลปะเขมร และ
ศลิ ปะสโุ ขทยั กอนที่จะสบื เนื่องมาเปน ศลิ ปะอยธุ ยา เน่ืองจากกรงุ ศรีอยุธยาเปนราชธานีของไทยอยูนาน
ถงึ 417 ป ศิลปกรรมที่สรางข้ึนจึงมีความผิดแผกแตกตางกันออกไปตามกระแสวัฒนธรรมที่ผานเขามา
โดยเฉพาะจากเขมรและสุโขทัย กอนจะพัฒนาไปจนมีรูปแบบที่เปนตัวของตัวเอง งานประณีตศิลปใน
สมยั น้ีถอื ไดว ามีความรงุ เรอื งสงู สดุ หลงั จากราชธานีกรงุ ศรอี ยธุ ยา ถึงคราวลมสลาย เม่ือพ.ศ. 2310
กถ็ ึงยคุ กรงุ ธนบรุ ี เนื่องจากในชวงเวลา 15 ปข องยุคนีไ้ มปรากฏหลกั ฐานทางศลิ ปกรรมที่มีรูปแบบเฉพาะ
จึงมักถูกรวมเขา กับราชธานีกรุงเทพฯ หรอื ที่เรียกวา กรุงรตั นโกสินทร ศิลปะรตั นโกสนิ ทร ในชวงตน
ๆ มลี กั ษณะเปน การสืบทอดงานแนวอุดมคติจากอดีตราชธานีกรุงศรีอยุธยาอยางเดนชัด จากนั้นในชวง
ตงั้ แตร ชั กาลท่ี 4 เปนตน มา อิทธิพลทางศลิ ปวฒั นธรรมจากตะวนั ตกไดเรมิ่ เขามามบี ทบาทเพ่ิมข้ึนเร่ือย ๆ
จนกระท่ังกลายมาเปนศิลปะแนวใหมท ่เี รียกวา “ศิลปกรรมรวมสมัย” ในปจ จุบนั
48
ภาพโลหะปราสาท
ภาพหอไตร
49
กจิ กรรมที่ 1
ใหผเู รยี นทดลอง ฝก เขยี นลายไทย จากความรทู ไี่ ดศ กึ ษาจากเรอื่ งท่ี 1 - 6 มาประกอบ
50
กิจกรรมที่ 2
ใหผ ูเรยี นทดลอง วเิ คราะห วจิ ารณ งานทศั นศิลปไ ทย จากภาพประกอบ โดยใชหลกั การวจิ ารณ
ขางตน และความรูท่ไี ดศกึ ษาจากเรื่องท่ี 1 - 6 มาประกอบคําวิจารณ
พระพทุ ธรูปศิลปะอยธุ ยา
คําวิจารณ
...................................................................................... ................................................................................
.................................................................................................... ..................................................................
............................................................................................................ ..........................................................
................................................................................................. .....................................................................
.................................................................................................... ..................................................................
....................................................................................................................... ...............................................
............................................................................................................ ..
51
บทท่ี 2
ดนตรีไทย
สาระสาํ คญั
ศึกษาเรยี นรู เขา ใจ ถงึ ววิ ัฒนาการ ประวตั คิ วามเปน มา และคุณคา ความงาม ของดนตรีไทย
สามารถอธบิ ายความงาม และประวตั คิ วามเปน มาของดนตรไี ทยไดอ ยา งเหมาะสม
ผลการเรียนรทู ี่คาดหวัง
อธิบายความหมาย ความสําคัญ ความเปนมา ของดนตรีไทย เขาใจถงึ ตน กําเนดิ ภมู ปิ ญ ญาและ
การอนรุ กั ษด นตรไี ทย
ขอบขายเน้อื หา
เรอื่ งที่ 1 ประวัตดิ นตรีไทย
เร่อื งที่ 2 เทคนิคและวิธีการเลน ของเครื่องดนตรไี ทย
เร่ืองที่ 3 คุณคา ความงามความไพเราะของเพลงและเครื่องดนตรไี ทย
เร่อื งที่ 4 ประวัตคิ ณุ คาภูมิปญญาของดนตรีไทย
52
เร่ืองที่ 1 ประวัตดิ นตรีไทย
ดนตรีไทย ไดแบบอยางมาจากอนิ เดีย เนือ่ งจาก อินเดียเปน แหลง อารยธรรมโบราณ ที่สําคัญแหง
หนง่ึ ของโลก อารยธรรมตาง ๆ ของอินเดียไดเขามามีอิทธิพล ตอประเทศตาง ๆ ในแถบเอเชียอยางมาก
ท้ังในดาน ศาสนา ประเพณีความเชื่อ ตลอดจน ศิลปะ แขนงตาง ๆ โดยเฉพาะทางดานดนตรี ปรากฏ
รปู รางลักษณะ เครื่องดนตรี ของประเทศตาง ๆ ในแถบเอเชีย เชน จีน เขมร พมา อินโดนิเซีย และ
มาเลเซีย มีลักษณะ คลายคลึงกัน เปนสวนมาก ทั้งน้ีเนื่องมาจาก ประเทศเหลาน้ันตางก็ยึดแบบฉบับ
ดนตรี ของอินเดีย เปนบรรทัดฐาน รวมท้ังไทยเราดวย เหตุผลสําคัญที่ทานผูรูไดเสนอทัศนะน้ีก็คือ
ลักษณะของ เครือ่ งดนตรีไทย สามารถจาํ แนกเปน 4 ประเภท คอื
เคร่อื งดีด
เคร่อื งสี
เครอื่ งตี
เครื่องเปา
53
การสนั นษิ ฐานเกีย่ วกับ กําเนิดหรือท่ีมาของ ดนตรไี ทย ตามแนวทศั นะขอน้ี เปนทัศนะที่มีมาแต
เดมิ นบั ต้งั แต ไดม ผี สู นใจ และไดทาํ การคน ควาหาหลักฐานเกี่ยวกับเร่ืองน้ีขึ้น และนับวา เปนทัศนะตาง ๆ
ดังนี้
1. ไดรับการนาํ มากลา วอา งกนั มาก บุคคลสําคญั ทีเ่ ปน ผเู สนอแนะแนวทางนคี้ ือ สมเด็จพระเจา
บรมวงศเ ธอกรมพระยาดํารงราชานภุ าพ พระบิดาแหงประวตั ศิ าสตรไ ทย
2. สนั นิษฐานวา ดนตรีไทย เกดิ จากความคดิ และ สตปิ ญญา ของคนไทย เกิดข้นึ มาพรอมกบั คน
ไทย ตง้ั แต สมยั ทย่ี งั อยูท างตอนใต ของประเทศจนี แลว ทงั้ นเ้ี น่ืองจาก ดนตรี เปน มรดกของมนษุ ยชาติ ทกุ
ชาติทุกภาษาตางก็มดี นตรีซึ่งเปน เอกลักษณ ของตนดว ยกนั ทั้งนนั้ ถึงแมวา ในภายหลัง จะมกี ารรับเอา
แบบอยา งดนตรีของตางชาติเขามาก็ตาม แตก ็เปน การนําเขา มาปรบั ปรงุ เปล่ียนแปลงใหเ หมาะสม กบั
ลกั ษณะและนสิ ัยทางดนตรี ของคนในชาตินั้น ๆ ไทยเราตง้ั แตสมยั ที่ยังอยทู างตอนใตข องประเทศจีน ก็
คงจะมี ดนตรขี องเราเองเกิดข้ึนแลว ทั้งนี้ จะสงั เกตเหน็ ไดว า เครอ่ื งดนตรี ดั้งเดิมของไทย จะมีชอื่ เรียก
เปนคาํ โดด ซง่ึ เปน ลกั ษณะของคําไทยแท เชน เกราะ โกรง กรับ ฉาบ ฉง่ิ ป ขลยุ ฆอง กลอง เปน ตน
ตอมาเมื่อไทยได อพยพลงมาต้ังถ่ินฐานในแถบแหลมอินโดจีน จึงไดมาพบวัฒนธรรมแบบ
อินเดีย โดยเฉพาะเครื่องดนตรอี ินเดยี ซง่ึ ชนชาติมอญ และ เขมร รับไวก อนที่ไทยจะอพยพเขามา ดวยเหตุ
นชี้ นชาติไทยซ่ึงมนี สิ ัยทางดนตรอี ยูแ ลว จึงรบั เอาวัฒนธรรมทางดนตรแี บบอนิ เดีย ผสมกบั แบบมอญและ
เขมร เขามาผสมกับดนตรีท่ีมีมาแตเดิมของตน จึงเกิดเคร่ืองดนตรีเพ่ิมข้ึนอีก ไดแก พิณ สังข ปไฉน
บณั เฑาะว กระจบั ป และจะเข เปนตน ตอมาเม่ือไทยไดตั้งถนิ่ ฐานอยใู นแหลม อินโดจีนอยางม่ันคงแลว
ไดม กี ารตดิ ตอ สมั พนั ธก บั ประเทศเพอ่ื นบานในแหลมอินโดจีน หรือแมแตกับประเทศทางตะวันตกบาง
ประเทศท่เี ขา มา ติดตอคาขาย ทาํ ใหไ ทยรับเอาเครือ่ งดนตรบี างอยา ง ของประเทศตาง ๆ เหลาน้ันมาใช
เลน ในวงดนตรไี ทยดว ย เชน กลองแขก ปชวา (อินโดนีเซีย) กลองมลายู (มาเลเซีย) เปงมาง ตะโพน
มอญ ปมอญ และฆองมอญ กลองยาวของพมา ขิม มาลอของจีน กลองมริกัน (กลองของชาว
อเมรกิ ัน) เปย โน ออรแ กน และไวโอลนี ของประเทศทางตะวันตก เปน ตน
วิวัฒนาการของวงดนตรไี ทย
นับตั้งแตไทยไดมาต้ังถิ่นฐานในแหลมอินโดจีน และไดกอตั้งอาณาจักรไทยขึ้น จึงเปนการ
เร่ิมตน ยุคแหงประวัตศิ าสตรไ ทย ทปี่ รากฏหลักฐานเปนลายลักษณอักษร กลาวคือ เม่ือไทยไดสถาปนา
อาณาจักรสุโขทัยข้ึน และหลังจากท่ีพอขุนรามคําแหงมหาราช ไดประดิษฐอักษรไทยขึ้นใชแลว
นับตัง้ แตนน้ั มาจึงปรากฏหลักฐานดานดนตรีไทย ท่ีเปนลายลักษณอักษร ท้ังในหลักศิลาจารึก หนังสือ
วรรณคดี และเอกสารทางประวัติศาสตร ในแตละยุค ซึ่งสามารถนํามาเปนหลักฐานในการพิจารณา ถึง
ความเจริญและวิวัฒนาการของ ดนตรีไทย ตั้งแตสมัยสุโขทัย เปนตนมา จนกระทั่งเปนแบบแผนดัง
ปรากฏ ในปจ จุบัน พอสรุปไดดังตอไปน้ี
54
สมัยสโุ ขทยั
มลี กั ษณะเปนการขับลํานํา และรองเลนกันอยางพ้ืนเมือง เก่ียวกับ เคร่ืองดนตรีไทย ในสมัยนี้
ปรากฏหลักฐานกลาวถึงไวในหนังสือ ไตรภูมิพระรวง ซ่ึงเปนหนังสือวรรณคดี ที่แตงในสมัยน้ี ไดแก
แตร สังข มโหระทกึ ฆอง กลอง ฉิ่ง แฉง (ฉาบ) บณั เฑาะว พณิ ซอพุงตอ (สันนษิ ฐานวาคือ ซอสามสาย)
ปไฉน ระฆัง และกังสดาล เปนตน ลักษณะการผสม วงดนตรี ก็ปรากฏหลักฐานท้ังในศิลาจารึก และ
หนงั สอื ไตรภมู ิพระรว ง กลาวถึง "เสียงพาทย เสียงพิณ" ซึ่งจากหลักฐานท่ีกลาวน้ี สันนิษฐานวา วงดนตรี
ไทย ในสมัยสโุ ขทัย มีดงั น้ี คือ
1. วงบรรเลงพณิ มผี ูบรรเลง 1 คน ทําหนาท่ีดีดพณิ และขับรอ งไปดว ย เปนลกั ษณะของการขบั ลํา
นํา
2. วงขบั ไม ประกอบดว ยผูบรรเลง 3 คน คือ คนขับลาํ นาํ 1 คน คนสีซอสามสาย คลอเสียงรอง 1
คน และคนไกวบัณเฑาะว ใหจงั หวะ 1 คน
3. วงปพาทย เปน ลักษณะของวงปพาทยเ ครอื่ งหา มี 2 ชนดิ คอื
3.1 วงปพาทยเครอ่ื งหาอยา งเบา ประกอบดวยเคร่ืองดนตรชี นดิ เล็ก ๆ จํานวน 5 ชิ้น คือ
1. ป 2. กลองชาตรี 3. ทับ (โทน) 4. ฆองคู 5. ฉ่ิง ใชบรรเลงประกอบการแสดง ละครชาตรี (เปนละคร
เกา แกทสี่ ุดของไทย)
3.2 วงปพาทยเ ครื่องหาอยางหนกั ประกอบดวย เครือ่ งดนตรจี ํานวน 5 ช้ิน คือ
1. ปใน 2. ฆองวง (ใหญ) 3. ตะโพน 4. กลองทัด 5. ฉ่ิง ใชบรรเลงประโคมในงานพิธีและบรรเลง
ประกอบ การแสดงมหรสพ ตาง ๆ จะเห็นวาวงปพาทยเครื่องหา ในสมัยน้ียังไมมีระนาดเอก
4. วงมโหรี เปนลกั ษณะของวงดนตรอี ีกแบบหนึ่งที่นาํ เอา วงบรรเลงพณิ กบั วงขับไม มา
ผสมกัน เปน ลักษณะของวงมโหรีเครื่องส่ี เพราะประกอบดวยผูบรรเลง 4 คน คือ 1. คนขับลํานํา และตี
กรับพวงใหจงั หวะ 2. คนสีซอสามสายคลอเสยี งรอง 3. คนดีดพณิ 4. คนตีทบั (โทน) ควบคมุ จังหวะ
สมยั กรุงศรอี ยธุ ยา
ในสมัยนี้ ในกฎมณเฑยี รบาล ซ่งึ ระบชุ ่ือ เครอื่ งดนตรไี ทยเพิ่มขนึ้ จากทเ่ี คยระบุไว
ในหลักฐานสมัยสุโขทัย จึงนาจะเปนเคร่ืองดนตรี ท่ีเพ่ิงเกิดในสมัยน้ี ไดแก กระจับป ขลุย จะเข และ
ราํ มะนา นอกจากนใ้ี นกฎมณเฑียรบาลสมัย สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ (พ.ศ. 1991 - 2031) ปรากฏขอ
หามตอนหนึ่งวา "...หามรองเพลงเรือ เปาขลุย เปาป สีซอ ดีดกระจับป ดีดจะเข ตีโทนทับ ในเขต
พระราชฐาน..." ซึ่งแสดงวาสมัยนี้ ดนตรีไทย เปนที่นิยมกันมาก แมในเขตพระราชฐาน ก็มีคนไปรอง
เพลงและเลน ดนตรกี ันเปน ท่เี อกิ เกริกและเกินพอดี จนกระทั่งพระมหากษัตริยตองทรงออกกฎมณเฑียร
บาล ดังกลา วขึ้นไวเ กี่ยวกบั ลักษณะของวงดนตรีไทย ในสมัยนี้มีการเปลี่ยนแปลง และพัฒนาข้ึนกวาใน
สมยั สโุ ขทยั ดงั น้ี คอื
55
1. วงปพาทย ในสมยั น้ีกย็ ังคงเปน วงปพาทยเครือ่ งหา เชน เดียวกบั ในสมัยสุโขทยั แตม ี ระนาด
เอก เพ่มิ ขนึ้ ดงั นัน้ วงปพ าทยเครอ่ื งหา ในสมัยนปี้ ระกอบดว ย เครื่องดนตรี ดงั ตอไปนี้ คอื
1.1 ระนาดเอก
1.2 ปใน
1.3 ฆอ งวง (ใหญ)
1.4 กลองทดั ตะโพน
1.5 ฉิ่ง
2. วงมโหรี ในสมยั น้พี ัฒนามาจาก วงมโหรีเครือ่ งส่ี ในสมัยสุโขทยั เปน วงมโหรีเครือ่ งหก เพราะ
ไดเพ่มิ เครือ่ งดนตรี เขา ไปอกี 2 ชิ้น คือ ขลุย และ ราํ มะนา ทาํ ให วงมโหรี ในสมัยนป้ี ระกอบดวย เคร่อื งดนตรี
จํานวน 6 ชิน้ คือ
2.1 ซอสามสาย
2.2 กระจบั ป (แทนพณิ )
2.3 ทับ (โทน)
2.4 ราํ มะนา
2.5 ขลยุ
2.6 กรบั พวง
สมยั กรุงธนบุรี
เนือ่ งจากในสมัยนี้เปนชว งระยะเวลาอนั สั้นเพยี งแค 15 ป และประกอบกบั เปน สมัยแหงการ
กอสรา งเมอื ง และการปอ งกันประเทศ วงดนตรไี ทย ในสมยั นจ้ี งึ ไมป รากฏหลกั ฐานไวว า ไดม กี ารพัฒนา
เปลี่ยนแปลงข้นึ สันนษิ ฐานวา ยังคงเปน ลกั ษณะและรปู แบบของ ดนตรไี ทย ในสมัยกรงุ ศรีอยธุ ยา
สมัยกรุงรัตนโกสินทร
ในสมยั นี้ เมื่อบา นเมอื งไดผ านพนจากภาวะศกึ สงคราม และไดมีการกอ สรา งเมืองใหมัน่ คง
เปน ปก แผน เกดิ ความสงบรม เย็น โดยทว่ั ไปแลว ศลิ ปวัฒนธรรมของชาติ ก็ไดรับการฟน ฟทู ะนุบํารงุ และ
สงเสริมใหเจรญิ รุง เรอื งขน้ึ โดยเฉพาะทางดา นดนตรีไทย ในสมัยนี้ไดม กี ารพฒั นาเปลยี่ นแปลงเจริญข้ึน
เปน ลาํ ดบั ดังตอไปนี้
รัชกาลท่ี 1
ดนตรีไทยในสมัยน้สี ว นใหญ ยังคงมีลักษณะและรูปแบบตามที่มีมาต้ังแต สมัยกรุงศรีอยุธยา ที่
พัฒนาขึ้นบา งในสมยั น้ีก็คือ การเพิ่ม กลองทัด ข้ึนอีก 1 ลูก ในวงปพ าทย ซึง่ แตเดมิ มา มีแค 1 ลูก พอมาถึง
56
สมยั รัชกาลที่ 1 วงปพาทย มกี ลองทัด 2 ลกู เสยี งสงู (ตัวผ)ู ลูกหนง่ึ และ เสยี งตํ่า (ตัวเมีย) ลูกหนึ่ง และ
การใช กลองทัด 2 ลูก ในวงปพ าทย ก็เปน ทนี่ ิยมกนั มาจนกระท่งั ปจ จุบันนี้
รชั กาลท่ี 2
อาจกลา ววาในสมยั นี้ เปน ยุคทองของ ดนตรีไทย ยุคหนึง่ ทั้งนี้เพราะ องคพระมหากษัตริย ทรง
สนพระทัย ดนตรีไทย เปนอยางย่ิง พระองคทรงพระปรีชาสามารถ ในทางดนตรีไทย ถึงขนาดที่ทรง
ดนตรไี ทย คือ ซอสามสาย ไดมีซอคูพระหัตถชื่อวา "ซอสายฟาฟาด" ทั้งพระองคได พระราชนิพนธ
เพลงไทย ขนึ้ เพลงหน่งึ เปนเพลงท่ีไพเราะ และอมตะ มาจนบัดน้ีน่ันก็คือเพลง "บุหลันลอยเล่ือน" การ
พฒั นา เปล่ยี นแปลงของ ดนตรไี ทย ในสมัยนี้กค็ อื ไดมกี ารนําเอา วงปพาทยมาบรรเลง ประกอบการขับ
เสภา เปนครั้งแรก นอกจากน้ี ยังมีกลองชนิดหน่ึงเกิดข้ึน โดยดัดแปลงจาก "เปงมาง" ของมอญ ตอมา
เรยี กกลองชนิดนี้วา "สองหนา" ใชตีกํากับจังหวะแทนเสียงตะโพน ในวงปพาทย ประกอบการขับ
เสภา เนอื่ งจากเหน็ วา ตะโพนดงั เกนิ ไป จนกระทั่งกลบเสยี งขบั กลองสองหนา น้ี ปจจบุ นั นยิ มใชตกี ํากับ
จังหวะหนา ทบั ในวงปพ าทยไ มแข็ง
รัชกาลท่ี 3
วงปพาทยไดพฒั นาข้นึ เปนวงปพาทยเ ครอ่ื งคู เพราะไดมีการประดษิ ฐระนาดทุม มาคูกบั ระนาด
เอก และประดิษฐฆองวงเล็กมาคูกบั ฆองวงใหญ
รชั กาลที่ 4
วงปพ าทยไ ดพัฒนาขนึ้ เปน วงปพ าทยเครือ่ งใหญ เพราะไดม กี ารประดษิ ฐ เครอ่ื งดนตรี เพิม่ ขน้ึ
อกี 2 ชนดิ เลยี นแบบ ระนาดเอก และระนาดทมุ โดยใชโลหะทําลูกระนาด และทํารางระนาดใหแตกตา ง
ไปจากรางระนาดเอก และระนาดทุม (ไม) เรียกวา ระนาดเอกเหลก็ และระนาดทมุ เหลก็ นํามาบรรเลงเพิ่ม
ในวงปพ าทยเครือ่ งคู ทําให ขนาดของวงปพ าทยข ยายใหญข ึ้นจึงเรียกวา วงปพ าทยเคร่ืองใหญ อนึง่ ใน
สมัยนี้ วงการดนตรไี ทย นยิ มการรองเพลงสงใหด นตรรี ับ หรือท่ีเรียกวา "การรองสง" กันมาก
จนกระทงั่ การขบั เสภาซงึ่ เคยนิยมกนั มากอนคอย ๆ หายไป และการรอ งสง กเ็ ปนแนวทางใหมีผคู ดิ แตง
ขยายเพลง2 ช้นั ของเดิมใหเ ปน เพลง 3 ช้ัน และตัดลง เปนชนั้ เดยี ว จนกระท่งั กลายเปน เพลงเถาในท่ีสุด
(นับวาเพลงเถาเกดิ ขนึ้ มากมายในสมัยน)้ี นอกจากนี้
วงเครอ่ื งสาย ก็เกดิ ขน้ึ ในสมยั รัชกาลนีเ้ ชนกนั
รัชกาลที่ 5
ไดมีการปรับปรุงวงปพาทยขึ้นใหมชนิดหน่ึง ซ่ึงตอมาเรียกวา "วงปพาทยดึกดําบรรพ" โดย
สมเด็จกรมพระยานริศรานุวัดติวงศ สําหรับใชบรรเลงประกอบการแสดง "ละครดึกดําบรรพ" ซ่ึงเปน
57
ละครท่เี พ่ิงปรับปรุงขึ้นในสมัยรัชกาลนเี้ ชนกัน หลักการปรบั ปรงุ ของทานก็โดยการตัดเคร่ืองดนตรีชนิด
เสียงเลก็ แหลม หรอื ดังเกนิ ไปออก คงไวแ ตเ คร่ืองดนตรีทีม่ เี สยี งทุม นมุ นวล กับเพม่ิ เครื่องดนตรีบางอยาง
เขามาใหม เคร่ืองดนตรี ในวงปพาทยดึกดําบรรพ จึงประกอบดวยระนาดเอก ฆองวงใหญ ระนาดทุม
ระนาดทุมเหลก็ ขลยุ ซออู ฆอ งหยุ (ฆอง 7 ใบ) ตะโพน กลองตะโพน และเครื่องกํากับจังหวะ
รัชกาลท่ี 6
ไดมีการปรับปรุงวงปพาทยขึ้นมาอีกชนิดหนึ่ง โดยนําวงดนตรีของมอญมาผสมกับ
วงปพาทยของไทย ตอมาเรียกวงดนตรีผสมน้ีวา "วงปพาทยมอญ" โดยหลวงประดิษฐไพเราะ
(ศร ศิลปบรรเลง) เปนผูปรบั ปรุงข้นึ วงปพาทยม อญดังกลาวน้ี กม็ ีทงั้ วงปพ าทยม อญเคร่ืองหา เคร่ืองคู
และเครอื่ งใหญ เชนเดยี วกับวงปพาทยข องไทย และกลายเปนที่นิยมใชบรรเลงประโคม ในงานศพ มา
จนกระทัง่ บดั นี้ นอกจากน้ยี งั ไดม กี ารนําเครือ่ งดนตรขี องตางชาติ เขามาบรรเลงผสมกบั วงดนตรีไทย บาง
ชนิดก็นํามาดัดแปลงเปน เครื่องดนตรขี องไทย ทําใหรปู แบบของ วงดนตรีไทย เปลี่ยนแปลงพัฒนา ดังนี้
คอื
1. การนําเคร่อื งดนตรขี องชวา หรอื อนิ โดนีเซยี คือ "อังกะลุง" มาเผยแพรในเมืองไทยเปน
คร้งั แรก โดยหลวงประดษิ ฐไ พเราะ (ศร ศิลปบรรเลง) ท้งั น้โี ดยนาํ มาดัดแปลง ปรบั ปรุงขึ้นใหมใหมีเสียง
ครบ 7 เสียง (เดิมมี 5 เสียง) ปรับปรุงวิธีการเลน โดยถือเขยาคนละ 2 เสียง ทําใหเคร่ืองดนตรีชนิดนี้
กลายเปน เครือ่ งดนตรีไทยอีกอยางหนึ่ง เพราะคนไทยสามารถทําอังกะลุงไดเอง อีกท้ังวิธีการบรรเลงก็
เปน แบบเฉพาะของเรา แตกตา งไปจากของชวาโดยสนิ้ เชิง
2. การนําเคร่ืองดนตรขี องตางชาตเิ ขามาบรรเลงผสมในวงเครอ่ื งสาย ไดแก ขิมของจีน และ
ออรแ กนของฝร่ัง ทาํ ใหว งเครอื่ งสายพฒั นารูปแบบของวงไปอีกลกั ษณะหนึ่ง คือ "วงเครอื่ งสายผสม"
รชั กาลที่ 7
พระบาทสมเด็จพระปกเกลาเจาอยูหัว ไดทรงสนพระทัยทางดาน ดนตรีไทย มากเชนกัน
พระองคไ ดพ ระราชนพิ นธ เพลงไทยทไี่ พเราะไวถึง 3 เพลง คือ เพลงโหมโรงคล่ืนกระทบฝง 3 ช้ัน เพลง
เขมรลอยองค (เถา) และเพลงราตรีประดับดาว (เถา) พระองคและพระราชนิ ีไดโปรดให ครูดนตรเี ขา
ไปถวายการสอนดนตรีในวัง แตเปนที่นาเสียดาย ท่ีระยะเวลาแหงการครองราชยของพระองคไมนาน
เน่ืองมาจากมีการเปลี่ยนแปลงการปกครอง และพระองคทรงสละราชบลั ลงั ก หลังจากน้นั ได 2 ป มฉิ ะนั้น
แลว ดนตรีไทย ก็คงจะเจริญรุงเรืองมากในสมัยแหงพระองค อยางไรก็ตามดนตรีไทยในสมัยรัชกาลนี้
นับวาไดพฒั นารูปแบบ และลักษณะ มาจนกระทัง่ สมบูรณ เปน แบบแผนดงั เชน ในปจ จบุ นั นี้แลว ในสมัย
สมบูรณาญาสทิ ธิราชมีผูนิยมดนตรีไทยกันมาก และมีผูมีฝมือ ทางดนตรี ตลอดจน มีความคิดปรับปรุง
เปลยี่ นแปลง ใหพ ัฒนากา วหนา มาตามลาํ ดับ พระมหากษัตริย เจา นาย ตลอดจนขุนนางผใู หญ ไดใหความ
อุปถัมภ และทํานุบํารุงดนตรีไทย ในวังตาง ๆ มักจะมีวงดนตรีประจําวัง เชน วงวังบูรพา วงวังบางขุน
58
พรหม วงวงั บางคอแหลม และวงวังปลายเนิน เปนตน แตละวงตา งกข็ วนขวายหาครูดนตรี และนักดนตรี
ที่มีฝมือเขา มาประจาํ วง มกี ารฝกซอมกันอยูเนืองนิจ บางคร้ังก็มีการประกวดประชันกัน จึงทําใหดนตรี
ไทยเจรญิ เฟอ งฟูมาก ตอ มาภายหลงั การเปล่ยี นแปลงการปกครอง พ.ศ. 2475 เปนตนมา ดนตรีไทยเริ่มซบ
เซาลง อาจกลาวไดว า เปนสมัยหวั เลย้ี วหัวตอ ท่ี ดนตรไี ทย เกอื บจะถึงจดุ จบ เนอ่ื งจากรฐั บาลในสมัยหน่ึง
มนี โยบายทีเรียกวา "รัฐนิยม" ซึ่งนโยบายน้ี มีผลกระทบตอ ดนตรีไทย ดวย กลาวคือมีการหามบรรเลง
ดนตรีไทย เพราะเหน็ วา ไมสอดคลองกับการพฒั นาประเทศ ใหทดั เทียมกับอารยประเทศ ใครจะจัดใหมี
การบรรเลง ดนตรไี ทย ตอ งขออนญุ าต จากทางราชการกอน อกี ทงั้ นักดนตรีไทยกจ็ ะตองมีบตั รนกั ดนตรี
ที่ทางราชการออกให จนกระท่ังตอมาอีกหลายป เม่ือไดมี การส่ังยกเลิก "รัฐนิยม" ดังกลาวเสีย แตถึง
กระนน้ั กต็ าม ดนตรไี ทยก็ไมรุงเรอื งเทาแตก อ น ยังลมลุกคลุกคลาน มาจนกระท่ังบัดนี้ เนื่องจากวิถีชีวิต
และสังคมไทยเปล่ียนแปลงไปจากเดิม วัฒนธรรมทางดนตรีของตางชาติ ไดเขามามีบทบาทใน
ชีวติ ประจําวันของคนไทยเปนอันมาก ดนตรีที่เราไดยินไดฟง และไดเห็นกันทางวิทยุ โทรทัศน หรือที่
บรรเลงตามงานตาง ๆ โดยมากก็เปนดนตรีของตางชาติ หาใช "เสียงพาทย เสียงพิณ" ดังแตกอนไม
ถึงแมวา จะเปน ทีน่ ายินดที ่ีเราไดม โี อกาสฟง ดนตรีนานาชาตินานาชนิด แตถาดนตรีไทย ถูกทอดทิ้ง และ
ไมมีใครรูจักคุณคา ก็นับวาเสียดายที่จะตองสูญเสียสิ่งที่ดีงาม ซ่ึงเปนเอกลักษณของชาติอยางหน่ึงไป
ดงั นั้น จึงควรทค่ี นไทยทุกคนจะไดตระหนัก ถงึ คุณคาของ ดนตรีไทย และชวยกันทะนุบํารงุ สงเสรมิ และ
รกั ษาไว เพอื่ เปนมรดกทางวฒั นธรรมของชาตสิ ืบตอไป
ในยคุ รัตนโกสินทรจ ัดวา เปน ยคุ ทองยคุ หนงึ่ ของวงการดนตรไี ทยเลยทเี ดยี ว โดยเริ่มจากสมยั
รัตนโกสินทรตอนตน มีการประพนั ธเ พลง "ทางกรอ" ข้นึ เปน ครงั้ แรก ซึ่งเปนการพัฒนาการประพนั ธ
เพลงจากเดิมซ่งึ มีเพียงเพลงทางเก็บวงดนตรใี นยุคสมยั น้เี รมิ่ มีการแบงออกเปน สามประเภท ไดแ ก
วงเครอื่ งสาย ซ่งึ ประกอบดวยเคร่ืองดนตรที ่มี สี ายท้งั หลาย เชน ซอ จะเข เปน ตน
วงปพาทย ประกอบดว ยเครอ่ื งตีเปนสวนใหญ ไดแก ระนาด ฆอง และป เปน ตน
วงมโหรี เปนการรวมกนั ของวงเครือ่ งสายและวงปพาทย แตต ัดปออกเพราะเสยี งดงั กลบ
เสียงเครอ่ื งสายอนื่ หมด
ดนตรีไทยสวนใหญที่มีพัฒนาการมาอยางรวดเร็วลวนมาจากความนิยมของเจานายในราช
สํานกั ความนยิ มเหลา น้ีแพรไ ปจนถึงขนุ นางและผูดมี เี งนิ ท้ังหลาย ตางเห็นวาการมีวงดนตรีประจําตัวถือ
วาเปนสิ่งเชิดหนาชูตา จึงมีการสรรหานักดนตรีฝมือดีมาเลนในวงของตนเอง เกิดมีการประกวด
ประชัน และการแขง ขนั กนั พัฒนาฝมือขนึ้ โดยเฉพาะสมยั รัชกาลท่ี 5 - 7 จดั วา เปนยคุ ท่วี งการดนตรไี ทย
ถงึ จดุ รุงเรอื งสุด สมยั รตั นโกสนิ ทรตอนตนมีความนิยมในการเลนและการฟง วงเครือ่ งสายและมโหรีกัน
มาก เพราะมคี วามน่มิ นวล เหมาะแกก ารฟง ขณะรับแขก รบั ประทานอาหาร หรือกลอมเขานอน เจานาย
และขา ราชการผูใหญต า งมคี วามสนใจเลนเครื่องสายกนั มาก อาทิเชน พระเจาอยูหัวรัชกาลท่ี 2 ทรงพระ
59
ปรชี าสามารถดา นซอสามสาย ทรงมซี อคพู ระหัตถช ่ือ ซอสายฟาฟาด ทรงโปรดซอสามสายมาก ถึงกับมี
พระบรมราชโองการใหออก "ตราภูมิคุมหาม" ใหแกเจาของสวนที่มีตนมะพราวซอ (มะพราวท่ีกะลา
สามารถนําไปทําซอได ปจจุบันนี้หายากมากและมีราคาแพงมาก กะลาราคาลูกละ 400 - 300,000
บาท) ซ่ึงจะเปน การยกเวนไมใหเก็บภาษีแกผูมีมะพราวซอนอกจากน้ี พระองคยังพระราชนิพนธเพลง
ไทยชอื่ บุหลันลอยเลอ่ื น ซึ่งมที ่ีมาจากพระสุบนิ นิมติ ของพระองคเ องดวย ตอ มาในยุคหลัง เร่มิ มีการนยิ ม
ฟงการขับเสภา ในยุคนั้นคือเรื่องขุนชางขุนแผน แรก ๆ ก็ขับเสภาเด่ียว ๆ หลัง ๆ มา ก็เร่ิมมีการนําเอา
ดนตรี "ปพาทย" เขา มารวมในการขับเสภาดว ย เพอ่ื ใหน กั ขับเสภาไดพักเสียงเปนระยะ หนักเขาคงเห็น
กันวาปพาทยน าฟง กวาจงึ ไมฟงเสภาเลย ตัดนกั ขับเสภาออกเหลือแตวงปพาทย ความนิยมในวงปพาทย
จึงมมี ากขึน้ และเขา มาแทนทวี่ งมโหรีและเครือ่ งสาย
ในยุคสมัยนั้นเจานายและขาราชการผูใหญตางเห็นกันวาการมีวงปพาทยชั้นดีเปนของประดับ
บารมชี ้ันเย่ยี ม จึงไดมกี ารหานกั ดนตรจี ากท่วั ทุกสารทศิ มาอยูในวงของตนเอง และมีการนําเอาวงดนตรี
มาประกวดประชนั กนั อยา งทเี่ ราไดด ูในภาพยนตรเรื่อง "โหมโรง" ในสมัยรัชกาลท่ี 6 มีการกําหนดราช
ทินนามของนักดนตรีทร่ี บั ราชการในราชสํานักเปนจํานวนมาก โดยแตละช่ือก็ตั้งใหคลองจองกันอยาง
ไพเราะ ไดแก ประสานดรุ ิยศพั ท ประดบั ดุรยิ กิจ ประดิษฐไพเราะ เสนาะดุริยางค สําอางดนตรี ศรีวาทิต
สทิ ธวิ าทนิ พิณบรรเลงราช พาทยบ รรเลงรมย ประสมสังคีต ประณตี วรศัพท คนธรรพวาที ดนตรีบรรเลง
เพลงไพเราะ เพราะสําเนยี ง เสียงเสนาะกรรณ สรรเพลงสรวง พวงสาํ เนียงรอ ย สรอ ยสําเนียงสนธ วิมลเรา
ใจ พไิ รรมยา วีณาประจินต วีนินประณีต สังคีตศัพทเสนาะ สังเคราะหศัพทสอางค ดุริยางคเจนจังหวะ
ดุริยะเจนใจ ประไพเพลงประสม ประคมเพลงประสาน ชาญเชิงระนาด ฉลาดฆองวง บรรจงทุมเลิศ
บรรเจิดปเ สนาะ ไพเราะเสยี งซอ คลอขลมุ คลอ ง วอ งจะเขร บั ขบั คําหวาน ตันตริการเจนจิต ตนั ตรกิ จิ ปรีชา
นารถประสาทศัพท คนธรรพประสิทธิ์สาร พูดถึงหนังเรื่องโหมโรงแลวจะพลาดการพูดถึงนักดนตรี
สําคัญทานหนึ่งแหงกรุงรัตนโกสินทรไปเปนไมได ทานก็คือ หลวงประดิษฐไพเราะ (ศร ศิลป
บรรเลง) เพราะชีวประวัติของทานเปนแรงบันดาลใจใหผูสรางสรางหนังเร่ืองน้ีขึ้นมา หลวงประดิษฐ
ไพเราะเปนนักดนตรีทม่ี ีความสามารถท้ังปพ าทยแ ละเครอ่ื งสาย เปน ผปู ระพันธเ พลงไทยหลายเพลง เชน
แสนคาํ นงึ นกเขาขะแมร ลาวเสีย่ งเทียน ฯลฯ ช่ือเพลงเหลานี้อาจจะไมคุนหูนัก แตหาไดลองฟงแลวจะ
จําไดทันที เพราะนักดนตรีสากลรุนหลังมักนําทํานองเพลงเหลาน้ีมาประพันธเปนเพลงไทย
สากล นอกจากน้ี ทานยังเปน ผูประดษิ ฐเ ครอื่ งดนตรี "อังกะลุง" โดยดัดแปลงมาจากเครือ่ งดนตรีพ้ืนบาน
ของอนิ โดนเี ซยี อกี ดวย
60
หลวงประดิษฐไพเราะ (ศร ศลิ ปบรรเลง)
มคี ํากลา ววายคุ ทองของดนตรีไทยหมดไปพรอ มกับยคุ ของทา นหลวงประดิษฐไพเราะ
คาํ กลา วนีเ้ หน็ จะไมไกลเกินจริง เพราะในยุคหลังการเปล่ียนแปลงการปกครอง ในชวงสงครามโลกครง้ั ทส่ี อง
รฐั บาลไทยในยคุ ทา นจอมพล ป. พิบูลสงคราม ไดมนี โยบายสรางชาติใหเ ปน อารยะ โดยตองการสงเสริมให
ดนตรไี ทยมแี บบแผน เปน อันหน่งึ อนั เดยี วกนั และดทู ัดเทียมชาติตะวันตก จงึ ไดมีการควบคมุ ใหน กั ดนตรี
และศลิ ปะพนื้ บา นอน่ื ๆ ตองมีการสอบใบอนุญาตเลนดนตรเี พอ่ื ประกันมาตรฐานใหเ ปน ระบบเดยี วกัน มี
การออกขอ บงั คบั ใหต อ งเลนดนตรีบนเกา อ้ี หามนง่ั เลน กับพน้ื ฯลฯ ซึง่ ในทางปฏิบัตแิ ลวเกิดปญหา
มาก เนื่องจากการเลนดนตรีไทยเกดิ จากการสั่งสมรูปแบบแนวทางการเลน แตล ะสายตระกูลแตล ะครูไม
เหมอื นกัน ไมอาจถือไดว าใครผดิ ใครถกู อีกทง้ั ขอ หามหลายอยา งก็ขัดตอวิถีชีวติ โดยเฉพาะบตั รอนุญาต
เลน ดนตรี ทาํ ใหผ ูท ่ไี มใ ชน กั ดนตรีอาชพี เดือดรอนมากจากการทีไ่ มสามารถเลน ดนตรียามวางไดเ หมือนเคย
ประกอบกบั แนวคดิ ของคนรนุ ใหมท่ีสนใจวัฒนธรรมตา งชาติมากกวา โดยมองวาการเลน ดนตรไี ทยเปนสิ่ง
ลา สมัยและตอ งหามเหตกุ ารณน ้ที านหลวงประดิษฐไ พเราะไมพ อใจมาก แตไมสามารถแสดงออกได ทําได
เพียงประพนั ธเ พลง ชอ่ื "แสนคํานึง เถา" ซงึ่ มที ว งทํานองสว นสามช้นั แสดงถงึ ความอัดอน้ั ตนั ใจ พรอ มเนอ้ื
รองเปน เนือ้ หาตอวารฐั บาลในยคุ นนั้ เก่ยี วกบั การควบคมุ ศิลปะ แตผ ูใ กลช ิดของทา นเกรงวาทา นจะไดร ับ
อันตรายจากการโจมตีรัฐบาล จงึ ไดท าํ ลายตน ฉบบั เนอื้ รอง และประพันธเ น้ือรอ งขึน้ ใหมเปนเพลงรกั แทน
และไมมีใครทราบถงึ เน้อื หาตน ฉบับเนอ้ื รอ งเดมิ อกี เลย จรงิ ๆแลวมคี นเขา ใจผดิ กันเยอะ วาทานจอม
พล ป. พิบูลสงครามละเลยศิลปะวฒั นธรรมของชาติ พยายามกีดกนั ดนตรีไทย แตแ ททีจ่ ริงแลว ทา นจอมพลฯ
เปน ผูทม่ี คี วามรักและสนใจในดนตรไี ทยในระดับหนึง่ เคยปรากฏวา ทา นนยิ มฟง ดนตรไี ทย และเคยบริจาค
เงินสวนตวั จาํ นวนมากเพอื่ ดนตรไี ทยดว ย เจตนารมณข องการควบคมุ ดนตรีไทยของทานจงึ มีท่ีมาจากเจตนา
61
ดที ตี่ อ งการใหดนตรีไทยมรี ะบบระเบียบแบบแผนเทยี บเทาของตะวนั ตก แตผ ลกลับเปน ไปในทิศทาง
ตรงกนั ขา ม ดนตรไี ทยกลบั ถงึ จดุ ตกตา่ํ จนถงึ ทุกวันน้ี แมจ ะมกี ารพยายามใหประชาชนเขา ถงึ ดนตรีไทย
แลว ดนตรไี ทยยงั กลับเปน เพยี งดนตรีทีใ่ ชใ นพธิ ี เปน เรอ่ื งของแบบแผน เปนของเฉพาะกลุม ไมสามารถ
เขา ใจได ไมส ามารถเขา ถึงได จรงิ ๆแลว ทกุ คนสามารถเขา ถึงและซึมซาบความไพเราะของดนตรไี ทยได เทา
ๆ กบั ทเ่ี ราสามารถซึมซาบความไพเราะของเพลงไทยสากลท่ีเราฟงกนั อยทู ุกวัน
เรอื่ งที่ 2 เทคนิคและวิธีการเลนของเครื่องดนตรไี ทย
การเทียบเสยี งซออู
ใชข ลยุ เพยี งออเปา เสยี ง ซอล โดยปดมือบนและน้ิวคาํ้ เปาลมกลางๆ จะไดเสยี ง ซอล เพอื่ เทยี บเสียง
สายเอก สวนสายทมุ ใหป ดมอื ลางหมด จนถงึ นว้ิ กอ ย เปา ลมเบา กจ็ ะไดเสยี ง โด ตามตองการ เพอ่ื เทียบ
เสียงสายทมุ ใหตรงกบั เสยี งนั้น
การนง่ั สีซอ
นั่งขดั สมาธบิ นพ้นื หากเปนสตรใี หนัง่ พบั เพยี บขาขวาทบั ขาซาย วางกะโหลกซอไวบ นขาพับ
ดานซาย มือซายจบั คนั ซอใหตรงกับท่มี เี ชือกรัดอก ใหตํ่ากวาเชือกรดั อกประมาณ 1 น้ิว สว นมือขวาจับคนั
สี โดยแบงคนั สอี อกเปน 5 สวน แลวจบั ตรง 3 สว นใหค ันสีพาดไปบนนิ้วชี้ และนวิ้ กลางในลักษณะหงาย
มือ สวนนว้ิ หวั แมม ือ ใชกํากบั คนั สโี ดยกดลงบนนวิ้ ชี้ นิ้วนางและนิว้ กอยใหง อติดกนั เพือ่ ทําหนา ท่ดี ันคัน
ชักออกเมือ่ จะสสี ายเอก และ ดงึ เขาเมื่อจะสีสายทุม
การสีซอ
วางคนั สใี หช ดิ ดา นใน ใหอ ยูในลกั ษณะเตรยี มชักออก แลว ลากคนั สอี อกชา ๆ ดวยการใชว ิธสี อี อก
ลากคันสใี หส ุด แลว เปลี่ยนเปนสีเขา ในสายเดยี วกนั ทาํ เรื่อยไปจนกวา จะคลอง พอคลอ งดีแลว ใหเปลย่ี น
มาเปนสีสายเอก โดยดันนว้ิ นางกบั นว้ิ กอ ยออกไปเล็กนอ ย ซอจะเปล่ยี นเปน เสียง ซอล ทันที ดังนค้ี ันสี
ออก เขา ออก เขา เสียง โด โด ซอล ซอล ฝก เรื่อยไปจนเกดิ ความชาํ นาญ
ขอ ควรระวัง ตองวางซอใหต รง โดยใชม อื ซา ยจบั ซอใหพอเหมาะ อยา ใหแ นนเกนิ ไป อยาใหห ลวม
จนเกนิ ไป ขอมอื ทจ่ี ับซอตอ งทอดลงไปใหพ อดี ขณะน่งั สยี ืดอกพอสมควร อยา ใหหลงั โกง ได มอื ท่คี ีบซอ
ใหออกกําลงั พอสมควรอยา ใหซอพลกิ ไปมา
62
การเทยี บเสยี งซอดวง
ใชข ลยุ เพยี งออเปา เสยี ง ซอล โดยการปด มอื บน และ นิว้ คํ้า เปา ลมกลางๆ กจ็ ะไดเสียง ซอล ขนึ้ สาย
ทุมของซอดว ง ใหตรงกบั เสียงซอลนี้ ตอ ไปเปนเสยี งสายเอก ใชข ลุยเปา เสียง เร โดยปด น้ิวตอ ไปอีก 3 นิ้ว
เปาดวยลมแรง กจ็ ะได เสียง เร ข้ึนสายเอกใหตรงกบั เสียง เร นี้
การนัง่ สซี อ
นั่งพบั เพียบบนพ้ืน จบั คันซอดวยมอื ซาย ใหไดก ึ่งกลางต่ํากวารดั อกลงมาเล็กนอย ใหซอเอนออก
จากตวั นดิ หนอ ย คนั ซออยใู นอุงมือซาย ตัวกระบอกซอวางไวบนขา ใหตัวกระบอกซออยูในตําแหนงขอ
พับตดิ กบั ลาํ ตวั มอื ขวาจับคันสดี ว ยการแบงคนั สใี หได 5 สว น แลว จงึ จบั สวนที่ 3 ขางทา ย ใหคนั สีพาดไป
บนมอื นิว้ ชี้ นว้ิ กลางเปน สวนรบั คันสี ใชน ิว้ หวั แมมือกดกระชบั ไว นวิ้ นางกบั น้ิวกอยงอไวสว นใน ซง่ึ จะ
เปนประโยชนใ นการดนั คันสีออกมาหาสายเอก และ ดึงเขาเมอื่ ตองการสสี ายทมุ
การสีซอ
วางคันสไี วด านใน ใหอ ยใู นลกั ษณะเตรียมชกั ออก คอ ย ๆ ลากคันสีออกใหเกดิ เสียง ซอล จนสุดคัน
ชัก แลว เปล่ยี นเปน สเี ขา ในสายเดียวกัน (ทาํ เรือ่ ยไปจนกวา จะคลอง) พอซอมสายในคลองดีแลว จึงเปลี่ยน
มาสสี ายเอกซึ่งเปน เสียง เร โดยการใชน ้วิ นางกับนวิ้ กอ ยมอื ขวา ดันคนั สีออก ปฏบิ ตั จิ นคลอ งฝก สลบั ให
เกิดเสียงดังน้ี คนั สี ออก เขา ออก เขา เสยี ง ซอล ซอล เร เร
ขอ ควรระวงั ตองวางซอใหตรง โดยใชข อ มอื ซายควบคมุ อยาใหซอบดิ ไปมา
63
เครอ่ื งดดี
จะเข
เปนเคร่ืองดนตรปี ระเภทดดี มี 3 สาย เขา ใจวาไดป รบั ปรุงแกไ ขมาจากพณิ นํามาวางดีดกับพื้นเพ่ือ
ความสะดวก จะเขไดนําเขารวมบรรเลงอยูในวงมโหรีคูกับกระจับปในสมัยรัชกาลท่ี 2 แหงกรุง
รัตนโกสินทร มีผูนิยมเลนจะเขกันมาก ตัวจะเขทําเปน สองตอน คือตอนหัวและตอนหางตอนหัวเปน
กระพงุ ใหญ ทําดวยไมแกนขนุน ทอนหัวและทอนหางขุดเปนโพรงตลอด ปดใตทองดวยแผนไม มีเทา
รองตอนหัว 4 เทา และตอนปลายอีก 1 เทาทําหลังนูนตรงกลาง ใหส องขางลาดลง โยงสายจากตอนหัวไป
ทางตอนหางเปน 3 สาย มลี ูกบดิ ประจาํ สายละ 1 อัน สาย 1 ใชเสนลวดทองเหลือง อีก 2 สายใชเสนเอ็น มี
หยอ งรับสายอยูตรงปลายหาง กอนจะถึงลกู บดิ ระหวา งตวั จะเขมีแปนไมเรียกวา “นม” รองรับสายติดไว
บนหลงั จะเข รวมทั้งสิน้ 11 อัน เพ่ือไวเ ปน ทสี่ ําหรบั นว้ิ กดนมแตละอันสูง เรียงลําดับขึ้นไป เวลาบรรเลง
ใชด ดี ดว ยไมด ีดกลมปลายแหลมทาํ ดว ยงาชางหรอื กระดูกสัตว เคยี นดวย เสนดายสําหรับพันติดกับปลาย
น้ิวชี้ขางขวาของผูดีด และใชนิ้วหัวแมมือ กับนิ้วกลางชวยจับใหมีกําลัง เวลาแกวงมือสายไปมา ให
สมั พันธ กับมอื ขางซายขณะกดสายดว ย
ซงึ
เปนเครอื่ งดนตรชี นดิ ดีด มี 4 สาย เชน เดียวกบั กระจบั ป แตม ีขนาดเล็กกวา กะโหลกมีรปู รา ง
กลม ทง้ั กะโหลกและคันทวน ใชไ มเ น้อื แขง็ ชิน้ เดยี วควาน ตอนทเ่ี ปนกะโหลกใหเ ปนโพรงตัดแผน ไมใ ห
กลม แลว เจาะรตู รงกลางทาํ เปนฝาปดดา นหนา เพื่ออมุ เสยี งใหกงั วาน คันทวนนาํ เปนเหลย่ี มแบนตอน
หนา เพ่ือตดิ ตะพานหรอื นมรบั น้ิว จํานวน 9 อนั ตอนปลายคนั ทวนทาํ เปนรปู โคง และขดุ ใหเ ปนรอง เจาะ
รูสอดลูกบิดขา งละ 2 อัน รวมเปน 4 อันสอดเขาไปในรอง สาํ หรับขนึ้ สาย
4 สาย สายของซงึ ใชส ายลวดขนาดเล็ก 2 สาย และ สายใหญ 2 สาย ซึงเปน เครอื่ งดีดท่ีชาวไทยทาง
ภาคเหนอื นยิ มนํามา เลน รว มกบั ปซ อ และ สะลอ
64
พิณเปยะ
พิณเปย ะ หรอื พณิ เพียะ เปน เคร่อื งดนตรีพน้ื เมอื งลา นนาชนดิ หน่งึ เปน เคร่ืองดนตรปี ระเภทดีด มี
คนั ทวน ตอนปลายคนั ทวนทําดวยเหลก็ รปู หวั ชา งทองเหลือง สําหรบั ใชเ ปนที่พาดสาย ใชสายทองเหลือง
เปน พืน้ สายทองเหลืองน้จี ะพาดผา นสลกั ตรงกะลาแลวตอ ไปผกู กบั สลักตรงดานซาย สายของพิณเปย ะมี
ทงั้ 2 สายและ 4 สาย กะโหลกของพิณเปยะทาํ ดวยเปลือกน้ําเตา ตดั คร่งึ หรอื กะลามะพรา ว ก็ได เวลาดดี ใช
กะโหลกประกบตดิ กับหนา อก ขยบั เปด ปด ใหเ กดิ เสียงตามตอ งการ ในสมัยกอ นชาวเหนือมักจะใชพ ณิ
เปยะดีดคลอกบั การขับ ลาํ นาํ ในขณะที่ไปเกี้ยวสาว
65
เครอื่ งสี
ซอดว ง
เปนซอสองสาย กะโหลกของซอดว งนน้ั แตเดมิ ใชก ระบอกไมไผ กะโหลกของซอดว งนี้ ใน
ปจจบุ ันใชไมจ รงิ หรือ งาชางทํากไ็ ด แตท นี่ ยิ มวา เสยี งดนี นั้ กะโหลกซอดว งตองทําดว ยไมล าํ เจยี ก สว น
หนาซอนิยมใชห นงั งเู หลอื มขงึ เพราะทาํ ใหเ กดิ เสยี งแกวเกดิ ความไพเราะอยางย่ิง ลกั ษณะของซอดวง มี
รปู รา งเหมอื นกับซอของจีนที่เรียกวา “ฮู – ฉนิ “ (Huchin) ทกุ อยา ง เหตุท่เี รียกวา ซอดวง กเ็ พราะมีรูปราง
คลายเครอ่ื งดกั สตั ว กระบอก ไมไ ผเ หมือนกนั
ซออู
เปน ซอสองสาย ตัวกะโหลกทําดว ยกะลามะพรา ว คนั ทวนซออนู ี้ ยาวประมาณ 79 ซม. ใชส ายซอ
สองสายผกู ปลายทวนใตก ะโหลก แลว พาดผานหนาซอ ขนึ้ ไปผูกไวก บั ลกู บดิ สองอัน โดยเจาะรคู ันทวน
ดา นบน แลวสอดลกู บิดใหทะลผุ านคนั ทวนออกมา และใชเ ชอื กผูกรงั้ กบั ทวนตรงกลางเปน รดั อก เพือ่ ให
สายซอตงึ และสําหรับเปน ทกี่ ดสายใตรดั อกเวลาสี สว นคนั สขี องซออูนั้น
ทาํ ดว ย ไมจ รงิ ใชข นหางมา ตรงหนาซอใชผ ามวนกลมๆ เพื่อทําหนาทเี่ ปน หมอนหนนุ สายใหพ น หนา ซอ
ดานหลงั ของซออมู ีรูปรา งคลายๆกบั ซอของจนี ที่เรียกวา ฮู – ฮู ( Hu-hu ) เหตทุ เี่ รยี กวา ซออูกเ็ พราะ เรยี ก
ตามเสียงที่ไดย ินนั่นเอง
66
สะลอ
สะลอ เปน เครอื่ งดนตรพี นื้ เมืองลา นนาชนิดหนงึ่ เปน ประเภทเครอ่ื งสซี ง่ึ มที ้ัง 2 สาย และ
3 สาย คันชักสาํ หรับสีจะอยขู างนอกเหมอื นคนั ชักซอสามสาย สะลอ เรยี กอกี อยา งหน่ึงวา ทรอ หรอื ซะลอ
ใชไ มแ ผน บางๆปดปากกะลาทําหลกั ท่หี วั สําหรบั พาดทองเหลอื ง ดา นหลังกะโหลกเจาะเปนรปู ลวดลาย
ตา งๆสว นดา นลา งของกะโหลก เจาะทะลลุ ง ขา งลาง เพือ่ สอดคนั ทวนทีท่ ําดว ยไมชิงชนั ตรงกลางคนั ทวน
มรี ดั อกทําดว ยหวายปลายคนั ทวน ดานบนเจาะรสู าํ หรบั สอดลูกบิด ซงึ่ มี 2 หรือ
3 อัน สําหรับขึงสายซอ จากปลายลกู บิดลงมาถงึ ดา นกลางของกะโหลกมีหยอ งสําหรบั หนนุ สาย
สะลอ เพื่อใหเ กดิ เสยี งเวลาสี คันชักสะลอ ทําดว ยไมดดั เปน รูป โคง ขึงดว ยหางมา หรอื พลาสตกิ
เวลาสใี ชย างสนถูทาํ ใหเ กิดเสยี งได สะลอใชบ รรเลงประกอบการแสดงหรือบรรเลงรวมกบั บทรอ งและ
ทาํ นองเพลงไดทุกชนิดเชน เขากบั ปใ นวงชา งซอ เขากบั ซงึ ในวงพนื้ เมือง หรือใชเ ดย่ี วคลอรอง
กไ็ ด
ซอสามสาย
ซอสามสาย ปรากฏหลกั ฐานจากจดหมายเหตุ ลาลแู บร ท่บี ันทึกไววา “….ชาวสยามมีเครื่อง
ดุริยางคเล็กๆ นาเกลียดมาก มีสามสายเรยี กวา “ซอ” ….” ซึง่ ชใี้ หเ หน็ วาในสมยั กรงุ ศรีอยุธยาหรือกอ นนนั้
มซี อสามสายและนยิ มเลนกัน ยุคตนของกรงุ รตั นโกสนิ ทร ในสมัยของพระบาทสมเดจ็
พระพุทธเลิศหลานภาลยั รัชกาลที่ 2 พระองคทา นยังโปรดทรงซอสามสายเปนอยา งยง่ิ จงึ ทําใหพ ระองค
ทานไดประดษิ ฐค ดิ สรางซอสามสายไดดวยความประณตี งดงาม และเปนแบบอยางมาจนถึงปจจุบันนี้
สว นตา งๆของซอสามสายมีชอ่ื เรยี กดงั น้ี
(1) ทวนบน เปนสว นบนสุดของคนั ซอ ควานดา นในใหเ ปน โพรงโดยตลอด ดานบนสดุ มรี ปู รา ง
เปน ทรงเทรดิ ดา นหนา ตรงปลายทวนตอนลา ง ทวนบนน้ที าํ หนาท่คี ลา ยๆกบั ทอ อากาศ (Air column) ให
เสยี งทเี่ กดิ จากกะโหลกเปน ความถข่ี องเสียง แลวลอดผานออกมา ทางทวนบนน้ไี ด
(2) ทวนลา ง ทําเปนรปู ทรงกระบอก และประดษิ ฐล วดลายสวยงาม และเรียกทวนลางนว้ี า ทวน
เงิน ทวนทอง ทวนมกุ ทวนลงยา เปนตน ทวนลาง ทาํ หนา ท่เี ปน ตาํ แหนงสําหรับกดนิ้ว ลงบนสายใน
ตาํ แหนง ตา งๆ
(3) พรมบน คอื สวนท่ตี อจากทวนลา งลงมา สว นบนกลงึ เปนลูกแกว สว นตอนลางทําเปนรปู ปาก
ชา งเพ่อื ประกบกับกะโหลกซอ
(4) พรมลาง สว นท่ปี ระกบกบั กะโหลกซอทําเปนรปู ปากชา ง เชน เดียวกับสว นลา งของ
พรมบน ตรงกลางของพรมลางเจาะรูดา นบนเพือ่ ใชสาํ หรบั เปน ที่รอ ย”หนวดพราหมณ” เพ่ือคลอ งกบั สาย
ซอทงั้ สามสายและเหนยี่ วรง้ั ใหต งึ ตรงสว นปลายสดุ ของพรมลา งกลงึ เปน “เกลียวเจดยี ย อด
(5) ถว งหนา ควบคมุ ความถีข่ องเสยี ง ทําใหมเี สยี งนมุ นวลไพเราะ นา ฟง ย่ิงขึน้
67
(6 ) หยอ ง ทาํ ดว ยไมไ ผ แกะใหเปน ลกั ษณะคู ปลายทั้งสองของหยอ งควา นเปน เบาขนมครก
เพื่อทาํ ใหเสียง ท่ีเกิดขน้ึ สง ผานไปยงั หนา ซอมีความกงั วานมากยิ่งขน้ึ
(7) คนั สี (คันชกั ) คันสีของซอสามสาย ประกอบดว ยไมและหางมา คันสนี นั้ เหลาเปนรปู คันศร
โดยมากนยิ มใชไมแกว เพราะเปน ไมเ นอ้ื แข็ง และมีลวดลายงดงาม
เคร่อื งตี
ระนาดเอก
วิวฒั นาการมาจากกรบั ลูกระนาดทาํ ดว ยไมไ ผบ ง หรือไมแ กน โดยนาํ มาเหลาใหไดตามขนาดที่
ตอ งการ แลว ทาํ รางเพ่ืออุมเสยงเปนรูปคลา ยลาํ เรอื ใหห ัวและทายโคงขึ้น เรยี กวา รางระนาด แผน ไมทีป่ ด
หวั ทา ยรางระนาดเราเรียกวา “โขน” ระนาดเอกในปจ จบุ นั มีจาํ นวน 21 ลูก มคี วามยาวประมาณ 120 ซม. มี
เทา รอง รางเปนเทา เดย่ี ว รูปคลา ยกบั พานแวน ฟา
ระนาดทมุ
เปนเครือ่ งดนตรีท่ีสรางขนึ้ มาในรชั กาลท่ี 3 แหง กรุงรตั นโกสินทร เปน การสรางเลยี นแบบระนาด
เอก รางระนาดทุมนั้นประดิษฐใ หมรี ูปรางคลายหีบไม แตเ วาตรงกลางใหโ คง โขนปด หวั ทายเพื่อ เปนที่
แขวนผืนระนาดน้ัน ถาหากวัดจากโขนดา นหนงึ่ ไปยงั โขนอกี ดา นหนึ่ง รางระนาดทมุ จะมขี นาดยาว
ประมาณ 124 ซม. ปาก รางกวางประมาณ 22 ซม. มีเทาเต้ยี ๆรองไว 4 มุมราง
ระนาดเอกเหลก็ หรอื ระนาดทอง
ระนาดเอกเหลก็ เปน เคร่ืองดนตรที ป่ี ระดษิ ฐขนึ้ ในรัชกาลที่ 4 แหงกรงุ รตั นโกสนิ ทร แตเดมิ ลกู
ระนาดทาํ ดว ยทองเหลือง จึงเรยี กกนั วา ระนาดทอง ระนาดเอกเหลก็ มีขนาด 23.5 ซม. กวา งประมาณ 5
ซม. ลดหล่นั
68
ขึน้ ไปจนถงึ ลูกยอดที่มขี นาด 19 ซม. กวา งประมาณ 4 ซม. รางของระนาดเอกเหลก็ นั้น ทําเปน รูปสเ่ี หลย่ี ม
มีเทา รองรบั ไวท ง้ั 4 ดาน
ระนาดทุมเหลก็
ระนาดทุมเหลก็ เปนเครอ่ื งดนตรีทีพ่ ระบาทสมเด็จพระปนเกลา เจาอยูหัว ในรชั กาลท่ี 4 มี
พระราชดํารใิ หสรางข้ึน ระนาดทุม เหล็กมจี ํานวน 16 หรือ 17 ลูก ตวั รางระนาดยาวประมาณ 1 เมตร ปาก
ราง กวางประมาณ 20 ซม. มเี ทา รองตดิ ลูกลอ 4 เทา เพอ่ื ใหเ คลอ่ื นที่ไปมาไดสะดวก ตัวรางสงู จากพื้นถงึ
ขอบบนประมาณ 26 ซม. ระนาด ทุกชนิดที่กลา วมานน้ั จะใชไ มต ี 2 อัน สาํ หรบั ระนาดเอกทาํ ไมต ีเปน 2
ชนิด ชนดิ หนึง่ ทาํ หัวไมตใี หแขง็ เมือ่ ตจี ะมีเสยี งดงั เกรยี วกราว เมื่อนําเขา ผสมวงจะเรยี กวา “วงปพ าทยไม
แข็ง” อีกชนิดหนึ่ง ซง่ึ เกดิ ขนึ้ ในสมัยรัชกาลที่ 5 ประดิษฐไมต ีใหอ อนนมุ เม่อื ตีจะเกิด เสยี งนุมนวล เวลา
นําระนาดเอกทใี่ ชไมต ีชนดิ นม้ี าผสมวง จะเรียกวา “วงปพ าทยไมน วม”
ลกั ษณะไมต ีระนาดมดี ังนี้
(1) ไมแขง็ ปลายไมระนาด พอกดว ยผาชบุ นํ้ารกั จนแขง็
(2) ไมนวม ปลายไมร ะนาด ใชผา พันแลวถกั ดว ยดายจนนมุ
(3) ไมต รี ะนาดทมุ ปลายไมร ะนาด ใชผาพนั พอกใหโ ต และนมุ เพ่ือตใี หเ กดิ เสยี งทุม
(4) ไมต รี ะนาดเหลก็ ปลายไมต ที ําดวยแผนหนังดิบ ตัดเปน วงกลมเจาะรูตรงกลาง แลวเอา
ไมเปน ดา มสาํ หรบั ถือมขี นาดใหญก วาไมตีระนาดเอกธรรมดา
(5) ไมตรี ะนาดทุม เหล็ก ทําลกั ษณะเดียวกบั ไมต ฆี อ งวง แตป ลายไมพันดว ยหนงั ดบิ เพ่อื ให
แขง็ เวลาตี จะเกดิ เสียงได
69
เครื่องเปา
ขลยุ
ทําดว ยไมไ ผป ลอ งยาวๆ ไวข อ ทางปลายแตเ จาะขอ ทะลุ ยา งไฟใหแ หง แลวตบแตง ผวิ ให ไหม
เกรียมเปนลวดลายสวยงาม ดานหนาเจาะรกู ลม ๆ เรยี งแถวกนั 7 รู สําหรับน้วิ ปด เปด เสยี ง ขลุยไมม ลี น้ิ
เหมอื นป แตเ ขาใชไมอุดเต็มปลอ ง แลว ปาดดานลา งใหมชี อ ง ไมอุดนเ้ี รยี กวา “ดาก” ทาํ ดว ย
ไมส ัก ดา นหลงั ใตด ากลงมา เจาะรูเปนรปู สเี่ หลย่ี มผนื ผา แตป าดตอนลางเปน ทางเฉยี งไมเ จาะ ทะลุตรง
เหมือนรดู านหนา รทู ่ีเปน รูปสเี่ หล่ียมผนื ผาน้ี เรียกวา “รปู ากนกแกว ” ใตร ปู ากนกแกว ลงมา
เจาะรอู ีก 1 รู เรียกวา “รนู ้วิ คํ้า” เหนอื รูน้วิ คา้ํ ดา น หลัง และเหนอื รบู นของรดู า นหนาทั้งเจด็ รู แตอ ยทู าง
ดา นขวา เจาะรอู กี รหู นง่ึ เรยี กวา “รูเยือ่ ” เพราะแตกอ นจะใชเ ย่ือไมไผป ด รูนี้ตอมากไ็ มค อยไดใ ช ตรงปลาย
เลาขลุยจะเจาะรูใหซ ายขวา ตรงกนั เพอ่ื รอ ยเชอื ก เรยี กวา “รูรอ ยเชือก” ดังน้ัน จะสังเกตวา ขลุย 1 เลา จะมี
รูท้งั สนิ้ 14 รู
ขลุย มีทง้ั หมด 3 ชนิดคอื
(1) ขลยุ หลีบ มีขนาดเลก็
(2) ขลยุ เพียงออ มขี นาดกลาง
(3) ขลุยอู มีขนาดใหญ
ตอ มามผี ูสรางขลยุ กรวดขน้ึ มาอกี ชนดิ หน่ึง มเี สียงสูงกวาขลยุ เพียงออ 1 เสยี ง
ขลยุ กรวดใชก บั วงเครอ่ื งสายผสมท่นี ําเอาเคร่ืองดนตรฝี รั่ง มาเลนรว มวง
70
ป
ป เปนเคร่ืองดนตรไี ทยแท ๆ ทาํ ดวยไมจ ริง กลงึ ใหเ ปนรปู บานหวั บานทาย ตรงกลางปอง เจาะ
ภายในใหก ลวงตลอดเลา ทางหัวของปเ ปน ชอ งรูเล็กสว นทาง ปลายของป ปากรใู หญใชช นั หรอื วสั ดอุ ยาง
อน่ื มาหลอ เสรมิ ขน้ึ อกี ราวขางละ ครึง่ ซม. สว นหวั เรียก “ทวนบน” สว นทายเรียก”ทวนลาง” ตอนกลาง
ของป เจาะรนู ิ้วสาํ หรบั เปล่ยี นเสยี งลงมาจาํ นวน 6 รู รตู อนบนเจาะเรยี งลงมา 4 รู เจาะรลู า งอกี 2 รู ตรง
กลางของเลาป กลึงขว้ันเปน เกลยี วคูไ วเปนจํานวน 14 คู เพือ่ ความสวยงามและกนั ลืน่ อกี ดว ย ตรงทวนบน
นัน้ ใสลิ้นปท่ที าํ ดว ย ใบตาลซอ นกนั 4 ชั้น ตดั ใหก ลมแลว นําไปผูกตดิ กับทอลมเล็กๆท่ี เรียกวา “กําพวด”
กําพวดน้ีทําดว ยทองเหลือง เงนิ นาค หรอื โลหะอยางอื่นวธิ ีผูกเชือกเพอ่ื ใหใ บตาลตดิ กับกาํ พวดนั้น ใชว ธิ ี
ผูกท่ีเรียกวา “ผกู ตะกรุดเบด็ ” สวนของกําพวดท่ีจะตอ งสอดเขา ไปเลาปน น้ั เขาใชถักหรอื เคียน ดว ย
เสนดา ย สอดเขา ไปในเลาปใ หพอมิดทพี่ ันดายจะทําใหเ กดิ ความแนนกระชับยิ่งขึน้
ปของไทยจดั ไดเ ปน 3 ชนิดดงั นี้
(1) ปนอก มขี นาดเล็ก เปนปท ี่ใชก นั มาแตเดมิ
(2) ปกลาง มีขนาดกลาง สาํ หรับเลนประกอบการแสดงหนงั ใหญ มสี ําเนียงเสยี งอยูร ะหวาง ปน อก
กับปใน
(3) ปใ น มขี นาดใหญ เปน ปท พ่ี ระอภัยมณใี ชสําหรับเปาใหน างผีเสื้อสมุทร
วงเครอ่ื งสาย
วงดนตรไี ทยประเภทหนง่ึ ซง่ึ เครอ่ื งดนตรีสว นใหญใ นวงจะประกอบดวยเคร่ืองดนตรที ีใ่ ชส าย
เปน ตน กาํ เนิดของเสยี งดนตรี เชน ซอดวง ซออู จะเข แมว า เครือ่ งดนตรีทน่ี ํามาบรรเลงนั้นจะมีวธิ ีบรรเลง
แตกตางกัน เชน สี ดดี หรอื ตี กต็ าม จึงเรยี กวงดนตรีประเภทน้ีวา "วงเครอื่ งสาย"
71
วงเคร่ืองสายอาจมเี ครอื่ งดนตรปี ระเภทเครอื่ งเปา เชน ขลุย หรือเครอื่ งกาํ กบั จงั หวะ เชน ฉงิ่
กลอง บรรเลงดว ยก็ถือวาอยใู นวงเครื่องสายเชน กนั เพราะมีเปน จาํ นวนนอยทน่ี ําเขา มารว มบรรเลงดว ยเพอ่ื
ชว ยเพม่ิ รสในการบรรเลงดว ยเพอ่ื ใหน า ฟงมากยงิ่ ขนึ้
วงเครอ่ื งสายเกิดขึ้นในสมัยอยุธยา ซ่งึ มีเครอ่ื งสี คือ ซอ เครอื่ งดีด คอื จะเข และกระจบั ป ผสม
ในวง ปจ จุบนั วงเคร่ืองสายมี 4 แบบ คือ
1. วงเคร่ืองสายไทยเครอ่ื งเด่ยี ว เปน วงเครื่องสายทม่ี เี ครอ่ื งดนตรผี สมเพียงอยางละ 1 ช้ิน เรยี ก
อกี อยางหน่ึงวา วงเคร่ืองสายไทยวงเล็ก เครื่องดนตรที ีผ่ สมอยใู นวงเครอ่ื งสายไทยเครอื่ งเดี่ยวนี้นับวา เปน
ส่ิงสาํ คัญและถือเปน หลกั ของวงเครื่องสายไทยทีจ่ ะขาดสิง่ หนง่ึ สิ่งใดเสยี ไมไ ด เพราะแตละสง่ิ ลวนดาํ เนิน
ทํานองและมหี นา ทต่ี าง ๆ กัน เมือ่ ผสมเปนวงขึ้นแลว เสยี งและหนา ท่ขี องเครื่องดนตรีแตละอยางกจ็ ะ
ประสมประสานกนั เปน อนั ดี เคร่ืองดนตรที ี่ผสมอยูในวงเคร่อื งสายไทยเครอ่ื งเด่ยี วซง่ึ ถอื เปน หลัก คอื
1. ซอดวง เปน เครื่องสที ่ีมีระดบั เสียงสูงและกระแสเสยี งดัง มีหนาที่ดําเนนิ ทํานองเพลง
เปน ผนู าํ วง และเปนหลกั ในการดาํ เนินทาํ นอง
2. ซออู เปน เครื่องสที ่มี รี ะดบั เสยี งทุม มหี นา ทด่ี าํ เนนิ ทาํ นองหยอกลอ ย่วั เยา กระตนุ ให
เกิดความครกึ ครน้ื สนกุ สนานในจําพวกดาํ เนินทาํ นองเพลง
3. จะเข เปนเคร่ืองดีดดาํ เนนิ ทํานองเพลงเชน เดยี วกบั ซอดว ง แตมวี ธิ ีการบรรเลงแตกตาง
ออกไป
4. ขลุยเพียงออซงึ่ เปนขลยุ ขนาดกลาง เปน เคร่ืองเปาดําเนินทาํ นองโดยสอดแทรกดวย
เสียงโหยหวนบาง เกบ็ บาง ตามโอกาส
5. โทนและรํามะนา เปนเครอ่ื งตที ีข่ งึ หนังหนา เดยี ว และทง้ั 2 อยา งจะตอ งตใี หส อดสลบั
รบั กันสนิทสนมผสมกลมกลืนเปน ทาํ นองเดยี วกนั มหี นา ทีค่ วบคมุ จงั หวะหนา ทับ บอกรสและสําเนียง
เพลงในภาษาตา ง ๆ และกระตนุ เรงเรา ใหเ กดิ ความสนกุ สนาน
6. ฉิง่ เปนเครอ่ื งตี มีหนา ทคี่ วบคุมจงั หวะยอยใหก ารบรรเลงดาํ เนินจงั หวะไปโดย
สม่าํ เสมอ หรือชา เรว็ ตามความเหมาะสมเคร่อื งดนตรใี นวงเครอื่ งสายไทยเคร่อื งเด่ยี วอาจเพม่ิ เครอื่ งที่จะทาํ
ใหเกิดความไพเราะเหมาะสมไดอกี เชน กรับและฉาบเล็กสาํ หรับตีหยอกลอย่ัวเยา ในจําพวกกาํ กับจังหวะ
โหมงสาํ หรบั ชวยควบคุมจังหวะใหญ
2. วงเครอื่ งสายไทยเครอื่ งคู คําวา เครือ่ งคู ยอ มมคี วามหมายชัดเจนแลววาเปนอยา งละ
2 ชน้ิ แตส าํ หรับการผสมวงดนตรจี ะตอ งพิจารณาใครค รวญถึงเสยี งของเครือ่ งดนตรีทจี่ ะผสมกนั นนั้ วา จะ
บังเกดิ ความไพเราะหรอื ไมอ กี ดวย เพราะฉะนนั้ วงเคร่ืองสายไทยเครอ่ื งคจู ึงเพิ่มเครือ่ งดนตรีในวง
เครอ่ื งสายไทยเครือ่ งเดีย่ วขนึ้ เปน 2 ชิ้น แตเ พยี งบางชนิด คอื
1. ซอดว ง 2 คนั แตทาํ หนา ท่ผี นู าํ วงเพียงคันเดยี ว อกี คนั หนง่ึ เปนเพียงผชู วย
72
2. ซออู 2 คัน ถา สเี หมือนกันไดกใ็ หด ําเนินทาํ นองอยา งเดียวกนั แตถา สเี หมอื นกันไมไดกใ็ ห
คันหนงึ่ หยอกลอ หาง ๆ อกี คนั หน่งึ หยอกลอ ยัว่ เยา อยางถี่ หรอื จะผลดั กันเปนบางวรรคบางตอนก็ได
3. จะเข 2 ตัว ดําเนินทํานองแบบเดยี วกัน
4. ขลยุ 2 เลา เลาหนึ่งเปนขลยุ เพียงอออยางในวงเครอื่ งสายไทยเคร่อื งเดี่ยว
สวนเลาทเ่ี พมิ่ ขึ้นเปนขลยุ หลีบซ่ึงมีขนาดเลก็ กวาขลุยเพียงออ และมเี สียงสงู กวาขลุยเพยี งออ 3 เสียง มี
หนา ท่ีดําเนินทาํ นองหลบหลกี ปลกี ทางออกไป ซงึ่ เปน การยว่ั เยา ไปในกระบวนเสยี งสูงสําหรบั โทน
ราํ มะนา และฉง่ิ ไมเ พ่มิ จํานวน สว นฉาบเลก็ และโหมง ถาจะใชก ็คงมจี ํานวนอยางละ 1 ชิ้นเทา เดมิ ตั้งแต
โบราณมา วงเคร่อื งสายไทยมอี ยา งมากกเ็ พยี งเครอ่ื งคดู งั กลาวแลวเทานน้ั ในสมัยหลังไดม ีผคู ดิ ผสมวง
เปน วงเคร่อื งสายไทยวงใหญ ขนึ้ โดยเพม่ิ เครือ่ งบรรเลงจาํ พวกดาํ เนนิ ทํานอง เชน
ซอดวง ซออู และขลยุ ข้นึ เปน อยางละ 3 ชนิ้ บา ง 4 ชิน้ บา ง การจะผสมเครื่องดนตรชี นิดใดเขามาในวงนน้ั
ยอ มกระทาํ ได ถา หากเครอื่ งดนตรีน้นั มเี สียงเหมาะสมกลมกลนื กบั เครอ่ื งอื่น ๆ แตจะเพ่ิมเตมิ ในสวน
เครือ่ งกํากับจังหวะ เชน โทน รํามะนา ฉิง่ ฉาบ และโหมง ไมได ไดแตเปลย่ี นเปน อยางอ่นื ไป เชน ใชกลอง
แขกแทนโทน รํามะนา
3. วงเครอ่ื งสายผสม เปนวงเครอ่ื งสายท่ีนาํ เอาเครอ่ื งดนตรีตางชาตเิ ขามารวมบรรเลงกับ
เครอื่ งสายไทย การเรียกชอ่ื วงเครือ่ งสายผสมน้นั นยิ มเรียกตามช่อื ของเคร่อื งดนตรตี างชาตทิ น่ี ําเขามารวม
บรรเลงในวง เชน นาํ เอาขมิ มารว มบรรเลงกับ ซอดว ง ซออู ขลุย และเครือ่ งกาํ กบั จังหวะตา ง ๆ แทนจะเข ก็
เรยี กวา "วงเครอ่ื งสายผสมขิม" หรือนาํ เอาออรแ กนหรือไวโอลินมารว มบรรเลงดว ยกเ็ รียกวา "วง
เครือ่ งสายผสมออรแ กน" หรอื "วงเครอ่ื งสายผสมไวโอลิน" เครือ่ งดนตรตี า งชาติที่นยิ มนาํ มาบรรเลงเปน
วงเคร่ืองสายผสมนน้ั มมี ากมายหลายชนิด เชน ขิม ไวโอลนิ ออรแ กน เปย โน
หบี เพลงชัก แอคคอรเ ดียน
4. วงเครือ่ งสายปชวา คือ วงเครอื่ งสายไทยทงั้ วงบรรเลงประสมกับวงกลองแขก
โดยไมใชโ ทนและรํามะนา และใชข ลยุ หลบี แทนขลยุ เพียงออกเพื่อใหเ สยี งเขากบั ปชวาไดดี
เดิมเรยี กวา วงกลองแขกเครื่องใหญ วงเคร่อื งสายปช วา นี้เกดิ ขน้ึ ในปลายรชั สมยั พระบาทสมเด็จพระจอม
เกลา เจา อยหู วั การบรรเลงเครอ่ื งสายปช วานน้ั นักดนตรจี ะตอ งมไี หวพรบิ และความเชยี่ วชาญในการบรรเลง
เปน พิเศษ โดยเฉพาะฉิง่ กํากับจงั หวะจะตองเปน คนท่ีมสี มาธดิ ที ี่สดุ จึงจะบรรเลงไดอยา งไพเราะ เพลงที่วง
เครื่องสายปช วานิยมใชบรรเลงเปน เพลงโหมโรง ไดแ ก เพลงเร่ืองชมสมุทร เพลงโฉลก เพลงเกาะ เพลง
ระกํา เพลงสะระหมา แลว ออกเพลงแปลง เพลงออกภาษา แลวกลับมาออกเพลงแปลงอีกครั้งหนง่ึ
73
วงมโหรี
วงดนตรไี ทยประเภทหนงึ่ ซ่งึ ประกอบดว ยเคร่อื งดนตรีผสมทง้ั ดดี สี ตี เปา เปนวงดนตรีท่ีใช
บรรเลงเพอื่ ขบั กลอม ไมน ิยมบรรเลงในการแสดงใด ๆ
วงมโหรมี ี 5 แบบ คอื
1. วงมโหรเี คร่อื งส่ี เปน วงมโหรีทรี่ วมเอาการบรรเลงพณิ และการขับไม ซึ่งมมี าแตโ บราณเขา
ดวยกนั เกดิ ขน้ึ ครั้งแรกในสมยั อยธุ ยา มเี ครอ่ื งดนตรี 4 ชิน้ คอื
1.1 ทับ (ปจ จุบันเรยี กวา โทน) เปน เคร่ืองควบคมุ จงั หวะ
1.2 ซอสามสาย
1.3 กระจบั ป
1.4 กรบั พวง (ผขู ับรอ งเปน ผูตกี รับพวง)
วงมโหรเี คร่อื งส่ีนี้เดิมผชู ายเปน ผบู รรเลง ตอ มาเม่อื นิยมฟง มโหรีกันแพรห ลาย
ผมู ีบรรดาศักดจ์ิ ึงนิยมใหผูหญงิ ฝก หัดบรรเลงบางและไดรบั ความนิยมสบื ตอมา
2. วงมโหรีเครอื่ งหก คอื วงมโหรเี ครือ่ งสซ่ี ง่ึ เพม่ิ เครื่องดนตรอี กี 2 อยา ง คอื รํามะนา สาํ หรับตี
กํากบั จังหวะคกู ับทบั และขลุย (ปจ จบุ ันเรยี กวา ขลยุ เพียงออ) สําหรบั เปา ดําเนนิ ทาํ นอง และเปล่ียนใชฉ ง่ิ
แทนกรับพวง นับเปนการบรรเลงท่ีมีเคร่ืองดนตรคี รบทงั้ ดดี สี ตี และเปา เกดิ ขึ้นในตอนปลายสมยั อยธุ ยา
3. วงมโหรีเครื่องเดีย่ ว หรอื มโหรีเครอ่ื งเล็ก คือ วงมโหรีท่ีไดเพมิ่ เครอ่ื งดนตรแี ละเปลย่ี นแปลง
มาโดยลําดับต้งั แตส มัยรัตนโกสนิ ทรตอนตน ครั้งแรกเพ่มิ ระนาดเอกและฆอ งวง (ภายหลังเรียกวา ฆอง
กลางหรอื ฆองมโหร)ี (ดู ฆองมโหรี ประกอบ) ตอมาจงึ ไดเ พ่ิมซอดวงและ
ซออู สว นกระจบั ปน น้ั เปลย่ี นเปนใชจ ะเขแ ทน เนื่องจากเวลาบรรเลงจะเขวางราบไปกับพื้น ซ่ึงตา งกับ
กระจับปท ต่ี อ งตั้งดีด ทง้ั นมทใ่ี ชรองรับสายและบังคบั เสียงก็เรยี งลาํ ดบั มีระยะเหมาะสมกวา กระจับป เวลา
บรรเลงจงึ ทาํ ใหใชน ิว้ ดดี ไดสะดวกและแคลว คลอ งกวา นอกจากนีจ้ ะเขย งั สามารถ
ทาํ เสียงไดด ังและทาํ เสียงไดมากกวา กระจบั ป
74
ปจจุบนั วงมโหรีเครือ่ งเดย่ี วประกอบดวยเครอื่ งดนตรีดงั นี้
1. ซอสามสาย 1 คนั ทําหนาท่ีคลอเสียงผูขับรอง และบรรเลงดําเนินทํานองรวมในวง
2. ซอดว ง 1 คัน ดําเนนิ ทาํ นองโดยเกบ็ บาง หวานบาง
3. ซออู 1 คนั ดําเนินทาํ นองเปน เชิงหยอกลอ ยวั่ เยาไปกับทาํ นองเพลง
4. จะเข 1 ตัว ดาํ เนินทาํ นองโดยเก็บบาง รัวบาง และเวน หา งบา ง
5. ขลุยเพียงออ 1 เลา ดําเนินทํานองเกบ็ บาง โหยหวนบาง
6. ระนาดเอก 1 ราง ดําเนินทํานองเกบ็ บา ง กรอบา ง ทําหนา ที่เปนผนู าํ วง
7. ฆอ งวง (เรียกวา ฆอ งกลางหรอื ฆอ งมโหร)ี 1 วง ดาํ เนินทํานองเนือ้ เพลงเปนหลักของวง
8. โทน 1 ลกู ราํ มะนา 1 ลูก ตีสอดสลับกัน ควบคมุ จงั หวะหนา ทบั
9. ฉ่งิ 1 คู ควบคุมจังหวะยอย แบง ใหร จู ังหวะหนักเบา
4. วงมโหรีเครือ่ งคู คอื วงมโหรีเครอ่ื งเด่ยี วทไี่ ดเ พมิ่ ระนาดทมุ และฆองวงเล็กเขาในวง ทงั้ นเ้ี นื่อง
ดว ยในรัชสมยั พระบาทสมเดจ็ พระนงั่ เกลา เจาอยหู ัว วงปพาทยไดเพิ่มระนาดทมุ และฆอ งวงเล็กรวม
เรียกวา วงปพ าทยเครือ่ งคู วงมโหรจี งึ เพิ่มเครือ่ งดนตรดี งั กลา วบา ง นอกจากนน้ั ยังเพิม่ ซอดว งและซออูข้นึ
เปนอยา งละ 2 คนั เพ่มิ จะเขเ ปน 2 ตัวขลุยนัน้ เดมิ มแี ตข ลยุ เพียงออ จงึ เพิ่มขลยุ หลบี อีก 1 เลา สวนซอสาม
สายก็เพ่ิมซอสามสายหลีบอกี 1 คัน และเพ่มิ ฉาบเล็กอีก1 คดู ว ย
ปจจบุ ันวงมโหรีเครอื่ งคปู ระกอบดว ยเครื่องดนตรดี ังน้ี
1. ซอสามสาย 1 คัน หนาทเ่ี หมอื นในวงมโหรีเคร่ืองเด่ยี ว
2. ซอสามสายหลีบ 1 คนั บรรเลงรวมกับเครือ่ งดําเนินทาํ นองอื่น ๆ
3. ซอดว ง 2 คัน หนา ทเ่ี หมอื นในวงมโหรเี ครอื่ งเดย่ี ว
4. ซออู 2 คัน หนาทีเ่ หมอื นในวงมโหรเี ครือ่ งเดย่ี ว
5. จะเข 2 ตวั หนา ทเ่ี หมือนในวงมโหรเี คร่อื งเดี่ยว
6. ขลยุ เพียงออ 1 เลา หนาท่ีเหมือนในวงมโหรเี คร่อื งเดยี่ ว
7. ขลุย หลีบ 1 เลา ดาํ เนนิ ทํานองเกบ็ บา ง โหยหวนบาง สอดแทรกทาํ นองเลน ลอไปทางเสยี งสงู
8. ระนาดเอก 1 ราง หนาทเ่ี หมอื นในวงมโหรเี ครือ่ งเดย่ี ว
9. ระนาดทมุ 1 ราง ดาํ เนนิ ทํานองเปนเชงิ หยอกลอ ยั่วเยาใหเ กดิ อารมณครึกคร้นื
10. ฆอ งวง 1 วง หนาทีเ่ หมอื นในวงมโหรีเครื่องเดีย่ ว
11. ฆองวงเลก็ 1 วง ดําเนินทาํ นองเก็บถี่ ๆ บาง สะบดั บาง สอดแทรกทาํ นองไปทางเสยี งสูง
12. โทน 1 ลูก ราํ มะนา 1 ลกู หนาทเ่ี หมอื นในวงมโหรีเครอื่ งเด่ยี ว
13. ฉง่ิ 1 คู หนา ทเ่ี หมือนในวงมโหรเี ครื่องเดีย่ ว
75
14. ฉาบเลก็ 1 คู
วงปพ าทย
เปน วงดนตรีไทยประเภทหนงึ่ ทป่ี ระกอบดว ยเครอื่ งเปา คอื ป ผสมกับเครอื่ งตี ไดแ กร ะนาด
และฆองวงชนดิ ตา ง ๆ เปน หลกั และยังมเี ครื่องกาํ กับจังหวะ เชน ฉง่ิ ฉาบ กรับ โหมง ตะโพน กลองทัด
กลองแขก และกลองสองหนา ปพ าทยน บ้ี างสมัยเรยี กวา "พิณพาทย" วงปพาทยมี
8 แบบ คอื
1. วงปพ าทยเ ครือ่ งหา เปน วงปพาทยท่ีเปนวงหลกั มจี ํานวนเครื่องดนตรีนอ ยชน้ิ ท่สี ุด ดังน้ี
ปใ น 1 เลา
ระนาดเอก 1 ราง
ฆอ งวงใหญ 1 วง
กลองทัด 2 ลูก
ตะโพน 1 ลูก
ฉิ่ง 1 คู
ในบางกรณีอาจใชฉาบ กรับ โหมง ดว ย
76
2. วงปพ าทยเ คร่อื งคู เปน วงปพ าทยท ่ปี ระกอบดว ยเครื่องทาํ ทาํ นองเปนคเู นอ่ื งดวย
ในรัชสมัยพระบาทสมเดจ็ พระนั่งเกลา เจาอยหู ัว ไดมผี ูคดิ เครอื่ งดนตรีเพ่ิมขน้ึ อกี 2 อยาง คอื ระนาดทุม กบั
ฆองวงเล็กและนาํ เอาปนอกซง่ึ ใชใ นการบรรเลงปพ าทยสาํ หรับการแสดงหนงั ใหญสมัยโบราณมารวมเขา
กับวงปพ าทยเ คร่อื งหาที่มอี ยูเดมิ
วงปพ าทยเ ครอ่ื งคมู เี ครื่องดนตรีดงั นี้
ป 1 คู คอื ปในและปน อก
ระนาด 1 คู คือ ระนาดเอกและระนาดทมุ
ฆอ งวง 1 คู คือ ฆองวงใหญแ ละฆอ งวงเล็ก
กลองทดั 1 คู
ตะโพน 1 ลูก
ฉง่ิ 1 คู
ฉาบเลก็ 1 คู
ฉาบใหญ 1 คู
โหมง 1 ใบ
กลองสองหนา 1 ลูก (บางทใี ชก ลองแขก 1 คู แทน)
ในบางกรณีอาจใชก รบั ดวย
3. วงปพาทยเ ครอื่ งใหญ คอื วงปพ าทยเ คร่ืองคทู เ่ี พิ่มระนาดเอกเหลก็ กับระนาด
ทุม เหลก็ ซง่ึ พระบาทสมเดจ็ พระปน เกลาเจา อยูหวั ทรงประดษิ ฐขน้ึ กลายเปน วงปพ าทยทีม่ ีระนาด
4 ราง โดยตั้งระนาดเอกเหล็กทร่ี มิ ดานขวามอื และตัง้ ระนาดทมุ เหลก็ ที่รมิ ดานซา ยมอื ซ่งึ นกั ดนตรนี ยิ ม
เรยี กกนั วา "เพิ่มหัวทา ย" วงปพ าทยเ คร่ืองใหญใ นรัชสมัยพระบาทสมเดจ็ พระจอมเกลา เจาอยูห วั บางวงก็
เพ่มิ กลองทัด รวมเปน 3 ใบบาง 4 ใบบาง สว นฉาบใหญน ํามาใชในวงปพ าทยใ นรัชสมยั พระบาทสมเด็จ
พระจลุ จอมเกลาเจาอยูหัววงปพาทยท้ังเครื่องหา เครอื่ งคู และเครื่องใหญ ถา มกี ารบรรเลงเพลงภาษาจะใช
เครื่องดนตรกี าํ กับจังหวะของภาษานนั้ ๆ ดว ย เชน
ภาษาเขมร ใช โทน
ภาษาจนี ใช กลองจนี กลองตอ ก แตว
ภาษาฝรงั่ ใช กลองมรกิ ัน (อเมรกิ นั ) หรือกลองแตรก็ (side drum, snare drum)
ภาษาพมา ใช กลองยาว
ภาษามอญ ใช ตะโพน เปง มาง
77
4. วงปพ าทยน างหงส คอื วงปพ าทยธ รรมดาซึ่งใชบรรเลงทัว่ ไป แตเมอ่ื นาํ มาใชประโคม
ในงานศพ จะนาํ วงบวั ลอยซึ่งประกอบดว ยปช วา 1 เลา กลองมลายู 1 คู และเหมง 1 ใบ ทใี่ ชประโคมใน
งานศพเขา มาผสม (ดู วงบวั ลอย ประกอบ) โดยตดั ปใ น ตะโพน และกลองทดั ออก ใชปช วาแทนปใ น ใช
กลองมลายแู ทนตะโพนและกลองทดั สว นเหมง น้ันมีเสยี งไมเหมาะกบั วงปพ าทยจ ึงไมน าํ มาใช ใชแ ต
โหมงซ่ึงมอี ยเู ดิม เรียกวา "วงปพ าทยน างหงส" วงปพ าทยน างหงสใชบรรเลงเฉพาะในงานศพมาแต
โบราณกอ นวงปพ าทยม อญ สาเหตทุ เ่ี รียกวาปพ าทยนางหงส ก็เพราะใชเ พลงเรือ่ งนางหงส 2 ช้ัน เปนหลกั
สําคัญในการบรรเลง นอกจากนย้ี งั มวี ิวัฒนาการไปใชบ รรเลงเพลงภาษาตาง ๆ เรยี กวา "ออกภาษา" ดวย
5. วงปพาทยม อญ ประกอบดวยเคร่อื งดนตรที ไี่ ดอ ทิ ธพิ ลมาจากมอญ เชน ฆองมอญ
ปม อญ ตะโพนมอญ และเปง มางคอก ปจจุบันวงปพ าทยม อญมี 3 ขนาด ไดแ ก
5.1 วงปพ าทยม อญเคร่อื งหา ประกอบดวยปม อญ ระนาดเอก ฆอ งมอญ ตะโพนมอญ เปงมาง
คอก และเครอ่ื งกํากับจงั หวะ ไดแ ก ฉิง่ ฉาบ โหมง
5.2 วงปพาทยม อญเคร่ืองคู มีลักษณะเดียวกบั วงปพ าทยมอญเครอื่ งหา แตเพม่ิ ระนาดทุมและ
ฆองมอญวงเลก็
5.3 วงปพาทยมอญเครื่องใหญ มีลกั ษณะเดยี วกับวงปพาทยม อญเครื่องคู แตเ พ่มิ ระนาดเอก
เหลก็ และระนาดทุม เหล็ก
วงปพาทยม อญน้นั ทจี่ รงิ แลว ใชบรรเลงในโอกาสตา ง ๆ ไดท ้งั งานมงคล เชน งานฉลองพระ
แกว มรกตในสมัยธนบุรี และงานอวมงคล เชน งานศพ แตต อมานิยมบรรเลงในงานศพ เนอื่ งจาก
ทว งทํานองเพลงมอญมีลีลาโศกเศรา โหยหวน ซ่ึงเหมาะกบั บรรยากาศของงาน จนบางทา นนกึ วา ปพาทย
มอญใชบรรเลงเฉพาะในงานศพเทา นนั้
78
เร่ืองที่ 3 คณุ คา ความงามความไพเราะของเพลง
และเคร่อื งดนตรไี ทย
มนุษยไดสรางสรรคดนตรขี ึ้นจากภูมิปญ ญาและจนิ ตนาการ เพอื่ นํามาปรุงแตงความสมบรู ณใ น
จิตใจ ซึง่ มผี ลตอ รา งกาย อารมณ และสงั คม ดังนั้น ดนตรจี งึ มีคุณคาและความงามท้งั ในระดับบุคคล กลุม
ชน รวมไปถงึ ระดบั ประเทศ
ดนตรไี ทยเปนศลิ ปะทบี่ ง บอกถึงความเปนชาติ คุณคา และความงามของดนตรีไทยสามารถ
พิจารณาไดจ ากบทเพลงท่นี ักประพนั ธเ พลงประพันธข้ึน มีทว งทาํ นองตามโครงสรางของระบบเสียงเน้ือ
รองทร่ี อยเรียงกนั อยา งสละสลวย มนี ักดนตรีทําหนาที่ถายทอดบทเพลง โดยใชระบบวิธีบรรเลงเครื่อง
ดนตรที มี่ ีความหลากหลาย มวี ิธีขับรองที่กลมกลืนกัน และมีเคร่ืองดนตรีซ่ึงมีรูปแบบเฉพาะสวยงามได
สัดสวน
คณุ คา และความงามทป่ี รากฏอยใู นกจิ กรรมทางสงั คมไทย ปรากฏอยใู นสังคมไทย ดังน้ี
1) คณุ คา และความงามของดนตรไี ทยท่ีเกี่ยวกับพระราชพธิ ี ดนตรีท่ีเกีย่ วกับพระราชพิธี เชน วง
ปพาทย ใชบรรเลงในงานท่ีพระมหากษัตริยเสด็จทรงบําเพ็ญพระราชกุศลวงกลองแขก ใชบรรเลงใน
กระบวนพยหุ ยาตราทางชลมารค เชนเดียวกับการแหเ รอื ท่ีมีศลิ ปนเหในกระบวนพยุหยาตราทางชลมารค
วงขบั ไมใชบรรเลงในพระราชพิธีข้ึนพระอูของพระราชโอรสและพระราชธิดา การประโคมวงปพาทย
นางหงสใ นงานพระเมรุ เปน ตน
2) คุณคาและความงามของดนตรีไทยที่เก่ียวกับศาสนา ดนตรีท่ีเก่ียวกับศาสนา โดยเฉพาะ
ศาสนาท่เี ปน มูลฐานใหเ กดิ ประเพณตี างๆ ของไทยมาตง้ั แตอดีต คือศาสนาพราหมณและพระพุธศาสนา
ดนตรที ี่เกยี่ วของกบั ศาสนาพราหมณสว นใหญมบี ทบาทในงานพระราชพธิ ี สําหรับงานท่ีเกยี่ วขอ งกบั พระ
พธุ ศาสนา ทั้งงานมงคลและงานอวมงคลนบั จากอดีตจนถงึ ปจจบุ นั
3) คุณคา และความงามของดนตรีไทยท่ีเกี่ยวกับกิจกรรมทั่วไป กิจกรรมทั่วไป เชน งานมงคล
สมรส งานฉลองความสาํ เรจ็ ของบุคคล เปนตน หรือเม่ือมีการจัดเลี้ยงตางๆ นิยมจัดใหมีวงดนตรีไทยมา
บรรเลง เชน วงมโหรี วงเครอ่ื งสาย เปนตน สําหรับงานมงงคลสมรสทมี่ ีการแหขนั หมาก นิยมใชวงกลอง
ยาวและวงแตรวงบรรเลงนํา
คุณคา และตามงามของดนตรไี ทยทแี่ สดงออกถึงวฒั นธรรมของไทย จาํ แนกได 2 ดาน คอื
1) ดา นรปู ธรรม เคร่ืองดนตรไี ทยมีท้งั เคร่อื งดดี เครอ่ื งสี เครอ่ื งตี และเครือ่ งเปา เครอื่ งดนตรี
เหลา นคี้ รดู นตรีในอดตี ไดใ ชหลักการในการเลือกเครอ่ื งดนตรีใหมคี วามสอดคลอ งกนั เพอื่ ประสมเปน วง
ดนตรี
79
2) ดานนามธรรม รสของเพลงทเี่ ปน ผลมาจากทํานองเพลงไทย ทีเ่ กิดจการบรรเลง จน
กอ ใหเ กดิ อารมณแ ละความรสู กึ วา เพลงนน้ั มีความเสนาะ ไพเราะ สนุกสนาน เพลิดเพลนิ อารมณ โศกเศรา
การเขา ถงึ คุณคา และความงามของดนตรไี ทย การเขา ถึงสนุ ทรยี รสในดนตรไี ทย ยอมทาํ ใหพ บคณุ คา
และความงามของดนตรีไทย สิง่ นีม้ ีสวนสําคญั ท่ที ําใหค นไทยเกิดความรูสกึ ผกู พนั การเขาถงึ คณุ คา และ
ความงามของดนตรีไทยสามารถทําไดโ ดย 1) การศกึ ษาและทําความเขา ใจเรือ่ งราวและเนอ้ื หาสาระตางๆ
ของดนตรไี ทย 2) การฟงเพลงไทยดวยความตั้งใจ
สัญลกั ษณข องดนตรไี ทย ดนตรไี ทยมีเอกลกั ษณพ จิ ารณาได 3 ประการคอื
1.วัสดุทีส่ ราง
เครื่องดนตรขี องทุก ๆ ชาตใิ นยุคเร่มิ แรกกม็ กั จะใชว สั ดทุ ี่มอี ยใู นถ่ินของตนมาสรรคสรางข้ึนแลวจึง
คอยวิวัฒนาการตอไป สมัยโบราญทําดวยไมไผ ไมเนื้อแข็ง หนังและกระดูกสัตว เชน ซอดวง สวน
กระบอกซอดวงจึงทําดวยงาชางซ่ึงเปนส่ิงท่ีสวยงามมาก ซออู ซอสามสาย กะโหลกน้ันทําดวย
กะลามะพรา ว ระนาดของไทยทําดวยไมไผซึ่งมีเสียงไพเราะนุมนวลกวาทําดวยไมเน้ือแข็งมาก สวน
กลอง ตัวกลองทาํ ดวยไมเ นอื้ แข็งและขึงหนาดวยหนังสตั ว เฉพาะกลองที่ขึงหนังสองหนาตรึงดวยหมุดที่
เราเรียกกนั วา “กลองทดั ” น้นั จีนไดเอาอยางไปใชแลวเรียกช่ือวา “นานตังกู” ซ่ึงแปลวา “กลองของชาว
ใต” สว นฆองทง้ั ฆอ งโหมงฆอ งวงทาํ ดวยทองเหลือง
2.รปู รา งลักษณะ
ในการสรางสรรคส่ิงตางๆ รูปรางลักษณะที่จะเห็นวางดงามน้ัน ยอมเปนไปตามจิตใจ นิสัยและ
สัญชาตญาณท่ีเหน็ งามของชาตนิ ้ันๆ ชนชาติไทยปนผูที่มีจิตใจและนิสัยออนโยน มีเมตตากรุณาย้ิมแยม
แจมใส ศิลปะตางๆของไทยจึงมักจะเปนรูปท่ีเปนเสนโคงออนชอย ที่จะหักมุม 45 องศาน้ันนอยท่ีสุด
และทกุ ๆสิง่ มักจะเปนปลายเรียวแหลม ขอใหพิจารณาดูศิลปะตางๆของไทยเพ่ือเปรียบเทียบ เชน บาน
ไทย จั่วและปนลมออนชอยจนถึง ปลายเรียวแหลม ชอฟาใบระกาของปราสาทราชวังและโบสถวิหาร
ลว นแตอ อนชอ ยนา ชมสมสวน ลายไทยซึ่งเต็มไปดว ย กระหนกตางๆ กระหนกทุกตวั จะเปน เสนโคงออน
สลวยและสะบัดสะบิ้ง จนถึงปลายแหลม เคร่ืองแตงตัวละครรําเปนละครของไทยแท มีมงกุฎและชฎา
เรยี วและยอดแหลม อินทรธนูทปี่ ระดับบาก็โคง และปลายแหลม ทา ราํ ของละครแขนและมอื เมื่อจะงอหรอื
จะเหยยี ดลว นเปนเสน โคง ตลอดจนปลายนิ้วมือ ซึ่งออนชอ ยนา ดูมาก
ทนี ีม้ าดูลักษณะรูปรา งของเครือ่ งดนตรีไทย โทน ระนาดเอก ระนาดทมุ สว นสัดเปนเสน โคงและมี
ปลายแหลมท้งั นน้ั โขนของฆองวงใหญแ ละฆองเล็ก โอนสลวยขนึ้ ไป คลายหลงั คาบา นไทยสว นโขน
ของคันซอดว งทเ่ี รียกวา “ทวนบน” กโ็ คง ออ นข้ึนไปจนปลายคลา ยกับโขนเรอื พระราชพิธขี องไทยโบราณ
นค่ี อื รูปลกั ษณะของดนตรไี ทย
3. เสียงของดนตรไี ทย
80
เคร่ืองดนตรไี ทยทสี่ รา งขึน้ มีเจตนาใหไ พเราะ ซ่งึ เปน ไปตามลกั ษณะนิสัย ของชนชาตไิ ทย เสียงซอ
เสียงขลุย เสยี งป เสยี งฆอง และเสยี งพณิ ลว นเปน สิง่ ที่ มเี สียงนุมนวล มีกงั วานไพเราะอยางออนหวาน
เรอ่ื งท่ี 4 ประวัตคิ ุณคาภูมิปญ ญาของดนตรีไทย
ดนตรีไทย เปนศลิ ปะช้นั สูงแขนงหนงึ่ ซ่งึ อยูค กู บั คนไทยมาตลอดประวตั ิศาสตร และถอื วา
เปนมรดกทางวัฒนธรรมอนั ทรงคณุ คา ทีส่ ืบทอดกนั มาจนถงึ ทกุ วันน้ี เนอ่ื งจากดนตรไี ทยไมม กี ารบันทึก
เปน ตัวโนต การเรยี นดนตรไี ทยจึงตองเรียนดวยการ "จาํ " เทา นัน้ ถงึ แมว าดนตรไี ทยจะไมใ ชตวั โนต
สําหรบั บรรเลง แตดนตรไี ทยก็มีโนต เหมอื นดนตรีสากลทวั่ ไป เพียงแตดนตรีไทยมแี ตค ีย เมเจอรเ ทา นัน้
คือ คีย หรอื Am เพราะดนตรีไทยไมมีชารป หรือแฟลต
ประโยชนของดนตรีไทย
1. เปน เครื่องมอื ที่สามารถตอบสนองความตอ งการในการประเทอื งอารมณก ระตนุ ความรสู กึ
ของเราอยา งมาก
2. ทําใหม นุษยอ ยอู ยางมีอารมณ ความรูสึก มีเคร่อื งมอื ประเทืองจิตใจ มีความละเอยี ดออ น
และเกิดความสขุ ความสนกุ สนาน
3. ทาํ ใหโลกมคี วามสดใส มีสีสนั
4. ทาํ ใหคนฟง รูสึกผอนคลาย จติ ใจเบกิ บาน
คณุ คาในดนตรีที่เปน มรดกทางวฒั นธรรม และภูมิปญ ญาไทย
1. วัฒนธรรมทางดนตรีพนื้ บา นภาคกลาง ดนตรพี ื้นบา นภาคกลางสวนใหญประกอบดว ย
เคร่อื งดนตรีประเภทตี และเปา เรยี กรวมเปนเครือ่ งตเี ปา ซึ่งถอื เปนเครอ่ื งประโคมดัง้ เดิมท่เี กา แกที่สดุ และ
พัฒนาจนกลายเปน วงปพ าทยในปจจบุ นั แตเ ดมิ วงปพ าทยน นั้ ใชปแ ละกลองเปนหลกั ตอ มาใชร ะนาดและ
ฆองวงและเพมิ่ เคร่อื งดนตรีใหมจี ํานวนมากเพ่อื ใหเ สยี งดงั ขนึ้ การบรรเลงวงปพ าทยไ มน ยิ มบรรเลงเพ่อื
ประกอบการละเลน ตา งๆ แตนิยมบรรเลงในพิธีกรรม
การแสดง และการประกวดประชนั เพอ่ื ใหเปนทย่ี อมรับของคนในสังคม เพลงบรรเลงของวงปพ าทย
ประกอบดวยเพลงโหมโรง เพลงหนาพาทย เพลงเร่ือง เพลงหางเครอ่ื ง และเพลงภาษา เพลงบรรเลงท้ัง 5
ประเภทเปน การบรรเลงทเ่ี ปนแบบแผน ไมวาจะบรรเลงเดย่ี วหรอื หมู ลวนแตใชแ บบแผนนี้ท้งั ส้นิ เพอ่ื เปน
การอวดฝม ือ ของนักดนตรนี ั่นเอง ดนตรีพนื้ บานภาคกลางถอื เปนการถา ยเทระหวางวัฒนธรรมราษฎรกบั
วฒั นธรรมหลวง ซ่ึงเปนการผสมผสานจนเกดิ เปน เอกลักษณของวงดนตรพี น้ื บา นภาคกลางทตี่ า งจากภาค
อนื่ ๆ
81
2. วัฒนธรรมทางดนตรีพนื้ บานภาคเหนอื เครื่องดนตรพี นื้ บา นภาคเหนือยคุ แรกสวนใหญจ ะ
เปน เครอื่ งดนตรปี ระเภทตี แตเ ดมิ เรียกวา ทอนไมก ลวง ตอ มาจงึ มกี ารนําหนังมาหุม จนกลายเปนกลอง
และไดพ ัฒนาเปน เคร่ืองดีดและสี ซง่ึ เกิดการประดษิ ฐธ นเู พ่อื เปน เครื่องมอื ที่ใชใ นการลาสัตว โดยการดดี
สายหนังใหลกู ดอกปก ลงไปในสง่ิ ตางๆ ตามที่ตองการ มนษุ ยจ ึงเกดิ การเลียนแบบเสยี งของการดดี สาย
หนังจนเกดิ เปนเครอื่ งดนตรี เชน พณิ เพียะ สะลอ ซึง ซอชนิดตางๆ เปน ตน จากนน้ั มนษุ ยไ ดประดษิ ฐ
เครอ่ื งเปา ขน้ึ เชน ขลุย และป ซ่ึงเกดิ จากการฟง เสยี งกระแสลมทีพ่ ดั ผา นปากปลองคหู าถํ้าหรอื เสียงลม
กระทบทวิ ไผต นไมต า งๆเปน ตน
3. วฒั นธรรมทางดนตรพี น้ื บา นภาคตะวนั ออกเฉยี งเหนือ วฒั นธรรมทางดนตรพี ื้นบา นภาค
ตะวันออกเฉยี งเหนอื แบง ออกเปน 3 กลุม ดงั น้ี
- ดนตรกี ลุม วฒั นธรรมหมอลํา เปน คนกลมุ ใหญที่สุดในภาคอีสาน มกี ารขับรอ งและเปา
แคนประกอบ พณิ เปนเคร่ืองดนตรที ไี่ ดร บั ความนยิ มรองลงมา จนกระท่งั ปจจุบนั นิยมเลน โปงลางกนั
อยางแพรห ลายมากยง่ิ ขน้ึ
- ดนตรกี ลุมวัฒนธรรมกนั ตรมึ เปนดนตรขี บั รองที่เรียกวา เจรยี ง ซ่งึ เปน เครื่องดนตรขี อง
ชาวสรุ ินทร บุรรี มั ย และศรีสะเกษ
- ดนตรกี ลุมวัฒนธรรมโคราช เพลงโคราช เปน การแสดงเชน เดียวกบั ลิเกของภาคกลาง ซงึ
เปนการขบั รอ งโตต อบกนั ระหวา งหมอเพลงชายกับหมอเพลงหญงิ
4. วัฒนธรรมทางดนตรพี นื้ บานภาคใต วัฒนธรรมทางดนตรีพน้ื บานภาคใต ไดแ ก
- วฒั นธรรมทางดนตรีทเี่ กีย่ วกบั ส่ิงศักดส์ิ ทิ ธิ์ ความเชือ่ เร่อื งภตู ผีปศ าจ อํานาจเรน ลับ
เพอ่ื ใหเ กิดคณุ ประโยชนอยางใดอยา งหน่ึง ไดแก การเลน มะตือรีในหมูชาวไทยมุสลิมและการเลนตะครมึ
ในหมชู าวไทยพุทธ เปนตน
- วัฒนธรรมทางดนตรีทีเ่ กยี่ วขอ งกบั ประเพณี ในบนั้ ปลายของชีวติ เมื่อถงึ แกก รรมก็อาศัย
เครือ่ งดนตรีเปน เคร่ืองไปสูสคุ ติ ดังจะเห็นจากการเลน กาหลอในงานศพเพ่ือออนวอนเทพเจา ใหน าํ รา ง
ของผูเ สยี ชวี ติ ไปสูภพภูมิทด่ี ี
- วฒั นธรรมทางดนตรที ีเ่ ก่ียวของกับการดํารงชีวติ ชาวพน้ื เมอื งภาคใตนยิ มประโคมโพน
เปนสัญญาณบอกกลา วแกช าวบา น เพอื่ ใหช าวบา นทราบวา ทวี่ ัดมกี ารทําเรอื พระสําหรับใชชกั ลากในเทศ
การชักพระ
- วฒั นธรรมทางดนตรีทเี่ กย่ี วของกบั การเสรมิ สรา งความสามคั คี เชน กรือโตะและบานอ
ชาวบา นจะรว มกนั ทาํ ขนึ้ มาเพอื่ ใชเ ลน สนกุ รวมกนั และใชแ ขง ขนั กับหมูบ านอนื่ เปน ตน
82
กจิ กรรม
1. ใหผ เู รียนอธบิ ายลกั ษณะของดนตรไี ทย เปน ขอ ๆ ตามทเี่ รยี นมา
2. ใหผ เู รียนศกึ ษาดนตรไี ทยในทองถิ่นของผเู รียน แลว จดบันทกึ ไว จากนนั้ นํามาอภิปรายในช้นั
เรียน
3. ใหผ ูเรยี นลองหัดเลน ดนตรไี ทยจากผูร ูแลว นํามาเลน ใหชมในชั้นเรยี น
4. ผเู รียนมแี นวความคดิ ในการอนุรกั ษด นตรีไทยในทองถนิ่ ของผูเรยี นอยา งไรบา งใหผ ูเ รียน
บันทึกเปน รายงานและนาํ แสดงแลกเปล่ียนความคดิ เหน็ กนั ในชน้ั เรยี น
83
บทที่ 3
นาฏศิลปไทย
สาระสาํ คญั
1. ความหมายและความเปน มาของนาฏศลิ ปไ ทย
2. นาฏศิลปไ ทยประเภทตา ง ๆ
3. คุณคาและการอนรุ กั ษน าฏศลิ ปไทย
ผลการเรยี นรูท ่ีคาดหวงั
1. อธิบายประวตั คิ วามเปน มาของการแสดงนาฏศลิ ปไทยประเภทตาง ๆ ได
2. มคี วามรูเ กีย่ วกบั พนื้ ฐานความงามของนาฏศลิ ปไทยและแสดงออกไดอ ยา งถกู ตอง
3. แสดงความคดิ เหน็ ความรูสึก ตอการแสดงนาฏศลิ ปไ ทยได
4. เขาใจเหน็ คณุ คาของนาฏศลิ ปไทยและบอกแนวทางการอนรุ กั ษน าฏศลิ ปไ ทยได
ขอบขา ยเนื้อหา
เรอ่ื งท่ี 1. ความเปนมาของนาฏศิลปไทย
เรอ่ื งท่ี 2. ประวัตนิ าฏศลิ ปไทย
เรอ่ื งที่ 3. ประเภทของนาฏศลิ ปไทย
เร่อื งที่ 4. นาฏยศัพท
เรอ่ื งที่ 5. รําวงมาตรฐาน
เรอ่ื งท่ี 6. การอนุรักษนาฏศลิ ปไทย
84
เรือ่ งท่ี 1 ความเปนมาของนาฏศลิ ปไ ทย
นาฏศลิ ป คอื ศลิ ปะการรอ งรําทาํ เพลง ที่มนษุ ยเ ปนผูส รา งสรรค โดยประดษิ ฐข ึน้ อยา งประณตี
และมแี บบแผน ใหค วามรู ความบนั เทงิ ซ่ึงเปนพ้นื ฐานสําคญั ท่แี สดงใหเห็นถงึ วัฒนธรรมความรุงเรอื ง
ของชาติไดเ ปนอยางดี
ความเปนมาของนาฏศิลป
นาฏศิลป หรอื ศิลปะแหง การแสดงละครฟอนรํานั้น มคี วามเปนมาทีส่ ําคญั 4 ประการคือ
1.เกิดจากการท่มี นุษยต องการแสดงอารมณทเ่ี กิดขึน้ ตามธรรมชาติ ใหปรากฏออกมาโดยมี
จุดประสงคเ พ่ือการสื่อความหมายเปนสาํ คัญเรม่ิ ต้งั แต
1.1 มนุษยแ สดงอารมณต ามธรรมชาตอิ อกมาตรง ๆ เชน การเสยี ใจกร็ อ งไห ดใี จก็
ปรบมอื หรือสงเสยี งหัวเราะ
1.2 มนษุ ยใ ชกรยิ าอาการเปน การส่ือความหมายใหช ัดเจนขน้ึ กลายเปนภาษาทา เชน กวกั
มือเขามาหาตัวเอง
1.3 มีการประดษิ ฐค ดิ ทา ทางใหมลี ลี าทว่ี ิจติ รบรรจงขนึ้ จนกลายเปน ทว งทลี ีลาการฟอ น
รําทีง่ ดงามมลี ักษณะทเ่ี รยี กวา “นาฏยภาษา”หรือ “ภาษานาฏศิลป” ทส่ี ามารถสอื่ ความหมายดวยศลิ ปะ
แหง การแสดงทา ทางทงี่ ดงาม
2. เกิดจากการท่ีมนษุ ยตอ งการเอาชนะธรรมชาตดิ ว ยวธิ ตี าง ๆ ท่นี ําไปสกู ารปฏิบตั เิ พอื่ บูชาส่งิ ที่
ตนเคารพตามลัทธศิ าสนาของตน ตอมาจงึ เกดิ เปนความเชอื่ ในเรือ่ งเทพเจา ซึง่ ถอื วา เปน สิง่ ศกั ดิ์สิทธิ์ท่ี
เคารพบูชา โดยจะเรม่ิ จากวงิ วอนอธษิ ฐาน จนมกี ารประดษิ ฐเครื่องดนตรี ดดี สี ตี เปา ตา ง ๆ การเลน
ดนตรี การรองและการรํา จึงเกดิ ขนึ้ เพอื่ ใหเ ทพเจาเกิดความพอใจมากยิ่งข้ึน
3. เกิดจากการเลน เลียนแบบของมนษุ ย ซ่งึ เปน การเรียนรใู นขน้ั ตน ของมนษุ ย ไปสูการ
สรางสรรคศ ลิ ปะแบบตา ง ๆ นาฏศิลปกเ็ ชนกนั จะเหน็ วามนษุ ยน ยิ มเลยี นแบบสิง่ ตาง ๆ ทัง้ จากมนษุ ยเ อง
สงั เกตจาก เดก็ ๆ ชอบแสดงบทบาทสมมตุ เิ ปนพอ เปนแมใ นเวลาเลนกัน เชน การเลนตกุ ตา การเลน หมอ
ขาวหมอแกง หรอื เลยี นแบบจากธรรมชาติและส่ิงแวดลอ มตา ง ๆ ทาํ ใหเกดิ การเลน เชน การเลนงกู นิ หาง
การแสดงระบํามา ระบาํ กาสร ระบาํ นกยูง ( ทรงศกั ดิ์ ปรางคว ัฒนากลุ : ม.ป.ป. )
4. เกิดจากการทม่ี นุษยค ิดประดษิ ฐห าเครื่องบนั เทงิ ใจ หลังจากการหยุดพกั จากภารกิจประจาํ วนั
เรม่ิ แรกอาจเปน การเลานทิ าน นิยาย มีการนาํ เอาดนตรแี ละการแสดงทา ทางตา ง ๆ ประกอบเปน การรายราํ
จนถึงการแสดงเปนเร่ืองราว
85
การแสดงโขน ตอน พระรามตามกวาง
เรื่องท่ี 2 ประวตั นิ าฏศลิ ปไ ทย
นาฏศิลปไ ทย คือ ศิลปะแหง การรายรําทเ่ี ปนเอกลกั ษณข องไทย จากการสืบคนประวตั ิความ
เปน มาของนาฏศิลปไ ทย เปน เร่ืองที่เก่ยี วขอ งและสมั พนั ธก ับประวตั ิศาสตรไ ทย และวฒั นธรรมไทย จาก
หลกั ฐานที่ยืนยนั วา นาฏศิลปมีมาชานาน เชน การสืบคน ในหลกั ศิลาจารกึ หลักท่ี 4 สมยั กรุงสุโขทัย พบ
ขอความวา “ระบํารําเตนเลนทกุ วัน” แสดงใหเ ห็นวา อยา งนอ ยท่ีสดุ นาฏศลิ ปไ ทย มีอายไุ มนอ ยกวายคุ
สุโขทยั ขึน้ ไป
สรปุ ทีม่ าของนาฏศลิ ปไ ทยไดดงั น้ี
1.จากการละเลน ของชาวบานในทอ งถนิ่ ซ่งึ เปน กิจกรรมเพอ่ื ความบนั เทงิ และความรื่นเรงิ ของ
ชาวบา น ภายหลังจากฤดูกาลเกบ็ เก่ียวขาวแลว ซง่ึ ไมเ พียงเฉพาะนาฏศิลปไ ทยเทา นนั้ ท่ีมปี ระวตั เิ ชนนี้ แต
นาฏศลิ ปทัว่ โลกก็มกี าํ เนดิ จากการเลนพื้นเมอื งหรอื การละเลนในทองถ่นิ เมอื่ เกดิ การละเลน ในทองถิ่น
การขับรองโตต อบกนั ระหวา งฝายหญงิ และฝายชาย ก็เกดิ พอเพลงและแมเ พลงขึ้น จึงเกดิ แมแบบหรอื
วธิ ีการทพี่ ัฒนาสบื เนอื่ งตอ ๆ กันไป
86
2. จากการพัฒนาการรองรําในทอ งถิ่นสูนาฏศิลปในวังหลวง เมื่อเขาสูวงั หลวงก็มกี ารพัฒนา
รูปแบบใหง ดงามยิ่งขึน้ มหี ลักการ และระเบยี บแบบแผน ประกอบกับพระมหากษตั รยิ ไ ทย ยุคสโุ ขทยั
อยุธยา และรัตนโกสินทร ทรงเปน กวีและนกั ประพันธ ดงั น้ันนาฏศิลปร วมท้ังการดนตรไี ทย จงึ มี
ลักษณะงดงามและประณตี เพราะผแู สดงกาํ ลงั แสดงตอ หนา พระทนี่ ่ัง และตอหนา พระมหากษตั ริยผูทีม่ ี
ความสามารถในเชิงกวี ดนตรี และนาฏศลิ ปเชน กนั อาจกลาวไดว ากษัตรยิ แทบทุกพระองคท รงเปย มลน
ดว ยความสามารถดา นกวี ศิลปะอยา งแทจ รงิ บางองคมคี วามสามารถดานดนตรเี ปน พิเศษ โดยเฉพาะยคุ
รัตนโกสินทร พระมหากษตั รยิ ไทยไดแ สดงใหโลกไดป ระจกั ษถงึ ความสามารถดานน้ี กวีและศิลปะ เชน
รชั กาลที่ 2 รัชกาลที่ 6 และพระบาทสมเดจ็ พระเจาอยหู ัวภมู พิ ลอดลุ ยเดช ทรงพระปรชี าสามารถดาน
ดนตรจี นเปน ท่ียอมรับของวงการดนตรที ่วั โลก
การแสดงชุดเจา เงาะรจนา
87
การแสดงโขน
เอกลักษณของนาฏศิลปไ ทย
1. มที ารําออ นชอ ย งดงาม และแสดงอารมณ ตามลักษณะท่ีแทจ ริงของคนไทย ตลอดจนใชล ีลา
การเคลอื่ นไหวทด่ี สู อดคลอ งกนั
2. เครอื่ งแตงกายจะแตกตา งกบั ชาตอิ ื่น ๆ มีแบบอยา งของตนโดยเฉพาะ ขนาดยดื หยนุ ไดต าม
สมควร เคร่ืองแตง กายบางประเภท เชน เคร่ืองแตงกายยืนเครื่อง การสวมใสจะใชต รงึ ดวยดา ยแทนทจี่ ะเยบ็
สําเร็จรปู เปน ตน
3. มีเคร่อื งประกอบจงั หวะหรือดนตรีประกอบการแสดง ซง่ึ อาจมีแตทํานองหรือมบี ทรองผสมอยู
4. ถา มคี ํารอ งหรอื บทรองจะเปนคาํ ประพนั ธ สวนมากแลวมลี ักษณะเปน กลอนแปด สามารถ
นาํ ไปรองเพลงชน้ั เดยี ว หรอื สองชน้ั ไดท กุ เพลง คํารอ งนี้ทาํ ใหผูสอนหรือผรู าํ กาํ หนดทาราํ ไปตามบทรอ ง
88
เคร่อื งแตง กายพระ
เคร่อื งแตง กายนาง
89
เร่อื งที่ 3 ประเภทของนาฏศิลปไ ทย
นาฏศิลปไ ทย เปนศลิ ปะทรี่ วมศิลปะทกุ แขนงเขาดวยกนั ไดแก โขน ละคร รํา ระบาํ และการเลน
พื้นเมอื ง
1.โขน
เปนศลิ ปะของการรํา การเตน แสดงเปน เรอื่ งราว โดยมศี ิลปะหลายรูปแบบผสมผสานกัน
ลกั ษณะการแสดงโขนมีหลายชนดิ ไดแก โขนกลางแปลง โขนนั่งราว โขนโรงใน โขนหนา จอ และโขน
ฉาก ซ่ึงโขนแตละชนิดมลี กั ษณะทีเ่ ปนเอกลักษณเฉพาะตวั สิ่งสําคญั ทีป่ ระกอบการแสดงโขน คอื บทท่ี
ใชประกอบการแสดงจากเร่อื งรามเกยี รต์ิ การแตงกายมีหัวโขน สําหรบั สวมใสเวลาแสดงเพ่อื บอกลกั ษณะ
สาํ คญั ตัวละครมกี ารพากย เจรจา ขบั รอง และดนตรบี รรเลงดว ยวงปพ าทย ยึดระเบยี บแบบแผนในการ
แสดงอยางเครง ครัด
การแสดงโขน ตอน ยกรบ
ประวัติความเปน มาของโขน
โขน เปน การแสดง ทกี่ ลาวกันวา ไดร ับอทิ ธิพลการแสดงมาจากการละเลนของไทยหลายแบบ
นํามาผสมผสานกนั จนเกดิ การแสดงที่เรยี กวา โขน ดังจะไดก ลา วดังตอ ไปนี้
1. การแสดงชักนาคดกึ ดําบรรพ ซงึ่ เปน การแสดงตาํ นานของพระนารายณต อนกวนนํา้ อมฤต โดย
แบงผแู สดงออกเปน 2 ฝาย คือ ฝายอสรู กับฝา ยเทวดา และวานร โดยอสรู จะเปน ผชู ักอยดู านหวั สวน
เทวดาและวานร ชกั อยูดา นลา ง ใชพญานาคเปนเชอื ก เขาพระสเุ มรเุ ปนแกนกลาง การแสดงแนวคิดนี้เชอ่ื
90
วาเปน ตนเหตใุ หม ีการพฒั นาแบง ผูแสดง เคร่อื งแตงกาย และนาํ แบบอยางมาเปนรปู แบบการแสดงโขน
ไดแ กก ารแตง กาย เทวดา ยกั ษ ลงิ
2. กระบี่ กระบอง เปน การแสดงศิลปะการตอสูปองกนั ตวั ดว ยยุทธวิธี เปน ศิลปะที่ชาวไทยทกุ
คนตองเรียนรแู ละปองกนั ตนเอง และประเทศชาติ กระบวนทา ตา ง ๆ น้นั เชื่อวา โขนคงรบั มาในทา ทาง
ของการตอ สขู องตวั แสดง
3. หนังใหญ เปน มหรสพของไทยในอดตี ใชหนงั วัวฉลุเปนภาพตวั ละครตาง ๆ เวลาแสดงจะให
แสงสอ งตัวหนงั เกิดเงาท่ีงดงามบนจอผา ขาว จดุ เดนของหนังใหญ คอื การเตน ของผูเชิดตัวหนังไปตาม
จังหวะของดนตรี เรยี กวา หนา พาทย และบทเจรจา ดงั นน้ั โขน นา จะไดร ับอทิ ธิพลการพากย และเจรจา
จากการแสดงหนังใหญ
เรอื่ งท่ีแสดง จะใชวรรณคดที ี่ไดร ับอทิ ธิพลมาจากอินเดยี คอื รามเกียรติ์ วรี กษตั รยิ ช าวอารยนั คือ
พระราม ทเี่ ปน ตวั เอกของเร่ือง
หนงั ใหญ
ประเภทของโขน
โขน เปนศลิ ปะการแสดงทีม่ ีการพฒั นา และเปลย่ี นแปลงไปตามสภาพทางสังคม ขนบธรรมเนยี ม
ประเพณี ทําใหเ กิดรปู แบบของโขน หลายรูปแบบ ซึ่งสามารถแบง ประเภทตามลกั ษณะองคประกอบของ
การแสดง ดงั นี้
91
1.1 โขนกลางแปลง เปน โขนทแ่ี สดงกลางสนาม ใชธ รรมชาติ เปนฉากประกอบ นยิ มแสดงตอน
ที่มีการทาํ ศกึ สงคราม เพราะจะตองใชต วั แสดงเปนจํานวนมาก และตองการแสดงถงึ การเตน ของโขน การ
เคลื่อนทพั ของทง้ั สองฝาย การตอสู ระหวางฝายพระราม พระลกั ษณ พลวานร กับฝา ยยกั ษ ไดแกทศกัณฑ
ภาพโขนกลางแปลง
1.2 โขนโรงนอก หรอื โขนน่งั ราว เปน โขนที่มวี วิ ฒั นาการมาจากโขนกลางแปลง หากเปลย่ี น
สถานทแี่ สดงบนโรง มรี าวไมไ ผข นาดใหญอยูดานหลงั สาํ หรบั ตวั โขน นัง่ แสดง รปู แบบของการแสดง
ดําเนนิ เรื่องดว ยการพากยแ ละเจรจา
โขนโรงนอกหรอื โขนนั่งราว
92
1.3 โขนโรงใน เปนการนําเอารูปแบบการแสดงโขนโรงนอก มาผสมผสานกับการแสดงละคร
ใน ท่ีมกี ารขบั รอ ง และการรา ยราํ ของผูแสดง ดําเนนิ เร่อื งดว ยการพากย เจรจา มกี ารขบั รอง ประกอบทา รํา
เพลงระบําผสมผสานอยูดว ย
ภาพโขนโรงใน
1.4 โขนหนา จอ ไดแก โขนท่ีใชจ อหนงั ใหญเปนฉากประกอบการแสดง กลาวคอื มจี อหนังใหญ
เปน ฉาก ทด่ี านซายขวาเขียนรปู ปราสาท และพลับพลาไวท ้งั สองขา ง ตัวแสดงจะออกแสดงดา นหนา ของ
จอหนังดําเนนิ ดว ยการพากย เจรจา ขบั รอง รวมทงั้ มกี ารจัดระบาํ ฟอนประกอบดว ย
โขนหนา จอ