หนงั สือเรียนสาระทกั ษะการดาเนินชีวติ
รายวชิ า ศิลปศึกษา
(ทช31003)
ระดบั มัธยมศึกษาตอนปลาย
(ฉบบั ปรับปรุง พ.ศ. 2560)
หลกั สูตรการศึกษานอกระบบระดบั การศึกษาข้นั พ้นื ฐาน
พทุ ธศกั ราช 2551
สานกั งานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั
สานกั งานปลดั กระทรวงศึกษาธิการ
กระทรวงศึกษาธิการ
ห้ามจาหน่าย
หนงั สือเรียนเล่มน้ีจดั พิมพด์ ว้ ยเงินงบประมาณแผน่ ดินเพ่ือการศึกษาตลอดชีวติ สาหรับประชาชน
ลิขสิทธ์ิเป็นของ สานกั งาน กศน. สานกั งานปลดั กระทรวงศึกษาธิการ
เอกสารทางวชิ าการลาดบั ท่ี 17/2555
หนงั สือเรียนสาระทกั ษะการดาเนินชีวติ
รายวชิ า ศิลปศึกษา (ทช31003)
ระดบั มัธยมศึกษาตอนปลาย
ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2560
ลิขสิทธ์ิเป็นของ สานกั งาน กศน. สานกั งานปลดั กระทรวงศึกษาธิการ
เอกสารทางวชิ าการลาดบั ท่ี 17/2555
คํานาํ
ก ร ะ ท ร ว ง ศึ ก ษ า ธิ ก า ร ไ ด ป ร ะ ก า ศ ใ ช ห ลั ก สู ต ร ก า ร ศึ ก ษ า น อ ก ร ะ บ บ ร ะ ดั บ ก า ร ศึ ก ษ า ขั้ น พ้ื น ฐ า น
พุทธศกั ราช 2551 เมอ่ื วนั ท่ี 18 กันยายน พ.ศ. 2551 แทนหลักเกณฑและวิธีการจัดการศึกษานอกโรงเรียนตาม
หลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2544 ซึ่งเปนหลักสูตรที่พัฒนาข้ึนตามหลักปรัชญาและความเชื่อ
พื้นฐานในการจัดการศึกษานอกโรงเรียนที่มีกลุมเปาหมายเปนผูใหญมีการเรียนรูและสั่งสมความรูและ
ประสบการณอ ยา งตอ เนือ่ ง
ในปงบประมาณ 2554 กระทรวงศึกษาธิการไดกําหนดแผนยุทธศาสตรในการขับเคล่ือนนโยบาย
ทางการศึกษาเพอื่ เพ่มิ ศกั ยภาพและขดี ความสามารถในการแขง ขันใหประชาชนไดม อี าชพี ทส่ี ามารถสรางรายได
ทมี่ งั่ คงั่ และมนั่ คง เปน บุคลากรทม่ี ีวินัย เปย มไปดวยคุณธรรมและจรยิ ธรรม และมจี ติ สํานกึ รับผิดชอบตอตนเอง
และผูอื่น สํานักงาน กศน. จึงไดพิจารณาทบทวนหลักการ จุดหมาย มาตรฐาน ผลการเรียนรูท่ีคาดหวัง และ
เนื้อหาสาระ ทั้ง 5 กลุมสาระการเรียนรู ของหลักสูตรการศึกษานอกระบบระดับการศึกษา ขั้นพื้นฐาน
พุทธศักราช 2551 ใหมีความสอดคลองตอบสนองนโยบายกระทรวงศึกษาธิการ ซึ่งสงผลใหตองปรับปรุง
หนงั สือเรียน โดยการเพิ่มและสอดแทรกเนื้อหาสาระเก่ียวกับอาชีพ คุณธรรม จริยธรรมและการเตรียมพรอม
เพื่อเขาสูประชาคมอาเซียน ในรายวิชาท่ีมีความเก่ียวของสัมพันธกัน แตยังคงหลักการและวิธีการเดิมในการ
พัฒนาหนงั สือทีใ่ หผูเรยี นศึกษาคนควาความรูดวยตนเอง ปฏิบัติกิจกรรม ทําแบบฝกหัด เพ่ือทดสอบความรู
ความเขาใจ มีการอภปิ รายแลกเปลีย่ นเรยี นรูกับกลุม หรือศึกษาเพิ่มเติมจากภูมิปญญาทองถ่ิน แหลงการเรียนรู
และสื่ออืน่
การปรับปรุงหนังสือเรียนในครั้งน้ี ไดรับความรวมมืออยางดียิ่งจากผูทรงคุณวุฒิในแตละสาขาวิชา
และผเู กยี่ วขอ งในการจัดการเรยี นการสอนทศ่ี กึ ษาคนควา รวบรวมขอ มูลองคความรูจากส่ือตาง ๆ มาเรียบเรียง
เนอื้ หาใหค รบถวนสอดคลอ งกับมาตรฐาน ผลการเรียนรูท่ีคาดหวัง ตัวช้ีวัดและกรอบเน้ือหาสาระของรายวิชา
สํานักงาน กศน.ขอขอบคุณผูมีสวนเกี่ยวของทุกทานไว ณ โอกาสนี้ และหวังวาหนังสือเรียน ชุดนี้จะเปน
ประโยชนแ กผูเรียน ครู ผูสอน และผเู กี่ยวของในทุกระดับ หากมีขอเสนอแนะประการใด สํานักงาน กศน. ขอ
นอมรับดวยความขอบคุณยิง่
สารบญั หนา
คํานํา 1
คําแนะนาํ การใชห นังสอื เรยี น 2
โครงสรา งรายวชิ า 12
บทท่ี 1 ทัศนศิลป 21
23
เรอื่ งที่ 1 จดุ เสน สี แสง เงา รูปรา ง และรูปทรง 27
เร่ืองที่ 2 ทศั นศิลปสากล 30
เร่ืองที่ 3 การวิพากษว ิจารณง านทศั นศลิ ป 32
เร่อื งท่ี 4 ความงามตามธรรมชาติ 35
เรอ่ื งท่ี 5 ความงามตามทัศนศิลปสากล 36
เร่อื งที่ 6 ธรรมชาตกิ บั ทัศนศิลป 37
เรื่องท่ี 7 ความคดิ สรางสรรค การตกแตงรา งกาย ทอ่ี ยูอาศยั 44
บทที่ 2 ดนตรี 49
เรื่องที่ 1 ดนตรีสากล 53
เร่ืองที่ 2 ดนตรีสากลประเภทตา ง ๆ 54
เร่อื งที่ 3 คณุ คา ความไพเราะของเพลงสากล 57
เร่อื งท่ี 4 ประวตั ิภมู ิปญ ญาทางดนตรสี ากล 60
บทท่ี 3 นาฏศลิ ป 75
เรื่องที่ 1 นาฎยนยิ าม 76
เรื่องที่ 2 สนุ ทรยี ะทางนาฏศิลป 80
เรื่องท่ี 3 นาฏศลิ ปสากลเพอ่ื นบานของไทย 85
เรอ่ื งท่ี 4 ละครท่ไี ดร บั อิทธพิ ลของวฒั นธรรมตะวนั ตก
เรอื่ งท่ี 5 ประเภทของละคร
เร่อื งที่ 6 ละครกบั ภมู ปิ ญญาสากล
เร่อื งท่ี 7 ประวัตคิ วามเปนมาและวิวฒั นาการของลลี าศสากล
บทท่ี 4 การออกแบบกบั แนวทางการประกอบอาชพี 87
ลักษณะเฉพาะของอาชีพดา นการออกแบบแตล ะสาขา 87
งานมณั ฑนากรหรือนกั ออกแบบตกแตง 87
นกั ออกแบบเครอื่ งเฟอรนิเจอร 89
นกั ออกแบบเส้อื ผา แฟชั่น 91
96
บรรณาณุกรม 97
คณะผจู ดั ทํา
คําแนะนาํ การใชห นงั สือเรยี น
หนังสือเรียนสาระการดําเนินชีวิต รายวิชา ศิลปศึกษา (ทช31003) เปนหนังสือเรียนที่จัดทําข้ึน สําหรับ
ผเู รียนทีเ่ ปนนกั ศึกษานอกระบบ
ในการศึกษาหนังสอื เรยี นสาระการดาํ เนินชวี ิต รายวชิ า ศลิ ปศึกษา ผูเรยี นควรปฏบิ ตั ดิ งั น้ี
1. ศกึ ษาโครงสรา งรายวิชาใหเ ขา ใจในหวั ขอสาระสําคญั ผลการเรียนรูทค่ี าดหวงั และขอบขายเน้ือหา
ของรายวิชานน้ั ๆ โดยละเอียด
2. ศกึ ษารายละเอียดเน้ือหาของแตละบทอยางละเอียด ทํากิจกรรมตามท่ีกําหนด และทําความเขาใจ
ในเน้อื หานัน้ ใหมใหเขาใจ กอ นทจี่ ะศกึ ษาเร่อื งตอ ๆ ไป
3. ปฏิบตั กิ ิจกรรมทา ยเรื่องของแตละเรอ่ื ง เพอื่ เปนการสรุปความรู ความเขา ใจของเน้อื หาในเรื่องนั้น ๆ
อีกครง้ั และการปฏบิ ตั กิ จิ กรรมของแตละเนื้อหา แตละเร่ือง ผูเรียนสามารถนําไปตรวจสอบกับครูและเพ่ือน ๆ
ที่รว มเรียนในรายวชิ าและระดบั เดยี วกันได
4. หนังสอื เรยี นเลมน้ีมี 4 บท
บทท่ี 1 ทัศนศิลป
เรอื่ งท่ี 1 จุด เสน สี แสง เงา รปู รา ง รูปทรง
เรอ่ื งท่ี 2 ทศั นศลิ ปสากล
เรอ่ื งที่ 3 การวิพากษว จิ ารณงานทัศนศิลป
เร่ืองที่ 4 ความงามตามธรรมชาติ
เร่อื งท่ี 5 ความงามตามทัศนศิลปส ากล
เร่ืองที่ 6 ธรรมชาตกิ ับทศั นศิลป
เรอ่ื งท่ี 7 ความคิดสรางสรรค การตกแตงรางกาย และท่อี ยูอาศัย
บทที่ 2 ดนตรี
เรอื่ งที่ 1 ดนตรสี ากล
เร่ืองที่ 2 ดนตรีสากลประเภทตา ง ๆ
เรอ่ื งที่ 3 คุณคา ความไพเราะของเพลงสากล
เรอ่ื งที่ 4 ประวตั ิภูมปิ ญญาทางดนตรีสากล
บทท่ี 3 นาฏศิลป
เรือ่ งที่ 1 นาฎยนยิ าม
เรอ่ื งท่ี 2 สุนทรยี ะทางนาฏศลิ ป
เรอื่ งที่ 3 นาฏศิลปสากลเพอ่ื นบา นของไทย
เรอ่ื งท่ี 4 ละครที่ไดร บั อทิ ธพิ ลของวัฒนธรรมตะวนั ตก
เรอ่ื งท่ี 5 ประเภทของละคร
เรื่องที่ 6 ละครกับภมู ิปญ ญาสากล
เร่อื งที่ 7 ลลี าศสากล
บทท่ี 4 การออกแบบกบั แนวทางการประกอบอาชพี
ลกั ษณะเฉพาะของอาชีพดานการออกแบบแตล ะสาขา
งานมณั ฑนากรหรอื นกั ออกแบบตกแตง
นักออกแบบเคร่อื งเฟอรนิเจอร
นกั ออกแบบเสอ้ื ผาแฟชนั่
โครงสรา งรายวชิ าศลิ ปศกึ ษา
ระดบั มัธยมศึกษาตอนปลาย
(ทช31003)
สาระสาํ คญั
รู เขาใจ มีคุณธรรม จริยธรรม เห็นคุณคาความงาม ความไพเราะ ของธรรมชาติสิ่งแวดลอม
ทางทศั นศิลป ดนตรี และนาฎศลิ ปสากล สามารถวเิ คราะห วพิ ากษ วจิ ารณ ไดอ ยางเหมาะสม
ผลการเรียนรทู คี่ าดหวงั
อธิบายความหมาย ความสาํ คญั ความเปน มา ของทศั นศลิ ปส ากล ดนตรีสากล และนาฎศลิ ปสากล เขา ใจ
ถึงตนกําเนิด ภูมปิ ญญาและการอนุรกั ษ
ขอบขายเนื้อหา
บทที่ 1 ทศั นศิลป
เรอ่ื งท่ี 1 จุด เสน สี แสง เงา รูปราง รูปทรง
เรื่องท่ี 2 ทศั นศลิ ปส ากล
เรือ่ งที่ 3 การวิพากษว ิจารณง านทัศนศิลป
เรอ่ื งท่ี 4 ความงามตามธรรมชาติ
เร่อื งที่ 5 ความงามตามทศั นศลิ ปสากล
เรอ่ื งที่ 6 ธรรมชาตกิ บั ทัศนศิลป
เรอ่ื งท่ี 7 ความคดิ สรางสรรค การตกแตงรางกาย และท่อี ยูอาศัย
บทที่ 2 ดนตรี
เรอ่ื งท่ี 1 ดนตรีสากล
เรื่องที่ 2 ดนตรีสากลประเภทตาง ๆ
เรื่องท่ี 3 คุณคาความไพเราะของเพลงสากล
เรอื่ งที่ 4 ประวัตภิ ูมิปญญาทางดนตรสี ากล
บทที่ 3 นาฏศิลป
เรอ่ื งที่ 1 นาฏยนยิ าม
เรอ่ื งท่ี 2 สุนทรียะทางนาฏศิลป
เรอื่ งท่ี 3 นาฏศลิ ปสากลเพอื่ นบานของไทย
เรื่องท่ี 4 ละครทไ่ี ดรบั อิทธิพลของวฒั นธรรมตะวนั ตก
เรื่องท่ี 5 ประเภทของละคร
เรอ่ื งที่ 6 ละครกบั ภูมิปญ ญาสากล
เรอ่ื งที่ 7 ลลี าศสากล
บทท่ี 4 การออกแบบกบั แนวทางการประกอบอาชพี
ลกั ษณะเฉพาะของอาชพี ดานการออกแบบแตละสาขา
งานมัณฑนากรหรอื นกั ออกแบบตกแตง
นกั ออกแบบเครือ่ งเฟอรนิเจอร
นักออกแบบเสอ้ื ผาแฟชน่ั
1
บทที่ 1
ทัศนศิลป
สาระสาํ คญั
ศกึ ษาเรียนรู เขา ใจ เหน็ คณุ คาความงาม ของทศั นศิลป และสามารถวพิ ากษ วจิ ารณไ ดอ ยา งเหมาะสม
ผลการเรยี นรทู ่ีคาดหวงั
อธบิ ายความหมาย ความสาํ คัญ ความเปนมา ของทัศนศลิ ปส ากล เขา ใจถึงตน กําเนดิ ภูมปิ ญ ญาและการ
อนรุ ักษ
ขอบขา ยเน้อื หา
เร่ืองที่ 1 จดุ เสน สี แสง เงา รูปรา ง รปู ทรง
เรื่องท่ี 2 ทศั นศลิ ปสากล
เรอ่ื งท่ี 3 การวพิ ากษว จิ ารณง านทศั นศิลป
เรื่องที่ 4 ความงามตามธรรมชาติ
เรอ่ื งที่ 5 ความงามตามทัศนศิลปสากล
เรอื่ งท่ี 6 ธรรมชาตกิ ับทัศนศลิ ป
เรอ่ื งที่ 7 ความคดิ สรา งสรรค การตกแตงรางกาย และทอี่ ยอู าศยั
2
เร่อื งที่ 1 จุด เสน สี แสงเงา รปู ราง รปู ทรง
จดุ ………………………………………
คือ องคป ระกอบทเี่ ลก็ ทสี่ ุด จดุ เปน ส่งิ ทส่ี ามารถบอกตําแหนงและทิศทางโดยการนําจุดมาเรียงตอ กนั ให
เปนเสน การรวมกนั ของจดุ จะเกิดนํ้าหนกั ที่ใหป ริมาตรแกรปู ทรง เปนตน
เสน
หมายถึง จุดหลายๆจุดท่ีเรียงชิดติดกันเปนแนวยาว โดยการลากเสนจากจุดหนึ่งไปยังอีกจุดหน่ึง
ในทิศทางท่แี ตกตางกัน จะเปน ทศิ มุม 45 องศา 90 องศา 180 องศาหรือมมุ ใดๆ การสลบั ทศิ ทางของเสนที่ลากทํา
ใหเกดิ เปนลกั ษณะตาง ๆ ในทางศลิ ปะเสน มหี ลายชนิดดวยกนั โดยจาํ แนกออกไดเ ปน ลักษณะใหญๆ คือ เสนตั้ง
เสน นอน เสน เฉยี ง เสนโคง เสนหยัก เสน ซกิ แซก
ความรูส กึ ทมี่ ตี อเสน
เสนเปนองคประกอบพน้ื ฐานทสี่ าํ คัญในการสรางสรรค เสนสามารถแสดงใหเกิดความหมายของภาพ
และใหความรสู ึกไดตามลักษณะของเสน เสน ทเ่ี ปนพ้ืนฐาน ไดแ ก เสนตรงและเสน โคง
จากเสนตรงและเสนโคง สามารถนาํ มาสรา งใหเกิดเปน เสนใหม ๆ ทใี่ หความรูสึกที่แตกตางกันออกไป
ไดด งั นี้
เสน ต้งั ใหค วามรสู ึกแขง็ แรง สูงเดน สงา งาม นา เกรงขาม
3
เสน นอน ใหค วามรูส กึ สงบราบเรยี บ กวางขวาง การพักผอ น หยดุ นงิ่
เสนแนวเฉยี ง ใหค วามรสู กึ ไมป ลอดภยั ไมม่นั คง ไมหยุดนิง่
เสนตดั กัน ใหความรูสกึ ประสานกัน แข็งแรง
เสนโคง ใหความรูสึกออ นโยน นุมนวล
เสนคด ใหความรสู กึ เคลื่อนไหว ไหลเลอื่ น ราเริง ตอ เนือ่ ง
เสนประ ใหค วามรสู กึ ขาดหาย ลึกลับ ไมสมบรูณ แสดงสวนทม่ี องไมเ หน็
เสนขด ใหความรูสกึ หมุนเวียนมนึ งง
เสน หยกั ใหความรูส ึกขัดแยง นากลัว ตน่ื เตน แปลกตา
4
นกั ออกแบบนําเอาความรูสกึ ทีม่ ตี อเสนท่แี ตกตา งกนั มาใชใ นงานศลิ ปะประยุกต โดยใชเสนมาเปล่ียน
รปู รางของตัวอักษร เพ่อื ใหเ กิดความรสู ึกเคล่ือนไหวและทําใหส่ือความหมายไดดยี ิ่งขนึ้
สี
ทฤษฎสี ี หมายถงึ หลกั วชิ าในเรื่องของสที ่สี ามารถมองเหน็ ไดด วยตา และเมอื่ สามรอยกวาปทผ่ี านมา
ไอแซก นิวตัน ไดค น พบวาแสงสขี าวจาก ดวงอาทติ ยเมื่อหกั เห ผา นแทง แกวสามเหล่ยี ม (prism) แสงสขี าวจะ
กระจายออกเปนสรี ุง เรียกวา สเปคตรมั มี 7 สี ไดแก มว ง คราม นาํ้ เงนิ เขยี ว เหลอื ง สม แดง และไดกาํ หนดให
เปน ทฤษฎสี ีของแสง ความจริงสรี ุงเปน ปรากฏการณ ตามธรรมชาตทิ เี่ กดิ ขน้ึ และพบเหน็ กนั บอย ๆ โดยเกดิ จาก
การหักเหของ แสงอาทติ ยหรือแสงสวาง เมอ่ื ผา นละอองนาํ้ ในอากาศและกระทบตอ สายตาใหเหน็ เปนสี มผี ล
ทางดา นจติ วิทยา ทางดา นอารมณ และความรูส กึ การทไี่ ดเ หน็ สีจากสายตา สายตาจะสง ความรูสึกไปยงั สมองทํา
ใหเ กดิ ความรูสกึ ตา งๆ ตามอทิ ธพิ ลของสี เชน สดช่นื เรารอ น เยือกเย็น หรือตน่ื เตน มนุษยเ ราเกยี่ วของ
กบั สตี างๆ อยตู ลอดเวลา เพราะทกุ สง่ิ ที่อยรู อบตัวนน้ั ลวนแตมีสีสนั แตกตางกันมากมาย
นกั วิชาการสาขาตางๆ ไดศึกษาคนควาเรื่องสี จนเกิดเปนทฤษฎีสี ตามหลักการของนักวิชาการสาขา
ตา ง ๆ เชน
แมส ขี องนกั ฟสกิ ส หรอื (แมส ขี องแสง) (Spectrum Primaries)
เปนสที ี่เกิดจากการผสมกนั ของคล่นื แสง มี 3 สี คือ
แมสีของนักเคมี (Pigmentary Primaries) คือสีที่ใชในวงการอุตสาหกรรมและวงการศิลปะ หรือ
เรียกอีกอยางหนึ่งวา สีวัตถุธาตุ ท่ีเรากําลังศึกษาอยูในขณะนี้ โดยใชในการเขียนภาพเก่ียวกับพาณิชยศิลป
ภาพโฆษณา ภาพประกอบเรอ่ื งและภาพเขียน ของศลิ ปน ตา ง ๆ ประกอบดว ย
5
สีข้ันท่ี 1 (Primary Color) คือ แมส ีพืน้ ฐาน มี 3 สี ไดแก
1. สีเหลอื ง (Yellow)
2. สแี ดง (Red) สแี ดง
3. สนี ้ําเงนิ (Blue)
สีน้ําเงิน สีเหลือง
สขี ัน้ ท่ี 2 (Secondary color)
คือ สที ี่เกดิ จากสีขัน้ ท่ี 1 หรอื แมส ีผสมกันในอตั ราสว นทีเ่ ทา กัน จะทําใหเ กดิ สใี หม 3 สี ไดแ ก
1. สีสม (Orange) เกิดจาก สีแดง (Red) ผสมกบั สเี หลอื ง (Yellow)
2. สมี ว ง (Violet) เกิดจาก สแี ดง (Red) ผสมกบั สีนา้ํ เงนิ (Blue)
3. สเี ขยี ว (Green) เกดิ จาก สเี หลือง (Yellow) ผสมกบั สนี าํ้ เงิน (Blue)
สีสม
สีมว ง สีเขียว
สีขั้นท่ี 3 (Intermediate Color)
คือสที ่เี กิดจากการผสมกนั ระหวา งแมสกี ับสีข้นั ท่ี 2 จะเกิดสขี ั้นที่ 3 ข้ึนอกี 6 สี ไดแก
1. สนี ้าํ เงนิ มว ง ( Violet-blue) เกิดจาก สนี ํ้าเงนิ (Blue) ผสมสมี วง (Violet)
2. สเี ขยี วนา้ํ เงิน ( Blue-green) เกดิ จาก สนี า้ํ เงนิ (Blue) ผสมสีเขยี ว (Green)
3. สเี หลืองเขยี ว ( Green-yellow)เกิดจาก สเี หลอื ง(Yellow) ผสมกบั สีเขยี ว (Green)
4. สสี มเหลือง ( Yellow-orange)เกิดจาก สีเหลือง (Yellow) ผสมกับสสี ม (Orange)
5. สแี ดงสม ( Orange-red) เกิดจาก สีแดง (Red) ผสมกบั สีสม (Orange)
6. สีมวงแดง ( Red-violet) เกดิ จาก สีแดง (Red) ผสมกบั สีมว ง (Violet)
6
สีมว งแดง สีแดงสม
สีนํ้าเงินมว ง สีสม เหลอื ง
สีเขียวน้ําเงิน สีเหลอื งเขยี ว
เราสามารถผสมสเี กิดขึ้นใหมไดอีกมากมายหลายรอยสีดวยวิธีการเดียวกันนี้ ตามคุณลักษณะของสีที่จะกลาว
ตอไป
จะเห็นไดว าสที ้งั 3 ขัน้ ตามทฤษฎีสีดงั กลาว มีผลทําใหเราสามารถนํามาใชเปนหลักในการเลือกสรรสี
สาํ หรับงานสรา งสรรคข องเราได ซ่งึ งานออกแบบมิไดถูกจํากัดดวยกรอบความคิดของทฤษฎีตามหลักวิชาการ
เทานั้น แตเ ราสามารถคิดออกนอกกรอบแหง ทฤษฎีน้ัน ๆ ได เทาที่มันสมองของเราจะเคนความคิดสรางสรรค
ออกมาได
ภาพวงจรสี 12 สี
7
คุณลักษณะของสมี ี 3 ประการ คือ
1. สีแท หรือความเปนสี (Hue) หมายถึง สีที่อยูในวงจรสีธรรมชาติ ทั้ง 12 สี (ดูภาพสี 12 สีในวงจรสี
ประกอบ) สี ทเ่ี ราเหน็ อยูทุกวนั นแ้ี บง เปน 2 วรรณะ โดยแบง วงจรสีออกเปน 2 สวน จากสีเหลืองวนไปถงึ สีมวง คอื
1. สีวรรณะรอน (Warm Color) ใหความรูสึกรุนแรง รอน ตื่นเตน ประกอบดวย สีเหลือง
สีเหลืองสม สสี ม สแี ดงสม สีแดง สีมว งแดง สมี วง
2. สีวรรณะเย็น (Cool Color) ใหความรูสึกเย็น สงบ สบายตาประกอบดวย สีเหลือง
สีเขียวเหลือง สีเขยี ว สีนาํ้ เงินเขียว สีน้าํ เงิน สมี วงนํา้ เงิน สีมว ง เราจะเหน็ วา สีเหลือง และสีมว ง เปน สีท่ีอยูไดทั้ง
2 วรรณะ คอื สกี ลางทเ่ี ปน ไดทง้ั สีรอ น และสเี ยน็
2. ความจัดของสี (Intensity) หมายถึง ความสด หรอื ความบริสุทธิ์ของสีใดสีหนึ่ง และสีท่ีถูกผสมดวย
สีดําจนหมนลง ความจัดหรือความบริสุทธ์ิจะลดลงความจัดของสีจะเรียงลําดับจากจัดท่ีสุด ไปจนหมนท่ีสุด
ไดหลายลาํ ดับ ดวยการคอยๆ เพม่ิ ปริมาณของสีดาํ ทีผ่ สมเขา ไปทลี ะนอ ยจนถงึ ลาํ ดับท่ีความจัดของสีมีนอยที่สุด
คือเกือบเปน สดี ํา
3. น้ําหนักของสี (Values) หมายถึง สีที่สดใส (Brightness) สีกลาง (Grayness) สีทึบ(Darkness) ของ
สีแตละสี สที ุกสีจะมีนํา้ หนกั ในตวั เอง ถา เราผสมสขี าวเขา ไปในสใี ดสหี น่ึง สีน้ันจะสวางขึน้ หรอื มีนํ้าหนักออน
ลงถาเพิ่มสีขาวเขาไปทีละนอยๆ ตามลําดับเราจะไดน้ําหนักของสีท่ีเรียงลําดับจากแกสุดไปจนถึงออนสุด
น้ําหนักออนแกของสี เกิดจากการผสมดวยสีขาว เทา และดํานํ้าหนักของสีจะลดลงดวยการใชสีขาวผสม
(tint) ซ่ึงจะทําให เกดิ ความรูสกึ นมุ นวล ออนหวาน สบายตา นํา้ หนกั ของสีจะเพิ่มข้ึนปานกลางดวยการใชสีเทา
ผสม (tone) ซงึ่ จะทําใหค วามเขมของสีลดลง เกิดความรูสึก ท่ีสงบ ราบเรียบ และน้ําหนักของสีจะเพิ่มข้ึนมาก
ข้นึ นดว ยการใชสดี าํ ผสม (shade) ซง่ึ จะทําใหค วามเขม ของสลี ดความสดใสลง เกดิ ความรสู กึ ขรมึ ลกึ ลบั น้าํ หนกั
ของสียังหมายถึงการเรียงลําดับนํ้าหนักของสีแทดวยกันเอง โดยเปรียบเทียบน้ําหนักออนแกกับสีขาว - ดํา
เราสามารถเปรยี บเทียบระหวางภาพสีกับภาพขาวดําไดอยางชัดเจนและเม่ือเรานําภาพสีท่ีเราเห็นวามีสีแดงอยู
หลายคา ต้งั แตอ อน กลาง แก ไปถายเอกสารขาว - ดํา เมื่อนํามาดูจะพบวา สีแดงจะมีนํ้าหนักออน แกต้ังแตขาว
เทา ดาํ น่ันเปนเพราะวาสีแดงมีนา้ํ หนักของสีแตกตา งกันน่นั เอง
สีตา งๆ ท่ีเราสัมผสั ดวยสายตา จะทําใหเ กิดความรูส กึ ขนึ้ ภายในตอเรา ทนั ทีที่เรามองเห็นสี ไมวาจะเปน
การแตง กาย บานทีอ่ ยูอาศัย เคร่ืองใชตางๆ แลว เราจะทาํ อยา งไร จงึ จะใชสีไดอยางเหมาะสม และสอดคลองกับ
หลักจิตวิทยา เราจะตองเขา ใจวาสีใดใหความรสู กึ ตอมนุษยอยางไร ซึ่งความรูส ึกทเ่ี กีย่ วกบั สีสามารถจาํ แนกออก
ไดดังนี้
สีแดง ใหความรูสึกรอน รุนแรง กระตุน ทาทาย เคลื่อนไหว ต่ืนเตน เราใจ มีพลัง ความอุดมสมบูรณ
ความม่งั คงั่ ความรัก ความสําคัญ และอันตรายจะทําใหเ กดิ ความอุดมสมบรู ณเ ปนตน
8
สีสม ใหความรูสึก รอน อบอุน สดใส มีชีวิตชีวา วัยรุน ความคึกคะนอง และการปลดปลอย สีเหลือง
ใหความรูส กึ แจม ใส ราเรงิ เบกิ บานสดช่ืน ชีวติ ใหม ความสุกสวาง สีเขียว ใหความรูสึก งอกงาม สดชื่น สงบ
เงยี บรมร่ืน รม เย็น การพกั ผอน การผอนคลายธรรมชาติ ความปลอดภัย ปกติ ความสุข ความสุขุม เยอื กเย็น
สีเขียวแก ใหความรูสึก เศราใจ แกชรา สีนํ้าเงิน ใหความรูสึกสงบ สุขุม สุภาพ หนักแนน เครงขรึม
เอาการเอางาน ละเอยี ด รอบคอบ สงา งาม มศี ักด์ิศรี สงู ศกั ดิ์ เปนระเบียบถอ มตน
สีฟา ใหความรูสึก ปลอดโปรง โลงกวาง โปรงใส สะอาด ปลอดภัย ความสวาง ลมหายใจ ความเปน
อสิ ระเสรภี าพ การชว ยเหลือ
สีคราม จะทําใหเ กิดความรูส ึกสงบ
สีมวง ใหความรูสึก มีเสนห นาติดตาม เรนลับ ซอนเรนมีอํานาจ มีพลังแฝงอยู ความรัก ความเศรา
ความผดิ หวัง ความสงบ ความสงู ศกั ดิ์
สีนํ้าตาล ใหความรสู ึกเกา หนกั สงบเงยี บ
สีขาว ใหความรูสึกบรสิ ทุ ธิ์ สะอาด ใหม สดใส
สดี ํา ใหความรูสกึ หนัก หดหู เศรา ใจ ทึบตัน
สีชมพู ใหความรูสึก อบอุน ออนโยน นุมนวล ออนหวาน ความรัก เอาใจใส วัยรุน หนุมสาว นารัก
ความสดใส
สีเขียว จะทาํ ใหเ กดิ ความรสู ึกกระชมุ กระชวย เปนหนุมสาว
สีเทา ใหความรูสึก เศรา อาลัย ทอแท ความลึกลับ ความหดหู ความชรา ความสงบ ความเงียบ
สุภาพสขุ มุ ถอมตน
สีทอง ใหค วามรูสึก ความหรูหรา โออ า มีราคา สงู คา สงิ่ สาํ คัญ ความเจรญิ รุงเรอื ง ความสุข ความม่ังคั่ง
ความรํ่ารวย การแผกระจาย
จากความรูสึกดังกลาว เราสามารถนําไปประยุกตใชในชีวิตประจําวันไดในทุกเร่ือง และเมื่อตองการ
สรางผลงาน ที่เก่ียวกบั การใชสี เพอ่ื ท่ีจะไดผ ลงานท่ีตรงตามความตอ งการในการส่ือความหมาย และจะชวยลด
ปญหาในการตัดสนิ ใจท่ีจะเลอื กใชสตี างๆได เชน
1. ใชในการแสดงเวลาของบรรยากาศในภาพเขยี น เพราะสีบรรยากาศในภาพเขียนนน้ั ๆ จะแสดงใหรวู า
เปน ภาพตอนเชา ตอนกลางวัน หรือตอนบา ย เปนตน
2. ในดา นการคา คอื ทาํ ใหสนิ คาสวยงาม นา ซ้ือหา นอกจากนี้ยงั ใชกบั งานโฆษณา เชน โปสเตอรตางๆ
ชวยใหจําหนา ยสนิ คา ไดม ากข้ึน
3. ในดานประสิทธิภาพของการทํางาน เชน โรงงานอุตสาหกรรม ถาทาสีสถานที่ทํางานใหถูกหลัก
จิตวิทยา จะเปนทางหน่ึงท่ีชวยสรางบรรยากาศใหนาทํางาน คนงานจะทํางานมากขึ้น มีประสิทธิภาพในการ
ทํางานสูงขน้ึ
4. ในดา นการตกแตงสีของหอง และสขี องเฟอรนิเจอร ชวยแกปญหาเร่ืองความสวางของหอง รวมทั้ง
ความสุขในการใชหอง ถาเปนโรงเรียน เด็กจะเรียนไดผลดีขึ้น ถาเปนโรงพยาบาลคนไขจะหายเร็วขึ้น
9
นักสรางสรรคง านออกแบบจะเปนผทู ีเ่ กย่ี วของกับการใชสีโดยตรง มัณฑนากรจะคิดคนสีขึ้นมาเพ่ือใชในงาน
ตกแตง คนออกแบบฉากเวทีการแสดงจะคิดคน สีเก่ยี วกบั แสง จติ รกรกจ็ ะคดิ คนสขี ้ึนมาระบายใหเหมาะสมกับ
ความคดิ และจินตนาการของตน แลว ตวั เราจะคดิ คน สีขน้ึ มาเพอ่ื ความงาม ความสุข สําหรับเรามิไดหรือสีท่ีใช
สาํ หรับการออกแบบน้นั ถาเราจะใชใหเกิดความสวยงามตรงตามความตองการของเรา มีหลักในการใชกวางๆ
อยู 2 ประการ คือ การใชสีกลมกลนื กัน และ การใชสตี ดั กนั
1. การใชส กี ลมกลนื กัน
การใชส ีใหกลมกลนื กัน เปนการใชส หี รือน้าํ หนักของสีใหใกลเ คยี งกัน หรือคลา ยคลงึ กัน เชน การใชสี
แบบเอกรงค เปนการใชสสี เี ดยี วทมี่ ีนา้ํ หนกั ออ นแกห ลายลาํ ดบั
การใชส ขี างเคียง เปน การใชสีท่ีเคียงกัน 2 – 3 สี ในวงสี เชน สีแดง สีสมแดง และสีมวงแดง การใชสี
ใกลเคยี ง เปน การใชส ีท่ีอยเู รียงกันในวงสีไมเ กนิ 5 สี ตลอดจนการใชสีวรรณะรอนและวรรณะเย็น (warm tone
colors and cool tone colors) ดงั ไดกลา วมาแลว
2. การใชส ีตัดกนั สีตดั กนั คอื สีทีอ่ ยตู รงขา มกนั ในวงจรสี (ดภู าพวงจรสี ดา นซายมือประกอบ) การใชสี
ใหต ัดกนั มีความจาํ เปนมาก ในงานออกแบบ เพราะชวยใหเกิดความนา สนใจในทนั ทีที่พบเห็น สีตัดกนั อยาง
แทจ รงิ มี อยูดวยกนั 6 คูสี คือ
1. สเี หลอื ง ตรงขามกบั สมี วง
เหลอื ง มวง
2. สสี ม ตรงขา มกบั สนี ํา้ เงนิ สม นาํ้ เงิน
3. สีแดง ตรงขา มกับ สเี ขียว แดง เขียว
4. สีเหลืองสม ตรงขา มกับ สมี ว งน้ําเงิน เหลอื งสม มว งน้าํ เงิน
5. สสี ม แดง ตรงขา มกับ นาํ้ เงินเขยี ว สม แดง น้ําเงินเขยี ว
6. สมี ว งแดง ตรงขา มกับ สีเหลืองเขียว มว งแดง เหลืองเขยี ว
ในงานออกแบบ หรือการจัดภาพ หากเรารูจกั ใชส ีใหมีสภาพโดยรวมเปนวรรณะรอน หรือวรรณะเย็น
เราจะ สามารถควบคุม และสรางสรรคผ ลงานใหเ กดิ ความประสานกลมกลนื งดงามไดงา ยขึ้น เพราะสีมีอิทธิพล
ตอมวล ปริมาตร และชอ งวา ง สมี คี ณุ สมบตั ิท่ีทําใหเ กิดความกลมกลืน หรือขัดแยงได สีสามารถขับเนนใหเกิด
จดุ เดน และการรวมกันใหเ กดิ เปนหนวยเดยี วกนั ได เราในฐานะผใู ชสีตอ งนาํ หลกั การตา งๆ ของสไี ปประยุกตใ ช
ใหส อดคลอ ง กบั เปาหมายในงานของเรา เพราะสมี ผี ลตอ การออกแบบ คอื
10
1. สรางความรสู กึ สใี หค วามรูสึกตอผูพบเหน็ แตกตา งกนั ไป ทั้งนีข้ นึ้ อยูกบั ประสบการณ และภูมิหลัง
ของแตล ะคน สบี างสีสามารถรักษาบาํ บดั โรคจิตบางชนิดได การใชส ภี ายใน หรือภายนอกอาคาร จะมีผลในการ
สรา งบรรยากาศได
2. สรางความนาสนใจ สีมีอิทธิพลตองานศิลปะการออกแบบ จะชวยสรางความประทับใจ และ
ความนาสนใจเปน อนั ดบั แรกที่พบเหน็
3. สบี อกสัญลกั ษณข องวตั ถุ ซึ่งเกดิ จากประสบการณ หรือภูมิหลัง เชน สีแดงสัญลักษณของไฟ หรือ
อนั ตราย สีเขียวสัญลักษณแ ทนพืช หรือความปลอดภยั เปนตน
4. สีชวยใหเกิดการรับรู และจดจํา งานศิลปะการออกแบบตองการใหผูพบเห็นเกิดการจดจํา
ในรูปแบบ และผลงาน หรือเกิดความประทบั ใจ การใชส ีจะตองสะดดุ ตา และมีเอกภาพ
แสงและเงา
แสงและเงา หมายถงึ แสงท่สี องมากระทบพ้นื ผวิ ทม่ี สี อี อนแกแ ละพน้ื ผวิ สงู ตํ่า โคงนูนเรียบหรือขรุขระ
ทาํ ใหปรากฏแสงและเงาแตกตา งกนั
ตวั กาํ หนดระดับของคานํ้าหนกั ความเขมของเงาจะข้ึนอยกู บั ความเขม ของแสง ในท่ีท่ีมีแสงสวางมาก
เงาจะเขม ข้นึ และในทท่ี ม่ี ีแสงสวา งนอ ย เงาจะไมชัดเจน ในทีท่ ่ไี มมแี สงสวา งจะไมมีเงา และเงาจะอยูในทางตรง
ขามกับแสงเสมอ คาน้าํ หนกั ของแสงและเงาทเ่ี กิดบนวัตถสุ ามารถจําแนกเปนลกั ษณะทตี่ า ง ๆ ไดด ังน้ี
1. บรเิ วณแสงสวางจดั (Hi-light) เปนบรเิ วณทอี่ ยูใกลแหลง กาํ เนดิ แสงมากท่ีสุดจะมีความสวางมาก
ทส่ี ุด วัตถุทม่ี ผี ิวมนั วาวจะสะทอ นแหลง กําเนดิ แสงออกมาใหเห็นไดชดั
2. บริเวณแสงสวา ง (Light) เปนบรเิ วณท่ีไดร ับแสงสวา ง รองลงมาจากบริเวณแสงสวางจัด เนื่องจาก
อยูห า งจากแหลง กําเนิดแสงออกมา และเร่มิ มคี านํ้าหนักออน ๆ
3. บรเิ วณเงา (Shade) เปนบริเวณทไี่ มไดร ับแสงสวาง หรอื เปน บรเิ วณท่ถี กู บดบงั จากแสงสวา ง ซงึ่ จะ
มีคานํ้าหนักเขมมากขึ้นกวา บรเิ วณแสงสวาง
4. บรเิ วณเงาเขม จัด (Hi-Shade) เปนบริเวณท่ีอยหู างจากแหลง กําเนิดแสงมากท่ีสุด หรือ เปนบริเวณ
ท่ถี ูกบดบงั หลาย ๆ ชัน้ จะมีคานา้ํ หนักท่ีเขม มากไปจนถึงเขม ท่ีสดุ
5. บรเิ วณเงาตกทอด เปน บรเิ วณของพืน้ หลังท่ีเงาของวัตถุทาบลงไป เปน บรเิ วณเงาที่อยูภายนอกวัตถุ
และจะมคี วามเขมของคาน้ําหนกั ขึน้ อยูกับความเขมของเงา นา้ํ หนกั ของพื้นหลัง ทศิ ทางและระยะของเงา
ความสาํ คัญของคา นํา้ หนัก
1. ใหความแตกตา งระหวางรปู และพน้ื หรือรปู ทรงกับทว่ี าง
2. ใหค วามรสู ึกเคล่ือนไหว
3. ใหความรูส กึ เปน 2 มติ ิ แกรปู รา ง และความเปน 3 มติ แิ กร ปู ทรง
4. ทาํ ใหเ กิดระยะความต้ืน - ลึก และระยะใกล - ไกลของภาพ
5. ทาํ ใหเ กิดความกลมกลนื ประสานกนั ของภาพ
11
กิจกรรม
1. ใหน ักศึกษาใชเสนแบบตางๆตามแบบเรียนมาประกอบเปนภาพตามจนิ ตนาการ
ลงในกระดาษเปลา ขนาด A4 จากนน้ั นํามาแสดงผลงานและแลกเปลย่ี นกนั ชมและวจิ ารณ
กนั ในชน้ั เรียน
2. นําผลงานจากขอ1 เก็บในแฟม สะสมผลงาน
12
เร่ืองที่ 2 ทศั นศิลปส ากล
ความหมายของศลิ ปะและทัศนศลิ ป
ศิลปะหมายถึง ผลแหงความคิดสรางสรรคของมนุษยที่แสดงออกมาในรูปลักษณตางๆใหปรากฏ
ซ่ึงความสุนทรียภาพ ความประทับใจ หรือความสะเทือนอารมณ ตามประสบการณ รสนิยม และทักษะของ
บคุ คลแตล ะคนนอกจากนีย้ งั มนี ักปราชญ นกั การศกึ ษา ทา นผูรู ไดใหความหมายของศิลปะแตกตางกันออกไป
เชน การเลียนแบบธรรมชาติ การแสดงออกของบุคลกิ ภาพทางอารมณของมนษุ ย
ความสมั พนั ธระหวา งศลิ ปะกับมนุษย
การสรางสรรคท างศลิ ปะของมนุษยเปนกิจกรรมในการพัฒนาสติปญญาและอารมณที่มีมาตั้งแตสมัย
โบราณตง้ั แตยุคหนิ หรอื ประมาณ 4,000 - 5,000 ปลว งมาแลว นบั ต้ังแตม นษุ ยอาศัยอยูในถาํ้ เพิงผา ดํารงชีวิตดวย
การลา สัตวแ ละหาของปาเปน อาหาร โดยมากศลิ ปะจะเปนภาพวาด ซ่ึงปรากฏตามผนังถํ้าตางๆ เชน ภาพวัวไบ
ซัน ที่ถา้ํ อลั ตารมิ า ในประเทศสเปน ภาพสัตวช นิดตาง ๆ ทถี่ ้ําลาสโคซ ในประเทศฝร่ังเศส สําหรับประเทศไทย
ทพ่ี บเห็น เชนผาแตม จังหวดั อบุ ลราชธานี ภาชนะเครื่องปนดนิ เผา ทบ่ี านเชียง จงั หวดั อดุ รธานี
13
ประเภทของงานทศั นศลิ ป สามารถแบงออกเปน 4 ประเภท คือ
1. จิตรกรรม
2. ประตมิ ากรรม
3. สถาปต ยกรรม
4. ภาพพิมพ
งานจิตรกรรม เปนงานศิลปะท่ีแสดงออกดวยการวาด ระบายสี และการจัดองคประกอบความงาม
เพอื่ ใหเ กิดภาพ 2 มิติ ไมมีความลึกหรอื นนู หนา จิตรกรรมเปนแขนงหน่ึงของทัศนศิลป ผูทํางานดานจิตรกรรม
จะเรยี กวา จิตรกร
จอหน แคนาเดย (John Canaday) ไดใหความหมายของจิตรกรรมไวว า จติ รกรรม คือ การระบายชั้นของ
สลี งบนพ้นื ระนาบรองรับเปน การจดั รวมกันของรูปทรง และ สีที่เกิดขึ้นจากการเตรียมการของศิลปนแตละคน
ในการเขียนภาพนั้น พจนานุกรมศัพท อธิบายวา เปนการสรางงานทัศนศิลปบนพื้นระนาบรองรับ ดวยการ
ลากปา ย ขีด ขดู วัสดจุ ิตรกรรมลงบนพ้ืนระนาบรองรับ
ภาพจิตรกรรมที่เกา แกทส่ี ุดทีเ่ ปนที่รูจกั อยูท่ถี ํา้ Chauvet ในประเทศฝร่ังเศส ซึ่งนักประวตั ศิ าสตรบ างคน
อา งวา มีอายุราว 32,000 ปเ ปน ภาพทสี่ ลักและระบายสีดว ยโคลนแดงและสียอมดํา แสดงรูปมา แรด สิงโต ควาย
แมมมอธ หรอื มนษุ ยท่ีกาํ ลังลา สัตว
จติ รกรรม สามารถจําแนกไดตามลกั ษณะผลงาน และ วัสดุอุปกรณการสรางสรรคเปน 2 ประเภท คือ
ภาพวาด และ ภาพเขยี น
14
จิตรกรรมภาพวาด (Drawing) เปนศัพททัศนศิลป คือ ภาพวาดเสน หรือบางทานอาจเรียกดวยคําทับ
ศพั ทวา ดรออง้ิ ปจ จุบันไดมีการนําอุปกรณ และเทคโนโลยีท่ีใชในการเขียนภาพและวาดภาพ ที่กาวหนาและ
ทนั สมยั มากมาใช ผูเขียนภาพจึงอาจจะใชอ ปุ กรณตางๆมาใชในการเขียนภาพ ภาพวาดในส่ือส่ิงพิมพ สามารถ
แบง ออกไดเปน 2 ประเภท คอื ภาพวาดลายเสน และ การตนู
จติ รกรรมภาพเขียน (Painting) ภาพเขยี นเปน การสรางงาน 2 มิติบนพื้นระนาบดวยสีหลายสี เชน สีน้ํา
สีน้ํามัน สีฝนุ สชี อลค หรือสอี ะคริลคิ ซ่งึ ผลงานทางดา นจติ รกรรมภาพเขยี นของสแี ตละชนดิ จะมคี วามแตกตาง
กัน เชน
1. การเขยี นภาพสนี ํา้ (Color Painting)
2. การเขยี นภาพสนี า้ํ มัน (Oil Painting)
15
3. การเขียนภาพสอี ะคริลิค (Acrylic Painting)
งานประตมิ ากรรม เปนผลงานดานศลิ ปทีแ่ สดงออกดวยการสรางรูปทรง 3 มิติ ท่ีมีปริมาตร มีนํ้าหนัก
และกินเนื้อท่ีในอากาศ โดยการใชวัสดุชนิดตาง ๆ วัสดุท่ีใชสรางสรรคงานประติมากรรม จะเปนตัวกําหนด
วธิ กี ารสรา งผลงาน ความงามของงานประตมิ ากรรม ทาํ ได 4 วธิ ี คือ
1. การปน (Casting) เปนการสรา งรูปทรง 3 มิติ จากวสั ดุ ท่ีมีความเหนียว ออนตัว และยึดจับตัวกันไดดี
วัสดุท่นี ิยมนาํ มาใชป น ไดแก ดนิ เหนียว ดนิ น้ํามัน ปนู แปง ขี้ผงึ้ กระดาษ หรือ ข้เี ลื่อยผสมกาว เปนตน
2. การแกะสลัก (Carving) เปนการสรา งรปู ทรง 3 มิติ จากวัสดุที่ แขง็ เปราะ โดยอาศัย เคร่ืองมือ วัสดุ
ทีน่ ยิ มนํามาแกะ ไดแก ไม หนิ กระจก แกว ปนู ปลาสเตอร เปนตน
งานแกะสลักไม
16
3. การหลอ (Molding) การสรางรูปผลงานท่ีมีทรง 3 มิติ จากวัสดุท่ีหลอมตัวไดและกลับแข็งตัวได
โดยอาศัยแมพิมพ ซึ่งสามารถทําใหเกิดผลงานท่ีเหมือนกันทุกประการตั้งแต 2 ช้ิน ขึ้นไป วัสดุที่นิยมนํามา
ใชห ลอ ไดแก โลหะ ปูน แกว ขผ้ี ้ึง เรซ่นิ พลาสตกิ ฯลฯ
4. การประกอบขึ้นรูป (Construction) การสรางผลงานท่ีมีรูปทรง 3 มิติ โดยการนําวัสดุตาง ๆ มา
ประกอบเขาดว ยกนั และยดึ ตดิ กนั ดวยวสั ดตุ า ง ๆ การเลอื กวธิ กี ารสรางสรรคง านประตมิ ากรรม ขึน้ อยูกับวัสดุท่ี
ตองการใชใ นงานประตมิ ากรรม ไมวาจะสรา งขนึ้ โดยวธิ ีใด ผลงานทางดานประติมากรรม จะมอี ยู 3 ลักษณะ คอื
แบบนูนตาํ่ แบบนูนสงู และแบบลอยตวั ผูสรา งสรรคงานประติมากรรม เรียกวา ประตมิ ากร
ประเภทของงานประตมิ ากรรม
1. ประติมากรรมแบบนูนต่าํ (Bas Relief) เปนรูปปนที่นนู ขึ้นมาจากพ้ืนหรอื มพี ้ืนหลงั รองรบั มองเห็น
ไดชัดเจนเพยี งดา นเดียว คอื ดานหนา มคี วามสูงจากพ้ืนไมถ งึ ครง่ึ หนงึ่ ของรูปจริง ไดแกรูปนูนบนเหรียญรูปนูน
ที่ใชป ระดบั ตกแตงภาชนะ รปู นูนท่ใี ชป ระดับตกแตงบรเิ วณฐานอนุสาวรยี หรอื พระเครื่องบางองค
2. ประตมิ ากรรมแบบนูนสงู ( High Relief ) เปนรปู ปน แบบตา ง ๆ มลี ักษณะเชนเดียวกับแบบ นูนตํ่า
แตมีความสูงจากพ้ืนต้ังแตครึ่งหนึ่งของรูปจริงขึ้นไป ทําใหเห็นลวดลายท่ีลึก ชัดเจน และ และเหมือนจริง
มากกวา แบบนนู แตใ ชงานแบบเดียวกับแบบนนู ตํา่
3. ประติมากรรมแบบลอยตวั ( Round Relief ) เปนรูปปน แบบตาง ๆ ท่ีมองเห็นไดรอบดานหรือ ต้ังแต 4
ดา นขึ้นไป ไดแ ก ภาชนะตาง ๆ รูปเคารพตาง ๆ พระพุทธรปู เทวรูป รูปตามคตินิยม รูปบคุ คลสาํ คัญ รปู สัตว ฯลฯ
17
สถาปต ยกรรม (Architecture) หมายถึง การออกแบบผลงานทางทัศนศิลปที่เปนการกอสรางสิ่งตาง ๆ
คนทั่วไปอยูอาศัยไดแ ละอยูอ าศัยไมไ ด เชน สถปู เจดยี อนสุ าวรีย บา นเรือนตา ง ๆ เปนตน นอกจากนี้ยังรวมถึง
การกําหนดผังบริเวณตาง ๆ เพ่ือใหเกิดความสวยงามและเปนประโยชนแกการใชสอยตามตองการงาน
สถาปตยกรรมเปนแหลงรวมของงานศิลปะทางกายภาพเกือบทุกชนิด และมักมีรูปแบบแสดงเอกลักษณของ
สังคมนั้น ๆ ในชวงเวลาน้ัน ๆ เราแบง ลกั ษณะงานของสถาปตยกรรมออกไดเ ปน 3 แขนง ดงั น้คี ือ
1. สถาปตยกรรมออกแบบกอ สรา ง เชน การออกแบบสรา งตกึ อาคาร บานเรือน เปน ตน
2. ภูมสิ ถาปตย เชน การออกแบบวางผัง จดั บรเิ วณ วางผังปลกู ตนไม จดั สวน เปนตน
3. สถาปตยกรรมผังเมือง ไดแก การออกแบบบริเวณเมืองใหมีระเบียบ มีความสะอาด และถูกหลัก
สขุ าภิบาล เราเรียกผสู รางงานสถาปต ยกรรมวา สถาปนกิ
องคป ระกอบสาํ คัญของสถาปตยกรรม
จดุ สนใจและความหมายของศาสตรทางสถาปต ยกรรมนัน้ ไดเ ปล่ยี นแปลงไปตามยุคสมัย
บทความ De Architectura ของวิทรูเวียส ซึ่งเปนบทความเก่ียวกับสถาปตยกรรม ที่เกาแกที่สุด
ท่เี ราคน พบ ไดก ลาวไววา สถาปต ยกรรมตอ งประกอบดว ยองคประกอบสามสวนหลักๆ ทผี่ สมผสานกนั อยางลง
ตวั และสมดุล อนั ไดแ ก
ความงาม (Venustas) หมายถงึ สดั สว นและองคป ระกอบ การจดั วางทว่ี าง สี วัสดุและพ้ืนผิวของอาคาร
ที่ผสมผสานลงตวั ทย่ี กระดับจติ ใจของผไู ดย ลหรือเยยี่ มเยือนสถานทีน่ น้ั ๆ
ความม่ันคงแข็งแรง (Firmitas) และประโยชนใชสอย (Utilitas) หมายถึง การสนองประโยขนและ
การบรรลปุ ระโยชนแหงเจตนา รวมถึงปรัชญาของสถานท่นี นั้ ๆ
18
สถาปต ยกรรมตะวนั ตก
ตัวอยางเชน บานเรือน โบสถ วิหาร ปราสาท ราชวัง ซ่ึงมีท้ังสถาปตยกรรมแบบโบราณ เชน กอธิก
ไบแซนไทน จนถงึ สถาปต ยกรรมสมยั ใหม
ศลิ ปะภาพพมิ พ ( Printmaking)
ภาพพิมพ โดยความหมายของคํายอมเปนท่ีเขาใจชัดเจนแลววา หมายถึงรูปภาพท่ีสรางข้ึนมา โดยวิธี
การพิมพ แตสําหรับคนไทยสวนใหญเม่ือพูดถึงภาพพิมพอาจจะยังไมเปนที่รูจักวาภาพพิมพ คืออะไรกันแน
เพราะคําๆน้ีเปนคําใหมที่เพ่งิ เริ่มใชกนั มาประมาณเม่ือ 30 ป มานเ้ี อง
โดยความหมายของคาํ เพียงอยา งเดียว อาจจะชวนใหเขาใจสับสนไปถึงรูปภาพทีพ่ ิมพดว ยกรรมวิธี
การพมิ พทางอุตสาหกรรม เชน โปสเตอร ภาพพมิ พทจ่ี ําลองจากภาพถาย หรือภาพจําลองจิตรกรรมอนั ทีจ่ ริง
คาํ วา ภาพพิมพ เปน ศัพทเฉพาะทางศลิ ปะที่ หมายถงึ ผลงานวจิ ิตรศิลปท ่ีจดั อยใู นประเภท ทศั นศลิ ป เชน
เดียวกนั กับจติ รกรรมและประติมากรรม
ภาพพมิ พท ัว่ ไป มลี ักษณะเชน เดยี วกับจติ รกรรมและภาพถา ย คอื ตวั อยา งผลงานมเี พียง 2 มิติ สวนมิติท่ี
3 คือ ความลึกท่ีจะเกิดขน้ึ จากการใชภ าษาเฉพาะของทัศนศิลป อันไดแก เสน สี นํ้าหนัก และพื้นผิว สรางใหดู
ลวงตาลึกเขา ไปในระนาบ 2 มติ ิของผิวภาพ แตภ าพพมิ พมีลักษณะเฉพาะท่ีแตกตางจากจิตรกรรมตรงกรรมวิธี
การสรางผลงาน ที่ผลงานจิตรกรรมน้ันศิลปนจะเปนผูสรางสรรคขีดเขียน หรือวาดภาพระบายสีลงไปบน
ผืนผาใบ หรือกระดาษ โดยสรางออกมาเปนภาพทันที แตการสรางผลงานภาพพิมพศิลปนตองสรางแมพิมพ
ขึ้นมาเปนสอ่ื กอน แลวจงึ ผา นกระบวนการพิมพ ถายทอดออกมาเปน ภาพทต่ี องการได
กรรมวิธีในการสรางผลงานดวยการพิมพนี้เอง ท่ีทําใหศิลปนสามารถสรางผลงานที่เปนตนแบบ
(Original) ที่เหมือนๆกันไดหลายชิ้น เชนเดียวกับผลงานประติมากรรมประเภทท่ีปนดวยดินแลวทําแมพิมพ
หลอ ผลงานช้ินนน้ั ใหเปนวัสดุถาวร เชน ทองเหลือง หรือสําริด ทุกช้ินท่ีหลอออกมาถือวาเปนผลงานตนแบบ
มิใชผ ลงานจาํ ลอง (Reproduction) ท้ังนี้เพราะวาภาพพิมพน้ันก็มิใชผลงานจําลองจากตนแบบท่ีเปนจิตรกรรม
หรือวาดเสน แตภาพพิมพเปนผลงานสรางสรรคที่ศิลปนมีทั้งเจตนาและความเชี่ยวชาญในการใชคุณลักษณ
พเิ ศษเฉพาะของเทคนคิ วิธีการทางภาพพิมพแตละชนิดมาใชในการถายทอดจินตนาการ ความคิด และอารมณ
19
ความรสู กึ ออกมาในผลงานไดโ ดยตรง แตกตางกับการท่ีนําเอาผลงานจิตรกรรมที่สรางสําเร็จไวแลวมาจําลอง
เปน ภาพโดยผา นกระบวนการทางการพมิ พ
ในการพมิ พผลงานแตละช้ิน ศิลปนจะจํากัดจํานวนพิมพตามหลักเกณฑสากล ท่ีศิลปสมาคมระหวาง
ชาติ ซ่ึงไทยกเ็ ปนสมาชิกอยดู ว ย ไดก ําหนดไวโดยศลิ ปน ผสู รา งผลงานจะเขียนกํากับไวท่ีดานซายของภาพเชน
3/30 เลข 3 ตัวหนาหมายถึงภาพท่ี 3 สวนเลข 30 ตัวหลังหมายถึงจํานวนที่พิมพท้ังหมด ในภาพพิมพบางชิ้น
ศลิ ปน อาจเซน็ คาํ วา A/P ไวแ ทนตวั เลขจํานวนพิมพ A/P นี้ยอมาจาก Artist's Proof ซึ่งหมายความวา ภาพ ๆ นี้
เปนภาพที่พมิ พขน้ึ มา หลังจากทศี่ ลิ ปนไดมีการทดลองแกไ ข จนไดค ุณภาพสมบรู ณต ามที่ตอ งการ จึงเซ็นรบั รอง
ไวหลังจากพิมพ A/P ครบตามจํานวน 10% ของจํานวนพิมพท้ังหมด จึงจะเร่ิมพิมพใหครบตามจํานวนเต็ม
ท่กี าํ หนดไว หลังจากน้นั ศลิ ปนจะทําลาย แมพ ิมพท ิ้งดว ยการขดู ขีด หรือวิธีการอื่นๆ โดยจะพิมพภาพสุดทายนี้
ไวเพ่ือเปนหลักฐาน เรียกวา Cancellation Proof สดุ ทายศิลปนจะเซ็นท้ังหมายเลขจํานวนพิมพ วันเดือนป และ
ลายเซ็นของศิลปนเองไวดา นลางขวาของภาพเพ่ือเปนการรับรองคุณภาพดวยทุกช้ิน จํานวนพิมพนี้อาจจะมาก
หรอื นอ ยขน้ึ อยูกบั ความนิยมของ “ ตลาด ” และปจ จยั อนื่ ๆอีกหลายประการ
สําหรับศิลปนไทยสวนใหญจะจํากัดจํานวนพิมพไวคอนขางต่ําประมาณ 5-10 ภาพ ตอผลงาน 1 ชิ้น
กฎเกณฑท ่ศี ลิ ปนทว่ั โลกถือปฏิบตั ิกันเปน หลักสากลนี้ยอ มเปน การรกั ษามาตรฐานของภาพพิมพไว อันเปนการ
สง เสริมภาพพมิ พใ หแ พรหลายและเปนทีย่ อมรับกันโดยท่วั ไป
รูปแบบของศลิ ปะภาพพิมพในดานเทคนิค
1. กรรมวธิ ีการพิมพผ ิวนนู (Relief Process)
2. กรรมวิธีการพิมพรอ งลึก (Intaglio Process )
3. กรรมวธิ ีการพมิ พพืน้ ราบ (Planography Process
4. กรรมวธิ กี ารพิมพผ านชองฉลุ (Serigraphy)
5. กรรมวิธีการพิมพเ ทคนิคผสม (Mixed Tecniques)
6. การพมิ พว ิธพี นื้ ฐาน (Basic Printing)
20
รูปแบบของศลิ ปะภาพพิมพในทางทฤษฎีสนุ ทรยี ศาสตร
1. รปู แบบแสดงความเปน จริง (Figuration Form)
2. รูปแบบผันแปรความเปนจรงิ (Semi - Figuration Form)
3. รปู แบบสญั ลกั ษณ (Symbolic Form)
4. รูปแบบทปี่ ราศจากเนอ้ื หา (Non - Figuration Form)
ความสาํ คัญของเนอ้ื หา
1. กระบวนการสรา งแมพ มิ พ ในงานศิลปะภาพพิมพ มีหลายลักษณะและแตละลักษณะจะมีความเปน
เอกลักษณเ ฉพาะของเทคนคิ ซึ่งแตละเทคนิคสามารถตอบสนองเน้อื หาในทางศลิ ปะไดต ามผลของเทคนคิ นน้ั ๆ
เชน กรรมวิธกี ารพิมพรองลกึ สามารถถายทอดเน้อื หาในเรอ่ื งพ้นื ผิว (TEXTURE) ไดอยางมปี ระสทิ ธิภาพทส่ี ุด
2. ในทฤษฎที างสุนทรยี ศาสตรท าํ ใหแยกแยะถึงรปู แบบในทางศิลปะในแบบตา ง ๆ เพ่ือใหท ราบถึง
วิธีการแสดงออกในรูปแบบตาง ๆ ของศิลปนได
กิจกรรม
1. ใหน ักศกึ ษาทดลองเขียนภาพจิตรกรรมดวยสีน้าํ หรือสีตา ง ๆ ในการเขยี นภาพระบายสี โดยอาจเปน
ภาพทวิ ทศั น ภาพผักหรือผลไมก็ได
2. ใหนกั ศกึ ษานาํ ดนิ เหนยี วหรอื ดนิ นาํ้ มันมาปน เปนรปู คน สตั ว หรือผลไม โดยมสี ว นสูงไมต่ํากวา
20 เซนตเิ มตร
3. ใหนําผลงานจากขอ 1และขอ 2 มาแสดงในชัน้ เรยี นและใหอ าจารยแ ละเพื่อนนกั ศกึ ษารว มกนั อภปิ ราย
21
เรือ่ งท่ี 3 การวพิ ากษว จิ ารณง านทศั นศิลป
ความหมาย
การวิเคราะหงานศลิ ปะ หมายถึง การพจิ ารณาแยกแยะศึกษาองคป ระกอบของผลงานศิลปะออก
เปน สวน ๆ ทลี ะประเด็น ทัง้ ในดานทัศนธาตุ องคประกอบศลิ ป และความสมั พันธตา งๆในดานเทคนคิ กรรมวธิ ี
การสรางสรรคผ ลงาน เพ่อื นาํ ขอมลู ทีไ่ ดม าประเมินผลงานศลิ ปะ แตละชนิ้ วา มคี ุณคา ทางดานความงาม ทางดาน
สาระและทางดา นอารมณ และความรสู ึกอยา งไร
การวจิ ารณงานศลิ ปะ หมายถึง การแสดงออกทางดา นความคดิ เห็นตอผลงานทางศลิ ปะทศ่ี ิลปน
สรา งสรรคข้ึน โดยผวู จิ ารณใ หค วามคดิ เหน็ ตามหลักเกณฑและหลักการของศิลปะ ทง้ั ในดา นสุนทรียศาสตร
และสาระอน่ื ๆ ดว ยการตชิ ม เพ่ือใหไดข อคดิ นาํ ไปปรับปรงุ พัฒนาผลงานศลิ ปะ หรือใชเปน ขอมูลในการ
ประเมนิ ตัดสินผลงาน เปรยี บเทียบใหเ หน็ คณุ คาในผลงานศลิ ปะชิน้ น้นั ๆ
คณุ สมบตั ิของนกั วิจารณ
1. ควรมคี วามรูเ กยี่ วกบั ศิลปะท้งั ศลิ ปะประจาํ ชาติและศลิ ปะสากล
2. ควรมคี วามรูเกี่ยวกับประวตั ศิ าสตรศิลปะ
3. ควรมคี วามรเู กี่ยวกบั สนุ ทรียศาสตร ชว ยใหร ูแงม ุมของความงาม
4. ตอ งมีวสิ ยั ทศั นกวา งขวาง และไมคลอยตามคนอนื่
5. กลาทีจ่ ะแสดงออกท้งั ท่ีเปนไปตามหลกั วชิ าการและตามความรูสึกและประสบการณ
22
ทฤษฎีการสรา งงานศิลปะ จดั เปน 4 ลักษณะ ดังนี้
1. นยิ มการเลียนแบบ (Imitationalism Theory) เปน การเห็นความงามในธรรมชาตแิ ลวเลยี นแบบไวให
เหมอื นทง้ั รปู ราง รปู ทรง สีสัน ฯลฯ
2. นิยมสรางรูปทรงท่ีสวยงาม (Formalism Theory) เปนการสรางสรรครูปทรงใหมใหสวยงามดวย
ทศั นธาตุ (เสน รปู ราง รูปทรง สี นาํ้ หนกั พนื้ ผวิ บริเวณวา ง) และเทคนคิ วธิ กี ารตา งๆ
3. นยิ มแสดงอารมณ (Emotional Theory) เปน การสรา งงานใหด ูมคี วามรสู ึกตางๆ ทัง้ ท่เี ปน อารมณอัน
เนื่องมาจากเรื่องราวและอารมณของศลิ ปนท่ถี า ยทอดลงไปในชิ้นงาน
4. นิยมแสดงจนิ ตนาการ (Imagination Theory) เปน งานที่แสดงภาพจินตนาการ แสดงความคิดฝนที่
แตกตางไปจากธรรมชาตแิ ละส่งิ ท่ีพบเหน็ อยูเปน ประจาํ
แนวทางการวเิ คราะหแ ละประเมินคณุ คา ของงานศลิ ปะ
การวเิ คราะหแ ละการประเมนิ คุณคาของงานศิลปะโดยท่ัวไปจะพจิ ารณาจาก 3 ดา น ไดแ ก
1. ดา นความงาม
เปนการวิเคราะหและประเมินคุณคาในดานทักษะฝมือ การใชทัศนธาตุทางศิลปะ และการจัด
องคประกอบศิลปวา ผลงานช้ินนแ้ี สดงออกทางความงามของศลิ ปะไดอ ยา งเหมาะสมสวยงามและสงผลตอผู
ดใู หเ กดิ ความชืน่ ชมในสนุ ทรยี ภาพเพียงใด ลักษณะการแสดงออกทางความงามของศิลปะจะมีหลากหลาย
แตกตางกันออกไปตามรูปแบบของยุคสมัย ผูวิเคราะหและประเมินคุณคาจึงตองศึกษาใหมีความรู ความ
เขา ใจทางดานศลิ ปะใหมากที่สดุ
2. ดานสาระ
การวเิ คราะหและประเมนิ คุณคาของผลงานศลิ ปะแตล ะช้นิ วามีลักษณะสง เสริมคุณธรรม จริยธรรม
ตลอดจนจุดประสงคตางๆ ทางจิตวิทยาวาใหสาระอะไรกับผูชมบาง ซ่ึงอาจเปนสาระเกี่ยวกับธรรมชาติ
สงั คม ศาสนา การเมือง ปญญา ความคดิ จนิ ตนาการ และความฝน เชน
3. ดา นอารมณความรสู ึก
เปน การคดิ วิเคราะหและประเมินคณุ คาในดานคณุ สมบัตทิ ีส่ ามารถกระตุนอารมณค วามรูส ึกและ
สื่อความหมายไดอ ยางลกึ ซ้ึงของผลงาน ซ่งึ เปน ผลจากการใชเ ทคนคิ ทแี่ สดงออกถงึ ความคดิ พลงั ความรูส กึ
ในการสรา งสรรคข องศิลปน ทีเ่ ปนผูสราง
23
เรือ่ งที่ 4 ความงามตามธรรมชาติ
ธรรมชาติ (Natural) หมายถึง ส่ิงท่ีปรากฏใหเห็นตามวัฏจักรของระบบสุริยะ โดยท่ีมนุษยมิไดเปน
ผสู รรคสรางขึน้ เชน กลางวนั กลางคืน เดือนมืด เดือนเพ็ญ ภูเขา นํ้าตก ถือวาเปนธรรมชาติ หรือปรากฏการณ
ทางธรรมชาติ ตามความหมายทางพจนานุกรมของนักปราชญทางศิลปไดใหความหมายอยางกวางขวางตาม
แนวทางหรือทศั นะสว นตัวไวดังนี้ คอื ศลิ ปะ(ART) คาํ น้ี ตามแนวสากล มาจากคําวา ARTI และ ARTE ซ่ึงเปน
คาํ ทน่ี ยิ มใชก ันในสมัยฟน ฟศู ลิ ปวิทยา คําวา ARTI นน้ั หมายถึง กลุม ชา งฝม ือในศตวรรษที่ 14, 15 และ 16 สวน
คําวา ARTE หมายถึง ฝมือ ซ่ึงรวมถึง ความรูของการใชวัสดุของศิลปนดวย เชน การผสมสีสําหรับลงพ้ืน การ
เขียนภาพสีน้ํามันหรือการเตรียม และการใชวัสดุอ่ืน ศิลปะ ตามความหมายของพจนานุกรมไทยฉบับ
ราชบัณฑิตยสถานสถาน พ.ศ. 2493 ไดอธิบายไววาศิลป (สิน ละ ปะ) น. หมายถึง ฝมือทางการชาง การแสดง
ออกมาใหปรากฏขึ้นไดอ ยา งนาพึงชม และเกิดอารมณสะเทอื นใจ ศาสตราจารยศ ลิ ป พีระศรี ใหค วามหมายไววา
ศิลปะ หมายถึง งานที่ตองใชความพยายามดวยฝมือและความคิด เชน ตัดเส้ือ สรางเครื่องเรือน ปลูกตนไม
เปนตน และเมื่อกลา วถึง งานทางวจิ ติ รศลิ ป (Fine Arts) หมายถงึ งานอนั เปน ความพากเพียรของมนุษย นอกจาก
ตองใชความพยายามดวยมือดวยความคิด แลวตองมีการพวยพุงแหงพุทธิปญญาและจิตออกมาดวย
(INTELLECTURL AND SPIRITUAL EMANATION)ศิลปะ ตามความหมายของพจนานุกรมศัพทศิลปะ
องั กฤษ ไทย ฉบับราชบณั ฑิตสถาน พ.ศ.2530 ไดอธิบายไววา ART ศิลปะ คือ ผลแหงความคิดสรางสรรคของ
มนุษยที่แสดงออกในรูปลักษณตางๆ ใหปรากฏซ่ึงสุนทรียภาพ ความประทับใจ หรือความสะเทือนอารมณ
ตามอัจฉริยภาพพุทธิปญญา ประสบการณ รสนิยมและทักษะของแตละคน เพื่อความพอใจ ความรื่นรมย
ขนบธรรมเนียมจารตี ประเพณี หรอื ความเช่อื ในลทั ธศิ าสนา”
องคป ระกอบท่ีสาํ คัญในงานศลิ ปะ
1. รูปแบบ (FORM) ในงานศิลปะ หมายถึง รูปรางลักษณะท่ีศิลปนถายทอดออกมาใหปรากฏเปน
รูปธรรมในงานศลิ ปะ อาจแบง ออกไดเปน 3 ชนิด คือ1.1 รูปแบบธรรมชาติ (NATURAL FORM) ไดแก นํ้าตก
ภูผา ตนไม ลําธาร กลางวัน กลางคืน ทองฟา ทะเล 1.2 รูปแบบเรขาคณิต (GEOMETRIC FORM) ไดแก
สเ่ี หลี่ยม สามเหล่ยี ม วงกลม ทรงกระบอก 1.3 รปู แบบนามธรรม (ABSTRACT FORM) ไดแก รูปแบบที่ศิลปน
ไดสรางสรรคข้ึนมาเอง โดยอิสระ หรืออาจตัดทอน (DISTROTION) ธรรมชาติ ใหเหลือเปนเพียงสัญลักษณ
(SYMBOL) ทีส่ ื่อความหมายเฉพาะตวั ของศลิ ปน ซงึ่ รูปแบบทกี่ ลาวมาขา งตน ศิลปน สามารถท่ีจะเลอื กสรรนาํ มา
สรางเปนงานศิลปะ ตามความรูส กึ ทปี่ ระทับใจหรอื พึงพอใจในสวนตัวของศลิ ปน
2. เน้ือหา (CONTENT) หมายถึง การสะทอนเร่ืองราวลงไปในรูปแบบดังกลาว เชน กลางวัน
กลางคนื ความรกั การเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจ การเมอื ง และคณุ คา ทางการจดั องคประกอบทางศิลปะ เปนตน
3. เทคนคิ (TECHNIQUE) หมายถึง ขบวนการเลือกสรรวัสดุ ตลอดจนวธิ กี ารสรางสรรค นํามาสราง
ศลิ ปะช้นิ นน้ั ๆ เชน สนี าํ้ มัน สีชอลก สนี ้ํา ในงานจติ รกรรม หรอื ไม เหลก็ หนิ ในงานประตมิ ากรรมเปนตน
24
4. สุนทรียศาสตร (AESTHETICAL ELEMENTS) ซึ่งมี 3 อยาง คือ ความงาม (BEAUTY)
ความแปลกหแู ปลกตา (PICTURESQUENESS) และความนา ท่ึง (SUBLIMITY) ซงึ่ ศิลปกรรมช้ินหน่ึงอาจมีทั้ง
ความงามและความนา ทง่ึ ผสมกนั ก็ได เชน พระพุทธรูปสมัยสุโขทัย อาจมีทั้งความงามและความนาทึ่งรวมอยู
ดวยกัน การท่ีคนใดคนหน่ึงมีสุนทรียะธาตุในความสํานึก เรียกวา มีประสบการณทางสุนทรียศาสตร
(AESTHETHICAL EXPERIENCE) ซึง่ จะตอ งอาศยั การเพาะบม ทั้งในดานทฤษฎี ตลอดจนการใหความสนใจ
เอาใจใสรับรูตอการเคลื่อนไหวของวงการศิลปะโดยสมํ่าเสมอ เชน การชมนิทรรศการท่ีจัดข้ึนในหอศิลป
เปน ตน เม่ือกลา วถึง งานศลิ ปกรรมและองคประกอบ ที่สําคญั ในงานศลิ ปะแลวหากจะยอ นรอยจากความเปนมา
ในอดตี จนถึงปจ จุบนั แลว พอจะแยกประเภทการสรา งสรรคของศิลปน ออกไดเ ปน 3 กลุมดงั น้ี
1. กลุม ท่ยี ดึ รปู ธรรม (REALISTIC) หมายถงึ กลมุ ที่ยดึ รปู แบบที่เปนจริงในธรรมชาติมาเปน
หลกั ในการสรา งงานศลิ ปะ สรางสรรคอ อกมาใหมลี กั ษณะคลา ยกบั กลองถา ยภาพ หรอื ตัดทอนบางสิ่งออกเพียง
เล็กนอย ซ่ึงกลุมน้ีไดพยายามแกปญหาใหกับผูดูท่ีไมมีประสบการณทางศิลปะและสามารถสื่อความหมาย
ระหวา งศิลปะกับผูดูไดง ายกวาการสรา งสรรคผ ลงานในลกั ษณะอนื่ ๆ
2. กลุมนามธรรม (ABSTRACT) หมายถึง กลุมที่ยึดแนวทางการสรางงานที่ตรงขามกับ
กลมุ รูปธรรม ซึง่ ศลิ ปน กลมุ นี้มุงทีจ่ ะสรา งรูปทรง (FORM) ขึ้นมาใหมโดยท่ไี มอาศัยรูปทรงทางธรรมชาติ หรือ
หากนําธรรมชาตมิ าเปน ขอ มูลในการสรางสรรคก็จะใชวิธีลดตัดทอน (DISTORTION) จนในที่สุดจะเหลือแต
โครงสรางทเ่ี ปน เพียงสญั ญาลักษณ และเชนงานศลิ ปะของ มอนเดยี น (MONDIAN)
3. กลุมกึ่งนามธรรม (SEMI-ABSTRACT) เปนกลุมอยูกึ่งกลางระหวางกลุมรูปธรรม
(REALISTIC) และกลุมนามธรรม (ABSTRACT) หมายถึง กลุมท่ีสรางงานทางศิลปะโดยใชวิธีลดตัดทอน
(DISTORTION) รายละเอียดทมี่ ใี นธรรมชาตใิ หป รากฏออกมาเปนรูปแบบทางศิลปะ เพื่อผลทางองคประกอบ
(COMPOSITION) หรือผลของการแสดงออก แตยังมีโครงสรางอันบงบอกถึงที่มาแตไมชัดเจน ซ่ึงเปนผลที
ผูเขียนไดกลาวนําในเบื้องตนจากการแบงกลุมการสรางสรรคของศิลปนทั้ง 3 กลุม ท่ีกลาวมาแลวนั้น
25
มีนักวิชาการทางศิลปะไดเปรียบเทียบเพื่อความเขาใจ คือ กลุมรูปธรรม (REALISTIC) เปรียบเสมือนการคัด
ลายมือแบบตัวบรรจง กลุมนามธรรม (ABSTRACT) เปรียบเสมือนลายเซ็น กลุมก่ึงนามธรรม (SEMI-
ABSTRACT) เปรยี บเสมือนลายมอื หวดั
มนุษยก ับศลิ ปะ
หากกลาวถึงผลงานศิลปะทําไมจะตองกลาวถึงแตเพียงส่ิงที่มนุษยสรางข้ึนมาเทาน้ัน จอมปลวกรังผ้ึง
หรอื รงั นกกระจาบ ก็นาทีจ่ ะเปน สถาปต ยกรรมช้ินเยี่ยม ทเ่ี กดิ จากสัตวตา งๆ เหลา น้ัน หากเราจะมาทําความเขาใจ
ถงึ ท่ีมาของการสรา งก็พอจะแยกออกไดเ ปน 2 ประเดน็ ประเดน็ ที่ 1 ทําไมจอมปลวก รงั ผึ้ง หรือรงั นกกระจาบ
สรางขึ้นมาจึงไมเ รยี กวา งานศิลปะ ประเด็นที่ 2 ทาํ ไมสงิ่ ทีม่ นษุ ยสรางสรรคขึน้ มาถึงเรียกวา เปน ศิลปะ
จากประเด็นท่ี 1 เราพอจะสามารถวิเคราะหถึงสาเหตุท่ีเราไมเรียกวา เปนผลงานศิลปะเพราะปลวก ผ้ึง
และนกกระจาบสรา งรงั หรอื จอมปลวกขนึ้ มาดวยเหตุผลของสัญชาตญาณท่ีตองการความปลอดภัย ซึ่งมีอยูใน
ตวั ของสตั วทกุ ชนิด ทจ่ี ําเปน ตอ งสรางข้นึ มาเพื่อปองกนั ภัยจากสัตวรายตา งๆ ตลอดจนภัยธรรมชาติ เชน ฝนตก
แดดออก เปนตน หรืออาจตองการความอบอุน สวนเหตุผลอีกประการหน่ึง คือจอมปลวก รังผึ้ง หรือรังนก
กระจาบน้ัน ไมมีการพัฒนาในเรื่องรูปแบบ ไมมีการสรางสรรคใหปรากฏรูปลักษณแปลกใหมข้ึนมา ยังคง
เปนอยแู บบเดมิ และตลอดไป จงึ ไมเ รยี กวา เปนผลงานศิลปะ แตใ นทางปจจบุ ัน หากมนษุ ยนํารงั นกกระจาบหรือ
รงั ผง้ึ มาจดั วางเพอ่ื ประกอบกบั แนวคิดสรา งสรรคเฉพาะตน เราก็อาจจัดไดว า เปน งานศลิ ปะ เพราะเกิดแรงจูงใจ
ภายในของศลิ ปน (Intrinsic Value) ท่เี ห็นคุณคา ของความงามตามธรรมชาตนิ ํามาเปน สือ่ ในการสรา งสรรค
ประเด็นที่ 2 ทําไมส่ิงที่มนุษยสรางสรรคขึ้นมาถึงเรียกวา ศิลปะ หากกลาวถึงประเด็นน้ี ก็มีเหตุผล
อยหู ลายประการซง่ึ พอจะกลา วถึงพอสงั เขป ดงั น้ี
1. มนษุ ยส รา งงานศิลปะข้ึนมาโดยมีจุดประสงคหรือจุดมุงหมายในการสรา ง เชน ชาวอียิปต (EGYPT)
สรางมาสตาบา (MASTABA) ซึ่งมีรูปรางคลายมาหินสําหรับนั่งเปนรูปส่ีเหล่ียมแทงสูงขางบนเปนพื้นที่ราบ
มุมทง้ั สี่เอยี งลาดมาท่ฐี านเลก็ นอย มาสตาบาสรางดวยหินขนาดใหญ เปนที่ฝงศพขุนนาง หรือผูรํ่ารวยซึ่งตอมา
พัฒนามาเปน การสรางพีระมดิ (PYRAMID) เพื่อบรรจศุ พของกษตั รยิ หรอื ฟาโรห (PHARAOH) มกี ารอาบนํา้ ยา
ศพหรือรักษาศพไมใหเนาเปอยโดยทําเปนมัมม่ี (MUMMY) บรรจุไวภายใน เพ่ือรอวิญญาณกลับคืนสูราง
ตามความเช่ือเรอ่ื งการเกิดใหมของชาวอียิปตการกอสรางพุทธสถานเชน สรางวัด สรางพระอุโบสถ พระวิหาร
ศาลาการเปรยี ญ ในพุทธศาสนา มีจุดประสงค เพื่อใชเปนที่ประกอบพิธีกรรมทางศาสนา เพื่อเปนที่พํานักของ
สงฆ ตลอดจนใชเ ปน ท่ีเผยแพรศาสนา
2. มีการสรางเพื่อพัฒนารูปแบบโดยไมสิ้นสุด จะเห็นไดจาก มนุษยสมัยกอนประวัติศาสตร
(PRE HISTORICAL PERIOD) ไดห ลบภัยธรรมชาติ ตลอดจนสตั วรายเขาไปอาศัยอยูในถา้ํ เมอ่ื มคี วามเขาใจใน
ปรากฏการณอันเกิดขึ้นจากธรรมชาติและประดิษฐเคร่ืองมือเพ่ือใชเปนที่อยูอาศัยจนในสมัยตอมามีการ
พฒั นาการสรา งรูปแบบอาคารบานเรอื นในรปู แบบตา งๆ ตามความเปล่ยี นแปลงของวัฒนธรรม และความเจริญ
ทางเทคโนโลยี มกี ารใชค อนกรตี เสริมเหล็กและวสั ดุสมัยใหมเขามาชวยในการกอสรางอาคาร บานเรือน และ
26
ส่ิงกอสรางตางๆ ตลอดจนมีการพัฒนารูปแบบทางสถาปตยกรรมใหกลมกลืนกับธรรมชาติแวดลอม เชน
สถาปตยกรรม “THE KAUF MANN HOUSE” ของแฟรงค ลอยด ไรท ทรี่ ัฐเพนซิลวาเนีย สหรัฐอเมรกิ า
3. ความตองการทางกายภาพท่ีเปนปฐมภูมิของมนุษยทุกเช้ือชาติและเผาพันธ เพ่ือนํามาซึ่งความ
สะดวกสบายในการดําเนินชีวิตในสังคมปจจุบัน ดังจะเห็นไดจากเคร่ืองอุปโภค บริโภคตลอดจนเครื่องใช
ไมสอยตา งๆ ซ่งึ เปนผลติ ผลทีเ่ กิดจากความคิดสรา งสรรคข องมนษุ ยท ง้ั ส้ิน ในทางศลิ ปะก็เชนเดยี วกนั ศิลปน จะ
ไมจําเจอยูกับงานศิลปะที่มีรูปแบบเกาๆ หรือสรางงานรูปแบบเดิมซ้ําๆ กันแตจะคิดคนรูปแบบ เนื้อหา หรือ
เทคนคิ ท่ีแปลกใหมใหกับตัวเอง เพ่อื พฒั นาการสรา งงานศิลปะรปู แบบเฉพาะตนอยางมลี าํ ดับขั้นตอน เพอ่ื งา ยแก
การเขาใจจงึ ขอใหผูอ า นทาํ ความเขาใจเกยี่ วกับการสรา งสรรคในทางศลิ ปะเสียกอน
กิจกรรม
ใหนักศึกษาตอบคําถามตอ ไปน้ี
1. อธบิ ายความหมายของ”ธรรมชาต”ิ
2. องคป ระกอบทางศลิ ปะประกอบดว ยอะไรบาง
3. เหตุใดมนุษยถ งึ เปนผูสรา งงานศิลปะเทาน้ัน
27
เรื่องท่ี 5 ความงามตามทศั นศลิ ปส ากล
การรบั รูความงามทางศลิ ปะ
สําหรับการรับรูความงามทางศิลปะของมนุษยนั้น สามารถรับรูได 2 ทาง คือ ทางสายตาจากการ
มองเหน็ และทางหูจากการไดยนิ ซึ่งแบงได 3 รูปแบบดังน้ี
1. ทัศนศิลป (Visual Art) เปนงานศิลปะท่ีรับสัมผัสความงามไดดวยสายตา จากการมองเห็น
งานศลิ ปะสวนใหญจ ะเปนงานทัศนศิลป ทั้งสิ้น ไดแก จิตรกรรม ประติมากรรม สถาปตยกรรม มัณฑนศิลป
อตุ สาหกรรมศลิ ป พาณชิ ยศลิ ป
2. โสตศิลป (Audio Art) เปน งานศิลปะท่รี บั สัมผัสความงามไดดว ยหู จากการฟง เสยี ง งานศิลปะ ทีจ่ ัด
อยใู นประเภทโสตศิลป ไดแ ก ดนตรี และ วรรณกรรม
3. โสตทศั นศิลป (Audiovisual Art) เปน งานศลิ ปะทรี่ บั สัมผัสความงามทางศิลปะไดทั้งสองทาง คือ
จากการมองเหน็ และจากการฟง งานศิลปะประเภทนี้ไดแ ก ศิลปะการแสดงนาฏศลิ ป การละคร การภาพยนตร
ววิ ัฒนาการของทัศนศลิ ปสากล
ศลิ ปะของชาติตา งๆ ในซกี โลกตะวนั ตกมลี ักษณะใกลเคียงกัน จึงพัฒนาขึ้นเปนศิลปะสากล ความเช่ือ
มีอิทธิพลตอพฤติกรรมมนุษยท้ังความคิด การแสดงออก และการดําเนินชีวิต โดยเฉพาะในงานศิลปกรรม
มรี ูปแบบความงามหลายแบบ ที่เกดิ จากพลงั แหงความศรัทธา จากความเชอ่ื ถอื ในเรื่องตางๆ
รูปแบบความงามอันเน่ืองมาจากความเชื่อถือ จะปรากฏเปนความงามตามความคิดของชางในยุคนั้น
ผสมกับฝม อื และเคร่อื งมือที่ยงั ไมค อยมคี ณุ ภาพมากนกั ทาํ ใหงานจิตรกรรมในยุคกอนประวัติศาสตรดูไมคอย
งามมากนกั ในสายตาของคนปจ จบุ ัน
1. ศลิ ปะสมัยกลาง (Medieval Arts)
ทศั นศลิ ปอ นั เน่ืองมาจากคริสตศ าสนา
ความเชือ่ ในสมยั กลาง ซง่ึ เปน ชวงเวลาท่ีศาสนาคริสตเ จริญรุง เรืองถึงขดี สดุ มีอิทธพิ ลตอการดําเนนิ ชีวิต
และการสรางสรรคงานศิลปกรรมของชาวตะวันตก โดยมีความเช่ือวาความงามเปนส่ิงท่ีพระเจาสรางขึ้นมา
โดยผานทางศิลปน เพื่อเปนการแสดงถึงความศรัทธาอยางย่ิงในพระเจา ศิลปนตองสรางผลงาน โดยแสดงถึง
เร่อื งราวของพระคริสต พระสาวก ความเชื่ออันนมี้ ีผลตอทศั นศลิ ป ดงั น้ี
สถาปตยกรรม เชน โบสถสมัยกอธิค เปนสถาปตยกรรมที่มีลักษณะสูงชลูด และสวนที่สูงท่ีสุดของ
โบสถจ ะเปนทีต่ งั้ ของกางเขนอันศักดิ์สิทธ์ิ เพื่อใชเปนท่ีติดตอกับพระเจาบนสรวงสวรรค มีการแตงเพลงและ
รองกันอยูในโบสถ Notre Dame อยูท่ีกรุงปารีส ประเทศฝร่ังเศส ซึ่งเปนโบสถท่ีสรางแบบกอธิค
ท่ีพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลาเจาอยูหัว รัชกาลที่ 5 ไดทรงโปรดใหถายแบบแลวนํามาสรางไวที่วัดนิเวศ
ธรรมประวตั ิ บางปะอิน จงั หวดั พระนครศรีอยุธยา
28
จิตรกรรม กแ็ สดงเน้อื หาของครสิ ตศาสนา รวมไปถงึ ทศั นศลิ ปแขนงอ่ืนๆ ดว ย
2. ศิลปะไบเซนไทร (Bizentine)
ความเช่ือยุคแรกแหงศิลปะเพื่อคริสตศาสนา เมื่ออาณาจักรโรมันลมสลายลงในยุโรปไดแยกเปน
ประเทศตา งๆและเปนชวงทคี่ าํ สอนของศาสนาคริสต ไดรับความเช่ือถือและใชเปนแนวทางในการดําเนินชีวิต
ของประชาชน โดยเฉพาะในยุคสมัยไบเซนไทร ซึ่งถือวาเปนอาณาจักรแหงแรกของคริสตศาสนา ศิลปนและ
ชา งทกุ สาขาทาํ งานใหแ กศ าสนา หรือทาํ งานเพ่อื สง เสรมิ ความศรทั ธาแหง ครสิ ตศ าสนา
สถาปตยกรรม สรางโบสถ วหิ าร เพอ่ื เปนสัญลักษณ และสถานทปี่ ฏบิ ัตพิ ธิ ีกรรมตา งๆ
ประติมากรรม มีการแกะสลักรปู พระครสิ ตและสาวกดว ยไม หิน และภาพประดบั หนิ สที เ่ี รยี กวา โมเสก
สถาปตยกรรมแบบไบเซนไทร
29
3. ฟน ฟศู ิลปวทิ ยา (Renaissanee)
ความเชื่อเน่ืองจากอาณาจกั รไบเซนไทร เปน ยคุ ของการฟนฟูศิลปวิทยา (Renaissame) หมายถึง การนํา
กลับมาอีกคร้ังหนึ่ง เนื่องจากไดมีการคนพบซากเมืองของพวกกรีกและโรมันทําใหศิลปนหันกลับมานิยม
ความงามตามแนวคดิ ของกรกี และโรมันอกี ครง้ั หนึ่ง
กจิ กรรม
ใหนกั ศึกษาตอบคําถามตอไปนี้
1. การรับรูความงามทางศลิ ปะของมนุษยน ้ัน สามารถรับรไู ด กี่ทาง และแบง เปน กรี่ ูปแบบอะไรบา ง
2. ความเช่อื ในการสรา งผลงานของศิลปะสมัยกลาง (Medieval Arts) มคี วามเชื่อเกี่ยวกบั อะไร
3. ชางในสมัยศิลปะไบเซนไทร (Bizentine) ทํางานเพอื่ ใคร
4. ฟนฟูศลิ ปวิทยา (Renaissanee) หมายถงึ อะไร
30
เร่ืองที่ 6 ธรรมชาติกับทัศนศิลป
มนษุ ยเ ปนสวนหนงึ่ ของธรรมชาติ
ธรรมชาติ สามารถบอกถึงประสบการณ และส่ิงตางๆท่ีผานมาในอดีตได ซ่ึงถือวา “ธรรมชาติ” เปน
“ครู” ของมนษุ ย
เม่อื มนุษยมคี วามคิดสรางสรรค มนษุ ยกจ็ ะพจิ ารณาสง่ิ ตางๆจากธรรมชาตทิ ีต่ นมสี วนรวมอยู แลว นาํ มา
ดัดแปลงสรางสรรคใหม โดยพยายามเลือกหาวิธีการอันเหมาะสมตามทักษะและความชํานาญที่ตนมีอยู
เพอ่ื สรางเปนผลงานของตนขนึ้ ใหม
มนุษยอาศัยธรรมชาติในการดํารงชีวิต ผลผลิตสวนใหญท่ีใชในการดํารงชีวิตเกือบท้ังหมดก็มาจาก
ธรรมชาติทั้งสิน้ วสั ดุจากธรรมชาตทิ ม่ี นุษยนาํ มาสรางสรรคประกอบดวย
1. พชื
2. หนิ กรวด
3. ทราย
4. ดนิ
การนาํ ธรรมชาตมิ าออกแบบผสมผสานกบั งานศิลปะ
(ผลงานจากถนนคนเดนิ ดอทคอม/เชียงใหม)
31
กิจกรรม
ใหน กั ศกึ ษา นาํ ส่งิ ที่เกดิ จากธรรมชาติ มาออกแบบสรางสรรค ใหเ ปน เคร่ืองประดับ
ตกแตงรา งกาย โดยใชว ธิ ที างศลิ ปะเขามาชว ย
32
เรือ่ งท่ี 7 ความคดิ สรางสรรค การตกแตง รางกาย ทอี่ ยอู าศยั และ
ผลติ ภณั ฑ
มนษุ ยมคี วามคิดสรางสรรคอยตู ลอดเวลา ตามแตประสบการณม ากนอยของแตล ะบคุ คล การออกแบบ
เปนสว นหนง่ึ ของความคิดสรา งสรรคทางศลิ ปะของมนุษย
1. ออกแบบตกแตงท่ีอยูอาศัย เปนการออกแบบทุกอยางภายในและบริเวณรอบบานใหสวยงาม
สะดวกแกก ารใชส อย โดยใชวสั ดุท่มี อี ยหู รือจัดหามาโดยใชหลักองคป ระกอบศิลป
2. ออกแบบใหกบั รา งกาย เปน การออกแบบรา งกายและสงิ่ ตกแตงรางกายใหสวยงาม เหมาะสม และ
ถูกใจ เชนการออกแบบทรงผม เสื้อผา เคร่ืองประดับ การใชเครื่องสําอาง โดยอาศัยหลักการทางศิลปะ
และความคดิ สรา งสรรค
3. ออกแบบผลิตภัณฑ หมายถึง ความคิดสรางสรรคเกี่ยวกับรูปรางลักษณะภายนอกของผลิตภัณฑ
เพื่อใหเกดิ รูปแบบท่แี ปลกใหมและเปน จุดสนใจในธุรกจิ ดา นอตุ สาหกรรม
4. ออกแบบสํานกั งาน การจัดหอ งทาํ งาน โตะ สาํ นกั งาน เกาอี้ ในและนอกสถานท่ที ํางานทไี่ ดรับการ
ออกแบบและสรางสรรคใ หน าทํางาน ตลอดจนสะดวกในการใชส อย ซ่ึงแบง การออกแบบไดเ ปน 2 ประเภทคือ
4.1 ออกแบบตกแตงภายใน ไดแกการออกแบบตกแตงภายในอาคารทุกประเภททั้งหมด เชน
การออกแบบตกแตงภายในบา น ภายในสํานักงาน ภายในอาคารสาธารณะ แมนกระท่ังการออกแบบตกแตง
ภายในยานพาหนะ เปนตน
การออกแบบตกแตงภายในทีพ่ ักอาศยั
33
การออกแบบตกแตง หนา รานคา
การออกแบบตกแตงภายในสาํ นกั งาน
การออกแบบตกแตง ภายในยานพาหนะ
34
4.2 การออกแบบตกแตงภายนอก ไดแก การออกแบบตกแตงสวนและบริเวณภายนอกอาคาร
รวมทงั้ การออกแบบภูมทิ ศั นใ นสว นพ้นื ทสี่ าธารณะ เชน สวนสาธารณะ ถนน สะพาน ฯลฯ
การออกแบบตกแตง สวนขนาดใหญ
การออกแบบสวนในบา นโดยใชวัสดหุ ิน
ตน ไม และนํ้ารวมกัน
การออกแบบสวนในบา นโดยเลยี นแบบธรรมชาติ
กา รต กแ ต งภ าย นอ ก โด ยก า ร
จดั สวนทเี่ กาะกลางถนน
กจิ กรรม
1. ใหนกั ศึกษาจดั ออกแบบภายใน หรอื ภายนอกในมุม ใดมุมหน่ึงในบานตนเอง
แลว ถายรูปมาเพือ่ รวมกนั อภิปรายหนาชนั้ เรยี น โดยมอี าจารยและเพอื่ นนกั ศกึ ษารวมอภิปราย
2. เกบ็ ภาพถายทีจ่ ัดออกแบบไวในแฟมสะสมงานของตนเอง
35
บทท่ี 2
ดนตรี
สาระสาํ คัญ
ความหมาย ความสําคัญ ความเปนมา ววิ ฒั นาการรปู แบบเทคนิค วิธกี ารของดนตรีประเภทตา งๆ คณุ คา
ความงาม ความไพเราะของดนตรสี ากล
ผลการเรียนรูทค่ี าดหวัง
อธบิ ายความหมาย ความสําคญั ความเปน มา ของดนตรสี ากล เขาใจถงึ ตน กาํ เนิด ภมู ิปญ ญา และการ
ถา ยทอดสบื ตอกันมา
ขอบขายเนอ้ื หา
เรื่องท่ี 1 ดนตรสี ากล
เร่อื งที่ 2 ดนตรสี ากลประเภทตา ง ๆ
เรอ่ื งท่ี 3 คณุ คา ความไพเราะของเพลงสากล
เรอื่ งท่ี 4 ประวตั ิภูมิปญ ญาทางดนตรีสากล
36
เรอ่ื งที่ 1 ดนตรสี ากล
ดนตรีเกิดขึ้นมาในโลกพรอมๆกับมนุษยเราน่ันเอง ในยุคแรกๆมนุษยอาศัยอยูในปา ในถํ้า และใน
โพรงไม แตม นุษยก็รูจกั การรอ งราํ ทําเพลงตามธรรมชาติ เชน รูจ ักปรบมือ เคาะหนิ เคาะไม เปาปาก เปาเขา
และการเปลงเสียงรอง เชน การรอ งราํ ทาํ เพลงเพ่ือออนวอนพระเจาใหชวยเพื่อพนภัย บันดาลความสุขความ
อุดมสมบรู ณต างๆใหแ กตน หรอื เปน การบูชาแสดงความขอบคณุ พระเจา ทบ่ี ันดาลใหต นมีความสุขความสบาย
ในระยะแรก ดนตรีมีเพียงเสียงเดียวและแนวเดียวเทาน้ันเรียกวา Melody ไมมีการประสานเสียง
จนถึงศตวรรษท่ี 12 มนุษยเราเรม่ิ รูจ ักการใชเ สยี งตา งๆมาประสานกนั อยา งงา ยๆ เกิดเปน ดนตรหี ลายเสียงขน้ึ มา
ยคุ ตางๆของดนตรี
นักปราชญท างดนตรีไดแบง ดนตรีออกเปน ยุคตางๆดังน้ี
1. Polyphonic Perio( ค.ศ. 1200-1650 ) ยุคน้ีเปนยุคแรก วิวัฒนาการมาเรื่อยๆ จนมีแบบฉบับและ
หลักวิชาการดนตรีขน้ึ วงดนตรีอาชีพตามโบสถ ตามบานเจานาย และมีโรงเรียนสอนดนตรี
2. Baroque Period ( ค.ศ. 1650-1750 ) ยุคนี้วิชาดนตรีไดเปนปกแผน มีแบบแผนการเจริญดาน
นาฏดรุ ิยางค มากขน้ึ มโี รงเรียนสอนเก่ยี วกบั อปุ รากร ( โอเปรา) เกิดข้ึน มีนักดนตรีเอกของโลก 2 ทานคือ
J.S. Bach และ G.H. Handen
3. Classical Period ( ค.ศ. 1750-1820 ) ยุคนี้เปนยุคที่ดนตรีเร่ิมเขาสูยุคใหม มีความรุงเรืองมากขึ้น
มนี กั ดนตรีเอก 3 ทา นคอื Haydn Gluck และMozart
4. Romantic Period ( ค.ศ. 1820-1900 ) ยคุ น้มี ีการใชเ สียงดนตรีทีเ่ นนถึงอารมณอยางเดนชัดเปนยุค
ทีด่ นตรเี จริญถึงขดี สุดเรยี กวา ยุคทองของดนตรี นกั ดนตรีเชน Beetoven และคนอน่ื อกี มากมาย
5. Modern Period ( ค.ศ. 1900-ปจจุบัน ) เปนยุคท่ีดนตรีเปล่ียนแปลงไปมาก ดนตรีประเภทแจส
(Jazz) กลบั มามอี ทิ ธิพลมากขึน้ เรอ่ื ยๆจนถึงปจจุบนั ขนบธรรมเนยี มประเพณขี องแตละชาติ ศาสนา โดยเฉพาะ
ทางดนตรีตะวันตก นับวามีความสัมพันธใกลชิดกับศาสนามาก บทเพลงที่เกี่ยวกับศาสนาหรือเรียกวา
เพลงวัดน้นั ไดแ ตง ข้นึ อยางถกู หลักเกณฑ ตามหลักวชิ าการดนตรี ผูแตง เพลงวดั ตอ งมคี วามรคู วามสามารถสงู
เพราะตอ งแตง ขึน้ ใหสามารถโนม นาวจิตใจผฟู ง ใหนิยมเลอื่ มใสในศาสนามากข้ึน ดังน้นั บทเพลงสวดในศาสนา
ครสิ ตจ ึงมีเสยี งดนตรปี ระโคมประกอบการสวดมนต เมอ่ื มีบทเพลงเกยี่ วกับศาสนามากข้นึ เพื่อเปนการปองกนั
การลืมจึงไดมีผูประดษิ ฐส ัญลกั ษณตา งๆแทนทาํ นอง เมื่อประมาณ ค.ศ. 1000 สัญลักษณดังกลาวคือ ตัวโนต
( Note ) นั่นเอง โนตเพลงท่ีใชในหลักวิชาดนตรีเบ้ืองตนเปนเสียงโด เร มี นั้น เปนคําสวดในภาษาละติน
จึงกลา วไดวาวชิ าดนตรีมีจุดกาํ เนิดมาจากวดั หรือศาสนา ซึ่งในยุโรปนัน้ ถอื วา เพลงเก่ียวกับศาสนาน้ันเปนเพลง
ชน้ั สูงสุดวงดนตรที ีเ่ กิดข้ึนในศตวรรษตนๆจนถึงปจจุบัน จะมีลักษณะแตกตางกันออกไป เครื่องดนตรีที่ใช
37
บรรเลงก็มีจํานวนและชนิดแตกตางกันตามสมัยนิยม ลักษณะการผสมวงจะแตกตางกันไป เม่ือผสมวงดวย
เครอ่ื งดนตรีท่ตี า งชนิดกัน หรอื จํานวนของผบู รรเลงท่ีตา งกนั กจ็ ะมชี ่ือเรยี กวงดนตรีตา งกนั
เรื่องท่ี 2 ดนตรสี ากลประเภทตางๆ
เพลงประเภทตา งๆ แบง ตามลักษณะของวงดนตรีสากลได 6 ประเภท ดังนี้
1. เพลงทบี่ รรเลงโดยวงออรเคสตรา ( Orchestra ) มีดังนี้
- ซิมโฟนี่ (Symphony) หมายถึงการบรรเลงเพลงโซนาตา ( Sonata) ทั้งวง คําวา Sonata หมายถึง
เพลงเดี่ยวของเครื่องดนตรีชนิดตางๆ เชนเพลงของไวโอลิน เรียกวา Violin Sonata เคร่ืองดนตรีชนิดอื่น ๆ
กเ็ ชนเดยี วกนั การนําเอาเพลง โซนาตาของเครื่องดนตรีหลายๆชนดิ มาบรรเลงพรอมกันเรยี กวา ซิมโฟน่ี
- คอนเซอรโต ( Concerto) คือเพลงผสมระหวางโซนาตากับซิมโฟนี่ แทนที่จะมีเพลงเด่ียว
แตอยางเดียว หรอื บรรเลงพรอ มๆกันไปในขณะเดียวกัน เครอื่ งดนตรีทแ่ี สดงการเด่ียวนน้ั สว นมากใชไ วโอลนิ
หรือเปยโน
- เพลงเบด็ เตล็ด เปน เพลงที่แตง ขึ้นบรรเลงเบ็ดเตลด็ ไมมีเนอ้ื รอ ง
วงออรเคสตรา
2. เพลงทบ่ี รรเลงโดยวงแชมเบอรม ิวสิค ( Chamber Music ) เปนเพลงสัน้ ๆ ตองการแสดงลวดลาย
ของการบรรเลงและการประสานเสียง ใชเคร่ืองดนตรปี ระเภทเครอื่ งสาย คอื ไวโอลนิ วิโอลา และเชลโล
38
วงแชมเบอรม วิ สิค
3. สาํ หรบั เดยี่ ว เพลงประเภทนี้แตงขนึ้ สาํ หรบั เครอื่ งดนตรชี ิน้ เดียวเรียกวา เพลง โซนาตา
4. โอราทอรโิ อ (Oratorio) และแคนตาตา (Cantata) เปนเพลงสําหรับศาสนาใชรองในโบสถ จัดเปน
โอเปรา แบบหนึ่ง แตเปน เร่ืองเกย่ี วกับศาสนา
วงโอราทอรโิ อ
5. โอเปรา (Opera) หมายถึง เพลงท่ีใชประกอบการแสดงละครท่ีมีการรองโตตอบกันตลอดเรื่อง
เพลงประเภทน้ใี ชในวงดนตรีวงใหญบรรเลงประกอบ
39
ละคร Opera ที่ดังที่สุดเรอ่ื งหน่งึ ของโลกคือเรอ่ื ง The Phantom of the Opera
6. เพลงทขี่ ับรอ งโดยทัว่ ไป เชน เพลงที่รองเดี่ยว รองหมู หรือรองประสานเสียงในวงออรเคสตรา
วงคอมโบ ( Combo) หรอื วงชาโดว (Shadow ) ซ่งึ นิยมฟงกันทั้งจากแผนเสยี งและจากวงดนตรที ่บี รรเลงกนั อยู
โดยท่วั ไป
ประเภทของเครอ่ื งดนตรสี ากล
เคร่ืองดนตรีสากลมีมากมายหลายประเภท แบงตามหลักในการทําเสียงหรือวิธีการบรรเลง
เปน 5 ประเภท ดังน้ี
1. เคร่อื งสาย
เคร่อื งดนตรปี ระเภทนี้ ทําใหเ กิดเสยี งโดยการทาํ ใหสายสั่นสะเทือน โดยสายที่ใชจะเปนสายโลหะหรือ
สายเอ็น เครื่องดนตรีประเภทเคร่อื งสาย แบง ตามวิธีการเลน เปน 2 จาํ พวก คอื
1) เคร่ืองดีด ไดแ ก กีตาร แบนโจ ฮารป
แบนโจ
40
2) เคร่ืองสี ไดแก ไวโอลิน วิโอลา
วโิ อลา
2. เครือ่ งเปา ลมไม
เคร่ืองดนตรปี ระเภทนีแ้ บงตามวธิ ที าํ ใหเกิดเสยี งเปน 2 ประเภท คอื
1) จาํ พวกเปาลมผานชองลม ไดแ ก เรคอรเดอร ปคโคโล ฟลตุ
ปคโคโล