หนังสือเรียนสาระการประกอบอาชีพ
รายวชิ าช่องทางการขยายอาชีพ (อช31001)
ระดบั มัธยมศึกษาตอนปลาย
(ฉบบั ปรับปรุง พ.ศ. 2560)
หลกั สูตรการศึกษานอกระบบระดบั การศึกษาข้นั พนื้ ฐาน
พทุ ธศักราช 2551
สานักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัย
สานักงานปลดั กระทรวงศึกษาธิการ กระทรวงศึกษาธิการ
ห้ามจาหน่าย
หนังสือเรียนเล่มนจี้ ดั พมิ พ์ด้วยงบประมาณแผ่นดนิ เพอ่ื การศึกษาตลอดชีวติ สาหรับประชาชน
ลขิ สิทธ์เิ ป็ นของ สานักงาน กศน. สานักงานปลดั กระทรวงศึกษาธิการ
หนังสือเรียนสาระการประกอบอาชีพ
รายวชิ าช่องทางการขยายอาชีพ (อช31001)
ระดบั มธั ยมศึกษาตอนปลาย
(ฉบบั ปรับปรุง พ.ศ. 2560)
เอกสารทางวชิ าการหมายเลขท่ี 26/2555
คาํ นาํ
กระทรวงศึกษาธิการไดประกาศใชหลักสูตรการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน
พุทธศักราช 2551 เม่ือวันท่ี 18 กันยายน พ.ศ. 2551 แทนหลักเกณฑและวิธีการจัดการศึกษานอกโรงเรียน
ตามหลักสูตรการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน พุทธศักราช 2544 ซึ่งเปนหลักสูตรท่ีพัฒนาข้ึนตามหลักปรัชญาและ
ความเช่อื พื้นฐานในการจดั การศึกษานอกโรงเรียนท่ีมีกลุมเปาหมายเปนผูใหญมีการเรียนรูและสั่งสมความรู
และประสบการณอยา งตอ เน่ือง
ในปงบประมาณ 2554 กระทรวงศึกษาธิการไดกําหนดแผนยุทธศาสตรในการขับเคลื่อนนโยบาย
ทางการศึกษาเพอื่ เพมิ่ ศกั ยภาพและขดี ความสามารถในการแขง ขันใหป ระชาชนไดมอี าชีพทส่ี ามารถสรางรายได
ที่ม่งั คง่ั และมน่ั คง เปน บคุ ลากรท่ีมีวนิ ัย เปยมไปดว ยคุณธรรมและจริยธรรม และมีจติ สาํ นึกรับผิดชอบตอตนเอง
และผูอ ่นื สํานักงาน กศน. จึงไดพิจารณาทบทวนหลักการ จุดหมาย มาตรฐาน ผลการเรียนรูท่ีคาดหวัง และ
เน้ือหาสาระ ทั้ง 5 กลุมสาระการเรียนรู ของหลักสูตรการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน
พุทธศักราช 2551 ใหมีความสอดคลองตอบสนองนโยบายกระทรวงศึกษาธิการ ซึ่งสงผลใหต องปรับปรุง
หนังสือเรยี น โดยการเพมิ่ และสอดแทรกเนอื้ หาสาระเกี่ยวกับอาชีพ คุณธรรม จริยธรรมและการเตรียมพรอม
เพ่อื เขาสูประชาคมอาเซียน ในรายวิชาที่มีความเก่ียวของสัมพันธกัน แตยังคงหลักการและวิธีการเดิมในการ
พฒั นาหนังสือท่ีใหผูเรียนศึกษาคนควาความรูดวยตนเอง ปฏิบัติกิจกรรม ทําแบบฝกหัด เพื่อทดสอบความรู
ความเขาใจ มกี ารอภิปรายแลกเปล่ียนเรียนรูกับกลมุ หรือศกึ ษาเพม่ิ เตมิ จากภูมิปญญาทองถิ่น แหลงการเรียนรู
และสื่ออนื่
การปรับปรุงหนังสือเรียนในครั้งนี้ ไดรับความรวมมืออยางดียิ่งจากผูทรงคุณวุฒิในแตละสาขาวิชา
และผเู กยี่ วของในการจัดการเรยี นการสอนทีศ่ ึกษาคน ควา รวบรวมขอมลู องคค วามรจู ากส่อื ตาง ๆ มาเรียบเรียง
เน้อื หาใหค รบถวนสอดคลอ งกบั มาตรฐาน ผลการเรียนรทู ค่ี าดหวัง ตัวชวี้ ดั และกรอบเน้ือหาสาระของรายวิชา
สํานักงาน กศน.ขอขอบคุณผูมีสวนเกี่ยวของทุกทานไว ณ โอกาสนี้ และหวังวาหนังสือเรียน ชุดน้ีจะเปน
ประโยชนแกผูเรียน ครู ผูสอน และผูเกี่ยวของในทุกระดับ หากมีขอเสนอแนะประการใด สํานักงาน กศน.
ขอนอ มรับดว ยความขอบคณุ ยิง่
สารบัญ หน้า
คาํ นาํ 1
สารบัญ 3
โครงสรางรายวิชา ระดบั มัธยมศกึ ษาตอนปลาย 6
บทท่ี 1 การงานอาชีพ 20
26
เร่ืองที่ 1 ความสาํ คญั และความจาํ เปน ในการครองชีพ 30
เรอื่ งท่ี 2 การขยายอาชีพในชมุ ชน ประเทศ และภมู ิภาค 5 ทวปี
เรอ่ื งท่ี 3 การขยายกระบวนการจดั การงานอาชพี ในชุมชน 48
เร่ืองที่ 4 คณุ ธรรม จรยิ ธรรม 49
เรือ่ งท่ี 5 การอนุรกั ษพ ลงั งานและส่ิงแวดลอ มในการขยายอาชีพ 50
51
ในชมุ ชน สังคม และภูมิภาค 5 ทวีป ไดแ ก ทวปี เอเชีย ทวปี ออสเตรเลีย
ทวปี อเมรกิ า ทวปี ยโุ รป และทวปี แอฟรกิ า 63
บทที่ 2 ชองทางการขยายอาชพี 64
เรอ่ื งท่ี 1 ความจาํ เปน ในการมองเหน็ ชอ งทางการประกอบอาชีพ 69
เร่อื งท่ี 2 ความเปน ไปไดข องการขยายอาชีพ 86
เรอ่ื งที่ 3 การกาํ หนดวธิ กี าร ขัน้ ตอนการขยายอาชีพ 90
และเหตผุ ลของการขยายอาชพี
บทที่ 3 การตัดสนิ ใจเลือกขยายอาชพี
เร่อื งที่ 1 ภารกจิ เพ่ือความมัน่ คงการทาํ ในธรุ กิจอาชีพ
เรื่องท่ี 2 การวัดผลและประเมินผลความม่นั คงในอาชีพ
เรื่องท่ี 3 การตดั สินใจขยายอาชพี ดว ยการวิเคราะหศ ักยภาพ
ภาคผนวก
คณะผจู ดั ทํา
คาํ แนะนําในการใช้หนงั สือเรียน
หนงั สอื สาระการประกอบอาชีพ รายวิชาชองทางการขยายอาชีพ ระดับมัธยมศึกษาตอนปลายเปน
แบบเรียนท่ีจดั ทําขน้ึ สาํ หรบั ผูเ รยี นทเี่ ปนนกั ศึกษานอกระบบ
ในการศกึ ษาหนังสอื เรยี นสาระการประกอบอาชีพ รายวชิ าชองทางการขยายอาชีพ ผูเรียนควรปฏิบัติ
ดงั น้ี
1. ศกึ ษาโครงสรางรายวชิ าใหเ ขาใจในหัวขอ สาระสาํ คญั ผลการเรยี นรทู คี่ าดหวงั และขอบขายเนื้อหา
2. ศกึ ษารายละเอยี ดเนือ้ หาของแตละบทอยา งละเอียดและทํากิจกรรมตามท่ีกําหนด แลวตรวจสอบกบั
ผูร ู ครู หรอื แนวตอบกจิ กรรมที่กาํ หนด ถาผเู รียนตอบผิดควรกลับไปศกึ ษาและทาํ ความเขาใจในเนอื้ หาใหมให
เขาใจกอ นทจ่ี ะศึกษาเรื่องตอ ไป
3. ผูเรยี นทําความเขา ใจลกั ษณะการประกอบอาชีพในชุมชน ประเทศ และภมู ภิ าค 5 ทวีป ไดแก ทวปี เอเชยี
ทวปี ออสเตรเลีย ทวีปอเมริกา ทวีปยุโรป และทวปี แอฟริกา เพ่ือสามารถนํามาใชเปนพื้นฐานในการจัดการ
เรยี นรเู พ่อื การขยายอาชพี ได จากการศกึ ษาในระดบั ประถมศึกษา และมัธยมศึกษาตอนตน หลักสูตรนี้ หรือ
ถาผูเรียนใด มิไดผานการศึกษาตามหลักสูตรน้ีมากอนสามารถ กลับไปทบทวนหนังสือเรียนในระดับ
ประถมศกึ ษา มธั ยมศึกษาตอนตน โดยเฉพาะ (อช11001) ชองทางการเขาสูอาชีพ และ (อช21001) ชองทาง
พัฒนาอาชพี
4. หนังสือเรียนเลมน้ีเนนการจัดการเรียนรูในลักษณะกระบวนการสวนใหญจะยกตัวอยางอาชีพ
เกษตรกรรมแตอ าชพี อ่นื ๆ กส็ ามารถนํากระบวนการไปใชได
5. หนงั สอื เรียนเลมนมี้ ี 3 บท คอื
บทท่ี 1 การงานอาชพี
บทที่ 2 ชอ งทางการขยายอาชพี
บทที่ 3 การตัดสนิ ใจเลอื กขยายอาชีพ
โครงสร้างรายวชิ า
ระดบั มธั ยมศกึ ษาตอนปลาย
สาระสําคัญ
1. เหตผุ ลความจําเปนในการขยายอาชีพ
2. ปจจัยจาํ เปน เพอื่ นาํ อาชพี ไปสคู วามมัน่ คง
3. การปฏิบัติการตรวจสอบระบบการสรา งความมน่ั คง
4. การประเมนิ ความเปนไปไดใ นการนาํ แนวทางขยายอาชีพไปใชจริง
ผลการเรียนรู้ทคี าดหวัง
1. อธิบายความหมาย ความสําคัญ วิเคราะหลักษณะงาน ขอบขายงานอาชีพในชุมชน สังคม
ประเทศ และภูมิภาค 5 ทวปี ไดแ ก ทวปี เอเชยี ทวีปออสเตรเลีย ทวีปอเมริกา ทวีปยุโรป และทวีปแอฟริกา
ที่จะนําไปสูความมัน่ คงทีเ่ หมาะสมกับศักยภาพของตน และสอดคลองกบั ชมุ ชน สังคม
2. อธิบายเหตุผลปจจัยความจําเปนในการนําอาชีพไปสูความม่ันคง ที่เหมาะสมกับศักยภาพของ
ตนเองได
3. ตรวจสอบระบบการสรางความม่นั คง
4. ปฏิบัติการวเิ คราะหเ พ่อื การสรา งความม่นั คงในอาชพี ได
ขอบข่ายเนือหา
บทท่ี 1 การงานอาชีพ
บทที่ 2 ชอ งทางการขยายอาชพี
บทท่ี 3 การตัดสนิ ใจเลอื กขยายอาชพี
สือการเรียนรู้
1. ใบงาน
2. ใบความรู
1
บทที 1
การงานอาชีพ
สาระสําคัญ
การประกอบอาชพี ในชมุ ชน สงั คม ประเทศ และภมู ิภาค 5 ทวปี ไดแ ก ทวปี เอเชีย ทวีปออสเตรเลีย
ทวีปอเมริกา ทวีปยุโรป และทวีปแอฟริกา ท่ีเหมาะสมกับศักยภาพของตนและสอดคลองกับชุมชน
เพื่อชอ งทางการขยายอาชพี
ผลการเรียนรู้ทีคาดหวัง
ผเู รยี นมคี วามรู ความเขาใจ มีเจตคติท่ดี ีในงานอาชพี สามารถอธบิ ายลกั ษณะ ขอบขายกระบวนการ
ผลิตงานอาชีพในชมุ ชน สงั คม ประเทศ และภมู ภิ าค 5 ทวปี ไดแก ทวีปเอเชยี ทวปี ออสเตรเลีย ทวปี อเมริกา
ทวีปยุโรป และทวีปแอฟริกาได และสามารถนํามาวิเคราะหในการขยายอาชีพบนฐานของการมีคุณธรรม
จริยธรรม การอนุรักษพ ลงั งาน และสิ่งแวดลอ ม
ขอบข่ายเนอื หา
เรื่องที่ 1 ความสําคัญและความจําเปนในการขยายอาชีพ
เรื่องที่ 2 การขยายอาชพี ในชุมชน ประเทศ และภูมภิ าค 5 ทวีป ไดแก ทวปี เอเชีย
ทวีปออสเตรเลยี ทวปี อเมรกิ า ทวปี ยุโรป และทวปี แอฟริกา เชน งานอาชีพ
ดานเกษตรกรรม งานอาชพี ดา นอตุ สาหกรรม งานอาชพี ดานพาณิชยกรรม
งานอาชพี ดา นความคิดสรางสรรค และงานอาชพี ดานอํานวยการและอาชพี เฉพาะ
เรื่องท่ี 3 การขยายกระบวนการจดั การงานอาชีพในชุมชน สังคม ประเทศ และภมู ิภาค
5 ทวปี ไดแก ทวปี เอเชีย ทวีปออสเตรเลีย ทวปี อเมรกิ า ทวีปยโุ รป และทวปี แอฟรกิ า
- การจัดการทางผลิต ไดแก การวางแผน การจัดทาํ โครงการ การใชวัสดุอปุ กรณ
การใชแรงงาน การใชส ถานท่ี การใชทนุ เปน ตน
- การจดั การการตลาด ไดแก การกาํ หนดทิศทางการตลาด การหาความตองการของ
ตลาด เชน การขนสง การขาย การกําหนดราคาขาย การทาํ บญั ชีประเภทตาง ๆ
เปนตน
เรื่องที่ 4 คุณธรรม จริยธรรม ไดแ ก ความรบั ผดิ ชอบ ความประหยัด การอดออม
ความสะอาด ความประณตี ความขยัน ความซอื่ สตั ย เปน ตน
2
เรอ่ื งที่ 5 การอนรุ กั ษพลังงานและสง่ิ แวดลอ มในการขยายอาชพี ในชมุ ชน สังคม
ประเทศ และภูมภิ าค 5 ทวปี ไดแ ก ทวปี เอเชยี ทวปี ออสเตรเลยี ทวปี อเมรกิ า
ทวีปยโุ รป และทวปี แอฟรกิ า
สือการเรียนรู้
- หนังสอื เรียน
- ใบงาน
3
เรืองที 1 : ความสําคญั และความจาํ เป็ นในการครองชีพ
การขยายขอบข่ายอาชีพ
หมายถึง กิจกรรมอาชีพที่มีอยูสามารถขยายกิจกรรมที่เกี่ยวของและสัมพันธออกไปเปนขอบขาย
อาชีพท่สี รางรายได ใชท ุน ทรพั ยากรจากอาชีพหลักใหเกดิ คุณคา สรางความเขม แขง็ ย่ังยืนในอาชพี ได เชน
1. การขยายขอบขา ยอาชพี จากการหมนุ เวยี นเปลยี่ นรปู ผลติ ภัณฑ หรอื ผลพลอยไดไปสูกิจกรรมใหม
เชน
1.1 สรางธุรกิจแปรรปู หมูจากฟารมสุกรของตนเอง
1.2 สรางธรุ กิจปุยหมกั จากมลู สกุ ร
1.3 สรา งธรุ กจิ ขนมหวานเยลล่จี ากหนงั สุกร
2. การขยายขอบขา ยอาชีพจากการสรา งและพฒั นาเครอื ขา ยจากอาชพี เชน
2.1 แฟรนไซส ชายส่ีบะหมีเ่ กย๊ี ว
2.2 การสรางเครอื ขายนาขาวอนิ ทรยี
3. การขยายขอบขายอาชีพจากการตลาด เชน
3.1 สวนมะพรา วนํา้ หอมแมต มุ ศูนยก ลางรบั ซ้อื และขายสงมะพรา วนํ้าหอม
ภายใตก ารควบคมุ คณุ ภาพของตนเอง
4. การขยายขอบขายอาชพี จากการสง เสรมิ การทองเที่ยว เชน
4.1 จัดบริการทองเที่ยวพกั ผอ น กินอาหารเกษตรอนิ ทรยี ที่ไรส ุดปลายฟา
4.2 ทอ งเทีย่ วชมิ ผลไม ชมสวนชาวไรจนั ทบรุ ี
5. การขยายขอบขายอาชพี กับการสง เสริมสขุ ภาพและอนามยั เชน
5.1 พกั ฟนรบั ประทานอาหารธรรมชาติไรส ารพิษ ปฏิบตั ธิ รรมกบั Home stay
คลองรางจระเข
6. การขยายขอบขายอาชีพกบั การเรียนรู เชน
6.1 เรยี นรูระบบนเิ วศ ความพอเพยี งท่ไี รนาสวนผสมคุณพิชติ
4
ใบงานท่ี 1
ความสําคัญและความจาํ เปน ในการขยายอาชพี
คาํ ชีแจง : ใหค รูและผเู รียนรว มกันนําผลการวิเคราะหของกลมุ มาเทยี บเคียงกบั สาระ ความหมายความสําคัญ
และความจําเปนในการขยายอาชีพ แลวรวมกันคิดใหความหมายตอคําตาง ๆ ที่กําหนดไวในแบบบันทึกนี้
เพื่อสรา งความเขา ใจรวมกนั ของชมุ ชนใหเ ปน ไปในทศิ ทางเดียวกัน
ขอบขา ยของการขยายอาชพี หมายถงึ ...........................................................................................................
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
กิจกรรมอาชพี ท่ีทาํ อยู หมายถงึ ..................................................................................................................
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
การสรา งรายได หมายถึง...........................................................................................................................
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
การใชท นุ ใชทรัพยากร หมายถงึ ...............................................................................................................
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
ความเขมแขง็ และความยง่ั ยืน หมายถึง........................................................................................................
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
5
การหมนุ เวยี นเปลย่ี นรูป หมายถึง...............................................................................................................
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
การสรา งและพฒั นาเครอื ขายจากอาชพี หลัก หมายถงึ ..................................................................................
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
การขยายอาชพี จากการตลาด หมายถึง........................................................................................................
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
การขยายอาชีพจากการสงเสรมิ การทองเทีย่ ว หมายถึง.................................................................................
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
การขยายอาชพี จากการสง เสรมิ สขุ ภาพ อนามยั หมายถึง..............................................................................
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
อน่ื ๆ ยงั มอี ะไรบา งที่ควรจะนิยามเอาไว. .....................................................................................................
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
6
เร่ืองที่ 2 : การขยายอาชพี ในชุมชน ประเทศ และ ภูมภิ าค 5 ทวีป ไดแก
ทวปี เอเชีย ทวปี ออสเตรเลยี ทวปี อเมรกิ า ทวปี ยุโรป และทวีปแอฟริกา
กลมุ อาชีพใหม
จากการเปล่ยี นแปลงในบรบิ ทโลกทั้งในสว นการรวมกลุมทางการเงิน การเปล่ียนแปลงทางเทคโนโลยี
อยางรวดเร็ว การเปล่ียนแปลงของธรรมชาติและส่ิงแวดลอม การเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมของผูบริโภค การ
รวมกลมุ ทางเศรษฐกจิ และประการสําคญั คือ การเปลยี่ นแปลงโครงสรา งประชากรทางสังคม ดงั นน้ั อาชีพใน
ปจจบุ ันจะตองมีการพฒั นาวธิ กี ารและศกั ยภาพในการแขงขันไดใ นระดบั โลก ซง่ึ จะตองคํานึงถงึ บริบทภูมิภาค
หลกั ของโลก หรือ “รูศกั ยภาพเขา” หมายถึง ทวปี เอเชีย ทวีปอเมริกา ทวีปยุโรป ทวีปออสเตเลีย ทวีปแอฟริกา
และจะตอ ง “รศู กั ยภาพเรา” หมายถงึ รศู ักยภาพหลกั ของพื้นที่ประเทศไทย คือศักยภาพของทรพั ยากรธรรมชาติ
ในแตล ะพ้นื ที่ ศกั ยภาพของศลิ ปะ วัฒนธรรม ประเพณี และวถิ ชี วี ิตของแตล ะพื้นที่ และศักยภาพของทรพั ยากร
มนุษยใ นแตล ะพื้นท่ี ดงั นัน้ เพื่อใหก ารประกอบอาชพี สอดคลองกบั ศักยภาพหลกั ของพ้ืนทแ่ี ละสามารถแขง ขัน
ในเวทีโลก จึงไดกาํ หนดกลุมอาชีพใหม 5 กลุมอาชีพ คือ กลุมอาชีพใหมดานการเกษตร กลุมอาชีพใหม
ดา นพาณิชยกรรม กลุม อาชีพใหมด า นอุตสาหกรรม กลุมอาชีพใหมด านความคดิ สรา งสรรค และกลมุ อาชพี ใหม
ดานบรหิ ารจดั การและบรกิ าร
1. กลุมอาชพี ใหมดานการเกษตร คือการพัฒนาอาชีพในดานการเกษตรเกี่ยวกับการปลูกพืช
เลย้ี งสตั ว การประมง โดยนาํ องคความรใู หม เทคโนโลยี/นวตั กรรม มาพัฒนาใหสอดคลอ งกบั ศกั ยภาพหลกั ของ
พ้ืนที่ คือศักยภาพของทรัพยากรธรรมชาติในแตละพ้ืนที่ ตามลักษณะภูมิอากาศ ศักยภาพของภูมิประเทศ
และทําเลท่ีต้งั ของแตล ะพนื้ ที่ ศกั ยภาพของศลิ ปะ วัฒนธรรม ประเพณี และวิถขี องแตล ะพื้นท่แี ละศกั ยภาพของ
ทรัพยากรมนษุ ยในแตละพน้ื ท่ี อาชีพใหมด า นการเกษตร เชน เกษตรอนิ ทรีย เกษตรผสมผสาน เกษตรทฤษฎีใหม
วนเกษตร ธุรกจิ การเกษตร เปน ตน
2. กลมุ อาชีพใหมด า นพาณชิ ยกรรม คือการพฒั นาหรอื ขยายขอบขายอาชีพดานพาณิชยกรรม
เชน ผใู หบ รกิ ารจาํ หนา ยสนิ คา ทัง้ แบบคา ปลกี และคา สง ใหแ กผ บู ริโภคทงั้ มีหนา รา นเปนสถานท่ีจดั จําหนา ย เชน
หางราน หางสรรพสินคา ซุปเปอรสโตร รานสะดวกซื้อ และการขายที่ไมมีหนาราน เชน การขายผานส่ือ
อิเล็กทรอนกิ ส
7
3. กลุมอาชีพใหมดานอุตสาหกรรม คือการพัฒนาอาชีพท่ีอาศัยองคความรู เทคโนโลยี/
นวัตกรรม อาชีพเกี่ยวกับงานชาง ซ่ึงไดแกชางไฟฟา ชางไม ชางยนต ชางประปา ชางปูน และชางเชื่อมให
สอดคลองกับความตองการของตลาดในประเทศและตางประเทศและศักยภาพหลักของพื้นท่ี เชน ผูผลิต
ชิ้นสว นอเิ ลคทรอนกิ สเ คร่อื งใชไ ฟฟา หรืออุปกรณอิเลคทรอนิกสโดยท่ัวไป เชน IC PCB ผูประกอบรถยนต
และยานยนตป ระเภทตา ง ๆ ผผู ลิต ตวั แทนจาํ หนา ยหรือผปู ระกอบชน้ิ สว นหรืออะไหลรถยนต ผูใ หบริการซอม
บํารุงรถยนต ผูจัดจาํ หนายและศูนยจาํ หนายรถยนตทั้งมือหน่ึงมือสอง ผูผลิตและจําหนายเครื่องจักรและ
เคร่ืองมือทุกชนิด เชน เครื่องจักรกลหนัก เคร่ืองจักรกลเบา ผลิตอุปกรณหรือสวนประกอบพื้นฐานของ
เคร่อื งใชไ ฟฟาตาง ๆ เชน สายไฟ หลอดไฟ ฉนวนไฟฟา มอรเ ตอรตาง ๆ การผลิตอลูมิเน่ียม ผลิตและตัวแทน
จาํ หนายผลิตภัณฑเหลก็ สเตนเลส ผผู ลติ จําหนายวัสดกุ อสราง วัสดุตกแตง สขุ ภัณฑ การกอสราง อาคาร หรือ
ทีอ่ ยอู าศัย
4. กลมุ อาชพี ใหมดานความคดิ สรางสรรค
ทา มกลางกระแสการแขง ขันของโลกธุรกจิ ท่ไี รพรมแดนและการพัฒนาอยางกาวกระโดด
ของเทคโนโลยีการสอ่ื สารและการคมนาคม การแลกเปล่ียนสนิ คา จากทห่ี นง่ึ ไปยังอกี สถานท่ีที่อยูหางไกลน้ัน
เปนเร่อื งงายในปจ จบุ นั เมื่อขอ จํากดั ของการขามพรมแดนมิใชอุปสรรคทางการคาตอไป จึงทาํ ใหผูบริโภคหรือ
ผซู ้ือมสี ทิ ธเิ ลอื กสินคาใหมไดอยางเสรีทั้งในดานคณุ ภาพและราคา ซึ่งการเรียนรูและพัฒนาสินคาและบริการ
ตาง ๆ ที่มอี ยูในตลาดอยูแ ลวในยุคโลกไรพ รมแดนกระทาํ ไดง าย ประเทศทีม่ ีตนทุนการผลิตต่ํา เชน ประเทศจีน
อินเดยี เวียดนาม และประเทศในกลุม ยโุ รปตะวนั ออก จะมีความไดเปรียบในการแขงขันดานราคา ดวยเหตุน้ี
ประเทศผนู าํ ทางเศรษฐกจิ หลายประเทศจึงหันมาสงเสรมิ การดําเนินนโยบายเศรษฐกิจสรางสรรคเพื่อพัฒนา
สนิ คาและบรกิ ารใหม ๆ และหลีกเลยี่ งการผลิตสนิ คาท่ีตองตอ สดู านราคา โดยหลกั การของเศรษฐกิจสรางสรรค
คือแนวคิดหรือแนวปฏิบัติที่สราง/เพ่ิมมูลคาของสินคาและบริการไดโดยไมตองใชทรัพยากรมากนัก แตใช
ความคดิ สตปิ ญ ญา และความสรา งสรรคใ หม ากข้ึน
ทศิ ทางของแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติฉบับท่ี 11 (พ.ศ. 2555 – 2559) ไดกําหนด
ยุทธศาสตรก ารปรับโครงสรา งเศรษฐกจิ สูการเจริญเตบิ โตอยางคุณภาพและย่ังยืน ใหความสําคัญกับการปรับ
โครงสรางเศรษฐกิจบนฐานความรู ความคดิ สรางสรรคและภูมปิ ญ ญา ภายใตป จจยั สนับสนุนทเี่ อ้ืออํานวยและ
ระบบการแขง ขนั ทีเ่ ปน ธรรมเพ่ือสรา งภูมคิ ุม กันใหก บั ประเทศ มุงปรับโครงสรางและการลงทุนใหสอดคลอง
กบั ความตอ งการของตลาดทัง้ ภายในและตางประเทศ สรา งมูลคาเพมิ่ ใหก บั สาขาบรกิ ารท่มี ศี ักยภาพบนพนื้ ฐาน
8
ของนวัตกรรมและความคดิ สรางสรรค พฒั นาธรุ กจิ สรา งสรรคและเมืองสรางสรรค เพิม่ ผลผลติ ของภาคเกษตร
และสรางมลู คาเพิม่ ดวยเทคโนโลยแี ละกระบวนการผลติ ที่เปนมิตรกับสิ่งแวดลอม พัฒนาภาคอุตสาหกรรมสู
อุตสาหกรรมฐานความรูเชิงสรางสรรคและเปนมิตรตอสิ่งแวดลอม พัฒนาโครงสรางพื้นฐานและ
ระบบโลจิสติกส สรางความม่ันคงดานพลังงานควบคูไปกับการปฏิรูปกฎหมายและกฎระเบียบตาง ๆ ทาง
เศรษฐกิจและการบริหารจดั การเศรษฐกิจสวนรวมอยา งมีประสทิ ธิภาพเพอื่ ใหเ ปน ฐานเศรษฐกิจของประเทศที่
เขม แข็งและขยายตัวอยางมคี ณุ ภาพ
กลุมอาชพี ใหมด านความคิดสรางสรรค จึงเปนอาชีพท่ีอยูบนพื้นฐานของการใชอ งคความรู
(Knowledge) การศึกษา (Education) การสรางสรรคงาน (Creativity) และการใชทรัพยสินทางปญญา
(Intellectual Property) ท่ีเชื่อมโยงกับพ้ืนฐานทางวัฒนธรรม (Culture) การส่ังสมความรูของสังคม (Wisdom)
และเทคโลโลยี/นวัตกรรมสมัยใหม (Technology and Innovation) (อาคม เติมพิทยาไพสิฐ, 2553) ดังน้ัน
กลุม อาชพี ใหมดานความคดิ สรางสรรค จงึ เปนการตอยอดหรอื การพัฒนาอาชีพในกลมุ อาชพี เดมิ คอื กลมุ อาชีพ
เกษตรกรรม กลุมอาชีพอุตสาหกรรม กลุมอาชีพพาณิชยกรรม กลุมอาชีพคหกรรม กลุมอาชีพหัตถกรรม
และกลุมอาชีพศลิ ปกรรม
กลุมอาชีพใหมดา นความคดิ สรางสรรค เชน แฟช่นั เส้อื ผา เคร่อื งประดบั เคร่ืองสาํ อาง ทรงผม
สปาสมุนไพร การออกแบบส่ือ/ภาพยนตร/โทรทัศน เครื่องใชไฟฟา เฟอรนิเจอร วัสดุกอสราง
แบบประหยดั พลังงาน เซรามกิ ผาทอ จักสาน แกะสลกั รถยนตพลงั งานทางเลอื ก ขาเทยี มหุนยนตเ พื่อคนพิการ
การทอ งเที่ยวเชงิ วัฒนธรรม ตลาดนํา้ อโยธยา เปน ตน
5. กลุมอาชีพใหมดานบริหารจัดการและบริการ เชน ธุรกิจบริการทองเท่ียว ธรุ กิจบริการ
สุขภาพ ธรุ กิจบรกิ ารโลจิสตกิ ส ธรุ กิจภาพยนต ธรุ กิจการจัดประชมุ และแสดงนทิ รรศการ บริการที่ปรึกษาดาน
อสังหาริมทรพั ย ทปี่ รกึ ษาทางธรุ กิจ
งานอาชีพใหมท้ัง 5 กลุม ในอนาคตจะมีการเติบโตทางธุรกิจมากขึ้น จึงมีความตองการ
เจา หนา ท่ี บุคคล พนักงาน เพอ่ื ควบคุมและปฏบิ ัตงิ านทีม่ ีความรู ความสามารถ และทักษะฝม ือเปนจาํ นวนมาก
9
การขยายขอบข่ายอาชีพระดับประเทศ
ธุรกิจท่ีมีการขยายขอบขายอาชีพในระดับประเทศ มักจะเปนธุรกิจที่สรางประสิทธิภาพในระบบ
การจัดการใชทรัพยากรที่เก่ียวของกับการจัดการกําลังคนท้ังระดับบริหารจัดการ และแรงงาน การจัดการ
เงนิ ทนุ การจัดการวัสดนุ าํ เขา การผลติ และกระบวนการผลติ ใหไดผลผลติ สงู สดุ และมขี องเสียหายนอ ยทสี่ ุด
เปนเร่ืองสําคญั ในงานอาชพี ดา นเกษตรกรรม งานอาชพี ดา นอตุ สาหกรรม งานอาชพี ดานพาณิชยกรรม งานอาชีพ
ดา นความคิดสรางสรรค งานอาชีพดานอํานวยการและอาชีพเฉพาะทาง ดังน้ันการจัดตั้งธุรกิจรองลงมาท่ีมี
ความสัมพันธสอดคลองกับการลดปริมาณการเสียหายใหนอยที่สุดจนเหลือศูนยรองรับธุรกิจหลัก จึงเกิด
การขยายขอบขา ยอาชีพข้ึน
ตัวอยา งที่ 1 การขยายขอบขา ยจากอาชีพผลติ กระเปาถือสุภาพสตรี
การขยายอาชีพระดับโลก
10
การขยายอาชีพระดับโลก
หากเราจะมองไปท่ปี ระเทศมหาอาํ นาจทางเศรษฐกิจ ไดแ ก สหรัฐอเมรกิ า องั กฤษ ฝรง่ั เศส เยอรมัน
ญี่ปุน ซึ่งเปนนักคิด นักพัฒนาอุตสาหกรรมขนาดใหญ เชน อุตสาหกรรมรถยนต อุตสาหกรรมเคมี
อตุ สาหกรรมอเิ ลคทรอนกิ ส และอน่ื ๆ ลวนแตท าํ ลายสิง่ แวดลอม ประเทศมหาอาํ นาจเหลา น้จี ึงขยายขอบขาย
การผลติ ออกไปยงั ประเทศทคี่ า จา งแรงงานต่ํา และหนั กลบั มาอนุรักษศ ิลปวฒั นธรรม สง่ิ แวดลอม สรา งความ
สวยงามใหกับบานเมอื ง และชนบท สรางเศรษฐกิจจากการทองเที่ยว หันมาพัฒนาการผลิตอาหาร พืช ผัก
ผลไม เนื้อสัตว ในระบบเกษตรอินทรียท่ีมีความปลอดภัยและคุณภาพสูง เพื่อสรางพ้ืนฐานสุขภาพชีวิต
ประชาชนของเขาใหอยดู ีมสี ขุ สกู ารมปี ญ ญาอันล้าํ เลิศ
ตวั อยา งท่ี 1 การขยายขอบขา ยอาชีพจากเกษตรอินทรีย
จากตวั อยา งเราจะเหน็ วา อาชีพปลกู พืชอินทรียเ ปนอาชีพหลกั ทส่ี ามารถขยายขอบขายออกไปเปน
อาชีพปศุสัตวและประมง อาชีพแปรรูปผลผลิตทางการเกษตร อาชีพทองเท่ียวเชิงอนุรักษ และอาชีพ
จดั การเรียนรเู กีย่ วขอ งกับเกษตรอนิ ทรีย
11
ใบงานท่ี 2
การขยายอาชพี ในชุมชน ประเทศ และภมู ภิ าค 5 ทวีป ไดแ ก ทวีปเอเชยี ทวปี ออสเตรเลยี
ทวีปอเมรกิ า ทวีปยโุ รป และทวีปแอฟรกิ า
แบบบนั ทึกผลการวิเคราะหเปรียบเทียบหาความแตกตางและเหมือนกันระหวางการขยายอาชีพระดับชุมชน
ระดบั ประเทศ และตางประเทศ
12
ใบงานที
การขยายอาชีพในชุมชน ประเทศ และ ภมู ภิ าค 5 ทวีป ไดแก ทวีปเอเชีย ทวีปออสเตรเลีย
ทวปี อเมรกิ า ทวปี ยโุ รป และทวปี แอฟรกิ า
คําชีแจง : ใหผูเรียนคิดจากประสบการณของตนเองวาการประกอบอาชีพของทานควรจะมขี อบขาย
อะไรบางทจ่ี ะนาํ ไปสกู ารขยายอาชพี เพอื่ สรางความเขม แข็งยง่ั ยืนใหก บั ตนเองไดดวยการคิดวเิ คราะหจาก
องคป ระกอบในตารางนี้ แลว ระบขุ อบขา ยอาชีพท่ีควรจะเกี่ยวขอ ง
1. อาชีพของผเู รยี นท่ีประกอบการอยูคอื ......................................................................
2. ผลการวเิ คราะหขอบขา ยอาชพี ท่คี วรจะเกยี่ วขอ งเพ่อื สรางความเขมแข็งยั่งยืนใหกับตนเองและ
สมั พนั ธก ับอาชพี ท่ีทาํ อยูได
13
คาํ ชแ้ี จง : ใหก ลุมผูเ รียนและครรู วมกนั นําผลการวิเคราะหของตนเองมาบูรณาการเปนขอบขายการขยายอาชีพ
ของกลมุ
1. กลุม ผเู รียนหมูที่..........ตาํ บล...............อาํ เภอ...................จังหวดั .........................
2. ผลการวเิ คราะหข อบขายอาชพี ท่คี วรจะเกย่ี วขอ งเพอื่ สรา งความเขม แขง็ ยั่งยืนใหก ับชมุ ชน
14
ใบงานที
การขยายอาชีพในชุมชน ประเทศ และ ภูมภิ าค 5 ทวปี ไดแก ทวีปเอเชีย ทวีปออสเตรเลีย
ทวปี อเมรกิ า ทวปี ยโุ รป และทวปี แอฟรกิ า
คาํ ชีแจง : ขอใหผเู รียนไดใชเวลาทบทวนนกึ คดิ บนฐานประสบการณตรงวา สภาวะแวดลอมตา ง ๆ ทีเ่ กย่ี วของ
กบั ตวั เรามีอิทธพิ ลทาํ ใหอาชพี ทเ่ี คยทาํ อยูตอ งขยายขอบเขตออกไปมีลักษณะเหตุผลความจําเปนอยางไร เม่ือ
วเิ คราะหแลวขอใหบ นั ทึกลงในแบบบันทึกนี้
15
16
17
คาํ ชีแจง : ใหกลุมผูเรียนรวมกันทําบันทึกผลการคิดหาเหตุผลในการขยายอาชีพจากประสบการณจริงของ
ตัวผูเรียนมาสรุปจดั เปน ความคิดของกลมุ
18
ใบงานที
การขยายอาชีพในชุมชน ประเทศ และ ภมู ภิ าค 5 ทวีป ไดแ ก ทวีปเอเชีย ทวีปออสเตรเลีย
ทวีปอเมริกา ทวีปยโุ รป และทวีปแอฟรกิ า
คาํ ชแ้ี จง : ใหคณะครูและผูเรียนรว มกันทําความเขาใจในการพิจารณาคิดตัดสินใจวาประเด็นเหตผุ ลความจําเปน
ในแตละตัว มีปฏิสัมพันธในทางเดียวกันกับตัวแปรดานคุณคาแตละตัวหรือไม ถาสัมพันธใหคะแนน 1
ไมสมั พนั ธใ ห 0 แลว รวมคะแนนในแตล ะประเด็น เม่ือพิจารณาครบทุกประเดน็ แลว ใหจดั ลําดับความสาํ คญั จาก
คะแนนมากไปนอย ดงั ตัวอยาง
อภิปรายผลการวเิ คราะห จากตารางสามารถอธิบายไดวา ประเด็นเหตุผลขยายอาชีพการปลูกไมใชงาน
และการเลยี้ งปลานิลกินใบมันเทศ เปน ประเดน็ ทีม่ คี วามสาํ คญั ทสี่ ุด
19
คาํ ชีแจง : ใหผเู รียนรวมกันพิจารณาคิดตัดสินใจจัดลําดับความสําคัญของเหตุผลความจําเปนของการขยาย
ขอบขายอาชีพของกลมุ หรอื ชุมชน
20
เรืองที 3 : การขยายกระบวนการจดั การงานอาชีพในชุมชน
1. การกาํ หนดแนวทางขยายอาชพี
1.1 เหตผุ ลการขยายขอบขายอาชพี
เหตุผลความจาํ เปนในอาชีพทกี่ ลา วไวใ นเบอื้ งตน สามารถสรปุ เหตุผลของการขยายขอบขา ยอาชีพได
ดงั น้ี
1. สภาพแวดลอมทางเศรษฐกิจ
2. สภาพแวดลอ มทางสงั คม
3. สภาพแวดลอมทางวฒั นธรรม
4. สภาพแวดลอมทางสิง่ แวดลอม
ในการปฏิบัติเหตุผลในการขยายขอบขายอาชีพ ในแตละสภาพแวดลอมน้ันไมอิสระตอกัน แตมี
ความเช่อื มโยงผกู พันกัน และเปนไปเพอื่ การเพิม่ รายไดของอาชพี หลักท่จี ะผลิตผลมาหมุนเวยี นเปลี่ยนรปู สราง
มลู คาเพ่ิม ดงั ตวั อยา งตามแผนภมู ินี้
1.2 ความคิดรวบยอดของหลักการขยายอาชีพ
ในการกาํ หนดแนวทางขยายอาชีพ เราควรสรปุ กจิ กรรมหลักของการขยายอาชีพใหมองเห็นชัดเจน
เปนความคิดรวบยอดท่ีประกอบดวย ปัจจัยนําเข้าเพอื การขยายอาชีพ คืออะไร กระบวนการผลิตทําอยางไร
และสุดทายจะเกิดอะไรข้นึ ดงั ตวั อยางน้ี
21
จากแผนภมู สิ ามารถอธบิ ายไดว า ความคดิ รวบยอดของการขยายขอบขา ยอาชพี เปน การขยายอาชีพมาจากการ
ใชยอดและหวั มนั เทศไมไ ดม าตรฐาน มาแปรรปู เปนอาหารใหห มกู ิน ใชเวลาเลย้ี งไมเ กนิ 4 เดอื นจะไดน ํา้ หนัก
เฉลี่ยตวั ละ 90 กก.
1.3 วิเคราะหพอเพียงในการดําเนนิ งาน
เปนกิจกรรมตอ เนอื่ งจากผูเรียน สามารถหาเหตุผลและสรา งความคดิ รวบยอดได แลวนาํ ความเขา ใจ
มาวิเคราะหห าปฏิสัมพันธระหวางตัวแปรการผลิต ประกอบดวย ผลผลิตที่จะทําการลดตนทุน และตัวแปร
ความพอเพยี งท่ีประกอบดว ยความมเี หตุผล ความพอเพยี ง ภูมิคุม กัน ความรอบรูและคุณธรรม ผลการวิเคราะห
จะทาํ ใหม องเห็นส่งิ ที่เกดิ และส่งิ ทีจ่ ะตอ งทําในขอบเขตของความพอเพยี ง ดังนี้
22
ตัวอยา ง : ตารางแสดงผลการวเิ คราะหหาปฏิสมั พันธระหวางตัวแปรกิจกรรมขยายอาชีพกับตวั แปรเศรษฐกิจ
พอเพียง
23
1.4 การกาํ หนดแนวทางขยายอาชพี
หลงั จากนาํ ความคิดรวบยอดการขยายขอบขายอาชีพมาวิเคราะหความพอเพยี งในการดาํ เนนิ การ
จะทาํ ใหเ ราเห็นสภาพปฏสิ มั พนั ธ ระหวา งตัวแปรการผลติ กบั ตวั แปรปรชั ญาเศรษฐกิจพอเพยี งท่ีจะบอกใหเรารู
วาความคดิ การขยายอาชีพเหมาะสมท่ีจะทําหรือไมจากตัวอยางการวิเคราะหเราจะพบวาตัวแปรทางปรัชญา
เศรษฐกจิ พอเพียงจะควบคมุ ความคดิ ของเราใหอยใู นขอบขา ยที่เหมาะสมมีภมู ิคมุ กนั โอกาสประสบความสาํ เร็จ
มีสงู
การกําหนดแนวทางของอาชพี จงึ อาศยั ความรทู ไ่ี ดจ ากผลการวเิ คราะหม ากาํ หนดโดยใชวงจร I-P-O
(ปจจยั นําเขา-กระบวนการ-ผลผลติ ) เปนฐานในการกําหนดแนวทางขยาย อาชีพดังตวั อยา งน้ี
จากแนวทางการขยายอาชีพดังกลา วน้ี จะทําใหเ รามองเหน็ ภาพชวี ติ ของงานอยา ง แจมชดั ดวยตนเอง
สามารถนําไปสกู ารเรียนรเู พอ่ื การขยายขอบขา ยอาชพี สคู วามเขมแข็ง ย่ังยนื ตอไป
24
1.5 การจัดการความรู
กรอบความคดิ การจัดการความรู้
จากรูปสามารถอธบิ ายไดว า การจดั การความรเู ปน รปู แบบทีม่ อี งคป ระกอบรว ม คือองคกรหรือบคุ คล
ในการประกอบอาชพี กรอบความรูข องอาชพี และการปฏบิ ตั ิการอาชพี ทม่ี เี ปาหมายสรา งความเขม แขง็ มน่ั คง
ย่ังยืนใหก บั อาชีพ ดงั น้ันการประกอบอาชพี จงึ มีความจาํ เปน ท่จี ะตองพฒั นากรอบความรขู องตนเองใหย กระดบั
ความรูพ อเพียงทจี่ ะใชปฏิบัตกิ าร สรา งอาชีพสูความเขมแข็งยง่ั ยืนของกลมุ อาชีพ
จากสาระขา งตนอาจจะสรุปรปู แบบการจัดการความรไู ดเปน 2 ข้นั ตอน คอื
1. การยกระดับความรขู องการประกอบอาชพี
2. การปฏบิ ตั ิการใชค วามรสู รา งความเขม แข็ง ม่นั คง ยงั่ ยนื ใหอาชพี (จะกลา วในบทตอ ไป)
การยกระดับความรูข องการประกอบอาชพี เปน กิจกรรมจดั การกรอบความรูของการประกอบอาชีพ
ใหยกระดับความรูสูงขึ้นเปนระยะ ๆ อยางตอเน่ือง เพื่อใชปฏิบัติการในระบบของธุรกิจอาชีพใหเกิดความ
เขม แขง็ ยง่ั ยืน ซ่ึงประกอบดวยกิจกรรมไมนอ ยกวา 5 กิจกรรม คอื
1. กําหนดหัวขอความรูเพื่อใชพัฒนาธุรกิจอาชีพวาควรจะมีหัวขอความรูอะไรบาง ที่สามารถ
ครอบคลุมใชพฒั นาการดําเนินสคู วามเขม แขง็ มนั่ คงย่ังยืนได
25
2. การแสวงหาความรู เปน กจิ กรรมตอเน่ืองจากการระบุหัวขอความรู คณะทํางานของกลุมอาชีพ
จะตองปฏิบัติการสืบคนขอมูลสารสนเทศจากภูมิปญญาในกลุมอาชีพและแหลงความรูตาง ๆ โดยใช
กระบวนการ ดงั น้ี
3. การแลกเปล่ียนเรียนรู เพ่ือสรุปแนวทางการพัฒนาเปนกิจกรรมที่ใหคณะทํางานแยกกันไป
แสวงหาความรู ทาํ ผลสรุปความรู หลกั ฐานรอ งรอยตาง ๆ มานําเสนอแลกเปลี่ยนเรียนรูแ ละรว มกนั สรุปจัดเขา
ระบบงานทเี่ ปน รปู แบบแนวทางเพอ่ื การพัฒนา
4. การประยกุ ตใ ชความรู เปน กจิ กรรมตอเน่ืองจากการแลกเปล่ยี นเรยี นรูดว ยการนาํ รูปแบบแนวทาง
มาทดลองประยุกตใชความรู ความจริง บันทึกผลการทดลอง ทดลองซ้ํา จนม่ันใจในขอมูล นําผลการทดลองท่ีได
แลว ประเมินสรปุ ผล
5. การสรปุ องคความรู เปนการนําขอมูลสารสนเทศ ผลสรุปการทดลองมาเขียนเปนเอกสารคูมือ
ดาํ เนินงานทีป่ ระกอบดว ย
1) ภาพรวมระบบของงาน
2) ระบุคุณภาพและมาตรฐานของผลผลิตท่ีตอ งเกดิ ข้นึ
3) ระบกุ ิจกรรมแสดงข้นั ตอนการจัดการปฏิบตั กิ ารใชภาษาทรี่ ัดกุม สามารถเรียนรทู าํ ตามได
26
4) ระบปุ จ จยั ดาํ เนนิ งานและมาตรฐานท่ีตองการ
เอกสารคมู ือดาํ เนนิ งานหรอื องคความรู จะเปนเอกสารความรใู ชด ําเนินงานและควบคมุ การทํางานให
เกิดคณุ ภาพได จึงเปน ความรูที่ถกู ยกระดบั ใหสูงขึ้นเปนระยะ ๆ อยางตอเน่ือง ใชปฏิบัติการสรางความสําเร็จ
ความเขม แขง็ ม่นั คง ยัง่ ยนื ใหก ลมุ อาชีพ
เรืองที 4 : คณุ ธรรม จริยธรรม
การขยายกระบวนการจดั การงานอาชีพของตนเองใหมีความม่ันคงในธุรกิจอาชีพ ผูประกอบอาชีพ
จะตอ งมีคณุ ธรรม จริยธรรม
หลักการพัฒนาตนเองเพือ่ พฒั นาอาชพี
1. การพัฒนาตนเองตามแนวพระราชดําริ
1.1 ความรู ความสามารถ ในขอ น้ี พระบาทสมเดจ็ พระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช ทรงเนนวา
ควรเปน ความรคู วามสามารถท่เี บ็ดเสร็จของผูปฏิบัติ ประกอบกับความมีระเบียบแบบแผนในการปฏิบัติงาน
อนั จะเปน ปจ จัยที่ทาํ ใหก ารทาํ งานไดผ ล
1.2 การรูจ ักการประยกุ ตใชในขอ นี้ พระบาทสมเดจ็ พระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช ทรงย้ําวา
การจะทํางานใหส ําเรจ็ ผปู ฏิบตั ิตองรูจกั ประยุกตใ ชดงั น้ี
1) พจิ ารณาใหรอบคอบกอ นทจ่ี ะประกอบกิจการใด ๆ
2) พิจารณาใหว างใจเปน กลาง จะชวยใหปฏบิ ัตไิ ดถ ูกตอ งเหมาะสม
3) พิจารณาถงึ สภาพความเปน อยูของทอ งที่และผลสะทอนที่อาจเกดิ ขน้ึ
4) พยายามหยิบยกทฤษฎที างวชิ าการมาปรบั ใชใ หเหมาะสม
1.3 การคิดอยางรอบคอบ ในขอนี้ พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช
ทรงแนะนาํ วา
1) ใชความคดิ ใหเ ปน เคร่อื งชว ยความรู จะไดใ ชค วามรใู หถ ูกตอ ง
2) ใชความจริงใจอันเที่ยงตรงตามเหตุผล และมีความเท่ียงธรรม จะไดสรางสรรค
ประโยชนไ ดอยา งสมบรู ณแ ละมีประสทิ ธิภาพ
1.4 การใชปญญา ในขอน้ี พระบาทสมเดจ็ พระปรมินทรมหาภูมพิ ลอดุลยเดช ทรงอธิบายวา
“การประมาทหม่ินปญญาคนอน่ื ไมย อมทาํ ตามความคิดและความรูของคนอ่ืนน่ีแหละเปนเหตุ
สําคัญที่ทําใหงานอื่น ๆ หยุดชะงัก ตองเร่ิมใหมอยูร่ําไป จะตองลมเหลวมากกวาครั้งที่แลว ผูมีความคิดควร
27
จะตอ งเขา ใจวา ปญญาของผูอ ่นื ที่เขาคดิ มาดีแลว ใชไดม าดีแลว ในงานน้ันยอมเปนพื้นฐานอยางดีสําหรับเรา
ทจี่ ะกอสรางเสรมิ ความรงู อกงามม่นั คงตอ ไป การประมาทปญญาผอู นื่ เทา กับไมไดใ ชพ ้นื ฐานทมี่ อี ยแู ลวใหเ ปน
ประโยชน” นอกจากนย้ี ังมสี าระสําคัญพอทีจ่ ะสรุปได คือ
1) ปญญา คือ ความรูผนวกกับความเฉลียวฉลาด จัดเปนความสามารถพิเศษที่มีอยูใน
ตวั บุคคล
2) ตองใชปญ ญาในการคดิ อานอยูเสมอ จึงจะมั่นคงแข็งแรง เพราะทุกคนจําเปนตองใช
ปญญาตลอดชวี ิต
3) ไมควรประมาทปญ ญาของตนและผูอ่นื ดงั แนวพระบรมราโชวาทท่ีพระราชทานไว
1.5 การมีสติและสงบสํารวม ในขอน้ี พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช ทรงมี
พระราชดาํ รัสกลา วโดยสรุปวา สติเปน คกู ับปญ ญา และทรงใชค วามหมายของสติวาเปนความระลกึ ได ความรู
ความไมว ิปลาส ความรูจักรับผิดชอบ สวนคําวา “สงบสาํ รวม” หมายถึงความ เรยี บรอยเปนปกตทิ ้ังจิตใจและ
การกระทาํ การรจู ักสาํ รวมระวงั กายใจใหส งบเปน ปกตินัน้ จะชวยใหม ีการยั้งคดิ ในการทาํ งานทุกอยา ง
1.6 ความจริงใจและการมสี ัจจะ ในขอนี้ พระบาทสมเดจ็ พระปรมนิ ทรมหาภมู ิพลอดลุ ยเดช ทรงสอนวา
1) บุคคลผูปรารถนาความสาํ เรจ็ และความเจริญ จะตอ งเปนผูที่ยอมรับความจริง และยึดม่ัน
ในความจรงิ มคี วามจรงิ ใจทัง้ ตอตนเองและผูอ่นื อยางม่ันคง
2) ตอ งมสี จั จะ คอื ความจรงิ ใจในดา นคําพูดและการกระทาํ และปฏบิ ัติใหไดโดยเครงครดั
ครบถว น
1.7 การมีวินยั ในขอนี้ พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภมู ิพลอดุลยเดช ทรงอธบิ ายวา บุคคลผมู ี
วนิ ยั คอื คนมีระเบียบ ไดแ ก ระเบยี บในการคิดและการกระทํา ผูใดไมมีระเบียบไว ถึงแมจะมีวิชา เรี่ยวแรง
ความกระตอื รอื รนอยเู พียงไรก็มักทํางานใหเ สรจ็ ดีไมได เพราะความคดิ อานวาวุนสับสนที่จะทําอะไรก็ไมถูก
ตามลาํ ดับขัน้ ตอน มีแตค วามลงั เล ความขัดแยง ในความคิด ท้ังในการปฏิบัติงาน การมีวินยั หมายถึง การมี
ระเบียบ จําแนกเปน 2 ประเภท
1) วนิ ยั ทางกาย คือ การปรับกิรยิ ามารยาทใหเ ปนผูทร่ี ูจกั ขวนขวายหาความรู เพ่อื นําไปสู
ความสาํ เร็จ
2) วินัยทางใจ คือ การเปน ผทู ่รี จู ักย้ังคิดและคิดอยางมีเหตุผล การรูจักประสานกับผูอื่น
ในขอน้ี พระบาทสมเดจ็ พระปรมนิ ทรมหาภมู พิ ลอดลุ ยเดช ทรงแนะนําวา
(1) งานแตล ะช้ินจะตองปฏิบัติใหประสานสอดคลองกัน และพัฒนาไปพรอม ๆ กัน
ฉะนั้น ตองมกี ารเตรยี มตวั ท่จี ะปฏบิ ตั ิงานประสานกับผูอ ่นื อยางฉลาด
28
(2) ตองเปดใจใหกวาง หนักแนนและมีเหตุผล มีวิจารณญาณ เห็นแกประโยชน
สวนรวมเปน หลกั
1.8 การสรางสรรคและพฒั นา ในขอนี้ พระบาทสมเดจ็ พระปรมินทรมหาภมู พิ ลอดลุ ยเดช ทรงยา้ํ วา
1) การสรางสรรคความเจริญกา วหนาตองเริม่ ที่การศึกษาพื้นฐานเดมิ มากอน รักษาสวนที่มี
อยแู ลวใหค งไว และพยายามปรบั ปรงุ สรา งเสรมิ โดยอาศัยหลกั วิชา ความคิด พิจารณาตามกําลังความสามารถ
2) การพฒั นาปรบั ปรุงควรคอ ย ๆ ทาํ ดวยสติ ไมตองรีบรอน ผลที่เกิดขึ้นจะแนนอนและ
ไดผ ลดี
1.9 การวางแผนในการทํางาน ในขอนี้ พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช
ทรงแนะนาํ วา
1) งานทุกอยางจําเปนตองมีโครงการทแี่ นนอนสาํ หรบั ดําเนินงาน
2) ตง้ั เปาหมาย ขอบเขต และหลกั การไวอ ยางแนน อน เพราะจะชว ยใหปฏิบัติไดรวดเร็ว
และถกู ตอ งเหมาะสม
3) ตอ งมอี ุดมการณแ ละหลักทีม่ ั่นคง จึงจะทํางานใหญ ๆ ไดส ําเร็จ
4) ตองมงุ มั่นทํางานดวยความซ่ือสตั ยแ ละมีคุณธรรม
2. การพฒั นาตนเองตามแนวพุทธศาสนา
2.1 ทาน คอื การให เปนหลักปฏิบัตใิ นการพฒั นาตนเองสาํ หรับท่ีจะใชใ นการเกอื้ หนนุ
จุนเจอื ซึง่ กนั และกนั
2.2 ศีล คอื การรกั ษา กาย วาจา ใจ ใหตั้งอยอู ยา งปกติ ไมเบยี ดเบียนกนั ความสงบสขุ
ยอมเกดิ ขน้ึ
2.3 ปรจิ าคะ คือ การสละส่งิ ท่ีเปน ประโยชนน อ ย เพอื่ ประโยชนท ีม่ ากกวา การสละเพอื่
รกั ษาหนา ที่ รักษากิจทพี่ ึงกระทาํ รักคณุ ความดี เพือ่ ความสขุ ความเจรญิ ในการอยรู ว มกนั
2.4 อาชวะ คือ ความเปน ผูซอื่ ตรงตอ ตนเอง บุคคล องคก ร มิตรสหาย หนาทกี่ ารงาน
2.5 มัทวะ คือ ความออ นโยน มีอัธยาศัยไมตรี ออ นโยน มีสัมมาคารวะตอผูใหญ ไมด้ือดึง
ถอื ตนวางอํานาจ
2.6 ตบะ คอื ความเพยี ร ผูมีความเพียรสามารถปฏบิ ตั ิหนา ทใ่ี หบรรลุลวงสําเรจ็ ไดดวยดี
มักเปนผมู คี วามอดทนสูง
29
2.7 อกั โกธะ คอื ความไมโ กรธ ตลอดจนไมพ ยาบาทมงุ ทาํ รา ยผูอ นื่ ความไมโกรธมีขน้ึ ได
เพราะความเมตตา หวังความสขุ ความเจริญซึง่ กันและกนั
2.8 อหงิ สา คอื การหลกี เลีย่ งความรนุ แรง และไมเบียดเบยี นหรือเคารพในชีวติ ของผอู น่ื
คําวา “อหงิ สา” เปนภาษาสนั สกฤต หมายถงึ การหลีกเลย่ี งการบาดเจบ็ ทีเ่ รยี กวา หิงสา อหิงสาเปน แกนใน
ศาสนาพทุ ธ ศาสนาฮนิ ดู และศาสนาเชน อหงิ สา มกี ารกลา วไวในปรชั ญาอินเดยี ประมาณ 800 ปก อ น
พทุ ธศกั ราช
2.9 ขันติ คอื ความอดทน อดทนตอ การตรากตราํ ประกอบการงานตา ง ๆ อดทนตอ ถอ ยคาํ
ไมพงึ ประสงค หรอื ส่ิงอนั ไมชอบใจตา ง ๆ ในการอยรู วมกันของคนหมมู าก
2.10 อวิโรธนะ คือ ความไมผดิ ผดิ ในทน่ี ้หี มายถงึ ผิดจากความถูกตอง ทกุ อยา งทคี่ นท่วั ไป
ทาํ ผิด เพราะไมร วู าผิด หรอื รูว า ผิดแตย ังดอ้ื ดงึ ทาํ ทัง้ ๆ ที่รู ถา ปลอยเชน น้ไี ปเรอื่ ย ๆ กไ็ มรจู กั ไมอาจปฏิบัติ
ในสง่ิ ทถี่ ูกตองไดเ ลย
3. คณุ ธรรมจริยธรรมในการประกอบอาชพี
ผูประกอบการจะตองมีคุณธรรม จรยิ ธรรม เก่ียวกับเร่ืองความรับผิดชอบใน การผลิตสินคา
เชน ความสะอาด ความประณีต ความซ่ือสัตย เขาสูตลาด โดยเฉพาะดานความปลอดภัยตอสุขภาพของ
ผบู ริโภค หรอื การใหบริการท่ปี ลอดภัยแกผ ูรบั บรกิ าร
ในสวนตวั ของผผู ลติ การประกอบอาชีพใหมีความมนั่ คงได ผูประกอบการจะตองมคี ณุ ลกั ษณะ
เปนคนขยัน ซอ่ื สตั ย รูจักประหยดั อดออม มคี วามพากเพยี ร มอี ตุ สาหะ เพือ่ ความมั่นคงในการพัฒนาอาชีพ
ของตนเองใหมีความมัน่ คง
30
เรืองที 5 : การอนรุ ักษ์พลงั งานและสิงแวดล้อมในการขยายอาชีพในชุมชน สังคม และ
ภูมิภาค 5 ทวปี ไดแก ทวปี เอเชยี ทวีปออสเตรเลยี ทวีปอเมรกิ า ทวปี ยุโรป
และทวีปแอฟริกา
การขยายขอบขายอาชีพ ผูประกอบอาชีพจําเปนจะตองคํานึงผลกระทบที่เกิดจากการใช
ทรัพยากรธรรมชาติ เชน ปาไม ดิน น้ํา ทรัพยากรมนุษย และตนทุนในการผลิตอยางคุมคา และไมเกิด
ผลกระทบตอสภาพแวดลอมและวิถีชีวิตของคนในชุมชน สังคม และภูมิภาค 5 ทวีป ไดแก ทวีปเอเชีย
ทวีปออสเตรเลีย ทวปี อเมริกา ทวีปยโุ รป และทวปี แอฟริกา ดังกรณตี วั อยาง
ภาพข่าวหนงั สือพมิ พ์ : ผลกระทบของสารเคมี
31
เชือก่อโรคในของหมักดอง
อาหารหมักดอง เปน ภูมิปญญาพนื้ บานของไทยมาชานาน คนสมัยโบราณจงึ คิดคนหาวิธีถนอมอาหาร
ใหเก็บไวไดนาน ๆ จนมีคาํ กลาวที่วา “เกิดเปนคนไทย อยทู ี่ไหนกไ็ มอ ดตาย”
เพราะทุก ๆ ครง้ั ที่เราสามารถหาส่ิงมชี ีวติ ใกลตัวนํามาปรับปรุง และประยกุ ตเปนอาหารใหเขากับ
ลักษณะความเปน อยไู ดเ ปน อยา งดี ถา ทาํ ทานเองในครอบครัวก็ไมเ ปนไร
แตถ า ไมมีเวลาทาํ แลวไปหาซือ้ ตามทองตลาด วันนข้ี อเตอื นใหตอ งระวงั กนั สกั นิด โดยเฉพาะอาหาร
หมกั ดอง
เนอ่ื งจากอาหารหมักดองพ้นื บา นหลายชนดิ นั้น อาจยงั ไมไดม าตรฐาน เพราะยังขาดการควบคุมใน
เรอ่ื งของความสะอาดของวตั ถุดบิ ขน้ั ตอนการทําและภาชนะบรรจุ รวมถงึ การปอ งกนั อาหารจากการปนเปอน
ของเช้อื กอ โรค ซึ่งหากซ้ืออาหารหมักดองที่ไมมีการควบคุมความสะอาดมาทาน อาจทําใหเ กิดอันตรายแก
รางกายได
เหมือนเชนวันนี้ สถาบันอาหารไดสุมตัวอยางของหมักดองและหนอไมดอง เพ่ือวิเคราะหหาการ
ปนเปอนของเชอื้ ทีม่ ชี ่ือวา คลอสทรเิ ดยี ม เปอรฟ รงิ เจมส (Clostridium pergringens) ซ่ึงเปนสาเหตทุ ที่ ําใหเ กดิ
อาหารเปน พษิ เชอ้ื นี้สามารถพบไดในดิน นํ้า และอากาศ
หากวัตถดุ ิบ เชน พชื ผัก ท่ีนาํ มาทาํ เปนของหมักดองมีความสะอาดไมเพยี งพอ กอ็ าจทาํ ใหรา งกาย
ไดร ับเชือ้ ชนิดนีเ้ ขาไปโดยไมรตู ัว
สาํ หรบั คนท่ีช่ืนชอบทานผักกาดดองและหนอ ไมด องบอย ๆ ลองดูผลวเิ คราะหข องสถาบันอาหารได
ตามตารางดานลา ง กอ นตดั สินใจรับประทานเขา ไป
32
ภาพข่าวหนงั สือพมิ พ์ : อาหารเป็ นพษิ
ยาฆ่าแมลงไร้กลินไม่สินอันตรายสูดดมมีสิทธิคลืนไส้
อย. ช้ียาฆาแมลง ไรกล่ิน ไมสิ้นอันตราย สูดดม มีสิทธ์ิคลื่นไส เวียนหัว และเปนอันตรายตอ
สขุ ภาพได
เม่อื วันท่ี 3 กพ. ภญ.ศรีนวล กรกชกร รองเลขาธกิ ารคณะกรรมการอาหารและยา (อย.) เปด เผยวา
ปจจบุ นั ยงั มผี ูบริโภคทใ่ี ชผลติ ภณั ฑว ตั ถุอันตรายที่ใชตามบานเรอื น หรอื ทางสาธารณสขุ อาทิ ผลิตภณั ฑปองกัน
กาํ จดั แมลง และสัตวอ ืน่ ผลิตภัณฑฆ าเช้ือโรค และผลติ ภัณฑทําความสะอาด เกิดความเขาใจท่ีคลาดเคล่ือน
ในเรอ่ื งของความเปนอนั ตรายของ ผลิตภัณฑวัตถอุ นั ตรายวา ผลติ ภณั ฑวัตถุอนั ตรายท่ีมีกลิ่นหอม ไมมีกลิ่นฉุน
หรือมกี ล่นิ ออนมีความเปน อนั ตรายนอ ย หรอื ไมอ ันตราย โดยการแสดงทาทางสดู ดมพรอ มคําที่ส่ือใหรูสึกวา
ผลิตภัณฑหอมนา ดม หรือการแสดงขอ ความที่ทําใหเขา ใจวาผลติ ภัณฑท ําจากธรรมชาติ
แตในความจรงิ แลว กลนิ่ หอมเกดิ จากการปรงุ แตง กลน่ิ ดว ยนํ้าหอมสังเคราะห โดยอาจเปนนา้ํ หอมท่ี
ใหก ล่นิ หอมคลา ยดอกไมห รือนาํ้ มนั หอมระเหยสกดั จากธรรมชาติ ซึ่งในความเปนจริง หากผูบรโิ ภคสูดดมกล่ิน
ของผลิตภณั ฑว ัตถุอันตรายเขา ไปจะทําใหป วดศีรษะ วิงเวยี น คล่ืนไส และเปน อันตรายตอ สุขภาพได
โดยประโยชนท่ีแทจริงของการแตงกลิ่นของผลิตภัณฑวัตถุอันตรายนั้น ก็เพื่อกลบกลิ่นที่ไมพ ึง
ประสงคของสารออกฤทธขิ์ องผลติ ภณั ฑ หรือสารเคมที ี่ใสเ ขาไปในผลติ ภณั ฑเพ่ือใชเปน ตวั ทาํ ละลาย ตลอดจน
คณุ สมบตทิ างเคมีและกายภาพของตวั ผลิตภณั ฑ ซึ่งมักจะมีกลิ่นฉุนอยางรุนแรง จึงตองแตงกล่ินเพ่ือชวยลด
ความรนุ แรงของกลน่ิ ในผลติ ภณั ฑใหนอ ยลง เพื่อใหผ ูบรโิ ภคหันมาเลือกบรโิ ภคสินคามากยิง่ ขึ้น.
33
ภาพข่าวหนงั สือพมิ พ์ : การประสบอุทกภยั สืบเนอื งมาจากการทําลายป่ าไม้
เกิดฝนตกหนักใน มอ.หาดใหญ ทําใหน้ําทวมขัง เครดิต : @BBalaka สงขลา ประกาศภัยพิบัติ
10 อําเภอ หาดใหญชักธงแดง สั่งอพยพคนแลว หวั่นคืนนี้คันก้ันนํ้าจะรับ นํ้าไมไหวและทะลักทวมเมือง
ขณะที่กรมอุตุ ฯ เตือนพายุเขาภาคใตฝงตะวันออกเท่ียงคืนน้ี เตรียมรับมือฝนตกหนัก น้ําปาไหลหลาก
อกี ระลอก
ประกาศเตือนภัย “พายุดีเปรสชั่นในอาวไทย และอากาศหนาวเย็นบริเวณประเทศไทยตอนบน”
ฉบับที่ 3 ลงวันท่ี 01 พฤศจิกายน 2553
เมอ่ื เวลา 04.00 น. วนั น้ี (1 พย.) พายุดีเปรสชันบรเิ วณอา วไทยตอนลาง มีศูนยกลางหางประมาณ
350 กิโลเมตร ทางตะวันออกเฉยี งใตข องจงั หวดั สงขลา หรือที่ละติจูด 6.5 องศาเหนือ ลองติจดู 104.0 องศา
ตะวนั ออก มคี วามเรว็ สงู สดุ ประมาณ 15 กม./ชม. คาดวาจะเคลอ่ื นตัวผานบรเิ วณภาคใตต อนลา ง ในชว งวนั ที่
1 - 2 พฤศจกิ ายน ลกั ษณะเชน น้ที ําใหบ รเิ วณภาคใตต ั้งแตจงั หวดั สรุ าษฎรธานีลงไปมีฝนตกชกุ หนาแนน และ
มีฝนตกหนักถงึ หนักมากหลายพน้ื ท่แี ละอาวไทยมคี ล่นื สูง 2 - 4 เมตร
จงึ ขอใหประชาชนทอ่ี าศัยในพืน้ ทเี่ สย่ี งภยั บรเิ วณที่ลาดเชงิ เขาใกลทางนํ้าไหลผาน และพ้ืนท่ีราบลุม
ริมฝงแมน ้าํ บรเิ วณจังหวัดสรุ าษฎรธานี นครศรีธรรมราช พัทลุง สงขลา ปตตานี ยะลา นราธิวาส กระบี่
ตรัง และสตลู ระมัดระวังอันตรายจากฝนตกหนัก ที่อาจทําใหเกิดสภาวะนาํ้ ทวมฉับพลัน นํ้าปาไหลหลาก
และนา้ํ ลนตลง่ิ ได สาํ หรบั ประชาชนที่อาศยั อยตู ามชายฝงทะเลของภาคใตฝงตะวันออก ขอใหระวังอันตราย
จากคลน่ื ลมแรงทพ่ี ัดเขาสูฝ ง ในระยะนี้ไวดวย ชาวเรือบริเวณอาวไทยตอนกลางลงไป ควรงดออกจากฝงใน
ระยะนีไ้ วด วย
34
อนง่ึ ในระยะ 1 - 2 วนั นี้ บรเิ วณความกดอากาศสงู หรือมวลอากาศเย็นกําลงั แรงจากประเทศจีนยังคง
แผลงมาปกคลุมประเทศไทย ทําใหบริเวณประเทศไทยตอนบนมีอากาศหนาวเย็นโดยทั่วไปกับมีลมแรง
สําหรบั ภาคเหนือตอนบน และภาคตะวันออกเฉยี งเหนือ อุณหภูมิต่ําสุด 12 - 16 องศาเซลเซียส สวนบริเวณ
ยอดดอยและยอดภู อณุ หภูมิตาํ่ สุด 6 - 12 องศาเซลเซยี ส
ภาพนาํ ท่วมหาดใหญ่ สงขลา
ในระยะน้ขี อใหประชาชนตดิ ตามขา วพยากรณอากาศและเตือนภยั จากกรมอุตนุ ยิ มวิทยาอยางใกลชดิ
อยา งไรก็ตาม ลา สดุ มรี ายงานวา ทางหาดใหญไ ดเ ปลี่ยนจากธงเหลืองเฝาระวังสถานการณ เปนธง
สีแดงแลว ซ่ึงหมายความวา น้ําจะทวมไดภายใน 3 - 60 ชั่วโมง โดยสั่งอพยพประชาชนทันที เนื่องจาก
คาดวาในคนื นีค้ นั ก้นั นา้ํ จะรับน้ําไมไหวและทะลักทวมเมอื ง
โดยในตอนน้ี การไฟฟา สงขลาทาํ การตัดไฟ ทาํ ใหไฟดับเกอื บท่ัวท้ังจังหวัด และโรงประปาจมนํ้า
จนเหลอื แคโรงเดยี ว เจา หนาที่แจงใหสํารองนํ้าไวใชโดยดว น
35
ใบงานที่ 6
การขยายกระบวนการจัดการงานอาชีพในชุมชน
คําชี้แจง : ใหผูเรียนคิดวิเคราะหจากประสบการณของตนเองวา การประกอบอาชีพควรจะตองมีความรู
อะไรบา งทจ่ี ะใชพ ฒั นาอาชพี ใหเกิดความเขมแขง็ ยัง่ ยืน โดยอาศยั องคประกอบของการคดิ ตามตวั อยา งดงั นี้
36
37
ใบงานที่ 7
การขยายกระบวนการจัดการงานอาชีพในชุมชน
คําชีแ้ จง : ใหก ลมุ ผูเรียนคิดวิเคราะหจากประสบการณของตนเองวา การประกอบอาชีพควรจะตองมีความรู
อะไรบางทจ่ี ะใชพฒั นาอาชพี ใหเกิดความเขม แข็ง ยั่งยนื โดยอาศยั องคป ระกอบของการคดิ ตามตวั อยางดงั น้ี
ตัวอยา ง ผลการวิเคราะหธ ุรกิจเกษตรอนิ ทรีย
38
39
ใบงานที่ 8
ตวั อย่างบันทึกแสวงหาความรู้เรืองการพฒั นาคุณภาพดนิ
คําชี้แจง : ผูเรียนรวมกันพิจารณาตัดสินใจ เลือกหัวขอความรูที่เห็นวามีความสาํ คัญและจําเปนตองนํามา
ยกระดบั ความรูดว ยการแสวงหาความรู แลกเปล่ียนเรียนรปู ระยกุ ตใชค วาม รแู ละสรุปองคความรู
40
41
ใบงานที่ 9
ตวั อยางบันทึกแสวงหาความรูเร่ืองการพฒั นาคุณภาพดิน
คําชี้แจง : กิจกรรมนี้เปนการนําผลสรุปจากการแสวงหาความรูของผูเรียนแตละคนมาแลกเปลี่ยนเรียนรู
ความรู ขอ มลู ทไี่ ดมาเปน องคค วามรูเบื้องตน สาํ หรับเปน แนวทางในการปฏบิ ตั ิยกระดบั ความรู ดังตัวอยา งนี้
ตวั อย่างบันทกึ แสวงหาความรู้เรืองการพฒั นาคณุ ภาพดิน
42
43
ใบงานท่ี 10
คําชี้แจง : การบันทึกกจิ กรรมการประยุกตใ ชความรู ตารางน้เี ปน กระบวนการจดบันทกึ ขอมลู ผลได ผลเสยี
และการแกไ ขขอ บกพรอ งอยางเปน ระบบ
ตวั อยา ง บันทึกผลการประยกุ ตใชค วามรู