หนังสือเรียนสาระการประกอบอาชีพ
รายวชิ า ช่องทางการพฒั นาอาชีพ
(อช21001)
ระดบั มัธยมศึกษาตอนต้น
หลกั สูตรการศึกษานอกระบบระดบั การศึกษาข้นั พนื้ ฐาน
พทุ ธศักราช 2551
(ฉบบั ปรับปรุง พ.ศ.2560)
สานักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัย
สานักงานปลดั กระทรวงศึกษาธิการ
กระทรวงศึกษาธิการ
ห้ามจาหน่าย
หนงั สือเรียนเล่มน้ีจดั พิมพด์ ว้ ยเงินงบประมาณแผน่ ดินเพ่ือการศึกษาตลอดชีวติ สาหรับประชาชน
ลิขสิทธ์ิเป็นของ สานกั งาน กศน. สานกั งานปลดั กระทรวงศึกษาธิการ
เอกสารทางวชิ าการลาดบั ท่ี 25/2555
หนังสือเรียนสาระการประกอบอาชีพ
รายวชิ า ช่องทางการพฒั นาอาชีพ
(อช21001)
ระดบั มัธยมศึกษาตอนต้น
ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2560
ลิขสิทธ์ิเป็นของ สานกั งาน กศน. สานกั งานปลดั กระทรวงศึกษาธิการ
เอกสารทางวชิ าการลาดบั ที่ 25/2555
คํานาํ
กระทรวงศึกษาธิการไดป ระกาศใชหลักสูตรการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาข้ันพื้นฐาน
พทุ ธศกั ราช 2551 เม่ือวันท่ี 18 กนั ยายนพ.ศ.2551 แทนหลักเกณฑและวธิ ีการจัดการศึกษานอกโรงเรยี น
ตามหลักสูตรการศึกษาข้นั พนื้ ฐาน พทุ ธศักราช 2544 ซ่งึ เปนหลกั สูตรท่ีพัฒนาข้ึนตามหลักปรัชญา
และความเช่อื พื้นฐานในการจดั การศกึ ษานอกโรงเรยี นทีม่ กี ลมุ เปาหมายเปน ผูใหญมีการเรยี นรูและ
สงั่ สมความรู และประสบการณอ ยางตอเนื่อง
ในปง บประมาณ 2554 กระทรวงศึกษาธิการไดกําหนดแผนยุทธศาสตรในการขับเคลื่อน
นโยบายทางการศกึ ษาเพอื่ เพ่มิ ศกั ยภาพ และขีดความสามารถในการแขง ขนั ใหประชาชนไดม ีอาชพี
ที่สามารถสรางรายไดทมี่ ่ังค่ังและมน่ั คง เปนบคุ ลากรท่ีมีวินัย เปยมไปดวยคุณธรรมและจริยธรรม
และมีจิตสํานึกรับผิดชอบตอตนเองและผูอ่ืน สํานักงาน กศน. จึงไดพิจารณาทบทวนหลักการ
จดุ หมาย มาตรฐาน ผลการเรียนรทู ่คี าดหวงั และเนอ้ื หาสาระ ทงั้ 5 กลุมสาระการเรียนรู ของหลักสูตร
การศึกษานอกระบบระดับการศกึ ษาขนั้ พ้นื ฐาน พทุ ธศกั ราช 2551 ใหม ีความสอดคลองตอบสนอง
นโยบายกระทรวงศึกษาธิการ ซึ่งสงผลใหตองปรับปรุงหนังสือเรียน โดยการเพ่ิมและสอดแทรก
เน้ือหาสาระเกี่ยวกับอาชีพ คุณธรรม จริยธรรม และการเตรียมพรอมเพื่อเขาสูประชาคมอาเซียน
ในรายวชิ าทม่ี คี วามเกี่ยวของสัมพันธกัน แตยังคงหลกั การและวิธกี ารเดิมในการพฒั นาหนงั สือทีใ่ ห
ผูเรยี นศึกษาคน ควาความรดู วยตนเอง ปฏิบตั กิ ิจกรรม ทาํ แบบฝก หดั เพ่ือทดสอบความรูความเขาใจ
มีการอภปิ รายแลกเปล่ียนเรยี นรกู ับกลมุ หรอื ศึกษาเพิ่มเติมจากภูมิปญญาทองถิ่น แหลงการเรียนรู
และสอ่ื อ่นื
การปรับปรงุ หนังสอื เรยี นในคร้ังน้ี ไดร บั ความรวมมืออยางดีย่ิงจากผูทรงคุณวุฒิในแตละ
สาขาวชิ า และผูเกีย่ วของในการจัดการเรยี นการสอนท่ศี กึ ษาคน ควา รวบรวมขอมูลองคความรูจาก
สอื่ ตา ง ๆ มาเรียบเรยี งเน้อื หาใหค รบถวนสอดคลองกับมาตรฐาน ผลการเรียนรูท่ีคาดหวัง ตัวชี้วัด
และกรอบเน้ือหาสาระของรายวิชา สาํ นักงาน กศน.ขอขอบคุณผูมีสวนเกี่ยวของทุกทานไว
ณ โอกาสน้ี และหวังวาหนังสอื เรียนชดุ น้ีจะเปนประโยชนแกผูเรียน ครู ผูสอน และผูเก่ียวของใน
ทุกระดบั หากมีขอ เสนอแนะประการใด สํานักงาน กศน. ขอนอมรบั ดว ยความขอบคุณยงิ่
สารบญั
คาํ นํา หนา
คาํ แนะนาํ การใชหนงั สอื เรยี น
โครงสรา งรายวิชาชอ งทางการพฒั นาอาชพี
บทที่ 1 การงานอาชพี 1
เร่อื งท่ี 1 ความสาํ คญั และความจําเปน ในการพฒั นาอาชีพ
2
เรื่องที่ 2 การพฒั นากระบวนการผลิตอาชีพในชุมชน สงั คม ประเทศ และภูมิภาค 5 ทวีป 3
ไดแ ก ทวปี เอเชีย ทวปี ออสเตรเลยี ทวปี อเมริกา ทวีปยโุ รป และทวปี แอฟริกา
เร่ืองท่ี 3 กลมุ อาชีพใหม
เร่ืองท่ี 4การประกอบอาชพี ในภมู ภิ าค 5 ทวีป 32
เรือ่ งที่ 5 การพัฒนากระบวนการจดั การงานอาชพี ในชมุ ชน สังคม ประเทศ และ 34
42
ภูมภิ าค 5 ทวปี ไดแ ก ทวีปเอเชีย ทวีปออสเตรเลีย ทวีปอเมริกา ทวีปยโุ รป
และทวปี แอฟรกิ า
เร่อื งท่ี 6 คุณธรรม จริยธรรม
เรอ่ื งท่ี 7 การอนุรกั ษพลังงานและสง่ิ แวดลอ มในชมุ ชน สงั คม ประเทศ และ 77
80
ภูมิภาค 5 ทวปี ไดแ ก ทวีปเอเชยี ทวีปออสเตรเลยี ทวีปอเมรกิ า ทวปี ยโุ รป
และทวีปแอฟริกา
บทที่ 2 ชอ งทางการพฒั นาอาชพี 83
เรื่องที่ 1 ความจําเปน ในการมองเห็นชอ งทางเพอื่ พฒั นาอาชีพ
เรื่องที่ 2 ความเปน ไปไดใ นการพฒั นาอาชพี 84
เรือ่ งที่ 3 การกําหนดวธิ กี ารพัฒนาอาชีพพรอ มเหตุผล 85
บทที่ 3 การตดั สนิ ใจเลอื กพฒั นาอาชพี 92
94
เรือ่ งท่ี 1 การตดั สนิ ใจเลอื กพัฒนาอาชีพ
เรอ่ื งท่ี 2 การตดั สนิ ใจพฒั นาอาชีพดว ยการวิเคราะหศกั ยภาพ 95
106
บรรณานกุ รม 110
คณะผูจัดทาํ 111
คําแนะนําการใชห นังสอื เรียน
หนังสือเรียนสาระการประกอบอาชีพ รายวิชาชองทางการพัฒนาอาชีพ รหัส อช21001
ระดบั มัธยมศึกษาตอนตน เปนหนงั สือเรยี นทีจ่ ดั ทําขน้ึ สําหรบั ผูเรียนที่เปนนักศกึ ษานอกระบบ
ในการศึกษาหนังสอื เรยี นสาระการประกอบอาชพี รายวชิ าทกั ษะการพฒั นาอาชีพ ผูเรียนควร
ปฏิบัติ ดังนี้
1. ศึกษาโครงสรางรายวิชาใหเขาใจในหัวขอและสาระสําคัญ ผลการเรียนรูท่ีคาดหวัง และ
ขอบขา ยเน้ือหา
2. ศึกษารายละเอียดเน้ือหาของแตละบทอยางละเอียด และทํากิจกรรมตามที่กําหนด
หากยังไมเขาใจควรกลับไปศึกษาและทําความเขาใจในเน้ือหานั้นใหมใหเขาใจ กอนท่ีจะศึกษา
เรอื่ งตอไป
3. หนงั สอื เรยี นเลมนี้มี 3 บท คือ
บทที่ 1 การงานอาชพี
บทที่ 2 ชอ งทางการพฒั นาอาชีพ
บทท่ี 3 การตดั สินใจเลือกพฒั นาอาชพี
โครงสรางรายวชิ าชอ งทางการพัฒนาอาชพี
ระดบั มธั ยมศึกษาตอนตน (อช21001)
สาระสาํ คญั
เปนองคความรเู กย่ี วกับการงานอาชพี และเทคโนโลยี ซ่งึ ประกอบดว ยการสํารวจวิเคราะห
อาชีพในชุมชน ประเทศ และภูมิภาค 5 ทวีป ไดแก ทวีปเอเชีย ทวีปออสเตรเลีย ทวีปอเมริกา
ทวีปยุโรป และทวีปแอฟริกา เพ่ือนําไปสูการพัฒนา ระบุส่ิงที่ตองการพัฒนาอาชีพ เหตุผลความ
จําเปนที่ตองการพัฒนาอาชีพดานตาง ๆ แสวงหาความรูและเทคนิคการพัฒนาอาชีพวิเคราะห
ความรู และเทคนิคท่ไี ดม า เพ่ือนาํ ไปสกู ารพฒั นาอาชีพ การตัดสินใจเลือกวิธีการเพื่อพัฒนาอาชีพ
และการตรวจสอบความเปนไปไดในการพัฒนาอาชีพ ใหผูเรียนสามารถเลือกแนวทางการพัฒนา
อาชพี ท่เี หมาะสมตอตนเองและชมุ ชนได
ผลการเรียนรูทคี่ าดหวงั
1. อธิบายความหมาย ความสําคัญ วิเคราะหลักษณะงาน ขอบขายอาชีพในชุมชน สังคม
ประเทศ และภูมิภาค 5 ทวีป ไดแก ทวีปเอเชีย ทวปี ออสเตรเลยี ทวปี อเมรกิ า ทวีปยุโรป และทวีปแอฟริกา
ท่ีจะนําไปสกู ารพัฒนาอาชพี ทเ่ี หมาะสมกับศักยภาพของตน และสอดคลอ งกับชุมชน สงั คม
2. อธิบายเหตผุ ล ปจ จยั ความจาํ เปน ในการพฒั นาอาชพี ทีเ่ หมาะสมกบั ศกั ยภาพของตนเองได
3. จดั ระบบความสาํ คญั ในการตดั สนิ ใจพัฒนาอาชีพได
4. ปฏบิ ตั ิการวเิ คราะหเพือ่ การพัฒนาอาชพี ได
ขอบขา ยเนือ้ หา
บทที่ 1 การงานอาชพี
บทท่ี 2 ชอ งทางการพฒั นาอาชีพ
บทที่ 3 การตดั สินใจเลอื กพัฒนาอาชพี
สอ่ื การเรยี นรู
1. กจิ กรรม
2. หนังสอื เรยี น
1
บทท่ี 1
การงานอาชีพ
สาระสาํ คญั
อาชีพในปจจุบันมีอยูหลากหลายในสังคม มีท้ังสรางขึ้นใหมจากทรัพยากรท่ีมีอยู หรือ
พัฒนาขยายขอบขายจากอาชีพหนึ่งเปนอาชีพหนึ่ง หากผูเรียนมีโลกทัศนทางอาชีพจะทําใหมี
ความรู ความเขาใจ อธิบายความสําคัญ และความจําเปน ลักษณะขอบขายกระบวนการผลิตงาน
อาชพี การจดั การในงานอาชีพ คุณธรรม จริยธรรม และการอนุรกั ษพลังงานและสิ่งแวดลอม จะทําให
เหน็ ชอ งทางในการพฒั นาอาชพี
ตัวชว้ี ดั
1. อธบิ ายความสําคญั และความจําเปนในการพัฒนาอาชพี
2. อธิบายลักษณะขอบขายกระบวนการผลิตงานอาชีพในชุมชน สังคม ประเทศ และ
ภูมิภาค 5 ทวีป ไดแก ทวีปเอเชีย ทวีปออสเตรเลีย ทวีปอเมริกา ทวีปยุโรป และทวีปแอฟริกา
เพ่อื นาํ มาวิเคราะหใ นการพฒั นาอาชีพ
3. อธบิ ายการจัดการในงานอาชีพในชมุ ชน สังคม ประเทศ และภูมิภาค 5 ทวีป ไดแก ทวีปเอเชีย
ทวีปออสเตรเลีย ทวีปอเมริกา ทวีปยุโรป และทวีปแอฟริกา เพอ่ื นาํ มาวเิ คราะหใ นการพฒั นาอาชพี
4. อธิบายคุณธรรม จรยิ ธรรมในการพฒั นาอาชพี
5. อธบิ ายการอนรุ ักษพลงั งานและสง่ิ แวดลอมในการพัฒนาอาชีพในชมุ ชน สงั คม ประเทศ
และภูมภิ าค 5 ทวีป ไดแก ทวีปเอเชีย ทวปี ออสเตรเลีย ทวปี อเมรกิ า ทวปี ยุโรป และทวีปแอฟริกา
ขอบขา ยเน้ือหา
เรือ่ งท่ี 1 ความสาํ คัญและความจําเปน ในการพัฒนาอาชีพ
เรือ่ งที่ 2 การพัฒนากระบวนการผลติ อาชีพในชุมชน สังคม ประเทศ และภูมิภาค 5 ทวีป
ไดแ ก ทวปี เอเชยี ทวีปออสเตรเลยี ทวปี อเมริกา ทวีปยโุ รป และทวปี แอฟริกา
เรอื่ งท่ี 3 กลมุ อาชพี ใหม
เร่ืองท่ี 4 การประกอบอาชพี ในภูมิภาค 5 ทวีป
เร่ืองที่ 5 การพฒั นากระบวนการจดั การงานอาชีพในชุมชนสังคม ประเทศ และภูมิภาค5 ทวีป
ไดแ ก ทวีปเอเชีย ทวปี ออสเตรเลีย ทวีปอเมรกิ า ทวีปยุโรป และทวีปแอฟรกิ า
เรือ่ งท่ี 6 คุณธรรม จรยิ ธรรม
เร่ืองท่ี 7 การอนุรกั ษพลงั งานและส่งิ แวดลอมในชมุ ชน สังคม ประเทศ และภูมภิ าค 5 ทวีป
ไดแก ทวีปเอเชีย ทวีปออสเตรเลยี ทวปี อเมรกิ า ทวีปยโุ รป และทวีปแอฟรกิ า
2
เรอ่ื งท่ี 1 ความสาํ คัญและความจําเปนในการพฒั นาอาชพี
ความสาํ คัญและความจาํ เปนของการพัฒนาอาชพี วิเคราะหลกั ษณะขอบขายการงานอาชีพ
กระบวนการทาํ งาน การบรหิ ารจัดการของอาชีพตา ง ๆ ในชมุ ชน สงั คม ประเทศ และภูมภิ าค 5 ทวีป
ไดแก ทวปี เอเชีย ทวีปออสเตรเลยี ทวปี อเมรกิ า ทวีปยโุ รป และทวีปแอฟริกา เพ่ือการพัฒนาอาชีพ
จากการงานอาชีพตาง ๆ
ความสําคัญในการพฒั นาอาชีพ
การพฒั นาอาชพี เปน สงิ่ ท่สี าํ คญั ในวิถีชีวิตและการดาํ รงชพี ในปจจบุ นั เพราะอาชพี เปน การสราง
รายไดเ พ่ือเลีย้ งชพี ตนเองและครอบครัว อาชีพกอใหเกิดผลผลิตและการบริการ ซ่ึงสนองตอบตอ
ความตองการของผูบริโภค และที่สําคัญคือ การพัฒนาอาชีพมีความสําคัญตอเศรษฐกิจของ
ประเทศชาติ ความสําคัญจึงเปน ฟน เฟองในการพัฒนาคณุ ภาพชวี ิต เศรษฐกิจ ชมุ ชน สงผลถึงความ
เจรญิ กา วหนา ของประเทศชาติ
ความจําเปนในการพฒั นาอาชพี
ความจําเปนในการพัฒนาอาชพี ในชุมชน สังคม ประเทศ และภมู ภิ าค 5 ทวีป ไดแ ก ทวีปเอเชีย
ทวีปออสเตรเลีย ทวีปอเมริกา ทวีปยุโรป และทวีปแอฟริกา ท่ีเหมาะสมกับตนเอง วิเคราะห
ความเปนไปไดตาง ๆ ไดแก การลงทุน การตลาด กระบวนการผลิต การขนสง การบรรจุหีบหอ
การแปรรูป และผลกระทบตอชุมชน และสิ่งแวดลอม ความรูความสามารถของตนเองตอส่ิงที่
ตองการพัฒนา การลําดับความสาํ คัญของการพฒั นาทมี่ คี วามเปน ไปได เพ่ือนําขอมูลที่วิเคราะหไว
นาํ ไปปรกึ ษาผรู ู การตัดสนิ ใจเลือกพฒั นาอาชพี ที่เหมาะสมกบั ตนเอง โดยวเิ คราะหความพรอ มของ
ตนเอง ความตองการของตลาด เทคนิคความรู ทักษะในอาชีพ และความรับผิดชอบตอสังคม
ทรัพยากรธรรมชาตแิ ละสงิ่ แวดลอม
3
เร่ืองที่ 2 การพฒั นากระบวนการผลิตอาชีพในชมุ ชน สังคมประเทศและภมู ภิ าค5ทวีปไดแ ก
ทวีปเอเชีย ทวปี ออสเตรเลีย ทวีปอเมริกา ทวีปยุโรป และทวีปแอฟริกา
เปนการวิเคราะหลักษณะ ขอบขาย กระบวนการผลิตทางอาชีพจากงานตาง ๆ ในวิถีชีวิต
ไดแก งานบาน งานเกษตร งานชา ง งานประดิษฐ และงานธรุ กิจ
1. งานบา น
งานบา น เปนการวเิ คราะหเกย่ี วกบั งานบา นและชีวติ ความเปน อยใู นบาน ผา และเครื่องแตงกาย
อาหารและโภชนาการ โดยเนนการแกปญหาในการทํางาน มีความรับผิดชอบ สะอาด มีระเบียบ
ประหยดั อดออม อนรุ กั ษพลงั งานและส่ิงแวดลอม เพ่ือนําไปสูการสรางงานอาชีพท่ีเหมาะสมกับ
ศกั ยภาพของตนเองและสอดคลอ งกบั ชมุ ชน สังคม
1.1 บานและชวี ิตความเปน อยใู นบาน
ความสัมพนั ธข องสมาชิกในบาน บานเปน ปจจยั ทีจ่ ําเปนในการดํารงชีวิต บานเปนที่อาศัย
ใหค วามปลอดภยั ความรกั ความอบอุน รว มกันทาํ กจิ กรรมตาง ๆ เปนศูนยรวมของสมาชิกทุกคน
ในครอบครัวและมคี วามสัมพันธตอกนั
ความหมายของครอบครัว
ครอบครัวเปนหนวยหนึ่งของสังคม ประกอบดวยสมาชิกต้ังแต 2 คนข้ึนไปอยูรวมกัน
บานเดียวกนั ชว ยกนั ดูแลรกั ษาและออกคาใชจายของบานรวมกัน และยังเปนรากฐานหรือสถาบัน
ที่สาํ คัญของสงั คมในการใหการศึกษา อบรมเล้ียงดูและสรางประสบการณดานตาง ๆ แกสมาชิก
ที่อาศยั อยรู ว มกนั
ลกั ษณะของครอบครวั มีดังน้ี
1. ครอบครัวที่ประกอบดวยกลุมคนที่มีความผูกพันกันทางกฎหมาย คือ การสมรส และ
การรับบุคคลอ่นื เปนบุตรบญุ ธรรม
2. ครอบครวั ที่ประกอบดวยกลุมคนทม่ี ีความผูกพันกันทางสายเลือด ไดแก พอ แม ลูก ปู ยา
ตา ยาย พ่ี นอง หลาน
3. ครอบครัวท่ีประกอบดวยกลุมคนท่ีมีการใชจายรวมกัน จากเงินงบประมาณเดียวกัน
อาจเกย่ี วพันกันทางสายเลอื ด หรือไมเกยี่ วพนั กนั เชน พอ แม ลูก พ่ีนอ ง นายจาง ลูกจา ง เพื่อน
ความสาํ คญั ของครอบครัว
ครอบครวั ตองมหี วั หนาครอบครัว โดยปกติจะเปนบิดา แตบางครอบครัวอาจเปนมารดา
หรือญาติผูใหญ หัวหนาครอบครัวเปนบุคคลสําคัญในการสรางความสัมพันธและบรรยากาศให
สมาชิกในครอบครวั มีความรกั ความอบอุน ความเขาใจอันดีตอกัน สมาชิกจะไดรับแบบอยางที่ดี
จากครอบครวั ทําใหมจี ิตสาํ นึกในบทบาทภาระหนาท่ีของตนเองทม่ี ีตอ ครอบครวั และสงั คม
4
ดงั น้ัน ครอบครวั จงึ เปน สถาบันท่สี าํ คัญตอ การปลกู ฝงคณุ ลักษณะอันพึงประสงคใหเ กดิ แก
สมาชิกของครอบครวั ไดแ ก ความเปนผมู รี ะเบียบวินัย มคี วามรบั ผดิ ชอบ ซ่ือสัตยตรงตอเวลา รูจัก
การเสียสละ ซึ่งเปนรากฐานสําคัญใหสมาชิกของครอบครัวกาวไปสูสถาบันอื่น ๆ ของสังคมได
อยา งมีคณุ ภาพ
การสรางความสมั พันธใ นครอบครวั
บรรยากาศของครอบครัวท่ีมีสมาชิกอารมณดีมีความสัมพันธอันดีตอกัน สามารถทําได
ดังนี้
1. ใหส มาชกิ มสี วนรวมแสดงความคิดเห็นเกย่ี วกบั งาน หรือปญ หาของครอบครวั
2. ฝก ใหรจู กั การเปนผฟู งและผพู ูดทีด่ ี
3. ยอมรับนบั ถอื ในความคดิ เหน็ ของผูอ ่นื
4. มอบหมายงานใหเหมาะสมกบั วยั และความสามารถ
5. รูจกั หลกี เลย่ี งการขดั แยง พยายามทําความเขาใจและรูจักการใหอภยั ซ่ึงกันและกนั
6. มกี ิจกรรมหรืองานที่ทํารวมกนั ชวยใหเ กดิ ความสามัคคี การปรับตัวเขา หากนั
7. มีสมั มาคารวะ ประพฤตติ นเหมาะสมกบั วัย และกาลเทศะ
8. ใหความเคารพนับถอื ตอ ผอู าวุโส
9. ใหค วามชว ยเหลือ เอือ้ อาทร และมีนาํ้ ใจอันดตี อกนั
10. รูจกั เสียสละตามสมควรแกโ อกาส
หนา ท่คี วามรบั ผิดชอบของสมาชิกในครอบครวั
สมาชกิ ทุกคนในครอบครัวมีสวนรว มในการทํางานบาน ไมควรมอบภาระใหกับผูใดผูหน่ึง
งานตาง ๆ จะสําเรจ็ ไดด วยดตี อ งอาศยั ความรว มมือรว มใจของสมาชิกทุกคน ซง่ึ หลกั ในการแบงงาน
และความรับผิดชอบควรพจิ ารณา ดงั น้ี
1. วเิ คราะหแ ละวางแผนรว มกนั วามงี านอะไรบา งทจี่ ะตอ งจัดทาํ ในครอบครัว
2. มอบหมายงานใหส มาชิกทาํ ตามความสามารถ ความถนดั และเหมาะสมกบั วยั
3. กําหนดหนาที่รับผิดชอบงานของแตละคนใหชัดเจนวาใครมีหนาที่อะไรและมีงานใด
ท่สี มาชิกควรทํารว มกนั
ลักษณะงานในบาน
ลกั ษณะงานในบา นมหี ลายประการ สมาชิกในครอบครวั ควรมีสวนรว มลกั ษณะงานในบาน
แบงออกได 2 ประเภท คือ
1. งานสวนตัว เปน งานท่ีสมาชกิ ตองปฏิบัติสําหรับตนเอง เชน ดานสุขภาพอนามัยตัวเอง
คือ การทําความสะอาดรางกาย การทําความสะอาดเครื่องใชสวนตัว รับประทานอาหารท่ีมี
5
ประโยชนต อรางกาย พกั ผอ นใหเ พียงพอ ดานการวางแผนมกี ารวางแผนในการใชเวลาแตละวันให
เปนประโยชนและเหมาะสมกบั ลักษณะงานท่ีปฏบิ ัติ
2. งานสว นรวม เปนงานทีไ่ ดร บั มอบหมายจากสมาชกิ ในครอบครัว หรือเปนงานท่ีแบงเบา
ภาระของบดิ ามารดา ผูปกครอง และสมาชิกในบาน เชน การประกอบอาหาร งานซักรีดเส้ือผา และ
ทาํ ความสะอาดเคร่ืองนงุ หม
การจดั และการดูแลรักษาบาน
การใช การเกบ็ การบํารงุ รักษา การเลอื ก ซอมแซม ดดั แปลง เครื่องมือเครื่องใชในบานให
ถกู วิธีและเหมาะสมกับบริเวณพื้นท่ีในบาน จะชวยใหสะดวกตอการนํามาใชและยืดอายุการเก็บ
รกั ษา ซง่ึ จะเปนประโยชนตอ การจัดและการดูแลรกั ษาบาน แบงไดดงั นี้
1. อุปกรณการทําความสะอาดบาน เชน ไมกวาดประเภทตา ง ๆ หลังจากใชแ ลวควรเก็บใน
บริเวณท่ีลับตาหรอื ขางตูท่ีสูง เพ่ือหยิบใชไดสะดวกในการใชงานคร้ังตอไป สารท่ีชวยในการทํา
ความสะอาด เชน ผงซักฟอก น้ํายาขัดพ้นื ควรเกบ็ ใสภาชนะท่มี ฝี าปดมดิ ชิด
2. อปุ กรณเ ครื่องใชไ ฟฟา เชน เตารีด โทรทัศน เตาไฟฟา ฯลฯ ควรจดั วางในที่อากาศถายเท
หรือหมุนเวยี นไดส ะดวก ไมค วรมนี า้ํ ขงั และหลังจากใชง านแลวตอ งถอนปลั๊กออกใหเ รียบรอย
1.2 ผา และเคร่อื งแตงกาย
การเลือกใชผาและเคร่ืองแตงกายผาและความสําคัญของเสื้อผา ผาเปนเครื่องนุงหมท่ีให
ประโยชนตอการดํารงชีวิตของมนุษย ผาเปนเคร่ืองนุงหมที่ใหความอบอุนแกรางกาย ปองกัน
อนั ตรายจากการปฏบิ ัติงานตา ง ๆ และเพ่ือใหเ กดิ ความสวยงาม นอกจากน้ันผายังใชในการตกแตง
บา นเรือน กอ นที่จะนาํ ผา มาใชใ หเกิดประโยชนต อการดาํ รงชีวิต ควรศึกษาและเลือกใชใหถูกตอง
ตามความเหมาะสม
การเลือกใชเสื้อผาเคร่ืองแตง กายทถี่ กู ตอง จะตองคํานึงถึง
1. การสํารวจและรจู ักตนเอง การพจิ ารณารูปราง ลักษณะของผูสวมใส เชน ความสูง เต้ีย
ความอว น ผอม สผี ิว สีตา สีผม จุดเดนและจุดบกพรองของรูปรางหนาตา
2. ในการเลือกแบบเส้อื แบบเสอ้ื ท่ีดีควรเปน แบบท่งี าย ๆ แตน า สนใจ มจี ดุ เดน เพยี งจุดเดียว
ไมควรมกี ารตกแตงรงุ รังมากเกินไป และเลือกใหเ หมาะสมกับบุคลกิ ของผูสวมใส
3. งบประมาณเรอ่ื งเส้ือผา ควรซือ้ มาใชแ ลวคมุ คาเงินทีเ่ สียไปและใชไ ดนาน
การทําความสะอาด ดูแลและรกั ษาผาและเครือ่ งแตง กาย
เสอื้ ผา นอกจากจะตอ งเลอื กเส้ือใหเหมาะสม ใหถูกตอ งกับบุคลิกภาพ โอกาส สถานที่แลว
ผสู วมใสควรศึกษาการรักษาความสะอาดอยางถูกวิธีเพื่อยืดอายุการใชงาน ความทนทาน รวมทั้ง
รจู กั การซอมแซมเส้ือผาใหอ ยใู นสภาพพรอมที่จะใชป ระโยชนไดทันที การทําความสะอาดเส้ือผา
ควรคํานึงถึงชนดิ ของผาเสียกอนวาควรใชน า้ํ ยา ผงซกั ฟอกหรือสบชู นดิ ใด ผา ที่ซักนนั้ ทนตอการขยี้
6
หรือไม และอณุ หภมู มิ ากนอ ยเพยี งใด รวมท้ังความคงทนของสีผา ควรอานปายที่ติดกับตัวเสื้อให
ละเอยี ดเก่ยี วกับคุณสมบตั ขิ องเสอ้ื ผาที่นํามาใช เพราะผาแตละชนิดการดูแลรักษาแตกตา งกนั ดังนน้ั
ควรไดศ กึ ษาเพื่อจะไดมีเส้ือผา ที่ใหมแ ละใชงานไดนาน ๆ
การซกั ผา มจี ุดมุงหมาย คอื การทําความสะอาด ลบรอยเปอนออกใหหมด การซักผาทําได
2 วธิ ี คือ
1. ซกั ดวยน้ํา เรียกวา ซกั เปย ก
2. ซกั ดวยสารละลายโดยผา ตองไมถกู นาํ้ เรียกวา ซักแหง
การซักผา ทถ่ี กู ตองจะชวยทาํ ใหผาทนทานและสวยงามอยูเสมอ มีลาํ ดับขั้นตอน ดงั น้ี
1. ตรวจดูรอยชํารดุ ของเส้อื ผา กอ นลงมอื ซกั ถามีรอยชาํ รดุ ควรซอมแซมกอน
2. รดู ซปิ และปลดเขม็ ขดั ออกจากหวง เพราะจะทําใหฟ นซิปหรือเข็มขดั เสียในระหวางที่ซกั
3. ลว งดูกนกระเปาหากมสี ิ่งของหรือสิ่งแปลกปลอมควรเอาออกใหหมดเพราะบางคร้ังสิง่ เหลาน้ี
จะทําใหเสื้อผา เปอน ถา ซกั ดวยเครื่องจะทําใหเคร่อื งซกั ผาเสยี เร็ว
4. กาํ จดั รอยเปอนและจดุ ดา งดําใหหมดกอนลงมือซกั
5. แยกประเภทของผากอ นท่ีจะนําไปซัก เพราะผา บางชนดิ อาจสีตก
6. กอนนําผาลงไปซักกับผงซักฟอกหรือน้ําสบู ควรซักน้ําเปลากอน 1 คร้ัง เพื่อขจัดสิ่ง
สกปรก เชน ฝุน ละออง หรอื คราบส่ิงสกปรกอ่นื ๆ เพราะผา บางชนดิ สกปรก สามารถดูดซึมซับได
รวดเร็วจะทาํ ใหผานนั้ เกา เรว็ สไี มสดใส
การรดี ผา ควรปฏิบตั ิ ดงั น้ี
1. เสยี บปล๊กั เตารดี แลว เปดสวิตชปรบั อณุ หภมู คิ วามรอนใหเหมาะสมกับเน้ือผาท่ีกําลังรีด
หรืออา นจากปายทีต่ ดิ เส้อื วาควรใชอ ุณหภูมเิ ทา ไหรใ นการรดี การรีดควรกลับตะเข็บดานในทดลอง
รีดดกู อน เพอื่ ปองกนั ผาเสียหาย
2. การรดี เตารีดไอนํา้ ควรใชน ้ํากล่ันเตมิ กอ นเสียบปลั๊กไฟเปดสวติ ช ไมค วรใชนํ้าประปาเติม
เพราะถา ใชนาํ้ เตมิ ไปนาน ๆ ทําใหนาํ้ ท่ตี กตะกอนจบั ตัวทาํ ใหอุดตันที่ทอไอน้ําได ดังน้ัน หลังจาก
เลิกใชท กุ คร้ังควรถายนา้ํ ออกใหห มด
3. อยาพรมนาํ้ เปยกมากจนเกินไป ควรพรมนาํ้ ท้งิ ไวป ระมาณ 5-10 นาที แลว คอ ยรดี เพราะ
ถา ผา เปยกมากเกนิ ไปจะทาํ ใหเ สียเวลาการรดี ผา และจะเสียคา ไฟฟา มากขึน้ กวา ปกติ
4. ควรรดี ผาหลาย ๆ ตวั ในคร้งั เดียวกัน ถา ผาเนอ้ื บาง ๆ ควรรีดหลังสุด เพราะผาบางไมไดใช
อณุ หภูมิสงู เหมาะทีจ่ ะรีดหลังจากถอดสวติ ชแ ลว เพอ่ื เปน การประหยดั กระแสไฟฟา และเงินอีกดว ย
5. ระวงั อยา ใหเ ตารดี หลนหรือตก ขณะที่กําลังจะหยุดรีดชั่วขณะหน่ึงควรปดสวิตช หรือ
ถอดปลกั๊ เตารีดเพ่ือปอ งกนั การเกิดไฟไหม
7
6. ขณะทร่ี ีดผา ควรใหสายเตารดี เรยี บไมมวนงอ เพราะจะทาํ ใหสายเสยี ดสีกนั ทําใหฉนวน
หุมสายไฟไมท นทานจะทําใหเกิดอันตรายได
7. เม่ือรดี ผาเสรจ็ ทกุ ครัง้ ตอ งปด สวิตช ถอดปลัก๊ และเก็บพับสายใหเ รยี บรอยทุกครั้ง
8. เตารดี หลังจากใชแลว หากมีส่ิงสกปรกติดอยู ควรใชผาชุบนํ้าหรือเบนซินหมาด ๆ เช็ดออก
ทุกครง้ั
การซอมแซมเสือ้ ผา
เสื้อผา ท่ีชํารุดอาจเน่อื งมาจากการซักรีด หรือถูกส่ิงอื่นเกาะเกี่ยว ทําใหเส้ือผามีรอยตําหนิ
หรือเสียหาย เส้ือผาท่ีใสอยูบางตัวยังใหม ตองการกลับมาใชประโยชนอีก จึงจําเปนตองศึกษา
วิธีการซอมแซมใหเหมาะสมและถูกวิธี การซอมแซมเสื้อผา นอกจากจะนํากลับมาใชไดอีก
ยังสามารถดดั แปลงเส้ือผา ใหไดแ บบใหมแ ปลกตา ทําใหเกดิ ความสวยงามย่ิงขน้ึ และนาสวมใส
กอนที่จะนําเส้ือผามาซอมแซม ควรพิจารณากอนวาควรซอมแซมวิธีใดจึงจะเหมาะสม
โดยพิจารณาจากรอยชํารุดกอนและวิธีการซอมแซมสามารถนํากลับไปใชไดอีกนานหรือไม
การซอมแซมก็ไมยุงยาก
กจิ กรรม
ใหผ ูเรยี นหาภาพการแตงกายของบุคคลตาง ๆ คนละ 3 ชุด ใหเหมาะสมกับวัย กาลเทศะ
และฐานะทางเศรษฐกจิ พรอมทง้ั แสดงความคิดเห็น
1.3 อาหารและโภชนาการ
การเลือกบรโิ ภคอาหารเครือ่ งดม่ื และมารยาทในการรับประทานอาหาร อาหารเปนหนึ่งใน
ปจจัย 4 ทส่ี ําคญั ตอการดาํ รงชีวติ รา งกายจะเจริญเติบโตแข็งแรง และมสี ขุ ภาพท่ดี ีตองไดรับอาหาร
ท่ีถูกสุขลักษณะ มีคุณคาทางโภชนาการเพียงพอกับความตองการของรางกายในแตละวัยซ่ึงมี
ความแตกตางกัน
อาหาร หมายถึง สิ่งท่ีกินเขาสูรางกายแลวไมมีโทษตอรางกาย แตนําไปใชประโยชนได
โดยสรางความเจริญเติบโต ซอมแซมสวนที่สึกหรอ ชวยใหรางกายดําเนินชีวิตตามปกติและ
ปราศจากโรค
สารอาหาร หมายถึง สวนประกอบที่เปนสารเคมีที่มีอยูในอาหารและรางกาย สามารถ
นําไปใชป ระโยชนได ไดแ ก โปรตนี คารโบไฮเดรต วติ ามนิ เกลือแร ไขมนั
อาหารสมสวน หมายถึง อาหารที่มีสารอาหารครบทง้ั ปริมาณและคุณภาพตามความตอ งการ
ของรางกาย
8
การเลือกบริโภคอาหารใหถ กู หลักอนามยั
การมีความรูความเขาใจเก่ียวกับการเลือกบริโภคอาหารใหถูกหลักอนามัย จะชวยปองกัน
การแพรกระจายของเชอื้ โรคที่มใี นอาหารได
หลักการเลอื กบริโภคอาหารใหถูกหลกั อนามยั
1. ควรบริโภคอาหารสุก เน่ืองจากอาหารสุกเปนอาหารทผี่ า นการฆาเชือ้ ดวยความรอ น จงึ มี
ความปลอดภัยมากกวาอาหารดิบ
2. ควรใชชอนกลางประจําสําหรับตักกับขาวในการรับประทานอาหาร เพื่อเปนการปองกัน
การแพรกระจายของโรคทีต่ ดิ ตอได
3. ควรลางมือกอนรับประทานอาหารดวยนาํ้ สบูทุกครงั้ โดยเฉพาะผูนิยมบรโิ ภคขา วเหนยี ว
และอาหารอ่นื ๆ ดว ยมอื
4. รูจ ักเลอื กบริโภคอาหารที่สะอาดและปลอดภยั
5. อาหารตอ งมคี ณุ คา สูงและราคาไมแพงนัก การเลือกซ้ืออาหารควรพิจารณาถึงคุณคาของ
สารอาหารตามหลกั โภชนาการ
6. อาหารตองมีคุณภาพ สังคมในปจจุบันมีการเลือกซ้ืออาหารมารับประทานกันมากขึ้น
ผบู รโิ ภคควรเลอื กอาหารสดใหม ไมบูดเนา หรือสงกลิ่นเหม็น ไมควรเก็บอาหารที่ซื้อไวนานเกิน
เพราะจะทาํ ใหอาหารไมม ีคุณภาพ
7. ทาํ ความสะอาดและเกบ็ ภาชนะอุปกรณเ คร่อื งใชอ ยา งถกู ตอ ง หลังทําความสะอาดผ่งึ ใหแหง
และควรเกบ็ เขา ท่ีใหเรยี บรอย เพือ่ ปอ งกันฝนุ ละอองและไมอบั ชน้ื
การปฏบิ ัตหิ ลงั รับประทานอาหาร
1. เม่ือรบั ประทานอาหารอ่มิ แลว ควรรวบชอนและสอ มไวในจาน
2. ชวยกันเกบ็ ภาชนะตาง ๆ เก็บกวาดเชด็ ถใู หเ รียบรอย (รับประทานอาหารที่บาน)
3. ควรลกุ จากโตะ อาหารพรอ ม ๆ กัน ถา จาํ เปนตอ งลุกกอ นควรกลาวขออนุญาตแลวเกบ็ เกาอ้ี
ไวใ นสภาพเดมิ
การเลอื กบรโิ ภคอาหารใหเ หมาะสมตามวัย
อาหารสําหรบั ผูใหญ (อายุ 40 ปขึ้นไป) วัยน้ีรา งกายมกี ารเสริมสรางเซลลตาง ๆ เพ่ือรักษา
สมรรถภาพการทํางานในรา งกายใหคงที่ จึงควรไดรบั อาหารครบท้ัง5 หมแู ละไดส ัดสว นที่เหมาะสม
ดังน้ี
โปรตีน
นม 1 แกว ตอ วัน
ไข 1 ฟองตอ วนั หรือสปั ดาหล ะ 3-4 ฟอง
เน้อื สัตว 100 กรมั ตอ วนั
9
เครือ่ งในสตั ว 1 ครงั้ ตอสัปดาห
ถ่วั เมลด็ แหง 50 กรมั
แปง หรอื นํา้ ตาล (ใน 1 วนั )
ขาวสวยหรืออาหารจากแปง 3 จาน (250-300 กรมั )
เผอื ก มนั 1 หัวเล็ก นํ้าตาล 2 ชอนโตะ
นาํ้ มนั หมู 2 ½-3 ถว ยตวง
ผกั / ผลไม (ใน 1 วัน)
ผักใบเขียวสกุ ½ ถว ยตวง
ผักใบเขยี วสด 1 ถวยตวง
ผกั ประเภทหวั ดอก ผล ½ ถวยตวง
ผลไม 1 ผลเล็ก (สม 1 ผล)
นํา้ ผลไม ½ ถว ยตวง
อาหารสําหรับผสู ูงอายุ (อายุ 60 ปข ้นึ ไป) วัยนี้มีการเปล่ยี นแปลงไปในทางเสื่อมลงของเซลล
อวัยวะตาง ๆไดแก เซลลของสมอง ไต หัวใจ กระดูกออน กลามเนื้อลาย เปนตน และไมสามารถ
สรางข้นึ ใหมไ ด จงึ ควรไดรับสารอาหารในปริมาณที่เพยี งพอเชน เดยี วกบั วัยผใู หญ
การเกบ็ และการถนอมอาหาร
วธิ ีการเก็บอาหารประเภทตาง ๆ
1. การเก็บอาหารสด กอนเก็บไวในตูเย็นหรือตูแช ตองลางสิ่งปกปรกท่ีติดมากับอาหาร
ออกใหห มดขณะที่แชเ ย็น และจะชว ยยดื อายุการเก็บอาหารสดได
2. การเก็บอาหารแหง ตองปองกนั ความช้นื ท่จี ะเกิดกับอาหาร เชน การเกบ็ เมล็ดพืชควรทําให
แหง กอนนาํ ไปเกบ็ ในภาชนะมฝี าปดและไมอับช้ืน สวนพืชที่เปนหัวควรแขวนไวในที่โปรง สะอาด
มลี มโกรกไดด ี ควรนําไปผ่ึงแดดออน ๆ เปนประจาํ
3. การเก็บอาหารกระปอง ควรเก็บไวในท่ีท่ีมีอากาศเย็น โปรงและไมอับชื้น เพราะจะได
ปอ งกนั เชอื้ โรคทีห่ ลงเหลืออยใู นกระปอง
4. การเก็บอาหารปรงุ สาํ เร็จอาหารทีเ่ หลือจากการบริโภคควรเก็บในตเู ยน็ ไมเกนิ 2 วนั กอนนาํ มา
รบั ประทานควรอนุ ใหรอ นจัด เพ่อื ทําลายเชอ้ื จลุ นิ ทรียท่ีทําใหเ กดิ อาการทอ งเสีย
การถนอมอาหาร คือ วธิ ีการตา ง ๆ ทีท่ าํ ใหอาหารเกบ็ ไดนานกวา ปกติ โดยไมบูดเสีย
หลกั ในการถนอมอาหาร หลักในการถนอมอาหารสามารถทําไดห ลายวิธี ดงั น้ี
1. การแชอาหารในอณุ หภมู ิตํา่ วิธนี ี้ชว ยใหอ าหารเสียชาลง เพราะแบคทีเรียและเช้ือราซึ่งเปน
ตนเหตุใหญม กี ารเจริญเติบโตไดช า การเกบ็ อาหารไมใหเสียโดยใชอุณหภูมิตํ่าน้ีจะเก็บไวไดนานเทาไร
ข้ึนอยกู บั อุณหภมู ใิ นการเกบ็ วิธีเก็บอาหารในตเู ย็น จะเกบ็ อาหารไดใ นระยะสัน้ ประมาณ 1 สัปดาห
10
แตถาตองการเก็บอาหารในระยะยาวเปนเดือนหรือเปนป จะตองใชอุณหภูมิตํ่ากวาจุดเยือกแข็ง คือ
แชใหอาหารแข็ง อาหารที่แชแข็งนี้ถานํามาไวในอุณหภูมิสูงข้ึนก็จะเร่ิมเสียไดอีก เชนเดียวกับ
อาหารสดทั่วไป
2. การตากแหง แบคทีเรียและเช้ือราในอาหารจะเจริญเติบโต ทําใหอาหารเสียได ตองอาศัย
ความช้ืนพอสมควร การตากแหง ทาํ ใหค วามชื้นในอาหารตํ่าจนเชือ้ จลุ นิ ทรียไ มส ามารถเจรญิ เติบโตได
อาหารก็ไมเสียนิยมใชกันมากกับเนื้อสัตว ผักและผลไม เพราะทําไดงายและประหยัด การตากแหง
อาจจะใชวิธตี ากแดดอบ ปง ยา ง หรือรมควันก็ได สําหรับวธิ หี ลังน้ี ควันไฟยังมสี ารบางอยางชว ยถนอม
อาหารไมใหเ สียอกี ดวย
3. การใชความรอ น วธิ นี ้ีอาศยั ความรอนเพื่อทาํ ลายจุลินทรียท่ีจะทําใหอาหารเสียและทําลาย
เอนไซมทําใหปฏิกิรยิ าดาํ เนินไปไมไ ด การทําลายจลุ ินทรยี ด วยความรอนนอี้ าจทําไดหลาย ๆ ขัน้ เชน
3.1 การทําลายเชื้อจลุ นิ ทรียบ างตวั ใชกับอาหารบางชนิดท่ตี องการรกั ษาใหค งรปู เดิมไว
เชน นมสด ใชว ธิ ีพาสเจอรไ รส ซง่ึ ใชค วามรอนตํ่าไมถ ึงจุดเดอื ด เพียงแตทําลายเช้ือจุลินทรียท่ีจะเปน
อันตรายแกผบู รโิ ภคเทานนั้ ฉะนัน้ นมสดทผี่ า นความรอ นไมถ งึ จดุ เดือดจะยังมีเชื้อจุลนิ ทรยี อยูตอ งเกบ็
ไวใ นทอี่ ณุ หภูมิตํา่ เพ่อื ไมใหเ สีย
3.2 การทําลายเชอื้ จุลินทรยี ท ัง้ หมด วิธนี ี้ใชความรอนสูงในระยะยาว ใชวิธีสเตอริไลซ
เพือ่ ฆา เช้อื จลุ นิ ทรียใ นอาหารใหหมด และเก็บอาหารที่ไมมีเชื้อจุลินทรียแลวในภาชนะที่มิดชิด เชน
บรรจุกระปอง หรือบรรจุขวด อาหารที่ถนอมดวยวิธีน้ีเก็บไวไดนานมาก เพราะไมมีส่ิงท่ีจะทําให
อาหารเสียเหลืออยู แตว ิธีการน้ียุงยากไมเหมาะท่ีจะทําในครอบครัว เพราะตนทุนสูงเหมาะในการทํา
เปน อุตสาหกรรมเทา นั้น
4. วิธีอ่ืน ๆ ไดแ ก การดอง การกวน การแชอ ่ิม ฯลฯ ใชมากกับผักและผลไม ในประเทศเรา
วิธีเหลา นี้ชว ยถนอมอาหารไวไดม ากโดยทําส่งิ แวดลอ มใหมีสภาพไมเ หมาะสมสาํ หรบั การเจริญเตบิ โต
ของเช้อื จุลนิ ทรีย
คุณคา ทางโภชนาการของอาหารทถี่ นอมแลว
วิธีการถนอมอาหารทุก ๆ วิธี ทําใหมีการเปลี่ยนแปลงในตัวอาหารเองมากบางนอยบาง
แลว แตวิธกี าร สาํ หรบั คณุ คาทางโภชนาการน้ันกม็ ีการเปลีย่ นแปลงเชนเดยี วกัน มากนอยขึ้นอยูกับ
ประเภทของอาหารและวิธีการที่ทําถนอมไวโดยตากแหง เชน เน้ือเค็ม ปลาแหง ปลากรอบ ฯลฯ
ดองหรือหมักใสเกลือ เชน ปลารา หอยดอง ฯลฯ เหลานี้ โปรตีนในเน้ือสัตวยังใชประโยชนได
แตก ารบริโภคอาหารเหลา นจี้ ะตองระวงั ในดานความสะอาด ควรจะทาํ ใหสกุ ดีเสียกอ น
ผกั และผลไม สารอาหารท่ีสําคัญ คือ วิตามิน โดยเฉพาะอยางย่ิงวิตามินซีสลายตัวไดงาย
โดยความรอน การสัมผัสกับอากาศ ฯลฯ ฉะน้ัน ผักและผลไมที่ถนอมวิตามินจะนอยลง เมื่อถูก
ความรอ นและสมั ผสั กับอากาศ สวนเกลือแรใ นผักและผลไมไมคอยมีการเปล่ียนแปลง
11
กิจกรรม
ใหผูเรียนจัดรายการอาหารและเครื่องด่ืมเพ่ือสุขภาพ 3 ม้ือ ใน 1 วัน สําหรับบุคคล
ดงั ตอ ไปนี้
(เลือก 1 หวั ขอ)
- เดก็ วัยเรียน
- ผใู หญ
- ผสู ูงอายุ
มื้ออาหาร ชื่ออาหาร/เคร่อื งดื่ม สว นผสม/วธิ ีปรงุ คณุ คา ทางโภชนาการ
การอนรุ ักษพ ลังงานและส่ิงแวดลอ ม
การอนุรักษพลังงานและส่ิงแวดลอมในครอบครัว ไดแก การใชไฟฟา นํ้าประปาอยาง
ประหยดั ดังนี้
การใชไฟฟา
1. การเลือกซ้ือเครื่องใชไฟฟา ควรเลือกซ้ือชนิดประหยัดไฟ เชน หลอดตะเกียบ หรือ
เครอื่ งใชไ ฟฟาท่รี ะบฉุ ลากประหยัดไฟ
2. เครื่องใชไ ฟฟา ทก่ี นิ ไฟมาก เชน หมอหงุ ขาว กาตมน้ํา กระทะ เคร่ืองซักผา เตารีด หรือ
เคร่ืองใชไ ฟฟาเสียบปลกั๊ ทุกชนิด เมอ่ื ใชเ สร็จแลว ตอ งถอดปล๊ักออกทนั ที
3. การใชเ ตารีดไฟฟารีดผา ควรเตรียมเสอื้ ผา ท่ีจะรีด และเตรียมเครื่องใชอ่ืน ๆ ใหพรอมกอน
เมอ่ื จะรดี จึงเสียบปล๊กั ควรรดี ครงั้ ละมาก ๆ ประหยดั ไฟฟา มากกวา รดี ทีละนอยและบอ ยคร้ัง
4. เคร่อื งใชไฟฟา ทีม่ สี วิตซป ด เปด เชน หลอดไฟ พัดลม เมื่อเลิกใชค วรปด สวิตชทนั ที
5. เครื่องปรับอากาศตอ งใชเ ทา ท่ีจาํ เปน เมอื่ จะออกจากหอ งหรือหยุดใชงานควรปด เคร่อื งกอน
ประมาณครึง่ ชั่วโมง
6. ควรตรวจปลั๊ก สวิตชเ ครอื่ งใชไฟฟาในบานทกุ ชนดิ ใหเรยี บรอย และอยูในสภาพดเี สมอ
เพ่ือประหยัดไฟฟา และปลอดภยั จากอบุ ัตเิ หตุที่จะเกิดจากไฟฟา
12
การใชนา้ํ ประปา
1. เม่ือเปดกอ กน้าํ ประปาและใชน้ําในปริมาณพอเพียงแลว ปดกอกน้ําทันที อยาปลอยให
น้าํ ไหล จนลนภาชนะ
2. หมั่นตรวจดูกอกนาํ้ ทอ น้าํ ภายในบานและบรเิ วณบา น ถามรี อยรั่วแตกตอ งรบี ซอมทันที
3. บา นท่ีมีหอ งสุขาแบบชกั โครก ควรเลอื กซือ้ ชักโครกแบบประหยัดน้ําและถาใชขวดพลาสติก
กรอกน้าํ ใหเต็ม แชไ วใ นถังชักโครกจะชว ยประหยดั นํ้าได
4. นาํ้ ทใ่ี ชแลว เชน นาํ้ ซาวขา วนา้ํ ลา งผกั ผลไม นาํ้ ลา งจาน นํ้าท่ีซักผา ถา เปนนํา้ สุดทา ย จะไม
คอ ยสกปรกสามารถนําไปรดตน ไมได
5. กอ นออกไปนอกบา น หรอื กอนนอนควรตรวจดกู อ กนา้ํ ในบา นตอ งปดใหเรยี บรอย
การเกบ็ ขยะภายในบานและการแยกขยะ
ปจจุบันปญหาสิ่งแวดลอม คือ ขยะ ซ่ึงตองกําจัดอยางรวดเร็ว ขยะนอกจากทําลาย
สิ่งแวดลอ มแลว ยงั เปนจุดรวมของสตั วทเี่ ปนพาหนะนาํ โรค เชน หนู แมลงสาบ ดงั นน้ั การเก็บขยะ
และแยกขยะทีถ่ กู วธิ ี ชว ยใหส ะดวกตอการนาํ ไปยอ ยสลายหรือนาํ ไปใชใหเ กิดประโยชน อกี ทง้ั ชวย
รกั ษาสภาพแวดลอ มที่ดี
กิจกรรม
1. ทา นมหี ลกั ในการมอบหมายหนา ท่ีใหก บั สมาชิกในครอบครวั อยา งไรบา ง
2. ครอบครวั หน่งึ มสี มาชิกท้งั หมด 5 คน และมีความชอบทีต่ างกนั ดงั นี้
พอ ชอบปลกู ตน ไม แมช อบทาํ อาหาร ลูกสาวคนท่ี 1 ชอบอานหนังสือ ลูกชายคนที่ 2 ชอบ
เลนเกม และลกู ชายคนสดุ ทอ งชอบเลนกฬี า
ทานมวี ิธกี ารแบงหนา ทก่ี ารทาํ งานบา นใหก ับคนในครอบครัวน้ีไดอยา งไร
2. งานเกษตร
งานเกษตร เปน การวเิ คราะหเกี่ยวกับการปลูกพืช และการเล้ยี งสัตว ตามกระบวนการผลิต
และการจดั การผลผลติ มกี ารใชเทคโนโลยเี พื่อการเพ่มิ ผลผลติ ปลูกฝง ความรบั ผดิ ชอบ การอนุรักษ
พลังงานและส่ิงแวดลอมเพื่อนําไปสูการสรางงานอาชีพที่เหมาะสมกับศักยภาพของตนและ
สอดคลอ งกบั ชมุ ชน สังคม
2.1 การปลกู พืช
การปลกู ผักสวนครวั ปลอดสารเคมี
ผักเปนพืชที่เรานํามาประกอบเปนอาหารในชีวิตประจําวัน มีคุณคาทางอาหารที่เปน
ประโยชนตอรางกาย การปลูกผักสวนครัวปลอดสารเคมีเปนการปลูกผักโดยไมใชสารเคมี เชน
13
ปยุ เคมี และสารปองกนั กาํ จัดศัตรพู ชื แตใ ชป ยุ คอก ปยุ หมักชวี ภาพ นํ้าสกัดชีวภาพ และสารสมุนไพร
ปองกันกําจัดแมลงมาใชใ นการปลูก ทาํ ใหปลอดภัยกับผผู ลติ และผบู ริโภค
ความหมายของพืชผกั สวนครัว
พืชผักสวนครัว หมายถึง พืชผกั ทีป่ ลูกในพ้ืนทวี่ างในบริเวณบานหรือหนวยงาน อาจปลูก
ลงแปลงหรอื ในภาชนะตา ง ๆ เพอ่ื ใชบริโภคในครอบครัว หากมีจํานวนมากเหลือจากการบริโภค
ก็สามารถนําไปจําหนา ยได
การแบง ประเภทของพชื ผกั สวนครวั
1. ผกั กินใบกินตน เชน คะนา ผักบุง กะหลํา่ ปลี ผักกาดขาว
2. ผักกนิ ฝกกนิ ผล เชน พรกิ มะเขอื ถว่ั ฝกยาว ถั่วแขก ถวั่ พู
3. ผักกินหัวกินราก เชน ผกั กาดหวั กระชาย ขม้ิน
4. ผักกนิ ยอด เชน ตําลึง ชะอม
5. ผักกนิ ดอก เชน กะหลํา่ ดอก ดอกแค ขจร
การคดั เลอื กเมล็ดพนั ธุ มวี ิธีการคัดเลือก ดังนี้
1. เปน เมล็ดทแี่ กเ ต็มท่ี เก็บจากผลหรือฝก ทีแ่ กหรือสุกจัด มอี าหารสะสมในเมล็ดมาก
2. เปน เมลด็ ที่สมบูรณ ไมม ีรอยแตก หักรา ว หรอื ลบี
3. เปน เมลด็ ท่ีเกบ็ มาใหม ๆ ไมเกบ็ ไวนานจนเกินไป
4. เปนเมลด็ ทสี่ ะอาดปราศจากโรคและแมลง
เคร่อื งมอื และอุปกรณใ นการปลกู ผัก
เครือ่ งมอื และอปุ กรณในการปลูกผัก เปนส่ิงที่ชวยใหทํางานไดสะดวกและรวดเร็วย่ิงข้ึน
ไดง านท่ีมีคณุ ภาพ ประหยัดเวลา แรงงาน และสงผลใหไดผลผลิตมากยิ่งขึ้น เชน เคร่ืองพรวนดิน
อปุ กรณร ดน้าํ และเคร่อื งพน ยา เปน ตน
หลกั การปลูกผักสวนครวั ปลอดสารเคมี
1. ไมใชสารเคมีใด ๆ ในการปลูกผัก เชน ยาปองกันและกําจัดเช้ือรา ยาฆาแมลง ปุยเคมี
และยากาํ จัดวัชพชื
2. ใชว ธิ ีการปอ งกันและกาํ จดั ศตั รูพืชโดยวธิ ผี สมผสาน
3. ใชปุยที่ไดจากธรรมชาติ เชน ปุยคอก ปุยหมัก อินทรียวัตถุตาง ๆ บํารุงดินโดยใช
จลุ ินทรยี เขามาชว ย
4. ใชปุยหมักชีวภาพ นํ้าสกัดชีวภาพ น้ําหมักสะเดา หรือสารสมุนไพรอยางสม่ําเสมอ
ทกุ 7-10 วัน ถามีแมลงศัตรูพืชมารบกวน พนสารสมุนไพรกําจัดแมลงใหบอยข้ึนเปนทุก 2-3 วัน
หรือทกุ วัน
14
5. ไมปลอยใหท ด่ี ินวางเปลา ควรมีการปลกู พืชหมุนเวยี น
6. ใชพันธุพ ืชตา นทานโรค
7. เตรยี มดินปลูกใหอ ุดมสมบูรณ จะทําใหพชื ผกั สมบรู ณแ ขง็ แรงตานทานโรค ใหผลผลิต
ทด่ี ีและมคี ุณภาพ
8. ปลกู ผกั ผสมผสาน โดยปลกู สลบั หรอื คละกนั ในแปลงเดยี ว ปองกันการทาํ ลายของหนอน
และแมลง
9. ปลกู พืชใหเหมาะสมกับฤดกู าล
การเตรยี มดนิ ปลกู ผกั
เลือกสถานทีใ่ นการปลกู ผักสวนครัว ควรเปน สถานที่ที่ไมมนี าํ้ ทวมขัง ไดรับแสงแดดอยางนอย
วนั ละ 6 ชว่ั โมง ไมมสี ตั วเลยี้ งมารบกวน ใชจอบหรอื มดี ดายหญา บริเวณท่จี ะปลูกแปลงควรมีขนาด
กวาง 1-1.5 เมตร ยาว 4 เมตร ขดุ ดินลกึ ประมาณ 30 เซนตเิ มตร ตากดิน ยอ ยดนิ เก็บวชั พชื ใสป ยุ คอก
ปยุ หมกั จํานวน 1 ปบ ตอพ้ืนที่ 1 ตารางเมตร และปุยหมักชีวภาพ 1 กิโลกรัม คลุกเคลาใหเขากัน
คลมุ ดวยฟาง รดน้าํ สกัดชีวภาพ 1 ลติ ร ตอ นา้ํ 20 ลิตร ใหช ุม หมักทิง้ ไว 2-3 วนั
การปลกู ผักสวนครัว มีวิธกี ารปลกู ดังนี้
1. เพาะกลาแลวยายปลูก อาจเพาะในแปลงหรือในภาชนะจะชวยประหยัดคาเมล็ดพันธุ
เชน กะหลํ่าปลี กะหลา่ํ ดอก มะเขอื เทศ พรกิ ฯลฯ
2. หวานเมล็ดในแปลงปลูก เปนผักที่เมล็ดมีราคาไมแพง ปลูกงาย เชน คะนา ผักบุง
กวางตุง ผักกาดขาว ฯลฯ
3. ปลกู แบบหยอดหลุม เปนการปลกู ผกั ท่ีมีเมล็ดใหญ เชน ถว่ั พู ถวั่ ฟกยาว ฟก ทอง ฯลฯ
การบาํ รงุ รักษาผกั สวนครัว มวี ธิ ีการ ดังนี้
1. การรดน้ํา ควรรดนาํ้ อยางสมาํ่ เสมอเชาและเย็น ใหชุม ชน้ื พอเหมาะอยางใหนํ้าขงั แฉะ
2. ใสปุย ใชป ุยทไ่ี ดจ ากธรรมชาติ เชน ปยุ คอก ปุยหมกั น้าํ สกดั ชวี ภาพ หรอื ปุยหมกั ชวี ภาพ
3. การปองกนั กาํ จดั ศัตรพู ชื ใชว ธิ ผี สมผสานและใชส ารสมนุ ไพรกําจดั แมลงไมใ ชสารเคมี
การเก็บเก่ยี วผักสวนครวั
การเกบ็ เกีย่ วและระยะเวลาในการเกบ็ เกยี่ วของพชื ผกั แตละครง้ั จะแตกตา งกนั ออกไปตามชนิด
ของผกั เชน แตงกวา อายุ 30-45 วัน หลังปลกู ผลออ นสเี ขยี วออนปนขาวไดข นาด ผกั บุง อายุ 25 วนั
ตนออ นสงู ประมาณ 30 เซนตเิ มตรขนึ้ ไป
15
ขอ ควรรู
ผักกินตนบางชนิดเมื่อโตเต็มท่ีแลว เหลือโคนตนท่ีมีใบติดไว 2-3 ใบ รดนํ้า ใหปุย ดูแล
รักษาตอไป จะมีตาขางหรือแขนงผักเกิดข้ึนมา สามารถเก็บมารับประทานไดอีก เชน คะนา
กะหลา่ํ ปลี ผกั บงุ
การเก็บผักท่ตี อ งถอนออกมาทั้งตน ควรรดนาํ้ ใหด นิ ชนื้ จะทาํ ใหถ อนไดง าย จดั เรียงเปนกอง
นําสวนรากไปลางน้ําเอาดินออก นํามาจัดเรียงใหโคนตนเสมอกัน ดึงในบริเวณโคนตนและ
ใบท่ีเนาเสียออก
การแปรรปู พชื ผักสวนครวั
ผักสวนครัวถามีปริมาณมากใชบริโภคในครัวเรือนไมหมดก็สามารถนําไปจําหนายหรือ
แปรรูปดวยวธิ ีการตา ง ๆ เชน การตากแหง เชน พรกิ หอม กระเทยี ม
การทําปยุ หมักชีวภาพ
ปุยหมักชีวภาพ ไดจ ากการหมักอินทรยี วตั ถุกบั นา้ํ สกดั ชวี ภาพ เปนการเพม่ิ จุลนิ ทรียไปชวย
ยอยสลายอินทรยี วัตถทุ าํ ใหด นิ มคี วามอดุ มสมบูรณย ่งิ ข้นึ
วิธีใชป ุยหมักชวี ภาพกับผักสวนครัว
1. ใสปยุ ลงไปในแปลงปลูกขณะเตรยี มดินอัตราสวน 1 กิโลกรัมตอพ้ืนที่ 1 ตารางเมตร
2. พืชผกั ท่ีมีอายเุ กือบ 2 เดือน เชน ถ่ัวฝกยาว แตง พริก มะเขือ ใชปุยชีวภาพรองกนหลุม
กอ นปลูก 1 กาํ มอื
3. หลงั จากปลกู ผักแลวใสปุยหมกั ชวี ภาพทกุ 7-10 วนั และรดดวยนาํ้ สกัดชีวภาพ 1 ชอนโตะ
ตอน้าํ 5-10 ลิตร ทุก 5-7 วนั
4. ดินทีใ่ ชปุยหมักชีวภาพควรเปนดินที่มีสวนผสมของปุยหมัก ปุยคอก หรืออินทรียวัตถุ
เพอื่ เปนอาหารของจุลนิ ทรียต อ ไป
5. บริเวณแปลงปลกู ผกั ควรมีวัสดุคลุมแปลง เพ่ือรักษาอุณหภูมิและความชื้นใหเหมาะสม
กบั การเจริญเติบโตของจุลนิ ทรีย
6. เพอื่ เปน การประหยัดปุย หมักชวี ภาพ กอ นนําไปใชควรนําไปคลุกเคลากับปุยหมัก หรือ
ปุย คอกในอตั ราสวนปยุ ชีวภาพ 1 สว น ตอ ปุย หมกั หรอื ปุยคอก 10 สวน
การจดั จาํ หนา ย
การตลาด ตองศกึ ษาความไดเปรียบเสยี เปรียบของปจ จัยตนทุน อายขุ องสนิ คา โควตา และ
สิทธิบัตรท่ีไดครอบครอง หรือแปรรปู กง่ึ อตุ สาหกรรมเพือ่ ตอบสนองตลาดภายในประเทศ หากเกนิ
ความพอดสี ามารถวางแผนการตลาดสตู ลาดตา งประเทศได
16
กิจกรรม
ใหผ เู รียนวางแผนการปลูกผกั ลงในตารางดานลาง
ข้นั ตอน วิธกี ารปฏบิ ตั ิ
1. การเตรยี มการกอ นปลูก ............................................................................................................
2. การเตรียมอปุ กรณ ............................................................................................................
3. การเตรยี มดนิ ............................................................................................................
4. วิธีปลกู ............................................................................................................
5. การดแู ลรกั ษา ............................................................................................................
6. การเก็บเกย่ี ว ............................................................................................................
กจิ กรรม
จงตอบคําถามตอ ไปน้ี
1. ผกั สวนครัวคอื อะไร
2. การปลกู พชื สวนครวั ปลอดสารเคมมี ีประโยชนอ ยางไร
3. วัสดอุ ปุ กรณในการทาํ ปุยหมักชวี ภาพมอี ะไรบา ง
4. อินทรยี วัตถุในทองถ่นิ ของผูเรยี น ท่ีสามารถนํามาทาํ ปยุ หมกั ชีวภาพมอี ะไรบา ง
5. วิธีการปองกันและกําจดั แมลงสาํ หรบั การปลกู ผักปลอดสารเคมมี วี ธิ กี ารอยางไรบา ง
2.2 การเลยี้ งสัตว
การเล้ียงสัตวมีจุดประสงคที่สําคัญ คือ เพื่อเปนอาหารของประชากรภายในครอบครัว
หมูบานในประเทศ และเพื่อประชากรโลก ซ่ึงอาหารที่ไดจากสัตว ไดแก อาหารประเภทเนื้อ นม
และไข อาหารประเภทเน้ือไดจาก โค กระบือ สุกร สัตวปก สัตวนํ้า จระเข อาหารประเภทนมได
จากโคนม แพะนม และควายนม เปนตน อาหารประเภทไขไดจากไขไก ไขเปด ฯลฯ นอกจากน้ี
การเลี้ยงสตั วย งั ใหประโยชนใ นดา นเคร่ืองนงุ หม ยารักษาโรค เคร่ืองประดับและกอใหเกิดรายได
จากผลประกอบการจากอุตสาหกรรมการเลย้ี งสัตว
สภาพปญ หาของการเล้ียงสัตว
ปญ หาของการเล้ียงสัตวใ นประเทศไทยมีมากทก่ี ําลังรอการแกไข ซ่ึงเราสามารถแบงสภาพ
ปญหาออกเปนหัวขอ ใหญ ๆ ได 5 ปญหา คือ
17
1. ปญหาเร่อื งคน ปญ หาของคนในภาคเกษตร คอื ผลิตไดแ ตข ายไมอ อก คนยังขาดความรู
เรื่องการตลาด ขาดการชวยเหลือจากภาครัฐอยางจริงจัง ขาดความชวยเหลือเพ่ือต้ังกลุมซ่ึงจะทํา
อยางไรใหคนเกดิ ความเออื้ เฟออาทรตอ เพอื่ นรวมอาชีพ
2. ปญหาเร่ืองเงินทุน หมายถึง เงินทุน เกษตรกรสวนใหญคิดได ทําไดและทําไดดีแตขาด
เงนิ ทนุ ในการดาํ เนินกิจกรรมการเลยี้ งที่ตอ เนื่อง ทาํ ใหขาดรายไดห มนุ เวยี นในฟารม
3. ปญหาเรื่องปจ จยั การเลย้ี ง เร่ิมจากท่ีดนิ โรงเรยี น อุปกรณก ารเลยี้ ง ธรรมชาตใิ นทอ งถิ่น
เปนปญหาท่ผี เู ล้ียงสัตว และหนวยงานภาครัฐตอ งรวมมือกันแกไ ข
4. ปญ หาเรื่องการจดั การฟารมเกษตรกรขาดความรู ความเขาใจเกยี่ วกับกระบวนการเลย้ี งสตั ว
ในเรอื่ งความสมดลุ ของการลงทนุ กบั ผลตอบแทนทคี่ ุม คาท่ีสุด รวมถึงการใชแรงงาน เงินทุน และ
ปจ จัยการเลีย้ งไมเ หมาะสมกอ ใหเ กิดปญ หาในดา นการจดั การฟารมในเวลาตอมา
5. ปญหาเร่ืองกิจกรรมดานการตลาด เกษตรกรในประเทศไทยปจจุบัน ประสบปญหานี้
เปนหลัก หลักการเล้ียงสัตวที่ดีควรคํานึงถึงปจจัยน้ีเปนปจจัยแรกในการที่จะตัดสินใจลงทุนใน
การเลี้ยงสัตว
ชนดิ และประเภทของสัตวท ี่ควรเลย้ี ง
สตั วเ ลี้ยงทส่ี าํ คัญทางเศรษฐกจิ แบง ออกตามชนิดและประเภทได ดงั น้ี
1. สตั วใ หญ ไดแก
โค หรือววั แบง ออกเปน 3 ประเภท คือ โคนม เลี้ยงเพอ่ื ตอ งการนํา้ นมเปน หลัก โคเนื้อเลย้ี ง
เพอ่ื ตองการเน้อื เปน หลกั โคกงึ่ เน้ือก่งึ นมเลี้ยงไวเ พอ่ื ตอ งการทั้งเนื้อและนม
กระบอื หรือควาย แบง ออกเปน 2 ประเภทใหญ คือ กระบอื ปลกั เล้ียงเพื่อใชง านและใหเ นื้อ
กระบอื แมน า้ํ (กระบือนม) เล้ยี งไวเ พ่ือตองการนาํ้ นม
2. สัตวเ ล็ก ไดแ ก
- สุกร แบงออกเปน 2 ประเภท คือ สุกรเน้ือ ไดแก สุกรท่ีนําเขาจากตางประเทศ
เมอ่ื ปรับปรุงพันธแุ ลวจะใหเนอ้ื เปน หลัก สุกรนํา้ ไดแ ก สกุ รพืน้ เมอื งในประเทศ สุกรประเภทนีเ้ ลยี้ ง
งา ยใหเน้ือนอยมมี ันมาก
- แพะ แบงออกไดเ ปน 2 ประเภท คอื แพะนมเลยี้ งไวเ พอื่ ใหนมเปน หลัก แพะเน้ือ
ใหเนื้อเปนหลัก เลีย้ งงา ยโตเรว็
- แกะ เล้ียงเพอ่ื ใหข นเปน หลักมากกวาเน้ือ
3. สตั วปก ไดแก
- ไก แบง ออกเปน 3 ประเภท ไดแก ไกเน้อื ไกไข ไกสวยงาม
- เปด ไดแ ก เปด เนือ้ เปด ไข
18
4. สัตวน ้าํ ไดแก
- ปลาทะเล
- ปลานาํ้ จดื
- ปลาสวยงาม
- ปลานาํ้ กรอ ย
- สตั วคร่งึ บกครงึ่ นํา้
การเลอื กสถานท่ีเล้ยี งสตั ว
เม่ือตองการเลี้ยงสัตว สงิ่ ทต่ี องคํานึงเปนอันดบั แรกคอื สถานทส่ี ําหรบั เลย้ี ง ยอมตองการสถานที่
อันจาํ เพาะและเหมาะสมกับตวั ของเขาเองตามหลักธรรมชาติ ชนดิ ของสัตว ภูมิอากาศ รวมถึงความเหมาะสม
ของสตั วชนดิ นน้ั ๆ และยังตองคํานึงถงึ เปาหมายของการเลีย้ งวาจะเล้ยี งสตั วเ พือ่ อะไร เพอ่ื นันทนาการ
เพื่อการคาหรืออื่น ๆ เมื่อทราบความตองการเปนเบ้ืองตนแลว จึงควรพิจารณาสถานที่เล้ียงสัตว
ซง่ึ จะมีขอ พจิ ารณาสถานทเี่ ล้ยี งสตั ว ดังน้ี
ขนาดและสัดสวนรา งกายสัตวที่จะเล้ียง
- พืน้ ทีต่ ั้งฟารมทเ่ี หมาะสมตามประเภทของสตั วนน้ั ๆ
- ประเภทของโรงเรอื น
- ขนาดของโรงเรือนเลย้ี งสตั ว และการตอเตมิ ในอนาคต
- มีแหลง นาํ้ พอเพยี ง
- การคมนาคมสะดวก
- สภาพภูมอิ ากาศเหมาะสมกบั ชนิดและประเภทของสัตว
การคัดเลือกพันธุ
ลกั ษณะพนั ธสุ ตั ว
1. สัตวพ นั ทาง คือ สตั วท่ผี สมพันธุโดยธรรมชาติ ไมมีการคัดเลือกสายพนั ธทุ าํ ใหสัตวเ ลีย้ ง
ดอยคุณภาพทางดานผลผลิต สีสัน รูปราง และไมสามารถประมาณการผลผลิตที่คาดวาจะไดรับ
แนนอนได
2. สัตวพันธุแท คือ สัตวท่ีไดรับการคัดเลือกแลวเม่ือมีการผสมพันธุสัตว ลูกท่ีไดจะมี
ลกั ษณะเหมอื นพอแมท ้ังรูปราง สีสัน นาํ้ หนัก เมอื่ โตเต็มที่ ทัง้ ไดร บั การยอมรับจากสมาคมผูเล้ียงสัตว
และสามารถประมาณการการใหผ ลผลติ ได
การปอ งกันและดแู ลรักษาโรคสตั ว
นักเล้ียงสัตวท่ีดีควรคาํ นึงถึงการปองกันรักษาสุขภาพของสัตวเปนอันดับตน ซึ่งเปนวิธี
ทีป่ ระหยดั ทง้ั เงนิ และคา รักษาโรค
19
โรคสัตว มี 2 สาเหตใุ หญ คือ
1. โรคท่เี กดิ จากเชื้อโรค เชน แทง ตดิ ตอ วณั โรค ปากและเทาเปอย หวัดไก ฯลฯ
2. โรคที่ไมเกดิ จากเชื้อโรค เชน โรคกระเพาะและลําไส บาดแผลหรอื ของมีคมบาด เปนตน
การถนอมอาหารและการแปรรูป
การถนอมอาหารเปน การเก็บรักษาอาหารทีเ่ หลือเพ่ือใชบริโภคในมื้อตอไป โดยใหคุณคา
ของอาหารสญู เสียนอ ยทสี่ ุด การถนอมอาหารวิธงี าย ๆ มดี งั นี้
1. การทาํ ใหแหง เนือ้ สัตวบกและสัตวน้ํา มีการทําแหงเชนเดียวกัน เมื่อมีเน้ือสดหรือปลา
สดเหลอื มาก ใหนําเนือ้ หรอื ปลามาทําใหเปน ชน้ิ บาง ๆ ตามความพอใจ นาํ มาคลุกเกลือเพื่อปองกัน
การเนาเสีย วางแผบ นตะแกรงหรอื กระจาด แลวนําไปผึ่งแดดจนแหงในระหวางตากควรกลับชิ้นเน้ือ
ใหทกุ สวนไดร ับความรอ นโดยทว่ั ถงึ เมื่อแหงแลวนาํ มาเกบ็ โดยการผง่ึ กระจาดในท่ีไมอบั ชื้นเพราะ
จะทําใหมีกลนิ่ เหมน็ เราเรียกวา เนือ้ เค็มหรอื ปลาเคม็ ระยะเวลาการเกบ็ รกั ษาจะมากหรือนอยข้ึนอยูกับ
ความเคม็ และความแหงของเนือ้ ถา แหง มากจะเกบ็ ไวไดน านระหวา งการเกบ็ ควรนําออกผ่งึ แดดบา ง
เพือ่ ใหอาหารเกบ็ ไวไดนานขนึ้
2. การหมักเกลือ การถนอมผลิตผลการเกษตร อาจจะใชเกลือเปน ตัวชวยในการรกั ษาไมใ ห
เนาเสยี ทางดานเนอื้ สัตว จะเนา เสียไดง า ย ควรนาํ เนอ้ื มาห่นั เปนชนิ้ บาง ๆ นําไปหมักกบั เกลือ เกลือ
จะเปน ตวั รกั ษาไมใ หอ าหารเนา โดยการดูดนํ้าในเน้อื ออกมาแลวสงความเค็มเขา ไปแทนที่ การหมัก
เกลือถานําเนอ้ื ไปตากใหแ หงจะทําใหเ นอ้ื เก็บไดน าน
การถนอมอาหารประเภทเน้ือมีวิธีการทําหลายอยาง ตามลักษณะของเนื้อสัตวแตละชนิด
ผเู รยี นควรศกึ ษาเพ่ิมเติมจากตําราถนอมอาหาร ศึกษาในหวั ขอ ที่นา สนใจ บางครั้งอาจจะเปนอาชีพ
เสริมสรางรายไดแกค รอบครัวได
การจดั การผลผลติ และการจดั จําหนา ย
การจัดการผลผลิตทางดา นสตั ว ความไดเ ปรียบหรอื เสยี เปรียบข้ึนอยูกับราคาในตลาดและ
ตนทุนในการยดื อายกุ ารขายเพอื่ รอราคาใหส ูงข้ึน เพ่อื ระบายสนิ คาออกสตู ลาด
ตลาดการคา สัตว แบงออกเปน 2 ระบบ
ระบบตลาดภายในประเทศไดแก พอคา คนกลางโรงงานแปรรปู ตลาดรวบรวมผลผลติ ขนาดใหญ
กลุมคนเหลานี้จะรวบรวมผลผลิตจากผูเล้ียงสัตวเพื่อท่ีจะไดกระจายไปตามแหลงรับซ้ือทั่วไป
ภายในประเทศ โดยการขายสัตวเปน หรอื แปรรูปไปสผู ูบริโภคปลายทาง
ตลาดตางประเทศ เมอ่ื ความตอ งการภายในประเทศลดนอยลง เน่ืองจากเกนิ ความพอดเี ราสามารถ
สง ออกผลิตภณั ฑจากสตั วออกนอกประเทศได ปจจบุ นั มีการคา และการลงทุนเพื่อการสงออกหลาย
รปู แบบ
20
ลกั ษณะการจัดจําหนายสัตวเ ล้ียงหรอื ผลิตภัณฑ
- การคา ขายลูกสตั ว เชน ลูกสุกร ลูกปลา เพ่อื นําไปเล้ยี ง เปน ตน
- การคา ขายสัตวใ หญ เพื่อนาํ ไปเปนอาหารหรอื วตั ถปุ ระสงคอ่นื
- การคาขายสัตวพ อพนั ธุ แมพนั ธุ เพอ่ื ใชท าํ พนั ธุ
- การคา ขายซากสตั วชาํ แหละ เปน การบริการในทองถ่นิ
- การคาขายผลติ ภณั ฑจากสตั ว เชน นม ไข หนัง เขา ฯลฯ
- การทํากจิ การโรงงานทเ่ี กีย่ วของกับสตั ว เชน โรงงานผลติ ภัณฑอาหารสัตว โรงฟอกหนัง
โรงงานแปรรูปเนือ้ เปน ตน
กจิ กรรม
ใหผูเรียนคิดวิธีที่จะใชพลังงานจากธรรมชาติ มาประกอบการเล้ียงสัตวใหมากท่ีสุดโดย
ไมทําลายส่งิ แวดลอ มมาคนละ 1 เรื่อง พรอ มอภิปรายในกลมุ
3. งานชา ง
งานชาง เปนการวิเคราะหเกย่ี วกบั การทาํ งานตามกระบวนการของงานชาง ซง่ึ ประกอบดว ย
การบาํ รุงรักษา การติดตั้งและประกอบ การซอม และการผลิต เพื่อจะนาํ ไปสูการสรางงานอาชีพ
ท่เี หมาะสมกบั ศกั ยภาพของตนและสอดคลองกบั ชมุ ชน สงั คม
3.1 การติดต้ังและการประกอบ
เครือ่ งมือเครื่องใชห ลาย ๆ ชนิด กอนนําไปใชงานตอ งนาํ ชน้ิ สวนแตละช้ินมาประกอบกัน
ใหเปน เคร่ืองมือเคร่ืองใชเคร่ืองน้ัน ๆ แมกระทั่งเคร่ืองใชในบานที่เรียกวา เฟอรนิเจอรแบบถอด
ประกอบ การประกอบตองทาํ ตามลําดับขนั้ ดังนี้
1. อา นแบบหรือผังท่ีติดมากับชุดอุปกรณ โดยทั่วไปเครื่องมือเครื่องใชท่ีโรงงานผลิตมา
จําหนายมักมีรูปแบบ ผัง การติดต้ัง การประกอบ คุณลักษณะของเครื่อง การใชงาน การรักษา
ตลอดถงึ ขอควรระวงั ความปลอดภยั ในการใชท่ีอาจจะเกดิ แกผูใช และความปลอดภัยตอเครื่องมือ
ใหอายุการใชงานนานขน้ึ และความปลอดภัยในการเก็บรักษา เปนตน เคร่ืองมือเคร่ืองใชบางชิ้น
ตองนาํ ช้นิ สวนมาปรับแตงใหเหมาะสมแลวนําแตละช้ินมาประกอบกัน แบบหรือผังอาจจะเขียน
คลายของจริง ยอขนาดหรือขนาดเทาของจริง ถาขนาดเทาของจริงใหนําช้ินสวนเหลาน้ันทาบลง
กับแบบ เพื่อตรวจสอบวาอุปกรณชิ้นนั้นเปนช้ินเดียวกับแบบ ถาแบบผังมีขนาดเล็กกวาของจริง
ใหเทียบเคียงกันวารูปรางเหมือนกันหรือไม มีสวนโคง เวา หยัก นูน กี่แหง อยางไร การติดตั้ง
การประกอบตองใชช้ินไหนเปนหลัก ชิ้นรองประกอบอยางไร เรียงตามลําดับกอนหลัง อาจมี
หมายเลขกาํ กบั ตําแหนงที่ตอเชื่อม อาจจะใชตะปูควง น็อต สกรู หรือล่ิมเสียบขัดกันเทานั้น หรือ
อาจตองใชกาว ใชต ะกว่ั บดั กรี
21
2. ตรวจสอบจาํ นวนชนิ้ สวนกบั แบบใหถูกตอ ง กอนประกอบช้ินสวนใหตรวจนับกอนวา
ชิน้ สว นของเครอ่ื งน้ัน ๆ มีจํานวนก่ีชิ้น ถูกตองตรงตามแบบที่แนบมากับเคร่ืองหรือไม เคร่ืองมือ
เครื่องใชบ างชนดิ บางประเภทอาจมหี ลายรุน แตล ะรุนคลายคลึงกัน อาจแตกตางเฉพาะขนาดหรือ
อุปกรณบ างชิน้ แบบทุกรุนใชอันเดียวกัน แตจะกําหนดในหมายเหตุเฉพาะแตละรุนไว รุนน้ัน ๆ
ประกอบอุปกรณก่ีช้ิน ช้ินใดไมมีในรุนนั้น สภาพของชิ้นสวนชํารุดหรือไม หากชํารุดแตกหัก
ไมควรนาํ มาประกอบใช
3. อานทําความเขาใจขั้นตอนการประกอบ ขั้นตอนการประกอบจะกําหนดไวในแบบเปน
ช้ินสวนหลักและชิ้นสวนชิ้นตอ ๆ ไปตามลําดับ 1 2 3 ช้ินสวนหลักวางอยางไร หงาย ควํ่า เอียง
นอน ยืน ชิ้นสว นชิน้ ที่ 1 ประกอบทางดา นไหน บน ลา ง ซา ย หรือขวา ช้นิ สว นชิน้ ตอ ๆ ไป วางตอ
จากชิน้ ไหนอยา งไร
4. ลงมือประกอบตามลําดับขั้นตอนที่กําหนด นําช้ินสวนที่เปนหลักวางในตําแหนงและ
ทศิ ทางท่ีเหมาะสม อาจตองใชอุปกรณหรือเคร่ืองมืออื่นจับ ยึด หรือตองมีคนชวยจับ นําช้ินสวน
ลําดับที่ 1 2 3 4 และ 5 ตามลําดับมาประกอบตามลําดับ ตามแบบกําหนด หามนําช้ินสวนอ่ืนมา
ประกอบกันกอนโดยปฏิบัตินอกเหนือไปจากแบบอาจจะทําใหประกอบยาก และทําใหชิ้นสวน
เสยี หาย
5. ประกอบใหค รบทุกชน้ิ กอนลงมอื ทดลองใช ประกอบช้นิ สว นใหครบทกุ ชน้ิ กอ นทดลองใช
บางคร้งั ผปู ระกอบอยากลองท้ังท่ีประกอบช้ินสวนไดเพียงบางช้ิน อยากจะทดสอบทีละข้ัน ๆ ใน
ระหวางประกอบ เน่ืองจากชิ้นสวนตองใชยึดโยงซ่ึงกันและกันหากประกอบยังไมสมบูรณหาก
ทดลองจะทาํ ใหเ กดิ การแตกหกั ชาํ รดุ ได ดงั นัน้ ตองประกอบทกุ ชิ้นสวนใหครบถวนตามแบบกอน
แลวจงึ ทาํ การทดสอบ
6. ชิ้นสวนชิ้นใดประกอบยากอยาฝน ใหคอย ๆ พิจารณา การประกอบชิ้นสวนอาจจะ
พิจารณารปู แบบไมช ดั เจนหรอื แบบผงั ทใ่ี หมาไมช ดั เจน ในสว นทซ่ี อนหรือทบั กัน หรือบางจุดตอง
ใชภาพขยายยงุ ยากอานแบบไมเขา ใจ หรือมองอยางผิวเผนิ ใชความเคยชินตัดสินใจประกอบ อาจจะ
ขัดกันตองพยายามฝนกดผลกั จนประกอบได อาจจะทาํ ใหชนิ้ สวนนัน้ โคง งอ และหักในท่ีสุด หาก
รูสึกวาการประกอบชิ้นสวนนั้นไมสะดวกยุงยากใหกลับไปพิจารณาแบบผังใหมอีกคร้ัง ช้ินสวน
ถูกตอ งตามแบบรุนจริงหรอื ไม
กจิ กรรม
ใหป ระกอบโตะอาหาร จํานวน 1 ตวั ตามแบบ
วสั ดอุ ปุ กรณ
1. พน้ื โตะขนาด 100 x 20 x 10 เซนติเมตร สําเรจ็ รปู จํานวน 1 ชิน้
2. ขาโตะ ไมแ ทงสี่เหลย่ี มยาว 1.2 เมตร จํานวน 4 ทอน
3. น็อตพรอมแหวนรอง จํานวน 4 ชดุ
22
เครือ่ งมือ
กญุ แจเลอ่ื น กญุ แจล็อก และคมี ปากแบนขนาดใหญ
ขนั้ ตอนการประกอบ
1. เตรียมเครื่องมือและวสั ดุใหพรอม
2. วางพื้นโตะบนพนื้ หรอื บนโตะทํางาน หงาย พน้ื โตะ (งาน) ขน้ึ
3. นาํ ขาโตะหมายเลข 1 วางบนพน้ื ใหสกรูที่ติดกับขาโตะเสียบในชอ งหมายเลขที่ 1 บนพน้ื โตะ
4. ใสนอ็ ตเขา กับสกรู หมนุ น็อตจนแนน
5. ปฏบิ ตั ขิ ้นั ท่ี 3 และ 4 กบั ขาโตะ หมายเลข 2
6. ปฏิบตั ิข้นั ที่ 3 และ 4 กับขาโตะ หมายเลข 3
7. ปฏบิ ัติขน้ั ท่ี 3 และ 4 กบั ขาโตะ หมายเลข 4
8. จับโตะท่ีประกอบเสร็จแลววางกับพ้ืน ใชมือสองขางผลักดู แข็งแรงหรือไม หากโอน
เอนใหปรับหมุนนอ็ ตใหแ นนขึน้
3.2 การบาํ รุงรักษา
เครื่องมือเครื่องใช เมื่อใชไปนานมักสึกหรอ สภาพชํารุด คลาดเคลื่อนจากสภาพเดิม
ฝุนละอองเกาะสกปรก ตอ งดแู ลรกั ษา ปรบั แตง ทาํ ความสะอาด ดงั น้ี
1. การปรับแตงเครื่องมอื เครื่องใช เครือ่ งมอื เครื่องใชท ่ปี ระกอบขนึ้ จากชิ้นสว นหลาย ๆ ช้ิน
โดยการใชก ารเช่อื มยดึ น็อต สกรู หรือวิธอี ่ืนใด เมอื่ ใชงานไปนาน จากการส่นั สะเทอื น จากการเคลอื่ นยาย
หรืออบุ ัติเหตุ ตําแหนงเชอื่ มตอ ระหวา งชิ้นสว นอาจจะเคล่ือนจากที่เดมิ ตอ งรบี แกไขปรับแตง ใหอยู
ในสภาพปกติกอนใชงานตอ ไป หากคิดวาไมเปนไร ชํารุดเล็กนอย ยังใชการไดไมเปนไร หากใช
ตอ ไปอาจจะเกิดอนั ตรายกับผใู ชแ ละอาจจะเกิดความเสียหายตอเครื่องมอื ไดด ว ย
2. การทาํ ความสะอาดประจาํ วนั /สัปดาห/ เดอื น/ ป เคร่ืองมอื เครอื่ งใชท ุกชน้ิ กอนนําไปใชงาน
ตองตรวจสภาพใหพ รอมกอนและหลังการใชงานแลวกอนเก็บเขาตูหรือที่เก็บใหทําความสะอาด
เสยี กอ นเปน การทาํ ความสะอาดประจําวนั เครอ่ื งมือเคร่ืองใชบ างชนิดอาจมเี ศษวัสดุขยะจากการทาํ งาน
เขาไปติดสะสมภายในเครื่อง ไมสามารถทําความสะอาดอยางงาย ๆ ได ควรมีวันหยุดพักเคร่ือง
ทําความสะอาดประจําสปั ดาห หรือประจําเดือน หรือประจาํ ป แลว แตช นิดของเครื่องมือนั้น ๆ
3. ปรบั เปลี่ยนอะไหลตามอายุการใชงาน เครื่องมือเคร่ืองใชทุกชิ้นใชไปนาน ๆ ชิ้นสวน
โดยเฉพาะท่มี กี ารเคลอื่ นไหวจะสึกหรองา ย เชน เครื่องมอื ประเภทเครอื่ งกลเครอ่ื งไฟฟา เมอ่ื ใชงาน
ระยะหนึ่งจะตองปรับเปลี่ยนช้นิ สว นใหมตามทีค่ มู อื ของเครื่องน้ัน ๆ กําหนด เชน การเปล่ยี นแหวน
เปลย่ี นบูต กระเดื่อง คันกระแทก นาํ้ มันเครอ่ื ง นํ้ามันหลอลนื่ จาระบี เปนตน
4. นาํ ไปใหศ ูนยบ ริการตรวจสภาพตามกําหนด เครือ่ งมือเคร่ืองใชบางชนิด ใชเทคโนโลยี
คอ นขางสงู โดยตองใชเครื่องมอื เครอ่ื งวดั พิเศษเฉพาะ ผใู ชง านไมสามารถซอ มบํารงุ ไดเ อง ตองนาํ ไป
23
ใหศนู ยบริการชวยตรวจสอบ ปรบั แตงใหเ ทา น้ัน ซึง่ คูมอื ท่มี ากับเครื่องจะระบุไววา ใชงานไปเปน
ระยะเวลานานเทาไร ควรนําไปบริการตรวจสภาพ ผูใชตองปฏิบัติตามคูมือเพื่อยืดอายุการใชงาน
ของเครื่องมอื เครื่องใช
5. การขัดของบางลักษณะตองใหชางซอมเทาน้ัน หามซอมเอง เคร่ืองมือบางชนิด เชน
เคร่อื งไฟฟา เครอ่ื งกล ผใู ชไมสามารถซอมเองได เพราะบริษัทผูผลิตสงวนไวสําหรับผูผลิต ผูแทน
จาํ หนายเทานน้ั หากผูใชแ กไขเองอาจจะทําใหช าํ รดุ เสียหายมากขึน้
กจิ กรรม
ใหนาํ รถจักรยานยนตไปตรวจสภาพตามที่กาํ หนดแลว บันทกึ การซอมบํารุงมาดวย
3.3 การซอ ม
เคร่ืองมอื เคร่ืองใช หากรูส ึกวา ใชงานไมคลอง ติดขัดไมสะดวกสบาย หรือมีความรูสึกวา
ไมป ลอดภัยควรดําเนินการตรวจซอมกอนนาํ ไปใช ดงั น้ี
1. ศกึ ษาใหรจู กั คณุ ลกั ษณะของเครอ่ื งมือเคร่อื งใช เครือ่ งมือเครอ่ื งใชทกุ ชนดิ ทีว่ างจําหนา ย
ในทอ งตลาด ในชดุ หรอื กลองบรรจจุ ะมีตัวเครอ่ื งมอื เครอ่ื งใช ยังมีคูมือและใบรบั ประกนั ติดมาดว ย
ใหอ านรายละเอียดคูมอื ซ่งึ จะประกอบดวยคุณลกั ษณะของเคร่อื งมอื นนั้ การใชง าน การบํารงุ รักษา
ขอควรระวัง และอื่น ๆ เฉพาะคุณลักษณะของเคร่ือง ประกอบดวย นํ้าหนัก ขนาดกวาง ยาว สูง
วัสดุท่ีใชถาเปนเครื่องกลเคร่ืองไฟฟา จะบอกขนาดกําลัง แรงมา ความสามารถในการทํางาน
ยาวนานเทาใดควรพักหรือใชไดตลอดเวลา เปนตน หากเกิดการชํารุดดวยอาการหน่ึงอาการใด
มกั จะบอกข้ันตอนการตรวจสอบและตรวจซอ มเบ้อื งตนไวในคูม อื ใหล องทาํ ตามขน้ั ตอนท่ีระบุใน
คูมือนน้ั
2. ตรวจสภาพภายนอก กอนถอดชนิ้ สวนใด ใหต รวจสอบภายนอกกอนวาสภาพภายนอก
เปนอยางไร แตกหักหรือไม ยุบ บุบสลาย อาจทําใหกระทบตอชิ้นสวนภายในได แตถาสภาพ
ภายนอกปกตแิ สดงวาการขัดของเกิดจากสภาพการใชงาน จึงตองถอดชิ้นสวนประกอบภายนอก
ออก แลว คน หาชน้ิ สวนท่ชี าํ รดุ เสยี หายตอ ไป
3. ถอดช้ินสวนประกอบออกตรวจสอบ ชิ้นสวนภายนอกท่ีประกอบเปนตัวเครื่อง อาจ
ประกอบดว ยชิ้นสวนหลาย ๆ ชิ้น ตองนาํ คมู ือ ผงั การประกอบเคร่อื งมาพจิ ารณาในการถอดช้ินสว น
ดวย ใหถอดยอนถอยจากลําดับสุดทายไปหาลําดับที่ 1 โดยใชไขควงหรือคีม หรือกุญแจเลื่อน
แลว แตก รณี บางชนดิ อาจใชเ ปนเข้ียวหรือเดือยเกาะเก่ียวกัน อาจใชมือกดสวนหน่ึง ดันสวนหน่ึง
แลวปลดออก การถอดบตู สลกั บางชน้ิ อาจตอ งใชเ คร่ืองมือประเภทเคร่อื งดูด
4. หากเหน็ วา ชิ้นสวนใดสึกหรอตองเปลี่ยนใหม ชน้ิ สวนท่ีเกีย่ วของกับการหมุน การกระแทก
การเคล่ือนท่ี ชิน้ สวนที่ทําใหเกิดการเคลื่อนไหวใชไ ปนานวนั จะเกดิ การสึกหรอ เมือ่ ถอดชิ้นสว นมา
ดแู ลว เห็นวา สึกหรอควรเปลีย่ นใหม
24
5. ประกอบใหอยูในสภาพปกติ เม่ือเปลี่ยนอะไหลใหมทุกช้ินแลวใหตรวจความเรียบรอย
ใสอ ะไหลใ หมเ ขา ไปในสภาพเดมิ หรือไม หากปกติแลว ใหประกอบชน้ิ สว นอืน่ ใหเ ปน ตวั เคร่ืองเขา
ปกติตามขนั้ ตอนการประกอบเครอ่ื ง จากประสบการณท่ีถอดหรอื ดูจากคมู อื ประกอบ
6. ทดสอบขั้นตน เมื่อประกอบเครื่องเสร็จแลวใหทดลองเครื่องกอนนําไปใชงานจริง
ถาเปนเครือ่ งประเภทไฟฟา ใหก ดสวิตชแ ลวสงั เกตวามีสิ่งผิดปกติหรือไม กลิ่นเหม็นไหม เครื่องรอน
ผดิ ปกติ หากผิดปกตเิ พยี งนิดหนอยควรปดสวิตชท นั ทีแลว ตรวจสอบใหม ถาประเภทเครอ่ื งยนตให
ตดิ เครื่องยนตเดินเปลา ระยะหนงึ่ กอน
7. ทดลองใชงานจริงระยะหน่ึง หลังจากทดลองเครื่องจนใชไดจริงแลว ใหใชดวยความ
ระมัดระวัง คอยสงั เกตอาการเปลย่ี นแปลงท่อี าจเกดิ ข้นึ ในระหวางการใชง าน หากมีเสยี ง อาการส่ัน
รอนจัดผิดปกติ ใหห ยดุ พักการทํางานไวกอ น แลวทาํ การตรวจสอบตามกระบวนการตรวจสอบแลว
จงึ นาํ ไปใชง านตอไป
8. นําไปใชงานจริง เม่อื เครือ่ งท่ซี อ มแซมใชง านไดตามปกติแลว จึงนาํ ไปใชง านจรงิ
กิจกรรม
ใหซ อมเครื่องใชใ นบานหนึง่ ชิ้น แลว บันทกึ ข้นั ตอนการซอมไวด วย
4. งานประดษิ ฐ
งานประดษิ ฐ เปน การวเิ คราะหเก่ียวกับการทํางานดานการประดิษฐสิ่งของเคร่ืองใชท่ีเนน
ความคิดสรางสรรค โดยเนน ความประณตี สวยงาม ตามกระบวนการงานประดิษฐและเทคโนโลยี
และเนนการอนุรักษและสืบสานศิลปวัฒนธรรม ขนบธรรมเนียมประเพณีไทย ตามภูมิปญญา
ทอ งถน่ิ และสากลเพ่อื นําไปสูการสรางงานอาชีพท่เี หมาะสมกับศักยภาพของตนเองและสอดคลอง
กบั ชมุ ชน สงั คม
ความหมายของงานประดษิ ฐ
ประดิษฐ แปลวา คิดทําข้ึน งานประดิษฐจึงหมายถึงการนําเอาวัสดุตาง ๆ มาทําเปน
ผลิตภัณฑใหม เพ่อื ประโยชนใ ชส อยดานตา ง ๆ เชน เปนของเลน ของใช หรือเพือ่ ความสวยงาม
ประโยชนของงานประดษิ ฐ มีดงั นี้
1. เปนการใชเวลาวางใหเกิดประโยชน
2. มีความภาคภมู ิใจในผลงานของตน
3. มีรายไดจ ากผลงาน
4. มีความคิดริเริ่มสรางสรรคผลงานใหม ๆ
5. เปนการฝก ใหรจู ักสังเกตสง่ิ รอบ ๆ ตัว และนาํ มาใชใหเกิดประโยชน
25
ลกั ษณะของงานประดษิ ฐ แบงเปน 2 ประเภท คือ
1. งานประดิษฐท่ัวไปเปนงานท่ีบุคคลสรางขึ้นมาจากความคิดของตนเองโดยอาศัย
การเรียนรจู ากส่ิงรอบ ๆ ตัว นํามาดัดแปลงหรือเรียนรูจากตํารา เชน การประดิษฐของใชจากเศษ
วัสดุ การประดิษฐด อกไม
2. งานประดิษฐท่ีเปนเอกลักษณไทยเปนงานที่ไดรับการสืบทอดมาจากบรรพบุรุษใน
ครอบครัวหรือในทองถิ่น หรือทําข้ึนเพ่ือใชในงาน หรือเทศกาลเฉพาะอยาง เชน มาลัย บายศรี
งานแกะสลัก
ประเภทของงานประดษิ ฐ งานประดิษฐตาง ๆ สามารถเลือกทําไดตามความตองการและ
ประโยชนใชสอย ซึง่ อาจแบงประเภทของงานประดิษฐตามโอกาสใชส อย ดงั น้ี
1. ประเภทท่ีใชเปนของเลน เปนของเลนที่ผูใหญในครอบครัวทําใหลูกหลานเลน เพ่ือ
ความเพลดิ เพลิน เชน งานปน ดนิ เปน สัตว สง่ิ ของ งานจักสานใบลานเปน โมบาย งานพบั กระดาษ
2. ประเภทของใช ทําข้ึนเพ่อื เปนของใชในชีวิตประจําวัน การสานกระบุง ตะกรา การทํา
เคร่อื งใชจ ากดนิ เผา จากผา และเศษวัสดุ
3. ประเภทงานตกแตง ใชตกแตงสถานท่ี บานเรือนใหสวยงาม เชน งานแกะสลักไม
การทาํ กรอบรูป ดอกไมป ระดษิ ฐ
4. ประเภทเครอ่ื งใชในงานพิธี ประดษิ ฐข ึ้นเพอ่ื ใชใ นงานเทศกาล หรือประเพณีตาง ๆ เชน
การทํากระทงลอย ทําพานพุม มาลยั บายศรี
วสั ดแุ ละอุปกรณท ใ่ี ชในงานประดษิ ฐ
การเลอื กใชวสั ดอุ ปุ กรณในการประดิษฐช ้ินงาน ตอ งเลือกใหเหมาะสมจงึ จะไดง านออกมา
มีคุณภาพสวยงาม รวมท้ังตองดูแลรักษาอุปกรณเคร่ืองใชเหลานี้ใหอยูในสภาพท่ีใชงานได
ตลอดเวลา
1. วัสดแุ ละอปุ กรณใ นงานประดษิ ฐ แบงออกเปน ประเภทตาง ๆ ดังนี้
ประเภทของเลน
- วัสดุทใ่ี ช เชน กระดาษ ใบลาน ผา เชอื ก พลาสตกิ กระปอ ง
- อปุ กรณท ใ่ี ช เชน กรรไกร เขม็ ดา ย กาว มีด ตะปู คอน แปรงทาสี
ประเภทของใช
- วัสดุทใี่ ช เชน กระดาษ ไม โลหะ ดิน ผา
- อุปกรณท ี่ใช เชน เลื่อย สี จักรเยบ็ ผา กรรไกร
ประเภทของตกแตง
- วัสดุท่ใี ช เชน เปลือกหอย ผา กระจก กระดาษ ดินเผา
- อปุ กรณทีใ่ ช เชน เข็มเยบ็ ผา เขม็ รอยมาลยั คีม คอน เขม็ หมดุ
26
2. การเลือกใชและการบํารงุ รักษาอปุ กรณ มีหลักการดังนี้
1. ควรเลอื กใชใหถกู ประเภทของวัสดแุ ละอปุ กรณ
2. ควรศึกษาวิธกี ารใชก อ นลงมือใช
3. เม่อื ใชแลว เก็บไวใหเปนระเบยี บเรยี บรอย
4. ซอ มแซมเครื่องมือทชี่ ํารุดใหพ รอ มใชเ สมอ
การประดิษฐช น้ิ งาน
ข้ันตอนในการปน
1. กําหนดโครงสราง รปู รางของชนิ้ งาน ตามลกั ษณะสดั สวนของช้ินงาน การยอ สวน ขยายสวน
2. ศึกษาลักษณะธรรมชาติของช้ินงานท่ีตองการปน เชน ตัวสัตวตาง ๆ ศึกษารูปทรง
ภายนอก ภายในรายละเอียดตา ง ๆ เชน ลาํ ตวั หัว หู หาง ฯลฯ ในการเลยี นแบบใหเหมือนจริง หรือเปน
รปู รา งท่แี ตกตางไปจากความเปน จริง รูปรา งตลกขบขัน
วัสดอุ ุปกรณท่ใี ชใ นการปน
1. แปงหรือดนิ สําหรับปน
2. กาวลาเทก ซ กาวไฟฟา (กาวปน)
3. ลวดขนาดตาง ๆ
4. กรรไกร ปากคมี เข็มเย็บผา ไมจ ิ้มฟน
5. ดา ย เอ็น เชอื ก
6. ถงุ พลาสติก หรือแผน พลาสตกิ สาํ หรบั รองพับ
7. โลชั่น หรือครมี ทาผวิ
8. ภาชนะสําหรบั จัดวาง
9. สีสําหรบั ผสมแปง หรอื ดิน อาจใชสผี สมอาหาร สีโปสเตอร
วิธกี ารผสมแปง
1. แปง กาว สารกันรา โลช่ันใสกะละมงั คนสวนผสมใหเ ขากัน
2. โลชั่นทามอื นวดแปงจนเปนกอนนม่ิ นวดบนพื้นโตะ จนแปง เนียนนุมไมต ิดมือ
3. เก็บแปงใสถุงพลาสติก แบงผสมสีตามตองการ ในปจจุบันมีแปงและดินสําเร็จขาย
แตราคาคอนขางแพง
กิจกรรม
ใหผูเรยี น ตอบคําถามตอไปน้ี
1. ความแตกตา งของชน้ิ งานปนในสมยั โบราณกับปจจบุ นั มีความแตกตา งกนั อยา งไรบาง
2. อุปกรณท่ใี ชในงานประดิษฐม อี ะไรบาง มวี ธิ ีการใชอยางไร
3. ขอปฏบิ ัตหิ ลังจากใชอ ุปกรณท กุ ครงั้ ควรทําอยา งไร
27
4. การประดษิ ฐช้นิ งานดวยตนเอง มขี อ ดอี ยา งไร
5. งานธุรกจิ
งานธรุ กจิ เปน การวิเคราะหง านหรอื กจิ กรรมที่เปนการนําเอาทรัพยากรตาง ๆ มาใชรว มกนั
หรือเปลี่ยนสภาพเพ่อื ที่จะกอใหเกิดคุณคาท่ีสูงกวาเดิม โดยที่ผูซ่ึงเปนเจาของหรือผูจัดการหวังวา
ส่ิงที่ตนทาํ นั้นจะยั่งยืนและเจริญกาวหนาตอไปในอนาคต โดยในงานหรือกิจกรรมทางธุรกิจ
จะกลาวถึงงานการตลาด งานการผลติ หรือบริการ งานการเงนิ และบัญชี และงานทรัพยากรมนษุ ย
ความรูธ ุรกจิ ในชีวิตประจาํ วัน
ปจจุบันชีวิตคนเราสวนใหญเกี่ยวพันกับเรื่องธุรกิจเกือบทั้งส้ิน เพื่อความอยูรอด ความ
สะดวกสบายจะตองอาศัยปจจัยตาง ๆ ในการดําเนินชีวิต อันไดแก ปจจัย 4 ซึ่งก็คือ อาหาร
เครื่องนุงหม ท่ีอยูอาศัย และยารักษาโรค ความตองการเหลานั้นเปนสาเหตุทําใหเกิดกิจกรรม
ทเ่ี กี่ยวขอ งกบั การผลิต การจําหนา ย และการซอ้ื ขายแลกเปลย่ี น
ความหมายของธุรกิจ
ธรุ กิจ คือ กิจการที่กอใหเกิดสินคาและบริการ ชองทางการประกอบธุรกิจไมใชเพียงแต
มุง หวังผลกําไร แตม ุงอาํ นวยสินคา และบรกิ ารเพ่ือสนองความตองการของมนุษย
จุดมงุ หมายของธรุ กจิ คือ
1. เพื่อใหบ ริการแกผบู ริโภคอุปโภค
2. นําผลกาํ ไรมาสูผลู งทนุ
3. เพอ่ื ความอยรู อดและเจริญเติบโต
ความสมั พันธร ะหวางธุรกจิ กับบคุ คล
เราอาจแบงความสัมพนั ธร ะหวา งธุรกจิ กับบุคคลออกเปน 2 ลักษณะ คือ
1. ความสัมพันธข องธรุ กิจกบั บคุ คลในฐานะผูบริโภค คอื การบริโภคส่งิ ของ เคร่ืองใช เชน
เสอื้ ผา อาหาร นอกเหนือจากปจ จยั 4 เนอื่ งจากคนเรามีความตองการไมมสี น้ิ สุด
2. ความสัมพันธของธุรกิจกับบุคคลในฐานะผูผลิต เมื่อเปนผูบริโภคจะตองผลิตใหได
มูลคา เทากบั มูลคาการบรโิ ภค มิฉะนนั้ จะยากจน เชน การเปน ผผู ลติ ในครอบครัว ชวยพอแมทาํ งาน
ธุรกิจที่เก่ยี วของในชวี ติ ประจาํ วนั
ประเภทของธรุ กจิ ท่ีเกีย่ วของในชวี ติ ประจาํ วัน มดี งั นี้
1. ธุรกิจผลิตสินคา เปนธุรกิจที่ผลิตสินคาสนองความตองการของผูบริโภค ไดแก ธุรกิจ
การเกษตร ธุรกิจเหมืองแร ธุรกิจอุตสาหกรรมในครัวเรือน อุตสาหกรรมโรงงาน และธุรกิจ
กอสรา ง
28
2. ธุรกิจจําหนายสนิ คา เปน ธุรกจิ ที่กระจายสนิ คาจากผูผลติ ไปยงั ผบู รโิ ภค เชน การจําหนาย
สินคาท่ีใชในการดํารงชีวิต สินคาท่ีอํานวยความสะดวกสบาย ซึ่งธุรกิจประเภทนี้เปนธุรกิจ
ขายปลีกและขายสง
3. ธรุ กิจการบรกิ าร เปนธุรกิจใหบรกิ ารแกลูกคา ไดแก ธนาคาร โรงแรม โรงเรียน โรงภาพยนตร
การคมนาคมและการขนสง
กิจกรรม
ใหผูเรียนศึกษาคนควาเร่ืองประเภทของธุรกิจท่ีเก่ียวของกับชีวิตประจําวัน บันทึกเปน
รายงานสง และนํามาอภิปรายในการพบกลุม
งานสาํ นักงาน
การจัดเก็บเอกสารทางธุรกจิ
ความหมายของเอกสารทางธุรกิจ หมายถึง เอกสารตาง ๆ ที่ทําข้ึนเปนลายลักษณอักษร
อาจจะเขียนขึน้ เองในลกั ษณะของจดหมาย พมิ พเปนแบบฟอรม เชน ใบเสรจ็ รับเงิน ใบกํากับสินคา
เปน ตน เพ่ือใชเปนหลักฐานในการดําเนนิ งานตาง ๆ ทางธุรกิจ หรอื ใชในการอางอิงกรณีที่มีปญหา
เกดิ ขนึ้
ความสําคัญและประโยชนของเอกสารทางธุรกิจ คือ ใชเปนขอมูลสนับสนุนดานการ
บริหารงานใหม ปี ระสิทธภิ าพ เพอื่ ประโยชนใ นการคาระหวางประเทศ เพ่ือใหเกิดความเปนธรรม
ใชคมุ ครองสิทธิแกผลู งทุน ใชป ระกันในการขอเครดิต เพื่อใชเปนหลักฐานในการตรวจสอบของ
กรมสรรพากรและการเรียกรอ งคาเสียหาย
ประเภทของเอกสารทางธรุ กจิ จาํ แนกได ดังน้ี
1. เอกสารการเครดิตและการเงนิ ไดแ ก เช็ค ต๋วั แลกเงนิ ต๋ัวสัญญาใชเงิน ใบหุน พันธบัตร
เปนตน
2. เอกสารการซื้อขายและขายสินคา หรอื เอกสารการคา เชน ใบเสนอราคา ใบเสรจ็ รับเงนิ
3. เอกสารการขนสง เชน ใบรบั สินคา ข้ึนเรอื ใบตราสง สนิ คา สัญญาเชา เหมาซอ้ื
4. เอกสารประกันภัย ไดแก ใบคําขอทาํ ประกัน กรมธรรมประกันภยั เปนตน
5. เอกสารการนําเขา และสงออก เชน ใบขนขาเขา ใบตราสง ใบรับของจากทา เรอื
การจดั เกบ็ เอกสารทางธุรกิจ
เอกสารทางธุรกิจมีความสําคัญ จะตองมีการเก็บเอกสารใหเปนระบบ เพื่อใหคนหาได
สะดวกหยิบใชไดงายและใชเปนหลักฐานอางอิงกรณที ม่ี ปี ญหาเกิดขนึ้ วธิ ีการจดั เกบ็ เอกสาร ทน่ี ิยม
ใชกนั คือ การเกบ็ ตามลําดับตัวอักษร ช่ือบริษัท หางราน การเก็บเอกสารตามตัวเลขโดยใชตัวเลข
แทนช่ือบุคคล หา งราน บรษิ ทั การเกบ็ เอกสารตามชอ่ื เรือ่ งและการเกบ็ เอกสารตามภูมศิ าสตร ใชช ่ือ
สถานท่ี ประเทศ จงั หวดั อาํ เภอ เปนหนวยจดั เก็บ
29
การใชเ ครอ่ื งใชส าํ นักงานและการบํารุงรกั ษา
เครื่องใชสํานักงาน หมายถึง เคร่ืองมือเครื่องใชสํานักงานท่ีจัดทําข้ึนเพื่ออํานวยความ
สะดวกสบายในการปฏิบัติงานสํานักงานใหเปนไปอยางมีประสิทธิภาพ เชน เครื่องพิมพดีด
เคร่ืองคํานวณเลข โทรศัพท โทรสาร เครื่องถายเอกสาร และเครื่องคอมพิวเตอร เปนตน
การเลือกใชเครื่องใชสาํ นักงานชนิดใด ขนาดเทา ใด ข้นึ อยูกับขนาดและความจําเปนของแตล ะธรุ กจิ
ความสําคัญและประโยชนของเครื่องใชสํานักงาน คือ ทําใหงานมีความถูกตอง แมนยํา
ลดความผิดพลาด ลดตนทุนในการทํางาน ชวยใหงานเสร็จดวยความรวดเร็ว เรียบรอย สวยงาม
และทุนแรงผูปฏิบัติ ลดความเมื่อยลา
การบํารุงรกั ษาเคร่อื งใชสาํ นักงาน มีการบํารุงรกั ษา อาจทําได 3 วธิ ี คอื
1. เรียกใชบ ริการเปนครั้งคราว
2. ทําสญั ญารบั บรกิ ารจากผูจําหนา ยโดยตรง
3. ศกึ ษาวธิ ีการบํารงุ รกั ษาจากหนังสือคูมือการใช
การนาํ เทคโนโลยีมาใชใ นงานธุรกจิ
ปจจุบันหนวยงานธุรกิจจํานวนมากไดนําเทคโนโลยีมาใชงานธุรกิจ เพ่ือชวยในการ
ปฏิบตั งิ าน ในสาํ นกั งานใหม ีประสทิ ธภิ าพมากขึ้นและสะดวกขน้ึ ดงั นี้
1. งานพิมพเ อกสาร โดยใชคอมพวิ เตอรพ ิมพเอกสารตา ง ๆ แทนเครือ่ งพิมพด ีด
2. งานฐานขอมลู ใชคอมพวิ เตอรเ พ่อื รวบรวม ประมวลผล บันทกึ และจัดเก็บขอ มลู ตา ง ๆ
3. งานตดิ ตอสอ่ื สาร โดยใชคอมพิวเตอรเ พื่อรวบรวม ประมวลผล บันทึก และจัดเกบ็ ขอ มลู
ตาง ๆ
4. งานดานการเงินและการบัญชี เชน การนําคอมพิวเตอรเขามาใชในการทําบัญชีเงินเดือน
เปน ตน
งานการเงนิ และบญั ชี
เปา หมายทส่ี าํ คัญของตนเองและครอบครัวกค็ อื การทาํ ใหค วามเปน อยูของครอบครัวดีขึ้น
ไมประสบปญ หาเรื่องการใชจา ยเงิน การใชจ า ยเงนิ ที่ดกี ค็ วรที่จะจัดทําแผนการใชจ า ยเงินและจัดทํา
งบประมาณของตนเองและครอบครัวอยางเปนระบบ บุคคลในครอบครัวก็ตองชวยกันบันทึกบัญชี
เงินสดของตนเองและครอบครัวอยางเปนระบบ เพ่ือท่ีจะไดนําของแตละคนมารวบรวม ทําการ
เปรยี บเทียบงบประมาณกับการจายจรงิ ของครอบครวั เปา หมายทส่ี าํ คญั อกี ประการหนึ่งก็คือ การที่
ตนเองและครอบครวั มีเงินออมและสามารถนําเงินออมนัน้ ไปลงทนุ ทําธุรกจิ
30
การทาํ งบประมาณของตนเองและครอบครวั
งบประมาณ หมายถงึ การวางแผนประมาณการรายรับ-รายจาย เพื่อเปนแนวทางในการใช
จา ยอยางประหยัด งบประมาณแบง ออกไดเปน 2 สว น คอื
1. รายรับ แบงออกเปน
- รายรับประจําวัน เปนรายไดท ่แี นน อน เปนรายสปั ดาห รายเดอื น
- รายรับจร เปน รายไดท ่เี กดิ ขึ้นไมแ นน อน เปน บางครัง้ บางคราว
2. รายจาย แยกประเภทได ดังนี้
- รายจายเพือ่ ความตอ งการพ้ืนฐาน ไดแ ก คา อาหาร ทอ่ี ยู เส้อื ผา และคายา
- รายจายเพื่อดําเนนิ ชวี ิตประจําวัน ไดแก คา นํา้ คา ไฟฟา คา โทรศพั ท ฯลฯ
- รายจายเพอ่ื ประโยชนร ะยะยาว เชน เงินออมเพือ่ การศึกษา เงินประกนั ชวี ิต
- รายจายอน่ื ๆ เชน คาของขวัญในโอกาสตา ง ๆ เงนิ ทาํ บญุ เงนิ บริจาค เงนิ ชว ยงาน
ข้ันตอนการจดั ทํางบประมาณ
1. ประมาณการรายรบั ประจําเดือน
2. ประมาณการรายจา ยประจําเดือน ตามความจําเปน กอ นหลัง
3. ประมาณการรายรับ - รายจายตอ งเทากนั
ตัวอยา งประมาณการรายรบั -รายจา ยของครอบครวั 6,400
งบประมาณเดือนมนี าคม 2553 4,500
ประมาณการรายรับ 10,900
1,500
เงินเดือนสามี 4,000
เงนิ เดอื นภรรยา 500
รวม 500 6,500
ประมาณการรายจา ย
รายจายเพื่อความตองการขน้ั พ้นื ฐาน
คา เชา บาน
คา อาหาร
คา เสอ้ื ผา
คารักษาพยาบาล
รายจายเพื่อการดําเนินชวี ติ ประจําวนั 31
คารถ
คา กาซหุงตม 600
คาไฟฟา 250
คานํา้ ประปา 250
คา โทรศัพท 150
150 1,400
รายจายเพ่อื ประโยชนร ะยะยาว 500
คาประกนั ชีวิต 1,000
เงินฝากธนาคารเพือ่ การศกึ ษา 1,000 2,500
เงนิ ออม 500 500
รายจายอ่นื ๆ 10,900
รวม
ประโยชนข องการจัดทํางบประมาณ มีดังนี้
1. ทําใหม ีแผนการใชจายเงินอยางเปน ระบบ
2. ชวยลดปญ หาการใชจ า ยเงินมากกวารายได
3. สามารถจดั สรรเงินออมไวใ ชจ ายในอนาคต
การออมทรัพยแ ละการลงทุนกับธนาคารและสถาบันการเงิน
การออมทรพั ย หมายถึง การนาํ เงินรายไดส วนทจี่ ดั สรรไวเ พอ่ื ประโยชนในอนาคต หรือใน
ยามจาํ เปน
การลงทุน หมายถงึ การนาํ เงินออมทีส่ ะสมไวไปใชเ พ่ือใหเกดิ ประโยชนห รอื วัตถปุ ระสงค
อยา งใดอยางหนงึ่ โดยเฉพาะ
สถาบันการเงิน หมายถึง องคการทางการเงินท่ีจัดข้ึนมาเพ่ือดําเนินงานทางดานการเงิน
ทําหนา ท่เี ปนสอื่ กลางทางการเงิน ไดแก ธนาคาร บรษิ ัทเงนิ ทนุ บรษิ ัทหลักทรัพย เปนตน
ประเภทของการลงทนุ
เราสามารถที่จะนาํ เงินออมที่มอี ยูไ ปลงทุนได 2 ประเภทใหญ ๆ คือ พันธบัตร และหุน ซ่ึง
ท้งั สองชนดิ เรียกวา หลักทรพั ย
1. พันธบัตร คือ ตั๋วสัญญาใชเงินท่ีรัฐบาลหรือบริษัทเปนผูออกโดยสัญญาวาจะใชเงิน
ภายในระยะเวลาท่กี าํ หนดพรอ มดอกเบยี้
2. หนุ ของบริษทั หนุ หมายถงึ ใบรบั รองวาเปน ผูมีสวนในกิจการหรอื เปนเจา ของบริษัท
32
กิจกรรม
1. ใหผเู รยี นจดั ทาํ บญั ชีเงนิ สดของตนเอง เปน รายบุคคล
2. ระยะเวลาในการปฏิบตั ิงานประมาณ 1 สัปดาห
3. นําเสนอผลการปฏิบตั ิงานโดยการสมุ ตวั อยาง
เรอื่ งท่ี 3 กลุมอาชพี ใหม
จากการเปล่ียนแปลงในบริบทโลกทั้งในสวนการรวมกลุมทางการเงิน การเปล่ียนแปลง
เทคโนโลยีอยางรวดเรว็ การเปล่ยี นแปลงของธรรมชาตแิ ละสง่ิ แวดลอม การเปล่ยี นแปลงพฤตกิ รรม
ของผูบริโภค การรวมกลุมทางเศรษฐกิจ และประการสําคัญคือ การเปลี่ยนแปลงโครงสราง
ประชากรทางสังคม ดงั นัน้ อาชพี ในปจ จุบันจะตอ งมีการพัฒนาวิธีการและศักยภาพในการแขงขันได
ในระดับโลก ซ่งึ จะตองคาํ นึงถึงบริบทภมู ิภาคหลกั ของโลก หรือ “รูศกั ยภาพเขา” หมายถึง ทวีปเอเชีย
ทวปี อเมริกา ทวปี ยโุ รป ทวปี ออสเตรเลีย และทวีปแอฟริกา และจะตอง “รูศักยภาพเรา” หมายถึง
รูศ ักยภาพหลักของพื้นท่ีประเทศไทย คอื ศกั ยภาพของทรัพยากรธรรมชาติในแตละพื้นที่ ศักยภาพ
ของศิลปะ วัฒนธรรม ประเพณี และวิถีชีวิตของแตละพื้นที่ และศักยภาพของทรัพยากรมนุษยใน
แตละพื้นท่ี ดังน้ัน เพื่อใหการประกอบอาชีพสอดคลองกับศักยภาพหลักของพื้นที่และสามารถ
แขงขันในเวทีโลก จึงไดกําหนดกลุมอาชีพใหม 5 กลุมอาชีพ คือ กลุมอาชีพใหมดานการเกษตร
กลุมอาชีพใหมดานพาณิชยกรรม กลุมอาชีพใหมดานอุตสาหกรรม กลุมอาชีพใหมดานความคิด
สรางสรรค และกลุมอาชพี ใหมดานบรหิ ารจัดการและบรกิ าร
1. กลุม อาชีพใหมดานการเกษตร คือการพัฒนาอาชีพในดานการเกษตรเก่ียวกับ
การปลูกพืช เลี้ยงสัตว การประมง โดยนําองคความรูใหม เทคโนโลยี/นวัตกรรม มาพัฒนาให
สอดคลองกับศักยภาพหลักของพ้ืนท่ี คือศักยภาพของทรัพยากรธรรมชาติในแตละพื้นที่ ตาม
ลักษณะภูมิอากาศ ศักยภาพของภูมิประเทศ และทําเลท่ีต้ังของแตละพื้นท่ี ศักยภาพของศิลปะ
วัฒนธรรม ประเพณี และวิถขี องแตล ะพ้ืนที่และศักยภาพของทรพั ยากรมนุษยในแตละพื้นที่ อาชีพ
ใหมดานการเกษตร เชน เกษตรอินทรีย เกษตรผสมผสาน เกษตรทฤษฎีใหม วนเกษตร ธุรกิจ
การเกษตร เปน ตน
2. กลุมอาชีพใหมดานพาณิชยกรรม คือการพัฒนาหรือขยายขอบขายอาชีพดาน
พาณชิ ยกรรม เชน ผูใ หบ ริการจาํ หนา ยสนิ คา ทง้ั แบบคา ปลีกและคา สงใหแกผูบริโภคทั้งมีหนาราน
เปนสถานที่จัดจําหนาย เชน หางราน หา งสรรพสนิ คา ซุปเปอรส โตร รานสะดวกซอื้ และการขายที่
ไมมหี นารา น เชน การขายผานสื่ออิเล็กทรอนิกส
3. กลุมอาชีพใหมดานอุตสาหกรรม คือการพัฒนาอาชีพที่อาศัยองคความรู
เทคโนโลย/ี นวัตกรรม อาชีพเก่ยี วกบั งานชางซ่ึงไดแ ก ชางไฟฟา ชางไม ชา งยนต ชางประปา ชางปูน
33
และชา งเชื่อม ใหส อดคลองกับความตองการของตลาดในประเทศ และตางประเทศ และศักยภาพ
หลักของพ้ืนที่ เชน ผูผลิตชิ้นสวนอิเลคทรอนิกสเคร่ืองใชไฟฟา หรืออุปกรณอิเล็กทรอนิกส
โดยท่วั ไป เชน IC PCB ผูประกอบรถยนตและยานยนตประเภทตา ง ๆ ผูผ ลติ ตวั แทนจําหนายหรอื
ผปู ระกอบชิ้นสว นหรอื อะไหลรถยนต ผใู หบ รกิ ารซอมบํารงุ รถยนต ผจู ดั จําหนา ยและศนู ยจําหนาย
รถยนตท ัง้ มอื หนงึ่ มือสอง ผผู ลติ และจําหนา ยเครอื่ งจักรและเครื่องมือทกุ ชนดิ เชน เครื่องจักรกลหนัก
เคร่ืองจักรกลเบา ผลิตอุปกรณหรือสวนประกอบพ้ืนฐานของเครื่องใชไฟฟาตาง ๆ เชน สายไฟ
หลอดไฟ ฉนวนไฟฟา มอเตอรตาง ๆ การผลติ อลูมเิ นียม ผลติ และตัวแทนจําหนายผลิตภัณฑเหล็ก
สแตนเลส ผูผ ลติ จําหนายวสั ดกุ อสราง วัสดตุ กแตง สขุ ภณั ฑ การกอ สรา ง อาคาร หรือที่อยูอาศยั
4. กลมุ อาชพี ใหมดา นความคดิ สรางสรรค ทามกลางกระแสการแขงขันของโลก
ธุรกจิ ที่ไรพรมแดน และการพัฒนาอยา งกาวกระโดดของเทคโนโลยีการส่ือสารและการคมนาคม
การแลกเปล่ียนสินคาจากท่ีหน่ึงไปยังอีกสถานท่ีที่อยูหางไกลน้ันเปนเร่ืองงายในปจจุบัน เม่ือ
ขอจาํ กดั ของการขามพรมแดนมใิ ชอ ปุ สรรคทางการคา ตอ ไปจึงทาํ ใหผ ูบรโิ ภคหรือผูซ อ้ื มีสิทธิเลือก
สินคาใหมไดอ ยา งเสรีทั้งในดานคุณภาพและราคา ซงึ่ การเรยี นรแู ละพฒั นาสินคาและบริการตาง ๆ
ที่มีอยูในตลาดอยูแลวในยุคโลกไรพรมแดนกระทําไดงาย ประเทศท่ีมีตนทุนการผลิตตํ่า เชน
ประเทศจนี อินเดยี เวียดนาม และประเทศในกลุมยุโรปตะวนั ออก จะมีความไดเ ปรยี บในการแขงขนั
ดานราคา ดว ยเหตุน้ีประเทศผูนําทางเศรษฐกิจหลายประเทศจึงหันมาสงเสริมการดําเนินนโยบาย
เศรษฐกิจสรางสรรคเ พอื่ พฒั นาสินคา และบรกิ ารใหม ๆ และหลีกเลย่ี งการผลิตสนิ คาทต่ี อ งตอ สดู า น
ราคา โดยหลกั การของเศรษฐกจิ สรา งสรรคค อื แนวคิดหรือแนวปฏิบัติท่ีสราง/เพ่ิมมูลคาของสินคา
และบรกิ ารไดโ ดยไมตอ งใชทรัพยากรมากนัก แตใชความคิด สติปญญา และความสรางสรรคให
มากข้นึ
ทิศทางของแผนพฒั นาเศรษฐกจิ และสังคมแหงชาติฉบับท่ี 11 (พ.ศ. 2555 – 2559)
ไดกําหนดยุทธศาสตรการปรับโครงสรางเศรษฐกิจสูการเจริญเติบโตอยางคุณภาพและยั่งยืน ให
ความสําคัญกับการปรับโครงสรางเศรษฐกิจบนฐานความรู ความคิดสรางสรรคและภูมิปญญา
ภายใตปจจัยสนับสนุนที่เอ้ืออํานวยและระบบการแขงขันท่ีเปนธรรมเพ่ือสรางภูมิคุมกันใหกับ
ประเทศ มุงปรับโครงสรางและการลงทุนใหสอดคลองกับความตองการของตลาดท้ังภายในและ
ตางประเทศ สรา งมูลคา เพม่ิ ใหก ับสาขาบริการท่มี ศี ักยภาพบนพ้ืนฐานของนวัตกรรมและความคิด
สรางสรรค พัฒนาธุรกิจสรางสรรคและเมืองสรางสรรค เพิ่มผลิตภาพของภาคเกษตรและสราง
มลู คา เพ่มิ ดว ยเทคโนโลยีและกระบวนการผลติ ท่เี ปนมติ รกบั สิ่งแวดลอ ม พัฒนาภาคอุตสาหกรรมสู
อุตสาหกรรมฐานความรูเชิงสรา งสรรคแ ละเปนมิตรตอสิ่งแวดลอม พัฒนาโครงสรางพ้ืนฐานและ
ระบบโลจิสตกิ ส สรางความม่นั คงดานพลงั งานควบคไู ปกับการปฏริ ปู กฎหมายและกฎระเบียบตาง ๆ
ทางเศรษฐกจิ และการบริหารจดั การเศรษฐกจิ สวนรวมอยา งมีประสิทธิภาพเพื่อใหเปนฐานเศรษฐกิจ
ของประเทศทีเ่ ขม แข็งและขยายตัวอยา งมีคณุ ภาพ
34
กลุมอาชีพใหมดานความคิดสรางสรรค จึงเปนอาชีพที่อยูบนพ้ืนฐานของการใช
องคความรู (Knowledge) การศึกษา (Education) การสรางสรรคงาน (Creativity) และการใช
ทรัพยสินทางปญ ญา (Intellectual Property) ทเี่ ชอ่ื มโยงกับพื้นฐานทางวัฒนธรรม (Culture) การส่ังสม
ความรูของสังคม (Wisdom) และเทคโนโลยี/นวัตกรรมสมัยใหม (Technology and Innovation)
(อาคม เติมพิทยาไพสิฐ,2553) ดังน้นั กลุมอาชีพใหมด านความคิดสรางสรรค จงึ เปน การตอยอดหรอื
การพฒั นาอาชีพในกลุม อาชีพเดิม คือกลุมอาชีพเกษตรกรรม กลุมอาชีพอุตสาหกรรม กลุมอาชีพ
พาณิชยกรรม กลมุ อาชีพคหกรรม กลมุ อาชพี หตั ถกรรม และกลมุ อาชพี ศิลปกรรม
กลุมอาชีพใหมดานความคิดสรางสรรค เชน แฟชั่นเส้ือผา เครื่องประดับ
เคร่ืองสําอาง ทรงผม สปาสมนุ ไพร การออกแบบสอื่ /ภาพยนตร/ โทรทัศน เครื่องใชไ ฟฟา เฟอรนิเจอร
วัสดุกอสรางแบบประหยัดพลังงาน เซรามิก ผาทอ จักสาน แกะสลัก รถยนตพลังงานทางเลือก
ขากลอตั โนมัติเพ่อื ผพู กิ าร การทอ งเท่ยี วเชิงวัฒนธรรม ตลาดนาํ้ อโยธยา เปน ตน
5. กลุม อาชพี ใหมด า นบรหิ ารจัดการและบริการ เชน ธรุ กิจบริการทองเท่ียว ธุรกิจ
บริการสขุ ภาพ ธุรกิจบริการโลจิสติกส ธุรกิจภาพยนตร ธุรกิจการจัดประชุมและแสดงนิทรรศการ
บรกิ ารทป่ี รึกษาดานอสังหาริมทรัพย ทีป่ รกึ ษาทางธรุ กิจ
งานอาชีพใหมทั้ง 5 กลุม ในอนาคตจะมีการเติบโตทางธุรกิจมากขึ้น จึงมีความ
ตองการเจาหนา ท่ี บคุ คล พนักงาน เพ่ือควบคุมและปฏิบัติงานที่มีความรู ความสามารถ และทักษะ
ฝมอื เปนจาํ นวนมาก
เร่ืองที่ 4 การประกอบอาชีพในภมู ิภาค 5 ทวปี
ภูมิภาคของโลกประกอบดวย 5 ทวีป ไดแก เอเชีย อเมริกา ยุโรป ออสเตรเลีย
แอฟริกา ซึ่งในแตล ะภมู ิภาคจะมลี กั ษะการประกอบอาชีพท่ีแตกตางกัน เพราะมีความแตกตางกัน
ทางสภาพบริบทของพื้นท่ี ไดแก ทรัพยากรธรรมชาติและพื้นที่ ลักษณะภูมิอากาศ ภูมิประเทศ
ศลิ ปะ วัฒนธรรม ประเพณี วถิ ีชีวิตและการดํารงชีวิตของประชาชน ดังน้ันในการประกอบอาชีพ
ผูประกอบการจําเปนตองเขาใจในความแตกตางของสภาพบริบทของพ้ืนที่ดังกลาว เพราะใน
อนาคต การติดตอทางการคาจะสามารถเชื่อมโยงติดตอซ้ือขายไดอยางไมมีขอบเขตจํากัด
ความแตกตางของลักษณะงานอาชีพในแตละภมู ภิ าค มรี ายละเอยี ดดังน้ี
ภูมิภาคเอเชีย สวนใหญของประเทศในภูมิภาคเอเชีย ประกอบอาชีพเกษตรกรรม
เปนหลัก ไดแก การปลูกพืช การเลี้ยงสัตว การประมง ปาไม รวมถึงงานอาชีพทางดานเหมืองแร และ
อุตสาหกรรมดว ยโดยในแตละอาชพี ที่ประกอบการในภมู ภิ าคเอเชีย มีลักษณะการประกอบอาชพี ดงั น้ี
การปลูกพืช เปนอาชีพเกษตรกรรมที่ประชาชนสวนใหญในแตละประเทศของ
ภูมิภาคเอเชียดําเนินการประกอบเปนอาชีพ แตมีความแตกตางกันไปตามลักษณะภูมิอากาศ
35
ภมู ิประเทศ และการดํารงชีวิตของประชากร โดยประเทศในเขตพ้ืนท่ีราบท่ีมีปริมาณฝนเพียงพอ
และประชากรอาศัยอยอู ยางหนาแนน จะมกี ารดาํ เนินการประกอบอาชพี การปลกู พืชเพอื่ เลยี้ งตนเอง
แตใ นเขตพนื้ ทท่ี ่ีมีภูมิอากาศแบบปาดิบชื้น มีประชากรอยูบางเบา จะประกอบอาชีพเกษตรกรรม
ปลูกพชื แบบเลอื่ นลอย ท้งั นี้ ในพ้ืนท่ีท่ีเปนทงุ หญา มรี ะบบชลประทาน สวนใหญจะประกอบอาชพี
ปลกู พืชพรอมการเลย้ี งสัตว โดยพื้นทใ่ี ดของประเทศท่ีอยูในเขตอากาศหนาว เขตทะเลทราย และ
เขตภูเขา จะเปนพืน้ ท่ีทีไ่ มสามารถประกอบอาชีพเกษตรกรรมปลกู พืชได
สําหรับพืชเศรษฐกิจที่สําคัญนิยมปลูกในประเทศของภูมิภาคเอเชีย เชน ขาวเจา
ขาวโพด มะพราว ปาลมน้ํามัน มะกอก ชา ฝา ย ปอ ปาน ยางพารา เปน ตน
การเลย้ี งสตั ว อาชพี เกษตรกรรมการเลี้ยงสัตว เปนอีกอาชีพหน่ึงที่ประชาชนใน
ประเทศตา ง ๆ ของภูมภิ าคเอเชยี นยิ มประกอบอาชีพ แตม ีความแตกตา งกันไปตามสภาพภมู ปิ ระเทศ
และภูมิอากาศ โดยในประเทศท่ีมีอากาศแหงแลงแถบเอเชียตะวันตกเฉียงใต และตอนกลางของ
ภูมิภาค ซงึ่ มีลกั ษณะพน้ื ที่เปนทงุ หญากึ่งทะเลทราย ประชากรในเขตดงั กลา ว จงึ นิยมเลย้ี งสตั วแบบ
เรร อน ไดแก อูฐ แพะ แกะ โค มา และจามรี โดยการเลีย้ งสตั วใ นลกั ษณะดงั กลาว เปน การประกอบ
อาชีพเพ่ือตองการนมและเนอ้ื นํามาใชเปน อาหาร สวนในเขตอากาศรอนชื้นและอบอุน ประชากร
จะนิยมเลี้ยงสตั วเ พ่ือการบรโิ ภคและการสง เปนสนิ คาออก ไดแก สุกร ไก เปด ท้ังนี้ ในเขตอากาศ
ดังกลา ว จะนิยมเล้ียงโค กระบือ และมา เชนเดียวกัน แตเปน การเลย้ี งไวเพ่ือใชง าน
การประมง การประกอบอาชีพประมงของภูมิภาคเอเชีย มีการดําเนินการประกอบ
อาชีพประมงใน 2 ลกั ษณะ ไดแ ก ประมงนาํ้ จืด และประมงทางทะเล การประกอบอาชีพประมงนํ้าจืด
สวนใหญจะนิยมทําอาชีพประมงควบคูกับการปลูกพืช โดยเฉพาะพืชผัก สําหรับการประกอบ
อาชีพประมงทางทะเล มีการประกอบอาชีพในเขตนานนํ้าแถบชายฝงตะวันออกของภูมิภาคเอเชีย
ตง้ั แตอ า วไทยไปจนถึงชองแคบเบริง ท่ีกระแสน้าํ อุน กุโรชโิ วไหลมาบรรจบกับกระแสนํา้ เยน็ โอยาชโิ ว
เพราะเปนแหลงท่มี ีอาหารสมบูรณ ทําใหมีสัตวน้ําอยูเปนจํานวนมาก ประเทศญ่ีปุนเปนประเทศที่มี
การประกอบอาชีพประมงทางทะเลมากท่ีสุดในโลก นอกจากการประกอบอาชีพประมงจับสัตวนํ้า
ทะเลแลว ตามแนวชายทะเลยงั มีการประกอบอาชีพการเลี้ยงหอยประเภทตาง ๆ รวมถึงสาหรายทะเล
ซึง่ มกี ารประกอบอาชีพเชน น้กี ระจายโดยทว่ั ไปในประเทศท่ีมพี น้ื ท่ีชายทะเล
ปา ไม อาชพี ปาไม มีการดําเนินงานอาชีพใน 2 ลักษณะตามเขตภูมิอากาศ คือ ปาไม
ในเขตรอน จะเปนไมประเภทไมเน้ือแข็ง ในเขตประเทศ ไทย เมียนมาร ลาว กัมพูชา เวียดนาม
อินเดยี และในประเทศกลุมหมเู กาะ สว นปาไมในเขตหนาว จะเปนปา ตน สน โดยมีการนําไมสนมา
ใชทําเปนกระดาษและลงั ไม
เหมืองแร ภูมิภาคเอเชีย เปนภูมิภาคท่ีอุดมไปดวยแรธาตุนานาชนิด เนื่องจากมี
สภาพภูมิประเทศเปนเทือกเขาท่ีมีอายุแตกตางกัน แรธาตุท่ีสําคัญท่ีมีการขุดขึ้นมาใชประโยชน
ไดแก เหล็ก ถา นหนิ ดบี ุก นา้ํ มนั แมงกานิส เพชร พลอย เปนตน
36
อุตสาหกรรม ในภมู ภิ าคเอเชยี การประกอบอาชพี ดา นอตุ สาหกรรม สว นใหญจะ
เปนอตุ สาหกรรมแบบหัตถกรรมหรืออุตสาหกรรมในครัวเรือน ในลักษณะงานฝมือ ของที่ระลึก
เชน ผา ทอ เคร่อื งโลหะ เครอื่ งแกะสลกั เครอ่ื งจักสาน เปนตน สําหรับอุตสาหกรรมใหม ประเทศ
ญีป่ นุ เกาหลี ไตห วัน และสงิ คโปร ถูกจดั ใหเ ปนประเทศในกลมุ อุตสาหกรรมใหม
ลักษณะวิธีการคาในภูมิภาคเอเชีย การคาขายแตเดิมประเทศในภูมิภาคเอเชีย
จะใชวธิ ตี า งคนตา งขาย แตอ นาคตตงั้ แตป พ.ศ. 2558 กลุมประเทศในแถบเอเชียตะวันออกเฉียงใต
ในนามของอาเซียน กําหนดทะลายกําแพงทางภาษี และรว มคาขายกับประเทศในภูมิภาคอ่ืน เพื่อให
สามารถกระจายสนิ คา และสรา งพลังการตอ รองราคา
ภูมภิ าคอเมรกิ า เนือ่ งจากภูมภิ าคอเมริกา มีความแตกตางกันในดานภูมปิ ระเทศ ภูมิอากาศ
และวิถีการดํารงชีวิตคอนขางสูง ในเขตอเมริกาใต และอเมริกาเหนือ การประกอบอาชีพของ
ท้ัง 2 เขต จงึ มีความแตกตางกันไปดวย ดังน้ี
การปลูกพชื นยิ มปลกู พืช มีดงั น้ี
ประเภท อเมริกาใต อเมริกาเหนือ
กาแฟ ขอ มูล ประเภท ขอมูล
โกโก ปลกู มากในประเทศบราซิล มี ไมมกี ารปลูก
มากถึงรอ ยละ 50 ของโลก และ
ขา วโพด ยังมกี ารปลกู ในประเทศ ไมมีการปลกู
โคลัมเบีย และเอกวาดอร
ขาวสาลี ปลกู เพ่ือนาํ มาทําเปน เปน พืชเศรษฐกจิ ของประเทศ
ช็อกโกแลต เคร่อื งด่มื และ สหรัฐอเมริกา ปลูกมากในแถบ
ขนมหวาน นยิ มปลูกใน ภาคกลางของประเทศ
ประเทศ บราซลิ เอกวาดอร ปลูกมากในประเทศ
เปนพืชทป่ี ลกู มากในประเทศ ขา วโพด สหรฐั อเมรกิ า และแคนาดา
บราซลิ รวมถึง ประเทศ โดยประเทศสหรัฐอเมริกา
อารเจนตินา เวเนซเู อลา เปรู จะปลูกขา วสาลีฤดหู นาว
และโคลัมเบีย สวนประเทศแคนาดา
นยิ มปลูกในประเทศบราซิล ขา วสาลี
อารเ จนตินา ชลิ ี
37
ประเภท อเมริกาใต ประเภท อเมริกาเหนอื
ขอ มลู ขอมูล
ออ ย
กลวย ปลกู มากในประเทศบราซิล ฝาย จะปลกู ขา วสาลีฤดูใบไมผลิ
ฝาย ไมมีการปลูก
ปลกู มากในประเทศเอกวาดอร
ปลูกมากในประเทศบราซิล ไมมีการปลกู
อารเจนตินา ปลูกมากในบริเวณลมุ แมนา้ํ
มสิ ซิสซิปป ภาคตะวนั ตกของ
ไมมีการปลกู ถวั่ เหลอื ง รฐั แอริโซนา และแคลฟิ อรเ นีย
ปลกู มากในเขตทรี่ าบภาคกลาง
ไมมกี ารปลกู ยาสบู ของประเทศสหรัฐอเมรกิ า
เปน พชื เศรษฐกจิ ท่ีสราง
ช่อื เสียงใหแกป ระเทศ
สหรฐั อเมรกิ า ปลกู มากในเขต
ภาคตะวันออกของประเทศ
สหรฐั อเมรกิ า
ไมมกี ารปลกู ขาวเจา ปลกู มากในเขตภาคใตข อง
ประเทศสหรฐั อเมริกา
ไมมกี ารปลกู ผกั และผลไม ในภาคตะวันออกของประเทศ
ตาง ๆ สหรัฐอเมริกา มกี ารปลกู เชอรรี่
สตรอเบอรี แอปเปล ภาคใต
ปลูกสม สับปะรด ชายฝง
ตะวนั ตกเฉียงใต ปลกู องนุ
มะกอก สม มะนาว
การเลีย้ งสตั ว ในเขตอเมรกิ าใต และอเมริกาเหนอื มีการเลี้ยงสตั ว ดังน้ี
โคเนื้อ ในเขตอเมริกาใต นิยมเลี้ยงในประเทศบราซิล อารเจนตินา และอุรุกวัย
สวนในเขตอเมริกาเหนือ นิยมเลี้ยงในแถบตะวันตกของประเทศ และจะเล้ียงเปนฟารมปศุสัตว
ขนาดใหญ
โคนม เขตอเมรกิ าใตไมม กี ารเลีย้ งโคนม ในสว นของอเมริกาเหนือ นิยมเล้ียงใน
เขตทร่ี าบภาคกลางและภาคตะวนั ออกของประเทศสหรัฐอเมริกา โดยพ้ืนท่ีดังกลาว จะมีการปลูก
38
ขาวโพด และถั่วเหลือง ซ่ึงมีการนําขาวโพด และถั่วเหลือง มาใชเปนอาหารสัตว เพื่อใหโคนมมี
สุขภาพแขง็ แรง
แกะ เขตอเมริกาใต นิยมเล้ียงในประเทศอุรุกวัย โดยมีการเล้ียงจํานวนมากเปน
อนั ดับ 2 ของโลก ในเขตอเมริกาเหนอื นยิ มเลยี้ งในภาคตะวันตก และตะวันตกเฉยี งใตของประเทศ
สหรฐั อเมรกิ า
สุกร เขตอเมริกาใต นิยมเลี้ยงในประเทศเปรู และบราซิล สวนเขตอเมริกาเหนือ
นยิ มเล้ยี งในเขตที่เล้ียงโคนม โดยใชห างนมนาํ มาเล้ยี งสุกร
ปา ไม เขตอเมริกาใตเปน แหลงไมเ น้ือแข็งทมี่ อี ยอู ยา งอุดมสมบรู ณแ ละกวางขวาง
แตนํามาใชประโยชนไดนอย เพราะการคมนาคมไมสะดวก สําหรับเขตอเมริกาเหนือ สวนใหญ
ประกอบอาชีพปาไม ท่ีสวนใหญเปนไมเ นื้อออน
เหมืองแร เขตอเมรกิ าใตและอเมรกิ าเหนือ มแี รธาตทุ ่สี ําคญั อน่ื ไดแก
อเมริกาใต อเมรกิ าเหนอื
ขอ มูล
ประเภท ขอมูล ประเภท
ถา นหนิ มีมากแถบเทอื กเขาดานตะวันตก
ไมมที รัพยากรและการผลิต ของประเทศสหรัฐอเมริกา
เหลก็ มมี ากในประเทศบราซิล มกี าร เหล็ก มมี ากที่บริเวณเทือกเขาเมซาบี
ผลติ มากเปนอันดับ 2 ของโลก รฐั มนิ นิโซตา และเปนแหลง
รวมท้งั เวเนซูเอลา โบลเิ วีย ชิลี ทองคาํ เหลก็ ท่สี ําคัญทสี่ ดุ ในเขตอเมริกา
ทองแดง เหนือ
ทองคาํ มีมากในประเทศบราซลิ
แหลง ผลิตทีส่ าํ คญั อยทู เี่ ทือกเขา
ทองแดง มีมากเปนอนั ดบั ท่ี 1 ของโลก รอกกี้
ในประเทศชลิ ี รวมทั้งใน แหลงผลิตท่สี ําคญั อยทู ่ีเทอื กเขา
ประเทศบราซลิ และเปรู รอกกี้
ไมม ีทรัพยากรและการผลติ บอกไซด เปนแรธ าตุท่ีนาํ มาใชเ พ่อื การ
ผลติ อลูมเิ นียม มมี ากท่รี ัฐ
ดบี กุ ประเทศโบลเี วยี มีการผลติ ดบี กุ อารคันซอ
มากเปน อนั ดบั 2 ของโลก
ไมมที รัพยากรและการผลติ
สังกะสี ผลติ มากในประเทศเปรู บราซิล
ไมม ที รัพยากรและการผลิต
39
ประเภท อเมรกิ าใต ประเภท อเมริกาเหนอื
นา้ํ มนั นํา้ มัน ขอ มูล
ขอ มลู
และอารเ จนตนิ า มแี หลงผลิตทางตอนเหนอื ของ
ประเทศเวเนซูเอลา เปน ประเทศ รัฐแอลาสกา และภาคกลาง
ท่มี ีการผลิตมากที่สดุ และยังมี ตอนลางของประเทศแคนาดา
ในประเทศบราซิล โบลเี วีย
เอกวาดอร
อุตสาหกรรม ในเขตอเมริกาใต จะเปนอุตสาหกรรมเบา เชน การผลิตน้ําตาล
อาหารกระปอง ประเทศท่ีมอี ตุ สาหกรรมเจริญกา วหนา เปน อุตสาหกรรมขนาดใหญ ไดแก ประเทศ
บราซิล และอารเ จนตินา เปนการผลติ เหล็กกลา น้ํามันและปโตรเคมี สวนอเมริกาเหนือ เปนสวน
ภูมิภาคทเี่ จรญิ กา วหนามากทางอตุ สาหกรรม โดยเฉพาะการผลติ ในอุตสาหกรรมหลัก
ภูมิภาคยุโรป การดําเนินงานอาชีพของประเทศในภูมิภาคยุโรป มีลักษณะการประกอบ
อาชพี ดงั น้ี
การปลกู พชื พนื้ ท่กี ารปลูกพชื ของภูมิภาคยุโรป สวนใหญป ลกู ในยุโรปตะวนั ออก
และภาคใตข องประเทศอังกฤษ ภาคเหนอื และภาคตะวนั ตกของประเทศฝรั่งเศส รวมถึงตอนเหนือ
ของประเทศเยอรมัน พืชท่ีสําคัญและมีผลตอ เศรษฐกิจไดแ ก
ขาวสาลี ปลูกมาในประเทศยูเครน ฝรั่งเศส อิตาลี สเปน โรมาเนีย
บัลกาเรีย เยอรมัน ฮังการี
ขา วโอต ขา วบารเลย ถั่ว มนั ฝรง่ั ปลกู ไดโ ดยทว่ั ไปของประเทศตาง ๆ ใน
ภูมิภาคยโุ รป
องุน สม มะกอก มะนาว แอปเปล ปลูกมากในประเทศท่ีมีลักษณะอากาศ
แบบเมดเิ ตอรเรเนียน ไดแ ก ประเทศอิตาลี ฝรั่งเศส สเปน กรซี
การเลย้ี งสตั ว สัตวเศรษฐกิจท่ีนิยมเลี้ยง ไดแก กวางเรนเดียร โคเนื้อ โคนม แพะ
แกะ มา และสุกร โดยการเลีย้ งสัตวเศรษฐกิจดังกลา ว ข้นึ อยกู ับความเหมาะสมของลักษณะภูมิประเทศ
และภูมอิ ากาศ
การประมง แหลงทาํ การประมงทสี่ าํ คญั ในภูมภิ าคยุโรป ไดแ ก
ทะเลเหนอื โดยเฉพาะบริเวณกระแสน้ําอุนแอตแลนติกเหนือบรรจบกับ
กระแสนํ้าเย็นกรีนแลนดตะวันออก ทําใหมีอาหารสมบูรณ ปลาชุกชุม ประเทศที่ประกอบอาชีพ
ประมงในเขตนี้ ไดแ ก ประเทศนอรเวย ไอซแ ลนด และสหราชอาณาจักร
40
ทะเลดาํ ทะเลสาบแคสเปย น และแมนาํ้ โวลกา มกี ารจับปลาสเตอรเจียน
นํามาทาํ เปนไขปลาคารเวยี ร
ปา ไม อาชพี ปา ไม มีการประกอบอาชีพอยางจริงจังในประเทศฟนแลนด สวีเดน
รัสเซยี นอรเ วย สวนใหญเปน ปา ไมในเขตหนาว มีปาตนสนจํานวนมาก โดยมีการนํามาใชทําเปน
เยอื่ กระดาษ
เหมอื งแร ภมู ิภาคยโุ รป เปน แหลงแรท ่ีสาํ คัญจํานวนมาก ไดแ ก
นํา้ มันและกาซธรรมชาติ อยูในบริเวณทะเลเหนือ และรอบทะเลสาบแคสเปยน
บอกไซด นาํ มาถลงุ เปน อลมู ิเนียม มีมากในประเทศฝร่ังเศส ยูโกสลาเวีย
ฮังการี และเทือกเขาคูราล ในประเทศรัสเซีย
โพแทช นํามาใชในอุตสาหกรรมปุยและสบู มีมากในประเทศฝรั่งเศส
เยอรมัน สเปน และรสั เซยี
อุตสาหกรรม ในภมู ิภาคยโุ รป ถอื ไดว า เปนภมู ิภาคอุตสาหกรรม ประชากรสวนใหญ
จะประกอบอาชีพอยใู นภาคอตุ สาหกรรม แหลง อตุ สาหกรรมในภูมภิ าคยโุ รปจะอยูแถบยุโรปตะวันตก
เชน ประเทศฝร่ังเศส สหราชอาณาจักร เยอรมัน เนเธอรแลนด รวมถึง ประเทศรัสเซีย ยูเครน
เบลารุส ในแถบยุโรปตะวนั ออก
ภูมิภาคออสเตรเลีย การประกอบอาชีพของภูมิภาคออสเตรเลีย มีลักษณะการประกอบ
อาชพี ดงั น้ี
การปลกู พืช เกษตรกรรมการปลูกพืช ถือวาเปนอาชีพหลักของภูมภิ าคออสเตรเลีย
โดยในการดาํ เนนิ การอาชพี เกษตรกรรมปลกู พชื เกษตรกรมกี ารนําเครื่องจักรกลเขามาชวยในการ
ทําการเกษตร เน่ืองจากพื้นท่ีของออสเตรเลียมีความแหงแลง และใชในการขุดนํ้าบาดาล พืชที่
สําคัญและมีผลตอเศรษฐกจิ ไดแก ขาวสาลี เปนพืชเศรษฐกิจที่สําคัญท่ีสุดของภูมิภาคออสเตรเลีย
นอกจากนั้น ยังมีการปลูกขาวเจา กลวย ออย สับปะรด องุน และสม กระจายในพ้ืนท่ีภูมิภาค
ออสเตรเลยี ตามความเหมาะสมของสภาพภูมิประเทศ และภมู อิ ากาศ
การเล้ียงสัตว ในภูมิภาคออสเตรเลีย นิยมเล้ียงสัตว ไดแก แกะ เปนการเล้ียงไว
เพ่ือการใชขน โคเน้ือ มีการเล้ียงในบริเวณทุงหญาสะวันนา และโคนม มีการเล้ียงในบริเวณ
เขตอากาศอบอนุ
การประมง ภูมิภาคออสเตรเลีย โดยเฉพาะฝงตะวันออก เปนบริเวณท่ีมีปลา
จาํ นวนมาก ไดแก ปลาทูนา ปลาฉลาม ปลาแซลมอน ปลากระบอก รวมท้ัง มีการเล้ียงหอยมุกที่
เกาะเทอรส เตย แตงานอาชีพดานประมง มีปญหาไมสามารถจับปลาที่มีชุกชุมไดมาก เพราะขาด
แรงงาน
ปาไม อาชีพปาไม มีการประกอบอาชีพปาไม ประเภทปายูคาลิปตัส เพราะมี
จํานวนมากในแถบตะวนั ออกของภูมิภาคออสเตรเลีย
41
เหมอื งแร ภมู ิภาคออสเตรเลยี เปน แหลง แรทสี่ าํ คญั จํานวนมาก ไดแ ก
เหลก็ มมี ากทร่ี ฐั เวสเทิรน ออสเตรเลีย
ถานหิน มมี ากทีซ่ ดิ นีย นิวคาสเซลิ
ทองคํา มีมากทรี่ ฐั เวสเทิรน ออสเตรเลยี
ดบี กุ มมี ากทร่ี ัฐควนิ สแลนด
อุตสาหกรรม ในภมู ภิ าคออสเตรเลยี มีการดาํ เนินงานอาชีพอุตสาหกรรมการเกษตร
เปน สวนใหญ ไดแก การผลิตสิ่งทอ น้ําตาล นม เนย อาหารกระปอง ดานอุตสาหกรรมอื่น มีการ
ผลติ เครอ่ื งใชไฟฟา การตอเรือ สวนใหญภาคอุตสาหกรรมจะประกอบการในแถบตะวันออกเฉียงใต
ของภูมิภาคออสเตรเลีย
ภมู ภิ าคแอฟรกิ า การประกอบอาชีพของภมู ิภาคแอฟริกามลี ักษณะการประกอบอาชีพ ดงั น้ี
การปลูกพืช ภูมภิ าคแอฟริกาสว นใหญ เปน ทะเลทราย ดนิ ขาดความอุดมสมบูรณ
ประชากรจะปลูกพืชไดเฉพาะบริเวณทร่ี าบดินตะกอนของปากแมนํ้าสายตาง ๆ ทําใหผลผลิตที่ได
ไมเพยี งพอตอการบรโิ ภคของประชาชนในภมู ภิ าค ทัง้ นี้ แหลงปลกู พืช เลี้ยงสตั ว และอุตสาหกรรม
ท่สี าํ คญั ของภมู ิภาคแอฟรกิ า ไดแ ก
แหลงปลูกพืชเมืองรอนในเขตรอนชื้น บริเวณลุมน้ําคองโก ชายฝงแอฟริกา
ตะวันออก และตะวันตก มีการปลูกโกโกมากที่สุด นอกจากนั้น มีการปลูกปาลมนํ้ามัน กาแฟ
ถั่วลิสง ออย ยางพารา เผือก และมัน
ลุมแมน า้ํ ไนล เปนพ้ืนทอ่ี ากาศรอ นแหง แลงสวนใหญปลูก ฝาย ชา อินทผาลัม
ขา วฟา ง
เขตเมดเิ ตอรเ รเนียน บริเวณดานเหนือสุดและดา นใตสุดของภมู ภิ าค มีการปลกู
สม องนุ มะกอก และขา วสาลี
เขตอบอุนชนื้ บริเวณดานตะวนั ออกเฉยี งเใตข องภูมภิ าค มกี ารปลูกผลไม
ขาวสาลี ขา วโพด
การเล้ียงสัตว ในภูมภิ าคแอฟรกิ า มีการเลย้ี งสตั วแ ละการลา สตั วป า ดังน้ี
โคเขายาว เล้ียงไวเ พ่ือใชแรงงาน ใชเ นอื้ เปนอาหาร และเปนการแสดงฐานะ
ทางสังคม สว นใหญจะเลยี้ งในเขตภาคตะวนั ออกและภาคใตของภูมภิ าค
โคเนื้อ และโคนมพนั ธตุ างปะเทศ นยิ มเลี้ยงในเขตท่มี ภี ูมอิ ากาศอบอุนชื้น
แพะ แกะ เปนการเลย้ี งแบบเรร อน ในเขตทะเลทราย
อูฐ เล้ียงไวเ พื่อใชเปนพาหนะและอาหาร นยิ มเลีย้ งในเขตทะเลทราย
การลาสัตวปาโดยชนพ้ืนเมือง สัตวปาที่เปนท่ีนิยมในการลาเพื่อนํามา
จาํ หนาย ไดแก งาชาง และนอแรด
42
เหมืองแร ภูมิภาคแอฟริกา เปนภูมิภาคที่มีแหลงแรเปนจํานวนมาก โดยเฉพาะ
เพชร มีปริมาณมากกวาทกุ ภมู ิภาค โดยแรธ าตุท่สี าํ คญั อืน่ ไดแ ก
ถา นหนิ มีมากทีส่ าธารณรัฐแอฟรกิ าใต
น้ํามันปโตรเลียม มีมากท่ีทะเลทรายสะฮารา ประเทศแอฟริกาเหนือ
ลิเบีย แอลจีเรีย อยี ปิ ต ไนจเี รีย
กาซธรรมชาติ มีมากในที่ลุมของแอฟริกาเนือ และแอฟริกาตะวันตก
โดย ประเทศแอลจเี รยี มปี ริมาณกาซธรรมชาติ มากท่สี ดุ แหงหนึ่งของโลก
ทองคาํ มีมากทส่ี าธารณรฐั แอฟรกิ าใต
ทองแดง มมี ากท่ีประเทศซาอรี
อุตสาหกรรม ในภูมิภาคแอฟริกา มีการดําเนินงานอาชีพดานอุตสาหกรรม โดย
เฉพาะทสี่ าธารณรัฐแอฟรกิ าใต
เร่ืองที่ 5 การพฒั นากระบวนการจัดการงานอาชพี ในชมุ ชน สังคม ประเทศ และภมู ภิ าค 5 ทวปี
ไดแ ก ทวปี เอเชยี ทวปี ออสเตรเลีย ทวีปอเมริกา ทวปี ยโุ รป และทวปี แอฟรกิ า
1. การจดั การการผลิต
กระบวนการของการจัดการการผลิต
มีความสําคัญ จําเปน ตองมีข้ันตอนท่ีกําหนดไวกอนหลังอยางชัดเจน เพื่อให
ผูดําเนินการสามารถปฏิบัติตามไดอยางถูกตอง กระบวนการผลิต จําเปนตองมีความเขาใจและ
สามารถจัดระบบการบรหิ ารจัดการ ไดอ ยางมปี ระสทิ ธิภาพ เพราะเปนการกาํ หนดแนวทางการส่ือสาร
การประกนั คณุ ภาพ การประเมิน การควบคมุ การติดตามตรวจสอบ การดําเนินงาน การแกปญหา
เปน เครื่องมอื ในการสรา งนวตั กรรม รวมถึงการพยากรณส ่งิ ที่จะเกดิ ข้ึน
กระบวนการของการจดั การ เปน การนําทรพั ยากรมาเปนผลผลติ ดงั น้ี 43
ปจ จยั นาํ เขา กระบวนการ ปจจัยนาํ ออก
Inputs Process Outputs
ทรพั ยากรการจดั การ หนาท่กี ารจดั การ ผลลัพธ
1. คน 1. การวางแผน 1. สินคา
2. เงนิ 2. การจัดองคกร
3. วัสดุอุปกรณ 3. การจัดคนเขา ทาํ งาน 2. บรกิ าร
4. การอํานวยการ
4. วธิ กี าร 5. การควบคมุ
จากแผนภาพขางตน ปจจัยนําเขา ไดแก คน เงิน วัสดุอุปกรณ และวิธีการ ถูกนําเขาสู
กระบวนการของการแปรรูปทรัพยากร โดยหนาท่ีการจัดการ 5 ประการ คือ การวางแผน การจัด
องคกร การจัดคนเขาทํางาน การอํานวยการ และการควบคุม เม่ือผานกระบวนการแปรรูปแลว
ผลลัพธท ไี่ ดจ ะเปนปจจยั นาํ ออก ไดแ ก สนิ คาตาง ๆ หรืออาจอยูใ นรปู ของการบรกิ าร
กระบวนการของการจัดการการผลิต เปนการวิเคราะห ลักษณะ ขอบขายท่ีเกี่ยวของกับ
การจัดการการผลิต ไดแก การวางแผน การจัดทําโครงการ การใชวัสดุอุปกรณ การใชแรงงาน
การใชสถานที่ และการใชท นุ
แนวคิดสาํ คญั
การวางแผนงานเปนกจิ กรรมเบ้อื งตนของการปฏิบัติงานใหผูปฏิบัติงานทราบถึงแนวทาง
วาตอ งทําอะไร ท่ีไหน เม่ือใด อยางไร โดยมีกระบวนการของการวางแผนเพ่ือใหไดแผนงานที่ดี
สามารถปฏิบัติใหสําเร็จไดตามวัตถุประสงคท่ีกําหนด การวางแผนงานท่ีดีจะเปนเครื่องมือของ
ฝา ยปฏบิ ตั ิการทจี่ ะชว ยใหการดําเนินการมคี วามชดั เจน ราบร่นื และประหยดั ทรพั ยากร
การดําเนินกิจกรรมใดก็ตาม สิ่งท่ีตองมีอันดับแรกน้ันก็คือ วัตถุประสงคหรือเปาหมาย
การประกอบธรุ กจิ กเ็ ชน กนั จะตอ งกาํ หนดวัตถปุ ระสงคห รือเปาหมายใหช ัดเจน การวางแผนจะเปน
การกําหนดแนวทางของการดําเนินกิจกรรมวาจะทําอะไร เมื่อใด อยางไร โดยใชทรัพยากรตาง ๆ
เพอ่ื ใหเกดิ ความสําเรจ็ ตามวตั ถุประสงคท ี่ตองการ