หนงั สอื เรียนสาระการพฒั นาสงั คม
รายวชิ าการพฒั นาตนเอง ชุมชน สังคม
(สค21003)
ระดบั มัธยมศกึ ษาตอนตน้
หลักสตู รการศึกษานอกระบบระดับการศกึ ษาขนั้ พ้นื ฐาน
พุทธศกั ราช 2551
(ฉบับปรบั ปรุง พ.ศ. 2560)
ห้ามจาหน่าย
หนังสอื เรียนเล่มนจ้ี ดั พมิ พด์ ว้ ยเงินงบประมาณแผน่ ดินเพื่อการศึกษาตลอดชวี ิตสาหรับประชาชน
ลขิ สิทธิ์เปน็ ของ สานักงาน กศน. สานักงานปลัดกระทรวงศกึ ษาธกิ าร
สานกั งานสง่ เสรมิ การศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั
สานักงานปลดั กระทรวงศกึ ษาธกิ าร
กระทรวงศึกษาธกิ าร
หนงั สือเรียนสาระการพฒั นาสังคม
รายวชิ าการพฒั นาตนเอง ชุมชน สงั คม
(สค21003) ระดบั มธั ยมศึกษาตอนตน้
ฉบับปรบั ปรุง พ.ศ. 2560
ลขิ สิทธเิ์ ป็นของ สานักงาน กศน. สานกั งานปลดั กระทรวงศกึ ษาธกิ าร
เอกสารทางวิชาการลาดับท่ี 22/2555
3
คาํ นาํ
กระทรวงศึกษาธิการไดประกาศใชหลักสูตรการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน
พุทธศักราช 2551 เมื่อวันท่ี 18 กันยายน พ.ศ. 2551 แทนหลักเกณฑและวิธีการจัดการศึกษานอกโรงเรียน
ตามหลกั สตู รการศึกษาข้ันพนื้ ฐาน พุทธศักราช 2544 ซ่งึ เปนหลกั สตู รทีพ่ ฒั นาขนึ้ ตามหลกั ปรชั ญาและความเชอื่
พ้ื น ฐ า น ใ น ก า ร จัด ก า ร ศึ ก ษ า น อ ก โ ร ง เ รี ย น ที่ มีก ลุ ม เ ป า ห ม า ย เ ป น ผู ใ ห ญ มี ก า ร เรี ย น รู แ ล ะ ส่ั ง ส ม ค ว า ม รู
และประสบการณอยา งตอเนอื่ ง
ในปงบประมาณ 2554 กระทรวงศึกษาธิการไดกําหนดแผนยุทธศาสตรในการขับเคลื่อนนโยบาย
ทางการศกึ ษาเพอ่ื เพิ่มศกั ยภาพและขดี ความสามารถในการแขง ขันใหป ระชาชนไดมีอาชีพทีส่ ามารถสรางรายได
ท่ีมัง่ คงั่ และม่ันคง เปนบุคลากรทีม่ ีวนิ ัย เปย มไปดว ยคณุ ธรรมและจรยิ ธรรม และมีจติ สํานึกรับผดิ ชอบตอตนเอง
และผูอ่นื สํานักงาน กศน. จึงไดพิจารณาทบทวนหลักการ จุดหมาย มาตรฐาน ผลการเรียนรูท่ีคาดหวัง และ
เนื้อหาสาระ ทั้ง 5 กลุมสาระการเรียนรู ของหลักสูตรการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน
พุทธศักราช 2551 ใหมีความสอดคลองตอบสนองนโยบายกระทรวงศึกษาธิการซึ่งสงผลใหตองปรับปรุง
หนงั สือเรยี น โดยการเพิ่มและสอดแทรกเนือ้ หาสาระเกี่ยวกับอาชีพ คุณธรรม จริยธรรมและการเตรียมพรอม
เพือ่ เขาสูป ระชาคมอาเซียน ในรายวิชาท่ีมีความเกี่ยวของสัมพันธกัน แตยังคงหลักการและวิธีการเดิมในการ
พัฒนาหนังสือท่ีใหผูเรียนศึกษาคนควาความรูดวยตนเอง ปฏิบัติกิจกรรม ทําแบบฝกหัด เพ่ือทดสอบความรู
ความเขา ใจ มีการอภปิ รายแลกเปลีย่ นเรยี นรูก ับกลุม หรอื ศึกษาเพม่ิ เติมจากภูมิปญญาทองถิ่น แหลงการเรียนรู
และส่ืออนื่
การปรับปรุงหนังสือเรียนในคร้ังน้ี ไดรับความรวมมืออยางดียิ่งจากผูทรงคุณวุฒิในแตละสาขาวิชา
และผูเก่ียวของในการจัดการเรยี นการสอนที่ศึกษาคน ควา รวบรวมขอ มลู องคความรูจากสื่อตา ง ๆ มาเรียบเรียง
เนอ้ื หาใหครบถวนสอดคลองกบั มาตรฐาน ผลการเรียนรทู ีค่ าดหวัง ตวั ชวี้ ดั และกรอบเนื้อหาสาระของรายวิชา
สํานักงาน กศน.ขอขอบคุณผมู ีสวนเกี่ยวของทุกทานไว ณ โอกาสน้ี และหวังวาหนังสือเรียนชุดน้ีจะเปน
ประโยชนแกผเู รยี น ครู ผสู อน และผูเกยี่ วขอ งในทุกระดับ หากมขี อเสนอแนะประการใด สาํ นักงาน กศน.
ขอนอมรับดว ยความขอบคุณย่ิง
สารบญั 4
คาํ แนะนําการใช้หนังสือเรียน หน้า
โครงสร้างรายวชิ า ก
บทที 1 ความรู้เบืองต้นเกยี วกบั การพฒั นาตนเอง ชุมชน สังคม ข
1
ความหมาย และความสาํ คัญของการพฒั นาตนเอง และครอบครัว 2
แนวทางในการพัฒนาตนเอง 4
ความหมาย และความสาํ คญั ของการพฒั นาชมุ ชน 5
หลกั การพฒั นาชมุ ชน 6
บทที 2 ข้อมูลทีเกียวข้องกบั การพฒั นาชุมชน 9
ความหมาย ความสาํ คญั และประโยชนข องขอ มลู 10
ขอ มลู ทเ่ี ก่ียวขอ งกบั การพัฒนาชุมชน 12
เทคนคิ และวธิ กี ารเกบ็ ขอ มลู ชมุ ชน 13
การวิเคราะหข อมูล 15
บทที 3 การจดั ทาํ แผนชุมชน 17
กระบวนการจัดทาํ แผนพฒั นาชมุ ชน 18
ขั้นตอนการจัดทาํ ประชาพจิ ารณแ ผนชมุ ชน 20
ขน้ั ตอนการทาํ เวทีประชาคม 22
การมีสวนรว มของประชาชนในการพฒั นาชมุ ชน 24
ระดับการมสี วนรว มของประชาชนในการพฒั นาชุมชน 27
บทที 4 การเผยแพร่ผลการปฏิบัติ 30
การเขยี นโครงการพัฒนาชมุ ชน 31
การเขียนรายงานผลการดําเนนิ งานพัฒนาชมุ ชน 34
บทที การพฒั นาอาชีพในชุมชนและสังคม 39
บรรณานุกรม 60
ภาคผนวก ตวั อย่างโครงการ 62
ก5
คาํ แนะนาํ ในการใช้หนงั สือเรียน
หนงั สอื เรียนสาระการพฒั นาสังคม รายวิชาการพฒั นาตนเอง ชุมชน สังคม รหัสวชิ า
สค21003 ระดบั มธั ยมศกึ ษาตอนตน เปนหนงั สอื เรยี นสาํ หรับผเู รียนทลี่ งทะเบยี นเรียนเปน นกั ศึกษา
นอกระบบ
ในการศึกษาแบบเรียนเลม นผี้ ูเรียนควรปฏิบัติดังนี้
1. ศกึ ษาโครงสรา งรายวชิ าใหเขาใจในหัวขอ สาระสาํ คญั ผลการเรียนรูทค่ี าดหวงั และ
ขอบขา ยเนือ้ หาเปน ลาํ ดบั แรก
2. ศึกษารายละเอยี ดเนอื้ หาของแตล ะบทอยา งละเอยี ด และทํากจิ กรรมตามท่กี าํ หนด
แลว ตรวจสอบกบั แนวตอบกจิ กรรมทีก่ าํ หนดไวทา ยเลม ถา ผเู รยี น ตอบผดิ เปน
สว นใหญค วรกลบั ไปศึกษาและทาํ ความเขา ใจในเนอ้ื หาน้ันใหม ใหเ ขา ใจกอ นที่จะ
ศกึ ษาเรอ่ื งตอ ไป
3. ปฏบิ ัติกจิ กรรมทา ยเรื่องของแตล ะเร่ืองใหค รบถว น เพื่อเปน การสรปุ ความรู
ความเขา ใจของเนอ้ื หาในเรอ่ื งนน้ั ๆ อีกครงั้ และการปฏบิ ัติกจิ กรรมของแตละเนอ้ื หา
แตละเรือ่ ง ผเู รยี นสามารถนาํ ไปตรวจสอบกบั ครูผรู แู ละเพอื่ น ๆ ทีร่ วมเรียนใน
รายวชิ าและระดบั เดยี วกนั ได
4. หนังสอื เลม นม้ี ี 5 บท คือ
บทที่ 1 ความรูเบือ้ งตนเกี่ยวกบั การพัฒนาตนเอง ชุมชน สงั คม
บทที่ 2 ขอมูลท่เี ก่ียวขอ งกบั การพฒั นาชมุ ชน
บทท่ี 3 การจัดทาํ แผนชมุ ชน
บทท่ี 4 การเผยแพรผ ลการปฏิบตั ิ
บทท่ี 5 การพัฒนาอาชพี ในชุมชนและสังคม
ข6
โครงสรางรายวิชาการพฒั นาตนเอง ชมุ ชน สังคม รหสั วิชา สค 21003
ระดบั มธั ยมศึกษาตอนตน
สาระสาํ คญั
1. ความหมาย ความสําคญั หลกั การและประโยชนข องการพัฒนาตนเอง ชมุ ชน สังคม
2. ความสําคญั ของขอ มูล วธิ กี ารจดั เก็บและวิเคราะหขอ มลู อยา งงา ย
3. การมีสว นรว มในการวางแผนพฒั นาตนเอง ชุมชน สงั คม และการนาํ ไปใช
ในชวี ิตประจาํ วนั
4. การพฒั นาอาชีพในชุมชนและสังคม
ผลการเรียนรูทค่ี าดหวงั
1. อธิบายสาระสาํ คัญทเี่ กย่ี วของกับการพัฒนาตนเอง ชมุ ชน สงั คม
2. จัดเก็บและวิเคราะหขอ มูลอยา งงา ย
3. มีสว นรว มและนําผลจากการวางแผนพฒั นาตนเอง ชุมชน สงั คม ไปใชในชีวิต
ประจาํ วนั
4. วิเคราะหศักยภาพของประเทศเพื่อการพัฒนาอาชีพ
ผลการเรียนรูท่คี าดหวงั
บทท่ี 1 ความรเู บื้องตน เก่ยี วกบั การพัฒนาตนเอง ชุมชน สังคม
บทท่ี 2 ขอ มลู ทีเ่ กยี่ วขอ งกบั การพัฒนาชมุ ชน
บทท่ี 3 การจดั ทาํ แผนชมุ ชน
บทท่ี 4 การเผยแพรผ ลการปฏิบัติ
บทที่ 5 การพัฒนาอาชีพในชุมชนและสงั คม
7
แบบทดสอบกอ นเรยี น
1. ขอ ใดไมใชหลกั ของการพฒั นาชุมชน
ก. ประชาชนมีสว นรว ม
ข. ทําเปนกระบวนการและประเมนิ ผลอยา งตอ เนื่อง
ค. ยดึ ประชาชนเปน หลกั ในการพฒั นา
ง. พัฒนาทกุ ดา นไปพรอม ๆ กนั อยา งรวบรดั และเรงรบี
2. แนวทางในการพัฒนาตนเองอนั ดบั แรกคอื อะไร
ก. ปลกุ ใจตนเอง
ข. สาํ รวจตนเอง
ค. ลงมอื พัฒนาตนเอง
ง. ปลกู ฝงคุณสมบตั ิทีด่ งี าม
3. กิจกรรมใดเปนกจิ กรรมระดบั ประเทศ
ก. การสมั มนา
ข. การสาํ รวจประชามติ
ค. การประชมุ กลุมยอ ย
ง. การจดั ทาํ เวทีประชาคม
4. ขอ ใดเปน บทบาททสี่ าํ คญั ท่สี ดุ ของประชาชนในการดูแลชมุ ชน
ก. เขารว มประชมุ ทุกครงั้
ข. แสดงความเหน็ ในการประชมุ
ค. เหน็ คลอยตามผนู าํ ทกุ เร่ือง
ง. ทาํ กจิ กรรมพัฒนาชมุ ชนรวมกนั ทุกครงั้
8
5. สถาบนั ใดทมี่ สี วนสําคญั เปน ลาํ ดบั แรกปอ งกนั ไมใหเ กิดปญหาสังคม
ก. สถาบนั การเงิน
ข. สถาบนั ศาสนา
ค. สถาบนั ครอบครวั
ง. สถาบนั การศึกษา
6. ขอ ใดคอื การรวมตวั ของสมาชิกในชมุ ชนเพื่อรวมกนั ทํากจิ กรรมตา ง ๆ ในชมุ ชน
ดว ยตนเอง
ก. เวทีประชาคม
ข. การจดั ทาํ ประชาพจิ ารณ
ค. การเลอื กตงั้
ง. การเขยี นโครงการ
7. ขอใดไมใชเทคนคิ การเกบ็ รวบรวมขอ มลู ในชมุ ชน
ก. อธบิ าย
ข. สังเกต
ค. สมั ภาษณ
ง. สนทนากลุม
8. วัตถุประสงคข องการจดั ทาํ ประชาพจิ ารณค อื ขอใด
ก. ตอบสนองความตองการของผบู รหิ าร
ข. ใหเกิดความคดิ รวบยอดในการปฏบิ ตั งิ าน
ค. ปอ งกนั การประทว งของผเู สียประโยชน
ง. รวบรวมความคิดเหน็ ของผูเกยี่ วขอ ง
9
9. ขอ ใดบง บอกถงึ ความสาํ เร็จของโครงการ
ก. การประเมินโครงการ
ข. ตวั ชวี้ ัดผลสําเรจ็ ของโครงการ
ค. การสรุปผลและรายงานโครงการ
ง. วตั ถุประสงคของโครงการ
10. ขอใดเปน วธิ กี ารเขียนรายงานผลการดาํ เนนิ งานท่ถี กู ตอ ง
ก. ถูกตอง กระชับรัดกมุ ชัดเจนและสละสลวย
ข. เขียนบรรยายรายละเอยี ดใหม ากท่ีสดุ
ค. เขยี นใหเปนภาษาวชิ าการมาก ๆ
ง. เขยี นโดยแบงเปน ขอ ยอ ย ๆ
เฉลย 1. ง 2. ข 3. ข 4. ง 5. ค
6. ก 7. ก 8. ง 9. ข 10. ก
1
บทที 1
ความรู้เบืองต้นเกยี วกับการพฒั นาตนเอง ชุมชน สังคม
สาระสาํ คญั
ความรูเบอื้ งตน เกีย่ วกับการพัฒนาตนเอง ครอบครัวและชุมชน ประกอบดวย ความหมาย
ความสําคัญ แนวทางการพัฒนาตนเอง ความหมาย ความสําคัญ และหลักการพัฒนาชุมชน เปน
สิง่ จําเปนทตี่ อ งทาํ ความเขาใจเปนพ้ืนฐาน เน่ืองจากมีความเกี่ยวของสัมพันธตอเนื่องกับกระบวนการ
พฒั นาชุมชน และสังคม
ผลการเรยี นรูที่คาดหวงั
เม่อื ศกึ ษาบทที่ 1 จบแลว ผูเ รยี นสามารถ
1. อธบิ ายความหมาย ความสําคญั และแนวทางการพัฒนาตนเองได
2. อธิบายความหมาย ความสาํ คัญ และหลกั การพฒั นาชุมชนได
3. กําหนดแนวทางและจดั ทาํ แผนในการพฒั นาตนเองและครอบครัวได
ขอบขายเนื้อหา
เรือ่ งท่ี 1 ความหมาย ความสาํ คัญของการพัฒนาตนเองและครอบครวั
เรือ่ งที่ 2 แนวทางในการพฒั นาตนเอง
เรอ่ื งท่ี 3 ความหมายและความสาํ คัญของการพัฒนาชมุ ชน
เรอ่ื งที่ 4 หลกั การพัฒนาชุมชน
2
บทท่ี 1
ความรู้เบอื งต้นเกยี วกบั การพฒั นาตนเอง ชุมชน สังคม
ปจ จุบนั เปน ที่ยอมรบั กันโดยทว่ั ไปวา คนเปนทรพั ยากรท่ีมคี ุณคาของสังคม สังคมจะพัฒนา
และเจริญขึ้นไปไดขน้ึ อยูกับคุณภาพของคนท่เี ปน องคป ระกอบของสงั คม น้ัน การจะพัฒนาชุมชน
ไดจ ึงตองเรมิ่ ตนท่กี ารพัฒนาคนเปนอนั ดบั แรก นอกจากน้ี การพฒั นาชมุ ชนตองยึดหลักการมีสวน
รว มของประชาชนเปนปจ จยั พนื้ ฐานทส่ี ําคัญ เพราะเปาหมายสดุ ทายของ การพฒั นา คือ คน เน่ืองจาก
คนเปน ทั้งทรพั ยากรทจ่ี ะถูกพัฒนา และเปนทงั้ ผูไดรบั ผลประโยชน จากการพฒั นานั่นเอง
เร่ืองที่ 1 ความหมายและความสาํ คญั ของการพัฒนาตนเองและ
ครอบครัว
1.1 ความหมายของการพัฒนาตนเอง
นักวิชาการหลายทานไดใหความหมายของการพัฒนาตนเองในลักษณะท่ีคลายคลึงกัน
สรปุ ความไดวาการพฒั นาตนเอง คอื การปรับปรงุ ดวยตนเองใหดีข้ึนกวา เดิม ทั้งดานรางกาย จิตใจ
อารมณและสังคม เพื่อใหสามารถทํากิจกรรมท่ีพึงประสงคตามเปาหมายท่ีตนต้ังไว เพ่ือการ
ดํารงชีวิตรวมกับผูอื่นไดอยางปกติสุข รวมท้ังเพ่ือใหเปนสมาชิกท่ีดีของครอบครัว ชุมชน และ
สงั คม
1.2 ความสําคัญของการพฒั นาตนเอง
โดยทัว่ ไป คนทกุ คนตา งตองการดาํ รงชวี ติ อยูรวมกับผูอื่นอยางมีความสุข ท้ังใน ครอบครัว
ชมุ ชน และสังคม ปจจยั สําคัญประการหน่งึ ของการมชี ีวติ ที่มคี วามเปนปกติสุข คือ การปรับปรุงและ
พฒั นาตนเอง ท้ังวธิ คี ดิ และการกระทําหรือพฤติกรรมท่ีแสดงออกท้ังดานรางกาย จิตใจ อารมณและ
สังคม เพื่อใหสามารถปรับตนเองเขากับสังคมและสิ่งแวดลอมท่ีดี การพัฒนาตนเองมีความสําคัญ
สรุปไดด งั นี้
3
1. เปนการเตรยี มตนเองในดา นตา ง ๆ เชน รางกาย จติ ใจ อารมณ สังคม รวมท้งั
สติปญญาใหส ามารถรบั กบั สถานการณตา ง ๆ ที่อาจเกดิ ข้นึ ในชวี ติ ประจําวนั
2. มีความเขา ใจตนเอง เห็นคุณคาของตนเอง ทําใหสามารถทาํ หนา ท่ีตามบทบาทของ
ตนเองในครอบครัว ชุมชน และสงั คมไดอ ยา งเตม็ กาํ ลังความสามารถ
3. สามารถปรับปรุงการปฏบิ ัติตน และแสดงพฤตกิ รรมใหเปนทยี่ อมรับของบคุ คลรอบขาง
ในครอบครวั ชมุ ชน และสงั คม
4. สามารถกําหนดแนวทางการพัฒนาตนเอง ใหพ ฒั นาไปสเู ปา หมายสงู สดุ ของชวี ติ
ตามทว่ี างแผนไว
5. เปนแบบอยา งการพัฒนาของคนในครอบครวั ชุมชน และสงั คม
6. เปนการเตรียมคนใหมคี วามพรอ มในการดาํ รงตนใหอ ยูใ นสงั คมอยา งมน่ั ใจ มคี วามสุข
และเปน กาํ ลังสาํ คัญของการพัฒนาชมุ ชนและสงั คม
1.3 ความสําคัญของการพัฒนาครอบครวั
ครอบครวั เปน หนว ยยอ ยของสงั คม การพฒั นาสังคมในหนว ยยอ ยไปสสู ังคมหนวยใหญท่ี
หมายถงึ ชุมชน มจี ดุ เรมิ่ ตน ทีเ่ หมือนกนั นั่นคอื การพัฒนาที่คน บุคคล หากบคุ คลในครอบครวั ไดร ับ
การพัฒนาใหเปนบุคคลทีม่ ีจิตใจดี มคี วามเอื้อเฟอชวยเหลือ เก้ือกูลตอกัน รูจักพ่ึงพาตนเอง มีความคิด
มีเหตุผล พรอมท่ีจะรบั การพัฒนาในส่ิงใหม ๆ ยอมทํา ครอบครัวเปนครอบครัวที่มีความเขมแข็ง
มีความสุข สามารถชวยเหลือครอบครวั อนื่ ๆ ในชุมชนนั้น ๆ ได หากครอบครวั สวนใหญในชมุ ชน
สามารถพึ่งพาตนเองได และตางใหความ รวมมือชวยเหลือซ่ึงกันและกัน ชุมชนนั้น ๆ ยอมเกิด
ความมัน่ คงเขมแขง็ และชว ยเหลอื ชมุ ชนอื่น ๆ ได เมอ่ื ชุมชนสวนใหญเขมแข็งยอมสงผลใหสังคม
โดยรวมเขมแข็งม่ันคงตามไปดวย และที่สําคัญจะกอใหเกิดคานิยมของการพ่ึงพาเกื้อหนุน เอื้อเฟอ-
เผอ่ื แผ และชวยเหลอื ซงึ่ กนั และกนั ที่นาํ ไปสเู ปาหมายของการอยรู วมกันอยางอบอนุ และมคี วามสุข
4
เร่ืองท่ี 2 แนวทางในการพฒั นาตนเอง
การพฒั นาตนเองใหป ระสบความสาํ เรจ็ สามารถอยรู วมกับบุคคลตา ง ๆ ในครอบครวั และ
ชมุ ชนไดอ ยา งมีความสุข มแี นวทางการพฒั นาได ดงั น้ี
1. การสํารวจตนเองเพื่อจะไดทราบวา ตนเองมคี ุณสมบัตทิ ี่ดแี ละไมดีอยางไรบา ง เพ่ือทจ่ี ะ
หาแนวทางการปรบั ปรงุ พฒั นาตนเองใหด ขี นึ้ การสาํ รวจตนเองอาจทาํ ไดห ลายวิธี เชน การตรวจสอบ
ตนเองดวยเหตแุ ละผล การใหบคุ คลใกลชดิ ชว ยสํารวจ ชวยพิจารณาอยา งตรงไปตรงมา
2. การปลกู ฝังคุณสมบัติทดี งี าม เปน การนาํ เอาแบบอยา งท่ดี ีของบคุ คลสําคัญทีป่ ระทบั ใจ
มาเปน ตัวแบบ เพื่อปลูกฝงคณุ สมบตั ทิ ่ดี ีใหก บั ตนเอง ใหประสบความสาํ เรจ็ สมหวงั ตามทค่ี าดหวงั ไว
3. การปลกุ ใจตนเอง การปลุกใจตนเองใหมีความเขม แขง็ ท่จี ะตอ สูก ับอุปสรรคดานตา ง ๆ
น้ัน มคี วามจาํ เปน ย่งิ เพราะเม่ือตนเองมีจิตใจท่ีเขมแข็งมีความมุงม่นั สามารถตอสูกับปญหา และ
อปุ สรรค รวมทง้ั สามารถดาํ เนนิ การพัฒนาตนเองใหบ รรลเุ ปา หมาย การปลุกใจตนเอง สามารถทําได
หลายวิธี เชน การนําตัวแบบของผูประสบความสําเร็จมาเปนแบบอยาง การใชอุปสรรคเปน
ตัวกระตนุ การใชขอมลู หรือการรับคําแนะนาํ จากผใู กลช ดิ หรอื ผูรู ฯลฯ
4. การส่งเสริมตนเอง เปน การสรา งกําลงั กาย กําลังใจใหเขมแข็ง สรางพลังความคิดท่ี
สามารถปฏิบัติได เชน การเลนกีฬา การออกกําลังกาย การพักผอน การฝกสมาธิ การเขารับการ
ฝก อบรมเรื่องทเ่ี ราสนใจ เปน ตน
5. การลงมือพฒั นาตนเอง การพัฒนาตนเองสามารถทําไดหลายวิธี เชน อานหนังสือ
เปนประจํา รว มกจิ กรรมตาง ๆ ของชุมชน ตามความสนใจ การศกึ ษาดูงาน การศึกษาตอ การพบปะ
เยีย่ มเยยี นเพ่อื น หรือผูทร่ี ูจ กั สนิทสนม การหมนุ เวยี นเปลีย่ นงาน การทํางานรว มกับผูอ ืน่ การพยายาม
ฝก นสิ ยั ท่ดี ดี วยความสม่ําเสมอ การสรางความสมั พนั ธท ี่ดีกบั ผอู นื่ ฯลฯ
5
เรือ่ งท่ี 3 ความหมายและความสาํ คัญของการพัฒนาชมุ ชน
3.1 ความหมายของการพฒั นาชุมชน
ความหมายของคาํ วา “พัฒนาชมุ ชน” ผูรไู ดใ หความหมายไวห ลากหลาย สรุปไดด งั นี้
1) การรวบรวมกาํ ลงั ของคนในชมุ ชนรว มกนั ดาํ เนินการปรับปรงุ สภาพความ
เปน อยขู องคนในชุมชนใหม คี วามเขมแข็งเปน ปก แผน โดยความรวมมือกนั
ระหวา งประชาชนในชมุ ชน และหนว ยงานภายนอก
2) เปนกระบวนการท่ีประชาชน รว มกนั ดาํ เนนิ การกบั เจา หนา ท่หี นวยงานตา ง ๆ
เพื่อทาํ ใหส ภาพเศรษฐกจิ สังคม วัฒนธรรม และสงิ่ แวดลอ มของ ชมุ ชน
เจริญขึน้ กวา เดมิ
3) เปน วธิ ีการสรา งชมุ ชนใหเ จรญิ โดยอาศัยกาํ ลงั ความสามารถของประชาชน
และรฐั บาล
4) เปน การเปลี่ยนแปลงทมี่ ีการกาํ หนดทศิ ทางที่พงึ ปรารถนาโดยการมสี ว นรว ม
ของคนในชุมชน
สรุปไดวา การพัฒนาชุมชน คือการกระทําที่มุงปรับปรุง สงเสริม ใหกลุมคนที่อยู
รวมกันมีการเปลี่ยนแปลงไปในทิศทางท่ีดขี ึ้นในทุก ๆ ดาน ท้ังดานท่ีอยูอาศัย อาหาร เครื่องนงุ หม
สุขภาพรางกาย อาชีพท่ีม่ันคง ความปลอดภัยในชีวิตและทรัพยสิน โดยอาศัยความรวมมือจาก
ประชาชนภายในชุมชน และหนว ยงานองคกรตาง ๆ ทั้งจากภายในและภายนอกชุมชน
3.2 ความสาํ คัญของการพฒั นาชมุ ชน
จากการอยูร วมกนั ของครอบครวั หลาย ๆ ครอบครวั จนเปน ชุมชน ความเปนอยูของคนแตละ
ครอบครัวยอมมีความสัมพันธกัน ความสลับซับซอนและมีปญหาเกิดขึ้นมากมาย จึงจําเปนตอง
อาศยั ความรว มมอื กนั ของบุคคลหลาย ๆ ฝายโดยเฉพาะประชาชนเจา ของชมุ ชนทเี่ ปนเปา หมายของ
6
การพัฒนาตอ งรวมกันรับรู รวมมือกันพัฒนาและปรับปรุงแกไขใหเกิดความเปลย่ี นแปลงที่ดีข้ึน
เพอื่ ความสงบสขุ ของชุมชนน้ัน ๆ การพฒั นาชุมชนจึงมีความสาํ คัญ พอจะจาํ แนกไดดังนี้
1. สง เสริมและกระตุนใหป ระชาชนไดม ีสว นรว มในการแกไขปญหาพฒั นาตนเอง
และชมุ ชน
2. เปน การสง เสริมใหป ระชาชนมีจิตวิญญาณ รูจกั คิด ทาํ พฒั นาเพื่อสวนรวม และ
เรียนรูซ ง่ึ กันและกนั
3. เปนการสง เสรมิ การรวมกลมุ ในการดาํ เนนิ ชวี ติ ตามระบอบประชาธิปไตย
4. ทําใหปญ หาของชมุ ชนลดนอ ยลงและหมดไป
5. ทําใหสามารถหาแนวทางปอ งกนั ไมใหป ญหาในลกั ษณะเดยี วกนั เกดิ ขึ้นอกี
6. ทําใหเกิดความเจรญิ กา วหนา ขน้ึ
7. ทําใหเกิดการอยรู วมกนั อยา งมคี วามสุขตามสภาพของแตละบุคคล และเกดิ ความ
ภาคภมู ิใจในชุมชนของตนเอง
8. ทาํ ใหช ุมชนนา อยู มคี วามรกั ความสามัคคี เอ้ืออาทรชวยเหลอื เกอ้ื กูลซงึ่ กนั และกนั
9. เปนรากฐานสาํ คัญของการพฒั นาสงั คมและประเทศชาติ
เรือ่ งท่ี 4 หลกั การพัฒนาชุมชน
หลกั การพัฒนาชุมชนเปนหลักสําคญั ในการดําเนินงานพัฒนาชุมชน เพือ่ สรางสรรคไปสู
ความสาํ เรจ็ ตามเปา หมาย ยดึ ถอื การสรา งความเจรญิ ใหก บั ชุมชนโดยอาศัยหลกั การ สรุปไดดงั น้ี
1. ประชาชนมสี วนรวมการดําเนินกจิ กรรมของการพฒั นาทุกขน้ั ตอน ประชาชนจะตอ ง
เขามามีสวนเก่ียวของและมีสวนรวมต้ังแต รวมคิด ตัดสินใจ วางแผน ปฏิบัติและ
ประเมินผล ประชาชนตองกลาคิด กลา แสดงออก เพราะผลทเี่ กดิ จากการดําเนินงาน
สง ผลโดยตรงตอ ประชาชน
2. พิจารณาวัฒนธรรมและสภาพความเปนอยูของชุมชน หากทุกฝายท่ีเก่ียวของใน
การพฒั นาไดท ราบและเขาใจขอมูลเก่ียวกับวัฒนธรรมและสภาพความเปนอยูของ
7
ชุมชนในทกุ ๆ ดา น จะชว ยใหก ารคดิ การวางแผน และการดําเนนิ งานพฒั นา เปนไป
ในทศิ ทางท่ถี กู ตองเหมาะสม
3. ใหความสําคัญกับคนในชุมชนโดยคนในชุมชนตองเปนหลักสําคัญหรือเปน
ศูนยกลางของการพัฒนา โดยเริ่มจากการคน หาความตองการและปญหาที่แทจริงของ
ชมุ ชนตนเองใหพ บ เพอ่ื นําไปสกู ระบวนการพฒั นาในขน้ั ตอไป
4. การพฒั นาตอ งไมร วบรดั และเรง รบี การดําเนนิ งานควรคาํ นงึ ถงึ ผลของการพัฒนาใน
ระยะยาว ดําเนินงานแบบคอยเปน คอ ยไป เพ่อื ใหทกุ คนมีความพรอ ม มีความเชอ่ื มั่น
ไดมีเวลาพิจารณาคดิ ไตรตรองถึงผลท่ีจะเกิดข้ึนในขั้นตอนตอไป และในระยะยาว
ทัง้ ผลที่สําเร็จและไมส ําเร็จมใิ ชเรง รีบดาํ เนนิ การใหเสรจ็ อยางรวบรดั และเรง รีบ เพราะ
รวบรดั และเรงรีบใหเ สรจ็ อาจนาํ ไปสูความลมเหลว
5. ทําเปนกระบวนการและประเมินผลอยางตอเนื่อง การพัฒนาชุมชนควรดําเนินการ
ดวยโครงการทห่ี ลากหลายภายใตความตอ งการท่ีแทจ รงิ ของชมุ ชน ขณะเดยี วกันควร
ประเมนิ ผลดว ยการมสี วนรว มของทุกฝา ยทเ่ี กย่ี วขอ งอยา งตอเนื่อง เพ่ือจะไดรับทราบ
ขอ ดี ขอเสีย บทเรยี นความสาํ เรจ็ ไมส ําเร็จ เพ่ือนําไปสกู ารพัฒนาที่ดีขนึ้ กวาเดิม
หลักการพัฒนาชมุ ชนดังกลา วขา งตน เปนหลักการโดยท่วั ไปที่มุงหวงั ใหป ระชาชนรวมมือกัน
พฒั นาชุมชนของตนโดยมีเปาหมายสูงสุดคือประชาชนมีความเปนอยูที่ดี และสังคมมีชุมชนท่ีนาอยู
เพราะฉะนนั้ หากเราเปนสมาชกิ ของชุมชนใดก็ควรเขา ไปมีสวนรวมใหค วาม รว มมือกับชุมชนน้ัน ๆ
เชน รวมประชุมอยางสรางสรรค แสดงความคิดเห็น แลกเปลี่ยนความคิด รวมพัฒนาทุกขั้นตอน
เพอ่ื นาํ ไปสเู ปา หมายท่ีทกุ ฝายรวมกนั กําหนดขนึ้ นนั่ เอง
8
กจิ กรรม
1. ใหผูเรียนคน ควา เพมิ่ เตมิ "แนวทางในการพัฒนาตนเอง ประโยชน และหลกั การ
ชมุ ชนเพิ่มเตมิ จากแหลง ความรตู า ง ๆ เชน หอ งสมดุ อินเทอรเน็ต ฯลฯ
2. ใหผ เู รียนอธิบายสง่ิ ตอไปนตี้ ามความเขาใจของผูเรียนโดยสรุป และเขยี นบนั ทกึ
ลงในสมดุ ของตนเอง
2.1 ความหมายของคาํ วา "การพัฒนา"
2.2 ความสําคญั ในการพัฒนาตนเอง
2.3 แนวทางในการพฒั นาตนเอง
2.4 ความหมายของคาํ วา "การพัฒนาชุมชน"
2.5 ประโยชนของการพัฒนาชมุ ชน
2.6 หลักการพัฒนาชุมชน
3. ผเู รยี นแบง กลมุ อภิปรายรว มกนั คดิ ประเด็นตอไปนี้ แลว นาํ เสนอผลการอภปิ ราย
ของกลมุ ตอ เพ่ือน ๆ
3.1 แนวทางในการพฒั นาตนเองใหเปนบคุ คลทพี่ งึ ประสงค และเปน ท่ียอมรบั
ของสังคม
3.2 แนวทางในการพฒั นาและการปฏบิ ัติตน เพื่อใหครอบครัวอบอนุ
3.3 แนวทางการพฒั นาชมุ ชนของตนเองใหเปนชมุ ชนทเ่ี ขม แขง็
4. ใหผ เู รยี นจัดทาํ แผนพฒั นาตนเองและครอบครวั ตามแนวทาง ขอ 3.1 และขอ 3.2
9
บทท่ี 2
ขอมูลทเ่ี ก่ยี วของกบั การพฒั นาชมุ ชน
สาระสําคญั
การศึกษาความรูเบอื้ งตนท่เี ก่ียวกับขอ มลู เชน ความหมาย ความสาํ คญั และประโยชน ของ
ขอมูลจะชวยใหมีความเขาใจขอมูลท่ีเกี่ยวของกับการพัฒนาชุมชนซ่ึงมีหลายดานดวยกัน เชน
ขอ มูลดา นครอบครวั ขอมลู ดา นเศรษฐกจิ ขอมูลดานสงั คม ฯลฯ ขอมลู แตล ะดานลว นมีความจําเปน
และสําคัญตอการพฒั นาชุมชน
ผลการเรยี นรูทคี่ าดหวงั
เม่ือศกึ ษาบทที่ 2 จบแลว ผูเรยี นสามารถ
1. อธิบายความหมาย ความสําคญั และประโยชนของขอ มลู
2. ระบุขอ มูลในดานตา ง ๆ ทเี่ กยี่ วกบั การพัฒนาชมุ ชนไดอยา งนอ ย 5 ดา น
3. ยกตัวอยางรายการของขอ มลู ในแตละดานท่เี ก่ยี วขอ งกบั การพฒั นาชมุ ชนได
4. อธิบายเทคนคิ และวธิ ีการเก็บขอ มลู ชมุ ชนไดอ ยางนอ ย 3 วธิ ี
5. สํารวจขอ มูลชมุ ชนได
6. มีสว นรวมในการวิเคราะหขอ มูลชุมชน
ขอบขา ยเนอ้ื หา
เรือ่ งท่ี 1 ความหมาย ความสาํ คัญ และประโยชนของขอ มลู
เรื่องท่ี 2 ขอ มลู ทเ่ี กย่ี วขอ งกบั การพฒั นาชุมชน
เรือ่ งที่ 3 เทคนิคและวธิ ีการเกบ็ ขอ มลู ชมุ ชน
เรอ่ื งที่ 4 การวเิ คราะหข อ มลู
10
บทที่ 2
ขอมูลที่เก่ียวขอ งกับการพัฒนาชมุ ชน
ขอ มูลที่เปน ขอเท็จจริง ท่เี ก่ียวของกับการพฒั นาชมุ ชน มหี ลายดา นดวยกนั แตล ะดา นควรรู
และทําความเขา ใจ เพราะเปนสิ่งจําเปนและสําคัญสําหรับกระบวนการพัฒนาชุมชน ท้ังนี้เพ่ือเปน
เคร่ืองมือในการนําไปสูการวางแผน การกําหนดทิศทาง เปาหมาย การตัดสินใจ การปฏิบัติและ
ประเมนิ ผลของการปรบั ปรงุ และพัฒนาชมุ ชนใหนาอยู และดีขึ้นกวาเดิมในทุก ๆ ดาน
เร่ืองท่ี 1 ความหมาย ความสําคัญ และประโยชนของขอ มูล
1.1 ความหมายของขอ มูล
มีผรู ูไดใหความหมายของขอ มูลในลักษณะเดยี วกันสรุปไดวา ขอมูล หมายถึง ขอเท็จจริง
ของส่ิงตา ง ๆ ทอ่ี ยรู อบตวั เรา เชน คน สตั ว สิง่ ของ สถานท่ี ธรรมชาติ ฯลฯ ที่ถูกบันทึกไวเปน ตัวเลข
สัญลกั ษณ ภาพ หรือเสียง ที่ชว ยทาํ ใหรถู ึงความเปน มา ความสําคัญ และประโยชนข องส่ิงเหลา นน้ั
ความหมายของขอ มูล ตามพจนานกุ รมราชบณั ฑติ ยสถาน พ.ศ. 2525 ไดใหความหมายวา
ขอมูล หมายถึง ขอ เท็จจริงสําหรับใชเ ปนหลกั ในการคาดการณคน หาความจริง หรือการคิดคํานวณ
กลาวโดยสรุป ขอมูลหมายถึง ขา วสารหรือขอเท็จจริงที่เกิดข้ึนกับส่ิงตาง ๆ ท่ีเปนสัญลักษณ
ตัวเลข ขอความ ภาพ หรือเสยี งท่ีไดมาจากวธิ กี ารตาง ๆ เชน การสังเกต การนับ การวัดและบันทึก
เปน หลักฐานใชเพ่ือคน หาความจรงิ
ตวั อยา ง เชน
ก. สุนันทป ระกอบอาชพี ทาํ นา
ข. ตําบลทาํ นบ มีจาํ นวนครัวเรอื น 350 ครวั เรือน
ค. อบต.เกาะยอ ชาวบา นมอี าชพี ทาํ สวนผลไมแ ละทําประมง
ง. จังหวดั สงขลามหี อ งสมดุ ประชาชนอาํ เภอ 16 แหง
จากตวั อยา ง จะเห็นวา ขอ ข และ ง เปนขอ มลู ท่ีเปน ตัวเลข ขอ ก และ ค เปนขอ มลู ท่ีไม
เปน ตัวเลข
11
จากความหมายและตวั อยา งของขอ มลู จะเห็นไดวาขอ มลู แบงเปน 2 ความหมาย คอื ขอมูลท่ี
มีลักษณะเปนตวั เลขแสดงปริมาณ เรียกวา ข้อมูลเชิงปริมาณ และขอมลู ทไ่ี มใ ชตวั เลข เรยี กวา ข้อมูลเชิง
คุณภาพ
1.2 ความสาํ คญั และประโยชนของขอ มลู
ขอ มูลทเี่ ปน ขอเท็จจริงของส่งิ ตาง ๆ ทอี่ ยูรอบตวั เราลวนมีประโยชนตอการพัฒนาตนเอง
ชมุ ชน และสงั คม ทงั้ น้ขี นึ้ อยกู บั การเลือกนาํ มาใชใหถูกตองเหมาะสมกับสถานการณ และโอกาส
โดยท่ัวไปขอ มลู จะใหป ระโยชนม ากมาย เชน
1. เพอ่ื การเรยี นรู ศึกษา คน ควา
2. เพอ่ื เปนแนวทางการพัฒนาดานตา ง ๆ
3. เพ่อื การนําไปสูการปรบั ปรุงแกไ ขในส่ิงทีด่ ีกวา
4. เพอื่ ใชป ระกอบเปนหลกั ฐานอา งอิงประเดน็ สาํ คัญ
5. เพ่ือการวางแผน การปฏิบัติ และการประเมนิ ผล
6. เพ่อื การตัดสนิ ใจ
ฯลฯ
จากประโยชนดานตางๆที่กลาวถึง ขอยกตัวอยางประโยชนของขอมูลในการชวยการตัดสินใจ
เชน ถา รขู อมลู เก่ียวกบั คะแนนการเรยี นวิชาคณิตศาสตร ผลคะแนนระหวา งเรยี นไมน าพงึ พอใจ แต
ผูเรียนตองการใหสอบผา นวชิ านี้ ผเู รียนจะตอ งวางแผนการเรียน และเตรยี มพรอ มกบั การสอบใหดี
ขยันเรยี น ขยนั ทําแบบฝกหดั มากขึน้ ผลการเรียนวิชาน้ีนาจะผาน แตถาไมรูขอมูลเลยโอกาสท่ีจะ
สอบไมผานกจ็ ะมีมากกวา
ในการพัฒนาชุมชนและสังคมจาํ เปน ตองอาศยั ขอ มูลดา นตา ง ๆ ไดแก ขอมูลเกี่ยวกับดาน
ความเปนมา ประวัติศาสตร เศรษฐศาสตร การเมือง การปกครอง ศาสนา วัฒนธรรม ประเพณี
ทรัพยากร สิ่งแวดลอ ม สาธารณสขุ และการศึกษา เปนตน
12
เรือ่ งที่ 2 ขอ มูลท่ีเก่ียวของกับการพัฒนาชมุ ชน
การพัฒนาชมุ ชนจาํ เปนตองอาศยั ขอ มลู หลายๆ ดา น เพ่ือใชใ นการเรยี นรูและคนหาความจรงิ
ทเ่ี ปนพลงั ภายในของชมุ ชนท่ียังไมไดพัฒนา หรือยังพัฒนาไมเต็มที่ ขอมูลท่ีสําคัญที่เก่ียวของกับ
การพฒั นาชมุ ชน มีดงั น้ี
1. ขอมูลเกี่ยวกับครอบครัวและประชากร ไดแก ขอมูลรายรับ รายจา ย หนี้สิน ของ
ครอบครวั จะชว ยใหเห็นท่ีมาของปญหาความยากจน หรือท่ีมาของรายได จํานวน
รายไดและรายจายของครอบครวั ในชุมชน จํานวนครัวเรือน เปน ตน
2. ขอมูลดา นเศรษฐกจิ ไดแก จาํ นวน ประเภทของการผลิต การกระจายผลผลิต การเปน
เจาของถอื ครองท่ดี นิ การเปน เจา ของสถานประกอบการโรงงานและ รา นคา การนาํ เขา
ทรพั ยากรจากภายนอก การใชทรัพยากรท่มี อี ยูใ นทอ งถิน่ การใชแ รงงาน การบริโภค
สนิ คา การใชประโยชนท ่ีดนิ อาชีพ ชนิดของพืชที่ปลูก จํานวนสัตวที่เล้ียง ผลผลิต
รายได เปน ตน
3. ขอ มลู ดา นประเพณีและวฒั นธรรม ไดแก จํานวนกลุมท่สี ง เสริมประเพณแี ละวัฒนธรรม
การละเลน การกีฬาของทองถิ่น ความหลากหลายทางวัฒนธรรม ความเชื่อศาสนา
ระบบเครอื ญาติ เปนตน
4. ขอ มูลดานการเมอื งการปกครอง ไดแ ก การเลือกผนู าํ ของคนในชมุ ชนและบทบาทของ
ผูนาํ การมีสวนรว มของคนในชมุ ชน ดานการปกครอง และการพัฒนา การตัดสินใจ
ของผนู ําชุมชน โครงสรางอํานาจ ความสัมพันธของคนในชุมชนและระหวางกลุม
การรวมกลมุ การแบงกลุม เปน ตน
5. ขอมลู ดานสงั คม ไดแก การศึกษาอบรม การเรียนรู แหลงเรียนรูในชุมชน การดูแล
สขุ ภาพ การใชท รัพยากร การใชภ มู ปิ ญ ญา กองทนุ สวัสดกิ าร การรับความชวยเหลือ
จากภายนอก เปนตน
6. ขอมูลดานระบบนิเวศและส่ิงแวดลอม ไดแก สภาพทรัพยากรธรรมชาติ ดิน น้ํา
อากาศ การจัดการแหลงนํ้า เชน แมนาํ้ ลาํ คลอง ทะเล ปาชายเลน สตั วบ ก สตั วนํ้า
13
สภาพการดํารงชีวิตของพืชและสัตว การพัฒนาชุมชนกับจํานวนและปริมาณของ
ทรพั ยากร เปน ตน
7. ความตองการของชุมชน เปนความตองการที่แทจริงของชุมชนดานตา ง ๆ ขอมูล
ดานตาง ๆ เหลาน้ีจะเปนตัวชี้เก่ียวกับ "ทุน" ที่มีอยูในชุมชน ซึ่งตองคนหา สํารวจ
รวบรวมและวเิ คราะห เพ่ือนาํ มาพฒั นาชุมชน การสํารวจ เก็บรวบรวมขอมูล จะตอ ง
รว มมือชว ยกันหลายฝาย นอกจากนีผ้ สู ํารวจตองมีความละเอียด ในการใชเคร่ืองมือ
เพราะยิ่งไดขอมูลทีม่ ีความละเอียดมาก ยิ่งสงผลตอความแมนยําในการวิเคราะห
ความตองการ ความจําเปนของชมุ ชน
เรอ่ื งที่ 3 เทคนิคและวธิ กี ารเก็บขอมูลชุมชน
เทคนิคและวิธีการเก็บขอมูลท่ีเก่ียวของกับการพัฒนาชุมชนมีหลายวิธี เชน การสังเกต
การสัมภาษณ การใชแบบสอบถาม การศึกษาจากเอกสาร การสนทนากลุม การสํารวจ การจัดเวที
ประชาคม สวนการจะเลือกใชเทคนิควิธีการใด จึงจะเหมาะสมขึ้นอยูกับหลาย ๆ ปจจัย เชน
แหลงขอมลู ความสะดวก ความประหยดั ฯลฯ การศึกษาและรวบรวมขอ มูลชมุ ชน ผูศกึ ษาสามารถ
กระทําโดยยึดวัตถปุ ระสงคของการศกึ ษา โดยอาจจําแนกประเด็นหลักและประเด็นยอย เพ่ือใหได
รายละเอียดใหค ลอบคลมุ ทุกดา น เทคนิควิธกี ารเกบ็ ขอมลู มีวิธีตาง ๆ เชน
1. การสงั เกต เปนวธิ ีการเก็บรวบรวมขอมลู โดยผูสงั เกตเฝา ดพู ฤตกิ รรมจรงิ หรอื เหตกุ ารณจ รงิ
โดยผูสังเกตอาจเขาไปทํากิจกรรมรวมในเหตุการณ หรือไมมีสวนรวม โดยการเฝาดูอยูหาง ๆ ก็ได
การสงั เกต มที ้ังแบบท่ีมีโครงสรา งกบั แบบไมมโี ครงสราง การสงั เกตแบบมโี ครงสรา ง ผสู ังเกตตอง
เตรียมหัวขอ ขอบขาย ประเด็นท่ีตองใชในการสังเกตลวงหนา แลวบันทึกรายละเอียดสิ่งที่สังเกต
พบเหน็ ตามหวั ขอ การสังเกตแบบไมม ีโครงสรา ง เปน การสังเกตไปเรื่อย ๆ ตามสงิ่ ท่ีพบเห็น
2. การสมั ภาษณ เปน วิธีการเกบ็ ขอมลู โดยผูส ัมภาษณแ ละผูใหสัมภาษณตองพบหนากัน
และมีการสัมภาษณซักถาม โดยใชภาษาเปนตัวกลางในการสื่อสาร การสัมภาษณ มีทั้งแบบมี
14
โครงสรางและแบบไมมีโครงสราง การสัมภาษณแบบมีโครงสราง ผูสัมภาษณจะเตรียมคําถาม
เรียงลําดับคําถามไวลวงหนา ตามวัตถุประสงคของการสัมภาษณ สวนการสัมภาษณแบบไมมี
โครงสรา ง เปนการสัมภาษณแบบพูดคุยไปเรือ่ ย ๆ จะถามคาํ ถามใดกอนหลงั ก็ได ไมมีการเรียงลําดับ
คาํ ถาม
3. การใชแ บบสอบถาม ผูเกบ็ ขอ มลู จะตองเตรยี มและออกแบบ แบบสอบถามลวงหนา
แบบสอบถามจะประกอบดวยคําชแ้ี จง วัตถปุ ระสงค รายการขอ มูลทต่ี องการถาม จาํ แนกเปนรายขอ
ใหผูต อบ ตอบตามขอ เท็จจรงิ
4. การศกึ ษาจากเอกสาร เปนการรวบรวมขอมลู ที่มีผูเรียบเรียงไวแลว ในลักษณะของ
เอกสารประเภทตาง ๆ เชน บทความ หนงั สือ ตํารา หรือเว็บไซต การเก็บขอมูลดวยวิธีนี้จะตอง
คํานึงถึงความทนั สมัย
5. การสนทนากลุม เปน การรวบรวมขอ มลู ดานเศรษฐกจิ สังคม ประชากร อาชีพ ฯลฯ
จากวงสนทนาที่เปนผูใหข อมูลทีถ่ ูกคดั สรร วาสามารถใหขอมูล ใหคําตอบตรงตามประเดน็ คาํ ถาม
ท่ผี ศู กึ ษาตองการ มกี ารถามตอบและถกประเด็นปญหา โดยเร่ิมจากคําถามที่งายตอการเขาใจแลว
จึงคอยเขาสคู าํ ถามที่เปน ประเดน็ หลกั ของการศกึ ษา แลวจบดว ยคาํ ถามประเด็นยอย ๆ ขณะเดยี วกัน
มีผบู นั ทกึ เกบ็ ขอ มลู จากคําสนทนาพรอมบรรยากาศ และอากัปกิรยิ าของสมาชกิ กลมุ แลว สรุปเปน
ขอ สรปุ ของการสนทนาแตล ะครัง้
6. การสํารวจ การสาํ รวจขอ มลู ชุมชนทําไดในลักษณะตาง ๆ เชน 1) ขอ มูลที่ครอบครัว
ควรทาํ เอง ไดแก บญั ชรี ายรบั -รายจายของครอบครวั แตละครอบครัว รวมท้งั หนสี้ นิ 2) ขอ มลู ท่ัวไป
ของครอบครัว ไดแก จาํ นวนสมาชกิ อายุ การศึกษา รายได ท่ีทํากนิ เครื่องมือ อุปกรณ ความรูของคน
ในครอบครวั และ การดูแลสุขภาพ เปนตน 3) ขอมูลสวนรวมของชุมชน ไดแก ประวัติความเปนมา
ของชมุ ชน ทรพั ยากร ความรู ภมู ิปญญาเฉพาะดา น การรวมกลุม โครงการของชมุ ชนผนู าํ เปน ตน
สําหรับวิธีการเก็บขอมูลดวยเทคนิคการสํารวจอาจใชแบบสอบถาม หรือแบบสัมภาษณ
ตามความสะดวก ความประหยดั ของผูเกบ็ ขอมูล และไมส รางความยงุ ยากใหก ับผูใหข อ มลู
7. การจัดเวทีประชาคม เปนการพบปะของผูคนที่เปนผแู ทนระดับของกลุมตาง ๆใน
ชุมชนซึ่งผูคนเหลา นมี้ ขี อ มูล ประสบการณ ความคิดทหี่ ลากหลาย ไดมารว มกันแลกเปล่ียน
15
ขอมูล ประสบการณ ความคดิ เพอ่ื รวมกันกําหนดวิสัยทัศน วิเคราะห สถานการณ ปญหา
วางแผน ดาํ เนินงาน ตดิ ตามประเมนิ ผลการทํางานรวมกนั เพ่ือนําไปสูการพฒั นาชมุ ชน ใหส ามารถ
บรรลุเปาหมายรวมกัน สวนเครื่องมือท่ีสําคัญในการจัดเวทีประชาคม คือ ประเด็นคําถามที่มี
ลกั ษณะเปน คาํ ถามปลายเปด เพือ่ ทําใหผ รู ว มเวทีสามารถตอบและอภิปรายไดละเอียดตามความรู
ความคดิ และประสบการณของแตละคน ทําใหไดคําตอบท่ีเปนขอมูลเชิงลึก ซ่ึงเปนประโยชนตอ
การวเิ คราะหขอมลู ในแตล ะดานตอไป
เร่ืองที่ 4 การวิเคราะหขอ มลู
หลังจากการเกบ็ ขอมลู เสร็จสนิ้ แลว ผูเก็บขอมูลควรนําผลจากการจัดเก็บขอมูลไปตรวจสอบ
ความถกู ตองและความสมบรู ณก บั แหลง ขอ มลู อกี ครงั้ เพื่อยนื ยนั ความถกู ตอง และ เพมิ่ เตมิ ขอมลู ใน
สวนทย่ี งั ไมสมบรู ณใ หสมบูรณม ากทสี่ ดุ ขั้นตอนถัดมาคือการวิเคราะหขอมูล
การวเิ คราะหขอ มูล เปนการนาํ ขอ มลู ทีเ่ กบ็ รวบรวมมาได มาจดั กระทําโดยจําแนก จัดกลุม
จัดระบบ หมวดหมู เรียงลาํ ดับ คาํ นวณคา ตวั เลข (เชงิ ปรมิ าณ) ตีความ สรุป และนําเสนอในรปู แบบ
ตา ง ๆ ใหส ามารถส่ือความหมายได เชน ตาราง แผนภมู ิ ภาพ ฯลฯ
ข้นั ตอนของการวเิ คราะหข อมูลชุมชน อาจตองอาศัยผูรูเกี่ยวกับการวิเคราะหขอมูลเขามา
ใหความรวมมอื ชวยเหลือในการวเิ คราะหแ ละเผยแพรขอมูล แตขณะเดียวกัน ประชาชนในชุมชน
ตองมีสวนรว มเขา มาแลกเปลย่ี นเรยี นรูเพอื่ ใหเกิดการเรยี นรรู ว มกัน
16
กจิ กรรม
ใหผ เู รียนทาํ กจิ กรรมตอ ไปนี้
1. เขียนอธบิ ายตามความเขา ใจของผูเรยี น
1.1 ความหมาย
1.2 ความสาํ คัญและประโยชนข องขอ มูล
2. เขยี น ระบุ ขอ มลู ท่ีเกีย่ วกับการพฒั นาชมุ ชนอยางนอ ย 5 ดา น พรอ มยกตวั อยา ง
รายการขอมลู ในแตล ะดาน
3. อธิบายเทคนคิ วธิ กี ารเกบ็ ขอมลู ชุมชนมา 3 วิธี
4. ใหออกแบบเครอ่ื งมอื และออกสาํ รวจขอมูลของชุมชนของผูเรียนพรอ มนาํ เสนอผล
การสํารวจแลกเปลี่ยนในกลมุ
5. ใหหาโอกาสเขามามีสวนรวมในขั้นตอนของการวิเคราะหขอมูลชุมชน และหรือ
เชิญผรู ูเก่ยี วกบั วิธกี ารวิเคราะหข อมูลชมุ ชนมาอธบิ ายรว มแลกเปลีย่ นเรยี นรู
17
บทท่ี 3
การจดั ทาํ แผนพัฒนาชมุ ชน
สาระสําคัญ
แผนพัฒนาชุมชน เปนแผนหลักที่รวมแนวทางการพัฒนาชุมชนทุกดาน ท่ีเกิดจากการมี
สวนรวมของคนในชุมชน รวมกันเรียนรูแ ละจัดทําข้ึน โดยมีกระบวนการและขั้นตอนของการ
พัฒนาทเ่ี ปนรูปธรรมชัดเจน เพ่อื นําไปใชในการแกไขปญหาและพฒั นาชุมชน
ผลการเรียนรทู ่ีคาดหวัง
เมื่อศกึ ษาบทท่ี 3 จบแลว ผเู รียนสามารถ
1. อธิบายขนั้ ตอนการจดั ทาํ แผนพัฒนาชมุ ชน และการทําประชาพจิ ารณแ ผนชมุ ชน
2. สรา งสถานการณจ ําลองในการจดั เวทีประชาคมได
3. มสี วนรว มในการจัดทาํ แผนและประชาพจิ ารณ รวมทั้งการประชมุ กลมุ ยอ ย
4. ประเมินระดบั การมีสว นรว มในการพฒั นาชุมชนของประชาชนในชุมชนได
ขอบขายเน้อื หา
เรื่องที่ 1 กระบวนการจดั ทาํ แผนพัฒนาชมุ ชน
เรอ่ื งที่ 2 ขนั้ ตอนการจดั ทําประชาพจิ ารณแ ผนชมุ ชน
เรื่องที่ 3 ข้ันตอนการทาํ เวทปี ระชาคม
เรื่องที่ 4 การมีสวนรว มของประชาชนในการพฒั นาชมุ ชน
เร่ืองที่ 5 ระดบั การมีสว นรว มของประชาชนในการพฒั นาชุมชน
18
บทท่ี 3
การจดั ทําแผนพัฒนาชุมชน
แผนพัฒนาชุมชน มีลักษณะเปน แผนหลักทรี่ วมแนวทางการพฒั นาทุก ๆ ดานของชุมชน
เปน แผนทเี่ กดิ จากการมสี วนรวมของผูคนในชุมชน และเครือขายท่ีเกี่ยวของรวมกันจัดทําขึ้น เพ่ือ
มงุ ใหค นในชุมชนไดเรียนรแู ละรว มดาํ เนนิ การแกไขปญหารวมกัน
เรอื่ งท่ี 1 กระบวนการจัดทําแผนพัฒนาชุมชน
การจัดทําแผนพัฒนาชุมชนแตละชุมชน อาจมีข้ันตอนของการดําเนินการพัฒนาชุมชน
แตกตางกันไปขึ้นอยูกับบริบทส่ิงแวดลอมของชุมชนน้ัน ๆ แตโดยท่ัวไป การจัดทําแผนพัฒนา
ชมุ ชน มีขั้นตอนตอ เน่ือง เปน กระบวนการตามลาํ ดับ ต้งั แตขัน้ การเตรียมการและวางแผน ขั้นการ
จดั ทําแผนพัฒนา และขั้นการนาํ แผนไปสกู ารปฏบิ ัติ ดงั นี้
1. ขนั การเตรียมการและการวางแผน เปน การเตรยี มความพรอมในดา นตา ง ๆ ดังนี้
1.1 การเตรียมหาบคุ คลท่เี กยี่ วขอ ง เชน คณะทาํ งาน คณะวชิ าการ อาสาสมคั ร ผนู าํ
ฯลฯ
1.2 การเตรียมการจดั เวทสี รางความตระหนกั รว มในการเปนเจาของชุมชนรว มกัน
เชน การรว มคิด รว มวางแผน รวมปฏิบตั ิ ทกุ ขั้นตอน
1.3 การศึกษาพฒั นาการของชมุ ชน โดยการศกึ ษา สาํ รวจ วเิ คราะห สงั เคราะห ขอมูล
ทกุ ๆ ดานของชุมชน เชน ดานเศรษฐกิจ ดา นประเพณวี ัฒนธรรม ดานการเมืองการปกครอง เปน ตน
1.4 การศึกษาดูงานชุมชนตนแบบ เพื่อเรียนรูจากประสบการณตรงจากชุมชน
ตนแบบทีป่ ระสบความสําเรจ็ จะไดเ หน็ ตวั อยา งการปฏบิ ัติจรงิ ทเ่ี ปนรูปธรรม เพ่ือท่ีจะไดนําส่ิงที่ดี ๆ
ที่เปนประโยชนมาประยุกตใชกับชุมชนตนเอง และชวยกันคิดวาชุมชนของตน ควรจะวางแผน
บริหารจดั การท่ีจะนําไปสกู ารพัฒนาไดอ ยา งไร
19
2. ขนั การจัดทาํ แผนพฒั นา ประกอบดว ยขน้ั ตอนยอย ๆ ดังนี้
2.1 การรว มกนั นาํ ขอ มลู ที่ไดจ ากการเตรียมการมารวมกนั วิเคราะหจุดแขง็ จดุ ออน
โอกาสและอปุ สรรคของชุมชน เพ่ือประเมินความสามารถ และประสบการณของชมุ ชนเพ่ือนําไปสู
การกําหนดภาพอนาคตของชมุ ชนตามท่คี าดหวัง (วสิ ัยทศั น)
2.2 การรว มกนั คน หา และกาํ หนดการเลอื กทเ่ี หมาะสมในการพฒั นา (ยุทธศาสตร)
2.3 รว มกันกําหนดแผนงาน โครงการ กิจกรรม และเขยี นเอกสารแผนงาน โครงการ
และกิจกรรมที่จะพัฒนาแกป ญหาหรอื ปอ งกันปญ หา
2.4 นาํ แผนงาน โครงการ และกิจกรรม นําเสนอแลว พจิ ารณารวมกัน และใหขอมูล
เพ่มิ เติม เพอ่ื ใหเ หน็ ภาพรวม เพื่อการประสานเชอ่ื มโยง และเพือ่ การแบงงานกนั รบั ผิดชอบ
2.5 เม่อื คณะทํางานทุกฝา ยเหน็ ชอบ จงึ นาํ รางแผนชุมชนไปทาํ การประชาพิจารณ
แลกเปลยี่ นเรยี นรใู นเวที เพื่อสรา งความเขาใจกับสมาชกิ ของชุมชนท้งั หมด เปน การรวมใจเปนหน่ึงเดยี ว
ที่จะดําเนนิ การพัฒนารว มกันตามแผน
2.6 ปรับปรุง แกไข แผนใหถูกตองเหมาะสมตามมติ ความคิดเห็นท่ีไดจากการ
ประชาพิจารณ
3. ขนั การนําแผนไปสู่การปฏบิ ตั ิ และประเมนิ ผลการปฏบิ ตั ิงาน ประกอบดวยขั้นตอน
ยอย ๆ ดงั น้ี
3.1 จัดลําดับความสําคัญของแผนงานโครงการ
3.2 วเิ คราะหค วามเปน ไปไดของแตละโครงการ
3.3 จัดฝก อบรม เพมิ่ เตมิ ประสบการณความรูเกย่ี วกับประเดน็ ที่สาํ คัญทก่ี าํ หนดไว
ในแผน เพ่อื ขยายผลการเรียนรูไปยังคนในชมุ ชน
3.4 จัดระบบภายใน เช่อื มโยงเครือขา ยท้ังภายในและภายนอกเพอื่ สรางความเขม แขง็
ใหก ับชมุ ชน
3.5 ดําเนินการปฏิบัตติ ามแผน
3.6 ตดิ ตามความกาวหนา และประเมนิ ผลการปฏบิ ตั งิ านตามแผน รวมทง้ั ประเมินผล
การดําเนินงานโครงการและกจิ กรรมทีอ่ ยูใ นแผน เพ่ือปรบั ปรุงแผนใหมคี วามสมบรู ณยิง่ ข้นึ
20
สําหรบั ผูทีจ่ ะทําหนาทีใ่ นการประเมนิ คือ แกนนําและคนในชุมชน เพราะคนเหลาน้ีเปน
ท้ังผูบรหิ ารจดั การ ผปู ฏิบตั ิ และผรู บั ประโยชนโดยตรง
การประเมินผลเมื่อเสร็จส้ินโครงการ
หลงั จากทกุ ฝา ยไดรว มมอื กันทํางานตามแผนชุมชนของตนเองแลว ควรจัดประชมุ สรปุ ผล
การดาํ เนินงานรว มมอื กนั เม่ือเสร็จสิน้ โครงการ เพอ่ื เปน การสรปุ บทเรียนทัง้ โครงการวา ไดผลลพั ธ
ตามเปา หมายหรือไม น่ันคือ คนในชุมชนมีพัฒนาการและเกิดการเปล่ียนแปลงอยางไร มีส่ิงที่ดี ๆ
อะไรเกดิ ขนึ้ บางท่ีเปนผลพวงของการพัฒนา มีปญหาอุปสรรคอยางไร มีวิธีการแกไขใหบรรลุผล
สาํ เรจ็ หรอื ไม อยางไร ถาจะพัฒนาตอ ไปควรปรบั ปรงุ ขนั้ ตอนใด ฯลฯ ท้ังน้เี พอ่ื รวบรวมขอคิดเห็น
หลังการทาํ งานแลว ถอดและสรุปเปนบทเรียน เพ่ือเปนแนวทางในการทํากิจกรรมหรือโครงการ
พัฒนาอืน่ ตอไป
เรือ่ งท่ี 2 ขน้ั ตอนการจดั ทําประชาพิจารณแ ผนชุมชน
เมื่อชุมชนรวมกันจัดทําแผนชุมชนและโครงการเสร็จแลว ขั้นตอนตอไปจะเปนการนํา
แผนชุมชนฉบับรางไปพิจารณาขอรับความคิดเห็นจากประชาชนที่มีสวนไดสวนเสีย หรือไดรับ
ผลกระทบจากแผนที่จัดทําขนึ้ เรียกขัน้ ตอนนัน้ วา “การจัดทาํ ประชาพจิ ารณ”
การจัดทําประชาพิจารณแ ผนชุมชน เปน การนาํ เสนอแผนใหประชาชนในชุมชนไดรับทราบ
โดยทั่วกัน ในข้ันตอนน้ีควรใหโอกาสประชาชนไดอภิปราย แลกเปลี่ยนเรียนรู ใหขอเสนอแนะ
ปรบั ปรงุ แกไข เปนการแสดงออกรวมกันในเวที เปนการวิพากษวิจารณ ในลักษณะท่ีสรางสรรค
เพอื่ ทีจ่ ะรว มมอื กนั ดําเนินงานใหบ รรลเุ ปาหมาย นั่นคือ การพัฒนาชุมชนท่ีอาศัยการพ่ึงพาตนเอง
โดยอาศัยแผนงาน โครงการและกิจกรรมท่ีรวมกันกําหนดขึ้น การประชาพิจารณควรดําเนินการ
ดงั นี้
1. เตรยี มการประชาสัมพันธสอ่ื สารใหป ระชาชนไดเขารวมเวทีประชาพิจารณ เตรียม
เอกสารแผนงานโครงการท่รี ว มกนั คิด รว มกนั กําหนดตดิ ตอ และเตรยี มวทิ ยากร และคณะผดู าํ เนนิ การ
รวมทั้งเตรยี มความพรอมในการจดั เวที
21
2. จดั เวที สรางความเขาใจกับสมาชิกของชุมชนทั้งหมดโดยเชิญผูนําตัวแทนกลุมตาง ๆ และ
ประชาชนในชมุ ชนรว มเวที
3. ประชาพิจารณ วิพากษวิจารณ แลกเปล่ียนเรียนรู รวมแรงรวมใจใหเปนหน่ึงเดียว
เพ่ือรวมกนั ปฏิบัติการตามแผน
4. ปรบั ปรงุ แกไข แผนใหม ีความถกู ตองเหมาะสมตามมติของท่ีประชุม โดยเขียนแผน
เปนลายลกั ษณอักษร จดั ทําเปนเอกสารใหชุมชนไดศึกษา และนําไปปฏิบัติใหเปนไปในแนวทาง
เดียวกนั
องคประกอบของแผนชมุ ชน
โดยท่ัวไป แผนชุมชนมอี งคประกอบหลกั ในการเขียนดงั น้ี คือ
1. วิสยั ทศั น (ภาพอนาคตทจ่ี ะไปใหถ ึง)
2. เปา หมาย
3. ยุทธศาสตร (กลวธิ )ี
4. วตั ถปุ ระสงค
5. ขอ มูลชมุ ชน ที่จาํ แนกเปนหมวดหมู
6. แผนงาน โครงการ และกิจกรรม
7. แผนการปฏบิ ัติงาน แนวทางหรอื วธิ ีการดาํ เนนิ การ
8. จาํ นวนงบประมาณ และทมี่ าของงบประมาณ
9. ระยะเวลาดาํ เนนิ การ
10. ตวั บง ช้คี วามสาํ เรจ็
สวนองคประกอบปลกี ยอยอนื่ อาจเขยี นเพม่ิ เตมิ ตามความจาํ เปน และเหมาะสมตามบรบิ ท
ส่งิ แวดลอมของแตล ะชุมชน
22
เรอ่ื งที่ 3 ขัน้ ตอนการทําเวทีประชาคม
เวทีประชาคม เปนสถานท่ีที่ผูคนรวมตัวกันเพ่ือพูดคุยแลกเปลี่ยนขอมูล ความคิดเห็น
แกไขปญ หา พัฒนาหรือปฏบิ ตั ิรวมกัน เพ่อื ประโยชนข องชุมชน โดยใชก ารมสี วนรว มในการคนหา
ขอ มลู วิเคราะหข อ มูลและกาํ หนดกจิ กรรมที่จะนาํ ความเห็นรวมขับเคลื่อนไปสกู ารปฏิบตั ิ
ข้ันตอนการทาํ ประชาคม (กรมการพัฒนาชมุ ชน. 2543 : 420) มีขน้ั ตอนดังนี้
1. ขัน้ เตรยี มการ
1.1 ศึกษา วเิ คราะห ขอมลู ที่เกี่ยวขอ งกบั ชมุ ชน และทเี่ ปน ประเดน็ รว มของชมุ ชน
กาํ หนดประเด็นเนื้อหา และวธิ กี าร
1.2 จดั ต้ังคณะทาํ งานประชาคม พรอมท้ังกําหนดบทบาทหนา ท่ขี องคณะทาํ งานให
ชัดเจน เชน ผนู ําประชาคมทําหนาท่ีกระตุนใหประชาชนไดรวมคิดตามประเด็น สรางบรรยากาศ
การมสี ว นรว ม ผูชว ยผนู ําประชาคม ทาํ หนาทเี่ สนอประเด็นทผ่ี นู ําประชาคม เสนอไมครบถว น หรือ
ผิดพลาด รวมทั้งบรรยากาศใหเกิดการตื่นตัว เกิดการผอนคลาย ผูอํานวยความสะดวก ทําหนาท่ี
ใหบรกิ ารดานตา ง ๆ เปนตน
1.3 กําหนดจาํ นวนประชาชนกลุมตา ง ๆ ทเ่ี ปนผูมีสวนไดส ว นเสยี ประมาณ 30-50 คน
เชน กรรมการหมูบ าน ผนู ํากลุมอาชพี ผนู าํ ทองถน่ิ ผนู ําตามธรรมชาตแิ ละอาสาสมัครเปน ตน
1.4 กาํ หนดระยะเวลาของการทําประชาคม โดยพิจารณาใหมีความเหมาะสมตาม
ความพรอมของประชาชนและขนึ้ อยูกับประเดน็ การพูดคุย แตตองไมก ระทบตอเวลาการประกอบ
อาชีพของประชาชน
1.5 เตรียมชมุ ชน สถานที่ วสั ดุอปุ กรณ ส่ือการเรยี นรูต า ง ๆ ที่ใชใ นการประชาคม
และประสานงานกบั ทุกฝา ยทเ่ี กี่ยวขอ ง
2. ขั้นดาํ เนนิ การ
2.1 เตรียมความพรอมของประชาชนที่เขารวมประชาคม เชน สรางความคุนเคย
การแนะนาํ ตวั ละลายพฤตกิ รรม ใหทุกคนไดรูจกั กันโดยทวั่ ถึง กําหนดวตั ถุประสงค ขอบเขต กตกิ า
ในการทาํ ประชาคมใหช ดั เจน
23
2.2 แลกเปลยี่ นเรยี นรซู ง่ึ กันและกัน ทัง้ คณะทาํ งานและประชาชนรว มกัน สะทอน
ความคิดเห็นตอ ประเดน็
2.3 คนหาปจจัยเกอ้ื หนุนหรอื “ทนุ ” ในชมุ ชน โดยรว มกันพิจารณาจดุ เดน จดุ ดอย
ขอ จาํ กัดและโอกาสของการพฒั นาชมุ ชน ระดมสมองคน หา ทรพั ยากรตาง ๆ ทม่ี อี ยใู น ชุมชน รวมท้งั
ทุนทางสังคม ไดแก วัฒนธรรม ประเพณี ระบบเครือญาติ ความเอื้ออาทร ฯลฯ เพ่ือใชทุนเหลาน้ี
เปนพลงั ขับเคล่อื นกจิ กรรมตา ง ๆ ในชุมชน
3. ข้นั ติดตามและประเมินผลการดาํ เนินการ
3.1 คณะทํางานและประชาชนกลุมเปาหมายรวมกันแสดงผลประเมิน จุดเดน
จุดดอย ขอบกพรอง และสิ่งท่ีควรปรับปรุง สําหรับการทําประชาคมคร้ังตอไป รวบรวมผลงาน
ท่ีผานมา เพ่ือเผยแพรและประชาสมั พนั ธ
3.2 ตดิ ตามผลหลังการดาํ เนินงาน เม่อื จัดประชาคมเสร็จสิ้นแลว เชน คณะทํางาน
ประชาชนกลุมเปาหมาย และผูเกี่ยวขอ งทุกฝาย ตองประสานงาน เพ่ือใหเกิดการสนับสนุนการ
ดาํ เนนิ งานตามมติของประชาชนอยา งตอ เน่อื ง ใหกาํ ลังใจ ชว ยเหลือกันและกันอยางจริงจงั
วตั ถุประสงคข องการทาํ ประชาคม
ในการทาํ ประชาคมมวี ัตถปุ ระสงคที่สาํ คญั หลายประการ (ณัฐนรี ศรีทอง, 2552, 418-419)
ดงั น้ี
1. เพือ่ สงเสริมใหประชาชนเกิดการเรยี นรูซึ่งกนั และกนั อยา งตอ เน่ือง โดย
สามารถคดิ วิเคราะหไ ดดว ยตนเอง
2. เพื่อสงเสริมใหประชาชนไดว ิเคราะหป ญ หาของชมุ ชน และสามารถกําหนด
ทิศทางการทํางานดว ยตนเอง
3. เพ่ือสรางจิตสํานึกสาธารณะใหเ กดิ ขึ้น ประชาชนในชมุ ชนรจู กั ทาํ งานเพอ่ื
สว นรวม และการพึง่ พาตนเอง
4. เพ่ือคน หาผนู าํ การเปลย่ี นแปลง (แกนนาํ ) ในชมุ ชน
5. เพ่ือเปน การระดมพลงั สมองในการคดิ แกปญ หาท่ีตอบสนองตอความตอ งการ
ที่แทจ รงิ ของประชาชน (ประเด็นรว ม)
24
6. เพื่อใหป ระชาชน หนวยงานตา ง ๆ ท้ังภาครัฐและเอกชน มสี ว นรวมใน
การตดั สนิ ใจ ลงมอื ปฏบิ ตั ิ และตดิ ตามผล ประเมินผลการทาํ งานเชงิ พฒั นารว มกนั
7. เพ่อื ใหม ีทางเลือกในการแกไ ขปญหารว มกนั ของประชาชน โดยเชื่อมโยง
ประสบการณต า ง ๆ และพฒั นาการคดิ อยา งเปน ระบบ
8. เพอ่ื กอใหเ กิดเวทสี าํ หรับการปรกึ ษาหารอื พบปะ พูดคยุ แสดงความคิดเหน็
รวมกันของคนในชุมชน
เรอ่ื งที่ 4 การมสี ว นรว มของประชาชนในการพัฒนาชมุ ชน
การจัดกจิ กรรมการพฒั นาชมุ ชน ทกี่ อใหเกดิ การมสี วนรว มของประชาชนนั้น สามารถทําได
หลายวธิ ี เชน การจดั เวทีประชาคม การประชมุ กลุมยอย เพ่ือระดมความคิดเห็นรวมตอประเด็นใด
ประเด็นหนง่ึ การฝกอบรมเพ่ือพฒั นา หรือสงเสริมศักยภาพของประชาชน การประชาพิจารณ เพื่อ
การรบั ฟงความคิดเหน็ ของประชาชน เกีย่ วกบั ประเดน็ ทม่ี ผี ลกระทบตอประชาชนจาํ นวนมาก ฯลฯ
กิจกรรมตาง ๆ เหลาน้ีประชาชนทุกคนสามารถเขาไปมีสวนรวม เพราะเปนกระบวนการเรียนรู
รว มกนั แตการเขา ไปมีสวนรว มในแตละกจิ กรรมจาํ เปน ตองเขาใจ และแสดงบทบาทของตนเองให
ถกู ตอ ง สอดคลองและเหมาะสมกับกจิ กรรมทีจ่ ดั ข้ึน
4.1 การมสี วนรว มของประชาชนในเวทปี ระชาคม
เวทปี ระชาคมเปนกิจกรรมหน่ึงที่มีวธิ กี ารกระตนุ ใหก ลมุ ประชาชนไดเกดิ การเรยี นรู
อยางมีสวนรว มระหวางผูท่ีมปี ระเดน็ รวมกนั โดยจดั เวทีสือ่ สารพดู คยุ กันข้ึน เพ่ือสรา งการรับรู สรา ง
ความเขา ใจในประเดน็ ปญ หารว ม เพอ่ื ใหไ ดข อสรุปและแนวทางแกไขประเด็นนั้น ๆ แลวชวยกัน
ผลกั ดนั ใหเ กิดผลตามแนวทางและเปาหมายทไ่ี ดก ําหนดขน้ึ รวมกนั
การเขามามสี ว นรว มของประชาชนในเวทปี ระชาคม ประชาชนอาจแสดง บทบาท
ของตนเองไดด ังน้ี
1. ควรทาํ ความเขา ใจตอ วตั ถปุ ระสงคของการทาํ ประชาคมอยา งชดั เจน
25
2. ควรใชความคิดและนาํ เสนอโดยการพดู สื่อสารใหเห็นความเชอื่ มโยง และเปน
ระบบ
3. พยายามเขาใจและเรียนรรู ับฟง เหตุผลของผอู น่ื
4. ควรรบั ฟงประเดน็ และความคิดเหน็ ของผูอน่ื อยา งตง้ั ใจ หากไมเ ขา ใจ
ควรซักถามผูดาํ เนนิ การดว ยความสุภาพ
5. ความคิดเห็นควรมคี วามเปนไปได มีความเหมาะสม
6. ควรเสนอความคิดเหน็ อยา งสรา งสรรค น่นั คือใชเหตแุ ละผลประกอบ
ความคิดเห็น
7. รบั ฟงและเคารพความคดิ เหน็ ของผอู น่ื เพราะแตละคนมีสทิ ธเิ สรภี าพในการ
แสดงความคดิ เห็นอยางเทาเทยี มกัน
8. แสดงความคิดเหน็ ตอประเดน็ รว มอยา งตรงไปตรงมา
9. ไมวางตนเปนผขู ดั ขวางตอ การดาํ เนนิ งาน
4.2 การมสี ว นรว มของประชาชนในการพฒั นาชุมชน
1. การมสี วนรวมในการคนหาสาเหตขุ องปญหา เนือ่ งจากปญหาเกิดกับประชาชน
ประชาชนในชุมชนยอมรูจกั และเขา ใจปญ หาของตนดีทีส่ ุด หากไดร วมกลมุ กนั จะสามารถชวยกัน
คดิ วเิ คราะหป ญ หาและสาเหตุไดอยางชัดเจนและรอบดา น
2. การมสี ว นรวมในการรว มคิด รว มวางแผน ประชาชนอาจรวมกันใชขอมลู ทีไ่ ด
จากการสาํ รวจและเรียนรูร วมกันจากการรวมกลมุ แลกเปลยี่ นความคิดเห็น จากการคนหาศักยภาพ
ของชุมชน หรอื จากการศึกษาดงู าน แลว นําขอ มูลเหลานั้นมาคิดวางแผนรวมกัน ตัดสินใจรวมกัน
ข้ันตอนน้ีอาจคอยเปนคอยไป และอาศยั แกนนําท่เี ขมแข็ง
3. การมีสวนรวมในการปฏิบัติ เน่ืองจากประชาชนมีทุนของตนเอง ตั้งแตแรงงาน
ประสบการณและทรพั ยากร หากไดรวมกันปฏิบัติโดยใชทุนที่มีอยู ยอมทําใหรูสึกถึงความเปน
เจาของรวมกัน เกิดการเรียนรูในการทํางานรวมกัน การแกไขปญหารวมกัน โอกาสท่ีจะนําไปสู
เปาหมาย จงึ มีสูงกวา การปฏบิ ัติโดยอาศัยบคุ คลภายนอก
26
4. การมีสวนรว มในการติดตามและประเมินผล เม่อื ประชาชนเปนผปู ฏิบัติ และ
ขณะเดียวกนั ประชาชนควรเปน ผูต ิดตามและประเมนิ ผลรวมกนั เพอ่ื จะไดรว มกันพจิ ารณาวา ส่งิ ท่ี
ดาํ เนนิ การรว มกันนน้ั เกิดผลดบี รรลุตามเปา หมายทก่ี ําหนดหรอื ไมเ พยี งใด ควรปรบั ปรงุ อยา งไร ซ่งึ
จะทําใหป ระชาชนเหน็ คุณคา ของการทาํ กิจกรรมเหลาน้นั
4.3 การมีสว นรว มของประชาชนในการประชมุ กลมุ ยอย
การประชุมกลุมยอ ย เปนการประชุม เพื่อระดมความคิด สาํ หรบั การทาํ งานอยา งใด
อยา งหนงึ่ โดยมีผูเ ขาประชมุ ประมาณ 4-12 คน
องค์ประกอบของการประชุมกลุ่มย่อย
1. กําหนดประเด็นการประชุม
2. ผูเขาประชมุ ประกอบดว ย 1) ประธาน 2) เลขานกุ าร 3) สมาชิกกลมุ
3. เลือกและกาํ หนดบทบาทผูเขา ประชมุ เพอ่ื ทาํ หนา ที่ตา ง ๆ เชน ประธานทท่ี ําหนา ที่
ดําเนนิ การประชุม เลขานุการทาํ หนา ทีส่ รปุ ความคิดเห็นของท่ปี ระชมุ จดบันทกึ และรายงานการ
ประชมุ สมาชกิ กลมุ ทาํ หนา ทแ่ี สดงความเหน็ ตามประเด็น
4. สถานที่กาํ หนดตามความเหมาะสม
วธิ ีการประชุมกลุ่มย่อย
1. ประธานเปน ผทู าํ หนา ทเ่ี ปดประชุม แจง หวั ขอการประชมุ ใหสมาชกิ ในท่ปี ระชมุ
รับทราบ
2. ผูเขารว มประชมุ อาจชว ยกนั ตง้ั หัวขอยอ ยของประเดน็ บางครั้งหนว ยงานเจา ของ
เรือ่ งท่ีจดั ประชุมอาจกาํ หนดประเดน็ และหัวขอยอ ยไวใหแลว
3. ประธานเสนอประเดน็ ใหส มาชกิ ทปี่ ระชมุ อภิปรายทลี ะประเด็น และสรุปประเด็น
การพูดคยุ
4. สมาชกิ ทป่ี ระชมุ รวมกนั แสดงความคดิ เหน็
5. เลขานุการจดบนั ทกึ สรปุ ความคดิ เห็นของทีป่ ระชมุ และจดั ทาํ รายงานหลงั จาก
ประชมุ เสร็จสน้ิ แลว
27
การมสี ่วนร่วมของสมาชิกในการประชุมกลุ่มย่อย
ในการประชมุ กลมุ ยอ ยจาํ เปน ตอ งอาศัยความคิดเห็นของสมาชกิ ทกุ คน ดงั นั้นเพอ่ื ใหก าร
จัดประชมุ บรรลตุ ามเปาหมาย สมาชิกในท่ปี ระชมุ ควรมีสว นรว มดงั น้ี
1. พดู แสดงความคดิ เห็นพรอมเหตผุ ลทลี ะคน
2. ในการพดู สนับสนนุ ความคดิ เห็นของผอู ืน่ ควรแสดงความคิดเหน็ และใชเ หตุผล
ประกอบ
3. ผูเขา รว มประชมุ สามารถแสดงความคิดเห็น คดั คานความคิดเห็นของผูอ ื่นได แตควร
ใชเ หตุผลและความเปนไปไดใ นการคดั คา น
4. ควรใชคาํ พดู ทส่ี ุภาพ เชน ขอโทษ ขอบคณุ ในโอกาสทเี่ หมาะสม
เร่ืองท่ี 5 ระดับการมีสว นรว มของประชาชนในการพัฒนาชมุ ชน
การมสี ว นรว มของประชาชนในกระบวนการพฒั นาชมุ ชนทุกขน้ั ตอนของการพัฒนา ตัง้ แต
การรว มคดิ รว มวางแผน รว มปฏบิ ัติ รว มกาํ กบั ตดิ ตาม รว มประเมินผล และรบั ผลประโยชน จากการ
พฒั นาหากการพัฒนาเปนไปตามกระบวนการดงั กลา ว ถอื วา การพฒั นาน้ันเปนของ ประชาชนโดย
แทจริง เพราะเปนสง่ิ ที่ชใี้ หเห็นถึงความพรอม ความตื่นตวั ความรว มมอื ความเขม แขง็ เปน ปก แผน
ของชมุ ชนซึง่ เปน ตัวบง ชข้ี องการพฒั นาแบบพึง่ พาตนเอง
ระดบั ของการมีส่วนร่วม แบง ไดเ ปน 3 ระดบั ดงั น้ีคอื
1. ระดบั เปน ผูร ับประโยชนจ ากการพฒั นา เปน การเขา มามีสว นเก่ยี วขอ ง ดวยการรบั
ผลประโยชนเพยี งอยางเดยี ว ถอื เปนระดบั ตา่ํ สุดของการมีสวนรว ม หากชมุ ชนใด
ประชาชนสว นใหญม สี ว นรวมในระดบั น้ี ยงั จาํ เปน ทจ่ี ะตอ งพฒั นาความรวมมอื
ความเปนปกแผน ใหม ีพลงั เปนหนงึ่ เดยี ว ยังไมถอื วา เปนการพัฒนาโดยประชาชน
28
2. ระดบั เปนผูใหค วามรว มมอื ประชาชนเขา มามสี ว นเกี่ยวขอ งโดยคอยใหความรว มมอื กบั
เจา หนา ที่รฐั ตามโอกาสและเวลาที่เจา หนา ท่รี ฐั เปนผกู ําหนด
เปนการใหค วามรวมมอื ในระดบั ท่ีดี แตย งั เปน ระดบั ทปี่ ระชาชนยงั ไมไ ดเ ปนผู
ตัดสินใจ และลงมอื ปฏิบัตกิ ารเอง
3. ระดบั เปนผูตัดสนิ ใจประชาชนจะเปนผูศ กึ ษาสถานการณแ ละตดั สินใจทจี่ ะดําเนนิ การ
พัฒนาเรื่องตาง ๆ ตลอดกระบวนของการพัฒนาดวยตนเองนับต้ังแตการรวมมือ
วางแผน การปฏิบัติ การประเมิน และการแบงปนผลประโยชนรวมกัน เจาหนาที่รัฐ
เปนเพียงผูใหคําปรึกษา หากประชาชนที่มีสวนรวมในลักษณะนี้ถือวา เปนระดับ
สงู สุดของการมสี วนรวม
29
กจิ กรรม
ใหผ ูเ รียนทาํ กจิ กรรมตอ ไปน้ี
1. อธิบายขนั้ ตอนของการจัดทาํ แผนพฒั นาชมุ ชนทงั้ 3 ขั้นตอน พรอมยกตวั อยา ง การมี
สวนรว มของตนเองในการพฒั นาทอ งถ่นิ หรอื ชมุ ชนของตนเอง
2. อธบิ ายขน้ั ตอนการจดั ทาํ ประชาพจิ ารณแ บบพฒั นาชุมชน
3. หาโอกาสเขา รวมสังเกตการณ หรือมีสวนรวมในกิจกรรม การจัดทําแผนพัฒนา
ชมุ ชน และการประชาพิจารณแผนพฒั นาชมุ ชน รวมท้ังการประชมุ กลมุ ยอยในทองถ่นิ หรอื ชุมชน
ของผูเรียน แลว บันทึกขั้นตอนหรือกระบวนการจากการสงั เกตลงในสมดุ บันทึก
4. เชญิ แกนนาํ หรือนกั พฒั นาชมุ ชนมาใหความรเู ก่ยี วกบั กระบวนการจัดทาํ แผนพฒั นา
ชุมชน พรอ มจดบนั ทกึ ขนั้ ตอนและกระบวนการจัดทาํ แผน
5. ใหสังเกตและประเมินระดับการมีสวนรวมในการพัฒนาชุมชนของประชาชน
ในชมุ ชนของผูเรียนวา ประชาชนสว นใหญม สี วนรวมอยูในระดบั ใด
6. หาโอกาสศึกษาดูงานเกี่ยวกับการพัฒนาชุมชนในพื้นท่ีใกลเ คียง แลวนําผลของ
การศกึ ษามาเปรยี บเทียบกับชมุ ชนของตนเอง
7. ใหผูเรียนแบงกลุม (ตามความเหมาะสม) สรางสถานการณจําลอง จัดทําเวที
ประชาคม โดยใหทุกคนรว มกนั กาํ หนดประเดน็ และมีสวนรวมในการจดั เวทปี ระชาคม ภายใตการ
ใหค าํ ปรึกษาแนะนาํ ของครปู ระจาํ กลมุ
30
บทท่ี 4
การเผยแพรผลการปฏิบตั ิ
สาระสาํ คัญ
การเผยแพรผ ลการปฏบิ ตั งิ านตามกระบวนการพัฒนาชุมชนเปนขั้นตอนของการส่ือสาร
ผลการดาํ เนินงานใหสาธารณชนไดรับรู การสื่อสาร อาจเขียนเรียบเรียงเปนรายงานผลการดําเนินงาน
ซงึ่ มีรปู แบบเฉพาะ นอกจากน้ีในการทาํ งานพัฒนา เม่อื เสร็จส้ินการวางแผน กอนที่จะถึงข้ันตอน
การปฏบิ ัติ จาํ เปน ตองเขียนโครงการ เพ่ือส่อื สารกระบวนการดําเนินงานในอนาคต เพื่อเปนเคร่ืองมือ
ขับเคล่อื นไปสูการปฏิบัติอยางเปนระบบและมเี ปา หมายท่ชี ัดเจน
ผลการเรียนรทู ค่ี าดหวัง
เมือ่ ศกึ ษาบทที่ 4 จบแลวผเู รยี นสามารถ
1. อธบิ ายความหมาย ลกั ษณะองคประกอบสาํ คญั ของโครงการ
2. อธบิ ายสว นประกอบท่สี าํ คญั หลักการเขียน และรปู แบบของรายงานผล
การดาํ เนนิ งานได
3. เขยี นโครงการพัฒนาชมุ ชนได
4. สรปุ ความหมาย และความสาํ คัญของรายงานผลการดําเนนิ งานได
5. เขียนรายงานผลการดาํ เนนิ งานพฒั นาชมุ ชนได
ขอบขา ยเนอ้ื หา การเขียนโครงการพฒั นาชมุ ชน
การเขียนรายงานผลการดาํ เนนิ งานพฒั นาชมุ ชน
เรอื่ งท่ี 1
เรื่องที่ 2
31
บทที่ 4
การเผยแพรผ ลการปฏบิ ตั ิ
กระบวนการพัฒนาชุมชนอาจเร่ิมจากการจัดทําแผนพัฒนาชุมชนการเขียนโครงการ
ขับเคลือ่ นไปสกู ารปฏบิ ตั ิตามแผนงานและโครงการน้ัน ๆ แลวสรุปบทเรียนประเมินผลโครงการ
เขียนรายงานผลการดําเนินงาน แลว ดาํ เนินการพัฒนาตอไปตามกิจกรรมตาง ๆ ของโครงการโดย
การเขียนโครงการเพ่ือการนําไปปฏบิ ัติตอไป การเขียนโครงการและรายงานผลการดําเนินงาน
มลี กั ษณะเฉพาะและมีรูปแบบทแี่ ตกตางกัน ผูเ ขียนจําเปน ตองศึกษาองคประกอบ และรายละเอียด
ใหช ัดเจนจึงจะลงมือเขยี นได
เรอ่ื งท่ี 1 การเขยี นโครงการพฒั นาชุมชน
1.1 ความหมายของโครงการ
มีผูใหความหมายของคาํ วา “โครงการ” ไวหลายความหมาย ดังน้ี
1) โครงการ หมายถึง กลุมกจิ กรรมทต่ี อบสนองวตั ถปุ ระสงค โดยมีเวลาเรม่ิ ตน
และสน้ิ สดุ ทชี่ ัดเจน (ศูนยเทคโนโลยที างการศกึ ษา. 2545 : 37)
2) โครงการ หมายถงึ กลุม กิจกรรมที่มีความสัมพันธเก่ียวของกัน มุงตอบสนอง
เปา หมายเดียวกัน มรี ะยะเวลาเร่มิ ตน และสน้ิ สุดท่ชี ดั เจน เปน งานพเิ ศษท่ีตา งจากงานประจาํ
(ทวปี ศิริรศั มี. 2544 : 31)
3) โครงการ หมายถึง กจิ กรรมทจ่ี ดั ทาํ ข้ึน เพื่อจะแสดงใหเห็นวาจะทํางานอะไร
อยา งไร ที่ไหน เมอ่ื ไร และจะเกดิ ผลอยางไร (กรมการศกึ ษานอกโรงเรียน. 2537 : 7)
สรปุ ความหมายของโครงการ หมายถึง กลุมกิจกรรมอยางใดอยางหนึ่งท่ีจัดทําขึ้น โดยมี
วัตถุประสงคก ารปฏิบัติ และชว งเวลาท่ชี ัดเจน
32
1.2 ลกั ษณะของโครงการ
โครงการท่ีดีโดยท่ัวไปตอ งมลี กั ษณะทส่ี าํ คญั ดงั น้ี
1) นําไปปฏิบตั ิได
2) สอดคลอ งกับสภาพสงั คม วัฒนธรรม ชมุ ชน
3) มรี ายละเอยี ดเพยี งพอ ระบชุ ว งเวลา กลุมเปาหมายแนวทางการปฏิบตั ิ
ทรพั ยากร (บคุ ลากร งบประมาณ ฯลฯ)
4) มีตวั บง ชท้ี น่ี ําไปสกู ารพฒั นา
1.3 วธิ ีพัฒนาโครงการ
โครงการ เปน กรอบการคิดวางแผนเคาโครงการทาํ งานในอนาคต การพัฒนาโครงการ
มขี ้นั ตอนพอสรุปไดด งั น้ี
1) ศึกษาและวเิ คราะหส ภาพปจ จบุ นั ของชมุ ชนเพื่อกาํ หนดปญ หาและความตองการ
ในการพัฒนา
2) กาํ หนดวตั ถุประสงคและเปาหมายของการทาํ งาน
3) กําหนดกิจกรรมและจดั ทํารายละเอยี ดตามองคป ระกอบของโครงการ
4) กาํ หนดทรพั ยากร เชน งบประมาณ บคุ ลากร
5) กาํ หนดการตดิ ตาม/ประเมนิ ผล
1.4 โครงสราง/องคประกอบของโครงการ
โดยทั่วไปการเขียนโครงการจะตองเขยี นตามหวั ขอ ตา งๆ เพื่อผูเก่ียวของทุกฝาย จะได
ทราบวาจะทําอะไร อยา งไร ทไ่ี หน เมื่อไร สาํ หรบั โครงสรางหรือองคป ระกอบที่มักใชในการเขยี น
โครงการ มดี งั นี้
1) ชอ่ื โครงการ ควรเขยี นเปนขอความท่มี คี วามหมายชดั เจน กระชบั และเขา ใจงา ย
2) หลักการและเหตผุ ล ควรเขยี นลกั ษณะบรรยายรายละเอยี ดตง้ั แต สภาพความ
เปน มา เหตผุ ลความจาํ เปน หลกั การมที ฤษฎี นโยบาย สถติ ทิ ่ีเปนขอมูลอา งอิงประกอบ
33
3) วตั ถุประสงค เปนขอความที่แสดงถึงความตองการทําสิ่งหนึ่งสิ่งใดทสี่ อดคลองกับ
หลักการเหตผุ ล สามารถปฏิบัติได อาจระบปุ รมิ าณหรือคุณภาพของการดําเนนิ งานดว ย กไ็ ด
4) เปาหมายการดําเนินงาน เปน รายละเอียดท่ีแสดงผลผลิตของโครงการ ในเชิง
ปรมิ าณ และคณุ ภาพท่มี ีลักษณะเหมาะสมและสอดคลองกบั วตั ถปุ ระสงค
5) วิธีดําเนินงาน เปนรายละเอียดเก่ียวกับกิจกรรมท่ีจะปฏิบัติใหบรรลุตามวัตถุ-
ประสงค กิจกรรม อาจมีมากกวา 1 กิจกรรม โดยเขียนเรียงตามลําดับ จากการเร่ิมตนจนส้ินสุดการ
ทาํ งาน แสดงระยะเวลาทีช่ ัดเจนแตล ะกจิ กรรม อาจแสดงดวยปฏิทินการปฏิบัติงาน
6) ระยะเวลา ควรระบรุ ะยะเวลาตง้ั แตเริม่ ตน โครงการจนเสรจ็ สนิ้ โครงการ
7) ทรัพยากรหรอื งบประมาณที่ใชในการดาํ เนนิ การ ซ่งึ ตองสอดคลองกับเปาหมาย
และกจิ กรรม
8) เครือขา ยท่เี กีย่ วของ ระบุ กลมุ บคุ คล ชุมชน หนวยงานทเ่ี กี่ยวของที่สนับสนุน
สง เสริมและสามารถขอประสานความรว มมอื ในการดาํ เนนิ งาน
9) การประเมินผล ระบุวิธกี ารประเมินเปนระยะตลอดการดําเนินงาน เชน กอน
โครงการ ระหวาง สิ้นสุดโครงการ เพ่ือจะไดทราบวางานท่ีจะทําเปนไปตามวัตถุประสงค และ
เปา หมายหรือไม คณุ ภาพของงานเปน อยางไร
10) ผูรับผิดชอบโครงการ ระบุ ช่ือผูรับผิดชอบ หรือหนวยงาน พรอมหมายเลข
โทรศพั ท เพอื่ ความชดั เจน และสะดวกในการติดตอ
11) ความสัมพันธก บั โครงการอ่นื ระบุชอื่ งาน หรือโครงการ ที่เก่ียวของของหนวยงาน
หรอื ชุมชนวา มโี ครงการใดบา งท่สี ัมพนั ธกบั โครงการน้ี และเก่ียวขอ งในลกั ษณะใดเพ่ือความรวมมือ
ในการทาํ งาน
12) ผลทค่ี าดวา จะไดร บั เปน ผลท่เี กิดผลจากการท่โี ครงการบรรลุวัตถุประสงค และ
เปาหมายโดยระบุถึงผลที่จะไดรับภายหลังการดําเนินโครงการ ผลดังกลาว ควรสอดคลองกับ
วตั ถปุ ระสงคข องโครงการ
34
เร่ืองท่ี 2 การเขียนรายงานผลการดําเนนิ งานพฒั นาชุมชน
การเขียนผลการดาํ เนินงานของบคุ คล กลมุ องคกร หรอื หนว ยงาน เปนการเขยี นรายงาน ซ่ึงมี
วธิ ีการเขียนแตกตางกนั แตการเขียนรายงานทส่ี ามารถสอ่ื สารใหเขาใจ จําเปนตองมีการวางแผนและ
เรยี บเรียงอยางเปน ระบบ จึงจะทาํ ใหร ายงานฉบับนน้ั มีประโยชน นา อา น และนําไปใชใ นการวางแผน
ไดอยางตอ เนอ่ื ง และสามารถใชเ ปน ขอมลู สารสนเทศ เพื่อการปรับปรุง พฒั นางานตอไป
2.1 ความหมายและความสําคญั ของรายงานผลการดาํ เนินงาน
รายงาน คือ เอกสารท่ีเสนอรายละเอียดเก่ียวกับขอมูลพื้นฐาน เปาหมาย ผลการ
ดําเนินงาน ปญหา อุปสรรค แนวทางแกไข และขอเสนอแนะในการดําเนินงานของบุคคล กลุม
องคก ร หรอื หนวยงาน
รายงานผลการดําเนนิ งานมคี วามสําคัญ เพราะเปนเอกสารท่แี สดงใหเ หน็ รายละเอยี ด
ของผลการดาํ เนนิ งานทีผ่ านมาวา ประสบผลสําเร็จ ไมส ําเร็จอยางไร เพราะอะไร มีอปุ สรรค ปญหา
ในการดาํ เนนิ งานดานใด อยา งไร จะมีแนวทางแกไขอยางไร หากจะพฒั นา ตอ เนอื่ งจะมีขอเสนอแนะ
ทเี่ ปนไปไดอ ยางไร
2.2 การเขยี นรายงานผลการดําเนินงาน
การเขยี นรายงานผลการดาํ เนนิ งาน เปน วิธีการนาํ เสนอผลจากการดาํ เนนิ งาน โครงการใด
โครงการหนึ่งอยา งมีระบบและเปน แบบแผนเพื่อส่อื สารใหผ เู ก่ยี วขอ งไดรับทราบการเขยี นรายงานให
มีประโยชนและคุณภาพตอผูอานหรือผูเก่ียวของ ผูเขียนรายงานตองศึกษาทําความเขาใจตั้งแต
วธิ กี ารเขยี น การใชภ าษาที่เหมาะสม การรูจักนําเสนอขอมูลเกี่ยวกับรายละเอียด และข้ันตอนของ
การดําเนินงาน ต้ังแตแรกเริ่มจนจบ เรียงลําดับต้ังแตความเปน มา วัตถุประสงค วิธีดําเนินงาน
ปญหาอุปสรรค พรอมขอเสนอแนะ ฯลฯ เพ่ือสื่อสารใหผูอานเขาใจตามลําดับ และจัดพิมพเปน
รายงานฉบับสมบรู ณท ีน่ าเชอ่ื ถอื สามารถนําไปใชอางอิงได
35
ขนั ตอนการเตรียมการเขยี นรายงาน
การเขียนรายงานทดี่ ีมคี ุณภาพ ตอ งมีการวางแผนและเตรยี มการอยางเปน ลาํ ดบั
ขนั้ ตอน ดังน้ี
ขนั ทหี นึง เตรียมขอมูลท่ีเกี่ยวขอ งท้ังที่เปนเนื้อหาและสว นประกอบเชน วัตถุประสงค
และขอบขา ยเน้ือหา รายละเอียดเน้อื หาท่ีครบถวน ซ่งึ ตอ งใชเ วลาในการรวบรวม
ขนั ทีสอง กําหนดประเภทของผอู า นรายงาน ผเู ขียนจะตองทราบวา รายงานทจี่ ัดทําขึ้น
มใี ครบา งท่จี ะเปนผอู าน เพ่อื จะไดนาํ เสนอรายงานดวยรายละเอียด เลือกภาษาท่เี หมาะสมสอดคลอ ง
กบั ระดบั ของผอู า น
ขนั ทสี าม กําหนดเคาโครงเร่ือง หรือกรอบของการเขียนรายงานเปนการกําหนด
หวั ขอ หลกั และหวั ขอยอยน่ันเอง หวั ขอของเคา โครงเร่อื งควรครอบคลุมประเด็นที่ตอ งการนาํ เสนอ
เพื่อชวยใหงายและสะดวกตอการเขียน สามารถเรียงลําดับเน้ือหาหรือผลการดําเนินงานต้ังแต
เร่ิมตน จนจบ
หลกั การวางเค้าโครงเรืองในการเขยี นรายงาน
1. ควรจดั เรียงลาํ ดบั หัวขอ เรือ่ งอยา งตอ เนอ่ื ง และสมั พนั ธกนั
2. การจดั เรียงหวั ขอ ควรเช่อื มโยงกนั อยา งเปนเหตเุ ปน ผล
3. ควรคาํ นงึ ถงึ ความสนใจของผูอา น
4. หัวขอแตละหวั ขอควรครอบคลมุ รายละเอยี ดทตี่ องการนาํ เสนอ
หลกั และข้อควรคาํ นึงในการเขยี นรายงาน
การเขียนรายงานทุกประเภทใหมีคุณภาพสามารถนําเสนอและส่ือสารไดตรง
ประเด็นตามท่ตี องการ ผูเขียนควรคํานงึ ถงึ ส่ิงตอไปน้ี
1. ความถูกตอง ควรนําเสนอขอมูล รายละเอียดเนื้อหาท่ีถูกตอง ไมบิดเบือน
ความจริง นาํ เสนออยา งตรงไปตรงมา
2. ความกระชับ รดั กุม ตรงประเดน็ ตรวจทานอยางละเอียดถี่ถวน หลีกเล่ียง
ถอ ยคาํ ทฟ่ี มุ เฟอย วลที ่ีซํ้า ๆ กัน คุณคาของรายงานไมไดวัดท่ีปริมาณจํานวน
หนา แตวดั จากความชดั เจน ครบถว น ความตรงประเดน็ ของเน้ือหา
36
3. ความชัดเจนและสละสลวย โดยพิจารณาประโยคท่ีงาย ถูกตองตามหลักการ
เขยี น หลกั ไวยากรณ และเคร่อื งหมายวรรคตอน การยอ หนา รวมทั้งการสะกด
คํา หลกี เล่ียงการใชภ าษาถอยคําที่คลุมเครือ มีหลายความหมาย ควรใชหัวขอ
ยอ ยเพ่ือไมใหสับสน
4. การเขียนเรียบเรียงรายงาน ซึ่งอาจแบงเน้ือหาจากภายในเลมเปนตอน หรือ
เปนบท ตองมคี วามตอ เนื่องกันตลอดทัง้ เลม เมื่อเขียนตน รางเสร็จ ควรไดอาน
ตรวจทานทกุ ขอ ความ อานแลวไมรูสึกสะดุดมีความตอเนื่อง อยางสมํ่าเสมอ
ตลอดทัง้ เลม
5. การนาํ เสนอขอ มลู ในการเขยี นรายงาน มีขอมลู ทนี่ าํ เสนอ แบงเปน สอง ประเภท
คือ ขอมลู ท่ีเปนจาํ นวน สถิติ ตัวเลข และขอมูลท่เี ปน ขอความบรรยาย สําหรับ
การนําเสนอขอมูลท่ีเปนสถิติ ตัวเลข ควรนําเสนอในรูปแบบของตาราง
แผนภมู ิ หรอื แผนภาพตามความเหมาะสม พรอมท้งั มเี ลขท่ีและชอื่ กาํ กบั ตาราง
หรือแผนภูมดิ ว ย เพอื่ ผูอานจะไดท ราบวาเปน ขอมูลเก่ียวกบั เร่อื งใด นอกจากนี้
ตองระบุท่ีมาของขอมูลใหชัดเจนอีกดวย สวนขอมูลท่ีเปนขอความบรรยาย
ตองนําเสนอขอมูลท่ีเปนสาระสําคัญ หากขอมูลใดท่ีสําคัญแตเนื้อหาไม
ตอ เนอ่ื งกบั กรอบเคาโครงทกี่ ําหนดไว ควรนาํ ไปไวใ นภาคผนวก ทงั้ นี้ เพ่ือให
ไดรายงานที่เปนเอกภาพ ผูอานอานแลวสามารถจับประเด็นท่ีนําเสนอได
ชัดเจน การนาํ เสนอขอ มลู ตอ งคาํ นงึ ถึงลําดับกอนหลัง โดยเริ่มตนดวยขอมูล
เบ้อื งตนท่ีงา ยแกการเขาใจกอ น แลวจึงนาํ เสนอขอมลู ทซี่ บั ซอ นกวา ตามลาํ ดบั
6. การแบงยอ หนา โดยทวั่ ไปยอ หนา แตละยอ หนาจะบอกเร่ืองราวเพียงประเด็น
ใดประเด็นหน่ึง การจัดแบงยอหนาควรเรียงลําดับ เพ่ือใหเนื้อความตอเนื่อง
สัมพันธกัน การแบงยอหนาขึ้นอยูกับจุดมุงหมายของผูเขียนแตละคน เชน
ตอ งการสื่อสารกับผูอ าน ตอ งการเนนขอความบางตอน ตองการชวยใหผูอาน
อานขอความแตล ะยอ หนาไดรวดเรว็ เปน ตน
37
7. การอานทบทวนซ่ึงเปนข้ันสุดทายของการเขียน คือ อานทบทวนส่ิงท่ีเขียน
ท้งั หมดวามีขอความใดทย่ี งั ไมส มบรู ณ การเรียงลําดบั เรื่องมคี วามเช่อื งโยงกนั
หรอื ไม ขอความสําคัญทีย่ ังไมไดก ลาวถึงจะทําใหมองเหน็ จดุ ทค่ี วรแกไ ข
2.3 รูปแบบรายงาน
รปู แบบของรายงาน จะประกอบดวยสวนทส่ี ําคัญ 3 สวน คือ สว นประกอบตอนตน
สว นเน้ือเรอ่ื ง และสวนประกอบตอนทา ย รายงานแตละสวน ประกอบดว ยสวนยอ ย ๆ ดังนี้
1. สวนประกอบตอนตน ประกอบดว ย
1.1 ปกนอก ระบชุ ่ือเรอ่ื ง ชอื่ ผทู ํารายงาน ชื่อหนว ยงาน
1.2 ใบรองปก เปน กระดาษเปลา 1 แผน
1.3 ปกใน มขี อความเชน เดียวกับปกนอก
1.4 คาํ นาํ เปน ขอ ความเกรน่ิ ทั่วไปเพ่ือใหผ ูอ า นเขาใจขอบขา ยเนอื้ หาของ
รายงาน อาจกลา วถึงความเปน มาของการสาํ รวจ และรวบรวมขอมลู
และขอบคณุ ผใู หค วามชว ยเหลือ
1.5 สารบัญ เปนการเรียงลาํ ดบั หัวขอ ของเนื้อเรอื่ งพรอ มทั้งบอกเลขหนา
ของหัวขอ เร่อื ง
2. สวนเนอ้ื เรอ่ื ง ประกอบดว ย
2.1 บทนาํ เปน สว นท่บี อกเหตุผลและความมงุ หมายของการทํารายงาน
ขอบขา ยของเรอื่ ง วธิ กี ารดาํ เนินการโดยยอ การศึกษาคน ควา หาขอ มลู
2.2 เน้ือหา ถาเปน เร่ืองยาว ควรแบง ออกเปน บท ๆ ถาเปน รายงานสนั้ ๆ
ไมตอ งแบง เปน บท แบง เปนหัวขอ ตอ เนอ่ื งกนั ไป
2.3 สรุป เปนตอนสรปุ ผลการศึกษาคน ควา และเสนอแนะประเดน็ ท่คี วร
ศึกษาคนควา เพ่มิ เติมตอ ไป
38
3. สวนประกอบตอนทา ย ประกอบดว ย
3.1 ภาคผนวก เปนขอมูลที่มิใชเน้ือหาโดยตรง เชน ขอความ ภาพ สถิติ
ตาราง ชวยเสรมิ รายละเอียดเพม่ิ เติมแกเ นือ้ หา
3.2 บรรณานุกรม คือ รายชื่อหนังสือ เอกสารหรือแหลงขอ มูลอ่ืน ๆ ท่ีใช
ประกอบในการเขยี นรายงาน โดยเรียงลําดับตามพยัญชนะตัวแรกของช่ือ
ผูแตงหรือแหลงขอมูล ชื่อหนังสือ คร้ังท่ีพิมพ จังหวัดหรือเมืองท่ีพิมพ
สํานักพิมพ และปท่ีพิมพ ถาขอมูลทั้งภาษาไทยและภาษาตางประเทศ
ใหข ้นึ ตนดว ยขอมลู ที่เปน ภาษาไทยกอน
กิจกรรม
ใหผ ูเรยี นทาํ กจิ กรรมตอ ไปนี้
1. อธิบายความหมายของโครงการโดยสรปุ แลว บนั ทึกลงในสมดุ บนั ทึกการเรยี นรขู อง
ผูเรียน
2. สรปุ ลักษณะของโครงการท่ีดแี ละวธิ พี ัฒนาโครงการ โดยบันทึกลงในสมุดบนั ทึก
3. อธิบายองคประกอบและเขียนรายงานโครงการพัฒนาใดโครงการพัฒนาหน่ึงใน
ชุมชนของผูเรียนโดยปรึกษากับบุคลากรของ อบต. เจาหนาที่สถานีอนามัย หรือ
หนวยงานท่เี กีย่ วขอ งกบั การพฒั นาชุมชน ทงั้ นอี้ าจศกึ ษาและดูตวั อยา งโครงการตา ง ๆ
จากหนว ยงานดงั กลาว แลวนําสง ครูประจาํ กลมุ
4. สรุปความหมาย และความสาํ คญั ของรายงานผลการดําเนนิ งานโดยบนั ทกึ ลงในสมุด
บันทกึ การเรียนรู
5. ประสานงานกับหนวยงานองคกรตาง ๆ ในชุมชนของผูเรียน เชน อบต. โรงเรียน
สถานอี นามยั ฯลฯ เพ่อื ขอดตู ัวอยางและศึกษาเอกสารรายงานผลการดาํ เนนิ งาน หรอื
คนควาจากหอ งสมุด
6. รวมกลุมกับเพ่ือนรวมมือกันเขียนรายงานผลการดําเนินงานโครงการพัฒนา
โครงการใดโครงการหน่ึงที่สนใจ แลว ฝก การนาํ เสนอและรายงานสรปุ ผล พรอ มทงั้
นําสงรายงานผลการดําเนินงานดังกลาวใหครูประจํากลุมตรวจเพ่ือทราบขอควร
ปรับปรุงและพัฒนาตอ ไป
39
บทที่ 5
การพฒั นาอาชีพในชุมชนและสังคม
สาระสําคญั
การพัฒนาอาชพี ในชมุ ชนและสังคม มีความจําเปนตองสอดคลองสัมพันธกับตลาดแรงงานในระดับ
ประชาคมอาเซยี น และศกั ยภาพของประเทศไทย ดานทรพั ยากรธรรมชาติ ภูมิอากาศ ภูมิประเทศ และทําเลท่ีตง้ั
ศิลปวัฒนธรรม ประเพณี และวิถีชีวิต รวมถึงศักยภาพดานทรัพยากรมนุษย โดยนําศักยภาพของประเทศมา
พัฒนาอาชีพในชุมชนและสังคมใน 5 กลุมอาชีพ คือ เกษตรกรรม พาณิชยกรรม อุตสาหกรรม ความคิด
สรางสรรค และการบริหารจัดการและการบริการ
ผลการเรยี นรูทค่ี าดหวงั
เม่ือศกึ ษาบทท่ี 5 แลว ผเู รยี นสามารถ
1. รูแ ละเขา ใจแนวโนม การพัฒนาและสง เสริมอาชพี ในกลมุ ประชาคมเศรษฐกจิ อาเซยี น
2. รูและเขา ใจศกั ยภาพของประเทศไทย
3. อธิบายความสัมพนั ธระหวา งศักยภาพของประเทศไทย เพื่อนาํ ไปสอู าชพี ในชมุ ชนและสงั คมได
ขอบขา ยเนื้อหา
เรอ่ื งท่ี 1 อาเซียนกับการพัฒนาอาชพี
เร่อื งท่ี 2 จุดเดน ของประเทศไทยในการผลักดนั เศรษฐกจิ สรางสรรค
เรอื่ งที่ 3 ศกั ยภาพของประเทศไทยกบั การพฒั นาอาชพี
40
บทที่ 5
การพัฒนาอาชพี ในชุมชนและสังคม
เรื่องท่ี 1 อาเซียนกับการพัฒนาอาชพี
การขับเคลื่อนทางเศรษฐกิจและสังคมของประเทศในอาเซยี นใหม ีความเจริญกาวหนาและแขง ขนั ได
ในระดบั สากลโดยเฉพาะอยา งยิ่งความเคลอื่ นไหวและเปลยี่ นแปลงซง่ึ เกดิ ขึ้นอยางรวดเร็วและตอเนอ่ื งในหลายดา น
ทส่ี ง ผลใหโลกเขา สยู ุคโลกาภิวัตนอันเปนยุคของสังคมฐานความรู กลไกความรวมมือดานการศึกษาจึงเปน
สงิ่ จําเปนพืน้ ฐานในการสรางอาเซียนสูการเปนประชาคมทมี่ ีความมั่นคงท้ังทางดานเศรษฐกิจ การเมืองและ
สงั คม โดยเฉพาะการพัฒนาศกั ยภาพมนษุ ยเ พ่อื สรา งอนาคตทีร่ ุงเรอื งของอาเซียน
การพฒั นามาตรฐานอาชพี ที่เนนศกั ยภาพในอาเซยี นโดยมวี ตั ถุประสงคเพ่ือสงเสริมทรัพยากรมนุษย
ใหม ีศักยภาพในระดับภูมิภาคและระดบั โลก พรอ มท้ังสามารถสนองตอบความตองการของภาคอตุ สาหกรรม
ความรวมมอื ของอาเซยี นดา นการศึกษาเปนสว นหนง่ึ ของการจัดต้ังประชาคมอาเซยี นซึง่ มเี ปาหมายที่
จะยกระดบั คณุ ภาพชวี ิตของประชาชนและการพฒั นาภมู ภิ าคอยางย่งั ยืนโดยมีประชาชนเปนศูนยกลางสําหรับ
ประเทศไทยประโยชนท่ีจะไดรับในกรอบความรวมมือกับอาเซียน ไดแก ความชวยเหลือดานวิชาการ และ
เทคนิคภายใตโครงการตาง ๆ รวมทั้งการกําหนดนโยบายที่อาศัยการผลักดันรวมกันภายใตกรอบอาเซียน
นอกจากน้ียังเปนโอกาสในการเสริมสรางศักยภาพของประเทศ และโอกาสที่จะมีสิทธิ์มีเสียงในการผลักดัน
นโยบายของประเทศสูเ วทรี ะดบั นานาชาติ ตลอดจนโอกาสในการรักษาผลประโยชนของประเทศไทยในเวที
โลก ความรวมมือระหวางประเทศไทยดานการศึกษาเปนไปในทิศทางที่สอดคลองกับแนวทางการปฏิรูป
การศึกษาของประเทศสมาชกิ อาเซียน โดยเฉพาะอยา งย่ิงการขยายโอกาสทางการศึกษา การยกระดับคุณภาพ
การศกึ ษา การนาํ โครงสรางพ้ืนฐานสิง่ อํานวยความสะดวกและเทคโนโลยีการส่ือสารเขามารองรับการขยาย
โอกาสและการยกระดับคุณภาพการศึกษาตลอดจนการบริหารจัดการทางการศึกษาในเชิงคุณภาพ เพื่อสราง
ประชาคมอาเซยี นใหเ ปนดินแดนแหงความสงบสุข สันตภิ าพและมคี วามเจริญรงุ เรืองทางเศรษฐกิจอยางยงั่ ยืน
ประเทศไทยมีเศรษฐกิจแบบผสม มีรายไดหลักจากอุตสาหกรรมการสงออกสินคา การทองเที่ยว
การบรกิ าร เกษตรกรรมและทรพั ยากรธรรมชาติ ประเทศไทยเปน ประเทศท่มี ีมลู คาการสงออกเปนอันดับท่ี 24
ของโลก และมีมูลคาการนําเขาเปนอันดับที่ 23 ของโลก ตลาดนําเขาสินคาไทยที่สําคัญ ไดแก ญ่ีปุน จีน
สหรฐั อเมรกิ า มาเลเซยี สหรัฐอาหรับเอมิเรตส สงิ คโปร ไตหวนั เกาหลใี ต ซาอุดิอาระเบีย และอนิ โดนีเซีย