The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

กลุ่มพัฒนาการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย สำนักงาน กศน.

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by maw.nfe, 2020-04-17 05:06:43

การพัฒนาตนเอง ชุมชน สังคม สค21003 ม.ต้น

กลุ่มพัฒนาการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย สำนักงาน กศน.

41

อยางไรกต็ าม แรงงานสวนใหญของไทยอยูในภาคเกษตรกรรม โดยมีขาวเปนพืชเศรษฐกิจหลักที่
สําคญั ที่สดุ ของประเทศ และถอื ไดวา เปนประเทศที่สง ออกขา วเปน อันดับ 1 ของโลก ดวยสัดสวนการสงออก
คดิ เปนรอยละ 36 ของโลก ประเทศไทยมีพื้นที่ซ่ึงเหมาะตอ การเพาะปลูกกวา 27.25% ซ่ึงในจาํ นวนน้กี วา 55%
ใชสาํ หรบั การปลูกขา ว สว นพชื ผลทางการเกษตรอ่นื ๆ ไดแก ยางพารา ผกั และผลไมตาง ๆ การเพาะเล้ียง ปศุสัตว
เชน ววั สกุ ร เปด ไก สัตวน้าํ ทั้งปลาน้ําจืด ปลาน้ําเคม็ ในกระชัง การทาํ นากงุ การเลย้ี งหอย รวมไปถึงการประมง
ทางทะเล เน่ืองจากประเทศไทยมีความอดุ มสมบูรณดา นพชื พรรณธญั ญาหารตลอดป จึงไดช อื่ วา เปนแหลง ผลิต
อาหารทส่ี ําคญั ของโลก และเปนผูสง ออกอาหารรายใหญข องโลกเปน อนั ดบั ท่ี 5

เรือ่ งที่ 2 จุดเดนประเทศไทย ในการผลักดนั เศรษฐกิจสรา งสรรค

การแบงอตุ สาหกรรมสรา งสรรคข องประเทศไทยนนั้ คณะกรรมการพฒั นาเศรษฐกิจและสงั คม
แหง ชาตแิ บง ออกเปน 4 กลมุ 15 สาขา คอื

1. กลมุ วัฒนธรรมและประวตั ิศาสตร เชน งานฝมอื การทอ งเทีย่ วเชงิ ศลิ ปวฒั นธรรมและ
ประวตั ิศาสตร ธุรกจิ อาหารไทยและการแพทยแ ผนไทย

2. กลุมศลิ ปะ เชน ศลิ ปะการแสดง ทศั นศลิ ป
3. กลมุ สอื่ เชน ภาพยนตร สง่ิ พิมพ กระจายเสียง เพลง
4. กลมุ งานสรา งสรรคเพอ่ื ประโยชนใ ชส อย เชน การออกแบบ แฟช่ันตา ง ๆ อาทิ เสื้อผา

กระเปา รองเทา เครื่องประดับ สถาปตยกรรม โฆษณา และซอฟแวรต า ง ๆ

2.1 การนาํ จุดเดนของประเทศไทย มาใชผ ลกั ดนั เศรษฐกจิ สรางสรรค

ชาวตา งชาติชนื่ ชมเมืองไทยวา มคี วามโดดเดนดา นความสามารถสรางสรรค นอกจากอาหารไทยเปน
อาหารอรอ ยและเปนอาหารเพอื่ สขุ ภาพดา นวฒั นธรรม เชน ดนตรี ศาสนา แฟชนั่ ศิลปะการตอ สู (มวยไทย) วถิ ี
การดาํ เนินชวี ติ (แบบไทยพุทธ) กฬี า การละเลนตาง ๆ และชา งไทย และท่สี าํ คัญอกี ประการหนง่ึ คือ เมืองไทย
มีจดุ เดนท่เี ห็นไดช ัดเจนกค็ อื เรอ่ื ง "จิตสํานกึ ในการใหบรกิ าร" ในการพฒั นาศักยภาพบุคลากรในสาขาบริการ
เชน

1. การโรงแรม
2. การแพทย พยาบาล และผูชว ยในโรงพยาบาล ท้ังการแพทยตะวันตกและตะวันออก (โดยเฉพาะ
แพทยแผนไทย) งานในสวนของทนั ตกรรม และศัลยกรรมความงาม
3. อาหารและบริการดานอาหาร ท่ีใชความคิดสรางสรรคมาประดิษฐหรือพัฒนาอาหารไทยให
ทันสมัย ประยุกต ปรับปรุงใหดียิ่งข้ึน มีเมนูนา สนใจ ในสวนของรานอาหารตองสงเสริมยกระดับใหเปน

42

มาตรฐานสากล คือ การบริหารจัดการรานอาหารเพื่อใหสามารถอยูไดอยางย่ังยืน มีการจัดการท่ีเปนระบบ
พนกั งานเสริ ฟไดร ับการอบรมใหส ามารถใหบรกิ ารไดในระดบั มาตรฐานสากล เปนตน

2.2 จดุ เดน ของผลิตภัณฑผาในงานหตั ถกรรมพ้ืนบา น

ผาในงานหัตถกรรมพ้นื บา น โดยทว่ั ไปมีอยู สอง ลักษณะ คือ ผา พืน้ และผาลาย ผาพ้ืนไดแก ผาที่ทอ
เปนสพี น้ื ธรรมดาไมม ลี วดลาย ใชส ีตามความนยิ ม ในสมัยโบราณสที ่ีนยิ มทอ คือ สีนํ้าเงิน สีกรมทา และสีเทา
สว นผาลายนน้ั เปน ผา ทีม่ กี ารประดษิ ฐลวดลายหรือดอกดวงเพ่ิมข้ึน เพื่อความงดงาม มีช่ือเรียกเฉพาะตามวิธี
เชน ถา ใชท อ (เปน ลายหรือดอก) เรียกวา ผายก ถา ทอดวยเสน ดายคนละสกี บั สพี ้ืนเปนลายขวาง และตาหมากรกุ
เรียกวา ลายตาโถง ถาใชเขียนหรือพิมพจากแทงแมพิมพโดยใชมือกด เรียกวา ผาพิมพ หรือผาลาย ซึ่งเปน
ผา พิมพลายท่ีคนไทยเขยี นลวดลายเปนตวั อยาง สงไปพมิ พท ต่ี า งประเทศ เชน อนิ เดยี ผา เขยี นลายสว นมากเขียน
ลายทอง แตเดิมชาวบานรูจกั ทอแตผา พืน้ (คือ ผาทอพืน้ เรียบไมย กดอกและมีลวดลาย) สว นผาลาย (หรือผายก) น้ัน
เพ่งิ มารจู กั ทําขึน้ ในสมยั รตั นโกสนิ ทรตอนตน หรอื สมัยอยุธยาตอนปลาย

การทอผาน้ีมีอยูในทุกภาคของประเทศ หลักการและวิธีการนั้นคลายคลึงกันท้ังหมด แตอาจมี
ขอ ปลีกยอยแตกตางกนั บาง การทอจะทําดว ยมือโดยตลอดใชเครอื่ งมอื เคร่ืองใชแบบงาย ๆ ซ่ึงตองอาศัยความ
ชํานาญและความประณีต

การทอผา ท่ชี าวบา นทํากันน้นั ตองอาศยั ความจําและความชาํ นาญเปนหลกั เพราะไมมีเขียนบอกไว
เปนตํารา นอกจากนีย้ งั พยายามรักษารปู แบบและวธิ ีการเอาไวอยา งเครง ครดั จึงนบั วาเปน การอนรุ กั ษศ ิลปกรรม
แขนงนีไ้ วอ กี ดว ย

2.3 สถานทท่ี องเทีย่ ว จดุ เดนทีน่ าสนใจ

อาณาเขตพื้นทขี่ องปาสงวนแหง ชาติ ปาเขาพระวิหาร ปา ฝงซา ยลําโดมใหญ ทองท่ีอําเภอกันทรลักษ
จงั หวัดศรสี ะเกษ และอําเภอนา้ํ ยนื จังหวัดอบุ ลราชธานี สภาพธรรมชาตทิ ม่ี ที ศั นยี ภาพสวยงามเดนชดั เฉพาะตัว
อยูห ลายแหง มสี ภาพปาไมท่อี ุดมสมบูรณ เปน แหลงของแรธ าตุหลายชนดิ ตลอดจนโบราณสถานสําคัญ ๆ อีก
หลายจดุ ทส่ี ามารถจัดใหเปนแหลง นันทนาการ ควรคาแกก ารศึกษาหาความรู และพกั ผอ นหยอ นใจไดเปน อยา งดี
อกี หลายแหง เชน ผามออแี ดง นับเปนสถานทตี่ รงจดุ ชายแดนเขตประเทศไทย ตดิ ตอกบั ราชอาณาจักรกมั พูชา
ใกลทางขึ้นสูป ราสาทเขาพระวหิ ารทีม่ ที ศั นยี ภาพสวยงาม เปนจุดชมวิวทิวทศั นพืน้ ทแ่ี นวชายแดนราชอาณาจกั ร
กมั พูชา และบริเวณปราสาทเขาพระวิหารไดอยางสวยงามและกวางไกลที่สุด จุดสูงสุดของหนาผามออีแดง
สามารถสอ งกลองชมปราสาทเขาพระวิหารไดช ัดเจน มคี วามสวยงามและมคี ณุ คา ทางประวัติศาสตรและโบราณสถาน
และหากในอนาคตอนั ใกลนี้ ประเทศไทยสามารถเปด ความสัมพนั ธไมตรกี บั ราชอาณาจักรกัมพชู าไดแ ลว มีการใช
ประโยชนร ว มกนั ทัง้ สองประเทศไดอยา งใกลชดิ และมคี า ยง่ิ นกั ปราสาทโดนตวล เปนปราสาทหน่ึงที่สําคญั อีก

43

แหงหนึ่งท่ีมีศิลปวัฒนธรรมนาศึกษาอยูมาก ตั้งอยูตรงเขตชายแดนของประเทศไทยอยูหางจากหนาผาเพียง
เล็กนอย ประมาณ 300 เมตร สถูปคู เปนโบราณวัตถุมีอยู 2 องค ต้ังคูอยูบริเวณทิศตะวันตกของผามออีแดง
ถา เดินทางจากผามออแี ดงไปยังเขาพระวิหารกจ็ ะผา นสถปู คูนี้ มลี กั ษณะเปน สีเ่ หลยี่ มและสวนบนกลม กอสรา งดวย
หนิ ทราย เปนทอ นทต่ี ัดและตกแตงอีกที นับวาแปลกจากศิลปวัฒนธรรมยุคอื่นใด ทํานบสระตราว สรางดวย
ทอ นหินทราย ซ่งึ ตดั มาจากแหลง ตัดหินมาวางเรยี งกันอยางเปนระเบียบ และตอนน้ไี ดมกี ารบรู ณะและทาํ ความ
สะอาดบริเวณสระตราว สามารถเก็บกักน้ํา นาํ ข้นึ มาใชอ ุปโภคบริการแกเ จา หนา ท่ี และนกั ทอ งเท่ียว ณ บริเวณ
ผามออแี ดง และปราสาทเขาพระวิหารไดอ ยางเพียงพอ

ในเขตชายแดนฝงตะวันออกและตะวันตกของประเทศไทย ซึ่งมีอาณาเขตติดตอกับสาธารณรัฐ
ประชาธปิ ไตยประชาชนลาว สาธารณรฐั แหง สหภาพพมา ราชอาณาจกั รกมั พชู า มีสภาพภูมปิ ระเทศสวยงามดว ย
ทวิ เขายาวสดุ สายตา ปกคลุมดวยปา ไม น้ําตก และแมนํ้าสายสาํ คัญ เชน แมนํา้ โขง แมน้าํ สาละวิน นอกจากเปน
แหลงทองเที่ยวแลว ยงั เปน ท่ีจบั จายใชส อยขา วของเคร่ืองใชของประเทศเพื่อนบาน เชน ตลาดการคาชายแดน
อาํ เภอแมสาย จงั หวัดเชยี งราย ตลาดการคาชายแดนอําเภอแมสอด จังหวัดตาก ตลาดการคาชายแดนชองเม็ก
อาํ เภอสริ นิ ธร จังหวดั อบุ ลราชธานี ตลาดการคาชายแดนจังหวัดมกุ ดาหาร นอกจากเปนชองทางการคา ระหวาง
ประเทศไทยกับประเทศเพ่ือนบานแลวยังเปนเสนทางการเดินทางไปทองเที่ยวในประเทศเพอ่ื นบานไดอีกดว ย

เรอ่ื งท่ี 3 ศักยภาพประเทศไทยกับการพฒั นาอาชีพ

3.1 ภูมศิ าสตร

44

ประเทศไทยมสี ภาพทางภูมิศาสตรท่ีหลากหลาย ภาคเหนือเปนพ้ืนท่ีภูเขาสูงสลับซับซอน จุดที่สูง
ทีส่ ุดในประเทศไทย คอื ดอยอนิ ทนนท ประมาณ 2,565 ตารางกิโลเมตรเหนือระดับน้ําทะเล รวมท้ังยังปกคลุม
ดว ยปาไมอ ันเปนตน น้ําลาํ ธารท่สี าํ คญั ของประเทศ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือสวนใหญเปนพื้นท่ีของท่ีราบสูง
โคราช สภาพของดนิ คอนขางแหง แลงและไมเ อื้ออาํ นวยตอการเพาะปลูกผกั แมน ้ําเจาพระยาเกิดจากแมน ้ํา

หลายสายทไ่ี หลมาบรรจบกันท่ีปากน้ําโพ จังหวัดนครสวรรค อันไดแก แมน้ําปง แมนาํ้ วัง แมน้ํายม
และแมน าํ้ นาน ทําใหภ าคกลางกลายเปนทรี่ าบลมุ แมน า้ํ ทมี่ คี วามอุดมสมบรู ณท ่ีสุดในประเทศ และถอื ไดว าเปน
แหลงปลูกขา วท่ีสําคญั แหงหนง่ึ ของโลก ภาคใตเ ปน สวนหนง่ึ ของคาบสมทุ รไทย-มาเลย ขนาบดวยทะเลทง้ั สอง
ดาน มจี ุดทแี่ คบลง ณ คอคอดกระ แลว ขยายใหญเปนคาบสมุทรมลายู สวนภาคตะวันตกเปนหุบเขาและแนว
เทือกเขาซง่ึ พาดตวั มาจากทางตะวนั ตกของภาคเหนือ

แมน้ําเจาพระยาและแมนํ้าโขงถือเปนแหลงเกษตรกรรมท่ีสําคัญของประเทศไทย การผลิตของ
อตุ สาหกรรมการเกษตรจะตอ งอาศัยผลผลติ ทีเ่ กบ็ เก่ียวไดจากแมน า้ํ ทงั้ สองและสาขาทง้ั หลาย อา วไทยกนิ พ้นื ที่
ประมาณ 320,000 ตารางกิโลเมตร ซ่ึงไหลมาจากแมน า้ํ เจา พระยา แมน้าํ แมก ลอง แมนํ้าบางปะกง และแมน ํ้าตาป
ซึ่งเปนแหลงดึงดดู นักทอ งเท่ยี ว เนื่องจากน้ําตน้ื ใสตามแนวชายฝงของภาคใตและคอคอดกระ อาวไทยยังเปน
ศนู ยกลางทางอตุ สาหกรรมของประเทศ เนื่องจากมีทาเรือหลักในสัตหีบ และถือไดวาเปนประตูที่จะนําไปสู
ทาเรืออนื่ ๆ ในกรุงเทพมหานคร สว นทะเลอันดามันเปน แหลง ทรพั ยากรธรรมชาติทม่ี ีคุณคา มากที่สดุ เนอื่ งจาก
มรี สี อรท ท่ีไดร ับความนิยมอยางสงู ในทวีปเอเชีย รวมถงึ จังหวัดภเู ก็ต จงั หวัดกระบ่ี จังหวดั ระนอง จงั หวัดพังงา
จงั หวัดตรัง เปนตน

ผานกแอน ในอทุ ยานแหงชาตภิ ูกระดงึ

45

ภมู ิภาค
สภาวิจยั แหง ชาติไดแ บง ประเทศไทยออกเปน 6 ภมู ิภาค ตามลกั ษณะธรรมชาติ รวมถึงธรณีสันฐาน
และทางน้ํา รวมไปถึงรูปแบบวฒั นธรรมมนุษย โดยภูมิภาคตาง ๆ ไดแก ภาคเหนือ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
ภาคกลาง ภาคตะวันออก ภาคตะวันตก และภาคใต ภูมิภาคทางภูมิศาสตรท้ังหกน้ีมีความแตกตางกันโดยมี
เอกลกั ษณของตนเองในดา นประชากร ทรพั ยากรพนื้ ฐาน ลกั ษณะธรรมชาติ และระดบั ของพัฒนาการทางสังคม
และเศรษฐกจิ ความหลากหลายในภมู ภิ าคตา ง ๆ เหลา นไ้ี ดเปนสว นสําคญั ตอลักษณะทางกายภาพของประเทศไทย

ปาสนในจงั หวดั เชียงใหม

ภาคเหนือ มีลักษณะภูมิประเทศแบบภูเขาสูงสลับกับหุบเขาและพื้นท่ีสูงซึ่งติดตอกับเขตที่ราบลุม
ตอนกลางของประเทศ มีทิวเขาที่วางตวั ยาวในแนวเหนือ-ใต ระหวางทิวเขาจะมีหุบเขาและแองที่ราบระหวาง
ภูเขาเปนที่ตั้งของตัวจังหวดั เชน จงั หวัดเชยี งราย เชยี งใหม แมฮ องสอน นาน และแพร ทิวเขาท่ีสาํ คัญไดแ ก ทิวเขา
ถนนธงชยั ทิวเขาแดนลาว ทิวเขาขุนตาน ทวิ เขาผปี นนาํ้ และทิวเขาหลวงพระบาง ชว งฤดูหนาวในเขตภูเขาของ
ภาคเหนือ อณุ หภูมิตาํ่ เหมาะสมตอ การปลกู ไมผ ลเมืองหนาว อาทิ ลิ้นจแี่ ละสตรอวเบอรร่ี แมนํ้าในภาคเหนือ
หลายสาย รวมไปถงึ แมนา้ํ ปง แมน ํ้าวัง แมน ํ้ายม และแมน ้าํ นา น ไหลมาบรรจบกันและกอใหเกิดเปนท่ีราบลุม
แมน ้ําเจา พระยา ในอดีตลกั ษณะทางธรรมชาติเหลาน้ีทําใหภาคเหนือสามารถทําการเกษตรไดหลายประเภท
รวมไปถึงการทาํ นาในหุบเขาและการปลกู พชื หมนุ เวยี นในเขตพน้ื ทสี่ ูง

ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ หรือภาคอีสาน ประกอบดวยจังหวัด 20 จังหวัด มีเนื้อที่ 168,854 ตาราง-
กิโลเมตร หรือประมาณ 1 ใน 3 ของพื้นท่ีท้ังประเทศ สภาพพื้นที่อยูบนที่ราบสูง มีแมน้ําโขงเปนแมน้ําสายหลัก
อาชพี หลัก คือ การทํานา ปลูกออย มันสําปะหลัง ยางพารา และผลิตผาไหม เปนอุตสาหกรรม ซ่ึงมีบทบาท
สําคัญตอเศรษฐกิจ เน่ืองจากผาไหมเปนท่ีนิยมทั้งคนไทยและชาวตางชาติ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ แบง
ลักษณะภมู -ิ ประเทศ เปน 5 เขต ไดแ ก

46

ทิวเขาดา นทิศตะวันตก ประกอบดว ยทวิ เขาดงพญาเยน็ มีลกั ษณะเดน คอื สวนท่ีเปนหินทราย
จะยกตัวสงู ขน้ึ เปนขอบชันกบั พน้ื ท่ีภาคกลาง และมภี ูเขายอดตดั จาํ นวนมาก ไดแก ภเู รอื ภูหอ ภูหลวง ภูกระดึง
เปน ภูเขาหินทราย พบภเู ขาหินปนู แทรกสลับอยบู า ง

ทิวเขาทางดานใต มีทวิ เขาสนั กาํ แพงและทวิ เขาพนมดงรักเปนทวิ เขาหลัก ทิวเขาสันกําแพงมี
ลักษณะเปนหนิ ปนู หนิ ดินดานภูเขาไฟ และหินทราย สวนทิวเขาพนมดงรักเปน ทิวเขาทเี่ ปนภเู ขาหนิ ทราย และ
ยงั มีภเู ขาไฟดบั แลว ต้ังอยู

ทวิ เขาตอนกลาง เปนเนินและภูเขาเตยี้ เรียกวา ทวิ เขาภพู าน
ท่รี าบแอง โคราช เปนพน้ื ท่ีราบของลุมนํ้าชี และมูล ท่ีไหลลงสูแมน้ําโขง เปนท่ีราบท่ีมีเน้ือที่
กวางท่ีสดุ ของประเทศ จุดเดนของแองโคราชคือ มีการพบซากดึกดําบรรพ ไมกลายเปนหิน ชางโบราณและ
ไดโนเสารจํานวนมาก
แองสกลนคร เปนท่ีราบบริเวณฝงแมนํ้าโขง มีแมนํ้าสายส้ัน ๆ เชน แมน้ําสงคราม เปนตน
บริเวณนีม้ หี นองนา้ํ ขนาดใหญ เรียกวา "หนองหาน" เกดิ จากการยบุ ตวั จากการละลายของเกลือหิน

ทิวเขาเพชรบรู ณ

ภาคกลาง เปน พน้ื ทท่ี ี่มีความสมบรู ณทางธรรมชาติ จนไดรับการขนานนามวา "อูขาวอูนํ้า" มีระบบ
ชลประทานที่ไดพฒั นาสําหรับเกษตรกรรมทํานาในภาคกลาง โดยไดพฒั นาตอเน่อื งมาตั้งแตอาณาจักรสุโขทัย
มาจนถงึ ปจจบุ นั ภมู ิประเทศเปนที่ราบลุมมแี นวภเู ขาเปน ขอบดานตะวนั ออกและตะวนั ตก ไดแ ก ทวิ เขาเพชรบูรณ
และทวิ เขาถนนธงชัย ลกั ษณะทางภูมิศาสตรบ ริเวณภาคกลางตอนบนเปนที่ราบเชิงเขา ลานพักลําน้ํา และเนิน
ตะกอนรูปพัด สว นดานตะวนั ออกเปน ที่ราบลาดเนนิ ตะกอนเชิงเขาและภูเขาโดดเตี้ย ๆ ซ่ึงเปนภูเขาไฟเกา พบท้ัง

47

หนิ บะซอลต หนิ ไรโอไลต และหินกรวดภเู ขาไฟมีพ้ืนทีร่ าบลุมแมนํา้ ยม แมนา้ํ เจา พระยาตอนบน และแมน ํา้ ปา สกั
สวนภาคกลางตอนลาง มีลักษณะเปนท่ีราบลุมโดยตลอด มีลานตะพักลําน้ําเปนที่ราบนํ้าทวมถึง และคันดิน
ธรรมชาตยิ าวขนานตามแมน ้าํ เจา พระยา แมนํา้ ลพบุรี แมนํ้าปาสกั แมนํ้าทาจีน ท่ีราบภาคกลางตอนกลางมีชื่อ
เรียกวา "ทงุ ราบเจาพระยา" เร่ิมตัง้ แตจ ังหวดั นครสวรรคไ ปจนสุดอาวไทย

ภาคตะวนั ออกประกอบดว ย7 จงั หวัด มอี าณาเขตทิศเหนือติดกับภาคกลางและภาคตะวนั ออกเฉียงเหนือ
ทิศตะวนั ออก ติดกับราชอาณาจกั รกมั พูชา ทิศใตแ ละทศิ ตะวนั ตก ตดิ กบั อา วไทย มีเนื้อท่ี 34,380 ตารางกิโลเมตร
ภมู ปิ ระเทศของภาคตะวันออกแบง ได 4 ลักษณะ คอื ภูมปิ ระเทศสวนทิวเขา มีทิวเขาสันกําแพง ทิวเขาจันทบุรี
และทวิ เขาบรรทดั ภมู ปิ ระเทศสว นทเี่ ปนท่ีราบลุมนํ้า คือ ท่ีราบลุมนํ้าบางปะกง ที่ราบชายฝงทะเล ต้ังแตปาก
แมน้าํ บางปะกงไปจนสุดเขตแดนทีจ่ งั หวัดตราด สวนใหญช ายฝง ทะเล จะมหี าดทรายสวยงาม ทง้ั สว นเกาะและ
หมเู กาะ เชน เกาะสีชงั เกาะเสม็ด หมูเ กาะชา ง และเกาะกูด

เมืองพทั ยา

ภาคตะวนั ตก ประกอบดว ย 5 จังหวดั มีเนอื้ ท่ี 53,679 ไร มีเทือกเขาตะนาวศรีเปนเทือกเขายาวตั้งแต
ภาคเหนอื มาถึงภาคตะวนั ตกของประเทศ และเปนพรมแดนทางธรรมชาตริ ะหวางไทยกบั พมา สภาพภูมปิ ระเทศ
ของภาคตะวนั ตก มลี กั ษณะเชน เดียวกับภาคเหนอื โดยมีภูเขาสงู สลบั กบั หุบเขา ซึ่งมีแมน ้าํ ไหลผาน มีที่ราบลุมน้ํา
สําคัญ ไดแก ท่ีราบลมุ น้าํ ปง -วงั ท่รี าบลุม น้ําแมกลอง และท่ีราบลมุ นาํ้ เพชรบุรี ภาคตะวันตกมีพ้ืนที่ปาที่อุดม-
สมบรู ณเปน จํานวนมาก ทรพั ยากรนํ้าและแรธาตุ เปนทรัพยากรท่ีสําคัญของภาค โดยอุตสาหกรรมเหมืองแร
ถือวา เปนอตุ สาหกรรมหลัก นอกจากนภ้ี าคตะวันตกยงั เปนทต่ี ้ังของเขื่อนท่สี ําคัญของประเทศ

48

หาดมาหยา ในหมูเกาะพีพี

ภาคใต เปน สว นหนงึ่ ของคาบสมทุ รแคบ ๆ มีความแตกตางกับภาคอ่ืน ๆ ของไทยท้ังในดา นสภาพ
ภูมิอากาศ ภูมปิ ระเทศ และทรพั ยากร ลักษณะภูมิประเทศของภาคใตแ บงเปน 4 แบบ ไดแ ก

ทวิ เขา ประกอบดว ยทิวเขาสําคญั ไดแก ทิวเขาภเู กต็ ทิวเขานครศรธี รรมราชและทวิ เขาสนั กาลาครี ี
ที่ราบฝง อาวไทยและท่ีราบฝง อนั ดามัน โดยท่รี าบฝงอาวไทย ตงั้ อยูท างตะวันออกของภาคใต
มีลกั ษณะเปนอาวขนาดใหญก ระจดั กระจาย ชายฝงคอนขา งเรียบตรง และมีหาดทรายสวยงาม และยังมีสวนท่ี
เปนหาดเลนและโคลน จะเปนปาชายเลน มีลักษณะเดน คือ มีแหลมที่เกิดจากการทับถมของทรายและโคลน
2 แหง ไดแ ก แหลมตะลุมพกุ จังหวัดนครศรีธรรมราช และแหลมตาชี จังหวัดปตตานี และมีทะเลสาบสงขลา
เปนทะเลสาบ 3 นํ้า คือ นาํ้ เค็ม นา้ํ จดื และน้ํากรอ ย ซง่ึ จะตา งกันตามสภาพการรับน้ําท่ีไหลเขาทะเลสาบ ท่ีเกิด
จากคลนื่ และกระแสน้ําพดั พาตะกอนทรายไปทับถมเปน แนวสันทราย สวนที่ราบฝงทะเลอันดามัน จะอยูดาน
ตะวนั ตกของภาค มีลักษณะเปนชายฝง แบบยบุ ตัว มีที่ราบแคบเน่ืองจากมีชายเขาและหนาผาติดชายฝง และมี
หาดทรายขาวแคบ ๆ
เกาะ ภาคใตมีเกาะและหมเู กาะมากมาย โดยฝง อา วไทยมเี กาะสาํ คญั เชน เกาะสมยุ เกาะพงัน หมูเกาะ-
อางทอง เปนตน สว นฝงอันดามนั มีเกาะภูเก็ต ซงึ่ เปน เกาะท่ีใหญที่สุดในประเทศไทย หมูเกาะพีพี หมูเกาะสิมิลัน
เกาะตะรุเตา
เศรษฐกิจของภาคใต ข้ึนอยกู ับการผลติ ยางสําหรบั อตุ สาหกรรม การปลกู มะพราว การทําเหมืองแร-
ดบี ุก และการทองเที่ยว โดยเฉพาะอยางย่ิง จงั หวัดภูเก็ต ซ่ึงไดร บั ความนยิ มอยางมาก ลักษณะเดนของภูมิประเทศ
แบบมว นตัวกับภเู ขาและการขาดแมนํ้าสายใหญ ๆ มแี นวภูเขาซึง่ เรียงตัวกันในแนวเหนือ-ใต และ ปาฝนเขตรอน
อนั ลกึ ลับไดทําใหเกดิ การโดดเด่ียวในยุคเร่ิมตน และการพัฒนาทางการเมืองแยกตางหากกับสวนอ่ืน ๆ ของ

49

ประเทศ การเขาถึงทะเลอันดามันและอาวไทย ทําใหภ าคใตเ ปนทางผานของทั้งพระพุทธศาสนานิกายเถรวาท
โดยมศี ูนยก ลางอยทู จี่ งั หวดั นครศรธี รรมราช และศาสนาอิสลาม โดยอดตี มศี ูนยกลางอยทู อี่ าณาจักรปต ตานี ซ่ึง
มีพรมแดนติดตอกบั ประเทศมาเลเซีย

3.2 ภูมิอากาศ

พ้ืนทส่ี วนใหญของประเทศไทยมีลกั ษณะภูมิอากาศแบบรอนช้ืนหรอื แบบสะวนั นา ตามการแบงเขต
ภมู อิ ากาศแบบเคิปเปน ในขณะท่ภี าคใตแ ละทางตะวนั ออกสุดของภาคตะวันออกเปน เขตภูมอิ ากาศแบบมรสุม
เขตรอน ทวั่ ประเทศมีอณุ หภมู ิเฉลีย่ ระหวา ง 19-38°C ในฤดแู ลง อุณหภมู ิเพิม่ สูงข้ึนอยา งรวดเร็วในชว งครึง่ หลัง
ของเดือนมีนาคม โดยสงู กวา 40°C ในบางพน้ื ทใ่ี นชวงกลางเดือนเมษายนเม่ือดวงอาทิตยเคล่ือนผานจุดเหนือ
ศรี ษะ

มรสมุ ตะวันตกเฉยี งใตซ ง่ึ พดั เขา สปู ระเทศไทยระหวางเดือนพฤษภาคมและกรกฎาคม (ยกเวน ภาคใต)
เปน จุดบงชี้วาประเทศไทยเขาสฤู ดูฝน ซึ่งกินเวลาจนถึงเดือนตุลาคม และเมฆซ่ึงปกคลุมทําใหอุณหภูมิลดลง
แตมคี วามช้นื สงู มาก เดอื นพฤศจกิ ายนและเดือนธนั วาคมเปนจุดเริ่มตน ของฤดแู ลง และอุณหภมู ใิ นเวลากลางคืน
เหนือพ้นื ดนิ สามารถลดต่าํ ลงกวาจดุ เยือกแขง็ อณุ หภมู เิ พมิ่ สูงขึ้นอีกครั้งในชวงเดือนมกราคม เมื่อดวงอาทิตย
สอ งแสงมายังภมู ปิ ระเทศ ฤดูแลงในภาคใตม ีระยะเวลาสน้ั ทีส่ ุด เนือ่ งจากการทภ่ี าคใตต ง้ั อยูใ กลท ะเลจากทกุ ดา น
ในคาบสมุทรมลายู พืน้ ทท่ี ั้งประเทศไดรับปรมิ าณฝนอยางเพียงพอ ยกเวนบางพื้นที่เทา น้นั แตร ะยะเวลาของฤดู
ฝนและปรมิ าณฝนมคี วามแตกตา งกันไปตามภูมิภาคและระดับความสงู

ประเทศไทยยังคงมีความหลากหลายทางชวี ภาพของท้ังพชื และสัตวอ ยมู าก อันเปน รากฐานอนั มน่ั คง
ของการผลิตในภาคการเกษตร และประเทศไทยไดม ีผลไมเมืองรอนหลากชนดิ พน้ื ทรี่ าว 29% ของประเทศไทย
เปนปาไม รวมไปถึงพ้ืนท่ปี ลูกยางพาราและกจิ กรรมปลูกปาบางแหงประเทศไทยมีเขตรักษาพันธุสัตวปากวา
50 แหง เขตหามลา สตั วป า อีก 56 แหง โดยพื้นท่ี 12% ของประเทศเปนอุทยานแหงชาติ (ปจจุบันมี 110 แหง)
และอีกเกือบ 20% เปน เขตปา สงวนประเทศไทยมพี ืช 15,000 สปชีส คิดเปน 8% ของสปชีสพืชท้ังหมดบนโลก
ในประเทศไทย พบนกจํานวน 982 ชนดิ นอกจากนี้ ยังเปน ถนิ่ ที่อยขู องสัตวส ะเทินนํ้าสะเทินบก นก สัตวเล้ียง
ลกู ดวยน้าํ นม และสตั วเลอื้ ยคลานกวา 1,715 สปชสี 

50

3.3 ทรัพยากรธรรมชาติ

ประเทศไทยเปน ประเทศทีม่ ีทรัพยากรธรรมชาตอิ ยอู ยา งมากมายแบงได ดงั นี้
ทรัพยากรดิน ในประเทศไทยแบงออกเปน 4 ชนิด ไดแก ดินเหนียว พบไดในบริเวณแองโคราช

ทีร่ าบลมุ แมนํ้าบางปะกง แมน้ําแมก ลอง แมน าํ้ ตาป แมน ํ้าปากพนงั ดนิ รวน พบมากในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
ภาคตะวันออก ภาคกลางตอนบน และภาคเหนือ ดินทราย พบมากในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ดินอินทรีย
พบมากในปาพรุ เชน ปาพรสุ ิรินธร จงั หวัดนราธวิ าส

ทรัพยากรปา ไม ปา ไมจะกระจายอยูท ่ัวประเทศ มลี ักษณะแตกตางกันตามภูมิประเทศและภูมิอากาศ
มี 2 ประเภท ไดแ ก ปาผลดั ใบ พบไดในทกุ ภูมภิ าค แตภาคใตพบนอยท่ีสุด และปาไมผลัดใบ สวนใหญอยูใน
พ้ืนที่ภาคใต และบนภูเขาสูงท่ีมีความชุมชื้น เชน อุทยานแหงชาติดอยอินทนนท อุทยานแหงชาติเขาใหญ
อทุ ยานแหง ชาตภิ ูสอยดาว เปนตน

ทรพั ยากรนํ้า ในประเทศไทยมีแหลงน้ําสําคัญ 2 แหลงคือ จากน้ําผิวดิน ซึ่งมีแมนํา้ เจาพระยาเปน
แมน้ําสายสําคัญที่สุดของประเทศ นอกจากนี้ยังมีแมน้ําตาง ๆ ตามภูมิภาค เชน แมนํ้ามูล ชี ปง วัง ยม นาน
แมก ลอง ตาป เปนตน และจากนา้ํ บาดาล

ทรัพยากรแรธ าตุ พบอยูทัว่ ไปในทกุ ภูมิภาคของประเทศไทย แตกตางกันตามสภาพทางธรณีวิทยา
เชน สงั กะสพี บมากในภาคตะวนั ตกและภาคเหนือ ดีบุกพบมากในภาคใต แรร ตั นชาติพบมากในภาคตะวันออก
และแรเ ชอ้ื เพลงิ ซ่งึ พบมากในอาวไทย เชน แกส ธรรมชาติ สว นลิกไนตจะพบมากในภาคเหนือ

3.4 ศลิ ปะ วฒั นธรรม ประเพณี และวิถชี ีวติ

ประเทศไทย ตง้ั อยบู นพ้นื ฐานของเอกลกั ษณแ ละความศรทั ธาของไทยสมัยใหม ทาํ ใหพุทธศาสนาใน
ประเทศไทยไดมีการพฒั นาตามกาลเวลา ซึง่ รวมไปถึงการรวมเอาความเชือ่ ทอ งถ่นิ ท่ีมาจากศาสนาฮนิ ดู การถอื ผี
และการบูชาบรรพบุรุษ สวนชาวมุสลิมอาศัยอยูทางภาคใตของประเทศไทยเปนสวนใหญ รวมไปถึงชาวจีน
โพน ทะเลทเี่ ขามามีสว นสาํ คัญอยูในสงั คมไทยโดยเฉพาะอยางยงิ่ ในพ้นื ทกี่ รงุ เทพมหานครและใกลเ คียง ซึ่งการ
ปรบั ตวั เขากบั สังคมไทยไดเปน อยางดี ทาํ ใหก ลมุ ชาวจีนมตี าํ แหนง และบทบาททางเศรษฐกจิ และการเมอื ง

วฒั นธรรมไทยมีสว นทค่ี ลา ยคลงึ กบั วฒั นธรรมเอเชยี กลา วคอื มกี ารใหค วามเคารพแกบรรพบรุ ษุ ซึ่ง
เปนการยึดถือปฏิบัติกันมาอยางชานาน ชาวไทยมักจะมีความเปนเจาบานและความกรุณาอยางดี แตก็มี
ความรูสึกในการแบง ชนชน้ั อยางรุนแรงเชนกัน ความอาวุโสเปนแนวคิดท่ีสําคัญในวัฒนธรรมไทยอยางหน่ึง
ผอู าวุโสจะตอ งปกครองดูแลครอบครวั ของตนตามธรรมเนียม และนอ งจะตอ งเช่ือฟงพี่

51

การทักทายตามประเพณีของไทย คือ การไหว ผูนอยมักจะเปนผูทกั ทายกอนเม่ือพบกัน และผูท่ี
อาวุโสกวา กจ็ ะทกั ทายตอบในลกั ษณะท่คี ลา ย ๆ กัน สถานะและตําแหนงทางสงั คมก็มสี วนตอ การตัดสนิ วา ผใู ด
ควรจะไหวอ ีกผูหน่ึงกอนเชนกัน การไหวถือวาเปนสัญลักษณในการใหความเคารพและความนับถือแกอีก
ผูหนงึ่

ศิลปะ

พระทนี่ ัง่ ไอศวรรยทพิ ยอาสน พระราชวงั บางปะอนิ จังหวดั พระนครศรอี ยธุ ยา

จติ รกรรมไทย เปนลักษณะอุดมคติ เปน ภาพ 2 มติ ิ โดยนาํ สิง่ ใกลไวต อนลางของภาพ สิ่งไกล
ไวตอนบนของภาพ ใชสีแบบเบญจรงค คือ ใชห ลายสีแตม สี ีที่โดดเดน เพียงสีเดียว

ประติมากรรมไทยเดิม ชางไทยทํางานประติมากรรมเฉพาะส่ิงศกั ดิ์สิทธิ์ เชน พระพุทธรูป
เทวรูป โดยมสี กลุ ชา งตาง ๆ นับตั้งแตกอนสมัยสุโขทัย เรียกวา สกุลชางเชียงแสน สกุลชางสุโขทัย สกุลชาง
อยธุ ยา และสกุลชางรัตนโกสินทร โดยใชทองสําริดเปน วัสดุหลกั ในงานประติมากรรม เนื่องจากสามารถแกะ
แบบดว ยขี้ผึง้ และตกแตงไดแลวจึงนําไปหลอโลหะ เม่ือเทียบกับประติมากรรมศิลาในยุคกอนน้ัน งานสําริด
นับวา ออ นชอยงดงามกวามาก

สถาปตยกรรมไทย มีปรากฏใหเห็นในชั้นหลัง เน่ืองจากงานสถาปตยกรรมสวนใหญชํารุด
ทรดุ โทรมไดง า ย โดยเฉพาะงานไม ไมปรากฏรอ งรอยสมยั โบราณเลย สถาปตยกรรมไทยมใี หเห็นอยใู นรูปของ
บา นเรอื นไทย โบสถ วดั และปราสาทราชวงั ซ่งึ ลว นแตสรางข้ึนใหเหมาะสมกบั สภาพอากาศและการใชส อยจริง

52

แกงมัสม่ัน

อาหารไทย
อาหารไทยเปนการผสมผสานรสชาติความหวาน ความเผ็ด ความเปรี้ยว ความขม และความเค็ม
สว นประกอบซึ่งมักจะใชในการปรงุ อาหารไทย รวมไปถึง กระเทยี ม พรกิ น้ํามะนาว และนํ้าปลา และวัตถุดิบ
สําคัญของอาหารในประเทศไทย คือ ขาว โดยมีขาวกลองและขาวซอมมือเปนพ้ืน มีคุณลักษณะพิเศษ คือ ให
คุณคาทางโภชนาการครบถวน และใหสรรพคุณทางยาและสมุนไพร อาหารท่ีข้ึนชื่อท่ีสุดของคนไทย คือ
นา้ํ พริกปลาทู พรอ มกับเครอื่ งเคยี งทจ่ี ดั มาเปนชุด สวนอาหารท่ีไดร ับความนยิ มและเปนทีร่ ูจกั ไปทั่วโลกนั้นคือ
ตมยํากงุ เม่อื พ.ศ. 2554 เว็บไซต CNNGO ไดจัดอันดับ 50 เมนูอาหารท่ีอรอยท่ีสุดในโลกโดยการลงคะแนนเสียง
ทางเฟสบุค ปรากฏวา แกงมสั มัน่ ไดร ับเลอื กใหเปนอาหารทอี่ รอ ยทส่ี ดุ ในโลก
ภาพยนตรไทย
ภาพยนตรไ ทยมีประวตั คิ วามเปนมาที่ยาวนาน ปจ จุบันประเทศไทยมีภาพยนตรท่ีมงุ สตู ลาดโลก เชน
ภาพยนตรเ รอื่ ง ตมยาํ กุง ทีส่ ามารถข้ึนไปอยบู นตารางบอ็ กซอ อฟฟศในสหรัฐอเมริกา และยังมีภาพยนตรไทย
หลายเรื่องท่ีเปนท่ียอมรับในเทศกาลภาพยนตร ลาสุด ภาพยนตรเร่ือง ลุงบุญมีระลึกชาติ กํากับโดย
อภชิ าตพงศ วรี ะเศรษฐกุล ไดร บั รางวัลปาลม ทองคาํ จากงานเทศกาลภาพยนตรเมืองคานส คร้ังที่ 63 นับเปน
ภาพยนตรจากภมู ภิ าคเอเชยี ตะวนั ออกเฉียงใตเ รอ่ื งแรกที่ไดรบั รางวลั น้ี นอกจากน้นั ปจจุบันเยาวชนไทยไดห นั
มาสนใจผลติ หนงั ส้นั เขา ประกวดในระดับนานาชาติ เปนความคดิ สรางสรรคงานท้งั ทีเ่ ปนหนงั สัน้ และแอนนิเมชน่ั

53

ดนตรไี ทย
ดนตรีในประเทศไทยน้ันไดรับอิทธิพลมาจากประเทศตางๆ ดนตรีไทยเปนดนตรีท่ีมีความไพเราะ
นา ฟง มี 4 ประเภท ไดแ ก ดดี สี ตี เปาในอดตี ดนตรีไทยนยิ มเลนในการขับลาํ นําและรองเลน ตอมามีการนําเอา
เครือ่ งดนตรีจากตางประเทศเขามาผสม ดนตรีไทยนิยมเลนกันเปนวง เชน วงปพาทย วงเครื่องสาย วงมโหรี
ดนตรไี ทยเขามามีบทบาทในชวี ติ ประจําวันมากขึ้น โดยใชประกอบงานมงคล งานอวมงคล ฯลฯ ในปจจุบัน
ดนตรไี ทยไมค อ ยเปนที่นยิ มกนั แพรหลายนักเนอ่ื งจากหาดไู ดยาก คนสวนใหญจ งึ ไมคอยรจู ักดนตรไี ทย

การปลอ ยโคมลอยในงานประเพณยี เ่ี ปง

เทศกาลประเพณี
เทศกาลประเพณีในประเทศไทยน้ันมีความหลากหลายและอลังการ ท้ังประเพณีไทยด้ังเดิม เชน
ประเพณีสงกรานต ประเพณลี อยกระทง ประเพณตี ักบาตรดอกไม ประเพณบี ญุ บ้ังไฟ และประเพณีที่เปนสากล
เชน เทศกาลวันครสิ ตมาส เทศกาลวันข้นึ ปใ หม ฯลฯ
สรุปจุดเดนของประเทศไทย ท้ังดานทรัพยากรธรรมชาติ ภูมิประเทศ ภูมิอากาศ และทําเลท่ีต้ัง
ประเพณี วัฒนธรรม และวถิ ชี วี ิต และความสามารถของคนไทย ที่สามารถนํามาเปนจดุ ขายเพอื่ การสรางงาน

54

อาชพี ใหก บั คนไทยไดอยา งมากมาย หากสามารถดงึ ศักยภาพเหลา น้ันมาคิดและหาแนวทางการสรา ง
งานทส่ี อดคลองกับความรู ความสามารถของตนเองได

4. กลุมอาชพี ท่สี มั พันธกับศกั ยภาพของประเทศไทย

อาชีพ หมายถึง การทํากิจกรรม การทํางาน การประกอบการที่ไมเปนโทษแกสังคม
และมีรายไดต อบแทน โดยอาศยั แรงงาน ความรู ทักษะ อุปกรณ เคร่ืองมือ วธิ กี าร แตกตางกนั ไป

ประเภทและลักษณะของอาชีพ การแบงประเภทของอาชีพ สามารถจัดแบงตามลักษณะไดเปน
2 ลกั ษณะ คือ การแบง ตามเนื้อหาวิชาของอาชพี และแบงตามลกั ษณะของการประกอบอาชพี

ลกั ษณะที่ 1 การแบงอาชีพตามเน้ือหาวิชาของอาชีพ สามารถจัดกลุมอาชีพตามเน้ือหาวิชาไดเปน
6 ประเภท ดังนี้

1. อาชีพเกษตรกรรม ถอื วาเปนอาชพี หลัก และเปน อาชีพสาํ คัญของประเทศ ปจจุบันประชากรของ
ไทยไมน อยกวา รอยละ 60 ยังประกอบอาชีพนี้อยู อาชีพเกษตรกรรมเปนอาชีพเก่ียวเน่ืองกับการผลิต การจัด
จําหนายสินคา และบริการทางดานการเกษตร ซง่ึ ผลผลิตทางการเกษตร นอกจากใชใ นการบริโภคเปน สวนใหญ
แลวยังใชเปนวัตถุดิบในการผลิตทางอุตสาหกรรมอีกดวย อาชีพเกษตรกรรม ไดแก การทํานา ทําไร ทําสวน
เลย้ี งสัตว ฯลฯ

2. อาชีพอุตสาหกรรม การทําอุตสาหกรรม หมายถึง การผลิตสินคาอันเน่ืองมาจาก
การนําเอาวัสดุ หรือสินคาบางชนิดมาแปรสภาพใหเกิดประโยชนตอผูใชมากข้ึน กระบวนการประกอบการ
อตุ สาหกรรม ประกอบดว ย

วตั ถดุ ิบหรอื สนิ คา ผา น กระบวนการ ไดผ ลผลติ สนิ คา สาํ เรจ็ รูป จาํ หนา ย ผบู ริโภค
ผลผลติ

ในขน้ั ตอนของกระบวนการผลติ มีปจ จัยมากมายนบั ต้งั แตแ รงงาน เครอ่ื งจกั ร เครอื่ งมอื เครอื่ งใช เงนิ ทุน ทด่ี นิ
อาคาร รวมทั้งการบริหารจดั การ

การประกอบอาชีพอตุ สาหกรรมแบง ตามขนาด ไดด ังนี้
2.1 อตุ สาหกรรมในครอบครวั เปน อตุ สาหกรรมท่ีทาํ กนั ในครวั เรอื น หรอื ภายในบา น ใชแ รงงานคน
ในครอบครวั เปน หลกั บางทอี าจใชเ ครอื่ งจกั รขนาดเลก็ ชวยในการผลติ ใชว ตั ถุดบิ วัสดุทีห่ าไดในทอ งถน่ิ มาเปน
ปจจัยในการผลติ อตุ สาหกรรมในครวั เรอื นเชน การทอผา การจกั สาน การทาํ รม การทาํ อฐิ มอญ การทําถ่วั เนา แผน

55

นา้ํ พรกิ ลาบ น้ํามันงา ฯลฯ ลักษณะการดาํ เนินงานไมเปน ระบบมากนกั รวมทง้ั การใชเ ทคโนโลยีแบบงาย ๆ ไม
ยุงยากซบั ซอน และมกี ารลงทุนไมม าก

2.2 อตุ สาหกรรมขนาดยอ ม เปนอุตสาหกรรมทีม่ กี ารจา งคนงานไมเ กิน 50 คน ใชเ งินทุนดําเนินการ
ไมเกิน 10 ลานบาท อุตสาหกรรมขนาดยอม ไดแก โรงกลึง อูซอมรถ โรงงานทําขนมปง โรงสีขาว เปนตน
ในการดําเนินงานของอตุ สาหกรรม ขนาดยอ มมขี บวนการผลิตไมซ บั ซอน และใชแรงงานท่ีมฝี ม อื ไมมาก

2.3 อตุ สาหกรรมขนาดกลาง เปนอตุ สาหกรรมทมี่ ีการจางคนงานมากกวา 50 คน แตไมเกิน 200 คน
ใชเงนิ ทุนดาํ เนนิ การมากกวา 10 ลา นบาท แตไมเกนิ 100 ลา นบาท อุตสาหกรรมขนาดกลางไดแก อตุ สาหกรรม
ทอกระสอบ อุตสาหกรรมเส้ือผาสาํ เร็จรูป เปน ตน การดําเนนิ งานของอตุ สาหกรรมขนาดกลางตอ งมกี ารจดั การ
ทดี่ ี แรงงานทใี่ ชตอ งมีทักษะ ความรู ความสามารถในกระบวนการผลติ เปนอยางดี เพอื่ ท่จี ะไดสนิ คา ที่มีคุณภาพ
ระดับเดยี วกนั

2.4 อุตสาหกรรมขนาดใหญ เปนอุตสาหกรรมที่มีคนงานมากกวา 200 คนขึ้นไป เงินทุนในการ
ดาํ เนนิ การมากกวา 200 ลานบาท อุตสาหกรรมขนาดใหญ เชน อุตสาหกรรมผลิตแบตเตอร่ี อุตสาหกรรมถลงุ เหล็ก
อตุ สาหกรรมประกอบรถยนต อุตสาหกรรมผลิตเคร่ืองใชไฟฟา เปนตน อุตสาหกรรมขนาดใหญมีระบบการ
จัดการทีด่ ี ใชค นทม่ี ีความรู ทักษะ ความสามารถเฉพาะดาน หลายสาขา เชน วิศวกรรมอิเล็กทรอนิกสในการ
ดาํ เนินงานผลติ มีกรรมวิธที ยี่ งุ ยาก ใชเ ครอื่ งจักร คนงาน เงินทุน จํานวนมากข้ึน มีกระบวนการผลิตท่ีทันสมัย
และผลติ สนิ คา ไดท ีละมาก ๆ มีการวา จางบุคคลระดบั ผูบริหารท่มี ีความสามารถ

3. อาชพี พาณชิ ยกรรมและอาชีพบริการ
3.1 อาชีพพาณชิ ยกรรมเปนการประกอบอาชพี ทเ่ี ปนการแลกเปล่ียนระหวางสินคา กบั เงนิ สว นใหญ

จะมลี กั ษณะเปนการซ้ือมาและขายไป ผูประกอบอาชีพทางพาณิชยกรรมจึงจัดเปนคนกลาง ซ่ึงทําหนาท่ีซื้อ
สนิ คาจากผผู ลิตและนาํ มาขายตอ ใหแ กผ ูบ รโิ ภค ประกอบดว ยการคา สง และการคาปลกี โดยอาจจัดจาํ หนายใน
รปู ของการขายตรงหรอื ขายออม

3.2 อาชีพบริการ หมายถึง อาชีพที่ทําใหเกิดความพอใจแกผูซ้ือ การบริการอาจเปนสินคาที่มี
ตัวตน หรือไมม ีตัวตนก็ไดการบริการท่ีมีตวั ตน ไดแก บรกิ ารขนสง บริการทางการเงิน สว นบริการท่ไี มม ีตวั ตน
ไดแก บรกิ ารทองเท่ียว บรกิ ารรกั ษาพยาบาล เปนตน

3.3 อาชพี พาณิชยกรรม จึงเปน ตวั กลางในการขายสนิ คา หรือบริการตาง ๆ นบั ตง้ั แตการนาํ วัตถุดิบ
จากผผู ลติ ทางดา นเกษตรกรรม ตลอดจนสินคาสําเรจ็ รูปจากโรงงานอตุ สาหกรรม รวมท้ังคหกรรม ศิลปกรรม
หัตถกรรม ไปใหผูซ้อื หรอื ผูบ รโิ ภค อาชีพพาณชิ ยกรรม จึงเปนกจิ กรรมทส่ี อดแทรกอยทู กุ อาชีพในการประกอบ-
อาชีพพาณิชยกรรม หรือบริการ ผูประกอบอาชีพจะตองมีความสามารถในการจัดหา มีความคิดริเร่ิม และมี
คณุ ธรรม จงึ จะทําใหก ารประกอบอาชพี เจรญิ กาวหนา

56

4. อาชพี คหกรรม การประกอบอาชพี คหกรรม เชน อาชพี ท่ีเกยี่ วกบั การประกอบอาหาร ขนม การตัดเย็บ
การเสริมสวย ตัดผม เปนตน

5. อาชพี หัตถกรรมการประกอบอาชีพหตั ถกรรม เชน อาชพี ที่เก่ยี วกับงานชา ง โดยการใชมอื ในการผลติ
ช้ินงานเปน สวนใหญ เชน อาชีพจกั สาน แกะสลัก ทอผาดวยมือ ทอเสอื่ เปนตน

6. อาชีพศลิ ปกรรม การประกอบอาชพี ศลิ ปกรรม เชน อาชีพเกี่ยวของกับการแสดงออกในลักษณะ
ตาง ๆ เชน การวาดภาพ การปน การดนตรี ละคร การโฆษณา ถายภาพ เปนตน

ลักษณะที่ 2 การแบงอาชีพตามลักษณะของการประกอบอาชีพ การจัดกลุมอาชีพตามลักษณะการ
ประกอบอาชีพ แบง ออกเปน 2 ประเภท คอื อาชีพอิสระ และอาชีพรับจาง

1. อาชีพอสิ ระ หมายถงึ อาชีพทุกประเภทที่ผูประกอบการดาํ เนินการดวยตนเอง แตเพียงผูเดียวหรือ
เปน กลมุ อาชีพอิสระเปน อาชีพที่ไมตอ งใชคนจาํ นวนมาก แตหากมีความจาํ เปน อาจมีการจางคนอื่นมาชวยงานได
เจาของกิจการเปน ผูลงทุน และจําหนายเอง คิดและตดั สินใจดวยตนเองทุกเรอ่ื ง ซึ่งชว ยใหการพัฒนางานอาชีพ
เปน ไปอยา งรวดเรว็ ทนั ตอ เหตุการณการประกอบอาชีพอสิ ระเชน ขายอาหาร ขายของชาํ ซอ มรถจักรยานยนต ฯลฯ
ในการประกอบอาชีพอสิ ระ ผปู ระกอบการจะตอ งมีความรู ความสามารถในเร่ือง การบริหารการจัดการ เชน
การตลาด ทาํ เลทีต่ ั้ง เงนิ ทุน การตรวจสอบ และประเมินผล นอกจากนีย้ งั ตอ งมีความอดทนตองานหนกั ไมทอถอย
ตอปญหาอุปสรรคทีเ่ กดิ ขน้ึ มีความคดิ รเิ รมิ่ สรางสรรค และมองเหน็ ภาพการดําเนินงานของตนเองไดตลอดแนว

2. อาชีพรับจาง หมายถึง อาชีพที่มีผูอื่นเปนเจาของกจิ การ โดยตัวเองเปนผูรับจางทํางานให และ
ไดรับคาตอบแทนเปน คา จา ง หรือเงนิ เดือน อาชพี รับจา งประกอบดว ย บคุ คล 2 ฝา ย ซึง่ ไดตกลงวาจา งกนั บคุ คล
ฝายแรกเรียกวา "นายจา ง" หรือ ผวู า จาง บคุ คลฝายหลงั เรียกวา "ลกู จา ง" หรอื ผรู บั จาง มคี า ตอบแทนที่ผูวาจาง
จะตอ งจายใหแก ผูรบั จา งเรยี กวา "คา จาง" การประกอบอาชีพรบั จา ง โดยท่ัวไปมีลักษณะ เปน การรับจางทํางาน
ในสถานประกอบการหรือโรงงาน เปนการรับจางในลักษณะการขายแรงงาน โดยไดรับคาตอบแทนเปน
เงนิ เดือน หรือคา ตอบแทนที่คดิ ตามชนิ้ งานที่ทาํ ได อัตราคา จา งขน้ึ อยูก บั การกาํ หนดของเจาของสถานประกอบการ
หรือนายจา ง การทาํ งานผูร ับจางจะทําอยูภายในโรงงาน ตามเวลาท่ีนายจางกําหนด การประกอบอาชีพรับจาง
ในลักษณะนมี้ ขี อ ดี คือ ไมตอ งเสี่ยงกบั การลงทุน เพราะลูกจางจะใชเ ครื่องมือ อปุ กรณท ่นี ายจางจดั ไวใ หทํางาน
ตามท่ีนายจา งกาํ หนด แตมขี อเสีย คือ มกั จะเปน งานท่ที ําซา้ํ ๆ เหมอื นกนั ทุกวนั และตอ งปฏบิ ตั ิตามกฎระเบียบ
ของนายจาง ในการประกอบอาชพี รบั จา งนน้ั มปี จ จยั หลายอยา งท่ีเอ้ืออาํ นวยใหผปู ระกอบอาชีพรับจางมีความ
เจริญกาวหนาได เชน ความรู ความชาํ นาญในงาน มีนิสยั การทํางานทด่ี ี มีความกระตือรอื รน มานะ อดทน และมี
วนิ ัยในการทํางาน ยอมรับกฎเกณฑและเช่ือฟงคําสั่ง มีความซื่อสัตย สุจริต ความขยันหมั่นเพียร รับผิดชอบ
มมี นษุ ยสมั พันธท ่ีดี รวมทงั้ สุขภาพอนามัยทดี่ ี อาชีพตาง ๆ ในโลกมีมากมาย หลากหลายอาชีพ

57

ซึ่งบุคคลสามารถจะเลอื กประกอบอาชพี ไดตามความถนดั ความตองการ ความชอบ และความสนใจ
ไมวา จะเปน อาชพี ประเภทใด จะเปน อาชีพอสิ ระ หรืออาชีพรับจาง ถาหากเปนอาชีพท่ีสุจริตยอมจะทําใหเกิด
รายไดมาสูตนเอง และครอบครัว ถาบุคคลผูนั้นมีความมุงม่ัน ขยัน อดทน ตลอดจนมีความรู ขอมูลเกี่ยวกับ
อาชพี ตา ง ๆ จะทําใหมองเหน็ โอกาสในการเขาสูอาชีพ และพัฒนาอาชีพใหม ๆ ใหเกดิ ขึน้ อยูเสมอ

กระทรวงศึกษาธิการ โดย ฯพณฯทานรัฐมนตรีวาการกระทรวงศึกษาธิการ ไดมีนโยบายการจัด
การศึกษาเพื่อการมงี านทําใหสถาบันการศึกษา และสถานศึกษา ในสังกัดกระทรวงศึกษาธิการ จัดการศึกษา
อาชีพใน 5 กลุม ดังน้ี

1. เกษตรกรรม
2. อุตสาหกรรม
3. พาณชิ ยกรรม
4. ความคดิ สรางสรรค
5. บรหิ ารจัดการและบรกิ าร

โดยพัฒนาหลักสตู รการเรยี นการสอนใหสอดคลองกับศักยภาพที่มีอยูในทองถิ่น รวมถึงสนองตอ
ตลาดแรงงานในระดบั ทองถ่ิน ประเทศ และภมู ิภาคของโลก ประชาชนไทยสามารถรับบริการการศึกษาอาชีพได
ณ ศนู ยฝก อาชีพชมุ ชนของสถาบนั การศึกษา สถานศึกษาตา ง ๆ โดยเฉพาะศนู ยฝ กอาชพี ชมุ ชน กศน. ในระดับ
อาํ เภอไดท ว่ั ประเทศ

การมองเห็นโอกาสในการประกอบอาชีพ
การมองเห็นโอกาสและความสามารถท่ีจะนําโอกาสน้ันมาประกอบอาชีพไดกอนผูอ่ืน เปนหัวใจ
สําคัญของการประกอบอาชีพ หากผูใดประกอบอาชีพตามที่ตลาดตองการ และเปนอาชีพทีเ่ หมาะสมกับ
สภาพการณใ นขณะนัน้ ผูนัน้ ยอ มมโี อกาสประสบความสาํ เรจ็ เราสามารถพัฒนาตนเองใหมองเห็นโอกาสใน
การประกอบอาชพี ดังน้ี
1. ความชํานาญจากงานที่ทําในปจจุบนั การงานทท่ี าํ อยใู นปจจบุ ันจะเปน แหลง ความรู ความคิดที่จะ
ชว ยใหมองเหน็ โอกาสในการประกอบอาชพี ไดม าก บางคนมคี วามชํานาญทางดา นการทาํ อาหาร ตัดเยบ็ เสอ้ื ผา
ซอ มเคร่ืองใชไฟฟา ตอทอนํ้าประปา ชางไม ชางปกู ระเบ้ือง เปนตน ซึ่งสามารถนําความชํานาญดังกลาวมา
พัฒนาและประกอบเปนอาชีพขึ้นมา บางคนเคยทํางานที่โรงงานทําขนมปง เมื่อกลับไปภูมิลําเนาของตนเอง
สามารถใชป ระสบการณท ไี่ ดรบั ไปประกอบอาชีพของตนเองได

58

2. ความชอบ ความสนใจสวนตัว หรอื งานอดิเรก เปน อีกทางหนึ่งทจี่ ะชวยใหมองเห็นโอกาสในการ
ประกอบอาชพี บางคนชอบประดิษฐด อกไม บางคนชอบวาดรูป เปนตน บุคคลเหลา น้อี าจจะพัฒนางานท่ีชอบ
งานอดิเรกไดก ลายเปน อาชีพหลกั ท่ที ํารายไดเ ปน อยางดี

3. การฟงความคิดเห็นจากแหลง ตาง ๆ การพดู คุยแลกเปล่ียนความคิดเห็นกับบุคคลกลุมตาง ๆ เปน
แหลง ความรูแ ละกอ ใหเกิดความคิดริเร่ิมเปน อยา งดี ในบางครัง้ เรามคี วามคดิ อยูแลว การไดคุยกับบุคคลตาง ๆ
จะชวยใหการวิเคราะหความคดิ ชดั เจนข้นึ ชว ยใหม องไปขางหนาไดอ ยา งรอบคอบ กอ นท่ีจะลงมือทาํ งานจริง

4. การศึกษาคนควาจากหนงั สอื นติ ยสารหนงั สอื พิมพ การดวู ดี ทิ ศั น ฟง วทิ ยุ ดรู ายการโทรทศั น เปนตน
จะชว ยทาํ ใหเกิดความรแู ละความคิดใหม ๆ ได

5. ขอ มลู สถิติ รายงาน ขาวสารจากหนว ยราชการและเอกชน รวมทั้งแผนพัฒนาเศรษฐกิจของประเทศ
ในการมองหาชอ งทางในการประกอบอาชีพ ผูท่ีจะมองหาอาชีพ พัฒนาอาชีพจึงควรใหความสนใจในขอมูล
ขาวสารตางๆ เพื่อติดตามใหทันตอเหตกุ ารณ แลวนาํ มาพิจารณาประกอบการตดั สินใจในการประกอบอาชพี

6. ทรพั ยากรรอบ ๆ ตวั หรอื ในชมุ ชน ทเี่ ก่ียวขอ งกบั การประกอบอาชพี ทงั้ ดานทรัพยากรธรรมชาติ
ภมู ปิ ระเทศ ภูมอิ ากาศ ประเพณี ศิลปวัฒนธรรมและวถิ ชี ีวิต ทีเ่ อ้อื ตอการประกอบอาชีพ ซง่ึ แตล ะพนื้ ทแี่ ตกตางกัน
นอกเหนอื ไปจากความรู ความสามารถทีม่ อี ยู

59

กิจกรรม

1. ใหย กตวั อยา งอาชพี ของคนไทยท่ใี ชศกั ยภาพดา นทรพั ยากรธรรมชาติ มาเปน องคป ระกอบใน
การเลอื กประกอบอาชีพ 1 อาชพี

2. อาชพี สมยั ใหมทพ่ี ึงมขี น้ึ ในประเทศไทย ทีเ่ กดิ จากความคิดสรา งสรรคข องคนไทย มีอะไรบา ง
ยกตวั อยา ง 1 อาชีพ พรอ มอธิบายประกอบดว ย

3. ในทอ งถน่ิ ทนี่ กั ศึกษาอยู มคี วามโดดเดนในเรอ่ื งใดบา ง ทีส่ ามารถนาํ มาประกอบการตัดสินใจ
เลือกประกอบอาชีพได ใหย กตวั อยา ง 1 อาชีพ

60

บรรณานกุ รม

การศกึ ษานอกโรงเรยี น, กรม. ชุดวชิ าการพฒั นาโครงการ. กรงุ เทพฯ : บรษิ ทั สามเจริญพาณิชย จาํ กดั , 2537.
การศกึ ษานอกโรงเรียน, กรม. ชดุ วิชาวจิ ัยทางการศกึ ษานอกโรงเรยี น การเกบ็ รวบรวมขอ มลู เพื่อการวิจยั .

กรงุ เทพฯ : บริษัทประชาชน จาํ กดั , 2538.
การศกึ ษานอกโรงเรยี น, กรม. ชดุ วชิ าวิจยั ทางการศึกษานอกโรงเรยี น การวเิ คราะหขอ มลู . กรุงเทพฯ : บรษิ ทั

ประชาชน จาํ กัด, 2538.
เกรียงศกั ดิ์ หลวิ จนั ทรพฒั นา. การวิเคราะหขอ มลู ทางการแพทยแ ละสาธารณสุขดวยคอมพิวเตอร. กรุงเทพฯ :

สาํ นกั พิมพจ ฬุ าลงกรณม หาวิทยาลัย, 2538.
ชยันต วรรธณะภตู .ิ คูมือการวจิ ยั เชงิ คณุ ภาพเพื่องานพัฒนา. ขอนแกน : สถาบันวจิ ัยเพ่อื การพัฒนา

มหาวิทยาลัยขอนแกน , เอกสารอดั สาํ เนา.
ณัฐนรี ศรีทอง. การเพม่ิ ศกั ยภาพภาวะความเปน ผูนําในงานพฒั นาชุมชน. กรงุ เทพฯ : โอ เอส พริ้นต้งิ เฮาส,

2552.
ทวปี ศิริรศั ม.ี การวางแผนพัฒนาและประเมินโครงการ. กรงุ เทพฯ : สาํ นักงานกองทนุ สนบั สนนุ การวิจยั (สกว.),

2544.
ปารชิ าติ วลยั เสถยี ร และคณะ. กระบวนการและเทคนิคการทาํ งานของนกั พัฒนา. กรงุ เทพฯ : สาํ นักงานกองทนุ

สนับสนนุ การวิจัย (สกว.), 2543.
ศนู ยเทคโนโลยีทางการศกึ ษา. ความหมายเกย่ี วกับแผนงานโครงการ. กรุงเทพฯ : กราฟฟค โกร, 2545.
ศนู ยการศกึ ษานอกหอ งเรยี นภาคใต. ชดุ วิชาแผนแมบ ทชมุ ชน. สงขลา : เทมการพิมพ, 2548.
สถาบนั การพฒั นาการศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศยั ภาคเหนอื . คมู อื การทาํ วจิ ัยอยา งงา ย.

อบุ ลราชธานี : บรษิ ัท ยงสวัสดอ์ิ นิ เตอรกรปุ จาํ กดั , 2552.
สถาบนั การศกึ ษาและพัฒนาตอ เนอื่ งสิรนิ ธร. กระบวนการจดั การศึกษานอกโรงเรยี นและอธั ยาศัย. เอกสาร

ประกอบการอบรมวทิ ยากรกระบวนการจดั การศึกษาเพ่อื เสริมสรา งความเขมแขง็ ของชุมชน,
นครราชสมี า : 2544.
สญั ญา สญั ญาวิวัฒน. ทฤษฎีและกลยุทธก ารพฒั นาสังคม. กรุงเทพฯ : สาํ นกั พมิ พแ หง จฬุ าลงกรณมหาวทิ ยาลัย,
2543.
สาํ นกั บรหิ ารงานการศกึ ษานอกโรงเรยี น. คมู ือการจดั กระบวนการเรยี นรเู พื่อจดั ทาํ แผนชุมชน. กรงุ เทพฯ : รงั ษี
การพิมพ, 2546.
เสรี พงศพิศ. วธิ ที าํ และวธิ คี ดิ แผนชวี ติ เศรษฐกจิ ชมุ ชน. กรงุ เทพฯ : 2546.

61

สภุ างค จนั ทวานชิ . วธิ ีการวิจยั เชิงคุณภาพ. (พมิ พค ร้ังท่ี 10) กรงุ เทพฯ : สาํ นกั พมิ พแ หง จฬุ าลงกรณ
มหาวทิ ยาลัย, 2545.

http://www.jd.in.th/e.learning/th33101/pan08/t305.8002.htm.
http://www.tddf.or.th/tddf//:braly/doc/libraly-2007-02-28-240.doc.

http://www.bic.moe.go.th/th/index.php?option=com_content&view=article&id=192&Itemid
=148

http://www.nmt.or.th/TOTOP/Lists/OTOP2/AllItems.aspx
http://www.aseanthailand.org/index.php
http://www.geocities.com/jea_pat/
http://blog.eduzones.com/offy/5174
ดร.กระมล ทองธรรมชาติ และคณะ, สงั คมศกึ ษา ศาสนา และวัฒนธรรม ม.1, สาํ นกั พิมพ

อกั ษรเจรญิ ทศั น อจท. จาํ กดั , 2548, หนา 24-25
วริ ัช มณสี าร, เรอื โท. ลกั ษณะภมู ปิ ระเทศและลกั ษณะอากาศตามฤดกู าลของภาคตาง ๆ

ในประเทศไทย. เอกสารวิชาการเลขที่ 551.582-02-2538, ISBN:974-7567-25-3,
กนั ยายน 2538
ฝา ยกรรมวธิ ขี อ มลู . สถติ ิภูมิอากาศของประเทศไทยในคาบ 30 ป (พ.ศ.2504-2533). รายงาน
ขอมลู อตุ นุ ิยมวิทยาเลขที่ 551.582-02-2537, ISBN : 974-7554-80-1, กองภูมอิ ากาศ,
กรมอตุ ุนยิ มวิทยา, กระทรวงเทคโนโลยสี ารสนเทศและการสอ่ื สาร
วิรัช มณสี าร, เรือโท. สถิตอิ งคป ระกอบอุตนุ ยิ มวทิ ยาของภาคตางๆ ในประเทศไทย คาบ 30 ป
(พ.ศ.2504-2533) เอกสารวชิ าการเลขที่ 551.582-03-2538, ISBN : 974-7567-24-5,
กันยายน 2538
กลมุ ภูมิอากาศ, สาํ นกั พัฒนาอุตนุ ิยมวทิ ยา, กรมอตุ นุ ิยมวทิ ยา, กระทรวงเทคโนโลยสี ารสนเทศ
และการสอ่ื สาร. 2552.
ความรูอตุ นุ ิยมวทิ ยา - เปอรเซน็ ตความถที่ ีศ่ ูนยก ลางพายเุ คลอื่ นที่ผา นพืน้ ท่ีของประเทศไทย
จากกรมอุตนุ ยิ มวทิ ยา, กระทรวงคมนาคม.

62

ภาคผนวก

ตัวอยางการเขยี นโครงการ

โครงการ คายอาสาพัฒนาชุมชนโรงเรยี นหนองมวง
ต.เมืองไผ อ.หนองกี่ จ.บรุ รี ัมย
องคกร/สถาบัน โรงเรียนมัธยมประชานเิ วศน
ท่ีต้ัง สาํ นกั งานเขตจตจุ ักร กรุงเทพมหานคร
ผูประสานงานโครงการ นายประจวบ ใจดวง

1. ความเปนมาโครงการ

ตามพระราชบัญญัตกิ ารศึกษาแหง ชาติ พ.ศ. 2542 และทแ่ี กไขเพ่มิ เติม (ฉบับท่ี 2) 2545 ใน
หมวดที่ 1 มาตราท่ี 6 วาดว ยการจดั การศกึ ษาตองเปน ไปเพือ่ พัฒนาคนไทยใหเ ปนมนุษยท ่สี มบรู ณ
ทัง้ รา งกายจติ ใจ สตปิ ญ ญา ความรแู ละคุณธรรม จริยธรรม และวัฒนธรรมในการดาํ รงชวี ติ สามารถ

อยรู ว มกับผอู ื่นไดอ ยา งมีความสขุ ซงึ่ เปนเปา หมายสาํ คญั ในการสรา งทรพั ยากรมนุษยท่ที ุก
สถานศึกษา พงึ รับมาปฏบิ ตั ิความสาํ เร็จของเปา หมายมใิ ชอ ยูท ค่ี วาม เขม แข็งของสถานศึกษาเทา นน้ั
ความรว มมือของภาคครวั เรือน ชมุ ชน จนถงึ ระดบั รฐั มคี วาม จาํ เปนทจ่ี ะตองสรางความแขง็ แกรง
ดา นคณุ ธรรมในทกุ ภาคสวน ทัง้ นี้จะตอ งอาศยั ความรู ความเขาใจ และแบบอยา งการประพฤติ
ปฏบิ ัติ โดยผานการปลูกฝง คา นยิ ม และจติ สาํ นกึ ท่ีดใี น ทกุ กลไกในการดําเนนิ การสรางคณุ ธรรมสู
สังคมไดแ ก ครู ผปู กครองและนกั เรียน ในการดาํ เนนิ การทุกข้นั ตอน และขณะเดียวกันจะตอง
เสรมิ สรางพน้ื ฐานจิตใจของคนในชาติ ใหม จี ิตสาํ นกึ ในคณุ ธรรม ความซอื่ สัตย และใหม คี วาม

รอบรทู ี่เหมาะสม ดาํ เนินชวี ิตดวยความอดทน ความเพยี ร มสี ติปญ ญา และความรอบคอบ เพื่อให
สมดลุ และพรอ มรบั การเปล่ียนแปลงอยา งรวดเร็ว

63

ทางสาํ นกั งานศกึ ษากรุงเทพมหานครไดส งเสริมใหเยาวชน นักเรียน มจี ิตสาธารณะ ใน
การใชช ีวิตอยางพอเพยี ง คอื พอมีพอกนิ พึ่งพาตนเองได และชว ยเหลือผอู นื่ ได โดยใหเยาวชน
จดั คายอาสาพฒั นาชมุ ชนเพอ่ื เปน การปลกู ฝง วนิ ัยในการทําดเี พื่อสงั คม โดยเห็น ประโยชนส ว นรวม
มากกวา เหน็ ประโยชนส ว นตน ปจจบุ นั ความวนุ วายของสงั คมมมี ากนัก การแขง ขันที่รอ นแรงใน
ทุก ๆ ดาน การทาํ ลายสงิ่ แวดลอ ม การเอาเปรยี บผดู อ ยโอกาส การปลอยมลพิษสูสงั คม การวา รา ย
เสียดแทง การแกง แยง ชงิ ดี ฯลฯ ลวนแลวแตม าจากสาเหตุเบื้องตนคลา ย ๆ กนั คอื ความเหน็ แกต วั
หรือเอาแตไดใ นสว นตนเปน หลกั ทาํ อยา งไรจงึ จะลดความเอาแตไ ดล งบา ง ตรงกนั ขา มกบั การเอา
เขา มาใสตวั กค็ อื “การให” แกคนอื่นออกไป เมื่อคนตาง ๆ เรม่ิ มองออกสภู ายนอก แคน อกจาก
ตัวเองเทา นน้ั มองเห็นผอู ื่นอยา งลึกซงึ้ แทจ รงิ มากขน้ึ เริ่มเขา ใจมุมมองของคนอืน่ เขาตองการอะไร
เขาอยใู นสภาพไหน เราชว ยอะไรไดบา ง มองเหน็ สงั คม เหน็ แนวทางทจี่ ะชว ยกนั ลดปญหา เร่มิ แรก
ใหเ ริม่ สละส่ิงที่เรามอี ยู ไมว า จะเปน เวลา แรงงาน เงนิ สง่ิ ของ อวยั วะหรอื แมกระทงั่ สละความเปน
ตวั เราของเรา ซึง่ น่ันเปน หนทางการพฒั นาจิตใจแตล ะคนไดอ ยา งเปนรปู ธรรม

จิตสาธารณะตรงน้ที ม่ี องเหน็ ผอู น่ื เห็นสังคมดงั นีเ้ อาที่เราเรียกกนั วา “จติ อาสา” จติ ใจที่
เหน็ ผูอน่ื ดว ย ไมเ พียงแตต วั เราเอง เราอาจจะยนื่ มอื ออกไปทาํ อะไรใหไ ดบ าง เสียสละอะไรไดบ า ง
ชวยเหลอื อะไรไดบา ง แบบเพือ่ นชว ยเหลือซงึ่ กนั และกนั ไมใชผ ูเหนอื กวา มนี า้ํ ใจแกก นั และกนั
ไมนงิ่ ดูดายแบบท่เี รอ่ื งอะไรจะเกดิ ขน้ึ ไมเ กีย่ วกับฉนั ฉนั ไมสนใจ สามารถแสดงออกมาไดใน
หลายรปู แบบ ท้งั การใหร ูปแบบตา ง ๆ ตลอดจนการอาสาเพ่ือชว ยเหลือสงั คม

ดังน้นั โครงการจติ อาสาพัฒนาจงึ จะจัดกจิ กรรมใหน กั เรียนไดม คี วามรูท ถี่ ูกตอ ง เกยี่ วกบั
จติ อาสาเพอ่ื กระตุน ใหแ ตล ะคนลกุ ขนึ้ มาทาํ ความดีกนั คนละนิด คนละนดิ เดียวเทา นน้ั ประเทศชาติ
ของเรานา จะงดงามขนึ้ อีกไมน อ ย เชน เพียงรว มกนั บรจิ าคเงนิ กนั เพยี งคนละเล็กละนอ ย เราก็จะมี
งบประมาณชว ยเหลือสังคมขน้ึ มาทนั ที ในกรณีโรงเรยี นมธั ยมประชานเิ วศน จึงจัดตง้ั โครงการ
จติ อาสาขน้ึ โดยใหน ักเรยี นโรงเรยี นมัธยมประชานิเวศนไดร ว มกันทาํ ความดี เพือ่ พัฒนาโรงเรียนใน
ชนบท เชน บูรณะพน้ื ท่ตี า ง ๆ ในโรงเรียน รบั บรจิ าคหนงั สือ เครือ่ งใชต า ง ๆ ไปมอบใหแก
โรงเรยี นวัดหนองมว ง ตาํ บลเมืองไผ อาํ เภอหนองก่ี จงั หวัดบรุ รี มั ย ในวนั ท่ี 23 ตุลาคม 2551-
26 ตุลาคม 2551

64

2. วตั ถุประสงค

3. เปาหมายของโครงการ

3.1 ด้านปริมาณ

บคุ ลากรครทู ี่รับผิดชอบโครงการ และนกั เรยี นระดบั มธั ยมศกึ ษาตอนตน และ
ตอนปลาย โรงเรยี นมธั ยมประชานเิ วศน แบง เปน บุคลากรครู จาํ นวน 6 คน
และการรบั สมัครและคดั เลอื กจํานวน 60 คน
3.2 ด้านคณุ ภาพ
บุคลากรและนักเรยี นในโรงเรียนเปน ผูม จี ติ สาธารณะ และเกิดความภาคภมู ใิ จ
ในการชว ยเหลือผอู ่นื อยเู สมอ

65

4. กจิ กรรมดําเนนิ การ

โครงการจติ อาสาพัฒนาชมุ ชนประกอบดวย 4 กจิ กรรม ดงั นี้

5. ระยะเวลาดําเนินโครงการจติ อาสาพัฒนาชมุ ชนเดอื น พ.ค. – ต.ค. 2551

66

6. งบประมาณ

รายละเอยี ดของงบประมาณดาํ เนนิ การจัดกิจกรรม ในการออกคา ยอาสาพฒั นาชมุ ชน
จาํ นวน 110,000 บาท โดยงบประมาณทัง้ หมดไดจ ากการบรจิ าคของผูปกครอง นักเรียน คณะครู
พอคาประชาชน

7. ปญ หาและอุปสรรค

จาํ นวนสงิ่ ของและเงนิ บริจาคอาจไมเพยี งพอ

8. ผลท่ีคาดวา จะไดรบั

นักเรยี นและบคุ ลากรที่เขารวมโครงการมนี าํ้ ใจและจิตสาธารณะ

9. การตดิ ตามและประเมินผลโครงการ

9.1 ผูติดตามและประเมินผล
9.1.1 ครู บุคลากรและนกั เรยี นที่เขา รวมโครงการ

9.2 วิธีติดตามและประเมนิ ผล
9.2.1 การสงั เกตพฤติกรรมของนักเรียน
9.2.2 การตอบแบบสอบถาม

67

คณะผู้จัดทํา

ทปี รึกษา บญุ เรือง เลขาธกิ าร กศน.
1. นายประเสริฐ อม่ิ สวุ รรณ รองเลขาธิการ กศน.
2. ดร.ชัยยศ จําป รองเลขาธิการ กศน.
3. นายวัชรนิ ทร แกว ไทรฮะ ทีป่ รกึ ษาดา นการพัฒนาหลกั สตู ร กศน.
4. ดร.ทองอยู ตณั ฑวุฑโฒ ผอู าํ นวยการกลุม พฒั นาการศึกษานอกโรงเรยี น
5. นางรักขณา
สถาบนั กศน. ภาคใต จงั หวดั สงขลา
ผ้เู ขยี นและเรียบเรียง สุวรรณเจริญ
1. นางมยรุ ี

ผ้บู รรณาธิการและพฒั นาปรับปรุง กลมุ พฒั นาการศกึ ษานอกโรงเรียน
1. นายวิวฒั นไ ชย จันทนส ุคนธ กลมุ พฒั นาการศึกษานอกโรงเรยี น
2. นางพชิ ญาภา ปติวรา กลุมพฒั นาการศกึ ษานอกโรงเรียน
กลมุ พฒั นาการศกึ ษานอกโรงเรยี น
3. นางสาววรรณพร ปทมานนท กลุม พฒั นาการศกึ ษานอกโรงเรียน
4. นายศภุ โชค ศรีรตั นศลิ ป กลุมพฒั นาการศึกษานอกโรงเรียน

5. นายสรุ พงษ มนั่ มะโน ศกึ ษานเิ ทศกเ ชี่ยวชาญ
ขาราชการบาํ นาญ
6. นางสาวเพชรนิ ทร เหลืองจติ วฒั นา ครูชาํ นาญการพิเศษ
กลุมพฒั นาการศึกษานอกโรงเรียน
ผ้พู ฒั นาและปรับปรุงครังที กลุมพฒั นาการศกึ ษานอกโรงเรยี น
1. นางสาวสุดใจ บตุ รอากาศ
2. นางพรทพิ ย เขม็ ทอง

3. นางบุษบา มาลนิ ีกลุ
4. นางพรทิพย พรรณนิตานนท

5. นางสาวกรวรรณ กววี งษพพิ ัฒน

68

คณะทาํ งาน มนั่ มะโน กลุมพฒั นาการศึกษานอกโรงเรยี น
1. นายสุรพงษ ศรีรัตนศลิ ป กลุม พฒั นาการศกึ ษานอกโรงเรียน
2. นายศภุ โชค ปทมานนท กลมุ พฒั นาการศึกษานอกโรงเรียน
3. นางสาววรรณพร กลมุ พฒั นาการศกึ ษานอกโรงเรยี น
กลุ ประดษิ ฐ กลุมพฒั นาการศึกษานอกโรงเรียน
4. นางสาวศรญิ ญา เหลืองจติ วฒั นา
5. นางสาวเพชรนิ ทร กลุมพฒั นาการศึกษานอกโรงเรยี น
กลุม พฒั นาการศึกษานอกโรงเรียน
ผ้พู มิ พ์ต้นฉบบั คะเนสม กลุมพฒั นาการศกึ ษานอกโรงเรยี น
1. นางปย วดี เหลอื งจติ วัฒนา กลุมพฒั นาการศึกษานอกโรงเรียน
2. นางเพชรนิ ทร กวีวงษพ ิพัฒน กลุมพฒั นาการศึกษานอกโรงเรยี น
3. นางสาวกรวรรณ ธรรมธิษา
4. นางสาวชาลนี ี บานชี กลมุ พฒั นาการศึกษานอกโรงเรยี น
5. นางสาวอรศิ รา
ผ้อู อกแบบปก ศรีรตั นศลิ ป
1. นายศภุ โชค

69

คณะผปู รบั ปรุงขอ มูลเกยี่ วกบั สถาบนั พระมหากษตั ริย ป พ.ศ. 2560

ท่ปี รกึ ษา จําจด เลขาธกิ าร กศน.
หอมดี ผูต รวจราชการกระทรวงศึกษาธิการ
1. นายสุรพงษ สขุ สเุ ดช ปฏบิ ัตหิ นา ทรี่ องเลขาธกิ าร กศน.
2. นายประเสรฐิ ผูอาํ นวยการกลุม พฒั นาการศกึ ษานอกระบบ
3. นางตรีนชุ และการศกึ ษาตามอธั ยาศยั
กศน.เขตบางซื่อ กรงุ เทพมหานคร
ผปู รบั ปรุงขอ มูล พรรณนา กลมุ พฒั นาการศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศยั
นายธนพัฒน กลุมพฒั นาการศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศยั
กลมุ พฒั นาการศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศยั
คณะทาํ งาน ม่นั มะโน กลมุ พฒั นาการศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั
1. นายสรุ พงษ กลมุ พฒั นาการศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั
2. นายศภุ โชค ศรรี ตั นศิลป กลุมพฒั นาการศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศยั
3. นางสาวเบ็ญจวรรณ อําไพศรี กลมุ พฒั นาการศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศัย
4. นางเยาวรตั น ปน มณีวงศ กลมุ พฒั นาการศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศยั
5. นางสาวสลุ าง เพช็ รสวา ง
6. นางสาวทิพวรรณ วงคเ รอื น
7. นางสาวนภาพร อมรเดชาวัฒน
8. นางสาวชมพนู ท สังขพชิ ัย


Click to View FlipBook Version