The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

กลุ่มพัฒนาการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย สำนักงาน กศน.

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by maw.nfe, 2020-04-21 03:19:31

ศาสนาและหน้าที่พลเมือง สค31002 ม.ปลาย

กลุ่มพัฒนาการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย สำนักงาน กศน.

ห น า | 41

1. โลกครสิ เตยี น

สบื เน่ืองจากศาสนาครสิ ตมอี ทิ ธพิ ลตอ ชาวตะวันตกโดยเฉพาะในสมัยกลางยุโรป ศาสนาจักรเขามา
มีบทบาทแทนอาณาจักรโรมันท้ังในดา นศาสนา การเมือง การปกครอง ประเพณี และวัฒนธรรม
พระสันตะปาปาไดรับการยกยองใหเปนราชาแหงราชาทั้งหลาย มีอํานาจเต็มที่ในการกําหนดบทบาท
วิถีชีวิตของคนในสมยั นน้ั ตอมาในตอนปลายยุคกลางสืบตอ จนกระทั่งยุคแหง วิทยาศาสตรสมัยใหม ศาสนจักร
ถูกลดบทบาททางการเมืองและการปกครอง แตศ าสนาครสิ ตยงั มีอทิ ธพิ ลครอบคลมุ ทั่วทง้ั ทวีปยุโรป อเมรกิ า
และแอฟริกา แมแตใ นปจจุบันศาสนาคริสตเปนท่ียอมรับของสังคมทั่ว ๆ ไป ในฐานะท่ีเปน ศาสนาหน่ึงที่
ผนู ับถือมากท่สี ุดเปนลําดับหนง่ึ ของโลก

สาเหตุที่ศาสนาคริสตเ ผยแผไ ดท่ัวโลก เพราะยุคลาอาณานิคมพวกจักรวรรดินิยมชาวยุโรปและ
อเมริกา (ครสิ ตศ ตวรรษที่ 15 - 16 ) ศาสนาคริสตไ ดถ กู นําไปเผยแผใ นประเทศตา ง ๆ ทีน่ กั ลา อาณานิคมเหลา นี้
พรอมกับมชิ ชนั นารี คือ นักสอนศาสนาไปถึงสง ผลใหค ริสตศาสนิกชนมีปริมาณมากข้ึนท้ังในยุโรป แอฟริกา
อเมริกา เอเชีย และออสเตรเลีย ประเทศไทยมีนักสอนศาสนาชาวโปรตุเกสและสเปนเขามาเผยแผ โดย
เดินทางมาพรอ มกบั พวกทหารและพอคา ของประเทศเหลานัน้ ทําใหมคี นไทยนบั ถือศาสนาคริสตกระจายไป
ท่ัวประเทศ

2. โลกอิสลาม

การเผยแผศาสนาอิสลาม เกิดจากพอ คา อาหรับนําสินคา คือ นําเคร่ืองเทศมาขาย และเผยแผ
ศาสนาดว ย ชาวมสุ ลิม เปน ผทู ี่ขยนั ขันแขง็ ซื่อสัตยส จุ รติ และมีฐานะดี เปนพอ คาประกอบกับหลักศาสนามี
หลักการสาํ หรบั ผคู รองเรอื น จงึ เผยแผไปไดอยา งรวดเร็วในโลก ศาสนาอิสลามมจี าํ นวนผูท่นี บั ถือมากลําดบั ท่ี 2
ของโลก ชาวมุสลิมมีอยูประมาณ 1,500 ลานคน หรือ 1 ใน 4 ของประชากรโลก และมีกลุมชาติพันธุแ ละ
ภาษาที่แตกตา งกนั กระจายตวั อยางกวางขวางไปท่ัวโลก ทงั้ เอเชีย แอฟรกิ า และยุโรป โดยเฉพาะในเอเชยี ใต
ซึ่งเปน ภูมิภาคที่ประชากรมุสลิมอยูห นาแนนที่สุดในโลกมีอยูราว 1 ใน 4 ของประชากรมุสลิมทั้งหมด
รองลงมา คือ ประชากรมสุ ลมิ ในเอเชยี ตะวนั ออกเฉียงใต ทัง้ ในอนิ โดนเี ชยี มาเลเซีย บรไู น กับพ้ืนท่ีจังหวัด
ชายแดนภาคใตของไทย และฟลปิ ปนส ซ่ึงประกอบข้ึนเปน โลกมลายยูมุสลิม สวนตะวันออกกลาง ซึ่งเปน
ถิ่นกําเนิดของศาสนาอิสลามเองน้ัน มีประชากรมุสลิมมากที่สุดเปน ลําดับ 3 มีอยูประมาณ 200 ลานคน
ลําดับตอ มา คือ ชาวมุสลิม เชื้อสายเติรก ท่ีอยูในตรุกีและดินแดนตา ง ๆ ในภูมิภาคเอเชียกลาง โดยมี
จาํ นวนประมาณ 90 ลานคน สว นมุสลิมเปอรเ ซยี มีประชากรอยูประมาณ 70 - 80 ลา นคน และท่ีเหลือเปน
มุสลิมชนกลุมนอยที่อาศัยอยูต ามประเทศตาง ๆ มากกวา 120 ประเทศท่ัวโลก มุสลิมประกอบดว ย
ประชากร 3 กลุม ดังตอ ไปนี้ คอื

1. กลุมประเทศมสุ ลมิ อาหรบั คอื ประเทศมุสลิม ซึง่ ประชากรสว นใหญเ ปน ชาวอาหรับ ใชภาษา
อาหรับเปน ภาษากลาง กลมุ น้ี คือ แอลจีเรยี บาหเรน อยี ปิ ต อิรัก จอรแดน คูเวต เลบานอน ลิเบีย โมร็อกโก
โอมาน กาตาร ซาอุดีอาระเบยี โซมาเลยี ซีเรยี ตูนิเซยี สหรฐั อาหรบั เอมิเรตต และเยเมน

2. กลุมประเทศมุสลมิ ทีไ่ มใ ชอาหรบั คอื ประเทศที่ประชากรสวนใหญนับถือศาสนาอสิ ลาม
แตไ มใชช าวอาหรับ และไมไดใ ชภาษาอาหรับเปน ภาษากลาง กลมุ น้ีแบง เปนภมู ภิ าคตาง ๆ ดงั นี้

ภูมิภาคเอเชียกลาง ไดแ ก อัฟกานิสถาน อาเซอรไ บจัน บังคลาเทศ บรูไน อินโดนีเชีย
อหิ รา น คาซคั สถาน ครี ก ิสถาน มาเลเซีย มลั ดีฟส ปากสี ถาน ทาจกิ ิสถาน ตุรกี เตริ ก เมนิสถาน อซุ เบกิสถาน

ห น า | 42

ภูมิภาคแอฟริกา ไดแก มอริตาเนีย บูรก ินาฟาโซ แคเมรูน แอฟริกากลาง ชาด คอโมโรส
โกตดิวัวร เอริเทรยี เอธโิ อเปย แกมเบยี กินี กินบี สิ เซา จบิ ตู ี มาลี ไนเจอร ไนจีเรีย เซเนกัลป เซียรราลีโอน
แทนซาเนีย โตโก และซาฮาราตะวนั ตก

ภมู ิภาคยโุ รป ไดแก อัลบาเนีย บอสเนยี - เฮอรเซโกวนี า และปาเลสไตน
3. กลมุ มุสลิมชนกลมุ นอยในประเทศท่ีไมใ ชมุสลิม คือ มุสลิมที่กระจัดกระจายอยูใ นประเทศที่
ประชากรสว นใหญไ มใ ชม ุสลมิ ซึ่งมอี ยูทุกมมุ โลก เชน ออสเตรเลยี ฟล ปิ ปนส จีน อินเดยี รัสเซีย มาซโิ ดเนยี
ฝร่งั เศส อังกฤษ สหรัฐ อเมริกา อารเจนตินา ไทย ฯลฯ กลุมมุสลิมเหลานี้เปนประชากรสวนนอยใน
ประเทศตาง ๆ ไมนอ ยกวา 120 ประเทศทัว่ โลก

3. ศาสนาพราหมณ - ฮินดู

เปนศาสนาเกาแกท่ีสุดในโลกนับมาประมาณ 5,000 ป ในชมพูทวีป แมวา ศาสนาพุทธจะเกิดใน
อินเดยี เม่ือ 2,500 ปล วงมา แตศาสนาพทุ ธเสอื่ มลงและมารุงเรืองอกี ครง้ั ในสมยั พระเจา อโศกมหาราชและ
เสอ่ื มลงอกี และศาสนาพราหมณ - ฮินดู รงุ เรืองอกี ในอินเดีย จนถึงปจ จุบัน และในบังกลาเทศ มีผูนับถือ
ศาสนาพราหมณ - ฮนิ ดู 10.5% สวนในอินโดนีเซยี ยังมีผูนบั ถอื ศาสนาฮินดอู ยบู างราว 3%

4. โลกพุทธศาสนา

ประเทศไทยในปจ จุบัน เปน ประเทศท่ีเปน ศูนยกลางของศาสนาพุทธ ศาสนาพุทธเปน ศาสนาท่ี
เกา แกรองลงมาจากศาสนาพราหมณ - ฮนิ ดู เมอื่ ศึกษาประวตั กิ ารเผแผพ ระพทุ ธศาสนาไปยงั ประเทศตาง ๆ
ในโลกพบวาท่ีสําคัญ คือ พระเจา อโศกมหาราช ซ่ึงเปนกษัตริยท ี่มีแสนยานุภาพของอินเดีย ทรงนับถือ
ศาสนาพุทธและเปน กําลังที่สําคัญในการเผยแผศาสนาพุทธใหรุงเรือง ประมาณพุทธศตวรรษที่ 3 เผยแผ
พระพุทธศาสนาไปยังประเทศตาง ๆ โดยสง สมณทตู ไปเผยแผ ไดแก ประเทศลังกา ไทย พมา ทําใหศ าสนา
พุทธประดษิ ฐานมัน่ คงจนถงึ ทุกวนั นี้

คณะพระธรรมทตู ดงั กลา วมี 9 คณะ ประกอบดว ยรายละเอียดดงั น้ี
สายท่ี 1 มพี ระมชั ฌันติกเถระเปน หัวหนา คณะ ไปเผยแผพระพุทธศาสนา ณ แควน กัษมิระ คือ
รฐั แคชเมยี ร ประเทศอินเดียปจ จุบนั และแควน คนั ธาระ ในปจ จุบัน คอื รฐั ปญ จาป ทั้งของประเทศอินเดีย
และประเทศปากีสถาน
สายท่ี 2 พระมหาเทวเถระเปน หัวหนาคณะ ไปเผยแผพ ระพุทธศาสนาในแควน มหิสมณฑล
ปจจุบัน ไดแ ก รัฐไมเซอร และดินแดงแถบลุมแมน ้ําโคธาวารี ซง่ึ อยใู นตอนใตป ระเทศอนิ เดีย
สายท่ี 3 พระรักขิตเถระเปน หัวหนาคณะ ไปเผยแผพ ระพุทธศาสนา ณ วนวาสีประเทศ
ในปจจบุ นั ไดแก ดนิ แดนทางตะวนั ตกเฉยี งใตของประเทศอนิ เดีย
สายที่ 4 พระธรรมรักขิตเถระหรือพระโยนกธรรมรกั ขิตเถระ (ซ่ึงเขา ใจกันวา เปนฝรั่งคนแรกใน
ชาติกรีกที่ไดเ ขา บวชในพระพุทธศาสนา) เปน หัวหนา คณะไปเผยแผพ ระพุทธศาสนา ณ อปรันตกชนบท
ปจ จุบนั สนั นิษฐานวา คือ ดินแดนแถบชายทะเลเหลือง เมอื งบอมเบย
สายท่ี 5 พระมหาธรรมรักขิตเถระเปน หัวหนา คณะ ไปเผยแผพระพุทธศาสนา ณ แควน -
มหาราษฏร ปจจุบนั ไดแ ก รัฐมหาราษฎรข องประเทศอินเดยี
สายท่ี 6 พระมหารกั ขิตเถระเปน หวั หนาคณะ ไปเผยแผพ ระพุทธศาสนาในเอเชียกลาง ปจจุบัน
ไดแ ก ดินแดนทเ่ี ปนประเทศอหิ รา น และตรุกี

ห น า | 43

สายท่ี 7 พระมัชณิมเถระพรอ มดว ยคณะ คือ พระกัสสปโคตรเถระ พระมูลกเทวเถระ
พระทุนทภิสระเถระ และพระเทวเถระ ไปเผยแผพ ระพุทธศาสนา ณ ดินแดนแถบภูเขาหิมาลัย สันนิษฐานวา
คือ ประเทศเนปาล

สายท่ี 8 พระโสณเถระและพระอุตตรเถระ เปน หัวหนา คณะ ไปเผยแผพระพุทธศาสนา
ณ ดนิ แดนสุวรรณภมู ิ ซงึ่ ปจจบุ นั คอื ประเทศในคาบสมุทรอนิ โดจีน เชน พมา ไทย ลาว เขมร เปน ตน

สายท่ี 9 พระมหนิ ทเถระ (โอรสพระเจา อโศกมหาราช) พรอมดว ยคณะ พระอรฏิ ฐเถระ พระอุทรยิ เถระ
พระสัมพลเถระ และพระหัททสารเถระ ไปเผยแผพระพุทธศาสนา ลังกาทวีปในรัชสมัยของพระเจา
เทวานัมปย ติสสะ กษตั ริยแหง ลังกาทวปี ปจจบุ นั คือ ประเทศศรลี ังกา

ศาสนาพุทธมี 2 นิกาย คือ นิกายมหายานและนิกายหินยาน นิกายมหายาน ยึดคําสอนด้ังเดิม
ของพระพุทธเจา สว นนิกายหนิ ยาน เกิดจากการปรับตัวของศาสนาพุทธ เนื่องจากศาสนาพราหมณเ จริญขึ้น
อยา งรวดเร็ว ดังนั้น นิกายหินยาน มุงเนน การบําเพ็ญบารมีของพระโพธิสัตวท ่ีเปน คฤหัสถก ็ได โดยท่ี
พระโพธสิ ัตวป รารถนาพุทธภมู ิ จงึ เปน การเปดโอกาสใหค ฤหัสถเ ขา มามีบทบาทมากข้ึน และนิกายมหายานน้ี
สามารถปรับตวั เขากับทองถนิ่ ไดง ายกวา นกิ ายหินยาน หรือ เถรวาท ซ่งึ เปนพุทธแบบด้ังเดิม ศาสนาพุทธใน
อินเดียเรมิ่ เสอ่ื มตัวลงชา ๆ ตัง้ แตพ ทุ ธศตวรรษที่ 15 เปน ตน มา โดยอินเดียตะวันออก สงเสริมศาสนาฮินดู
สวนในอินเดยี เหนือ ชาวเตริ กท่ีนบั ถอื ศาสนาอสิ ลามบุกอนิ เดีย เผามหาวิทยาลัยนาลนั ทา ซึ่งเปน ศูนยก ลาง
ของศาสนาพุทธ ตั้งแต พ.ศ. 1742 ศาสนาพุทธจึงโยกยา ยไปทางเหนือเขา สูเทือกเขาหิมาลัยและศรีลังกา
พุทธศาสนาเขาสูจีนผานเอเชียกลาง ในพุทธศตวรรษที่ 13 จีนเปน ศูนยกลางท่ีสําคัญของพุทธศาสนา
นิกายมหายานรุง เรืองมากในยุคราชวงศถัง และตอมาศาสนาพุทธเสื่อมลง เพราะจักรพรรดิหวูซุงหันไป
สนบั สนุนลทั ธิเตา แทน แตพ ุทธศาสนานิกายมหายานยังคงรุง เรือง ตอ มากลายเปน นิกายเซนในญ่ีปุน และ
ยังคงรงุ เรืองมาจนถงึ ปจจบุ นั พทุ ธศาสนาในเกาหลี นิกายเซน เผยแผมาในสมัย พ.ศ. 915 และตอ มาลัทธิ
ขงจอื้ เผยแผเ ขามา ทําใหศาสนาพุทธเสอ่ื มลง ในพุทธศตวรรษที่ 6 อารยธรรมอินเดีย มอี ิทธิพลมาก เผยแผ
อารยธรรมเขา สูเ อเชียตะวันออกเฉียงใต คือ อารยธรรมทางภาษาบาลีสันสกฤต และศาสนาพุทธนิกาย
มหายาน พรอมกบั ศาสนาพราหมณเขา มาในชว งพทุ ธศตวรรษท่ี 10 - 18 สมยั อาณาจักรศรีวิชัย มีศูนยก ลางที่
เกาะสุมาตรา และอาณาจักรขอมโบราณ ตอ มาอาณาจักรศรีวิชัยเส่ือมลงและรับอารยธรรมอิสลามใน
พทุ ธศตวรรษที่ 18 ศาสนาพทุ ธในปจ จบุ นั นกิ ายมหายานหรืออาจารยวาท หมายถึง อาจารยรุน ตอ ๆ มา
ไมใ ชร ุนท่ีเห็นพระพุทธเจา ยังมีอยูท ่ีอินเดียตอนเหนือ เนปาล จีน ญี่ปุน เกาหลี เวียดนาม มองโกเลีย
บางสวนของรัสเซีย บางคร้ังเรยี กวา อุตรนิกาย หรือ นกิ ายฝา ยเหนือ

สวนทักษิณนิกาย หรือ นิกายฝายใตนิกายหินยาน หรือ เถรวาท หมายถึง พระเถระที่ทันเห็น
พระพทุ ธเจา ซึ่งนับถือพุทธแบบดงั้ เดิมเครงครัดนับถอื มากในไทย พมา เขมร ลาว ศรีลงั กา

ศาสนาพุทธเริ่มเปน ที่สนใจของชาวยุโรปอยางกวา งขวางในพุทธศตวรรษที่ 25 หลังจาก
สงครามโลกครั้งที่ 2 เปน ตน มา ความเช่ือทางศาสนาเปล่ียนไป ศาสนาพุทธ พิสูจนไดดว ยการปฏิบัติเอง
อีกท้ังมอี งคกรพทุ ธศาสนาระดับโลกโดยมีชาวพุทธจากเอเชีย ยุโรป และอเมริกาเหนือ รวม 27 ประเทศ
ตัง้ ช่ือองคการวา “องคกรพทุ ธศาสนกิ สมั พันธแ หงโลก” กอ ตัง้ ทปี่ ระเทศศรลี งั กา เม่อื ป พ.ศ. 2493

พุทธศาสนาเขา สูประเทศอังกฤษคร้ังแรก ในป พ.ศ. 2448 โดย J.R. Jackson กอ ต้ังพุทธสมาคม
ในอังกฤษ และมีภิกษุชาวอังกฤษรูปแรก คือ Charls Henry Allen Bernett คณะสงฆไทยไดสง คณะทูตไป
เผยแผครง้ั แรกเม่อื พ.ศ. 2507 และสรางวดั ไทย ชื่อ วัดพทุ ธประทีป ในลอนดอน

ห น า | 44

ประเทศเยอรมนี มีสมาคมพุทธศาสนา เม่ือ พ.ศ. 2446 มีชาวเยอรมันไปบวชเปนพระภิกษุที่
ศรลี งั กา การเผยแผพทุ ธศาสนาชะงกั ไปในชวงสงครามโลกคร้ังท่ี 1 และถูกหา มในสมัยฮิตเลอร หลังสงครามโลก
ครง้ั ท่ี 2 จงึ มกี ารฟน ฟูพุทธศาสนาโดยตดิ ตอ กบั พทุ ธสมาคมในศรลี ังกา มวี ดั ไทยในเบอรล ินเชน กนั

พระพทุ ธศาสนาที่เขา สูประเทศสหรัฐอเมริกา ในป พ.ศ. 2448 เปน พุทธศาสนาจากจีนและญ่ีปุน
และทเิ บต ใน พ.ศ. 2504 มหาวิทยาลัยวิสคอนซิน เปดสอนปริญญาเอกสาขาพุทธศาสตร เ ปนแหงแรกใน
สหรฐั และคณะสงฆไทยสรา งวดั ไทยแหง แรกในสหรัฐ เมอื่ พ.ศ. 2515

ศาสนาพราหมณฮ ินดู เปน ศาสนาเกา แกท ส่ี ุดของโลกปจ จบุ ันน้ี สบื เนอ่ื งมาตง้ั แตอดตี จนถึงปจจบุ ัน
แมว า ศาสนาพุทธจะเคยรุงเรืองในอินเดียสมัยพระพุทธเจาแลวเสื่อมลง จากน้ันมารุงเรืองอีกครั้งในสมัย
พระเจา อโศกมหาราช

เรือ่ งที่ 8 กรณตี วั อยา งปาเลสไตน

สาํ หรับความขัดแยง ในดินแดนปาเลสไตน เปน กรณีท่ีนา ศึกษากรณีหน่ึง เพราะสงผลเกิดสงคราม
ยืดเย้ือมานับสิบ ๆ ป ยอนหลังไปในชวงสมัยสงครามโลกครั้งท่ี 1 ดินแดนน้ีอยูใ นความครอบครองของ
จกั รวรรดอิ อตโตมันเตริ ก (ตรุกี) ถาปาเลสไตนสบื เชอื้ สายมาจากชาวปาเลสไตนด ้ังเดิมผสมกับชาวอาหรับ
ชนเผาคะนาคนั และชนเผา อนื่ ๆ ท่ีมถี ิน่ ทีอ่ ยูใ นบริเวณนี้ สบื เนอื่ งจากชาวองั กฤษซ่ึงเปนชาติมหาอํานาจใน
ขณะน้ันสนับสนนุ ใหเอกราชแกป าเลสไตน หลังจากเปนพันธมิตรรวมรบในสงครามโลก ครั้งท่ี 1 จนชนะ
แตเม่ือสงครามโลกส้ินสุดลงอังกฤษออกประกาศบัลโฟรใ หช าวยิวอพยพเขาสูด ินแดนปาเลสไตน ในป
ค.ศ. 1922 สันนิบาตชาติยกปาเลสไตนใหอ ยูใ นอาณัติอังกฤษ ชาวยิวอพยพเขา สูดินแดนปาเลสไตน
ปละ 16,500 คน ขออธิบายความยอนหลังวา กอ นสงครามโลก คร้ังท่ี 1 ยิวในเยอรมันถูกฮิตเลอรฆา ตาย
จํานวนมากเพราะความขดั แยง ดานเช้อื ชาติ เนือ่ งจากชาวยวิ เปน ชาตทิ ี่ฉลาด มฐี านะดี เปน พอคา วิศวกรตา ง ๆ
ฮิตเลอรผ ูน ําเยอรมันประกาศวา ชาวเยอรมันเปน ชาติบริสุทธ์ิ สูงสง และเขารังเกียจยิวมาก ชาวยิวไมม ี
ประเทศอยู หลังจากสงครามส้ินสดุ ลง อังกฤษ จงึ สนบั สนนุ ใหยิวมีประเทศอยู และเลอื กดนิ แดนปาเลสไตน
ซง่ึ สอดคลอ งกบั ชาวยิวแสดงความเปน เจา ของดินแดนน้โี ดยยกขอ ความคัมภรี ไบเบิ้ลวา ในวันพระยะโฮวาร
ไดท าํ สัญญากบั อัมซาฮามไววา เราไดม อบดินแผนดินนน้ั ไวใหแกพงศพนั ธขุ องเจา ต้ังแตแ มน้าํ อายฒุบโตไป
จนถึงแมน้ํายูเฟรติส และตั้งรัฐอิสราเอลขึ้นในแดนปาเลสไตน แตขณะเดียวกันชาวปาเลสไตนไมพอใจ
เพราะพวกเขายงั คงอยูอยา งลําบาก แมว า อังกฤษจะชวยปลดแอกจากชาวเตริ กขณะท่ีชาวยิวเปน ชนฉลาด เชน
ทาํ ความเจริญใหกบั อสิ ราเอลมาก ขณะเดยี วกันองั กฤษ สหรัฐ องคก ารสหประชาชาติลวนสนับสนุนสง ยิว
อพยพจากประเทศตาง ๆ เพือ่ ใหมดี ินแดนอยูในปาเลสไตน

ตอ มาในราว 20 ป หลังจากยิว ชาติอิสราเอลอยูในปาเลสไตน เกิดสงครามกอนหิน 2 คร้ัง คือ
ชาวปาเลสไตนต อ งการขับไลช าตนิ ้อี อกไปจากดนิ แดนเกา แกข องตนเอง เพราะตนเองยังอยูกับความยากจน
สิน้ หวงั เชนเดิม การสคู ร้งั แรกของชาวปาเลสไตนไมมีอาวุธ แตใ ชก อ นหินขวา งปารถถังของอิสราเอล ซ่ึงรบ
ชนะไดอยางงายดาย และสหประชาชาติกป็ ระนามการกระทําของอิสราเอล อิสราเอลไดร บั ความเหน็ ใจจาก
ท่ัวโลกนอยลง ตอมามีกลุมฮามาส เปนกลมุ ท่ลี กุ ข้ึนมาตอบโตอสิ ราเอลดวยมาตรการรนุ แรงเชนกัน กลมุ ฮามาส

ห น า | 45

เปนกระแสฟน ฟูอิสลามจุดประกายรัฐอสิ ลาม และเปา หมาย คอื ขบั ไลอ สิ ราเอลจากปาเลสไตน และกลุมฮามาสน้ี
ยนิ ดีปฏิบัติการระเบิดพลีชพี และสงครามชงิ ดินแดนยังเกิดตอ มาเปนระยะ ๆ มีการเจรจาเพ่อื สงบศึกหลาย
ครง้ั แตยงั ไมสาํ เร็จ

ห น า | 46

เร่อื งที่ 9 แนวทางปองกันและแกไ ขความขดั แยง ทางศาสนา

ความหมายของคําวา “ความขัดแยง ”

ความขัดแยง ตามพจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2525 หมายถึง “การไมลงรอยกัน
การไมถ กู กันความคิดไมตรงกัน ความพยายามอยากเปนเจาของ และความเปนคนตางมุมมองกัน”

ความขัดแยง ในสังคม เปนสง่ิ ทไ่ี มม ใี ครปรารถนา แตก ็หลีกเลี่ยงไดย าก เพราะตราบใดที่มนุษยม ีชีวิต
อยรู วมกันในสังคม ก็ยอ มมีความขัดแยง เปน ธรรมดา ความขัดแยง มที ง้ั ประโยชนแ ละโทษ

สาเหตุที่ทําใหเกดิ ความขัดแยง

ความขดั แยง มาจากสาเหตหุ ลายประการ เชน ความเชื่อศรัทธาในคําสอนของศาสนาแตกตางกัน
ความมที ฏิ ฐิมานะ ถือตวั วาความคิดของตัวเองดีกวา คนอ่ืน ความมีวสิ ยั ทศั นท ่ีคบั แคบ ขาดการประสานงานที่ดี
ขาดการควบคุมภายในอยา งมีระบบ สังคมโลกขยายตัวเร็วเกินไป และการมีคา นิยมในส่ิงตาง ๆ ผิดแผกกัน
ความคิดแตกตางกนั

วิธีปอ งกนั และแกไขความขัดแยงทางศาสนาตอการอยรู ว มกนั ในสังคม

วธิ ปี อ งกันแกไ ขความขัดแยงทางศาสนาตอการอยูรว มกนั มหี ลายวธิ ี เชน
1. วธิ ยี อมกนั คอื ทุกคนลดทิฏฐิมานะ หันหนาเขาหากัน ใหเ กียรติซ่ึงกันและกัน ไมด ูถูก ไมติฉิน
นินทา ไมก ลาววา รายปา ยสี ศาสนาของกนั และกนั พบกันครึ่งทาง รูจ ักยอมแพ รูจ ักยอมกัน หวังพึ่งพาอาศัย
ซ่งึ กนั และกนั ถือวาทุกคนเปน เพ่อื นรวมโลกเดียวกนั โดยมีผปู ระสานสัมพันธที่ทกุ ฝายยอมรบั นบั ถือ
2. วิธผี สมผสาน คือ ทุกฝา ยทุกศาสนาเปด เผยความจริง มีการแลกเปลี่ยนทัศนคติความคิดเห็น
แลกเปล่ียนขอ มูลซึ่งกันและกัน รวมกันคิด รว มกันทํา และรว มกันแกป ญ หา ทํากิจกรรมในสังคมรว มกัน
เชน สรางสะพาน ถนน ฯลฯ
3. วิธีหลีกเล่ียง คือ การแกป ญหาลดความขัดแยงโดยวิธีขอถอนตัว ขอถอยหนี ไมเ อาเร่ือง
ไมเอาความ ไมไปกา วกายความคิด ความเชอ่ื ของผูนับถอื ศาสนาทไี่ มตรงกับศาสนาท่ีตนนับถอื
4. วิธกี ารประนปี ระนอม คอื การแกป ญหาโดยวิธีทําใหท้งั สองฝา ยยอมเสียสละบางสง่ิ บางอยา งลง
มที งั้ การใหแ ละการรบั ภาษาชาวบาน เรยี กวา แบบย่ืนหมู - ย่ืนแมว คือ ทุกฝายยอมเสียบางอยางและได
บางอยา งมีอาํ นาจพอ ๆ กนั ตา งคนตางก็ไมเ สียเปรียบ

ห น า | 47

เรอ่ื งท่ี 10 หลกั ธรรมในแตล ะศาสนาท่สี ง ผลใหอยูรว มกบั ศาสนาอืน่ ไดอยางมสี ขุ

ศาสนาพุทธ มีหลกั สําคัญ คอื การมุงเนนใหไ มเบียดเบียน ไมจ องเวรซงึ่ กันและกัน จะเห็นวา ศีลขอ 1
ของศาสนาพทุ ธ คอื ปาณาตปิ าตา เวระมะณี สกิ ขา ปะทงั สะมาทิยามิ คือ งดเวนการฆา เบียดเบียน ทําราย
รางกายคน และสตั ว และหลักสําคัญตอ มาอีก คอื ยดึ หลกั พรหมวิหาร 4 คอื

1. เมตตา คือ ความปรารถนาใหผอู ่นื มีความสขุ
2. กรณุ า คือ ความปรารถนาใหผ อู น่ื พนจากความทกุ ข
3. มทุ ิตา คอื ความยินดีเม่ือผอู น่ื ไดดี
4. อุเบกขา คือ การวางเฉย ไมลําเอยี ง ทําใจเปน กลาง ใครทาํ ดยี อ มไดด ี
หลกั ธรรมที่สําคญั อกี คือ สงั คหวัตถุ 4 คอื หลกั ธรรมที่เปน เคร่ืองยึดเหนี่ยวนํ้าใจผูอื่น ไดแ ก ทาน
คือ การใหค วามเสียสละ แบงปนของตนเองใหผูอ ื่น ปย วาจา คือ พูดจาดว ยถอ ยคําท่ีไพเราะ ออ นหวาน พูดดว ย
ความจริงใจไมหยาบคาย กาวราว อัตถจริยา คอื การสงเคราะหผ ูอ่ืน ทําประโยชนใ หผ ูอื่น และสมานัตตา คือ
ความเปนผูสม่าํ เสมอ ประพฤตเิ สมอตนเสมอปลาย เนนคณุ ธรรมสําคญั ในการอยูก ับผอู ่นื ในสงั คม
และที่สําคัญในการแกไ ขปญ หาความขัดแยงในศาสนาพุทธ มุง เนนท่ีการเจริญปญ ญา น่ันคือ
ปญ หาตาง ๆ คือ ผลและยอมเกิดจากสาเหตุของปญ หา การแกไ ขตอ งพิจารณาท่ีสาเหตุและแกที่สาเหตุ
ดังน้ัน แตล ะปญหาที่เกิดข้ึนสาเหตุที่เกิดจะแตกตางกันตามสถานการณ นอกจากจะพิจารณาที่สาเหตุแลว
ในการแกป ญ หายงั ใชวธิ กี ารประชมุ เปน สาํ คญั พอจะเหน็ รปู แบบการประชมุ รว มกนั ของสงฆที่สงผลถึงปจจุบัน
ตวั อยา ง คอื คาํ วา สงั ฆกรรม ซึ่งเปนการกระทํารวมกนั ของพระสงฆ เชน การรับบุคคลเขา บวชในพุทธศาสนา
พระสงฆ ประกอบดวยอุปชฌาย พระคูส วด จะตองหารือกัน ไถถามกันเปนภาษาบาลี เพ่ือพิจารณา
คณุ สมบัตขิ องผูม าบวชวาสมควรใหบ วชไดไหม
ศาสนาอิสลาม ไดว างหลักเกณฑแ บบแผนในการประพฤติปฏิบัติในสวนที่เปนศีลธรรมและ
จริยธรรมอันนํามาซ่ึงความสามัคคีและความสงบสุขในการอยูร ว มกันของกลุมในสังคม ศาสนาอิสลาม
มีคําสอน ซ่งึ เปนขอปฏบิ ัติสําหรบั ครอบครัวและชุมชน โดยมหี ลักศรัทธา หลกั จริยธรรม และหลกั การปฏบิ ัติ
สาสน แหงอิสลามทีถ่ กู สงมาใหแกม นุษยทงั้ มวล มีจุดประสงค 3 ประการ คือ
1. เปน อดุ มการณท่สี อนมนุษยใหศ รทั ธาในอัลลอห พระผูเปน เจาเพียงพระองคเดียวท่ีสมควรแก
การเคารพบชู าและภักดี ศรทั ธาในความยตุ ิธรรมของพระองค ศรัทธาในพระโองการแหงพระองค ศรัทธาใน
วนั ปรโลก วนั ซง่ึ มนุษยฟ น คนื ชพี อกี ครงั้ เพ่อื รับการพิพากษา และผลตอบแทนของความดี ความชั่วที่ตนได
ปฏบิ ัติไปในโลกน้ี ม่นั ใจและไววางใจตอ พระองค เพราะพระองค คือ ท่พี งึ่ พาของทกุ สรรพสิง่ มนุษยจ ะตอง
ไมส น้ิ หวังในความเมตตาของพระองค และพระองค คอื ปฐมเหตุแหงคณุ งามความดีทั้งปวง
2. เปนธรรมนูญสําหรับมนุษย เพ่ือใหเ กิดความสงบสุขในชีวิตสวนตัวและสังคม เปนธรรมนูญที่
ครอบคลุมทุกดาน ไมวาในดานการปกครอง เศรษฐกิจ หรือนิติศาสตร อิสลามส่ังสอนใหม นุษยอยูกันดวย
ความเปน มิตร ละเวน การรบราฆา ฟน การทะเลาะเบาะแวง การละเมิด และรุกรานสิทธิของผูอ ื่น ไมลัก
ขโมยฉอ ฉล หลอกลวง ไมผ ิดประเวณี หรือทําอนาจาร ไมด่ืมของมึนเมา หรือรับประทานส่ิงที่เปน โทษ
ตอรางกายและจติ ใจ ไมบอ นทาํ ลายสังคม แมว าในรูปแบบใดกต็ าม

ห น า | 48

3. เปนจริยธรรมอนั สูงสง เพือ่ การครองตนอยางมีเกยี รติ เนน ความอดกลนั้ ความซื่อสัตย ความ เอื้อเฟอ
เผื่อแผ ความเมตตากรุณา ความกตญั ูกตเวที ความสะอาดของกายและใจ ความกลา หาญ การใหอ ภัย ความ
เทา เทียม และความเสมอภาคระหวางมนุษย การเคารพสิทธิของผูอ่ืน สั่งสอนใหล ะเวน ความตระหนี่-
ถี่เหนียว ความอจิ ฉาริษยา การตฉิ นิ นนิ ทา ความเขลาและความขลาดกลัว การทรยศและอกตัญญ การลวง
ละเมิดสิทธขิ องผอู นื่

อิสลาม เปนศาสนาของพระผเู ปน เจา ทนี่ าํ ทางในการดํารงชีวติ ทกุ ดานแกม นษุ ยทกุ คนไมยกเวน อายุ
เพศ เผา พันธุ วรรณะ

ศาสนาคริสต นอกจากบัญญัติ 10 ประการที่สําคัญในการอยูร วมกับผูอ ื่นของศาสนาคริสต คือ
จงอยา ฆาคน จงอยา ลว งประเวณีในคคู รองของผูอ ื่น จงอยา ลักขโมย จงอยา พูดเท็จ จงอยา มักไดในทรัพย
ของเขา และคําสอนท่ีสําคัญ คือ ใหรักเพ่ือนบานเหมือนรักตัวเอง ใหม ีเมตตาตอ กัน จงรักผูอ่ืนเหมือน
พระบิดารกั เรา ใหอ ภยั แลวทานจะไดรบั การอภัย ลวนแตเปนคณุ ธรรมพื้นฐานท่สี ําคัญทที่ ําใหการอยูร วมกัน
ในสงั คมอยา งมคี วามสุข

ศาสนาพราหมณ - ฮินดู สอนใหมีความม่ันคง มีความเพียร ความพอใจในส่ิงที่ตนมี ใหอดทน
อดกลัน้ มเี มตตากรณุ า ขม ใจไมหวน่ั ไหวไปตามอารมณ ไมล กั ขโมย ไมโ จรกรรม ทําตนใหส ะอาดทั้งกายและใจ
มธี รรมะสาํ หรับคฤหัสถ คือ จบการศึกษาใหก ลับบา น ชว ยบดิ ามารดาทํางาน แตงงาน เพื่อรักษาวงศตระกูล
ประกอบอาชพี โดยยดึ หลักธรรมเครอ่ื งดําเนนิ ชวี ิต

เรอ่ื งที่ 11 วิธฝี กปฏิบตั ิพัฒนาจิตในแตล ะศาสนา
หลักธรรมคาํ สอนของศาสนาชวยสรา งคนใหเ ปน คนดี

คนดีเปนที่ปรารถนาของทุกคน โลกนี้ยังขาดคนดีอยูมาก ยิ่งกวาขาดแคลนผูทรงความรูแขนง
ตาง ๆ เสียอีก ความจริงโลกไมไดข าดแคลนผูม ีความรูหรือผูเชี่ยวชาญในสาขาตาง ๆ มากนัก แตท่ีขาด
แคลนมากก็คือ คนดี โลกจงึ วุน วาย ดงั ปจ จบุ นั คนจะเปน คนดไี ดก็ตองมีหลักยึดมั่นประจําใจ คือ มีศาสนา
ยิ่งมีจติ ใจยึดมัน่ มากเทาไร กช็ วยใหเปนคนดมี ากและมน่ั คงเทาน้ัน อยา งอน่ื ก็พลอยดีดวย ตรงกันขา ม ถา ใจ
ไมดี การกระทําตา ง ๆ กพ็ ลอยรายไปดว ย คนมีศาสนาหรือมีหลักธรรม มีคุณธรรมในใจเปน คนดีแตถ าไมม ีก็
อาจเปน คนดไี ด แตเ ปนคนดนี อกจากจะทาํ ความดกี ต็ อ เมอ่ื มีผอู นื่ รู จะไมทาํ ความช่วั กต็ อ เม่ือมีคนเห็น ถาไม
มีใครรใู ครเหน็ กอ็ าจจะทาํ ความชว่ั ไดง าย แตค นดีในสามารถทาํ ความดไี ดท ้ังตอ หนา และลับหลงั คน ท้ังไมท ํา
ความช่ัวทั้งตอหนา และลับหลัง ท้ังนี้ก็เพราะหลักธรรมที่วา หิริโอตตัปปะ ละอายและเกรงกลัวตอความช่ัว
“ศาสนาเปนแรงอาํ นาจเรนลับท่ีเหนี่ยวรั้งจิตใจของผูท ี่มีความเชื่อ ความศัรทธา ในคําสอนของศาสดาทุก
ศาสนาท่ีใหละบาปบําเพญ็ บุญ”

ห น า | 49

ลักษณะของคนดี

การยึดตามหลกั ธรรมคําสอนของศาสนา เปน ลกั ษณะของคนดีทส่ี ังคมตองการ ทั้งการเปนคนดีใน
ฐานะบตุ ร ฐานะลกู ศษิ ย และฐานะศาสนิกชน

คนที่ไดช่ือวาเปน คนดีท่ีสังคมตอ งการ มักจะเปน คนมีเหตุมีผล กลา หาญ อดทน อดกลั้น มีความ
ซื่อสตั ย สุจริต มกี ริ ยิ ามารยาทดี มเี สนห  มีจิตใจงาม เมตตาตอ สตั วท ั้งหลาย รูจ ักชว ยเหลือสงเคราะหผูอ่ืน
เคารพในความคิดและความเปน เจา ของของผูอ ื่น พูดจาในส่ิงที่ถูกตองเปน ความจริง พูดจาไพเราะ
ออนหวาน กอ ใหเ กดิ ความสามัคคกี ลมเกลียวในหมูคณะ เปนตน

ศาสนา ทุกศาสนามีหลักธรรมคําสอน เปนเคร่ืองยึดเหน่ียวจิตใจของศาสนิกชน โดยทุกศาสนามี
เปา หมายเดยี วกัน คือ “มุงใหทุกคนมีธรรมะ มีคุณธรรม และสอนใหคนเปนคนดี” ดังนั้น ศาสนาแตละ
ศาสนาจึงมีหลกั ธรรมคําสอนของตนเองเปนแนวทางในการประพฤตปิ ฏบิ ัติ

โทษของการขาดคุณธรรมจรยิ ธรรม

ธรรมะ เปน สิ่งสําคัญสวนหนึ่งของชีวิต การขาดธรรมะ อาจทําใหประสบกับความลมเหลวและ
ทําใหชีวิตอับปางได ท้ังโทษท่เี กดิ กับตนเองสังคมและประเทศชาติ ตัวอยางทเี่ ห็นไดอยางชัดเจนในปจ จุบัน
เชน การที่คนในชาติขาดคุณธรรมจริยธรรมในการดําเนินชีวิต ไมรูจ ักพอ ไมเ ห็นแกค วามเดือดรอ นของ
สังคมและประเทศชาติ ทําใหเ กิดการลกั ลอบขายยาเสพติด จนเกิดความเดอื ดรอนโดยทัว่ ไป จนหนว ยงานท่ี
รับผิดชอบตองออกมาปราบปรามขัน้ เด็ดขาด ขาวสารขอ มูลจากสือ่ มวลชนทกุ แขนง นําเสนอขา วการจบั กมุ
ผเู สพผูคาและผอู ยเู บ้อื งหลังอยา งตอ เน่อื ง ปญ หาท้งั มวลทกี่ ลาวมานี้เปนตวั อยา งที่มีสาเหตุมาจากการขาด
คุณธรรมจรยิ ธรรมของคนในสงั คมทั้งสิ้น

การพฒั นาคุณธรรมและจริยธรรมในศาสนาพทุ ธ

หลักธรรมในทางพระพุทธศาสนา พระพุทธเจาทรงแสดงวิธีการปฏิบัติท่ีเรียกวา “สมาธิ” คําวา
สมาธิ แปลวา จิตทีส่ งบต้ังมั่นอยูในเรื่องใดเร่ืองหนึ่ง ไมฟุงซาน หรือการจัดระเบียบความคิดได เชน ในขณะ
อา นหนงั สือ จติ สงบอยกู ับหนงั สอื ทีเ่ ราอา น ก็เรียกวา จิตมีสมาธิ หรือในขณะท่ีทํางานจิตสงบอยูกับงานท่ีทํา
กเ็ รียกวา ทํางานอยา งมีสมาธิ สติ สมาธิ และปญ ญา มีลักษณะเกื้อกูลกันและมีความสัมพันธอยา งใกลชิด
สติ คอื ความตง้ั มนั่ เปน จุดเรมิ่ แลวมีสมาธิ คอื จติ ใจแนว แน และปญญา คอื การไตรต รองใหรอบคอบ
จุดมงุ หมายของสมาธิ

1. เพือ่ ความตัง้ ม่นั แหง สติสัมปชัญญะ
2. เพอื่ อยเู ปน สขุ ในปจจบุ ัน
3. เพือ่ ไดฌ านทศั นะ
ประโยชนข องสมาธิ
1. ประโยชนข องสมาธิในชีวิตประจําวัน เชน
ทําใหจ ิตใจสบาย มีความสดช่ืน ผอ งใส และสงบ
กระฉับกระเฉง วอ งไว มีความเพียรพยายาม แนว แนใน
สงิ่ ทีก่ ระทํา มปี ระสทิ ธิภาพในการทํางาน

ห น า | 50

2. ประโยชนของสมาธใิ นการพัฒนาบคุ ลกิ ภาพ เชน ทาํ ใหม ีความแข็งแรง หนกั แนนทง้ั ทางรางกาย
และจิตใจ มสี ุขภาพจติ ดี สูส ุขภาพที่ดี และรักษาโรคบางอยางได

3. ประโยชนของสมาธิทเี่ ปน จดุ มงุ หมายของศาสนา เมอ่ื ไดสมาธิขน้ั สูงแลวจะเกดิ ปญญาและบรรลุ
จุดมุง หมายของศาสนาได

4. จะมีเหตุผลในการตัดสินปญ หาตาง ๆ ไดถ ูกตองมากยง่ิ ขึ้น

วธิ กี ารฝกสมาธิ

ในคืนวนั เพ็ญ เดือน 6 พระพทุ ธเจาตรัสรู โดยการนงั่ สมาธดิ ว ยวิธกี ารอานาปานสติ คอื ตงั้ สตจิ ดจอ
ที่ลมหายใจเขา - ออก เปนอารมณเ ดียว จนจิตแนวแนเขา สูส มาธิ ซึ่งเปน สงบสุข สงัด มีสติรูต ัวบริบูรณ
จากน้นั พระพทุ ธองคเ กดิ มหาปญ ญาคน พบทางดับทกุ ขแ กชาวโลก คือ อรยิ สัจ 4 ดงั ที่กลา วมาแลวในประวัติ
ศาสดา ดังนน้ั การฝก สมาธิ เปน หนทางที่พุทธศาสนิกชนพึงปฏิบัติ เพื่อใหเ กิดปญ ญา แกป ญ หาชีวิต และ
พฒั นาตนเองใหเกิดกําลงั ใจเสยี สละยง่ิ ข้นึ เมตตาย่ิงขึน้ มีปญ ญาประกอบการงานตนเอง มีความสุข สังคม
โดยรวมมคี วามสุข แตอยางไรก็ตาม พ้ืนฐานของผูปฏิบัติสมาธิหรือฝก สมาธิไดผลรวดเร็ว ตอ งเปน ผูท ี่มีศีล 5
เปนพน้ื ฐานและศรทั ธายึดมัน่ ตอพระรตั นตรยั เปน พทุ ธศาสนกิ ชนท่ีดี คอื การใหทาน รักษาศีล และเจริญ-
ภาวนา คอื การทําสมาธิ และทําใหต นเองดีข้ึน สังคมเจรญิ ขึน้

การฝก สมาธติ ามแนวศาสนาพุทธ น้ัน ฝกใหครบอริ ยิ าบถ ทง้ั 4 คอื ยนื นอน นั่ง เดิน ฝก ใหจิตอยู
ในอารมณเดยี ว มสี ตบิ รบิ รู ณในอริ ิยาบถตา ง ๆ และกอใหเกิดสมาธิ หรือเรียกวา เจริญกรรมฐาน น้ัน เริ่มตน
สวดมนตไ หว พระสรรเสรญิ คณุ พระศรีรัตนตรยั อธษิ ฐานจิตเขา สมาธิ และพิจารณาสภาวธรรม คือ ความเปน
ทกุ ขข องชาติ ชรา มรณะ ความแหง ใจ ความเสียใจ ความคับแคน ใจ ความประจวบกับสิ่งอันไมเปน ที่รัก
ความพลดั พรากจากส่งิ ท่เี ปนท่รี ัก ความไมไดส ่งิ ท่ีปรารถนา ความมีอปุ ทานในขันธ 5 คอื รูป เวทนา สัญญา
สังขาร วิญญาณ เปน ทุกข พจิ ารณาขันธ 5 ไมเที่ยง เปนอนัตตาไมม ีตวั ตน การพิจารณาสภาวะธรรมเนอื ง ๆ
ชว ยใหเ กิดเจริญปญ ญา ละวางกิเลส เกิดการพัฒนาคุณธรรม จริยธรรม ตามแนวศาสนาพุทธ และเปน
แนวทางทพ่ี ุทธศาสนกิ ชนพึงปฏิบตั ิ

การพฒั นาคณุ ธรรมจรยิ ธรรมในศาสนาอื่น ๆ

ศาสนาคริสต ศาสนาอิสลาม และศาสนาพราหมณ - ฮินดู ศาสนาซกิ ข ศาสนิกชนของแตล ะศาสนา
ท่ีฝกพัฒนาคุณธรรมจริยธรรมใหเ จริญยิ่ง ๆ ขึ้นนั้น ลวนมีพื้นฐานเชน เดียวกับพุทธศาสนิกชน คือ การ
ศรัทธาในศาสดา คาํ สอน และแนวปฏิบตั ขิ องศาสนาของตน ความมีศรัทธาตัง้ มน่ั มีจิตจดจอ ในศาสนาท่ีนับถือ
ทาํ ใหเ กิดอารมณม่ันที่ทาํ ความดี ที่จะอดทนอดกลั้นตอความทุกขตาง ๆ ศาสนาคริสตมีการอธิษฐานกับ
พระเจา การสารภาพบาป เปน การชําระมลทนิ ทางจติ ศาสนาอสิ ลามมีการสงบจติ หม่นั ทาํ ละหมาดเปนประจาํ
ทุกวัน ๆ หลายครั้งเปน กิจวัตรสําคัญ และศาสนาพราหมณ - ฮินดู นั้น มีการปฏิบัติสมาธิหลากหลายแนวทาง
มกี ารวางเปาหมายชีวติ เพอื่ ละกเิ ลสตา ง ๆ ศาสนาซิกขสอนวา มนษุ ยมีฐานะสูงสุด เพราะมีโอกาสบําเพ็ญ
ธรรม เปนการฟอกวญิ ญาณใหสะอาด

ห น า | 51

หลักสอนทีส่ อดคลองของศาสนาตาง ๆ

คําสอนของศาสนาแตละศาสนา สอนใหเ ปน คนดตี ามแนวทางของตน แตเ ม่อื กลา วโดยรวม ๆ แลว
หลักธรรมของทุกศาสนามีลักษณะสอดคลองกันในเรื่องใหญ ๆ คือ การอยูรวมกันอยางสันติ โดยเนน
ประเด็นเหลาน้ี คอื

1. สอนใหรูจักรักและใหอภัยกนั
2. สอนใหใจกวา ง ยอมรบั ความเช่ือทแ่ี ตกตา งกนั
3. สอนใหเปน คนดีตามหลกั ศาสนาของตน

฀฀฀฀

กิจกรรม

กิจกรรมท่ี 1
ใหผ เู รยี นแบงกลมุ ศกึ ษาประวตั ิบุคคลในประเทศทน่ี าํ หลกั ธรรมศาสนามาแกไ ขปญ หาชีวติ ของ

ตนเอง แลวนาํ มาแลกเปลยี่ นเรียนรกู ันในชน้ั เรียน
กิจกรรมท่ี 2

ใหผเู รยี นแบงกลมุ ศกึ ษาประวัตศิ าสตรของประเทศตา ง ๆ ในโลกท่สี ามารถแกไ ขกรณขี ดั แยง ทเี่ กดิ
จากศาสนาจนกระทั่งประเทศชาตสิ งบสุข แลวนาํ มาแลกเปลย่ี นเรยี นรกู ันในชั้นเรียน
กิจกรรมท่ี 3

ใหผเู รยี นฝก ปฏิบตั สิ มาธิ เจรญิ ปญญา แลว นํามาผลประสบการณท ่ีไดร บั จากการฝก ปฏบิ ตั ทิ สี่ ง ผลให
สามารถแกไขปญ หาชวี ิตและพัฒนาชีวติ ของตนเองไดม าแลกเปลี่ยนเรยี นรกู ันในช้นั เรียน

ห น า | 52

บทท่ี 2 วัฒนธรรม ประเพณี และคา นิยมของ
ประเทศไทยและของโลก

สาระสาํ คญั

วฒั นธรรม ประเพณี คานิยมท่ีดีงาม มีความสําคัญตอประเทศ เพราะแสดงถึงเอกลักษณความเปนชาติ
เปน สิ่งทีน่ า ภาคภมู ิใจ ทกุ คนในชาติตองชว ยกันอนุรกั ษ สืบทอดวฒั นธรรม ประเพณี คา นิยมท่ดี ีงามใหคงอยู
คกู บั ชาติ แตส งั คมในปจ จบุ ันชาตทิ มี่ ีวัฒนธรรมทางวตั ถุเจริญกาวหนา จะมอี ทิ ธิพลสง ผลใหชาตทิ ี่ดอ ยความ
เจรญิ ดานวัตถุรบั วัฒนธรรมเหลา นนั้ ไดโ ดยงา ย ซงึ่ อาจสงผลใหว ัฒนธรรม ประเพณขี องชาติตนเองเสื่อมถอยไป
ดังน้ันชาตติ า ง ๆ ควรเลอื กรับปรับใชวัฒนธรรมตางชาติไดอ ยางเหมาะสมกับตนเองและสังคมไทย

ผลการเรียนท่คี าดหวงั

1. มคี วามรูความเขา ใจในวัฒนธรรม ประเพณขี องไทยและชนชาตติ าง ๆ ในโลก
2. ตระหนักถึงความสําคญั ในวฒั นธรรม ประเพณขี องไทยและชนชาติตา ง ๆ ในโลก
3. มีสว นรว มสืบทอดวฒั นธรรม ประเพณีไทย
4. ประพฤตติ นเปนแบบอยา งของผูมีวฒั นธรรม ประเพณอี ันดีงามของไทยและเลอื กรับ

ปรบั ใชวฒั นธรรมจากตา งชาตไิ ดอ ยา งเหมาะสมกบั ตนเองและสงั คมไทย
5. ประพฤตปิ ฏบิ ตั ิตามคา นยิ มทีพ่ ึงประสงคของสังคมโลก
6. เปนผนู ําในการปอ งกันและแกไขปญหาพฤติกรรมตามคานิยมทไ่ี มพ ึงประสงคข องสังคมไทย

ขอบขายเนื้อหา

เรื่องท่ี 1 ความหมาย ความสาํ คัญของวัฒนธรรม
เรอ่ื งท่ี 2 ลักษณะวัฒนธรรมไทย
เรอ่ื งท่ี 3 การเปล่ียนแปลงทางวัฒนธรรมและการเลือกรับวฒั นธรรม
เรอ่ื งที่ 4 ประเพณีในโลก
เรอ่ื งท่ี 5 ความสําคัญของคานยิ มและคานิยมในสงั คมไทย
เร่อื งท่ี 6 คานิยมท่ีพงึ ประสงคของสังคมโลก
เรื่องที่ 7 การปองกนั และแกไขปญ หาพฤตกิ รรมตามคา นิยมที่ไมพ ึงประสงคของสงั คมไทย

ส่อื ประกอบการเรยี นรู

- ซีดวี ฒั นธรรม ประเพณี คานยิ มของประเทศตา ง ๆ ในโลก
- เอกสารคนควาวฒั นธรรม ประเพณี คา นยิ มของประเทศตา ง ๆ ในโลก
- คอมพิวเตอร อินเทอรเน็ต

ห น า | 53

เรอ่ื งท่ี 1 ความหมายความสําคญั ของวฒั นธรรม

ความหมาย

คําวา “วัฒนธรรม” เปนคําสมาสระหวางภาษาบาลีและภาษาสันสกฤต โดยคําวา “วัฒน” มาจาก
ภาษาบาลี คําวา “วฑฺฒน” แปลวา เจริญงอกงาม สวนคําวา “ธรรม” มาจากภาษาสันสกฤต คําวา “ธรฺม”
หมายถึง ความดี

เมือ่ พจิ ารณาจากรากศัพทดังกลาว “วัฒนธรรม” จึงหมายถึง สภาพอันเปนความเจริญงอกงามหรือ
ลกั ษณะทแ่ี สดงถึงความเจรญิ งอกงาม

ปจจุบัน คําวา “วัฒนธรรม” พระราชบัญญัติวัฒนธรรมแหงชาติ พ.ศ. 2553 ไดใหความหมายไววา
หมายถึง วถิ ีการดําเนินชีวิต ความคดิ ความเช่ือ คานิยม จารีต ประเพณี พิธีกรรม และภูมิปญญา ซ่ึงกลุมชน
และสังคมไดรว มสรา งสรรคสงั คม ปลูกฝง สืบทอด เรยี นรู ปรบั ปรงุ และเปลยี่ นแปลง เพ่อื ใหเ กดิ ความเจริญ
งอกงามท้งั ดา นจิตใจ และวัตถุ อยา งสันตสิ ขุ และยง่ั ยนื

ความหมายของวฒั นธรรมดังกลา วขางตน

วฒั นธรรม เปน เครอ่ื งวดั และเคร่ืองกําหนดความเจริญ หรือความเสื่อมของสังคม และขณะเดียวกัน
วัฒนธรรมยังกําหนดชีวิต ความเปนอยู ของคนในสังคม ดังนั้น วัฒนธรรม จึงมีอิทธิพลตอความเปนอยูของ
บคุ คลและตอ ความเจรญิ กาวหนา ของประเทศชาตมิ าก

ความสําคัญของวฒั นธรรม โดยสรปุ มดี งั น้ี
1. วฒั นธรรมเปน เครื่องสรา งระเบียบแกสังคมมนุษย วัฒนธรรมไทย เปนเครื่องกําหนดพฤติกรรม
ของสมาชิกในสังคมไทยใหมีระเบียบ แบบแผนท่ีชัดเจน รวมถึงผลของการแสดงพฤติกรรม ตลอดจนถึงการ
สรางแบบแผนของความคดิ ความเชอื่ และคา นิยมของสมาชิกใหอ ยูใ นรูปแบบเดยี วกัน
2. วัฒนธรรมทําใหเกิดความสามัคคีความเปนอันหนึ่งอันเดียวกัน สังคมท่ีมีวัฒนธรรมเดียวกัน
ยอ มจะมีความรสู ึกผูกผันเดียวกัน เกิดความเปนปกแผน จงรักภักดี และอุทิศตนใหกับสังคม ทําใหสังคม
อยรู อด
3. วัฒนธรรมเปนตวั กําหนดรูปแบบของสถาบัน เชน รูปแบบของครอบครัว จะเห็นไดวาลักษณะ
ของครอบครัวแตละสังคมตางกันไป ทั้งน้ี เนื่องจากวัฒนธรรมในสังคม เปนตัวกําหนดรูปแบบ เชน
วัฒนธรรมไทยกําหนดแบบสามีภรรยาเดียวกัน ในอีกสังคมหนึ่งกําหนดวาชายอาจมีภรรยาไดหลายคน
ความสมั พันธท างเพศกอนแตง งาน เปน สง่ิ ท่ดี หี รือเปนเร่อื งขดั ตอศลี ธรรม
4. วัฒนธรรมเปนเคร่ืองมือชวยแกปญหา และสนองความตองการของมนุษย มนุษยไมสามารถ
ดํารงชีวิตภายใตส่ิงแวดลอมไดอยางสมบูรณ ดังนั้น มนุษยตองแสวงหาความรูจากประสบการณที่ตนไดรับ
การประดิษฐคดิ คน วธิ ีการใชท รัพยากรนนั้ ใหเกดิ ประโยชนตอชวี ติ และถายทอดจากสมาชกิ รนุ หน่งึ ไปสูสมาชิก
รนุ ตอไปโดยวฒั นธรรมของสังคม
5. วัฒนธรรมชวยใหประเทศชาติเจริญกาวหนา หากสังคมใดมีวัฒนธรรมที่ดีงามเหมาะสม เชน
ความมีระเบียบวินัย ขยัน ประหยัด อดทน การเห็นประโยชนสวนรวมมากกวาสวนตัว เปนตน สังคมน้ัน
ยอมจะเจริญกา วหนา ไดอยา งรวดเร็ว

ห น า | 54

6. วัฒนธรรมเปนเคร่ืองแสดงเอกลักษณของชาติ คําวา เอกลักษณ หมายถึง ลักษณะพิเศษหรือ
ลักษณะเดนของบุคคลหรือสังคมที่แสดงวา สังคมหน่ึงแตกตางไปจากอีกสังคมหน่ึง เชน วัฒนธรรมการ
พบปะกนั ในสังคมไทย จะมกี ารยกมือไหวกัน แตในสังคมญ่ปี นุ ใชก ารคาํ นบั กัน เปน ตน

เรอ่ื งท่ี 2 เอกลักษณของวฒั นธรรมไทย

เอกลักษณหรือลักษณะประจําชาติ ในทางวิชาการ มีความหมาย 2 ประการ คือ ประการแรก
หมายถึง ลักษณะท่ีเปนอุดมคติ ซ่ึงสังคมตองการใหคนในสังคมน้ันยึดม่ัน เปนหลักในการดําเนินชีวิต
เปนลักษณะท่ีสังคมเห็นวาเปนส่ิงดีงามและใหการเทิดทูนยกยอง อีกประการหนึ่ง หมายถึง ลักษณะนิสัยที่
คนทั่วไปในสังคมนั้นแสดงออกในสถานการณตาง ๆ เชน ในการทํางาน การพักผอนหยอนใจ การติดตอ
สัมพนั ธกบั ผอู ืน่ และในการดาํ เนนิ ชีวติ ท่วั ไปในสงั คม เปนลักษณะนิสัยที่พบในคนสวนใหญของประเทศ และ
สว นมากมักจะแสดงออกโดยไมร ตู วั เพราะเปนเรือ่ งของความเคยชนิ ทีป่ ฏิบัติกันมาอยา งนนั้
เอกลักษณของวัฒนธรรมไทยที่เดน ๆ มดี ังนี้

1. ความรักอิสรภาพหรือความเปนไทย คนไทยมีลักษณะนิสัยไมตองการอยูในอํานาจบังคับของ
ผูอื่น ไมชอบการควบคุมเขมงวด ไมชอบการกดขี่ หรือใหผูอื่นเขามายุงเก่ียวส่ังการในรายละเอียดในการ
ทํางานและการดาํ เนินชวี ิตสวนตัว คนไทยเปนคนที่หย่ิงและรักในศักดิ์ศรีของตนเอง การบังคับน้ําใจกันหรือ
ฝาฝน ความรูสกึ ของกันและกนั ถือวาเปนสงิ่ ไมควรทํา

2. การยา้ํ การเปนตวั ของตัวเองหรือปจเจกบุคคลนิยม คือ การใหคุณคาในความเปนตัวของตัวเอง
ความนยิ มน้ีสวนหนึ่งมาจากอทิ ธพิ ลของพทุ ธศาสนา ซึ่งย้ําความสําคัญของตัวบุคคลเปนพิเศษถือวา บุคคลจะ
เปน อยา งไร ยอมแลว แตกรรมของบุคคลน้ันในอดีต การย้ําสอนใหพ่ึงตนเอง ทุกคนมีความเทาเทียมกัน สวน
การทีจ่ ะดีหรือชัว่ น้ัน อยทู ีก่ ารกระทําของตนเอง มิไดอยทู ่ชี าตกิ ําเนดิ

3. ความรูสกึ มกั นอ ยสนั โดษและพอใจในสง่ิ ที่มีอยู คนไทยไมมีความด้ินรน ทะเยอทะยาน ที่จะเอา
อยา งคนอนื่ ถือเสยี วา ความสําเร็จของแตละเปน เรอ่ื งของบญุ วาสนา ทกุ คนอาจมคี วามสขุ ไดเ ทา เทียมกันท้ังน้ัน
เพราะเปน เรอื่ งภายในใจ

4. การทําบุญและการประกอบการกุศล คนไทยสวนใหญมีความเชื่อในเรื่องกรรม การเวียนวาย
ตายเกดิ จึงมักนิยมทาํ บญุ และประกอบการกศุ ลโดยทว่ั ไป โดยถอื วาเปน ความสขุ ทางใจ และเปนการสะสม
กศุ ลกรรมในปจจบุ นั เพือ่ หวงั จะไดร ับผลประโยชนใ นอนาคต

5. การหาความสุขจากชวี ิต คนไทยมองชวี ติ ในแงสวยงาม ความกลมกลืน และพยายามหาความสุข
จากโลก ซง่ึ ตรงกนั ขา มกบั ชาวตะวนั ตกที่มกั จะมองชีวิตในแงข องความขัดแยงระหวางอํานาจฝา ยตํ่าในรางกาย
มนุษยแ ละอํานาจฝา ยสงู ซึง่ ไดแ ก ศลี ธรรมและความรบั ผิดชอบในใจ คนไทยจงึ ไมมีความขัดแยงในใจเก่ียวกับ
การปลอยตนหาความสําราญ เพราะถือวาอยูในธรรมชาตมิ นษุ ย

6. การเคารพเชื่อฟงอํานาจ คนไทยนิยมการแสดงความนอบนอมและเคารพบุคคลผูมีอํานาจ
ความสมั พันธร ะหวางบคุ คลเปน ไปตามแบบพธิ ซี ่ึงแสดงฐานะสูงต่าํ ของบคุ คลที่เกยี่ วของ

7. ความสภุ าพออนโยนและเผ่ือแผ คนไทยเปนมิตรกับทุกคนและมีชื่อเสียงในการตอนรับ คนไทย
นิยมความจริงและชวยเหลือกันในการมีความสัมพันธระหวางกัน และไมคิดเอาเปรียบผูอ่ืนมีความเมตตา
สงสาร ไมซาํ้ เตมิ ผูแพ ถือเปนคณุ ธรรมยงิ่ ของคนไทย

ห น า | 55

8. ความโออา ลักษณะนส้ี ืบเนอ่ื งมาจากความเชอ่ื มั่นและหยิ่งในเกียรติของตนเอง คนไทยนั้นถึงแม
ภายนอกจะดูฐานะต่ํา แตใ นใจจรงิ เตม็ ใจยอมรับวาตัวเองตาํ่ กวาผูอนื่ ถอื วาตัวเองมีความสามารถเทาเทียมกับ
ผูอ ่นื ถาตนมโี อกาสเชน เดยี วกัน คนไทยไมยอมใหมีการดถู ูกกันงาย ๆ และถือวาตนมีสิทธิ์เทาเทียมกับผูอื่นใน
ฐานะเปนมนษุ ยคนหนงึ่

เร่อื งที่ 3 การเปลย่ี นแปลงทางวัฒนธรรมและการเลอื กรบั วัฒนธรรม

เนอื่ งจากวัฒนธรรม เปน สิ่งทมี่ นษุ ยสรางข้ึนจากวิถกี ารดําเนินชวี ติ ซ้ํา ๆ ของคนในสงั คมนน้ั ๆ ในอดีต
การเปลี่ยนแปลงทางวัฒนธรรมเกิดขึ้นนอยมาก เพราะเปนลักษณะของสังคมปด ตอมาเม่ือแตละสังคมมี
การติดตอระหวางกันมากขนึ้ โดยเฉพาะการติดตอ กันในสงั คมขา มภมู ภิ าค เชน ชาติตะวันตกกับชาตติ ะวันออก
ซ่ึงเกิดข้ึนมากในชวงยุคลาอาณานิคม เมื่อชาวตะวันตกออกลาอาณานิคมทางทวีปเอเชีย พรอมกับนํา
วัฒนธรรมของชาติตนเขามาดวยเชน ศาสนา ภาษา การแตงกาย ท่ีอยูอาศัย อาหาร ความบันเทิง ฯลฯ
แนวโนมในการเปลีย่ นแปลงวฒั นธรรมของสังคมของชาติตาง ๆ ในภูมิภาคเอเชีย ซ่ึงมีความออนแอกวาก็เริ่ม
การเปล่ยี นแปลงทางวัฒนธรรมดังกลา ว ทําใหเกิดแรงผลักดันชักจูงท้ังสองทาง คือ ท้ังการกระตุนใหยอมรับ
ส่งิ ใหมและการอนุรักษวัฒนธรรมเดมิ ท่ีตอ ตานการเปลยี่ นแปลง นั้น

เมอ่ื พิจารณาเฉพาะสังคมไทย การสรางวัฒนธรรมและการเปลี่ยนแปลงทางวัฒนธรรม ก็ดําเนินมา
อยางตอเนื่องในทุกยุคสมัย แตในสังคมในอดีตกอนยุคลาอาณานิคม (เริ่มตั้งแตสมัยรัชกาลท่ี 4 แหง
กรงุ รัตนโกสินทร) สังคมไทยแมวาจะมีการติดตอ กับชาวตางชาติบาง ก็ยังไมเปนที่กวางขวางนักในหมูราษฎร
ความเปลย่ี นแปลงทางวฒั นธรรมท่เี กิดข้นึ จึงดําเนนิ ไปอยา งคอยเปนคอ ยไป แตเม่ือถงึ ยคุ ลา อาณานคิ ม เริ่มการ
ตดิ ตอกับชาวตา งชาติ โดยเฉพาะชาติตะวันตกท่ีหลัง่ ไหลเขามาจํานวนมากขน้ึ ความเปล่ียนแปลงจึงเกิดข้ึนเร็ว
ซ่ึงสังเกตไดจ ากการแตงกายของขนุ นาง ซึ่งเปน อยางตะวันตกมากข้ึน ลักษณะอาคารบานเรือนแบบยุโรป
เริม่ มีขนึ้

ดงั นัน้ หลายชาตเิ ร่มิ หนั มาพิจารณาหาแนวทางการอนุรักษวัฒนธรรมของชาติตนเองใหม จึงเกิดองคกร
ท้งั ภาครฐั เอกชน พากนั เรง ฟน ฟวู ัฒนธรรมของตนเอง มีการแลกเปลี่ยนเรียนรู ยอมรับวัฒนธรรมท่ีแตกตาง
ระหวา งกัน มกี ารบรรจุเรอ่ื งราวของวฒั นธรรมไวใหเด็กและเยาวชนไดศ ึกษา เพ่ือใหเ ห็นคุณคาวัฒนธรรมของ
ตนเอง สงผลใหส ามารถสืบทอดรกั ษาวฒั นธรรมไวอ ยา งมัน่ คง

ตัวอยา ง สงั คมไทยในอดีตไดร ับวัฒนธรรมจากจีน อนิ เดยี เปน ชาตทิ ม่ี วี ัฒนธรรมเขมแข็ง ตอ มาเร่ิมรับ
วฒั นธรรมตะวนั ตก ตั้งแตส มัยรัชกาลที่ 5 แหงกรุงรตั นโกสนิ ทรเ รอ่ื ยมาจนถงึ ปจ จบุ ัน และเร่มิ รับวฒั นธรรม
ญ่ีปนุ เกาหลี เพราะมอี ทิ ธพิ ลดานการบนั เทิง รวมทงั้ เทคโนโลยีตาง ๆ

ดังนั้น สังคมไทยจะตอ งรว มมือกันสรางความเขาใจใหประชาชนคนไทย ตระหนักถึงคุณคา
วัฒนธรรมไทย ในการรว มกนั อนรุ กั ษ สืบทอด ดวยความภาคภมู ใิ จ วัฒนธรรมไทยจงึ จะคงอยูตอไป

ห น า | 56

เรอ่ื งท่ี 4 ประเพณีในโลก

ประเพณี คอื วฒั นธรรมที่สบื ทอดกันมา เปนเร่อื งท่ีแสดงถงึ วถิ ชี วี ิตของคนแตละชาติ ตงั้ แตอดีตจนถึง
ปจจุบัน เราจะเห็นความเจริญรุงเรืองของชาติตาง ๆ จากประเพณี สิ่งที่มีอิทธิพลตอประเพณี คือ ศาสนา
ความเชอื่ ของคนในชาติตา ง ๆ ประเพณีท่ีเก่ียวขอ งกับการเกิด การแตงงาน การตาย รวมท้ังประเพณีใน
ศาสนาตา ง ๆ ของแตล ะชาติจะแตกตา งกนั ไป

เชน ประเพณกี ารแตงงานของชาวอนิ เดีย จะแตง งานกันเม่ือมอี ายุนอ ยมาก และฝา ยหญิงตองไปสูข อ
ฝายชาย ขณะที่ประเพณจี นี โบราณ ผชู ายเปน ผสู บื ตระกูล จะเปน ผูนําไดรับสิทธิตา ง ๆ ในครอบครัวมากกวา
เพศหญิง การสูขอตองผา นแมส ่ือ แตป จ จุบนั ประเพณีในจนี เปลยี่ นแปลงไป ต้งั แตจ ีนเปล่ียนแปลงการปกครอง
เปนลัทธิเหมาเจอ ตงุ จีนมีการปฏวิ ัติวัฒนธรรมคร้งั ใหญ

โลกปจ จุบนั มีการตดิ ตอคมนาคมอยางรวดเร็ว ประชากรในโลกสนใจเขามาทองเทย่ี วศกึ ษาวัฒนธรรม
ประเพณีของชาวตางชาติ ตางภาษา สง ผลใหป ระเทศตา ง ๆ เริม่ สนใจอนรุ ักษว ฒั นธรรม ประเพณีตา ง ๆ ท่ีโดดเดน
เปนเอกลักษณเพื่อคงความเปนชาติ และเปน การสงเสริมอุตสาหกรรมการทอ งเที่ยวของชาติตนเองไว
ประเทศไทยก็เชน กัน คนตางประเทศมาทองเท่ียวประเทศไทยเปน จํานวนมาก เพื่อเรียนรูว ัฒนธรรม
ประเพณีไทย ทําใหเงินตราเขาประเทศเปน จาํ นวนมหาศาล

เร่ืองท่ี 5 ความสําคญั ของคานิยมและคานิยมในสงั คมไทย
คานิยม

สงั คมมนุษย จําเปนตอ งมีบรรทดั ฐาน เปน ตวั กาํ หนดแผนเชงิ พฤติกรรม ซ่งึ สมาชิกของสังคมจะตอ งมี
ความสัมพนั ธกับบคุ คลอน่ื ๆ เปน จํานวนมาก มีความจําเปน ทจี่ ะตอ งตดั สนิ ใจตอการกระทําส่ิงตา ง ๆ เพื่อเปน
แนวทางในการประพฤติ ปฏบิ ตั ิ รปู แบบความคดิ ในการประเมนิ ตา ง ๆ ของสมาชิกในสงั คม

ความหมายคา นยิ ม

คา นิยม หมายถงึ รปู แบบความคิดของสมาชิกในสังคม ท่ีจะพิจารณาตัดสิน และประเมินวา ส่ิงใดมี
คุณคา มีประโยชนพ ึงปรารถนา ถูกตอง เหมาะสม ดีงาม ควรที่จะยึดถือและประพฤติปฏิบัติ คา นิยมท่ีเปน
องคประกอบท่ีสําคัญของการจัดระเบียบสังคมมนุษย คือ คา นิยมทางสังคม (Social Value) ซึ่งหมายถึง
รปู แบบความคิดท่ีสมาชิกสว นใหญต ัดสินและประเมินวาเปนสิ่งที่มีคุณคา มีประโยชน พึงปรารถนา ถูกตอง
เหมาะสมดีงาม ควรแกการประพฤตปิ ฏบิ ัติรวมกัน คานิยมทางสังคม เกิดจากการท่ีสมาชิกในสังคมดํารงชีวิต
อยูรว มกนั แลกเปล่ยี นประสบการณ ถา ยทอดความคดิ เหน็ ระหวา งกนั เกดิ รปู แบบท่สี อดคลอ งในแนวทางเดียวกัน

ห น า | 57

ความสาํ คัญของคานยิ ม

สงั คม มีคา นยิ มแตกตางกันตามวัฒนธรรม วิถีการดํารงชีวิต สภาพแวดลอมทางธรรมชาติ และที่ต้ัง
ถ่ินฐาน คานิยมของแตละสังคม เปนแนวความคิดทัศนคติรว มกันของคนสวนใหญ จึงเปน พื้นฐานที่สําคัญเกิด
บรรทดั ฐานทางสงั คมอันเปน การกําหนดกฎเกณฑ หรอื ระเบยี บในการปฏบิ ตั ติ อกันทางสังคมตามแนวทางของ
คา นิยมทส่ี มาชิกในสงั คมยอมรับรวมกัน

คา นิยม สามารถชว ยใหก ารดําเนินชีวิตระหวางสมาชิกในสังคมมีความสอดคลองสัมพันธต อ กัน
ลดความขดั แยง และความตงึ เครียดของสมาชิกในสังคม คานิยม เปนส่ิงท่ีมีการเปล่ียนแปลงไดต ามสภาพ
แวดลอ มและความเหมาะสมในแตล ะยุคสมัย เน่ืองจากการเปล่ียนแปลงทางสังคม ทําใหส ังคมน้ันเกิดมี
คานิยมใหมมาทดแทนคานิยมเดิม เชน การเปล่ียนแปลงทางดา นการผลิตทางการเกษตรของไทยจาก
การผลติ แบบเดมิ มาสูการผลิตแบบใหม ทีม่ ีการใชเทคโนโลยที นั สมัยมาทําการผลิต เพื่อลดระยะเวลาและ
กาํ ลังแรงงานจากแรงงานคนหรอื สตั ว มผี ลทาํ ใหเ กษตรกร ชาวไรช าวนา มีคานิยมในการนําเอาเคร่ืองจักร
และสารเคมมี าใชท างเกษตร จนมาในปจ จุบนั มกี ารชแ้ี นวทางการทาํ เกษตรแบบพอเพียง ก็ทําใหเ กษตรกร
เรมิ่ เปลย่ี นแปลงคา นิยมในวธิ ีการธรรมชาตมิ าชว ยในการผลติ เนือ่ งจากพิษภยั จากสารเคมีและรูจ ักประสม
ประสานความคดิ ทําใหเกดิ คานิยมวิเคราะห วิจยั การทําเกษตร เพือ่ ยงั ชีพและอตุ สาหกรรม

คา นยิ มทีส่ ําคญั ของสงั คมไทย ไดแ ก

1) การนับถือพุทธศาสนา เปนคติความเช่ือระดับสูงทางจิตใจของคนไทย ทําใหเกิดคานิยมใน
การประกอบพธิ ใี นประเพณี เทศกาล วันสําคัญทางศาสนา และในวาระสําคัญของชีวิต เปน คตินิยมท่ีปฏิบัติ
สบื ตอมาจนเปน สวนหนงึ่ ของวิถชี วี ติ ไทย

2) การเคารพเทิดทูนพระมหากษัตริย เ ปน คติความเช่ือและศรัทธาภักดีตอพระมหากษัตริยของ
ชาวไทย เปนคา นิยมธรรมเนยี มของคนไทยที่แสดงความเคารพเทดิ ทูนพระมหากษตั ริย

3) การรักสังคมไทย เปนคา นิยมที่พึงประสงคของสมาชิกภายในสังคมไทยท่ีตอ งมีความสามัคคี
รวมมือรว มใจเปน หน่ึงเดียวกนั ในการชวยเหลือสังคมไทย ท้ังในภาวะที่เกิดเหตุการณรา ยอันเปน ภัยแกส ังคม
และประเทศชาติ ชว ยกันปลูกฝง จติ สาํ นกั ใหร ูคณุ คาของวฒั นธรรมไทย รกั ษามรดกไทย รกั เมอื งไทย ใชข องไทย

4) ความซ่ือสัตยส ุจริต คานิยมขอ นี้เปน สิ่งสําคัญท่ีควรปลูกฝงใหสมาชิกของสังคม เนื่องจากเปน
รากฐานในการพัฒนาและสรา งความเจริญใหกับตนเองและประเทศชาติ เชน สมาชิกของสังคมไทยมี
ความซ่ือสัตยส ุจริตตอ ตนเองและผูอ ่ืน ในการอยูร ว มกันของสังคม การไมกระทําการทุจริต ละเมิดฝาฝน
กฎหมาย เปน ตน

5) การเคารพผูอาวโุ ส คา นิยมขอนี้ไดแสดงออกในพฤติกรรมของสมาชิกสังคมไทย เชน การมีกิริยา
มารยาทสุภาพออนนอมตอผูอาวุโสหรอื ผูใหญ การเคารพใหเ กียรติผูอ าวุโส ผูใหญ ผูท ่ีสังคมยกยองตามวาระ
ตา ง ๆ

คานิยมทคี่ วรปลกู ฝง ตามหลกั พระพทุ ธศาสนา

1. แนวทางปฏิบัตติ ามคา นยิ มพ้นื ฐาน มี 5 ประการ
1) การพ่งึ ตนเอง ขยันหมัน่ เพยี ร และมคี วามรบั ผิดชอบ
2) การประหยดั และอดออม
3) มีระเบยี บ วนิ ัย และเคารพกฎหมาย

ห น า | 58

4) การปฏิบัตติ ามคุณธรรมของศาสนา
5) ความรักชาติ ศาสน กษัตริย
2. ความเอื้อเฟอ เผอื่ แผ
คุณลักษณะเชน นี้ไดร ับอิทธิพลมาจากคําสอนที่วา มนุษยเราไมวา ยากดี มีจน อยา งไร ตางเปน
เพื่อนรว มทุกขรวมสุข เวยี นวา ยตายเกิดอยูในสังสารวัฏดว ยกัน ความสํานึกวา ตนเองตองตาย ยอ มกอใหเ กิด
ความเห็นใจกนั แสดงออกมาในรูปความเอ้อื เฟอเผื่อแผ ชว ยเหลือกันและกนั
3. ความเคารพและความออ นนอมถอ มตน
คานิยม สะทอนลักษณะนิสัยของคนไทยคอ นขางโดดเดน การเคารพผูอ าวุโส ความเกรงใจ
ใหเ กยี รติผมู ีประสบการณเหนอื กวาตน จะปรากฏใหเ หน็ ทกุ ระดบั ของสถาบันไทย นับต้ังแตสถาบันครอบครัว
ไปจนถึงสถาบันสงฆ ท้ังในระบบราชการ คือ การไมก ลาแสดงความคิดเห็นขัดแยง เพราะเกรงจะกระทบ
กระเทือนความรูสึกผูอ ่ืน ความออนนอมนุน นวล ไมเ พียงแตส ะทอนออกมาในรูปของกิริยามารยาท เทา นั้น
ยังสะทอนออกมาในงานศิลปะตา ง ๆ ของชาติดว ย ไมว าจะเปน จิตรกรรม ประติมากรรม นาฏกรรม หรือ
คีตกรรม

4. ความกตญั กู ตเวที

เปน คุณธรรมของบคุ คลผูส าํ นึกในอุปการคณุ ทผ่ี ูอ่นื กระทําตอ ตน และพยายามจะหาทางตอบแทน
อุปการคณุ นัน้ คุณธรรมขอ นีพ้ ระพุทธองคทรงกลา ววา เปน บุคคลหาไดยาก

ความกตัญูกตเวที จงึ เปน คา นยิ มอนั มรี ากฐานมาจากพุทธศาสนา เปน สงิ่ สําคญั ในสงั คม ยกยอ งวา
“ตกนํ้าไมไหล ตกไฟไมไหม” หมายความวา ทําคุณกับคนอื่นนั้น เมื่อถึงคราวตกอับ ก็มีผูยินดีย่ืนมือเขามา
ชวยเหลอื ความกตัญู จงึ เปนคานิยมท่สี มควรจะปฏบิ ัติใหเ กดิ สิรมิ งคลกับตนเอง

5. ศรัทธาและปญญา

ศรทั ธา แปลวา ความเชื่อ คนสวนมากมักพดู วา ศรัทธาปสาทะ
ปสาทะ แปลวา ความเล่ือมใส
ศรัทธา เปนความเชื่อแตเ ปนความเชอื่ บุคคลอน่ื เชน เราเห็นความคิดเห็นหรือการกระทําของ
คนอนื่ เปน สง่ิ ท่ดี ี และเหมาะสมนา จะนาํ มาปฏิบตั ิ แลว ปฏิบตั ิตามแนวทางของบคุ คลอืน่ ซึ่งเปนผคู ิด แสดงวา
เรามีศรัทธาในบุคคลน้นั
ปญ ญา เปน ความรทู เ่ี กดิ ดวยตนเอง ซึ่งเกิดจาการคิดพิจารณาไตรต รอง วิเคราะหอ ยางรอบคอบ
มีเหตผุ ล
พุทธศาสนา พระพุทธเจา ทรงสอนใหบ ุคคลมีทั้งศรัทธาและปญ ญาประกอบกันดว ยเหตุผล
ผศู รัทธา ถามคี วามเชือ่ มากเกินไป จะกลายเปน ความงมงาย คนจาํ นวนไมน อยท่ีหลงเช่ือส่ิงตาง ๆ โดยมิได
วเิ คราะหห รือพจิ ารณาอยางแทจ รงิ เพอ่ื ประโยชนสุขรว มกันของบุคคลทั้งหลายในสังคม ศรัทธาอยางถูกตอ ง
ในพทุ ธศาสนา มดี ังน้ี
- เชอื่ วา พระพทุ ธเจาตรัสรจู รงิ
- เชอ่ื วา บุญบาปมีจริง
- เชอ่ื วา ผลของบญุ บาปมจี รงิ
- เชอ่ื วา บุญบาปท่ีตนทําเปน ของตนจรงิ

ห น า | 59

6. ทาํ งานสุจรติ

สจุ รติ มาจาก สุ หมายถงึ ดี และ จริต หมายถงึ ความประพฤติ
สุจริต จงึ เปนความประพฤติท่ดี งี าม ทัง้ กาย วาจา ใจ ซ่งึ นาจะหมายความไดว า
1) ไมผิดกฎหมาย ไมผ ิดตอกฎระเบียบของบา นเมือง ไมทําลายทรัพยากรธรรมชาติ
ไมป ระพฤติผดิ เลนการพนัน ไมขายยาเสพติด ทาํ ลายเยาวชน สงั คม และประเทศชาติ
2) ไมผิดประเพณี ประกอบดว ย

(1) ขนบของบานเมือง คอื ไมผ ิดกฎหมาย ระเบยี บ ของบา นเมือง
(2) ธรรมเนียม เปนความประพฤตทิ ่ีสังคมยอมรบั และปฏิบัติกนั มา
(3) ไมผ ดิ ศลี ธรรม หมายความวา มคี วามประพฤตอิ ันถูกตองตามทํานองคลองธรรม ทํากาย
วาจา ใจ สงบ ระวังสํารวมตนอยูเ สมอ เม่ือบุคคลไมป ระพฤติผิดศีลธรรม ตนเอง ครอบครัว และสังคมก็จะ
สงบสุข
บุคคลพึงสรางคา นิยมในการกระทําการอันเปนประโยชนตอ ตนเองชาติ บา นเมือง พรอมท้ังรักษา
ความเปน ไทยใหคงอยู อยาหลงผดิ เหน็ คา นยิ มวัฒนธรรมตางชาติกวาคานิยมวัฒนธรรมไทย สรา งพลงั เพ่อื ทาํ ให
ชาตมิ ่นั คง โดยชวยกนั ดูแลสิ่งที่เปนวัฒนธรรมอนั ดงี ามของไทย

เรือ่ งที่ 6 คา นิยมท่พี ึงประสงคข องสังคมโลก

ศลี ธรรม จรยิ ธรรม และคานยิ ม คือ สิ่งที่กําหนดมาตรฐาน ความประพฤติ ของสมาชิกในสังคมไวใ ห
ปฏิบัตติ ามแนวทางทสี่ งั คมไดก าํ หนดวา เปนสง่ิ ดีงาม เหมาะสม กับสภาพสังคมนั้น ๆ รวมทั้ง เปน มาตรฐานท่ี
ใชตัดสินการกระทําของบุคคลในสังคมวา ถูกหรือผิด ดีหรือชั่ว เพื่อใหส ังคมดํารงอยูไ ดอยางปกติสุข ซ่ึงเปน
ส่ิงสําคญั ทม่ี อี ยคู ูก ับการดาํ เนนิ ชวี ติ เปนสิ่งที่สังคมยอมรับรวมกนั

คานิยมและจริยธรรมในสังคม เปน ตัวกําหนดความเชื่อของบุคคลในสังคม กอใหเกิดประโยชนตอ
สังคม ชวยในการพัฒนาสังคม เพราะทําใหบุคคลมีความต้ังม่ันอยูในความดี ความรับผิดชอบ ความเสียสละ
ความกตัญูรูคุณ ความมีวินัย ความกลาหาญ และความเช่ือม่ันในคําสอนของศาสนา ดังนั้น คา นิยมและ
จรยิ ธรรมของสงั คม จําตองมจี ุดมุงหมายในการละเวน จากการทาํ ชัว่ เปน ส่งิ สาํ คัญ

คานยิ มและจรยิ ธรรมทที่ ว่ั โลกพึงประสงคใหเกิดข้นึ ในพลเมืองของชาตติ น มดี งั น้ี
1. การไมเ บียดเบียนและกอ ความเดือนรอนใหแกผ ูอ ่ืน ท้ังการเบียดเบียนทางกาย วาจา ใจ เชน
การใชคาํ พูดทีส่ อเสยี ด เยาะเยย ถากถาง ดูหมิน่ ผูอ่ืน รวมท้งั การกลัน่ แกลง ทําลายทรพั ยสินผูอ ื่น
2. ความเสยี สละ โดยเปนผูเอื้อเฟอ เผื่อแผใหแ กผ ูอ ื่นโดยไมหวังผลตอบแทน ลดละความเห็นแกต ัว
ชวยเหลือผูอ ื่นในยามทีม่ ีความจําเปนไดท ั้งกําลังกายและกําลังทรัพย หรือกําลังทางสติปญ ญาเพ่ือการอยู
รว มกนั อยางสงบสขุ ในสังคมโดยรวม
3. มีความกลาหาญทางคุณธรรม จริยธรรม หมายถึง การทําในสิ่งท่ีเห็นวาถูกตองตามทํานอง
คลองธรรมและละเลิกไมกระทําความผิด อันเปนเหตุใหเ กิดความเสียหายแกต นเองและสว นรวม หรือทําให
ตนเองและสว นรวมเสียผลประโยชนก ็ตาม

ห น า | 60

4. ความละอายและเกรงกลัวตอ กระทําความช่ัว โดยไมเขาไปเก่ียวขอ งกับความช่ัวทั้งปวง มีจิตใจท่ี
ยบั ย้งั ผลประโยชนท ี่ไดม าโดยมิชอบ

5. การรจู กั เคารพในความคิดเห็นของตนเองและผูอ่ืน มีความสํานึกในสิทธิเสรีภาพ ความเสมอภาค
ของแตละบุคคล ไมวา จะเปน ของตนเองและผอู นื่ เปนการยอมรับสติปญญา ความคิดเห็นของผูอ่ืนเทากับของ
ตนโดยไมห ลอกตนเอง หรอื มีความดื้อรน้ั เอาแตความคิดของตนเองเปนใหญ และเหยยี ดหยามผอู ื่น เปนการฝก
ใหเ ปนคนมีเหตผุ ล รับฟงความคิดเหน็ รอบดาน แลวนํามาพิจารณาดว ยตนเอง เพ่อื ขจดั ปญหาความขดั แยง

6. มีความซ่ือสัตยส ุจริตตอตนเองและผูอ ่ืน หมายถึง ความซื่อสัตยตอ ตนเองเพื่ออยูในความไม
ประมาท ขยันขนั แข็งในหนาทีก่ ารงาน มีความรับผิดชอบในส่ิงที่ไดร ับมอบหมาย รวมทั้ง มีความซ่ือสัตยต อ
ผูอ่นื ประพฤตปิ ฏบิ ัติตรงไปตรงมาอยา งสมํา่ เสมอ ไมคดิ โกงหรอื ทรยศหักหลัง หรือชักชวนไปในทางเสื่อมเสีย
เพ่ือหาผลประโยชนส ว นตน

7. ความมีวิจารณญาณในการตัดสินปญหาตาง ๆ หรือ ความมีเหตุผลในการพิจารณาไตรต รอง
ไมหลงเชื่อสง่ิ ใดงา ย ๆ รจู ักควบคมุ กาย วาจา โดยใชสติอยางรอบคอบ ไมทําตามอารมณมีจิตใจสงบเยือกเย็น
ไมว วู าม สามารถรบั ฟง ความคิดเห็นของคนอ่ืนท่ีขัดแยง กับตนอยางใจกวาง ไมแ สดงความโกรธหรือไมพอใจ
ไมม ีทฏิ ฐิมานะ

8. ความขยนั หม่ันศกึ ษา หาความรู ใหเฉลยี วฉลาดในศลิ ปวชิ าการทกุ สาขาวชิ า
9. ความสามารถในการประกอบอาชีพสาขาตา ง ๆ
10. การกั ษาส่ิงแวดลอ มและความเปน ชาติ วรรณกรรม ประเพณี ตลอดจนดนิ แดนของตนเอง
คา นิยมและจริยธรรมท่เี ปนตวั กาํ หนดพฤติกรรมของแตละบุคคล จะเปน คา นิยมและจริยธรรมที่เกิด
ประโยชนต อ ตนเอง สงั คม และการพฒั นาตนเอง เพือ่ ยกระดับความคิดสตปิ ญญา รวมทั้งการเสียสละตอ สังคม
ประเทศชาติ
1. ตัวกาํ หนดพฤตกิ รรมของแตละบคุ คล เพ่ือขจัดความขัดแยง

1) เปน ผูม ีความอดทนอดกลั้น เพ่ือเผชิญกับปญ หาตาง ๆ อยางมีสติ ไมแ สดงออกทาง
อารมณ มีจติ ใจสงบเยือกเยน็

2) เปนผูมจี ติ ใจกวางขวาง เปด ใจยอมรับความเห็นของผูอ ื่นดว ยใจเปนกลาง ไมคิดวาตนเองอยู
เหนือผอู ื่น

2. คา นิยมและจริยธรรมทเี่ ปนตวั กาํ หนดพฤติกรรมของแตละบุคคล เพอื่ การอยรู ว มกนั อยางสันตสิ ุข
1) มีความเสียสละ เปนผูใหด วยใจที่บรสิ ทุ ธิ์ โดยไมห วังผลตอบแทน
2) มคี วามรัก ความสามคั คี เปนท่ีต้งั ยอมรับในเหตผุ ลของการอยรู ว มกันในสงั คมอยา งมีความสุข

ห น า | 61

เร่อื งท่ี 7 การปอ งกันและแกไ ขปญ หาพฤตกิ รรมตามคา นิยมทีไ่ มพ ึงประสงคของสังคมไทย
คา นิยมของสังคมไทยท่ไี มพ ่ึงประสงค ควรไดรับการแกไ ข ปรับปรงุ พฒั นา เพราะเปนอุปสรรคทีส่ ําคัญ

ตอ ความม่นั คงของตนเอง ครอบครวั ชุมชน สังคม ตวั อยางที่สําคัญคือ
1. ความเปนผูก ลา ไดก ลา เสียในทางท่ีผดิ เชน นิสัยของนักพนันเร่ิมตั้งแตเด็ก เยาวชน คือ การพนัน

ฟตุ บอล กีฬาตา ง ๆ (การเลนหวย การพนนั ตา ง ๆ ) ทําใหหมดตัว และไมม านะในการประกอบอาชีพท่ีสจุ ริต
2. ความเปน ผูใ จกวา งรักษาหนาตา โดยไมคํานึงถึงฐานะตนเอง ตัวอยา ง เมื่อครอบครัวมีงานบวช

แตง งาน งานศพ จะไปกูเ งินหรือนําเงินท่ีเก็บหอมรอมริบมาใชในการเลี้ยงดูอยา งสุรุยสุรา ย จนมีครอบครัว
ลูกโตเขาโรงเรยี นยงั ใชเ งนิ คืนคา แตงงานยังไมหมด

3. การชวยเหลือพวกพอง โดยไมค ํานึงถงึ ความถูกตอง ตัวอยา ง เม่ือเพอื่ น พ่ี นอ ง มีเรื่องกับใครพรอ มที่
จะยกพวกไปตอ สู โดยไมค ํานึงถงึ เหตผุ ล ความถกู ตองในวิธีการแกป ญหา ตัวอยาง การยกพวกตีกันของวัยรุน
และของกลมุ พวกนกั เลงตาง ๆ

4. เมอ่ื เกิดปญ หาชอบใชค ําวา ไมเ ปน ไร ไมคิดหาการแกไ ขปญหาอยา งจริงจัง สงผลใหปญหายังคง
เปน ปญหาตอ ไป ปญหาที่เกิดข้นึ ไมไ ดร ับการแกไข

5. ชอบความสนุกสนาน ด่ืมเหลา เฮฮาไมข ยันขันแข็งในการประกอบอาชีพ สงผลใหเกิดความ
ประมาทในชวี ติ จะเห็นเทศกาลปใ หม สงกรานต มีคนเสียชวี ติ จาํ นวนมาก เพราะความประมาท

6. ยกยองผมู ีฐานะ
การปอ งกนั และแกไขปญหาพฤติกรรมตามคานิยมท่ีไมพ ึงประสงคในสังคมไทย คือ
1. คานยิ มทีด่ งี าม ควรไดรบั การปลกู ฝง ต้ังแตยังเปน เด็ก ในครอบครัว ชุมชน โรงเรียน สถานศึกษา
รวมท้งั ในสังคมไทย
2. ผูใหญในสังคมไทยทุกฐานะท่ีสําคัญ คือ ผูท่ีอยูในบทบาทเปนผูนํา จะตอ งประพฤติตนเปน
แบบอยา งทดี่ ี
3. สงั คมไทย จะตองยกยองใหเกยี รตผิ ูทป่ี ระพฤติปฏบิ ตั ิตามคา นยิ มทีด่ ีงาม ไมย กยอ งผูมีอํานาจมีเงนิ
แตเ ปนผทู ่ีประพฤติตามคา นยิ มทด่ี ีงามของไทย
4. ส่ือ จะตองรวมกันรณรงคใ หคนไทยมีคา นิยมท่ีดีงาม ไมสนับสนุนเผยแพรส่ิงที่ไมดี เพราะสื่อมี
อทิ ธิพลตอ สังคมไทยโดยเฉพาะเดก็ และเยาวชน
5. อยา ปลอ ยใหปญหาความเสอื่ มทรามที่เกิดจากการประพฤติตามคานิยมที่ไมด ีผานไป เพราะเห็น
เปน เรื่องเล็ก ๆ ควรเรงชวยกนั หาทางแกไ ข ดว ยการถือเปนหนาทีข่ องทกุ คน
6. องคก รทั้งภาครัฐและเอกชน สนับสนุนใหเ กิดชมรม สมาคม ในระดับทอ งถ่ินตา ง ๆ ที่เปนสังคม
แหงการเรยี นรู เพอ่ื ใหส งั คมชุมชนเปน สงั คมทอ่ี ดุ มดวยปญ ญา ซึง่ จะเปนพืน้ ฐานที่สง ผลใหสังคมไทยแข็งแกรง
ตอไป



ห น า | 62

กิจกรรมท่ี1
ใหผ เู รยี นคน ควาวฒั นธรรม ประเพณี คา นิยมของประเทศตา ง ๆ ในโลก มาคนละ 1 ประเทศ

แลวนํามาแลกเปล่ยี นเรียนรกู ัน

กจิ กรรมท2ี่
ใหผ เู รยี นนํากรณตี วั อยา งปญหาทเ่ี กยี่ วขอ งกบั วัฒนธรรม ประเพณี คา นิยมท่ีเกิดข้นึ กับประเทศตา ง ๆ

ในโลกมาแลกเปล่ียนเรยี นรกู นั

กจิ กรรมท3ี่
ใหผเู รยี นศกึ ษาตัวอยางแนวทางทป่ี ระเทศตาง ๆ อนรุ กั ษวัฒนธรรมตามประเพณแี ละคานยิ มทด่ี ี

ของตนไวไ ด เชน ประเทศภูฏาน

ห น า | 63

บทท่ี 3 รัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย

สาระสาํ คญั

รฐั ธรรมนูญแหงราชอาณาจกั รไทย เปน กฎหมายสงู สดุ ในการปกครองประเทศไทย นับแตป ระเทศไทย
มีการเปลีย่ นแปลงการปกครองจากระบอบสมบรู ณาญาสิทธิราชย เม่ือป พ.ศ. 2475 มาจนถึงปจจุบัน (2553)
ประเทศไทยใชร ฐั ธรรมนญู ฉบับที่ 18 ซึ่งประชาชนชาวไทยทุกคนควรตองมีความรู ค วามเขาใจ หลักการ เจตนารมณ
ตลอดจนสาระสาํ คัญของรัฐธรรมนูญอยา งถองแท เพื่อจะไดปฏิบัติหนาท่ีตามท่ีรัฐธรรมนูญกําหนดไวไ ดอยา ง
ถกู ตอง

ผลการเรยี นรูท ่คี าดหวงั

1. มีความรู ความเขา ใจ ความเปน มาของรฐั ธรรมนญู
2. บอกหลักเกณฑสําคญั ของรฐั ธรรมนญู แหงราชอาณาจักรไทยได
3. บอกสาระสําคัญของรฐั ธรรมนญู ฉบับปจจุบนั ทีเ่ กี่ยวขอ งกบั ตวั เองได
4. มีความรู ความเขาใจ เกีย่ วกับบทหนาที่ขององคกรตามรฐั ธรรมนญู

ขอบขา ยเนอื้ หา

เรือ่ งท่ี 1 ความเปน มาและสาเหตุของการเปลย่ี นแปลงรฐั ธรรมนญู
เรื่องที่ 2 สาระสําคญั ของรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย
เรือ่ งที 3 บทบาทหนาท่ขี ององคก รตามรฐั ธรรมนูญ
เรอ่ื งท่ี 4 บทบญั ญตั ขิ องรัฐธรรมนูญท่มี ีผลตอการเปลี่ยนแปลงทางสงั คม

และสงผลตอฐานะของประเทศในสังคมโลก
เร่อื งท่ี 5 หนา ที่พลเมืองตามรฐั ธรรมนูญและกฎหมายอนื่

ห น า | 64

เร่ืองที่ 1 ความเปนมาการเปล่ยี นแปลงรฐั ธรรมนญู

รัฐธรรมนญู หมายถงึ กฎหมายสูงสุดในการปกครองประเทศ วาดวยการจัดระเบียบการปกครอง
ประเทศ

รัฐธรรมนูญแหง ราชอาณาจักรไทย ฉบับแรกเกิดจากการเปล่ียนแปลงการปกครองระบอบ
สมบรู ณาญาสิทธิราชย เปนการปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริยเ ปน ประมุข เร่ิมเมื่อ
วันท่ี 24 มิถนุ ายน 2475 โดยกลุม บุคคลท่ีเรยี กตนเองวา “คณะราษฎร” ประกอบดว ย พลเรือนและทหาร
มนี โยบายการปกครองทเ่ี ห็นแกประโยชนข องประชาชน ขณะน้ัน พระบาทสมเด็จพระปกเกลา เจาอยูหัว
ทรงปกครองประเทศ ทรงประทับอยูท่พี ระราชวังไกลกังวล จังหวัดประจวบคีรีขันธ ไดเห็นประโยชนส ขุ ของ
ราษฎรเปนสาํ คญั จงึ สละอํานาจของพระองค และพระราชทานรัฐธรรมนูญฉบับช่ัวคราว ประกาศใชครั้งแรก
เม่ือวันท่ี 27 มิถุนายน 2475 เรียกวา “รัฐธรรมนูญการปกครองแผน ดินสยามชั่วคราว พุทธศักราช
2475” ตอมา เมอื่ วันที่ 10 ธนั วาคม พ.ศ. 2475 จงึ ไดมกี ารประกาศใช “รัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรสยาม
พทุ ธศกั ราช 2475”

หลังการเปลี่ยนแปลงการปกครองและประกาศใชร ัฐธรรมนูญฉบับแรก เมื่อปพุทธศักราช 2475
จนถงึ ปจ จบุ นั (พ.ศ. 2553) มกี ารยกเลกิ และประกาศใชร ฐั ธรรมนูญไปแลว รวม 18 ฉบบั ดังนี้

ฉบบั ที่ 1 :พระราชบญั ญัติธรรมนญู การปกครองแผน ดินสยามชวั่ คราว
พุทธศักราช 2475 (ราชกจิ จานุเบกษา เลม 49 หนา 116
วนั ที่ 27 มิถนุ ายน 2475)

ฉบับท่ี 2 :รฐั ธรรมนูญแหงราชอาณาจกั รสยาม พทุ ธศักราช 2475
(ราชกิจจานเุ บกษา เลม 49 หนา 529 วันท่ี 10 ธันวาคม 2475)

ฉบับท่ี 3 :รฐั ธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2489
(ราชกจิ จานุเบกษา เลม 63 หนา 30 วนั ที่ 3 พฤษภาคม 2489)

ฉบับท่ี 4 :รฐั ธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย (ฉบับชว่ั คราว) พทุ ธศกั ราช 2490
(ราชกจิ จานุเบกษา เลม 64 ตอนท่ี 53 วนั ท่ี 9 พฤษภาคม 2490)

ฉบับที่ 5 :รฐั ธรรมนูญแหงราชอาณาจกั รไทย พุทธศกั ราช 2492
(ราชกิจจานเุ บกษา เลม 66 ตอนที่ 17 วนั ท่ี 23 มนี าคม 2492)
แกไขเพิ่มเตมิ พทุ ธศักราช 2495

ฉบับท่ี 6 :รฐั ธรรมนญู แหง ราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2475
(ราชกจิ จานุเบกษา เลม 69 ตอนท่ี 15 วันที่ 8 มนี าคม 2475)

ฉบับท่ี 7 :รัฐธรรมนญู แหงราชอาณาจกั รไทย พทุ ธศกั ราช 2502
(ราชกจิ จานเุ บกษา เลม 76 ตอนที่ 17 วนั ท่ี 28 มกราคม 2502)

ฉบับที่ 8 :ธรรมนูญการปกครองราชอาณาจักร พุทธศกั ราช 2511
(ราชกิจจานุเบกษา เลม 85 ตอนพิเศษ วนั ที่ 20 มถิ ุนายน 2511)

ฉบับท่ี 9 :ธรรมนญู การปกครองราชอาณาจกั ร พทุ ธศักราช 2515
(ราชกิจจานเุ บกษา เลม 89 ตอนที่ 192 วนั ท่ี 15 ธันวาคม 2515)

ห น า | 65

ฉบบั ท่ี 10 : รัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พทุ ธศกั ราช 2517
(ราชกจิ จานเุ บกษา เลม 92 ตอนที่ 14 วนั ท่ี 23 มกราคม 2518)

ฉบบั ท่ี 11 : รฐั ธรรมนญู แหง ราชอาณาจกั รไทย พทุ ธศกั ราช 2519
(ราชกิจจานเุ บกษา เลม 93 ตอนที่ 135 (ฉบับพิเศษ)
วนั ท่ี 22 ตุลาคม 2519)

ฉบับที่ 12 : ธรรมนูญการปกครองราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2520
(ราชกิจจานุเบกษา เลม 95 ตอนท่ี 111 วนั ที่ 9 พฤศจิกายน 2520)

ฉบบั ที่ 13 : รฐั ธรรมนญู แหง ราชอาณาจักรไทย พทุ ธศกั ราช 2521
(ราชกิจจานเุ บกษา เลม 95 ตอนท่ี 146 (ฉบับพเิ ศษ)
วันท่ี 22 ธนั วาคม 2521)

ฉบบั ท่ี 14 : ธรรมนูญการปกครองราชอาณาจกั รไทย พทุ ธศักราช 2534
(ราชกจิ จานเุ บกษา เลม 108 ตอนที่ 40 วันท่ี 1 มนี าคม 2534)

ฉบบั ท่ี 15 : รัฐธรรมนูญแหง ราชอาณาจกั รไทย พทุ ธศักราช 2534
(ราชกจิ จานเุ บกษา เลม 108 ตอนท่ี 216 วันที่ 9 ธันวาคม 2534)

ฉบับที่ 16 : รฐั ธรรมนญู แหง ราชอาณาจกั รไทย พทุ ธศักราช 2540
(ราชกิจจานเุ บกษา เลม 114 ตอนที่ 55ก วันท่ี 11 ตลุ าคม 2540 )

ฉบบั ท่ี 17 : รฐั ธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย (ฉบบั ชว่ั คราว) พุทธศักราช 2549
(ราชกิจจานเุ บกษา เลม 123 ตอนท่ี 102ก วนั ที่ 1 ตลุ าคม 2549)

ฉบบั ท่ี 18 : รัฐธรรมนญู แหง ราชอาณาจักรไทย พุทธศกั ราช 2550
(ราชกจิ จานุเบกษา เลม 124 ตอนท่ี 47ก วันที่ 24 สิงหาคม 2550)

การยกเลิกและประกาศใชรัฐธรรมนูญแตล ะคร้ัง สวนใหญเปนผลมาจากการปฏิวัติรัฐประหาร
ซึ่งสามารถสรุปเหตผุ ลของการเปลี่ยนแปลงรฐั ธรรมนูญ ไดด งั น้ี

1. กลมุ ผูนาํ ซงึ่ มอี าํ นาจทางการเมอื งในขณะน้นั เหน็ วา หลักการและวิธกี ารของรฐั ธรรมนูญฉบับท่ี
ใชอ ยูน ้ันไมเหมาะสม จึงลมเลกิ และประกาศใชรัฐธรรมนญู ใหม

2. กลุมผนู ําซ่ึงมอี ํานาจทางการเมอื งแตกแยกกนั เอง จงึ มกี ารลมเลิกรัฐธรรมนูญฉบับที่ใชอยู เพ่ือ
ใชฉบับใหมท ่ีสามารถตอบสนองความพอใจของกลุมตนได

3. ภาวะเศรษฐกจิ การเมอื ง สภาพทางสงั คม และสถานการณข องประเทศในขณะน้นั ทาํ ใหตอ งมี
การเปลย่ี นแปลงแกไ ขรฐั ธรรมนญู ใหเหมาะสม

ห น า | 66

เร่อื งท่ี 2 สาระสําคัญของรฐั ธรรมนูญแหงราชอาณาจกั รไทย

รัฐธรรมนูญแหง ราชอาณาจักรไทย เปน กฎหมายสูงสุดของประเทศ ท่ีรูปแบบของรัฐ รูปแบบการ
ปกครองและการบริหารประเทศ บทบัญญัติของกฎหมายหรือขอ บังคับใดขัดหรือแยง ตอบทบัญญัติใน
รฐั ธรรมนูญ บทบญั ญัตินั้นเปน อันใชบงั คับมิได และไมว ากรณใี ด ๆ หากปรากฏวา ผใู ดใชกําลงั ประทุษราย เพ่อื
ลมลางหรอื เปลี่ยนแปลงรฐั ธรรมนูญ ผูน้ันกระทําความผิดฐานเปนกบฏตอประเทศชาติ มีโทษถึงประหาร
ชีวติ หรือจาํ คุกตลอดชีวติ

รฐั ธรรมนญู แหงราชอาณาจกั รไทย โดยท่วั ไปจะบญั ญัติหลักการสําคญั ของรัฐธรรมนญู ไวดงั นี้
1. รูปแบบของรัฐ ประเทศไทยเปนราชอาณาจักรอันหนึ่งอันเดียวจะแบง แยกมิได คําวา
ราชอาณาจักร หมายความวา ประเทศไทย เปนประเทศที่มีพระมหากษัตริยท รงเปนประมุข และคําวา
อนั หนึง่ อันเดียวจะแบงแยกมไิ ด หมายความวา ประเทศไทยเปนรัฐเดี่ยวหรอื เอกรฐั มรี ฐั บาลเปน ศูนยกลาง
มีอํานาจบริหารประเทศไดทั้งภายในและภายนอกประเทศเพยี งรัฐบาลเดียว
2. รปู แบบการปกครอง ประเทศไทยมีรูปแบบการปกครองในระบอบประชาธิปไตยอนั มีพระมหา-
กษัตริยท รงเปน ประมุข เปนการยืนยันวา ประเทศไทยมีการปกครองในระบอบประชาธิปไตยท่ีมีรากฐาน
มาจากประชาชน มงุ คมุ ครองสทิ ธิเสรีภาพของประชาชน โดยมีพระมหากษตั รยิ ท รงเปน ประมุข
3. อํานาจอธิปไตยของรัฐ รฐั ธรรมนญู กาํ หนดอํานาจอธปิ ไตยของประเทศไทย ไว 3 ประการ ไดแก

1) อาํ นาจนติ บิ ญั ญตั ิ คอื อํานาจในการออกกฎหมาย
2) อาํ นาจบริหาร คอื อํานาจในการบริหาร การปกครองประเทศ
3) อาํ นาจตลุ าการ คือ อาํ นาจในการพจิ ารณาตดั สินคดีในศาล
ท้งั 3 อาํ นาจนเ้ี ปนอํานาจของปวงชนชาวไทย คือ เปนของชนชาวไทยทุกคน โดยมีพระมหา-
กษตั รยิ ผูทรงเปน ประมขุ ทรงใชอ ํานาจนติ ิบัญญตั ผิ านทางรัฐสภา ใชอ ํานาจบริหารผานทางคณะรัฐมนตรี
และใชอาํ นาจตุลาการผา นทางศาล
4. สทิ ธเิ สรภี าพของชนชาวไทย รัฐธรรมนูญคํานึงถึงสิทธิเสรีภาพของบุคคล ซึ่งเปน ชนชาวไทย
โดยคาํ นึงถงึ วา ชนชาวไทยเปนมนุษยทมี่ ีศกั ดิ์ศรี หรอื กลา ววา ชนชาวไทย มีศักด์ิศรีแหงความเปนมนุษย หา ม
ปฏบิ ัติตอมนุษยเ ย่ยี งทาสหรอื สัตว นอกจากนที้ กุ คนยอมมสี ทิ ธเิ สรีภาพในรา งกาย ในครอบครัว มสี ิทธไิ ดรบั
การศึกษาขั้นพ้ืนฐานตามที่กฎหมายกําหนด โดยไมเ สียคาใชจา ย ทุกคนจะไดร ับการคุมครองสิทธิใน
คดอี าญาสิทธไิ ดรบั การใหบรกิ ารสาธารณสขุ ท่ไี ดม าตรฐาน มเี สรภี าพในการส่อื สารโดยเสรี มีเสรภี าพในการ
เสนอขาวสาร และเสรีภาพในทางวชิ าการ เปน ตน
5. หนา ทขี่ องชนชาวไทย เมอ่ื รฐั ธรรมนญู กาํ หนดใชสทิ ธเิ สรีภาพแหง ชนชาวไทยแลว ก็จะกําหนด
หนาทขี่ องชนชาวไทยใหไวดวย โดยกําหนดใหทุกคนมีหนา ท่ีตองปฏิบัติตามกฎหมาย มีหนาที่รักษาไวซึ่ง
ชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย และการปกครองในระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริยทรงเปน
ประมขุ มีหนา ทต่ี อ งปอ งกันประเทศ รักษาผลประโยชนของชาติ และปฏิบตั ิตามกฎหมายมหี นา ท่ีตองไปใช
สิทธเิ ลอื กตงั้ ตามท่กี ฎหมายกาํ หนด มหี นาทตี่ อ งเสียภาษีอากร มหี นา ทตี่ อ งพทิ กั ษ ปกปอ ง และสืบสานศิลปะ-
วัฒนธรรมของชาติภูมิปญ ญาทอ งถิน่ อนรุ ักษท รัพยากรธรรมชาตแิ ละสิง่ แวดลอม เปน ตน

ห น า | 67

6. นโยบายพ้ืนฐานของรัฐ รัฐธรรมนูญ จะกําหนดใหรัฐบาลหรือผูบ ริหารประเทศ ตองแถลง
นโยบายตอรัฐสภาวา รัฐมีนโยบายในการบริหารประเทศอยา งไร ในเรื่องเก่ียวกับดา นความมั่นคงของรัฐ
ดานการบรหิ ารราชการแผน ดนิ ดานการศึกษา ศาสนาและวฒั นธรรม ดานการตา งประเทศ ดานเศรษฐกิจ
ดานทรัพยากรและสง่ิ แวดลอม ดา นวทิ ยาศาสตร ทรพั ยส ินทางปญ ญา และพลงั งาน ดานการมสี วนรวมของ
ประชาชน เปนตน

7. ระบบรัฐสภา รฐั สภา ทาํ หนา ที่เปนฝา ยนติ บิ ัญญตั ิ รฐั ธรรมนูญจะกําหนดใหส มาชิกผูแ ทนราษฎร
และสมาชกิ วุฒิสภามจี าํ นวนก่คี น และท่มี าของสมาชกิ ดงั กลา ววธิ กี ารไดมาอยา งไร

8. คณะรฐั มนตรี ซึง่ ทําหนา ที่เปน ฝา ยบริหาร คือ รฐั บาลจะมีรัฐมนตรีจํานวนเทา ใด และมีวิธีการ
ไดมาอยา งไร

9. ศาล ซ่ึงทําหนาที่เปน ฝา ยตุลาการ เปนองคก รพิจารณาพิพากษาอรรถคดี ตอ งดําเนินไปดวย
ความยุติธรรม มีศาลอะไรบา ง พรอมกําหนดหนา ทอ่ี าํ นาจศาลไวโดยชดั แจง

10. องคก รอสิ ระตามรัฐธรรมนูญ เปน องคก รทม่ี ีวัตถปุ ระสงค เ พื่อตรวจสอบการใชอ ํานาจรัฐของ
เจา หนา ทรี่ ฐั วา ถกู ตอ ง เปน ธรรมหรอื ไม รวมทง้ั อํานาจในการถอดถอนเจาหนา ทร่ี ัฐออกจากตาํ แหนงดวย

11. การปกครองสว นทองถ่นิ เปนการใชอ ํานาจแกอ งคกรปกครองสวนทองถ่ินใหมีอิสระในการ
ปกครองตนเองตามเจตนารมณข องประชาชนในทอ งถิ่น และสงเสริมใหองคกรปกครองสว นทองถิ่นเปน
หนว ยงานหลักในการจัดทาํ บริการสาธารณะ มสี วนรวมในการตัดสนิ ใจ แกป ญหาในพนื้ ท่ี

12. การแกไ ขเพิ่มเติมรัฐธรรมนญู รฐั ธรรมนญู เมอื่ ประกาศใชบังคับแลว ยอ มมีการแกไขเพมิ่ เติม
ไดตามที่รัฐธรรมนูญบัญญัติไว กลา วคือ จะระบุใหอํานาจแกค ณะบุคคล โดยเฉพาะที่สามารถย่ืนญัตติ
ขอแกไ ขเพิ่มเติมรัฐธรรมนูญได เวน มีขอ หามบางประการ จะทําการแกไ ขเพ่ิมเติมมิได คือ จะขอแกไขการ
ปกครองในระบอบประชาธปิ ไตยอันมพี ระมหากษัตริยท รงเปน ประมุข หรือเปลี่ยนแปลงรูปแบบของรัฐท้ัง
2 ประการนจ้ี ะกระทาํ มไิ ด

สาระสําคัญของรัฐธรรมนูญแตละฉบับ

นอกจากหลักการทเ่ี ปนสาระสําคัญรว มของรัฐธรรมนญู ดังทกี่ ลา วมาแลว รัฐธรรมนูญทั้ง 18 ฉบับ
ยงั มเี อกลักษณเฉพาะซ่ึงเปน สาระสาํ คัญแตกตา งกนั ไปโดยสรปุ ได ดังนี้

1. พระราชบัญญัติรัฐธรรมนญู การปกครองแผน ดนิ สยามช่ัวคราว พทุ ธศักราช 2475
เปนรัฐธรรมนูญฉบับแรก สาระสําคัญ คือ ประเทศไทยตองปกครองแบบประชาธิปไตย โดยมี
พระมหากษัตริยท รงเปน ประมุข อํานาจอธิปไตยหรืออํานาจสูงสุดในการปกครองประเทศเปนของ
ประชาชน
รัฐธรรมนูญฉบบั น้ี กําหนดใหมีสภาเดียว คือ สภาผูแ ทนราษฎร มีอํานาจกวา งมาก คือ พิจารณา
รางกฎหมาย ดูแลควบคุมการบริหารประเทศ มีอํานาจแตง ตั้งและถอดถอนคณะกรรมการราษฎร
(คณะรัฐมนตรี) ฯลฯ และมีอํานาจวินิจฉัยคดี ซ่ึงพระมหากษัตริยเ ปนผูตองหา ซ่ึงศาลธรรมดาไมมีสิทธ์ิ
รับฟองได

ห น า | 68

2. รัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจกั รสยาม พุทธศักราช 2475
ประกาศใช 10 ธันวาคม พทุ ธศักราช 2475 มหี ลกั การสําคัญแตกตา งจากฉบับที่ 1 อนั เปน ฉบบั

ช่วั คราว ดังน้ี
1) ยกยองฐานะพระมหากษัตริยใหสูงขึ้น โดยบัญญัติวา ใหท รงอยูในฐานะอันเปน ท่ีเคารพ

สักการะผูใดจะลว งละเมดิ หรอื ฟอ งรองมิได ใหองคพระมหากษัตริยแ ละพระบรมวงศานุวงศ ต้ังแตหมอมเจา ขึ้นไป
อยูใ นฐานะเปนกลางทางการเมอื ง คอื ไมตองรบั ผิดทางการเมอื ง

2) สภานิตบิ ัญญตั ิ (สภาผแู ทนราษฎร) ไมมอี าํ นาจปลดพนักงานประจํา มีอาํ นาจออกกฎหมาย
มอี ํานาจควบคุมคณะรัฐมนตรีในการบริหารราชการแผน ดิน (แตฝ า ยบริหารก็มีอํานาจท่ีจะยุบสภาผูแ ทน
ราษฎรได)

3) ฝายบรหิ าร ซ่ึงเดิมเรยี กวา “คณะกรรมการราษฎร” เปลี่ยนเปน “คณะรฐั มนตรี” คณะรัฐมนตรีนี้
พระมหากษัตริยทรงแตงต้ัง มีจํานวนอยา งนอ ย 14 คนแตไมเ กิน 24 คน และในจํานวน 14 คน ตอ งเปนสมาชิก
สภาผูแ ทนราษฎร

รัฐธรรมนูญฉบบั นมี้ อี ายกุ ารใชย าวนานทีส่ ดุ คอื ประมาณ 15 ป
3. รฐั ธรรมนญู แหงราชอาณาจกั รไทย พทุ ธศกั ราช 2489

ประกาศใช 9 พฤษภาคม พุทธศักราช 2489 ยังคงยึดหลักการรัฐธรรมนูญ พุทธศักราช 2475
เปน หลัก โดยตองการใหมีการปกครองในระบอบประชาธิปไตยมากยิง่ ข้ึน มีสาระสําคญั ดังนี้

1) กําหนดใหมีสภา 2 สภา คือ สภาผูแทนฯ กับ วุฒิสภา (เดิมเรียกวา พฤฒิสภา) ใหส มาชิก
สภาผูแทนมาจากการเลือกตง้ั โดยตรง สว นสมาชกิ สภามาจากการเลอื กตัง้ โดยออ ม

2) มีบทบัญญัติแยกขา ราชการประจํากับขาราชการการเมืองออกจากกันเปนฉบับแรก และ
กําหนดวานายกรัฐมนตรรี ัฐมนตรี สมาชิกรฐั มนตรี ดํารงตําแหนงขาราชการประจาํ ใด ๆ มิได

3) อนญุ าตใหมีการจัดตัง้ พรรคการเมอื งไดเปน คร้ังแรก (เดิมมีเพียงพรรคเดียว คือ คณะราษฎร)
รฐั ธรรมนูญน้ีถกู ยกเลกิ โดยคณะรัฐประหาร เมอ่ื 8 พฤศจกิ ายน พุทธศักราช 2490 มีอายุการใชเ พยี ง 18 เดือน

4. รัฐธรรมนญู แหง ราชอาณาจกั รไทย (ฉบบั ช่วั คราว พุทธศกั ราช 2490)
ประกาศใช 9 พฤศจิกายน 2490 เหตุผลประกาศใช คือ ฉบับเดิมที่ถูกยกเลิก ไมส ามารถ

แกปญหาเศรษฐกิจและสงั คมได สาระสาํ คัญ คือ
1) มสี ภา 2 สภา เชน เดมิ คือ สภาผรู าษฎรและวฒุ ิสภา
2) อาํ นาจหนา ทวี่ ุฒิสมาชกิ มีมากขนึ้ คือ นอกจากยบั ยง้ั รา งกฎหมายแลว ยังมีอํานาจใหความ

ไววางใจหรอื ไมไวว างใจฝายบรหิ ารได
3) เพิม่ เตมิ ใหมีอภิรัฐมนตรี 5 คนเปนผูบ ริหารราชการในพระองค และถวายคําปรึกษาแดพ ระมหา-

กษัตรยิ  แตไ มม อี าํ นาจบรหิ ารราชการแผน ดิน
5. รฐั ธรรมนญู แหงราชอาณาจักรไทย พทุ ธศกั ราช 2492
ประกาศใช 3 มีนาคม 2492 ฉบับน้ี ผูร า งใหค วามคาดหวังวาเปนฉบับที่ดี มั่นคง และเปน

ประชาธิปไตยมาก เพราะไดว างหลักประกันสิทธิเสรีภาพของประชาชนไวก วา งขวาง และปองกันการใช
อํานาจของรฐั ตอการละเมิดสิทธิเสรภี าพของประชาชนไวดวย สวนสภาใหม สี ภา 2 สภา เชนเดิม

ฉบับนีใ้ ชได 2 ปเศษ กถ็ ูกยกเลิก โดยคณะรฐั ประหาร เม่อื 29 พฤศจิกายน 2494

ห น า | 69

6. รฐั ธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2475 แกไขเพ่ิมเตมิ พ.ศ. 2495
เหตุผลทคี่ ณะประหารนาํ รัฐธรรมนญู ฉบบั น้มี าใช คอื เห็นวาเหมาะสมกบั สถานการณบา นเมือง

ชว งนั้น
วิธีการนํามาใช ประกาศใชรัฐธรรมนูญ พ.ศ. 2475 (ฉบับที่ 2) กอน พรอ มตั้งคณะกรรมการ

แกไ ขปรบั ปรงุ ไปดว ย เมอ่ื เสร็จแลวจงึ นํามาประกาศใช เมอื่ 8 ตุลาคม 2495
สาระสําคัญ เหมือนฉบับเดิมทุกประการ แตไดแกไ ขเพ่ิมเติมเร่ืองสําคัญ คือ กําหนดวิธีลด

จํานวนสมาชิกวฒุ ิสภา
วันที่ 16 กันยายน 2500 จอมพล สฤษด์ิ ธนะรชั ต ไดทํารฐั ประหาร แตยังคงใชรัฐธรรมนูญฉบับนี้

โดยแตง ต้ังรัฐมนตรีช่ัวคราวและวุฒิสภาขึ้นมาใหม พรอมทั้งประกาศใหมีการเลือกตั้งสมาชิกสภาผูแ ทน
ราษฎรใหม

วนั ที่ 20 ตลุ าคม 2501 คณะรฐั ประหารชุดเดิม ไดป ระกาศยกเลิกรฐั ธรรมนูญฉบับนี้
7. ธรรมนญู การปกครองราชอาณาจกั ร พุทธศกั ราช 2502

ประกาศใช 28 มกราคม 2502 ฉบบั นี้ คณะรฐั ประหารประกาศใชเปน รฐั ธรรมนญู การปกครอง
ชัว่ คราว มีเพียง 20 มาตรา

สาระสําคัญ คือ ฝา ยบริหารหรือคณะรัฐมนตรีมีอํานาจมากข้ึน โดยเฉพาะนายกรัฐมนตรีมี
อาํ นาจเดด็ ขาด ตามมาตรา 17 ดวย การขอมติคณะรัฐมนตรีในการใชอํานาจส่ังการหรือการกระทําใด ๆ
กไ็ ดทเ่ี ห็นวาเปนประโยชนต อความมนั่ คง ความสงบของประเทศชาติ และราชบลั ลงั ก

รฐั ธรรมนญู ฉบบั นี้ ไมใหส ิทธิเสรีภาพประชาชนในการมีสว นรวมในการปกครอง รวมเวลาที่ใช
อยูถ งึ 9 ปเศษ จึงมกี ารประกาศรฐั ธรรมนูญฉบับถาวร

8. รฐั ธรรมนญู แหงราชอาณาจักรไทย พุทธศกั ราช 2511
ประกาศใช 20 มิถุนายน 2511 เปนฉบับท่ี 2 ที่รา งโดยสภารางรัฐธรรมนูญ (ซ่ึงแตง ตั้งโดย

หัวหนาคณะปฏิวตั ิ) ใชเวลารางนานทส่ี ดุ คอื กวา 9 ป สิ้นเปลืองคาใชจา ยถึง 100 ลานบาท สาระสําคัญมี
ดังนี้

1) ใหม ีรัฐสภา 2 สภา วุฒิสภามีอํานาจมากกวา เดิม คือ เดิมมีอํานาจยับยั้งรา งกฎหมายผา น
สภาผูแทนราษฎร ยงั มีอาํ นาจเพิ่มเตมิ คอื สามารถควบคุมฝายบรหิ ารเทา เทียมสภาผูแ ทนราษฎร

2) มิใหน ายกรัฐมนตรี หรอื รัฐมนตรี เปนสมาชิกรัฐสภา สภาผูแ ทนฯ จึงไมม ีบทบาทพอท่ีจะ
ทําลายเสถียรภาพของรฐั บาล และเรยี กรองตาํ แหนง รัฐมนตรี

รฐั ธรรมนญู ฉบับน้ีใชไดประมาณ 3 ป ก็ถูกยกเลิก เพราะมกี ารรัฐประหารโดยกลุมบุคคลท่ี
มีสว นรา ง และประกาศใชร ฐั ธรรมนญู ฉบับนี้ เมื่อ 17 พฤศจกิ ายน 2514

9. ธรรมนูญการปกครองราชอาณาจักร พทุ ธศกั ราช 2515
ประกาศใช 15 ธนั วาคม 2515 ผูประกาศใช คือ รัฐบาลจอมพล ถนอม กติ ิขจร ผูท ํารัฐประหาร

สาระสําคัญ คือ ใชสภานิติบัญญัติแหง ชาติมาจากการแตง ตั้งมีหนา ท่ีออกกฎหมายและอนุมัติรา ง
รัฐธรรมนญู ทคี่ ณะรัฐมนตรเี สนอไปใหพิจารณาภายใน 3 ป และมีสทิ ธิตงั้ กระทูถามรัฐมนตรีได แตไ มม ีสิทธิ
เปด อภิปรายไมไ ววางใจสาระสาํ คัญอน่ื ๆ ยังคงเหมอื นกับรัฐธรรมนูญการปกครอง พ.ศ. 2505 โดยเฉพาะ
มาตรา 17 ซง่ึ เนน อํานาจสูงสุดเดด็ ขาดของนายกรัฐมนตรี

ห น า | 70

รัฐธรรมนญู ฉบับน้ี ประกาศใชไดเพยี งปเศษ นิสิต นักศึกษา และประชาชนก็ไดรวมพลังเรียกรอง
ใหมีการประกาศใชร ัฐธรรมนญู ฉบบั ใหมโดยเร็ว วันท่ี 14 ตุลาคม 2516 รัฐบาลชดุ จอมพล ถนอม กิตติขจร
จึงออกไป นายสัญญา ธรรมศกั ด์ิ ไดรบั การแตง ต้งั ใหเปน นายกรัฐมนตรี และยังใชรัฐธรรมนูญฉบับน้ี และ
ประกาศใชร ัฐธรรมนญู ฉบับ พ.ศ. 2517

10. รัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พุทธศกั ราช 2517
ประกาศใช 7 ตุลาคม 2517 เปน ฉบับที่มีความเปนประชาธิปไตยมากกวา ทุกฉบับท่ีใชมา มี
สาระสําคัญ ดงั น้ี

1) มีรัฐสภา 2 สภา คือ สภาผูแ ทนและสภาวุฒิสภา สภาผูแทนมาจากการเลือกต้ัง วุฒิสภา
มาจากการแตงต้งั และมีอาํ นาจนอ ยกวาวฒุ สิ ภา ตามบทบัญญัติรัฐธรรมนญู ฉบับกอ น ๆ

2) การสืบราชสมบัติ ในกรณไี มม ีพระราชโอรส รัฐสภาอาจใหค วามเหน็ ชอบในการใหพระราชธิดา
สบื สันตติวงศไ ด

3) หลกั การดําเนนิ งานทางการเมอื งใหเปน ไปโดยระบบพรรค ผูแ ทนราษฎรตอ งมีสังกัดพรรค
การเมือง มใิ หส มาชกิ รัฐสภาทําการคา หรอื กิจการใดท่อี าจทําใหรัฐเสียประโยชน

4) นายกรัฐมนตรตี อ งมาจากสมาชิกสภาผูแทนราษฎร รฐั มนตรีตองเปนสมาชิกสภาอยา งนอ ย
ครงึ่ ป รัฐมนตรตี อ งไมเ ปน ขา ราชการประจาํ หรือพนักงานรฐั วสิ าหกจิ และทําการคา มไิ ด

5) ใหประชาชนมีบทบาทในการปกครองทอ งถ่นิ ของตนเองตามระบอบประชาธปิ ไตย
6) มบี ทบัญญตั ปิ ระกนั สิทธิ เสรภี าพ ของประชาชนหลายประการ รัฐธรรมนูญน้ีใชไ ดเ พียง 2 ป
ก็ถูกคณะปฏริ ูปการปกครอง ประกาศยกเลกิ เมื่อ 6 ตุลาคม 2519
11. รฐั ธรรมนญู แหง ราชอาณาจักรไทย พทุ ธศกั ราช 2519
คณะปฎิรูปการปกครองประกาศใชเม่ือ 22 ตุลาคม 2519 มีโครงสรางการปกครองคลา ย
รัฐธรรมนญู การปกครอง พ.ศ. 2502 และ พ.ศ. 2515 คือ ใหมีรัฐสภารัฐสภาเดียว แตเรียกชื่อวา “สภาปฎิรูป
การปกครองแผนดนิ ” มสี มาชิกจากการแตง ตัง้ ไมมอี าํ นาจควบคุมคณะรัฐมนตรีหรือฝายบริหาร นายกรัฐมนตรี
มีอํานาจเด็ดขาดในการบริหารตามมาตรา 21 (เหมือนมาตรา 17 ของธรรมนูญการปกครอง พ.ศ. 2502
และ พ.ศ. 2515)
รฐั ธรรมนูญน้ียกเลกิ เมอื่ มีการปฏวิ ตั ิเกิดขน้ึ เมอื่ 20 ตลุ าคม 2520
12. ธรรมนญู การปกครองราชอาณาจกั รไทย พุทธศกั ราช 2520
คณะรัฐประหารประกาศใช เมื่อ 11 พฤศจิกายน 2520 มีโครงสรา งการปกครองคลา ยธรรมนูญ
การปกครองและรฐั ธรรมนญู พ.ศ. 2502 2515 2519 เพมิ่ เติมสาระสําคญั คือ กําหนดใหมีสภานโยบาย
แหงชาติ ประกอบดว ย บุคคลของคณะรัฐประหาร ทําหนาที่กําหนดนโยบายแหง รัฐ ควบคุมฝา ยบริหาร
แตงต้ังถอดถอนนายกรัฐมนตรี ใหความเห็นชอบเกี่ยวกับการใชอํานาจเด็ดขาดของนายกรัฐมนตรี และมี
อาํ นาจแตงต้งั สมาชิกสภานิตบิ ัญญตั ิ
รฐั ธรรมนญู ถูกยกเลิกและมีการประกาศใชรัฐธรรมนญู แหงอาณาจกั รไทย พ.ศ. 2521

ห น า | 71

13. รัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2521
ประกาศใช 22 ธนั วาคม 2521 รัฐธรรมนูญฉบับนี้ รางโดยสภานิติบัญญัติแหงชาติ มีสาระสําคัญ

คอื
1) โครงสรา งการปกครองกาํ หนด ดงั นี้

2) รัฐสภามี 2 สภา คอื สภาผแู ทน และวุฒิสภา สภาผูแทนมาจากการเลือกต้ัง วุฒิสภามาจาก
การแตงต้งั และอํานาจไมเกนิ 3 ใน 4 ของสมาชิกสภาผแู ทน

3) ไมกาํ หนดวาคณะรัฐมนตรีจะตอ งมาจากรัฐสภา แตจ ะตองแถลงนโยบายแกรัฐสภา เม่ือเขา
มาบริหารแผนดิน และมบี ทเฉพาะกาล ใหน ายกรฐั มนตรี มอี ํานาจส่ังการหรือการกระทําการใด ๆ ไดเ ด็ดขาด
จนกวา คณะรฐั มนตรีไดรบั การจดั ตงั้ จะเขาปฏิบตั งิ าน

4) การเลือกตัง้ 4 ปแ รก ตั้งแตเร่ิมประกาศใชร ัฐธรรมนญู ฉบบั น้ี ใหมกี ารเลอื กตง้ั แบบแบง เขต
ผูเขา รับการเลอื กตงั้ จะสงั กัดพรรคการเมอื งหรือไมกไ็ ด หลงั ครบ 4 ปแ ลว ใหถอื เขตจังหวดั เปน เขตการเลือกต้ัง
เวน แตก รุงเทพมหานครใหแ บงเปน 3 เขต และผสู มัครเขา รับการเลอื กตั้งจะตอ งสังกัดพรรคการเมอื ง

14. ธรรมนญู การปกครองราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2534 (ฉบับ ร.ส.ช.)
ร.ส.ช. หรือ คณะรกั ษาความสงบเรียบรอ ยแหง ชาติ ไดประกาศใชธ รรมนูญฯ ฉบับนี้ขึ้นเม่ือ

1 มีนาคม พ.ศ. 2534 กําหนดใหม ีสภานิติบัญญัติแหงชาติสภาเดียว มีหนา ท่ีรา งรัฐธรรมนูญและพิจารณารา ง
และรฐั มนตรี ตามท่ีนายกรัฐมนตรี กราบบังคมทลู เพอ่ื บริหารราชการแผนดนิ

15. รัฐธรรมนูญแหง ราชอาณาจกั รไทย พทุ ธศักราช 2534
แกไขเพิ่มเติมฉบับที่ 6 พ.ศ. 2539 นับเปน ฉบับท่ี 15 ประกาศใช 9 ธันวาคม 2534

มสี าระสาํ คญั เพม่ิ เติม ดังนี้
1) พระมหากษัตริย ทรงเลือกและแตง ตั้งผูท รงคุณวุฒิ เปน ประธานองคมนตรี 1 คน และ

องคมนตรีอืน่ อีกไมเ กิน 18 คน ประกอบเปนองคมนตรี
2) รัฐสภา ประกอบดวยสภาผูแ ทน และวุฒิสภา สภาผูแ ทน ประกอบดว ยสมาชิก 393 คน

สมาชิกวุฒิสภามี 260 คน ประธานสภาผแู ทนเปน ประธานรัฐสภา

ห น า | 72

3) นายกรัฐมนตรี ตอ งเปนสมาชิกสภาผแู ทน
4) การผเู ลอื กต้ัง ใชการเลอื กตง้ั แบบแบงเขตและรวมเขต
16. รฐั ธรรมนญู แหงราชอาณาจกั รไทย พทุ ธศักราช 2540
ประกาศใชเ มอ่ื วนั ท่ี 11 ตุลาคม 2540 มคี วามยาวถงึ 336 มาตรา ยาวกวารัฐธรรมนูญทุกฉบับที่
เคยประกาศใชในประเทศไทย หลังเปลี่ยนแปลงการปกครองจากระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชยมาเปน
ระบอบประชาธิปไตย ในวันท่ี 24 มิถุนายน 2475 และเน่ืองจากประชาชนท่ัวไปกวา 800,000 คน มีสว นรวม
โดยตรงและโดยออ มในการยกรา งรฐั ธรรมนญู ฉบบั นี้ จึงทําใหร ัฐธรรมนูญฉบับน้ีคุมครองสิทธิเสรีภาพของ
พลเมืองไทยไวม ากกวา ของนกั การเมอื งเหมือนในสมยั เรียน ดว ยเหตนุ ี้จึงมักนยิ มเรยี ก รฐั ธรรมนูญฉบับปจ จบุ นั
วา เปน “รัฐธรรมนญู ฉบบั ประชาชน”
17. รฐั ธรรมนญู แหง ราชอาณาจักรไทย (ฉบับช่วั คราว) พุทธศักราช 2549
ประกาศใชใ นวันที่ 1 ตุลาคม 2549 มี 39 มาตรา เปน รัฐธรรมนูญฉบับชั่วคราวที่หัวหนา
คณะปฏิรูปการปกครองในระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริยท รงเปนประมุข เปน ผูร ับสนอง
พระบรมราชโองการ หลังจากท่ไี ดก ระทําการรัฐประหารเปนผลสําเร็จ เม่ือวันท่ี 19 กันยายน พ.ศ. 2549
โดยแตงตัง้ ทมี งานนกั กฎหมาย เพือ่ รางรัฐธรรมนญู ฉบับชว่ั คราว และไดม ีการตงั้ หนวยงานในการดาํ เนนิ งาน
ดังน้ี
1) สภานติ ิบัญญัตแิ หง ชาติ ทําหนาที่แทนรฐั สภาผูแทนราษฎร และวุฒิสภา มีสมาชิกจํานวน
ไมเกนิ 250 คน
2) คณะตุลาการรัฐธรรมนูญ ทําหนา ทแ่ี ทนศาลรัฐธรรมนูญ
3) สภารา งรัฐธรรมนูญ พ.ศ. 2550/สมชั ชาแหงชาตขิ องประเทศไทย ทําหนาท่รี างรัฐธรรมนูญ
ฉบบั ถาวร พ.ศ. 2550
4) คณะกรรมการตรวจสอบการกระทําท่ีกอใหเ กิดความเสียหายตอรัฐ ทําหนา ท่ีตรวจสอบ
ทรัพยส ินอดีตคณะรฐั มนตรใี นรัฐบาลทผ่ี า นมา
18. รัฐธรรมนญู แหงราชอาณาจกั รไทย พุทธศกั ราช 2550
ประกาศใชตั้งแตว ันที่ 24 สิงหาคม พ.ศ. 2550 เปนฉบับที่มีการจัดทํารา งรัฐธรรมนูญ โดย
สภารางรฐั ธรรมนูญจํานวน 100 คน ตามรฐั ธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย (ฉบบั ช่ัวคราว) พุทธศักราช 2549
มาตรา 25 ถึงมาตรา 31 และสภารา งรัฐธรรมนูญ ไดแตงต้ังคณะกรรมาธิการยกรา งรัฐธรรมนูญ จํานวน
35 คน ทําการยกรา งแลว สงรา งรัฐธรรมนูญใหสมาชิกสภารา งรัฐธรรมนูญและองคก รซ่ึงเปนคณะบุคคล
พิจารณาและเสนอความเหน็ รวม 12 คณะ หลงั จากน้ันไดนํารางรฐั ธรรมนูญดงั กลาว เผยแพรใหป ระชาชน
ทราบ แลว นําเสนอรา งรัฐธรรมนูญตอสภารา งรัฐธรรมนูญ เพ่ือพิจารณาใหค วามเห็นชอบรา งท้ังฉบับ
เรยี งเปน รายมาตรา เมื่อสภารางรฐั ธรรมนูญพจิ ารณาใหความเห็นชอบแลว จึงมีการเผยแพรตอ ประชาชน
เพ่ือทราบท้ังฉบับ และจัดใหป ระชาชนผูมีสิทธิเลือกต้ังออกเสียงประชามติวา จะใหความเห็นชอบหรือ
ไมเห็นชอบรางรัฐธรรมนญู ท้ังฉบับ พรอมกันท้ังประเทศ เม่ือวันอาทติ ย ท่ี 19 สงิ หาคม 2550 ระหวา งเวลา
08.00 ถงึ 16.00 นาฬิกา ซึ่งเปน การออกเสียงประชามติครงั้ แรกในประวัติศาสตรการเมืองไทย การออกเสียง
ประชามตขิ องประชาชนผมู ีสิทธเิ ลอื กตง้ั ท้งั ประเทศ จาํ นวน 45,092,955 คนมาใชส ิทธิออกเสียงประชามติ
จํานวน 25,978,954 คน คิดเปนรอยละ 57.61 ผลการออกเสียงประชามติยอมรับ 14,727,306 เสียง คิดเปน
รอยละ 56.69 ไมยอมรบั 10,747,441 เสียงคิดเปนรอยละ 41.37 มบี ัตรเสียและอ่ืน ๆ จํานวน 504,120 ฉบับ
คดิ เปน รอยละ 1.94 ผลการออกประชามติของประชาชนทั่วราชอาณาจักรยอมรับรา งรัฐธรรมนูญฉบับน้ี

ห น า | 73

ประธานสภานิติบัญญัติแหงชาติไดน ํารางรัฐธรรมนูญขึ้นทูลเกลา ทูลกระหมอมถวายแดพระบาทสมเด็จ-
พระปรมนิ ทรมหาภูมิพลอดุลยเดช ทรงลงพระปรมาภไิ ธย เมอ่ื วันท่ี 24 สิงหาคม 2550

จากการปฏิบัติดังกลา วจึงเปนประวัติศาสตรชาติไทยวาไดม อบสิทธิและอํานาจใหประชาชน
ชาวไทยใหม กี ารออกเสยี งลงประชามตวิ า จะยอมรับหรือไมยอมรับรางรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย
เปน คร้ังแรกของประเทศไทย

รฐั ธรรมนญู แหงราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550 มีผลบังคับใชเมื่อวันท่ี 24 สิงหาคม 2550
มสี าระสาํ คัญทีแ่ กไขเพิม่ เติมไปจากรฐั ธรรมนูญ 2540 หลายประเด็นดังน้ี

1. รฐั สภา
ประกอบดวย สภาผูแ ทนราษฎรและวุฒิสภา ทั้งหมด 630 คน คือ สมาชิกสภาผูแ ทนราษฎร

จํานวน 480 คน สมาชิกวุฒิสภา จํานวน 150 คน สภาผูแทนราษฎร ประกอบดวยสมาชิก (สมาชิกสภา
ผูแทนราษฎร หรือ ส.ส.) จํานวน 480 คน ไดมาจากการเลือกต้ังแบบแบงเขตเลือกต้ัง จํานวน 400 คน การ
เลือกตัง้ แบบสดั สวน จํานวน 80 คน อายุของสภาผูแทนราษฎรมกี ําหนดคราวละ 4 ป นบั ต้ังแตก ารเลือกต้งั
วุฒสิ ภา ประกอบดวย สมาชิก (สมาชิกวฒุ ิสภา หรือ ส.ว.) จาํ นวน 150 คน ไดม าจากการเลือกต้ังในแตล ะ
จังหวัด จงั หวดั ละ 1 คน จํานวน 76 คน (รวมกรุงเทพมหานคร) การสรรหาจํานวน 74 คน (จํานวน ส.ว.
ทัง้ หมดหักดวย ส.ว. ทม่ี าจากการเลอื กตัง้ ) สมาชกิ ภาพของสมาชิกวุฒสิ ภา (ส.ว.) ท่มี าจากการเลอื กตั้ง เรม่ิ ตง้ั แต
วันที่มีการเลือกตั้งสมาชิกวุฒิสภา สมาชิกภาพของสมาชิกวุฒิสภาที่มาจากการสรรหา เร่ิมตั้งแตวันที่
คณะกรรมการการเลือกตั้งประกาศผลสรรหาสมาชิกภาพของวุฒิสภา (ส.ว.) มีกําหนดวาระคราวละ 6 ป
นับแตวันเลอื กต้งั หรือวนั ทค่ี ณะกรรมการการเลอื กตั้ง ประกาศผลการสรรหาแลว แตก รณี สมาชิกวุฒิสภา
(ส.ว.) จะดํารงตาํ แหนง ตดิ ตอ กันเกนิ หนึง่ วาระไมไ ด

2. คณะรฐั มนตรี
คณะรฐั มนตรี (ครม.) ประกอบดวย นายกรัฐมนตรีคนหน่ึง และรัฐมนตรีอ่ืนอีกไมเกิน 35 คน

มีหนาที่บริหารราชการแผน ดนิ ตามหลักความรับผิดชอบรวมกัน ผูท ่ีจะดํารงตําแหนงนายกรัฐมนตรี (ตาม
รัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550) ตองเปน สมาชิกสภาผูแ ทนราษฎร (ส.ส.) นายกรัฐมนตรี
จะดํารงตาํ แหนง ตดิ ตอกนั เกินกวา 8 ปไมได นายกรัฐมนตรีและคณะรัฐมนตรีตอ งมีอายุไมตํ่ากวา 35 ป ตอง
สําเรจ็ การศกึ ษาไมตํ่ากวา ปรญิ ญาตรหี รอื เทียบเทา

3. องคกรตามรัฐธรรมนูญ ประกอบดวย
1) องคกรอสิ ระตามรัฐธรรมนูญมี 4 องคก ร ไดแ ก
(1) คณะกรรมการการเลอื กตัง้
(2) ผตู รวจราชการแผนดนิ
(3) คณะกรรมการปองกนั และปราบปรามการทจุ ริตแหง ชาติ (ป.ป.ช)
(4) คณะกรรมการตรวจเงนิ แผนดิน (คตง.)
2) องคก รอนื่ ตามรัฐธรรมนญู มี 3 องคก ร ไดแก
(1) องคกรอยั การ
(2) คณะกรรมการสิทธมิ นษุ ยชนแหงชาติ
(3) สภาทป่ี รกึ ษาเศรษฐกจิ และสังคมแหงชาติ

ห น า | 74

4. หลักการอ่ืน ๆ ตามรฐั ธรรมนูญ พ.ศ. 2550
1) การเสนอรา งกฎหมายโดยประชาชน ประชาชนผูมีสทิ ธเิ ลอื กตั้ง จํานวน 10,000 คน (เดิม

กาํ หนดไว 50,000 คน) มีสิทธิเขา ช่ือเสนอรา งพระราชบญั ญตั ิตอ ประธานสภา
2) การเสนอถอดถอนนักการเมืองโดยประชาชน ประชาชนผูมีสิทธิในการเลือกต้ัง จํานวน

20,000 คน (เดมิ กาํ หนดไว 50,000 คน) มีสทิ ธิเขา ชือ่ เสนอตอประธานวุฒิสภา เพือ่ ใหว ุฒิสภาเร่มิ กระบวนการ
ถอดถอนนกั การเมอื ง

3) จรยิ ธรรมของผดู ํารงตาํ แหนงทางการเมืองและเจาหนา ที่ของรัฐ รัฐธรรมนูญ 2550 เปน
รัฐธรรมนญู ฉบับแรกทบี่ ญั ญตั ิเรอื่ งจริยธรรมไว

4) การตรวจสอบทรัพยส นิ ผูดํารงตาํ แหนง ทางการเมือง ตองยื่นบญั ชีแสดงรายการทรัพยสิน
และหนสี้ ินของตนคูส มรสและบตุ รทย่ี งั ไมบ รรลุนิตภิ าวะ เปนตน

เรอื่ งที่ 3 บทบาทหนาทขี่ ององคกรตามรัฐธรรมนูญและการตรวจสอบ
การใชอ าํ นาจรฐั

แมว า ประเทศไทยจะมีรัฐธรรมนูญ เปนกฎหมายสูงสุดในการปกครองประเทศมาตั้งแต
ป พ.ศ. 2475 ในทางปฏิบัตผิ ูบ ริหารประเทศท้งั ฝา ยการเมอื งและฝา ยประจาํ นน้ั จะมอี ํานาจอยางมากมาย
และกวา งขวางมากหลายครั้ง ประชาชนมีความคลางแคลงใจในพฤติกรรมของผูบ ริหารประเทศ ทั้งฝาย
การเมืองและฝา ยประจําวา นาจะเปนไป เพ่ือประโยชนต นหรือพวกพองมากกวา เพื่อผลประโยชนข อง
ประเทศ กไ็ มส ามารถดาํ เนนิ การตรวจสอบใด ๆ ได

จนกระทัง่ เมอื่ มกี ารประกาศใชรัฐธรรมนญู แหง ราชอาณาจกั รไทย พทุ ธศักราช 2540 ซง่ึ ไดร เิ รม่ิ ให
มกี ารควบคุมอํานาจรัฐโดยบัญญตั ไิ วใน หมวดที่ 10 การตรวจสอบการใชอํานาจรัฐ มาตรา 291 – มาตรา 311
ซงึ่ ไดกลาวถงึ เรอื่ ง

1. การแสดงบัญชรี ายการทรัพยสิน หน้ีสิน
2. คณะกรรมการปอ งกันและปราบปรามการทุจริตแหงชาติ
3. การถอดถอนจากตําแหนง
4. การดําเนนิ คดอี าญากับผดู ํารงตาํ แหนง ทางการเมือง
นอกจากการกลาวถึงเรอ่ื ง การตรวจสอบการใชอ าํ นาจรฐั แลว ยงั ไดมกี ารจัดตั้งองคก ารอสิ ระขน้ึ มา
เพื่อทําหนาที่ใดหนา ที่หน่ึงโดยตรง เชน คณะกรรมการปองกันและปราบปรามการทุจริตแหงชาติ
คณะกรรมการการเลือกต้ัง แตยงั มิไดกลา วถึงองคก รอิสระตามรัฐธรรมนูญหรือองคกรตามรัฐธรรมนูญไว
อยางชดั เจน
ดังน้ัน เมื่อกลา วถึง “องคก รตามรัฐธรรมนูญ” หรือ “องคก รอิสระตามรัฐธรรมนูญ”ใน
รฐั ธรรมนูญแหง ราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2540 จึงยังมีความเขา ใจที่ไมตรงกันวา หมายถึง องคกรใดบาง
โดยคําวา “องคกรอิสระตามรัฐธรรมนูญ” น้ัน ไมมีบัญญัติไวในรัฐธรรมนูญ แตเ ปน คําท่ีใชเ รียกรวม ๆ
ถึงองคกรท่ีรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2540 บัญญัติใหมีขึ้น เพ่ือทําหนาที่ในหนาท่ีใด
หนาที่หน่ึงโดยเฉพาะ เชน คณะกรรมการการเลือกตั้ง หรือ กกต. ทําหนาท่ีในการจัดการการเลือกตั้ง

ห น า | 75

คณะกรรมการปอ งกนั และปราบปรามการทจุ รติ แหง ชาติ หรอื คณะกรรมการ ป.ป.ช. ทําหนา ที่ในการปอ งกัน
และปราบปรามการทจุ รติ และประพฤตมิ ชิ อบ เปนตน

สวนคําวา “องคกรตามรัฐธรรมนูญ” มที ี่ใชในมาตรา 266 ซ่ึงบัญญัติวา “ในกรณีที่องคก รตาง ๆ
ตามรฐั ธรรมนูญมปี ญ หาเก่ยี วกับอํานาจหนาท่ี ใหอ งคกรน้ันหรือประธานรฐั สภาเสนอเร่ือง พรอ มความเห็น
ตอศาลรฐั ธรรมนญู เพอ่ื พิจารณาวนิ จิ ฉัย” ซงึ่ ตามคาํ วินจิ ฉยั ของศาลรฐั ธรรมนูญ ไดใหความหมายโดยสรุป
ของคําวา “องคก รตามรัฐธรรมนูญ” วาหมายถึง องคก รที่รัฐธรรมนูญกําหนดใหมีขึ้นและมอบหมาย
อาํ นาจหนา ท่ีไวในรัฐธรรมนญู เชน วุฒสิ ภา คณะกรรมการการเลอื กตง้ั ศาลยตุ ธิ รรม เปนตน

จนกระทง่ั เม่ือมกี ารประกาศใช รัฐธรรมนูญแหง ราชอาณาจักรไทย พุทธศกั ราช 2550 ไดท ําใหเร่อื ง
ดงั กลาวมคี วามชดั เจนขน้ึ โดยกาํ หนดใหม หี มวดท่วี า ดว ยองคกรตามรัฐธรรมนูญไวในหมวด 11 มาตรา 299 –
มาตรา 258 โดยแยกเปน 2 สวน รวม 7 องคก ร คือ

สว นที่ 1 องคกรอสิ ระตามรฐั ธรรมนญู จาํ นวน 4 องคก ร ประกอบดว ย
1) คณะกรรมการการเลือกตงั้
2) ผูต รวจการแผน ดนิ
3) คณะกรรมการปอ งกนั และปราบปรามการทจุ ริตแหงชาติ
4) คณะกรรมการตรวจเงนิ แผนดิน

สวนท่ี 2 องคก รอน่ื ตามรฐั ธรรมนูญ จํานวน 3 องคกร ประกอบดว ย
1) องคก รอัยการ
2) คณะกรรมการสทิ ธมิ นษุ ยชนแหง ชาติ
3) สภาทป่ี รกึ ษาเศรษฐกิจและสังคมแหง ชาติ

บทบาทหนาท่ีขององคกรอสิ ระตามรัฐธรรมนญู

องคก รอิสระตามรัฐธรรมนูญแหง ราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550 มีอํานาจหนา ที่ ดังนี้
1. คณะกรรมการการเลอื กตง้ั (กกต.) ประกอบดว ย ประธานกรรมการ 1 คน กรรมการอื่นอีก 4 คน
ซึ่งพระมหากษตั ริยท รงแตง ตั้งตามคาํ แนะนําของวุฒสิ ภา คัดเลอื กจากผมู คี วามเปน กลางทางการเมือง และ
มคี วามซื่อสัตยส ุจริต มีวาระการดํารงตําแหนง 7 ป นับตั้งแตว ันท่ีพระมหากษัตริยทรงแตงต้ัง และดํารง
ตําแหนง ไดเ พียงวาระเดยี ว โดยประธานวุฒสิ ภา เปน ผลู งนามรับสนองพระบรมราชโองการ
คณะกรรมการการเลือกตงั้ มอี าํ นาจหนา ที่ดังนี้
1) ออกประกาศหรอื วางระเบียบกําหนดการทัง้ หลายอนั จาํ เปน แกการปฏบิ ัตติ ามกฎหมาย
2) วางระเบียบเกี่ยวกับขอ หา มในการปฏิบัติหนา ที่ของคณะรัฐมนตรีและรัฐมนตรีขณะอยูใ น
ตําแหนง เพื่อปฏิบัติหนา ท่ีโดยคํานึงถึงการรักษาประโยชนข องรัฐ และคํานึงถึงความสุจริต เที่ยงธรรม
ความเสมอภาค และโอกาสทดั เทยี มกันในการเลือกตง้ั
3) กําหนดมาตรการและการควบคมุ การบริจาคเงินใหแ กพ รรคการเมอื ง การสนับสนุนทางการเงิน
โดยรฐั การใชจา ยเงนิ ของพรรคการเมืองและผสู มัครรบั เลอื กต้ัง รวมท้งั การตรวจสอบบญั ชที างการเงินของ
พรรคการเมืองโดยเปด เผย และการควบคุมการจายหรือรับเงิน เพื่อประโยชนในการลงคะแนนเลือกต้ัง
4) มีคําสั่งใหข าราชการ พนักงาน หรือลูกจางของหนว ยราชการ หนวยงานของรัฐ รัฐวิสาหกิจ
หรือราชการสวนทองถิ่น หรอื เจาหนาทีอ่ น่ื ของรัฐ ปฏบิ ตั กิ ารท้งั หลายอนั จาํ เปน ตามกฎหมาย
5) สืบสวน สอบสวน เพื่อหาขอ เท็จจริง และวนิ จิ ฉยั ช้ขี าดปญหาหรือขอ โตแยง ทเ่ี กดิ ขนึ้ ตามกฎหมาย

ห น า | 76

6) สัง่ ใหม ีการเลอื กตง้ั ใหมหรอื ออกเสียงประชามติใหมใ นหนว ยเลือกตั้งใดหนวยเลือกตั้งหน่ึงหรือ
ทุกหนวยเลอื กตง้ั เมอื่ มีหลกั ฐานอันควรเช่ือไดว า การเลือกตั้งหรอื การออกเสียงประชามติในหนวยเลือกต้ัง
น้ัน ๆ มไิ ดเ ปนไปโดยสจุ ริตและเท่ียงธรรม

7) ประกาศผลการเลือกต้งั ผลการสรรหา และผลการออกเสยี งประชามติ
8) สงเสรมิ และสนับ หรือประสานงานกับหนวยราชการ หนว ยงานของรัฐ รฐั วิสาหกจิ หรอื ราชการ
สวนทองถนิ่ หรอื สนับสนุนองคก รเอกชน ในการใหการศึกษาแกป ระชาชน เกี่ยวกับการปกครองระบอบ
ประชาธปิ ไตยอันมพี ระมหากษตั รยิ ทรงเปน ประมขุ และสงเสริมการมสี ว นรวมทางการเมอื งของประชาชน
9) ดาํ เนินการอื่นตามทก่ี ฎหมายบัญญัตใิ นการปฏบิ ตั ิหนาท่ี
คณะกรรมการการเลือกต้งั มอี าํ นาจเรยี กเอกสาร หรอื หลกั ฐานทเ่ี กยี่ วขอ งจากบคุ คลใด หรือเรียก
บุคคลใดมาใหถ อ ยคํา ตลอดจนใหพนักงานอัยการ พนักงานสอบสวนหนว ยราชการ หนว ยงานของรัฐ
รัฐวิสาหกจิ หรือราชการสวนทองถ่นิ ได
2. ผตู รวจการแผน ดิน เปนคณะบุคคลจํานวน 3 คน ซึ่งพระมหากษัตริย ทรงแตงตั้งตามคําแนะนํา
ของวุฒิสภา จากผูซึ่งเปนที่ยอมรับนับถือของประชาชน มีความรอบรู และมีประสบการณใ นการบริหาร
ราชการแผนดนิ วิสาหกิจ หรือกิจกรรมอันเปน ประโยชนรวมกันของสาธารณะ และมีความซ่ือสัตยสุจริต
มวี าระการดาํ รงตาํ แหนง 6 ป นบั แตว ันที่พระมหากษตั รยิ ท รงแตงตงั้ และใหด ํารงตาํ แหนง ไดเ พียงวาระเดยี ว
โดยประธานวุฒิสภาเปน ผูลงนามรบั สนองพระบรมราชโองการ และใหมีสาํ นักงานผูต รวจการแผน ดิน เปน
หนวยงานอสิ ระในการบรหิ ารงานบคุ คล การงบประมาณ การดําเนินการอืน่ ตามท่กี ฎหมายบัญญัติ
ผตู รวจการแผน ดิน มีอํานาจหนาท่ดี งั นี้
1) พิจารณาและสอบสวนหาขอเทจ็ จรงิ ตามคํารองเรียนในกรณี

(1) การไมป ฏบิ ตั ิตามกฎหมาย หรอื ปฏบิ ตั นิ อกเหนอื อํานาจหนา ที่ตามกฎหมายของขาราชการ
พนกั งาน หรือลกู จางของหนวยราชการ หนวยงานของรัฐ หรอื รัฐวสิ าหกจิ หรือราชการสว นทองถ่ิน

(2) การปฏบิ ตั หิ รือละเลยไมปฏิบัติหนา ท่ีของขา ราชการ พนักงาน หรือลูกจา งของหนวยงาน
ราชการหนวยงานของรัฐ หรือรัฐวิสาหกิจ หรอื ราชการสว นทอ งถิน่ ท่กี อใหเกิดความเสียหายแกผูรอ งเรียน
หรือประชาชนโดยเปน ธรรม ไมว า การนัน้ จะชอบหรือไมชอบดวยอํานาจหนาทีก่ ็ตาม

(3) การตรวจสอบการละเลยการปฏิบัติหนา ที่หรือปฏิบัติหนาท่ีโดยไมชอบดวยกฎหมายของ
องคก รตามรฐั ธรรมนญู และองคก รในกระบวนการยุตธิ รรม ท้งั นี้ ไมร วมถึงการพิจารณาพิพากษาอรรถคดี
ของศาล

(4) กรณีอ่นื ตามท่กี ฎหมายบญั ญัติ
2) ดาํ เนินการเกีย่ วกบั จริยธรรมของผูดาํ รงตําแหนง ทางการเมืองและเจา หนา ท่ีของรฐั
3) ติดตาม ประเมินผล และจัดทําขอ เสนอแนะในการปฏิบัติตามรัฐธรรมนูญ รวมตลอดถึง
ขอพจิ ารณา เพอื่ แกไ ขเพิ่มเติมรัฐธรรมนูญในกรณที เี่ ห็นวา จําเปน
4) รายงานผลการตรวจสอบและผลการปฏิบัติหนา ท่ี พรอ มขอสังเกตตอคณะรัฐมนตรี สภาผูแ ทน
ราษฎร และวุฒิสภา ทุกป
การใชอ าํ นาจหนาทตี่ าม 1) (1) (2) และ (3) ใหผตู รวจการแผนดินดําเนินการ เมื่อมีการรอ งเรียน
เวนแตเ ปน กรณีที่ผตู รวจการแผนดนิ เห็นวา การกระทาํ ดงั กลา วมีผลกระทบตอความเสียหายของประชาชน
สวนรวม หรือเพื่อคุม ครองประโยชนส าธารณะ ผูตรวจการแผน ดินอาจพิจารณาและสอบสวนโดยไมมี
การรองเรียนได

ห น า | 77

3. คณะกรรมการการปองกันและปราบปรามการทุจริตแหง ชาติ (ป.ป.ช.) เปนองคก รอิสระท่ี
ประกอบไปดว ยประธานสภา 1 คน และกรรมการอื่นอกี 2 คน ซ่ึงมีพระมหากษัตรยิ ท รงแตง ตั้งตามคําแนะนําของ
วุฒิสภา

กรรมการปอ งกันและปราบปรามการทุจรติ แหงชาติ ตอ งเปน ผมู ีความซ่ือสัตยสจุ รติ เปนที่ประจกั ษ
มวี าระการดํารงตําแหนง 9 ป นับตงั้ แตพ ระมหากษัตริยทรงแตง ตัง้ และใหด าํ รงตาํ แหนง ไดเ พียงวาระเดียว
โดยมีประธานวฒุ สิ ภาเปนผลู งนามรับสนองพระบรมราชโองการ ใหม ีสํานักงานที่เปนอิสระในการบริหาร
งานบคุ คล การงบประมาณ และการดําเนินการอื่น ทั้งนีต้ ามกฎหมายบญั ญตั ิ

คณะกรรมการปองกันและปราบปรามการทุจริตแหง ชาติ มีอาํ นาจหนาท่ี ดงั นี้
1) ไตส วนขอเท็จจริงและสรุปสํานวน พรอมทั้งทําความเห็นเกี่ยวกับการถอดถอนออกจาก
ตําแหนงเสนอตอวฒุ สิ ภา
2) ไตส วนขอเท็จจริงและสรปุ สํานวน พรอ มทั้งทําความเห็นเก่ียวกับการดําเนินคดีอาญาของ
ผดู ํารงตาํ แหนง ทางการเมอื ง สงไปยังยังศาลฎกี า แผนกคดอี าญาของผูดํารงตาํ แหนงทางการเมอื ง
3) ไตส วนและวนิ ิจฉยั วาเจาหนาที่ของรฐั ต้ังแตผบู ริหารระดับสงู หรือขาราชการ ซ่งึ ดํารงตง้ั แต
ผอู าํ นวยการหรอื เทยี บเทาขึน้ ไปรํ่ารวยผิดปกติ กระทาํ ความผิดฐานทจุ ริตตอหนา ที่หรือกระทําความผิดตอ
ตาํ แหนงหนา ที่ราชการ หรอื ความผดิ ตอตาํ แหนง หนา ทีใ่ นการยุตธิ รรม รวมทั้ง ดําเนินการกับเจาหนาที่ของรัฐ
หรอื ขาราชการในระดับตํา่ กวาที่รวมกระทาํ ความผิดกับผูดํารงตําแหนง ดังกลาว หรือกบั ผดู าํ รงตําแหนง ทาง
การเมือง หรือท่ีกระทําความผิดในลักษณะที่คณะกรรมการปองกันและปราบปรามการทุจริตแหง ชาติ
เหน็ ควรดาํ เนินการดว ย ทั้งน้ี ตามพระราชบญั ญตั ปิ ระกอบรัฐธรรมนูญวา ดว ยการปอ งกันและปราบปราม
การทจุ รติ
4) ตรวจสอบความถูกตอ งและความมีอยูจ ริง รวมทั้งความเปล่ียนแปลงของทรัพยสินและ
หน้สี ินของผดู ํารงตําแหนง
5) กํากับ ดแู ล คณุ ธรรมและจรยิ ธรรมของผูดาํ รงตําแหนงทางการเมือง
6) รายงานผลการตรวจสอบและผลการปฏบิ ัติหนาที่ พรอมขอ สังเกตตอคณะรัฐมนตรี สภาผูแ ทน-
ราษฎร และวฒุ ิสภาทกุ ป ท้ังนี้ ใหประกาศรายงานดังกลา วในราชกิจจานุเบกษา และเปดเผยตอ สาธารณะดว ย
7) ดําเนนิ การอนื่ ตามที่กฎหมายบญั ญตั ิ
4. คณะกรรมการตรวจเงนิ แผน ดิน (คตง.)
การตรวจเงนิ แผน ดนิ ใหกระทาํ โดยคณะกรรมการตรวจเงินแผนดินที่เปนอิสระและเปน กลาง
ประกอบดว ยประธานกรรมการ 1 คน และกรรมการการอน่ื อกี 6 คน ซ่งึ พระมหากษตั ริยทรงแตง ตัง้ จากผมู ี
ความชาํ นาญและประสบการณด านการตรวจเงนิ แผน ดนิ การบญั ชี การตรวจสอบภายใน การเงินการคลัง
และดา นอ่นื มีวาระการดํารงตาํ แหนง 6 ป นับต้งั แตว ันท่ีพระมหากษัตริยทรงแตง ต้ัง และใหดํารงตําแหนง ได
เพียงวาระเดยี ว โดยประธานวุฒิสภาเปน ผลู งนามรับสนองพระบรมราชโองการ แตงต้ังประธานกรรมการ
การตรวจเงนิ แผนดนิ และผวู าการตรวจเงนิ แผน ดิน และใหมสี ํานกั งานการตรวจเงินแผนดนิ เปน หนว ยงานที่
เปน อิสระในการบรหิ ารบคุ คล การงบประมาณ และการดาํ เนนิ การอื่น ๆ ตามกฎหมายบญั ญัติ
คณะกรรมการตรวจเงินแผน ดนิ มอี ํานาจหนาท่ี ดงั น้ี
1. กาํ หนดหลกั เกณฑม าตรฐานเกีย่ วกบั การตรวจเงินแผนดนิ
2. ใหค าํ ปรกึ ษา แนะนํา และเสนอแนะ ใหม ีการแกไ ขขอ บกพรองเกีย่ วกบั การตรวจเงินแผน ดิน

ห น า | 78

3. แตง ตัง้ คณะกรรมการวนิ ยั ทางการเงนิ และการคลงั ทเ่ี ปนอสิ ระ ทําหนาทีว่ ินจิ ฉยั การดาํ เนนิ การที่
เกี่ยวกับวินัยทางการเงิน การคลัง และการงบประมาณ และใหค ดีท่ีพิพาทเกี่ยวกับคําวินิจฉัยของ
คณะกรรมการวินัยทางการเงินการคลงั ในเรือ่ งดงั กลา ว เปน คดีทอี่ ยใู นอํานาจของศาลปกครอง

ใหผวู า การตรวจเงินแผน ดนิ มีอํานาจหนา ทเ่ี กีย่ วกับการตรวจเงนิ แผน ดินท่เี ปนอสิ ระและเปนกลาง
จากบทบาทหนา ทขี่ ององคก รอสิ ระ 4 องคกร จะพบวา การตรวจสอบการใชอํานาจรัฐตามรฐั ธรรมนูญ
พุทธศักราช 2550 มีกระบวนการและมาตรการตรวจสอบนักการเมือง ตงั้ แตก ารเขา สูอาํ นาจโดยคณะกรรมการ
การเลือกตั้ง กระบวนการใชอํานาจรัฐโดยคณะกรรมการปองกันและปราบปรามการทุจริตแหง ชาติ
คณะกรรมการตรวจเงินแผนดิน และผูตรวจการแผน ดิน ท่ีคอยสอดสองและตรวจสอบการใชอํานาจรัฐตาม
กฎหมายอยา งเครง ครัด ในสภาพตามเปนจริงในปจ จุบนั จะเห็นไดวากลไกลทางกฎหมายและองคกรอิสระไม
สามารถหยุดย้ัง แกไขปญหาทุจริตคอรร ัปช่ันของนักการเมืองได นอกจากการสง เสริมใหม ีกระบวนการ
ตรวจสอบการดําเนินของภาครัฐ โดยประชาชนที่มีความเขมแข็งเขา มามีสวนรว มในการตรวจสอบอยา ง
จรงิ จังตอไป

บทบาทหนา ท่ขี ององคก รอ่นื ตามรฐั ธรรมนญู

1 องคกรอัยการ มีหนว ยธุรกิจที่เปน อิสระในการบริหารงานบุคคล การงบประมาณ และการ
ดําเนินการอื่น โดยมีอัยการสูงสุด เปน ผูบ ังคับบัญชาการ มีพนักงานอัยการ ทําหนาที่ตามที่บัญญัติใน
รฐั ธรรมนูญและตามกฎหมายทีเ่ กีย่ วของ

พนักงานอยั การมอี ิสระในการพิจารณาส่งั ทําคดี และการปฏบิ ตั หิ นา ท่ีใหเปน ไปโดยเท่ียงธรรม
2. คณะกรรมการสทิ ธมิ นุษยชนแหง ชาติ ประกอบดวย ประธานกรรมาการ 1 คน กรรมการอ่ืนอีก
10 คน ซึ่งมีพระมหากษัตริยท รงแตงต้ังตามคําแนะนําของวุฒิสภา จากผูมีความรูหรือประสบการณดานการ
คมุ ครองสิทธิเสรีภาพของประชาชน มีวาระการดํารงตําแหนง 6 ป นับต้ังแตว ันท่ีพระมหากษัตริยทรงแตง ตั้ง
และใหดํารงตาํ แหนงไดเพียงวาระเดยี ว โดยประธานวฒุ สิ ภาเปนผลู งนามรบั สนองพระบรมราชโองการ

คณะกรรมการสิทธมิ นุษยชนแหง ชาติ มอี ํานาจหนา ท่ี ดงั น้ี
1) ตรวจสอบและรายงานการกระทํา หรอื การละเลยการกระทํา อนั เปนการละเมดิ สิทธิมนุษยชน
หรือไมเ ปนไปตามพนั ธกรณีระหวา งประเทศ เกีย่ วกับสิทธิมนุษยชนท่ีประเทศไทย ภาคี และเสนอมาตรการแกไข
ท่เี หมาะสมตอ บุคคลหรือหนว ยงานท่ีกระทาํ หรอื ละเลยการกระทําดังกลาว เพอ่ื ดาํ เนินการในกรณีท่ีปรากฏวา
ไมม ีการดาํ เนนิ การตามทีเ่ สนอใหร ายงานตอ รัฐสภา เพ่ือดาํ เนนิ การตอ ไป
2) เสนอเร่ืองพรอ มดว ยความเห็นตอศาลรัฐธรรมนูญ ในกรณีท่ีเห็นชอบตามท่ีมีผูร อ งเรียน
วาบทบัญญตั ิแหง กฎหมายใดกระทบตอสทิ ธิมนุษยชนและมปี ญ หาเก่ียวกบั ความชอบดว ยรัฐธรรมนูญ ทั้งน้ี
ตามพระราชบัญญตั ิประกอบรัฐธรรมนญู วาดวยวิธพี จิ ารณาของศาลรฐั ธรรมนูญ
3) เสนอเร่อื งพรอมดวยความเห็นตอ ศาลปกครองในกรณีที่เห็นชอบตามที่มีผูร อ งเรียนวากฎ
คําสั่ง หรอื การกระทาํ อน่ื ใดในทางปกครอง กระทบตอสิทธิมนุษยชนและมีปญ หาเกี่ยวกับความชอบดว ย
รฐั ธรรมนูญหรือกฎหมาย ทัง้ นี้ ตามพระราชบัญญัติจัดตัง้ ศาลปกครองและวิธพี ิจารณาคดีปกครอง
4) ฟองคดีตอศาลยุติธรรมแทนผูเสียหาย เม่ือไดร ับการรอ งขอจากผูเ สียหายและเปนกรณีท่ี
เห็นสมควร เพื่อแกไ ขปญ หาการละเมดิ สทิ ธมิ นุษยชนเปน สวนรวม ท้ังน้ี ตามที่กฎหมายบัญญตั ิ
5) เสนอแนะนโยบายและขอเสนอในการปรบั ปรงุ กฎหมาย ตอรัฐสภาหรือคณะรัฐมนตรี เพื่อ
สงเสริมและคุม ครองสิทธมิ นุษยชน

ห น า | 79

6) สง เสรมิ การศึกษา การวิจัย และการเผยแพรค วามรดู า นสิทธิมนุษยชน
7) สง เสรมิ ความรวมมือและการประสานงานระหวางหนวยราชการ องคกรเอกชน และองค
การอืน่ ในดา นสิทธมิ นุษยชน
8) จัดทํารายงานประจําป เพื่อประเมินสถานการณดา นสิทธิมนุษยชนภายในประเทศ และ
เสนอตอรัฐสภา
9) อาํ นาจหนาทอี่ น่ื ตามทก่ี ฎหมายบัญญัติ
ในการปฏบิ ัตหิ นา ที่ คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแหง ชาติ ตอ งคํานึงถึงผลประโยชนส ว นรวม
ของชาติและประชาชน ประกอบดวย คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแหง ชาติ มีอํานาจเรียกเอกสารหรือ
หลักฐานทีเ่ ก่ียวขอ งจากบคุ คลใดหรือเรยี กบคุ คลใดมาใหถ อยคํา รวมทั้งมีอํานาจอ่ืน เพื่อประโยชนในการ
ปฏิบัตหิ นาที่ ท้ังนี้ตามทีก่ ฎหมายบัญญตั ิ
3. สภาท่ีปรึกษาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ มีหนา ท่ีใหค ําปรึกษาและขอเสนอแนะตอ
คณะรัฐมนตรีในปญหาตา ง ๆ ท่เี กี่ยวกับเศรษฐกิจและสังคม รวมถึงกฎหมายที่เก่ียวของ มีสํานักงานเปน
หนวยงานท่ีเปนอิสระ ในการบริหารงานบุคคล การงบประมาณ และการดําเนินการอื่น ตามท่ีกฎหมาย
บญั ญตั ิ
จากบทบาทหนาทขี่ ององคกรตามรัฐธรรมนูญทงั้ 2 ประเภท พบความแตกตา งของบทบาทหนาที่
ขององคก รอ่ืนตามรัฐธรรมนญู และองคกรอิสระตามรัฐธรรมนูญ คือ การท่รี ฐั ธรรมนูญกําหนดใหอ งคก รอิสระ
ตามรัฐธรรมนูญ สามารถเสนอรางกฎหมายไดต ามมาตรา 139 องคกรอิสระตามรัฐธรรมนูญ สามารถเสนอ
รางพระราชบญั ญัติประกอบรัฐธรรมนูญ ซ่ึงประธานองคกรน้ัน เปน ผูรักษาการตามมาตรา 182 สามารถ
เสนอรางพระราชบญั ญตั เิ กย่ี วกบั การจัดองคกร และรางพระราชบัญญตั ิทีป่ ระธานองคก รนน้ั เปน ผูร กั ษาไดด วย
สว นองคกรอ่ืนตามรฐั ธรรมนูญไมมีบทบญั ญตั ิในลักษณะดงั กลา ว

เร่อื งท่ี 4 บทบญั ญตั ขิ องรัฐธรรมนูญทีม่ ผี ลตอ การเปล่ียนแปลงทางสังคม
และมีผลตอฐานะของประเทศไทยในสงั คมโลก

รปู แบบการเมอื งการปกครองของไทย ต้ังแตส มยั สโุ ขทัย จนถึงปพ ุทธศักราช 2475 เปน การปกครอง
ในระบอบสมบูรณาญาสิทธริ าช กฎหมายที่ใชเ ปน หลกั ในการปกครองมีท่ีมาจากกลุม ผูป กครอง คือ ทหาร
และกลุมขุนนาง สวนประชาชนเปน แคไพรธรรมดา หรือ ทาสที่ตอ งทําตามคําสั่งของกลุมผูป กครอง
เทานั้น ซง่ึ เปน ทีม่ าของระบบอุปถัมภ ความอยตุ ิธรรมตาง ๆ ทเ่ี กิดข้ึน เกิดจากบุคคลท่ีเปนกลุม ผูปกครอง
ในชวงเวลานน้ั ไมมีระบบทจี่ ะตรวจสอบหรือถว งดุลอํานาจกับคณะผูปกครองได จากรูปแบบการปกครอง
ดังกลา ว เม่ือมีชาวตะวันตกเดนิ ทางเขา มายังประเทศไทย จงึ มองวาไทยเปนบา นปาเมืองเถ่ือน (อนารยชน)
โดยเฉพาะอยา งยงิ่ เมื่อชาวตะวันตกท่เี ดินเขามาประเทศไทยสมยั รชั กาลที่ 4 เขา มาทาํ หนังสือสัญญาพระราช-
ไมตรกี ับประเทศไทย หนังสือสญั ญาท่ที ําขนึ้ มานัน้ ไดยอมใหฝ ร่งั มสี ทิ ธิสภาพนอกอาณาเขต คือ ยอมใหฝ ร่ัง
ต้งั ศาลขนึ้ เรยี กวา “ศาลกงสุล” ข้ึนพิจารณาคดคี วามของคนในบงั คับของตนได อันเปน การไมย อมอยูใตบ ังคับ
บญั ชาของกฎหมายไทย ทงั้ นี้ เนอื่ งมาจากวาฝรง่ั ถอื วา กฎหมายและวิธพี ิจารณาความของประเทศไทยยัง
ไมม ีระเบียบแบบแผนดีพอ การท่ฝี รง่ั ตางประเทศมีศาลกงสุล พิจารณาคดคี วามของคนในบังคับของตนน้ัน
ทาํ ใหประเทศไทยมีความยงุ ยากทางการปกครองเกดิ ขึน้ อยูเสมอ แมภ ายหลงั ในสมยั รัชกาลที่ 5 ท่ไี ดยอมเสยี

ห น า | 80

ดนิ แดนบางสว น เพื่อแลกกบั การสิทธิสภาพนอกเขตไทย (สยามประเทศในเวลาน้นั ) ในสายตาชาวโลกกย็ ังเปน
บา นปา เมืองเถ่ือน

แมวา จะมกี ารประกาศใหเ ลิกทาสในรัชกาลที่ 5 เมื่อปพ ุทธศักราช 2448 สภาพสังคมไทยก็ยังไมม ี
ความเปลยี่ นแปลงมากนกั เพราะประชาชนยังติดของอยูก ับความเคยชินในการมีคนปกปอ งคุมครองและ
ยังไมมกี ารจัดการศึกษาใหแกป ระชาชนเปน ระบบ จนกระทั่งสมัยรัชกาลท่ี 7 เม่ือกระแสนิยมตะวันตกหลั่งไหล
เขามา มีการสงนักเรียนไทยไปศึกษายังตางประเทศจํานวนมาก กลุม นักศึกษาเหลา น้ี เมื่อสําเร็จ
การศึกษากไ็ ดนํามาสิ่งท่พี บเหน็ และองคค วามรูในเรือ่ ง การเมืองการปกครองแบบตะวนั ตก กลับเขามาดวย
และพยายามทจี่ ะพฒั นาประเทศไทยใหพนจากคําวา บา นปา เมอื งเถือ่ น ในหลาย ๆ ดาน หน่ึงในการเปล่ียนแปลง
ประเทศ คอื เรื่องการปฏิรูปการปกครองโดยการยดึ อาํ นาจของคณะราษฎร เมือ่ ป พุทธศักราช 2475 (หลัง
การเลกิ ทาส 27 ป) จากระบอบสมบรู ณาญาสทิ ธริ าชมาเปน การปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหา-
กษัตรยิ ทรงเปน ประมขุ มกี ารประกาศใชร ัฐธรรมนญู ครง้ั แรกในสยามประเทศ โดยถือวา รัฐธรรมนูญ เปน กฎหมาย
สงู สดุ ในการปกครองประเทศ กฎหมายอน่ื จะขัดหรอื แยง มไิ ด หลกั การสาํ คัญย่งิ ในรัฐธรรมนูญ คือ อํานาจ
สูงสุดของประเทศ เปน ของราษฎรทั้งหลาย พระมหากษัตริยทรงเปนประมุขของประเทศภายใต
รัฐธรรมนญู

การประกาศใชร ฐั ธรรมนญู มิไดทาํ ใหส ภาพสงั คมไทยเกิดการเปลี่ยนแปลงแบบถอนรากถอนโคน
เพราะกลุมผูนําทางความคิดสว นใหญเปนผูที่ไดร ับทุนไปศึกษาตอตางประเทศ ประชาชนสวนใหญข อง
ประเทศยังไดรบั การศึกษานอ ย จนกระทัง่ เมอ่ื มีการสงเสริมใหประชาชนไดร ับการศึกษาสูงขึ้น ประชาชน
กลุม นีจ้ ึงไดเริ่มตระหนักถงึ สถานภาพ บทบาทหนา ทส่ี ิทธแิ ละเสรีภาพทีต่ นเองพึงไดรับจากรฐั

บทบัญญัติในรฐั ธรรมนูญที่ถือวา มผี ลตอการเปลีย่ นแปลงของสภาพสังคมไทย ไดแ ก
1. การรับรองสิทธิของชายและหญงิ วามสี ิทธเิ ทาเทยี มกัน
2. ความเสมอภาคในการบงั คับใชกฎหมายกบั ทกุ บุคคล : บุคคลยอมเสมอกัน ในกฎหมายและไดร ับ
ความคมุ ครองตามกฎหมายเทาเทียมกนั
3. ที่มาของรฐั บาล
4. การตรวจสอบการใชอาํ นาจรัฐ
5. สิทธแิ ละเสรีภาพของชนชาวไทย ท้งั ท่เี ปน

สิทธิและเสรีภาพสวนบุคคล เชน สทิ ธิและเสรีภาพในชีวิตและรางกายของบคุ คล การจบั และคุมขัง
การคนตัวบคุ คล หรือการกระทําใดอันกระทบตอสิทธแิ ละเสรีภาพ ตามวรรคหน่ึง จะกระทํามิได เวน แตม ี
เหตุตามที่กฎหมายบัญญัติ การเขา ไปในเคหสถาน โดยปราศจากการความยินยอมของผูครอบครอง
เสรภี าพในการเดินทาง และเสรีภาพในการเลือกถ่นิ ท่อี ยูภายในราชอาณาจกั ร เสรีภาพในการส่ือสารถึงกัน
โดยทางทชี่ อบดว ยเสรภี าพบรบิ รู ณใ นการนับถอื ศาสนา

สทิ ธิในกระบวนการยตุ ิธรรม
เสรีภาพในการแสดงความคดิ เหน็ ของบุคคลและสอ่ื มวลชน
สทิ ธเิ สรีภาพในการศึกษา
สิทธิการไดรบั บริการสาธารณสุขและสวัสดกิ ารจากรัฐ
เสรภี าพในการชมุ ชนและการสมาคม
ความเปล่ียนแปลงทางสังคม ที่เปนผลจากการมีรัฐธรรมนูญบัญญัติไว จึงเปน หลักประกันที่
ประชาชนจะตอ งไดร ับการคมุ ครองและดแู ลจากรฐั และมีผลตอ การกระตุนใหประชาชนเกิดความตื่นตัวใน

ห น า | 81

การพทิ กั ษส ิทธิของตนเอง รวมทั้งการปฏิบัติตนที่จะไมไปละเมิดตอสิทธิของผูอ ื่น ความเปล่ียนแปลงทาง
สงั คมทเี่ ปน ผลจากการมีรฐั ธรรมนญู ท่เี หน็ ไดอ ยา งเปนรปู ธรรม ไดแ ก

1. ความตื่นตัวในภาคประชาชนที่จะเขามามีสว นรว มในการบริหารจัดการประเทศ โดยการต้ัง
พรรคการเมอื ง การเปนสมาชิกพรรคการเมอื ง

2. เกิดการรวมตวั ของกลุม บคุ คลตง้ั เปน มูลนธิ ิ เพอื่ ปกปองดูแลสิทธิของประชาชนตามรัฐธรรมนูญ
เชน มลู นิธคิ ุมครองผบู ริโภค มูลนิธิคุม ครองสิทธสิ ตรี

3. การรวมตัวของกลุมบคุ คลในอาชีพเดียวกัน เพื่อเรยี กรอ งความเปน ธรรม
4. มีระบบยุติธรรม ท่ีพิจารณาตัดสินคดีความจากเอกสาร พยาน หลักฐาน มีระบบการไตส วน
สืบสวน สอบสวน และยกเลกิ วิธกี ารลงโทษในทางทารณุ กรรม เพือ่ ใหร ับสารภาพ
5. ประชาชนไดรับบรกิ ารในส่ิงท่เี ปนปจ จยั พ้ืนฐานของการดาํ รงชีวติ ไดแก บริการการศึกษา บริการ
การรกั ษาพยาบาล
ความเปลีย่ นแปลงท่ีเกิดข้ึนในสังคมไทยดังกลาว มีผลใหป ระเทศไทยไดร ับการยอมรับในสายตา
ชาวโลกมากขน้ึ วามิไดม คี วามเปนบา นปาเมืองเถ่ือน โดยชาวตางชาตไิ ดใ หก ารยอมรับในกฎหมายไทย

เร่ืองที่ 5 หนา ทพ่ี ลเมืองตามรฐั ธรรมนญู และกฎหมายอืน่

การอยรู วมกนั เปนสังคมของมนษุ ยต ้งั แตส องคนข้นึ ไป ยอ มมีความขดั แยงกันในบางโอกาส เพราะ
แตล ะบุคคลยอ มมคี วามปรารถนาท่แี ตกตา งกัน อนั นําไปสูความขัดแยง และทะเลาะวิวาทกันได ทุกสังคม
จึงตองวางกฎ กตกิ าในการอยรู ว มกัน เพื่อเปนขอตกลงกลางในการอยูรวมกันวาสิ่งใดทําได สิ่งใดทําไมได
หากฝา ฝน จะมีโทษอยางไร เมือ่ สงั คมมีขนาดใหญข ้ึนเปน ระดับประเทศที่มีประชากรรวมกันหลายลา นคน
ผปู กครองก็จาํ เปน ตองวางกฎข้นึ ซ่งึ เรียกกันวา “กฎหมาย” เพือ่ เปน ขอตกลงในการอยรู ว มกันของคนท้งั ประเทศ

เม่อื ประเทศไทยเปล่ียนแปลงเปน การปกครองแบบประชาธิปไตย เมื่อป พ.ศ. 2475 และกําหนดให
รัฐธรรมนญู เปนกฎหมายสูงสดุ ในการปกครองประเทศ โดยกฎหมายอนื่ จะขดั หรอื แยงมไิ ด รฐั ธรรมนูญใน
ยุคแรก ๆ แมว าจะเกิดจากการยกรา งของคณะบุคคลเพียงไมก ี่คน แตก็เปนพัฒนาการทางกฎหมายท่ี
คาํ นงึ ถงึ ความมั่นคงของชาติ สถานภาพ บทบาท สิทธิ เสรีภาพและหนาท่ีของประชาชนในระดับแตกตางกัน
ออกไป และมีการพัฒนาการในการเปด โอกาสใหประชาชนเขา มามีสวนรว มในการยกรา งรัฐธรรมนูญมากข้ึน
ตงั้ แตร ัฐธรรมนูญป 2540 เปน ตนมา ซงึ่ เราจะพบวา มีการระบถุ ึงหนาที่ สิทธแิ ละเสรีของประชาชนมากข้ึน

การจะเขาใจหนาท่ีสิทธิและเสรีภาพของตนเองท่ีมีในสังคมไดน้ัน จะตองทําความเขา ใจกับ
ความหมายของ “สถานภาพ บทบาทหนา ท่ี สิทธิ และเสรีภาพ” ดว ย เพราะสถานภาพ เปน ตนทางของ
การกําหนดบทบาทหนา ที่ สทิ ธิ และเสรภี าพของบุคคลในสังคม

สถานภาพ บทบาท สิทธิเสรีภาพและหนาที่ มีความเกี่ยวของเชื่อมโยงสัมพันธกัน กลา วคือ
สถานภาพเปน ตัวกําหนดบทบาท สิทธิ เสรีภาพและหนาท่ีของบุคคล เราจะเขาใจและสามารถเช่ือมโยง
สถานภาพ บทบาทหนา ที่ สิทธิ และเสรภี าพ ไดตอ เมอื่ เรามีความเขาใจในความหมายของแตละคํา ซึ่งเรา
จะเรม่ิ ทาํ ความเขาใจความหมายของแตละคํา ดงั นี้

ห น า | 82

ความหมาย
สถานภาพ หมายถึง ตําแหนงท่ีบุคคลไดรับจากการเปน สมาชิกของสังคม ในบุคคลคนเดียวกัน
อาจจะมหี ลายสถานภาพได เชน นายสมชาย เปนคนไทย อาชีพรับราชการครู เปนศิษยเกามหาวิทยาลัย-
รามคําแหง ไดแ ก
1. สถานภาพท่ีไดจ ากถ่ินที่อยู ที่ถือกําเนิด ก็จะไดส ัญชาติของประเทศท่ีเกิด เชน คนไทย คนญ่ีปุน
คนอังกฤษ คนจนี เปนตน
2. สถานภาพทไ่ี ดม าโดยกาํ เนิด เชน ปู ยา ตา ยาย พอ แม ลงุ ปา นา อา พ่ี นอง ลูกหลาน เปนตน
3. สถานภาพที่ไดมาจากการศึกษา เชน ศษิ ยเกา กศน. ศษิ ยเ กาโรงเรยี นสตรวี ิทยา
4. สถานภาพทไ่ี ดม าจากการประกอบอาชีพหรือการกระทํา เชน ครู หมอ พอคา นายกรัฐมนตรี
พระ นักบวช นกั โทษ เปนตน
5. สถานภาพทไ่ี ดจ ากการสมรส เชน สามี ภรรยา พอ หมา ย แมหมาย เปน ตน
บทบาทหนาท่ี หมายถงึ การทาํ หนา ท่ี หรือพฤตกิ รรมท่ีเปน ภาระรับผิดชอบตามสถานภาพที่ไดรับ
เชน สถานภาพเปนครู เปนทนายความ เปนตน เห็นไดวา สถานภาพและบทบาทหนาท่ี มีความเก่ียวของ
สัมพนั ธ โดยสถานภาพเปนตวั กาํ หนดบทบาทหนา ท่ีบุคคลนั้น ๆ ย่ิงบุคคลท่ีมีหลายสถานภาพ ก็ย่ิงมีบทบาท
หนา ทีม่ ากตามไปดวย
นอกจากสถานภาพ บทบาทหนา ท่ี ซึ่งเปน ภาระหนาท่ีและความรับผิดชอบแลว แตละบุคคลยังได
รบั สทิ ธแิ ละเสรีภาพตามสถานภาพ และบทบาทหนา ทเ่ี หลา นนั้ ในการอยใู นสงั คมน้นั ๆ ดว ย
สทิ ธิ หมายถึง อาํ นาจหรือผลประโยชนข องบุคคลทมี่ ีกฎหมายใหค มุ ครอง โดยบุคคลอื่นจะตองให
ความเคารพ จะละเมดิ ลวงเกิน หรือกระทําการใด ๆ อนั กอ ใหเ กดิ การกระทบกระเทอื นตอ สิทธิของบุคคลไมไ ด
เชน สิทธิเลือกตั้ง สิทธิในการรับความคุมครองจากรัฐ สิทธิในการไดรับบริการสาธารณะจากรัฐ ตามท่ี
กฎหมายกําหนด
เสรีภาพ หมายถงึ ความมีอิสระในการกระทาํ ของบุคคล ซึง่ กระทําน้ันจะตอ งขัดตอกฎหมาย เชน
เสรภี าพในการนับถือศาสนา เสรีภาพในการเดินทาง เสรีภาพในการประกอบสัมมาชีพ เสรีภาพในการพูด
การเขยี นทีไ่ มละเมิดสิทธิ และเสรภี าพของบุคคลอื่น

หนา ทข่ี องพลเมอื งตามรฐั ธรรมนูญ

รัฐธรรมนูญ ฉบบั ปพทุ ธศักราช 2550 ไดกําหนดหนา ที่ของชนชาวไทยไวใ นหมวดที่ 4 มาตรา 70
ถงึ มาตรา 74 ดงั น้ี

1. บคุ คลมหี นา ที่พทิ กั ษไวซงึ่ ชาติ ศาสนา พระมหากษตั ริย และการปกครองระบอบประชาธิปไตย
อันมีพระมหากษัตริยเ ปนประมขุ ตามรัฐธรรมนญู น้ี (มาตรา 70)

2. บคุ คลมหี นาท่ปี อ งกนั ประเทศ รกั ษาผลประโยชนของชาติ และปฏิบตั ติ ามกฎหมาย (มาตรา 71)
3. บุคคลมหี นาทไี่ ปใชส ิทธิเลอื กตัง้ (มาตรา 72)
4. บุคคลมีหนา ที่รับราชการทหาร ชวยเหลือในการปองกัน และบรรเทาภัยพิบัติสาธารณะ เสียภาษี
อากร ชว ยเหลือราชการ รบั การศกึ ษาอบรม พทิ กั ษ ปองกนั และสืบสานศิลปวฒั นธรรมของชาติ และภมู ิปญ ญา
ทอ งถิ่น และอนุรักษทรพั ยากรธรรมชาติและส่ิงแวดลอม ทั้งน้ตี ามทกี่ ฎหมายบญั ญัติ (มาตรา 73)

ห น า | 83

5. บคุ คลผเู ปนขา ราชการ พนักงาน หรือลูกจางของหนว ยงานราชการ หนวยงานของรัฐ รัฐวิสาหกิจ
หรือเจา หนา ทอ่ี ่นื ของรัฐ มีหนา ท่ีดําเนินการใหเ ปน ไปตามกฎหมาย เพื่อรักษาประโยชนส วนรวม อํานวย
ความสะดวก และใหบรกิ ารแกประชาชนตามหลกั ธรรมมาภิบาลของการบรหิ ารกิจการบานเมอื งทด่ี ี

บคุ คลท่ีมีสถานภาพเปนคนไทย จึงตองที่หนา ที่รับผิดชอบตามที่กําหนดไวใ นรัฐธรรมนูญรวมทั้ง
สนบั สนุนสง เสริมใหผ อู ่ืน ๆ ปฏบิ ัตติ นตามหนาทีท่ ่ีกําหนดไวใ นรฐั ธรรมนญู และกฎหมายอนื่ ๆ ดวย ทําอยา งไร
เราจงึ จะสนับสนุน สง เสรมิ ใหผูอ่ืน ๆ ปฏบิ ัติหนาท่ตี ามกาํ หนดไวในรัฐธรรมนญู รวมทง้ั กฎหมายอ่นื ๆ ของ
ประเทศดว ย

แนวทางในการสนับสนุนสง เสริมใหผูอ่ืน ๆ ปฏิบัติหนา ที่ตามกําหนดไวใ นรัฐธรรมนูญ รวมท้ัง
กฎหมายอนื่ ๆ มีดงั น้ี

1. ประพฤติ ปฏิบัตติ น ตามหนาทีท่ ่กี าํ หนดไวในรฐั ธรรมนญู รวมทง้ั กฎหมายอืน่ ๆ เพ่ือใหเ ปน แบบอยาง
ท่ีดีแกบุคคลในครอบครัวและชุมชนท่ีตนเองอาศัยอยูใ หเปนวิถีชีวิต ซึ่งจะมีอิทธิพลตอบุคคลใกลช ิดใหม ี
ความคลอ ยตามในการประพฤตปิ ฏบิ ัติ

2. เผยแพรค วามรู อบรม สั่งสอน สนทนาแลกเปล่ยี นกับบคุ คลอ่นื ในกาลอนั ควรดวย โดยคํานึงถึง
วัย ระดับความรขู องบคุ คลทส่ี นทนาดวยความเคารพ และใหเกียรตใิ นศกั ดิ์ศรขี องความเปนมนุษยด วย

3. สนบั สนนุ ช่ืนชม ใหกาํ ลงั ใจ ผทู ่ปี ฏบิ ัติตนตามหนา ทีท่ ก่ี ําหนดไวในรัฐธรรมนญู รวมทัง้ กฎหมาย
อ่ืน ๆ ดว ย

ห น า | 84

เร่ืองท่ี 6 หลักอํานาจอธิปไตย หลกั ความเสมอภาค หลักนิตริ ฐั และนติ ิธรรม หลักเหตุผล
หลกั การประนปี ระนอม และหลกั การยอมรับความคดิ เห็นตา ง เพ่อื การอยูรว มกนั
อยา งสนั ติ สามคั คี ปรองดอง สมานฉันท

การเมือง การปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตรยิ ทรงเปนประมขุ
1. ความหมายของประชาธิปไตย

คาํ วา “ประชาธปิ ไตย” มาจากภาษาองั กฤษคาํ วา “democracy” มีท่มี าจากภาษากรีก คําวา
“demos”ทแี่ ปลวา ประชาชน กบั คาํ วา “kratos” ทแี่ ปลวา อํานาจ พระเจาวรวงศเธอ พระองคเจาวรรณไวทยากร
กรมหม่ืนนราธิปพงศประพันธ ไดทรงนําคําวา “ปรฺชา” ในภาษาสันสกฤต ท่ีแปลวา ลูกสาว ลูกชายคนทั้งหลาย
มาสนธิกับ คําวา “อธิปเตยฺย” ในภาษาบาลีท่ี แปลวา ความเปนใหญ ดังน้ัน ประชาธิปไตย จึงหมายถึง
ระบอบการปกครองท่ีถือมติปวงชนเปนใหญ การถือเสียงขางมากเปนใหญ (พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน
พ.ศ. 2554) ประชาธิปไตยน้นั ครอบคลุมทัง้ 3 มิติใหญ ๆ ดงั น้ี

1.1 ประชาธปิ ไตยในมติ ิที่เปนอุดมการณทางการเมืองการปกครอง
1.2 ประชาธิปไตยในมติ ิทเ่ี ปน ระบอบการเมอื งการปกครอง
1.3 ประชาธิปไตยในมติ ทิ ่เี ปนวัฒนธรรมหรือวิถชี ีวติ

ประชาธปิ ไตย [ปรฺ ะชาทิปะไต, ปรฺ ะชาทิบปะไต] น. ระบอบการปกครองท่ถี อื มตปิ วงชนเปนใหญ,
การถือเสยี งขา งมากเปน ใหญ. (ส. ปรฺ ชา + ป. อธิปเตยฺย).

พระเจาวรวงศเ ธอ พระองคเจา วรรณไวทยากร กรมหมืน่ นราธิปพงศป ระพันธ
คนสวนใหญมักเช่ือตาม ๆ กันวา อับราฮัม ลินคอลน ประธานาธิบดีคนท่ี 16 ของสหรัฐอเมริกา
ไดใหคํานิยามไววา ประชาธปิ ไตย คอื การปกครองของประชาชน โดยประชาชน และเพื่อประชาชน แทที่จริง
อับราฮัม ลนิ คอลน ไมไ ดใหคํานิยามดังกลา ว เพียงแตไดก ลา วสนุ ทรพจนท ี่เมอื งเก็ตตสี เบอรก หลังสงคราม

ห น า | 85

กลางเมอื งระหวางมลรฐั ทางเหนือกบั มลรัฐทางใต เม่ือ ค.ศ. 1863 ตอนหนงึ่ วา “....การปกครองของประชาชน
โดยประชาชน จะไมสูญสลายไปจากโลกน้ี” ( “…and that government of the people, by the people
and for the people shall not perish from the earth.”)

อบั ราฮมั ลนิ คอลน ประธานาธิบดีคนท่ี 16 ของสหรฐั อเมริกา

สนุ ทรพจนของอับราฮัม ลินคอลน ประธานาธบิ ดีคนท่ี 16 ของสหรัฐอเมรกิ า
ถงึ แมว า คําวา “ประชาธิปไตย คอื การปกครองของประชาชน โดยประชาชน และเพ่ือประชาชน”
จะฟง ดูดี แตค วามหมายทีต่ รงที่สดุ ของประชาธปิ ไตย ก็คือ การปกครองโดยประชาชนคนไทยจํานวนมาก
เม่ือพูดถึงประชาธิปไตย ก็มักจะนึกถึงรัฐธรรมนูญ เปนตนวา ถาใหนักเรียน นักศึกษา ทํารายงาน
เรอื่ ง ประชาธิปไตย โดยกําหนดวา หนาปกรายงานใหม ีรูปภาพดว ย คิดวานักเรยี น นกั ศึกษาสวนใหญ จะใส
รปู อะไร เชือ่ วา สวนใหญจะใสรูปรฐั ธรรมนญู ไวด วย

ห น า | 86

นี่อาจเปนภาพสะทอนวา คนไทยจํานวนมาก เมื่อพูดถึงประชาธิปไตย ก็มักจะนึกถึง
รฐั ธรรมนูญ หรืออาจไปถึงขั้นท่ีวารัฐธรรมนูญเทากับประชาธิปไตย ซึ่งไมเปนความจริง ยกตัวอยาง เชน
สาธารณรัฐประชาชนจีน และสาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนเกาหลี (เกาหลีเหนือ) ที่ปกครองดวย
ระบอบเผดจ็ การ ก็มรี ฐั ธรรมนูญ

รัฐธรรมนูญของสาธารณรฐั ประชาชนจนี

สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนเกาหลี(เกาหลเี หนอื )กม็ ีรฐั ธรรมนญู
ท้ังนี้เพราะทุกประเทศ ไมวาปกครองดวยระบอบประชาธิปไตยหรือเผด็จการ ก็ลวนตองมี
รัฐธรรมนูญทุกประเทศ รฐั ธรรมนญู หาไดเปนสญั ลักษณของประชาธปิ ไตยแตอยา งใดไม
คนจํานวนไมนอ ยเชื่อวา ระบอบการเมืองการปกครอง สามารถแบงออกไดเปน 2 ระบอบใหญ
คือ ประชาธปิ ไตยกับสงั คมนยิ ม แตทีจ่ รงิ แลว หากแบง ระบอบการเมอื งการปกครอง โดยถือเอาจํานวนผูมี
อาํ นาจสงู สุดเปน เกณฑ จะสามารถแบงระบอบการเมอื งการปกครองออกเปน 2 ระบอบใหญ ๆ คือ

1) ระบอบเผดจ็ การ (dictatorial regime) คือ ระบอบการเมอื งการปกครองทค่ี นสวนนอ ย
หรือคนเดยี ว เปนเจา ของอาํ นาจสงู สดุ ในการปกครองประเทศ ปจจบุ ันนป้ี ระเทศทป่ี กครองดว ยระบอบเผดจ็ การ
เชน สาธารณรัฐประชาชนจนี ราชอาณาจักรซาอุดิอารเบีย เนการาบรูไนดารุสซาลาม สาธารณรัฐคิวบา
สาธารณรฐั แคเมรูน สาธารณรัฐสงั คมนิยมเวยี ดนาม สาธารณรฐั เบลารุส สาธารณรัฐชาด เปนตน (ขอ มลู ณ
วนั ที่ 1 สงิ หาคม พ.ศ. 2557 หลังจากน้ีอาจมกี ารเปล่ยี นแปลงได)

ห น า | 87

2) ระบอบประชาธปิ ไตย (democratic regime) คือ ระบอบการเมือง การปกครองท่คี นสว นใหญ
หรือทกุ คนเปน เจาของอํานาจสูงสุดในการปกครองประเทศ เชน สหราชอาณาจักร สหรัฐอเมริกา สาธารณรัฐ-
ฝรั่งเศส สหพันธสาธารณรัฐเยอรมนี สาธารณรัฐเกาหลี (เกาหลีใต) ญี่ปุน ราชอาณาจักรเนเธอรแลนด
เครอื รัฐออสเตรเลีย เปน ตน (ขอมลู ณ วันท่ี 1 สงิ หาคม พ.ศ.2557 หลงั จากน้อี าจมีการเปล่ยี นแปลงได)

สรุปไดวา ระบอบการเมืองการปกครอง สามารถแบง ออกไดเปน 2 ระบอบใหญ ๆ คอื เผด็จการ
กับประชาธปิ ไตย สวนระบบเศรษฐกิจ แบงออกไดเปน 2 ระบบใหญ ๆ คือ ทนุ นิยมกบั สังคมนยิ ม
2. ความเปนมาของประชาธิปไตย

รัฐที่ปกครองดวยระบอบประชาธปิ ไตยทเ่ี กาแกท่สี ดุ ในโลก เทาที่มีหลักฐานท่ีนาเช่ือถือ ก็คือ
นครรฐั เอเธนส ซึ่งเปนท่ตี ัง้ ของกรุงเอเธนส สาธารณรัฐกรซี ในปจจุบนั เม่ือราว 500 ปก อ นคริสตกาล แตตอมา
ไดล มสลายไป เนอื่ งจากนครรฐั เอเธนสแ พสงครามเพโลโพนเี ซียนแกนครรัฐสปารตา

แผนทีแ่ สดงทต่ี งั้ นครรัฐเอเธนสในทวปี ยโุ รป
ค.ศ. 1215 พระเจาจอหนที่ 1 ขึ้นภาษีตามอําเภอใจ ทําใหข นุ นางและราษฎรชาวองั กฤษไมพอใจ
จงึ รว มมือกันลวงพระองคไ ปลา สตั ว แลว บงั คบั ใหท รงลงนามใน “มหากฎบัตร” (Magna Carta) เพ่ือจํากัด
พระราชอาํ นาจของพระมหากษตั รยิ  ค.ศ. 1628 และ ค.ศ. 1688 พระมหากษตั รยิ พระองคตอ ๆ มาจําตอง
ทรงลงนามในกฎหมายสาํ คญั ๆ นบั เปน เหตุการณสําคัญกอนท่ีสหราชอาณาจักร จะเปนประชาธิปไตยใน
ปจ จบุ นั
ค.ศ. 1776 สหรัฐอเมริกาประกาศเปน ประเทศเอกราช หลงั ทาํ สงครามชนะสหราชอาณาจกั ร
ก็ไดนําเอาประชาธิปไตยมาใชในสหรัฐอเมรกิ าดวย
ค.ศ. 1789 เกิดการปฏิวัติคร้ังใหญในฝร่ังเศส ชาวฝรั่งเศสลุกฮือขึ้นตอตานอํานาจของ
พระเจาหลยุ สท่ี 16 มีการสถาปนาสาธารณรัฐ (ประเทศท่ีประมุขเปนสามัญชนไมใชกษัตริย) ไมใชทําให
ประชาชนมีอํานาจมากข้ึน แมภายหลังฝรั่งเศสจะกลับไปปกครองแบบสมบูรณาญาสิทธิราชยอีก แตก็
นบั วาเปน เหตุการณสาํ คัญบนเสนทางประชาธปิ ไตยของฝรงั่ เศส
ตอ มาหลายประเทศในโลกก็ปฏวิ ัตแิ ละเปล่ยี นแปลงไปเปนประชาธิปไตยมากขนึ้ เรอ่ื ย ๆ

ห น า | 88

ความเปนมาของประชาธปิ ไตยของไทย
พ.ศ. 2427 (ร.ศ. 113) พระวรวงศเ ธอ พระองคเจาปฤษฎางค และขาราชการ ทําหนังสือกราบ
บงั คมทูลฯ พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลาเจา อยูหวั ขอใหทรงเปล่ยี นแปลงการปกครองจากสมบูรณาญาสิทธิราชย
ไปเปนแบบประชาธิปไตย แตพ ระองคไ มท รงยินยอม โดยทรงใหเ หตุผลวา ราษฎรสว นใหญย งั ไมพรอ ม

พระวรวงศเ ธอ พระองคเจา ปฤษฎางค
พ.ศ. 2454 กบฏ ร.ศ. 130 คณะทหารกลมุ หนึ่งนาํ โดยรอยเอก ขุนทวยหาญพทิ กั ษ (เหล็ง ศรจี ันทร)
วางแผนและเตรียมการจะยดึ อํานาจการปกครองจากพระบาทสมเด็จพระมงกฎุ เกลา เจา อยูหวั แตถูกจับได
เสยี กอน

คณะกบฏ ร.ศ.130 นําโดยรอยเอก ขุนทวยหาญพิทักษ (แถวหนาคนทส่ี องจากซา ย)

ห น า | 89

พ.ศ. 2475 การเปลยี่ นแปลงการปกครองโดยคณะราษฎร นําโดยพนั เอก พระยาพหลพลพยุหเสนา
เปล่ียนแปลงการปกครองจากสมบูรณาญาสิทธิราชยไปเปนแบบประชาธิปไตยไดสําเร็จ แมภายหลังจะมี
การรัฐประหารและปกครองแบบเผด็จการอีกหลายครั้ง แตก็นับไดวา เปนเหตุการณสําคัญของการพัฒนา
ประชาธปิ ไตยของไทย

คณะราษฎรฝา ยทหารบก นาํ โดยพันเอกพระยาพหลพลพยุหเสนา (คนทห่ี า จากซายแถวกลาง)
3. หลกั การสาํ คญั ของประชาธิปไตย

หลกั การของประชาธิปไตยแตกตา งกนั ไปตามการทัศนะของนักวิชาการแตละทาน ในท่ีนี้ขอ
กําหนดหลักการของประชาธปิ ไตยเฉพาะที่สาํ คญั ๆ ดังนี้

3.1 หลกั อํานาจอธปิ ไตยของปวงชน (popular sovereignty)
ดงั ทกี่ ลา วมาแลว วา ประชาธปิ ไตย หมายถึง ระบอบการปกครองท่ถี อื มตปิ วงชนเปนใหญ

การถอื เสยี งขา งมากเปน ใหญ เพราะประชาธิปไตยตั้งอยูบนหลักปรัชญามนษุ ยนิยมท่ีเช่ือวา มนุษยมีคุณคา
มีศักดิ์ศรี มีคุณภาพ สามารถที่จะปกครองกันเองได ไมควรท่ีจะใหอํานาจสูงสุดในการปกครองประเทศ
ไปอยทู ่ีใครคนเดียว หรือกลมุ คนสวนนอ ยกลุม เดยี ว หากแตควรทจี่ ะใหป ระชาชนทกุ คนมีสว นในการกําหนด
ความเปนไปของสังคมและประเทศชาตริ วมกนั คงเปน ไปไมไดท่ีจะใหทุกคนมีความคิดเห็นเหมือนกันหมด
ทุกคน หากกลุมหนึ่งมีความคิดเห็นอยางหนึ่ง แตอีกกลุมหนึ่งมีความคิดเห็นอีกอยางหนึ่ง บางครั้งการ
กําหนดความเปนไปของสังคมและประเทศชาตจิ าํ เปน ตอ งเลือกท่จี ะปฏิบตั อิ ยา งใดอยางหนึ่งเทาน้ัน ดังน้ัน
สังคมและประเทศทเี่ ปนประชาธปิ ไตย จงึ ตองใหสมาชิกทุกคนในสังคมลงมติ เพือ่ ใหท ราบความคิดเหน็ ของ
คนสว นใหญ และนํามาใชเปนแนวทางในการกําหนดความเปน ไปของสังคมและประเทศชาติ

อยางไรก็ดี สมาชิกในสงั คมประชาธปิ ไตย จําเปน ตองเขา ใจวา ฝายทีเ่ ปน เสยี งขา งมาก ไมค วร
ใชค วามเปนเสยี งขางมาก ละเมิดสิทธแิ ละเสรภี าพขนั้ พ้นื ฐานของฝา ยเสยี งขางนอ ย ดงั ทีเ่ รียกวา “ปกครองโดย
เสยี งขา งมาก และเคารพสิทธิของเสียงขา งนอย (majority rule and minority rights)” เชน ฝายเสยี งขา งมาก
ไมพ งึ ใชม ติ เพอื่ จัดสรรงบประมาณใหแกพื้นท่ีของพวกตน โดยไมคํานึงถึงความจําเปนของคนสวนนอยท่ี
ไดรบั ความเดอื ดรอ น

ห น า | 90

และเม่ือตองปกครองดวยเสียงขางมาก ตองยอมรับวา เสียงขางมาก อาจจะบอกไดถึง
ความคดิ เห็นหรอื ความตองการของคนสว นใหญใ นสังคมเทานั้น แตอาจจะไมสามารถตัดสินความจริงและ
ความถูกตอ งได ดงั เชน เมอ่ื ประมาณหารอ ยปก อน คนเกือบท้ังโลกนบั พนั ลานคน เช่ือวาโลกเปนศูนยกลาง
ของจักรวาล มเี พียงนโิ คลัส โคเปอรนคิ ัส และกาลเิ ลโอ กาลเิ ลอี เทานน้ั ที่บอกวา ดวงอาทิตยเ ปนศูนยก ลาง
ของจกั รวาล แมเสียงขา งมากจะลงมตใิ หโลกเปน ศนู ยก ลางของจักรวาล แตความจรงิ ก็หาไดเ ปนไปตามเสียง
ขางมากดวย แลวอะไรที่จะทําใหเสียงขางมาก เปนเสียงขางมากแหงความจริงและความถูกตอง ก็คือ
การศกึ ษา นนั่ เอง ดังนั้น ประชาธปิ ไตยจะสําเร็จผลดวยดีนั้น จําเปนตองพัฒนาคุณภาพประชาชนอยางมี
ประสิทธิภาพดว ย

3.2 หลักสทิ ธิและเสรภี าพ (right and liberty)
พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2554 ระบวุ า สิทธิ หมายถึง อํานาจอันชอบธรรม

เชน บุคคลมีสิทธิและหนาที่ตามรัฐธรรมนูญ เขามีสิทธิในท่ีดินแปลงน้ี หรืออํานาจที่กฎหมายรับรองให
กระทําการใด ๆ โดยสุจริตไดอยางอสิ ระ แตต อ งไมก ระทบกระเทอื นถึงสิทธิของคนอ่นื

ประชาชนในระบอบเผดจ็ การน้นั จะมีสิทธิและเสรภี าพไดอยา งจาํ กัด แตป ระชาธิปไตยท่ี
มีหลักการพนื้ ฐานสาํ คญั ทวี่ ามนุษยมีศกั ด์ิศรี มีคณุ คา จงึ ใหป ระชาชนมีสทิ ธแิ ละเสรีภาพมากกวา เผด็จการมาก
ท้ังนี้ ก็เพือ่ ใหป ระชาชนไดสามารถท่จี ะแสดงศกั ยภาพในการมสี วนรวมพัฒนาสังคมและประเทศชาติอยางมาก
ในฐานะเจาของอํานาจสงู สุด โดยทีเ่ ผด็จการนัน้ ประชาชนสามารถมีสวนรว มไดเพียงในฐานะผูใตปกครอง
เทาทผ่ี ปู กครองจะอนุญาตใหเทานน้ั

หลายครงั้ คนสว นใหญม ักคิดถึงสิทธิที่จะไดสิทธิที่จะมีเพียงดานเดียว แตสิทธิในระบอบ
ประชาธิปไตยนั้น ประชาชนมีสิทธิท่ีจะใหสิ่งที่ดี ส่ิงที่มีประโยชนตอสังคมและประเทศชาติดวย ซ่ึงก็คือ
หนา ที่ น่ันเอง สิทธิและหนา ท่ี เปน สิง่ ทีต่ อ งอยูคูก นั อยา งสมดุลเสมอ บุคคลยอมไมอาจมีสิทธิ์ได หากไมทํา
หนาท่ี


Click to View FlipBook Version