The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

คู่มือดนตรีและท่ารำมังคละ

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by Preecha Samokae, 2023-09-01 02:33:23

คู่มือดนตรีและท่ารำมังคละ

คู่มือดนตรีและท่ารำมังคละ

Keywords: มังคละ,ดนตรี,ท่ารำ

- ๑47 -


- ๑48 -


- ๑49 -


- ๑50 -


- ๑51 -


- ๑52 -


- ๑53 -


- ๑54 -


- ๑55 -


- ๑56 -


- ๑57 -


- ๑58 -


- ๑59 -


- ๑60 -


- ๑61 -


- ๑62 -


- ๑63 -


- ๑64 -


- ๑65 -


- ๑66 -


- ๑67 -


- ๑68 -


- ๑69 -


- ๑70 -


- ๑71 - -


- ๑72 –


- ๑73 –


- ๑74 – เอกสารที่ ๘ เทคนิคการซ่อมบำรุง เครื่องดนตรีมังคละ การเก็บรักษาเครื่องดนตรีมังคละ เครื่องดนตรีมังคละ เป็นเครื่องเบญจดุริยางค์ มีเครื่องดนตรี ๕ ชนิด ทั้งหมดมี ๑๑-๑๒ ชิ้นงาน โดยใช้คนแสดง ๑๑ - ๑๒ คน ถือว่าเป็นวงใหญ่ ไม่นับนางรำ การเก็บรักษาเครื่องดนตรีมังคละ จะต้องเก็บรักษาในที่โล่งแจ้งเพราะเป็นเครื่องหนัง ไม่ให้โดน ความชื้นเป็นอันขาด ถ้าโดนความชื้นจะทำให้เสียงเพี้ยน เสียงหย่อน ไม่มีความไพเราะ ชนิดของเครื่องดนตรี วิธีการดูแลรักษา กลองมังคละ (โกรก) และกลอง สองหน้า - วิธีการเก็บรักษากลองสองหน้า ควรแขวนที่ฝาผนัง การแขวนให้แขวน เรียงกันให้กลองหน้าใหญ่อยู่ด้านบน กลองหน้าเล็กอยู่ด้านล่าง - จัดเก็บกลองให้อยู่ในตู้หรือชั้นอย่างมิดชิดเพื่อให้สะดวกต่อการหยิบใช้งาน - ห้ามไม่ให้หนังกลองเปียกน้ำเป็นอันขาด น้ำหรือความชื้นเป็นอันตราย สำหรับเครื่องหนัง จะทำให้หนังกลองหย่อน มีเสียงที่เพี้ยนและชำรุดเสียหาย - การตั้งเสียงกลอง กลองจะดังไพเราะหรือไม่ขึ้นอยู่กับการปรับที่หน้ากลอง และการดึงเชือก กลองทุกลูกจะมีเสียงไม่เหมือนกันเสียงต่ำไปสูง โดยเฉพาะ กลองหลอนจะมีเสียงที่สูง เรียงตามลำดับสูงต่ำ ปี่มังคละ เป็นดนตรีประเภทเครื่องเป่า วิธีการดูแลรักษาถ้าเกิดการชำรุดที่ลิ้นปี่ ให้ทำการตัดลิ้นปี่ใหม่ หลังจากการใช้งานเสร็จให้ล้างทำความสะอาดในส่วน ที่เปียกน้ำลาย ผึ่งลมในที่มีอากาศถ่ายเท เพื่อป้องกันเชื้อราที่เกิดขึ้นได้ ลิ้น ปี่หรือกำพวดควรเก็บใส่กล่องให้มิดชิดเพื่อสะดวกต่อการใช้งาน ฆ้อง ฉาบ และอุปกรณ์อื่นๆ เช่น คานหาม - ฉาบ มีวิธีการดูแลคือ หลังจากการใช้งาน หากมีคราบเหงื่อหรือคราบ สกปรกให้รีบทำความสะอาดโดยใช้ผ้าชุบน้ำอุ่นเช็ดหรือใช้ผ้าแห้งทำความ สะอาดทันที - ควรจัดวางไว้ตามความเหมาะสม และควรอยู่ในที่เดียวกับเครื่องดนตรี มังคละ เพื่อความสะดวกในการนำออกมาใช้ในการจัดแสดง - คานฆ้อง ทำจากไม้และสลักควรวางหรือแขวนไว้บนที่สูง ถ้าหากไม่ระวัง อาจทำให้คานฆ้องหักชำรุดได้ ถ้าเกิดคานฆ้องหักในส่วนหาง หรือหัว สามารถใช้กาวร้อนต่อในส่วนที่หักได้


- ๑75 – การซ่อมบำรุงเครื่องดนตรีมังคละ ชนิดของเครื่องดนตรี สาเหตุที่ชำรุด วิธีการซ่อมบำรุง กลองมังคละ(โกรก) และกลองยืนกลอง หลอน หนัง เชือก - การตั้งเสียงกลอง กลองจะดังไพเราะหรือไม่ขึ้นอยู่กับการ ตั้งเสียงกลอง กลองทุกลูกจะมีเสียงไม่เหมือนกัน เสียงต่ำไปสูง โดยเฉพาะกลองหลอน จะมีเสียงที่สูง เรียงตามลำดับสูงต่ำ - กลองมังคละหรือกลองยืนกลองหลอน ถึงแม้จะขึ้นกลองด้วย คานงัดคานหาม แต่โอกาสที่หนังจะยืดก็มีค่อนข้างมาก เพราะการ ใช้ไม้ตีเวลาเล่น กลองจะหย่อน วิธีการซ่อมบำรุง คือดึงเชือกยึด กลอง ใช้ไม้ตีที่ขอบบนของกลองให้หนังรู้ตัวหรือขยายตัวก่อน หลังจากนั้นใช้มือดึงเชือกที่อยู่ด้านล่างหรือด้านในสุด ไล่ดึงเชือก จนครบทั้งลูกแล้วลองเช็คเสียง ให้มีเสียงตึงไม่หย่อน ส่วนมากหนู จะชอบกัดกินหนังตรงส่วนของขอบกลองและเชือก ถ้ากัดที่ขอบ กลองจะทำให้ไส้ระมานหรือหนังขาด ต้องทำการเปลี่ยนใหม่หมด เป็นการซ่อมใหญ่ หรือเปลี่ยนหน้ากลองเลย ในการซ่อมกลองนั้น คล้ายๆกับกลองมังคละ แต่วิธีการดึงเชือกนั้นให้เริ่มดึงเชือกทีละ เส้น จนสุดเส้นสุดท้ายมัดปมแล้ว ลองฟังเสียง ให้ได้เสียงที่ไม่ หย่อน ถ้าหากกลองหน้าชำรุด คือ กลองเป็นรูที่หุ่นกลอง เช่น แมลงกัดกลอง มอดกัด ไม่กระทบเสียงแต่ถ้ากลองหรือหุ่นกลอง แตกไม่ต้องสามารถซ่อมได้ กลองจะมีลักษณะรูปร่างที่เปลี่ยนไป ไม่สมบูรณ์ กลองจะไม่ดัง ต้องเปลี่ยนใหม่ ปี่มังคละ เลาปี่ กำพวด - วิธีการดูแลรักษาปี่ คือวางไว้ในที่ห่างจากความชื้น หากเลาปี่ เปียกน้ำหรือมีคราบให้ใช้ผ้าแห้งหรือผ้าชุบน้ำเช็ดทำความสะอาด ให้เรียบร้อย - กำพวดปี่ใช้แล้วเก็บในกล่องที่เจาะรูอากาศถ่ายเทได้ล้างน้ำให้ สะอาด ก่อนเก็บเข้ากล่อง ฆ้อง แตก ถ้าหากฆ้องแตกเสียงจะดังไม่เหมือนเสียงฆ้องปกติ อาจมีเสียง หวอดังแทรก ดังนั้นจะไม่สามารถซ่อมได้ ต้องเปลี่ยนใหม่ ฉาบ แตก ถ้าหากฉาบแตกเสียงจะดังไม่ดัง ไม่สามารถซ่อมได้ ต้องเปลี่ยน ฉาบใหม่ วัสดุอุปกรณ์อื่นๆ เช่น ไม้ตี คานฆ้อง หัก ชำรุด - คานฆ้อง ควรระวังมากเพราะเป็นไม้ขนุนแกะสลัก ชำรุดง่าย - ไม้ตีหรือคานฆ้อง ถ้าชำรุดต้องเปลี่ยนใหม่


- 176 – การขึ้นกลองมังคละ(โกรก) การขึ้นกลองยืน – กลองหลอน


- ๑77 – การดึงเชือกยึดกลองในกรณีกลองหย่อน กลองมังคละ(โกรก) กลองยืน - กลองหลอน


- ๑78 – การจัดเตรียมเครื่องดนตรีพื้นบ้านมังคละ การจัดเตรียมเครื่องดนตรีพื้นบ้านมังคละ ควรตรวจสอบเครื่องดนตรีทุกชิ้นก่อนออกไปทำการแสดง และ ตรวจหลังใช้งานก่อนเก็บเข้าที่ เครื่องดนตรีมังคละหรือเบญจดุริยางค์ ๑. กลองมังคละ(โกรก) จำนวน ๑ ใบ ๒. กลองยืนและกลองหลอน จำนวน ๔ ใบ ๓. ปี่มังคละ จำนวน ๑ เลา ๔. ฆ้องหน้า จำนวน ๓ ใบ (ฆ้องหน้า ๑ใบ,ฆ้องหลัง ๒ใบ) ๕. ฉาบ จำนวน ๒ คู่ (ฉาบยืน ๑ คู่, ฉาบหลอน ๑ คู่)


- ๑7๙ – บรรณานุกรม ทิพย์สุดา และคณะ. (2539). ดนตรีมังคละดนตรีพื้นบ้านจังหวัดพิษณุโลก. สำนักศิลปะและวัฒนธรรม : สถาบันราชภัฏพิบูลสงคราม. สำนักศิลปะและวัฒนธรรม. (2561). เอกสารเผยแพร่โครงการรักษ์มังคละ. พิษณุโลก : มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม. ศุภชัย ธีระกุล. (2562). เอกสารประกอบสื่อการสอนปฏิบัติดนตรีมังคละเบื้องต้น. พิษณุโลก : คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏ พิบูลสงคราม.


ฃ คณะทำงาน ที่ปรึกษา ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ว่าที่ร้อยตรี ดร.โสภณ ลาวรรณ์ มหาวิทยาลัยนเรศวร อาจารย์ ดร.ศุภฤกษ์ วังซ้าย โรงเรียนจ่านกร้อง คณะทำงาน นางสาวนิภาวรรณ กาญจนพิทักษ์ วัฒนธรรมจังหวัดพิษณุโลก ประธานคณะทำงาน นายประโยชน์ ลูกพลับ ประธานชมรมอนุรักษ์ดนตรีพื้นบ้านมังคละ คณะทำงาน จังหวัดพิษณุโลก ดร.รุ่งนภา ฉิมพุฒ อาจารย์มหาวิทยาลัยนเรศวร คณะทำงาน ผศ.ดร.สุพัตรา เจริญภักดี บดีรัฐ ผู้อำนวยการสำนักศิลปะและวัฒนธรรม คณะทำงาน มหาวิทยาลัยราชภัฎพิบูลสงคราม ดร.ศุภชัย ธีระกุล อาจารย์มหาวิทยาลัยราชภัฎพิบูลสงคราม คณะทำงาน นายศุภเชษฐ์ ปั้นประเสริฐ ผู้อำนวยการโรงเรียนวัดบ้านมุง คณะทำงาน นางรุ่งแสง ชาวนา ครูโรงเรียนวัดท่าหมื่นราม คณะทำงาน นางเรณู ทองวัฒน์ ครูโรงเรียนวัดน้ำคบ คณะทำงาน นางสาวพนัสญา ลูกพลับ ครูโรงเรียนวัดหนองพะยอม คณะทำงาน นางสาววันนิสา ยอมสุข ครูโรงเรียนวัดหนองพะยอม คณะทำงาน นางศุภรักษ์ สุทธิรัตน์ ครูโรงเรียนวัดสะพานหิน (วงศ์วานประชาสรรค์) คณะทำงาน นางสาวมะลิวัลย์ กลิ่นมั่น ครูโรงเรียนวัดสะพานหิน (วงศ์วานประชาสรรค์) คณะทำงาน นางสาวมณีณิศากรณ์ บุญเรืองฤทธิ์ ครูโรงเรียนบ้านเข็กใหญ่ คณะทำงาน นางสาวศุภิสรา เจียมชัยภูมิ ครูโรงเรียนบ้านเข็กใหญ่ คณะทำงาน นางกมลพรรณ บางประยงค์ ครูโรงเรียนชุมชน ๑ วัดสะกัดน้ำมัน คณะทำงาน นางสาวโชติกา วัชน์โรจน์ ครูโรงเรียนชุมชน ๑ วัดสะกัดน้ำมัน คณะทำงาน นายมานิตย์ พานแสวง รองผู้อำนวยการโรงเรียนชุมชนวัดบ้านดง คณะทำงาน นายพงษ์สิริ พวงมะลิ ครูโรงเรียนชุมชนวัดบ้านดง คณะทำงาน


นายคุณานนท์ โพธิ์ทอง ครูโรงเรียนชุมชนวัดบ้านดง คณะทำงาน นางสาวนภัสสร ติครบุรี ครูโรงเรียนวัดโคกสลุด คณะทำงาน นางสาวณัฐนรี เกตุพรมมา ครูโรงเรียนวัดบ้านมุง คณะทำงาน นางสาวรุ่งทิพย์ เสือขำ ครูโรงเรียนวัดบ้านมุง คณะทำงาน นางสาวณัฐธิดา ทองประกอบ ครูโรงเรียนวัดโคกสลุด คณะทำงาน นางสาวนภัสสร ติครบุรี ครูโรงเรียนวัดโคกสลุด คณะทำงาน นางสาวศิริประภา โพธิ์อาศัย ปราชญ์ภูมิปัญญา ชมรมอนุรักษ์ดนตรีพื้นบ้าน คณะทำงาน มังคละ จังหวัดพิษณุโลก นายขันแก้ว สมบูรณ์ ปราชญ์ภูมิปัญญา ชมรมอนุรักษ์ดนตรีพื้นบ้าน คณะทำงาน มังคละ จังหวัดพิษณุโลก นางสาวจิตตรี แย้มจันทร์สงค์ สำนักศิลปะและวัฒนธรรม มหาวิทยาลัย คณะทำงาน ราชภัฎพิบูลสงคราม นางพรฟ้า ทุมมาลา นักวิชาการวัฒนธรรมชำนาญการพิเศษ คณะทำงาน และเลขานุการ นางจันทรัตน์ แท่งทอง นักวิชาการวัฒนธรรมชำนาญการ คณะทำงาน/ช่วยเลขานุการ จัดพิมพ์ต้นฉบับ นายปรีชา มั่นชาวนา เจ้าหน้าที่มรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรม ออกแบบปก/รูปเล่ม


การประชุมครั้งที่ 1 วันที่ 5 มกราคม 2566 การประชุมครั้งที่ 2 วันที่ 7 กุมภาพันธ์ 2566 การประชุมครั้งที่ 3 วันที่ 12 พฤษภาคม 2566


การถ่ายภาพนิ่งและภาพเคลื่อนไหวเครื่องดนตรีมังคละและท่ารำมังคละเภรีศรีสองแคว


การถ่ายทำคลิปวีดิโอมังคละบูรณาการกับดนตรีออร์เคสตรา วันที่ 31 มีนาคม 2566 ณ มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม (ส่วนวังจันทน์) คลิปวีดิโอเทคนิคการดูแลรักษาและการซ่อมบำรุงเครื่องดนตรีมังคละ วันที่ 31 มีนาคม 2565 ณ ชมรมอนุรักษ์ดนตรีพื้นบ้านมังคละจังหวัดพิษณุโลก บรรยายและสาธิตโดยปราชญ์ภูมิปัญญาทางวัฒนธรรม : นายประโยชน์ ลูกพลับ


คลิปวีดิโอมังคละเภรีศรีสองแคว 9 อำเภอ ระหว่างวันที่ 19-21 เมษายน 2566 ณ พระราชวังจันทน์ อำเภอชาติตระการ (สไบสีเหลืองทอง) อำเภอนครไทย (สไบสีครีม)


อำเภอเนินมะปราง (สไบสีม่วงอ่อน) อำเภอบางกระทุ่ม (สไบสีเหลืองดอกคูณ)


อำเภอบางระกำ (สไบสีส้ม) อำเภอพรหมพิราม (สไบสีเทาเงิน)


อำเภอเมืองพิษณุโลก (สไบสีขาว) อำเภอวังทอง (สไบสีชมพู)


อำเภอวัดโบสถ์ (สไบสีฟ้า)


ผู้ว่าราชการจังหวัดพิษณุโลก (นายภูสิต สมจิตต์) ให้เกียรติเยี่ยมชมการถ่ายทำคลิปวีดิโอมังคละเภรีศรีสองแคว 9 อำเภอ วันที่ 21 เมษายน 2566 ณ พระราชวังจันทน์


ภาคีเครือข่ายสร้างสรรค์มังคละเภรีศรีสองแคว นายภูสิต สมจิตต์ ผู้ว่าราชการจังหวัดพิษณุโลก นางสาวนิภาวรรณ กาจญพิทักษ์ วัฒนธรรมจังหวัดพิษณุโลก นายประโยชน์ ลูกพลับ ประธานชมรมอนุรักษ์ดนตรี พื้นบ้านมังคละจังหวัดพิษณุโลก นางเรณู ทองวัฒน์ ครูโรงเรียนวัดน้ำคบ ดร.รุ่งนภา ฉิมพุฒ อาจารย์มหาวิทยาลัยนเรศวร ผศ. ดร.โสภณ ลาวรรณ์ อาจารย์มหาวิทยาลัยนเรศวร ดร.ศุภชัย ธีระกุล มหาวิทยาลัยราชภัฎพิบูลสงคราม ดร. ศุภฤกษ์ วังซ้าย ครูโรงเรียนจ่านกร้อง นางพรฟ้า ทุมมาลา นักวิชาการวัฒนธรรมชำนาญการพิเศษ นางจันทรัตน์ แท่งทอง นักวิชาการวัฒนธรรมชำนาญการ นางสาวพนัสญา ลูกพลับ ครูโรงเรียนวัดหนองพะยอม นางสาวศิริประภา โพธิ์อาศัย ชมรมอนุรักษ์ดนตรีพื้นบ้านมังคละ จังหวัดพิษณุโลก นายพชรเสฏฐ์บุญศิริสาริศา รองผู้ว่าราชการจังหวัดพิษณุโลก


Click to View FlipBook Version