The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search

นโยบาย สพฐ. 2563

นโยบาย สพฐ. 2563

Keywords: OBEC'S POLICY

๒. การพฒั นาศักยภาพ และคณุ ภาพของผ้เู รียน
๒.๑ การพฒั นาศกั ยภาพและคณุ ภาพของผเู้ รยี นระดบั ปฐมวยั
เด็กปฐมวัยได้รับการพัฒนาเหมาะสมกับวัยในทุกด้าน
ทง้ั ทางด้านรา่ งกาย จติ ใจ อารมณ์ สังคม และสตปิ ัญญา มวี นิ ัย มที กั ษะส่ือสาร
ภาษาไทย และมีทักษะส่ือสารภาษาอังกฤษ (ฟัง พูด) และทักษะด้านดิจิทัล
พรอ้ มท่จี ะได้รบั การพฒั นาในระดับการศกึ ษาท่ีสูงขึน้
โดยมแี นวทางดำ�เนนิ การ ดงั นี้
๒.๑.๑ สำ�นักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
และสำ�นกั งานเขตพน้ื ท่กี ารศกึ ษา
(๑) จดั ท�ำ เครอื่ งมอื ประเมนิ พฒั นาการเดก็ ปฐมวยั
และประเมินพัฒนาการเด็กปฐมวัยปีเว้นปี สรุปและรายงานผลต่อกระทรวง
ศึกษาธกิ ารและหนว่ ยงานทเ่ี ก่ียวข้อง
(๒) สง่ เสรมิ สนบั สนนุ การด�ำ เนนิ งานของส�ำ นกั งาน
เขตพื้นที่การศึกษา และสถานศึกษาเพื่อประเมินพัฒนาการเด็กปฐมวัย
และด�ำ เนนิ การพฒั นาการจดั การศกึ ษาปฐมวยั ทง้ั ผบู้ รหิ ารสถานศกึ ษา ครแู ละบคุ ลากร
ปฐมวยั รวมทงั้ ผ้ปู กครอง ให้มีความรู้ความเข้าใจ การจัดการศึกษาปฐมวยั
(๓) สนับสนุนให้สถานศึกษามีครูหรือครูผู้ช่วย
ด้านปฐมวัยตามมาตรฐานที่ก�ำ หนด
(๔) ศึกษา วิเคราะห์ วิจัย การจัดการศึกษา
ปฐมวยั แนวคดิ ทฤษฎี และองคค์ วามรใู้ หม่ ๆ เก่ียวกับการจดั การศึกษาปฐมวัย
เพ่อื บรกิ ารแกโ่ รงเรียนและผ้สู นใจ

44 นโยบายส�ำ นกั งานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพื้นฐาน ปงี บประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๓
OBEC’S POLICY 2020

(๕) กำ�กับ ติดตาม และให้ความช่วยเหลือ
สถานศึกษา รวมท้ังสรุปและรายงานผลการดำ�เนินงานต่อกระทรวงศึกษาธิการ
และหน่วยงานทเี่ กี่ยวขอ้ ง
๒.๑.๒ สถานศึกษา
(๑) จัดกิจกรรมพัฒนาเด็กปฐมวัยในรูปแบบ
ที่หลากหลาย จัดสภาพแวดล้อมทั้งในและนอกห้องเรียนให้เอื้อต่อการพัฒนา
การเรียนรู้
(๒) จดั การเรยี นรู้สรา้ งประสบการณ์เนน้ การเรยี น
เปน็ เลน่ เรียนรู้อย่างมคี วามสุข
(๓) ปรบั ปรงุ อาคารสถานท่ีสง่ิ อ�ำ นวยความสะดวก
สนามเด็กเล่นใหไ้ ด้มาตรฐาน มคี วามปลอดภยั สามารถจัดกจิ กรรมพัฒนาผเู้ รยี น
ได้อย่างมปี ระสิทธิภาพ
(๔) จัดหาส่ือ อุปกรณ์ ที่มีคุณภาพเหมาะสม
มีมาตรฐาน และความปลอดภยั
(๕) อภบิ าลเดก็ ปฐมวยั ใหม้ สี ขุ ภาวะทด่ี ี รา่ งกาย
สมบูรณแ์ ขง็ แรง ปราศจากโรคภยั ไข้เจ็บ
(๖) สร้างความรู้ความเข้าใจแก่ผู้ปกครอง
ในการจัดการศึกษาปฐมวัย เพื่อการมีส่วนร่วมและการสนับสนุนการดำ�เนินงาน
ของสถานศกึ ษา
(๗) สรุปและรายงานผลการดำ�เนินงาน
ต่อสำ�นักงานเขตพืน้ ทก่ี ารศึกษาและหนว่ ยงานที่เกี่ยวข้อง

นโยบายส�ำ นกั งานคณะกรรมการการศึกษาข้นั พื้นฐาน ปงี บประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๓ 45
OBEC’S POLICY 2020

๒.๒ การพฒั นาศกั ยภาพ และคณุ ภาพผเู้ รยี นระดบั ประถมศกึ ษา

ผเู้ รยี นระดบั ประถมศกึ ษาไดร้ บั การพฒั นาทางดา้ นรา่ งกาย

จติ ใจ อารมณ์ สังคม และสติปญั ญา มีวนิ ยั มีทกั ษะท่ีจ�ำ เปน็ ในศตวรรษท่ี ๒๑

โดยมแี นวทางดำ�เนนิ การ ดงั น้ี

๒.๒.๑ สำ�นักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน

และสำ�นกั งานเขตพืน้ ทก่ี ารศกึ ษา
(๑) ส่งเสริม สนับสนุนให้สำ�นักงานเขตพ้ืนท่ี
การศึกษา และสถานศึกษาจัดการศึกษาพัฒนาผู้เรียนให้มีพัฒนาการท่ีสมวัย
ในทกุ ดา้ นทงั้ ทางดา้ นรา่ งกาย จติ ใจ อารมณ์ สงั คม และสตปิ ญั ญา ใหม้ คี ณุ ลกั ษณะ
- เป็นไปตามหลักสูตร
- มีทกั ษะการเรียนร้ใู นศตวรรษท่ี ๒๑
- มีทักษะการเรียนรู้ท่ีเชื่อมโยงสู่อาชีพ
และการมงี านท�ำ สอดคลอ้ งกบั ความตอ้ งการของประเทศ
- มีความรู้ และทักษะด้านวิทยาศาสตร์
น�ำ ไปสู่การพัฒนานวตั กรรม
- มคี วามรคู้ วามสามารถดา้ นดจิ ทิ ลั (Digital)
และใชด้ ิจิทัลเป็นเคร่ืองมอื ในการเรียนรู้ไดอ้ ย่างมปี ระสิทธิภาพ
- มีทักษะทางด้านภาษาไทย เพ่ือใช้เป็น
เครอ่ื งมอื ในการเรยี นรู้ มนี สิ ยั รกั การอา่ น มที กั ษะสอ่ื สารภาษาองั กฤษ และภาษาท่ี ๓
(๒) จดั ท�ำ เครอื่ งมอื ประเมนิ ความสามารถพน้ื ฐาน
ระดับชาติ (NT) นกั เรยี นชนั้ ประถมศกึ ษาปที ่ี ๓ และด�ำ เนินการประเมิน รวมท้งั
ประสานการด�ำ เนินงานเพ่อื ทดสอบทางการศึกษาระดบั ชาตขิ ้นั พนื้ ฐาน (O-NET)
นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ ๖ วิเคราะห์ผลการประเมินเพื่อเป็นฐานการพัฒนา
นกั เรียนทกุ ระดบั

46 นโยบายส�ำ นักงานคณะกรรมการการศกึ ษาข้นั พนื้ ฐาน ปงี บประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๓
OBEC’S POLICY 2020

(๓) ส่งเสริม สนับสนุนให้สำ�นักงานเขตพื้นท่ี

การศกึ ษาและสถานศกึ ษาจดั กจิ กรรมพฒั นาผเู้ รยี นเตม็ ตามศกั ยภาพสอดคลอ้ งกบั

ความสามารถ ความถนัด และความสนใจ รวมถึงการวางพื้นฐานการเรียนรู้

เพื่อการวางแผนชีวิต และวางแผนทางการเงนิ ที่เหมาะสมและนำ�ไปปฏิบัติได้

(๔) สรา้ งกลไกของระบบแนะแนวทางการศกึ ษา

เพ่ือส่งเสริมกระบวนการเรียนรู้ตามสมรรถนะรายบุคคลและเตรียมความพร้อม

สู่การประกอบสัมมาอาชีพ

(๕) ดำ�เนนิ การติดตาม และตรวจสอบใหผ้ ูเ้ รียน

ไดร้ บั ประทานอาหารอยา่ งครบถ้วนถกู ตอ้ งตามหลกั โภชนาการ

(๖) กำ�กับ ติดตาม และให้ความช่วยเหลือ

สถานศึกษาในการจัดการศึกษาภาพรวม รวมท้ังสรุปและรายงานผลการ

ด�ำ เนินงานตอ่ กระทรวงศึกษาธิการ และหน่วยงานทเ่ี ก่ียวขอ้ ง

๒.๒.๒ สถานศกึ ษา
(๑) จดั การเรยี นรทู้ ใ่ี หผ้ เู้ รยี นไดเ้ รยี นรผู้ า่ นกจิ กรรม

การปฏิบัตจิ ริง (Active Learning)

(๒) จัดการเรียนรู้อย่างเป็นระบบมุ่งเน้น

การใชฐ้ านความรู้ และระบบความคดิ ในลกั ษณะสหวทิ ยาการ (STEAM Education)

เช่น

- ความรทู้ างวทิ ยาศาสตรแ์ ละการตงั้ ค�ำ ถาม

- ความเข้าใจและความสามารถในการใช้

เทคโนโลยี

- ความรู้ทางวิศวกรรม และการคิดเพื่อหา

ทางแกป้ ญั หา

- ความรู้และทกั ษะในด้านศลิ ปะ

- ความรู้ด้านคณิตศาสตร์และระบบคิด

ของเหตผุ ล และกานรโยหบาาคยสว�ำ านมักงสานัมคพณันะกธร์รมการการศกึ ษาขน้ั พืน้ ฐาน ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๓ 47

OBEC’S POLICY 2020

(๓) จัดกิจกรรมพัฒนาผู้เรียนเต็มตามศักยภาพ
สอดคลอ้ งกบั ความสามารถ ความถนดั และความสนใจ รวมถงึ กจิ กรรมการแนะแนว
ทงั้ ด้านศึกษาต่อ และดา้ นอาชีพ เป็นการวางพนื้ ฐานการเรยี นรู้ การวางแผนชวี ติ
และวางแผนทางการเงนิ ทีเ่ หมาะสมและนำ�ไปปฏิบตั ไิ ด้
(๔) จดั กจิ กรรมการเรยี นรเู้ พอ่ื สง่ เสรมิ สนบั สนนุ
ให้ผู้เรียนมีทักษะพื้นฐานในการดำ�รงชีวิต มีสุขภาวะที่ดี สามารถดำ�รงชีวิต
อยา่ งมคี วามสุข
(๕) จดั กจิ กรรมการเรยี นรแู้ ละพฒั นาดา้ นอารมณ์
และสังคม (Social and Emotional Learning : SEL)
(๖) จัดการเรียนการสอนเพ่ือเพิม่ ทกั ษะการคิด
แบบมีเหตุผลและเป็นขัน้ ตอน (Coding)

48 นโยบายสำ�นกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาขน้ั พ้ืนฐาน ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๓
OBEC’S POLICY 2020

(๗) ดำ�เนินการให้ผู้เรียนได้รับประทานอาหาร
อย่างครบถ้วนถูกต้องตามหลักโภชนาการ เป็นไปด้วยความถูกต้องตามระเบียบ
และวินัยการคลัง
(๘) สรุปและรายงานผลการดำ�เนินงานต่อ
ส�ำ นักงานเขตพื้นทีก่ ารศกึ ษาและหน่วยงานทเ่ี กยี่ วขอ้ ง
๒.๓ การพัฒนาศักยภาพ และคุณภาพผู้เรียนระดับ
มธั ยมศึกษา
ผเู้ รยี นระดบั มธั ยมศกึ ษา ไดร้ บั การพฒั นาทางดา้ นรา่ งกาย
จิตใจ อารมณ์ สังคม และสติปัญญา มีวินัย มีทักษะที่จำ�เป็นในศตวรรษที่ ๒๑
มีทักษะด้านการคิดวิเคราะห์ สังเคราะห์ มีทักษะด้านภาษาไทยเพ่ือใช้
ในการเรียนรู้ มีทักษะส่ือสารภาษาอังกฤษ และภาษาที่ ๓ มีความสามารถ
ในการใช้เทคโนโลยี ได้รับการพัฒนาทักษะการเรียนรู้ท่ีเช่ือมโยงสู่อาชีพ
และการมงี านท�ำ น�ำ ไปสกู่ ารมที กั ษะอาชพี ทส่ี อดคลอ้ งกบั ความตอ้ งการของประเทศ
มีความยืดหยุ่นทางด้านความคิด สามารถทำ�งานร่วมกับผู้อื่นได้ ภายใต้สังคม
ทเี่ ปน็ พหวุ ฒั นธรรม มที กั ษะพน้ื ฐานในการด�ำ รงชวี ติ มสี ขุ ภาวะทดี่ ี สามารถด�ำ รงชวี ติ
อย่างมคี วามสุข

นโยบายสำ�นักงานคณะกรรมการการศกึ ษาข้นั พ้ืนฐาน ปงี บประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๓ 49
OBEC’S POLICY 2020

โดยมีแนวทางด�ำ เนนิ การ ดงั น้ี
๒.๓.๑ สำ�นักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
และส�ำ นกั งานเขตพน้ื ทก่ี ารศกึ ษา
(๑) ส่งเสริม สนับสนุนให้สำ�นักงานเขตพื้นท่ี
การศึกษา และสถานศึกษาจัดการศึกษาเพ่ือพัฒนาผู้เรียนให้มีพัฒนาการที่สมวัย
ในทกุ ดา้ นทั้งทางดา้ นร่างกาย จิตใจ อารมณ์ สงั คม และสตปิ ัญญา มีความยืดหยนุ่
ทางด้านความคดิ สามารถทำ�งานร่วมกบั ผูอ้ น่ื ได้ ภายใต้สงั คมที่เปน็ พหุวฒั นธรรม
ให้มีคุณลกั ษณะ
- เป็นไปตามหลักสูตร
- มีทักษะการเรยี นรู้ในศตวรรษที่ ๒๑
- มที กั ษะทางดา้ นภาษาไทยมที กั ษะสอ่ื สาร
ภาษาอังกฤษและภาษาท่ี ๓ เพ่อื ใชเ้ ป็นเครอื่ งมือในการประกอบอาชีพ
- มีความรู้ และทักษะด้านวิทยาศาสตร์
น�ำ ไปสกู่ ารพัฒนานวตั กรรม
- มีความสามารถด้านดิจิทัล (Digital)
และใชด้ จิ ทิ ัลเป็นเครอ่ื งมอื ในการเรียนรู้ได้อยา่ งมีประสทิ ธิภาพ
- มีทักษะทางด้านภาษาไทย เพ่ือใช้เป็น
เครอ่ื งมอื ในการเรยี นรู้ มนี สิ ยั รกั การอา่ น มที กั ษะสอ่ื สารภาษาองั กฤษ และภาษาท่ี ๓
(๒) ประสานการดำ�เนินงานเพ่ือทดสอบ
ทางการศึกษาระดับชาติขั้นพ้ืนฐาน (O-NET) ชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี ๓
และชนั้ มธั ยมศกึ ษาปที ่ี ๖ วเิ คราะหผ์ ลการประเมนิ เพอ่ื เปน็ ฐานการพฒั นานกั เรยี น
ทุกระดับ

50 นโยบายส�ำ นักงานคณะกรรมการการศกึ ษาข้ันพืน้ ฐาน ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๓
OBEC’S POLICY 2020

(๓) ส่งเสริม สนับสนุน สำ�นักงานเขตพ้ืนท่ี
การศึกษา และสถานศึกษาจัดกิจกรรมพัฒนาผู้เรียนเต็มตามศักยภาพสอดคล้อง
กับความสามารถ ความถนัดและความสนใจ รวมถึงการวางพื้นฐานการเรียนรู้
เพอ่ื การวางแผนชีวิตและ วางแผนทางการเงินท่ีเหมาะสมและน�ำ ไปปฏิบตั ไิ ด้
(๔) สรา้ งกลไกของระบบแนะแนวทางการศกึ ษา
เพ่ือส่งเสริมกระบวนการเรียนรู้ตามสมรรถนะรายบุคคลและเตรียมความพร้อม
สกู่ ารประกอบสมั มาอาชพี
(๕) จัดทำ�แผนงาน โครงการ และกิจกรรม
เพิ่มศักยภาพผู้เรียนท่ีมีความรู้และทักษะด้านวิทยาศาสตร์ เป็นนักคิด นักปฏิบัติ
นกั ประดษิ ฐ์ เปน็ นวตั กร น�ำ ไปสกู่ ารพฒั นานวตั กรรมในอนาคต รวมทงั้ จดั กจิ กรรม
กีฬา การออกกำ�ลังกาย และสนบั สนุนใหผ้ ู้เรยี น มีศกั ยภาพในการจดั การสขุ ภาวะ
ของตนเองให้มีสุขภาวะที่ดี สามารถดำ�รงชีวิตอย่างมีความสุข ท้ังด้านร่างกาย
และจิตใจ
(๖) กำ�กับ ติดตาม และให้ความช่วยเหลือ
สถานศึกษา
๒.๓.๒ สถานศกึ ษา
(๑) ส่งเสริมครูให้จัดการเรียนรู้ท่ีให้ผู้เรียน
ไดเ้ รียนรู้ผา่ นกิจกรรมการปฏบิ ัติจริง (Active Learning)
(๒) สง่ เสรมิ ครใู หจ้ ดั การเรยี นรตู้ ามกระบวนการ
๕ ข้นั ตอน หรือบันได ๕ ข้ัน (Independent Study : IS)
(๓) ส่งเสริม สนับสนุนครูให้จัดการเรียนรู้อยา่ ง
เป็นระบบมุ่งเน้นการใช้ฐานความรู้และระบบความคิดในลักษณะสหวิทยาการ
(STEAM Education) เช่น

นโยบายส�ำ นักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๓ 51
OBEC’S POLICY 2020

- ความรทู้ างวทิ ยาศาสตรแ์ ละการตงั้ ค�ำ ถาม
- ความเข้าใจและความสามารถในการใช้
เทคโนโลยี
- ความรู้ทางวิศวกรรม และการคิด
เพือ่ หาทางแกป้ ัญหา
- ความรู้และทักษะในด้านศิลปะ
- ความรู้ด้านคณิตศาสตร์และระบบคิด
ของเหตุผลและการหาความสัมพนั ธ์
(๔) จัดกิจกรรมพัฒนาผู้เรียนที่มีความรู้
และทกั ษะดา้ นวทิ ยาศาสตร์ เปน็ นกั คดิ นกั ปฏบิ ตั ิ นกั ประดษิ ฐ์ เปน็ นวตั กร น�ำ ไปสู่
การพัฒนานวัตกรรมในอนาคตรวมท้ังจัดกิจกรรมกีฬา การออกกำ�ลังกาย
และสนบั สนนุ ใหผ้ เู้ รยี น มศี กั ยภาพในการจดั การสขุ ภาวะของตนเองใหม้ สี ขุ ภาวะทดี่ ี
สามารถดำ�รงชีวติ อยา่ งมีความสขุ ทั้งด้านรา่ งกายและจติ ใจ เมอื่ ถงึ ช้นั มัธยมศกึ ษา
ตอนปลายสามารถวางแผนการศกึ ษาตอ่ หรอื การประกอบอาชพี ไดต้ ามความถนดั
ความตอ้ งการ และความสนใจของตนเอง
(๕) ส่งเสริมการเรียนรู้และพัฒนาด้านอารมณ์
และสงั คม (Social and Emotional Learning : SEL)
(๖) สรุปและรายงานผลการดำ�เนินงานต่อ
สำ�นกั งานเขตพ้ืนทก่ี ารศกึ ษาและหน่วยงานที่เกยี่ วข้อง
๒.๔ พฒั นาคณุ ภาพผู้เรยี นทมี่ ีความต้องการดูแลเป็นพเิ ศษ
เป็นการจัดการศึกษาและพัฒนาสมรรถภาพสำ�หรับ
เด็กพิการและเด็กด้อยโอกาส ในรูปแบบท่ีหลากหลาย เหมาะสมกับบริบท
และความตอ้ งการจำ�เปน็ พิเศษเฉพาะบคุ คล

52 นโยบายส�ำ นกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาข้ันพน้ื ฐาน ปงี บประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๓
OBEC’S POLICY 2020

โดยมีแนวทางการดำ�เนินการ ดงั นี้
(๑) ส�ำ นกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาขนั้ พนื้ ฐาน พฒั นา
ระบบการวดั และประเมินผลตามสภาพจรงิ สำ�หรบั เด็กพิการและเดก็ ด้อยโอกาส
(๒) สำ�นักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
ส่งเสริม สนับสนุนการจัดการศกึ ษา รวมทง้ั การพัฒนาหลกั สูตร และสือ่ การเรยี น
การสอนทเี่ หมาะสมส�ำ หรบั เดก็ พกิ าร และเดก็ ดอ้ ยโอกาสในรปู แบบทหี่ ลากหลาย
เหมาะสมกบั บริบท และความตร้องการจ�ำ เป็นพเิ ศษเฉพาะบุคคล
(๓) สำ�นักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพื้นฐาน
สง่ เสรมิ สนบั สนนุ การใหบ้ รกิ ารชว่ ยเหลอื ระยะแรกเรมิ่ (Early Intervention : EI)
(๔) สำ�นักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพื้นฐาน
สนับสนุนทรัพยากร และจัดสรรงบประมาณด้านการศึกษาท่ีเหมาะสมกับบริบท
และความตอ้ งการจ�ำ เป็นพเิ ศษ
(๕) สำ�นักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน
ส่งเสริมให้สถานศึกษา นำ�ระบบเทคโนโลยีดิจิทัล (Digital Technology) มาใช้
ในการบรหิ ารจดั การ การใหบ้ รกิ าร และการเรยี นรู้
(๖) สำ�นักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
ปรับปรุงเกณฑ์อัตรากำ�ลังครูและบุคลากรให้มีความเหมาะสมกับภารงานในการ
จดั การศกึ ษาพเิ ศษ และเดก็ ด้อยโอกาส
(๗) สำ�นักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพื้นฐาน
สง่ เสรมิ สนบั สนนุ ใหม้ กี ารพฒั นาผบู้ รหิ าร ครแู ละบคุ ลากรทางการศกึ ษา ใหม้ คี วามรู้
ทักษะ ประสบการณ์ มีเจตคติท่ีดีต่อการจัดการศึกษาสำ�หรับเด็กพิการและ
เด็กดอ้ ยโอกาส

นโยบายสำ�นกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาขน้ั พ้นื ฐาน ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๓ 53
OBEC’S POLICY 2020

(๘) ส�ำ นกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาขน้ั พน้ื ฐานพฒั นา
ระบบการใหบ้ รกิ ารเทคโนโลยีสง่ิ อ�ำ นวยความสะดวกสอื่ บรกิ ารและความชว่ ยเหลอื
อน่ื ใดทางการศกึ ษาทสี่ อดคล้องกับความต้องการจ�ำ เปน็ พเิ ศษ
(๙) สำ�นักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพื้นฐาน
สนับสนุนการพัฒนาภาคีเครือข่าย (Education Partnership) ให้ทุกภาคส่วน
มีสว่ นร่วมในการจัดการศึกษาสำ�หรับเด็กพกิ ารและเด็กด้อยโอกาส
๓. นำ�เทคโนโลยดี ิจิทลั (Digital Technology) มาใช้สนับสนุน
การเรยี นรใู้ หแ้ ก่ผูเ้ รียนทุกระดับการจดั การศกึ ษา
เปน็ มาตรการในการประยกุ ตใ์ ชเ้ ทคโนโลยดี จิ ทิ ลั ในการสง่ เสรมิ
สนบั สนนุ ใหผ้ เู้ รยี นพฒั นาวธิ กี ารเรยี นรขู้ องตนเอง ตามความตอ้ งการ และความถนดั
ของผู้เรียนสามารถสร้างสังคมฐานความรู้ (Knowledge - Based Society)
ของตนเอง เพื่อให้เกดิ การเรยี นรอู้ ย่างตอ่ เนอื่ งตลอดชีวติ
โดยแนวทางการดำ�เนินการ ดงั นี้
๓.๑ สำ�นักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพื้นฐาน
และสำ�นกั งานเขตพนื้ ท่ีการศึกษา
(๑) จัดหา พัฒนา ข้อมูลองค์ความรู้ สื่อ วิดีโอ
และองค์ความรู้ประเภทต่าง ๆ หนังสือแบบเรียนในรูปแบบของดิจิทัลเทคบุ๊ค
(Digital Textbook) ตามเน้ือหาหลักสตู รทก่ี �ำ หนด
(๒) พัฒนารูปแบบการเรียนรู้ผ่านระบบดิจิทัล
(Digital Learning Platform) เพื่อตอบสนองตอ่ การพัฒนาการเรียนรู้ของผู้เรยี น
เปน็ รายบุคคล
(๓) ส่งเสริม สนับสนุนให้ผู้เรียนมีอุปกรณ์ดิจิทัล
(Digital Device) เพื่อเป็นเครื่องมือในการเข้าถึงองค์ความรู้ และการเรียนรู้
ผ่านระบบดจิ ิทลั อย่างเหมาะสมตามวัย

54 นโยบายสำ�นักงานคณะกรรมการการศกึ ษาข้นั พ้ืนฐาน ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๓
OBEC’S POLICY 2020

(๔) ส่งเสริม สนับสนุนให้สถานศึกษาจัดกิจกรรม
การเรยี นรเู้ พอ่ื พฒั นาผเู้ รยี น ใหผ้ เู้ รยี นเรยี นรดู้ ว้ ยตนเองผา่ นการเรยี นรผู้ า่ นระบบดจิ ทิ ลั
๓.๒ สถานศึกษา
(๑) ประยกุ ตใ์ ชข้ อ้ มลู องคค์ วามรู้สอ่ื วดิ โี อและองคค์ วามรู้
ประเภทตา่ ง ๆ หนงั สอื แบบเรยี นในรปู แบบของดจิ ทิ ลั เทคบคุ๊ (Digital Textbook)
ตามเน้ือหาหลักสูตรทก่ี �ำ หนด
(๒) จัดการเรียนรู้ผ่านระบบดิจิทัล (Digital Learning
Platform) เพื่อตอบสนองต่อการพฒั นาการเรียนร้ขู องผเู้ รียนเป็นรายบคุ คล
(๓) จัดกิจกรรมการเรียนรู้เพ่ือพัฒนาผู้เรียน ให้ผู้เรียน
เรียนรดู้ ้วยตนเองผ่านการเรียนรูผ้ า่ นระบบดิจิทลั
๔. การพฒั นาคุณภาพครู และบคุ ลากรทางการศึกษา
การพัฒนาคุณภาพครู จึงต้องดำ�เนินการต้ังแต่การผลิต
และการพฒั นาครอู ยา่ งตอ่ เนอื่ ง โดยส�ำ นกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาขน้ั พนื้ ฐาน
ต้องร่วมมือกับสถาบันการผลิตครู ในการผลิต และพัฒนาครูให้เป็นไปตาม
เป้าประสงค์ มีการดึงดูด คัดสรร ผู้มีความสามารถสูงให้เข้ามาเป็นครูคุณภาพ
มรี ะบบการพฒั นา ศกั ยภาพและสมรรถนะครอู ยา่ งตอ่ เนอ่ื งครอบคลมุ ทง้ั เงนิ เดอื น
เส้นทางสายอาชีพ การสนับสนุนสื่อการสอน และสร้างเครือข่ายพัฒนาครูให้มี
การแลกเปลย่ี นเรยี นรรู้ ะหวา่ งกนั รวมถงึ การพฒั นาครทู ม่ี คี วาม เชย่ี วชาญดา้ นการสอน
มาเป็นผู้สร้างครูรุ่นใหม่อย่างเป็นระบบ และประเมินครูจากการวัดผลงาน
การพัฒนาผ้เู รียนโดยตรง

นโยบายส�ำ นกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาข้นั พ้นื ฐาน ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๓ 55
OBEC’S POLICY 2020

๔.๑ การผลิตครทู ่มี ีคุณภาพ
การผลติ ครทู มี่ คี ณุ ภาพเปน็ มาตรการการสรา้ งความรว่ มมอื
กับสถาบันการผลิตครู ให้ผลิตครูที่มีจิตวิญญาณของความเป็นครู มีความรู้
ความสามารถอยา่ งแท้จรงิ และเปน็ ตน้ แบบด้านคุณธรรมและจรยิ ธรรม
โดยมแี นวทางการดำ�เนินการ ดังน้ี
(๑) สำ�นักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน
สรา้ งความรว่ มมอื กบั สถาบนั การผลติ ครู วเิ คราะหค์ วามขาดแคลน ความตอ้ งการครู
ของสถานศึกษา
(๒) สำ�นักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
ร่วมมือกับสถาบันการผลิตครูวางแผนวิเคราะห์หลักสูตรให้สอดคล้องกับ
แผนความตอ้ งการ
(๓) สำ�นักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
สนับสนุนทุนการศึกษาให้นักเรียนระดับมัธยมศึกษา ท่ีมีทัศนคติที่ดีต่ออาชีพครู
เข้ารับการศกึ ษากับสถาบนั การผลิตครู
(๔) สำ�นักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพื้นฐาน
ตดิ ตาม และประเมินผล การผลิตครอู ย่างเปน็ ระบบ
๔.๒ พัฒนาครู และบคุ ลากรทางการศึกษา
การพัฒนาครูและบุคลากรทางการศึกษา เป็นมาตรการ
ที่สำ�นักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน จะต้องดำ�เนินการเพื่อให้ครู
และบุคลากรทางการศึกษาตระหนักถึงความสำ�คัญในอาชีพและหน้าที่ของตน
โดยพฒั นาใหเ้ ป็นครู เป็นครูยคุ ใหม่ ปรับบทบาทจาก “ครูผูส้ อน” เปน็ “Coach”
หรือ “ผู้อำ�นวยการการเรียนรู้” ปรับวิธีสอน ให้เด็กสามารถแสดงความคิดเห็น

56 นโยบายส�ำ นักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพน้ื ฐาน ปงี บประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๓
OBEC’S POLICY 2020

แลกเปลยี่ นเรยี นรู้ และท�ำ กจิ กรรมในชน้ั เรยี น ท�ำ หนา้ ทก่ี ระตนุ้ สรา้ งแรงบนั ดาลใจ

แนะน�ำ วิธีเรียนรแู้ ละวธิ จี ัดระเบียบการสร้างความรู้ ออกแบบกจิ กรรม และสรา้ ง

นวัตกรรมการเรียนรู้ให้ผู้เรียน มีบทบาทเป็นนักวิจัยพัฒนากระบวนการเรียนรู้

เพ่ือผลสัมฤทธ์ิของผู้เรียน
โดยมแี นวทางการด�ำ เนินการ ดงั น้ี
(๑) สำ�นักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน
และสำ�นักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษา ส่งเสริม สนับสนุนให้ครู ศึกษาวิเคราะห์
ความตอ้ งการจ�ำ เปน็ ในการพฒั นาตนเอง(NeedAssessment)เพอ่ื วางแผนการพฒั นา
อยา่ งเปน็ ระบบและครบวงจร
(๒) สำ�นักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน
และส�ำ นกั งานเขตพน้ื ทก่ี ารศกึ ษา จดั ใหม้ หี ลกั สตู รและกรอบแนวทางในการพฒั นาครู
ท่เี ชือ่ มโยงกับความก้าวหน้าในวิชาชพี (Career Path)
(๓) สำ�นักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
และสำ�นักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษา ประสานความร่วมมือกับสถาบันการศึกษา
สถาบันคุรุพฒั นา หรอื หน่วยงานอื่น ๆ จัดทำ�หลักสูตรการพัฒนาครูและบคุ ลากร
ทางการศึกษาใหต้ รงตามความตอ้ งการและความขาดแคลน
(๔) สำ�นักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน
และส�ำ นกั งานเขตพน้ื ทก่ี ารศกึ ษา สนบั สนนุ ใหค้ รแู ละบคุ ลากรทางการศกึ ษาวางแผน
และเข้ารับการพัฒนาตามหลักสูตรที่กำ�หนดที่เช่ือมโยงความก้าวหน้าในวิชาชีพ
(Career Path)
(๕) สำ�นักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
และส�ำ นกั งานเขตพน้ื ทกี่ ารศกึ ษา สง่ เสรมิ และพฒั นาครแู ละบคุ ลากรทางการศกึ ษา
ในรูปแบบชุมชนแห่งการเรียนรู้ทางวิชาชีพ (Professional Learning
Community : PLC)

นโยบายสำ�นกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาขัน้ พื้นฐาน ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๓ 57
OBEC’S POLICY 2020

(๖) สำ�นักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน
และส�ำ นกั งานเขตพนื้ ทก่ี ารศกึ ษา สง่ เสรมิ และพฒั นาครแู ละบคุ ลากรทางการศกึ ษา
ให้มีความรู้ทักษะด้านการรู้ดิจิทัล (Digital Literacy) การสอนดิจิทัล
(Digital Pedagogy) ทกั ษะสอ่ื สารภาษาองั กฤษ ทกั ษะสอ่ื สารภาษาท่ี ๓ สอดคลอ้ ง
กบั ภารกิจและหน้าที่ของตน
(๗) สำ�นักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน
และส�ำ นกั งานเขตพน้ื ทกี่ ารศกึ ษา สง่ เสรมิ พฒั นา และยกระดบั ความรภู้ าษาองั กฤษ
ของครูที่สอนภาษาอังกฤษ โดยใช้ระดับการพัฒนาทางด้านภาษา (Common
European Framework of Reference for Languages : CEFR) ตามเกณฑ์
ทก่ี ำ�หนด
(๘) สำ�นักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน
และส�ำ นกั งานเขตพน้ื ทก่ี ารศกึ ษา สง่ เสรมิ และพฒั นาครใู หส้ ามารถออกแบบการเรยี นรู้
การจัดการเรียนรู้ให้สอดคล้องกับการวัดประเมินผลท่ีเน้นทักษะการคิดขั้นสูง
(Higher Order Thinking) ผ่านกจิ กรรมการปฏิบตั จิ ริง (Active Learning)
(๙) สำ�นักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
และส�ำ นกั งานเขตพนื้ ทกี่ ารศกึ ษา สง่ เสรมิ และพฒั นาครใู หม้ คี วามรแู้ ละทกั ษะในการ
จัดการเรียนรสู้ ำ�หรับผู้เรียนท่มี ีความแตกตา่ ง (Differentiated Instruction)
(๑๐) สำ�นักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน
และส�ำ นกั งานเขตพน้ื ทก่ี ารศกึ ษา สง่ เสรมิ และพฒั นาครใู หม้ คี วามรแู้ ละทกั ษะในการ
สร้างเคร่ืองมือการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ด้านทักษะการคิดข้ันสูง
(Higher Order Thinking)

58 นโยบายส�ำ นกั งานคณะกรรมการการศึกษาขัน้ พ้นื ฐาน ปงี บประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๓
OBEC’S POLICY 2020

(๑๑) สำ�นักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
และส�ำ นกั งานเขตพนื้ ทก่ี ารศกึ ษา สง่ เสรมิ และพฒั นาครู ใหม้ คี วามรคู้ วามสามารถ
จดั การเรยี นรู้ในโรงเรยี นขนาดเลก็ ไดอ้ ยา่ งมีประสทิ ธิภาพ
(๑๒) สำ�นักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
และส�ำ นกั งานเขตพน้ื ทก่ี ารศกึ ษา สง่ เสรมิ และพฒั นาครใู นการจดั การเรยี นรสู้ �ำ หรบั
ผู้เรียนที่มีความต้องการจำ�เป็นพิเศษ ตามศักยภาพของผู้เรียนแต่ละบุคคล
และตามสภาพและประเภทของความพิการ
(๑๓) สำ�นักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน
และส�ำ นกั งานเขตพนื้ ทกี่ ารศกึ ษา สง่ เสรมิ สนบั สนนุ ใหค้ รแู ละบคุ ลากรทางการศกึ ษา
พฒั นาตนเองผา่ นระบบ Online และแบบ Face-to-Face Training
(๑๔) สำ�นักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพื้นฐาน
และส�ำ นักงานเขตพื้นที่การศึกษา ปรบั ปรงุ ระบบตรวจสอบ ตดิ ตาม และประเมิน
ประสทิ ธภิ าพและประเมนิ ประสทิ ธผิ ล ครแู ละบคุ ลากรทางการศกึ ษา ใหส้ อดคลอ้ ง
กับความมุ่งหมาย และหลักการจัดการศึกษา ข้อกำ�หนดด้านคุณภาพ และ
แผนการศึกษาแหง่ ชาติ
(๑๕) สำ�นักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพื้นฐาน
และสำ�นักงานเขตพ้ืนที่การศึกษา นำ�เทคโนโลยีดิจิทัล (Digital Technology)
มาเป็นเคร่ืองมือในการบริหารจัดการครูและบุคลากรทางการศึกษาทั้งระบบ
ต้ังแต่การจัดทำ�ฐานข้อมูลครูและบุคลากรทางการศึกษา จนถึงการพัฒนาครู
และบุคลากรทางการศึกษา ดงั นี้

นโยบายส�ำ นักงานคณะกรรมการการศกึ ษาขั้นพ้นื ฐาน ปงี บประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๓ 59
OBEC’S POLICY 2020

๑) พัฒนารูปแบบการพัฒนาครูผ่านระบบดิจิทัล

เพ่ือใชใ้ นการพฒั นาผู้บรหิ าร ครูและบคุ ลากรทางการศึกษาทกุ ประเภททั้งระบบ
๒) พฒั นาหลกั สตู ร เนอื้ หาดจิ ทิ ลั (Digital Content)
ในสาขาทข่ี าดแคลน เช่น การพัฒนาทักษะการคดิ ขนั้ สงู การจัดการศึกษาส�ำ หรับ
ผู้เรียนทม่ี คี วามตอ้ งการจำ�เปน็ พเิ ศษ และผเู้ รยี นท่มี คี วามแตกต่าง เปน็ ต้น
๓) ส่งเสริม สนบั สนุน ใหผ้ บู้ รหิ าร ครูและบคุ ลากร
ทางการศึกษาทกุ ประเภทพฒั นาตนเองอย่างต่อเนอ่ื งผา่ นระบบดจิ ทิ ลั
๔) พัฒนาแพลตฟอร์มดิจิทัล ระบบบริหารจัดการ
ผบู้ ริหาร ครูและบุคลากรทางการศึกษาทกุ ประเภททั้งระบบ
๕) พัฒนาครูให้มีความชำ�นาญในการสอน
ภาษาองั กฤษ และภาษาคอมพิวเตอร์ (Coding)

60 นโยบายสำ�นกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาขัน้ พน้ื ฐาน ปงี บประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๓
OBEC’S POLICY 2020

นโยบายที่ ๔ ด้านการสร้างโอกาสในการเข้าถึงบริการการศึกษา
ท่ีมีคุณภาพ มีมาตรฐานและลดความเหล่ือมล้�ำ
ทางการศกึ ษา

บทน�ำ
นโยบายดา้ นการสรา้ งโอกาสในการเขา้ ถงึ บรกิ ารการศกึ ษาทมี่ คี ณุ ภาพ
มีมาตรฐานและลดความเหลื่อมล�้ำทางการศึกษา เน้นการสร้างโอกาส
ใหเ้ ดก็ วยั เรยี น และผเู้ รยี นทกุ คนเขา้ ถงึ บรกิ ารการศกึ ษาทม่ี คี ณุ ภาพ ทเี่ ปน็ มาตรฐาน
เสมอกนั ไมว่ า่ ผเู้ รยี นจะยาก ดี มี จน จะอยใู่ นพน้ื ทใ่ี ดของประเทศ อยใู่ นชมุ ชนเมอื ง
พื้นที่ห่างไกลทุรกันดาร หรือกลุ่มเป้าหมายท่ีต้องการการดูแลเป็นพิเศษ
เพื่อลดความเหล่ือมล้�ำทางการศึกษาของประเทศ โดยสนับสนุนให้สถานศึกษา
จดั การศกึ ษาเพอ่ื ใหบ้ รรลเุ ปา้ หมายโลกเพอื่ การพฒั นาอยา่ งยงั่ ยนื (Global Goals
for Sustainable Development) สร้างกลไกความรว่ มมอื ของภาคสว่ นตา่ ง ๆ
ในทกุ ระดบั ตง้ั แตร่ ะดบั องคก์ รปกครองทอ้ งถน่ิ หรอื ต�ำบล ระดบั อ�ำเภอ ระดบั จงั หวดั
ระดับภูมิภาค และส่วนกลาง สร้างมาตรฐานสถานศึกษาตามบริบทของพื้นที่
จัดสรรงบประมาณแผ่นดินเพื่อสนับสนุนให้เด็กวัยเรียนทุกคนต้ังแต่ระดับปฐมวัย
ประถมศึกษาและมัธยมศึกษาอย่างเพียงพอ และเหมาะสม สอดคล้องกับสภาพ
ขอ้ เทจ็ จรงิ โดยค�ำนงึ ถงึ ความจ�ำเปน็ ตามสภาพพน้ื ทภ่ี มู ศิ าสตร์ สภาพทางเศรษฐกจิ
และท่ีต้ังของสถานศึกษา จัดหาทุนการศึกษาเพิ่มเติมเพ่ือช่วยเหลือผู้ขาดแคลน
ทนุ ทรพั ย์ เพอื่ ลดความเหลอ่ื มลำ้� ทางการศกึ ษา จดั สรรงบประมาณและทรพั ยากร
ทางการศกึ ษาอนื่ เปน็ พเิ ศษให้เหมาะสม สอดคลอ้ งกบั ความตอ้ งการจ�ำเป็นในการ
จัดการศกึ ษาส�ำหรับผเู้ รยี นท่ีมคี วามตอ้ งการจ�ำเปน็ พิเศษ และจัดสรรงบประมาณ
เป็นค่าใช้จ่ายในการด�ำเนินการ และงบลงทุนให้สถานศึกษาตามความจ�ำเป็น
ตลอดจนน�ำเทคโนโลยีดิจิทัล (Digital Technology) มาใช้เป็นเคร่ืองมือ
ในการเรยี นรขู้ องผเู้ รยี น เพอื่ ใหผ้ เู้ รยี นสามารถใชเ้ ปน็ เครอ่ื งมอื ในการพฒั นาตนเอง

นโยบายสำ�นักงานคณะกรรมการการศึกษาขนั้ พนื้ ฐาน ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๓ 61
OBEC’S POLICY 2020

อยา่ งตอ่ เนอ่ื งตลอดชวี ติ รวมถงึ พฒั นาระบบการตดิ ตาม สนบั สนนุ และประเมนิ ผล
เพอื่ สร้างหลักประกนั สทิ ธกิ ารได้รบั การศกึ ษาทม่ี ีคณุ ภาพของประชาชน
เป้าประสงค์
๑. สถานศกึ ษาจดั การศกึ ษาเพอ่ื ใหบ้ รรลเุ ปา้ หมายโลกเพอ่ื การพฒั นา
อยา่ งยัง่ ยนื (Global Goals for Sustainable Development)
๒. สถานศกึ ษากบั องคก์ รปกครองทอ้ งถน่ิ ภาคเอกชน และหนว่ ยงาน
ทเ่ี ก่ยี วข้องในระดบั พื้นท่ี ร่วมมือในการจัดการศกึ ษา
๓. สถานศึกษามคี ณุ ภาพ และมีมาตรฐานตามบรบิ ทของพื้นท่ี
๔. งบประมาณและทรพั ยากรทางการศกึ ษามเี พยี งพอและเหมาะสม
สอดคลอ้ งกบั สภาพขอ้ เทจ็ จรงิ โดยค�ำ นงึ ถงึ ความจ�ำ เปน็ ตามสภาพพนื้ ทภ่ี มู ศิ าสตร์
สภาพทางเศรษฐกจิ และทต่ี ัง้ ของสถานศึกษา
๕. งบประมาณเพื่อเป็นค่าใช้จ่าย และงบลงทุนแก่สถานศึกษา
อยา่ งเหมาะสมเพื่อให้สถานศึกษาบริหารงานจดั การศกึ ษาอยา่ งมีประสทิ ธภิ าพ
๖. นำ�เทคโนโลยีดิจิทัล (Digital Technology) มาเป็นเครื่องมือ
ให้ผู้เรียนไดม้ ีโอกาสเขา้ ถงึ บรกิ ารดา้ นการศกึ ษาไดอ้ ย่างมีประสิทธภิ าพ
๗. พัฒนาระบบการติดตาม สนับสนุนและประเมินผลเพ่ือสร้าง
หลกั ประกนั สทิ ธกิ ารไดร้ บั การศกึ ษาที่มีคุณภาพของประชาชน
ตวั ชีว้ ดั
๑. ผู้เรียนทุกคนสามารถเข้าเรียนในสถานศึกษาที่มีคุณภาพ
เปน็ มาตรฐานเสมอกนั
๒. ผู้เรียนทุกคนได้รับจัดสรรงบประมาณอุดหนุนอย่างเพียงพอ
และเหมาะสม สอดคล้องกับสภาพข้อเท็จจริง โดยคำ�นึงถึงความจำ�เป็น
ตามสภาพพ้ืนที่ภูมิศาสตร์ สภาพทางเศรษฐกิจ และที่ตั้งของสถานศึกษา
และความต้องการจำ�เป็นพิเศษส�ำ หรับผู้พกิ าร

62 นโยบายส�ำ นกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาข้นั พ้ืนฐาน ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๓
OBEC’S POLICY 2020

๓. ผู้เรียนได้รับการสนับสนุน วัสดุ อุปกรณ์ และอุปกรณ์ดิจิทัล
(Digital Device) เพอ่ื ใชเ้ ป็นเครื่องมือในการเรียนรูอ้ ย่างเหมาะสม เพียงพอ
๔. ครูได้รับการสนับสนุน วัสดุ อุปกรณ์ และอุปกรณ์ดิจิทัล
(Digital Device) เพือ่ ใชเ้ ป็นเครื่องมือในการจัดกิจกรรมการเรยี นรใู้ ห้แกผ่ เู้ รียน
๕. สถานศึกษาได้รับการพัฒนาให้มีมาตรฐานอย่างเหมาะสม
ตามบริบท ด้านประเภท ขนาด และพน้ื ที่
๖. สถานศึกษานำ�เทคโนโลยีดิจิทัล (Digital Technology) มาใช้
เปน็ เครื่องมอื ในการจดั กิจกรรมการเรยี นร้ใู ห้แก่ผู้เรียนไดอ้ ยา่ งมปี ระสทิ ธิภาพ
๗. สถานศึกษามีระบบการดูแลช่วยเหลือและคุ้มครองนักเรียน
และการแนะแนวทีม่ ีประสทิ ธิภาพ
๘. สถานศึกษาที่มีระบบฐานข้อมูลประชากรวัยเรียนและสามารถ
นำ�มาใช้ในการวางแผนจดั การเรยี นรใู้ ห้แก่ผู้เรยี นไดอ้ ย่างมีประสิทธิภาพ
มาตรการและแนวทางการดำ�เนินการ
๑. สรา้ งความรว่ มมอื กบั องคก์ รปกครองระดบั ทอ้ งถนิ่ ภาคเอกชน
หน่วยงานทีเ่ กีย่ วข้องในการจดั การศึกษาใหส้ อดคลอ้ งกบั บรบิ ทของพน้ื ท่ี
โดยมแี นวทางการด�ำ เนินการ ดังน้ี
๑.๑ สำ�นักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
และส�ำ นกั งานเขตพน้ื ทก่ี ารศึกษา
(๑) ส่งเสริม สนับสนุนให้มีความร่วมมือกับองค์กร
ปกครองระดับท้องถิ่น ภาคเอกชน หน่วยงานที่เกี่ยวข้องในการจัดการศึกษา
ใหส้ อดคล้องกับบรบิ ทของพ้ืนท่ี ตลอดจนการก�ำ กบั ตดิ ตาม และประเมินผล
(๒) จัดท�ำ ฐานข้อมูลประชากรวัยเรยี น เพอ่ื เกบ็ รวบรวม
เช่อื มโยงขอ้ มลู ศึกษา วเิ คราะห์ เพ่อื วางแผนการจัดบริการการเรียนรู้ใหแ้ กผ่ ู้เรยี น

นโยบายส�ำ นกั งานคณะกรรมการการศึกษาขน้ั พ้นื ฐาน ปงี บประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๓ 63
OBEC’S POLICY 2020

๑.๒ สถานศึกษา
(๑) ร่วมกับองค์กรปกครองระดับพื้นที่ หน่วยงาน
ที่เกี่ยวข้อง และภาคเอกชน วางแผนการจัดการศึกษาให้สอดคล้องเหมาะสมกับ
บริบทของพน้ื ทีร่ ับผดิ ชอบ
(๒) รว่ มมอื กบั องคก์ รปกครองสว่ นทอ้ งถนิ่ ชมุ ชน เอกชน
และหน่วยงานที่เก่ียวข้องระดับพื้นที่ จัดทำ�แผนการรับนักเรียนทุกระดับ
ต้งั แตร่ ะดบั ปฐมวยั ประถมศกึ ษา และมธั ยมศกึ ษา
(๓) ร่วมกับองค์กรปกครองระดับพื้นท่ี จัดทำ�สำ�มะโน
ประชากรวัยเรียน (อายุ ๐ - ๖ ป)ี เพ่อื ใชใ้ นการวางแผนการจดั การศกึ ษา
(๔) รว่ มกบั องคก์ รปกครองระดบั พนื้ ที่ ตดิ ตาม ตรวจสอบ
เด็กวยั เรียนได้เขา้ ถงึ บริการการเรียนรไู้ ด้อย่างท่ัวถงึ ครบถ้วน
(๕) ร่วมมือกับองค์กรปกครองระดับพ้ืนที่ ชุมชน
ภาคเอกชน และทุกภาคส่วนบริหารจัดการทรัพยากรในชุมชนให้สามารถ
ใช้ร่วมกับได้อย่างมปี ระสิทธภิ าพ
(๖) ร่วมมือกับองค์กรปกครองระดับพ้ืนท่ี จัดอาหาร
กลางวัน อาหารเสริม (นม) ใหผ้ ูเ้ รยี นอย่างเพียงพอ มีคณุ ภาพ
(๗) ร่วมมือกับองค์กรปกครองระดับพ้ืนท่ี สนับสนุนให้
ผูเ้ รียนที่อยหู่ า่ งไกล ได้เดินทางไปเรยี นอย่างปลอดภยั ทงั้ ไปและกลับ
๒. การยกระดับสถานศึกษาในสังกัดทุกระดับและทุกประเภท
ใหม้ ีคุณภาพ และมาตรฐานตามบริบทของพ้นื ที่
โดยมแี นวทางการด�ำ เนนิ การ ดังนี้
(๑) ส�ำ นกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาขนั้ พน้ื ฐาน และส�ำ นกั งาน
เขตพ้ืนที่การศึกษา จัดทำ�มาตรฐานสถานศึกษาให้มีคุณภาพในด้านต่าง ๆ

64 นโยบายส�ำ นกั งานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพน้ื ฐาน ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๓
OBEC’S POLICY 2020

เชน่ ๑) มาตรฐานด้านโครงสรา้ งพ้นื ฐานและสงิ่ อ�ำ นวยความสะดวก ๒) มาตรฐาน
ด้านครูและบุคลากรทางการศึกษา ๓) มาตรฐานด้านระบบความปลอดภัย
ของสถานศึกษา ๔) มาตรฐานด้านเทคโนโลยดี ิจทิ ลั Digital Technology เป็นตน้
การกำ�หนดมาตรฐานสถานศึกษาด้านต่าง ๆ ดังกล่าวให้พิจารณาตามบริบท
ของสภาพทางภูมศิ าสตร์ ประเภท และขนาดของสถานศกึ ษา เป็นส�ำ คัญ
(๒) ส�ำ นกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาขนั้ พน้ื ฐาน และส�ำ นกั งาน
เขตพ้ืนท่ีการศึกษา ส่งเสริม สนับสนุน พัฒนาสถานศึกษาระดับตำ�บล ระดับ
อ�ำ เภอ ระดับจงั หวัด โรงเรียนขนาดเล็ก และสถานศึกษาประเภทอน่ื ใหม้ ีคุณภาพ
และตามมาตรฐานทก่ี �ำ หนด โดยเนน้ สถานศกึ ษาระดบั ต�ำ บล โรงเรยี นขนาดเลก็ ในพน้ื ท่ี
ห่างไกล และโรงเรียนขนาดเลก็ ตามโครงการพเิ ศษ
(๓) ส�ำ นกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาขน้ั พน้ื ฐาน และส�ำ นกั งาน
เขตพน้ื ทก่ี ารศกึ ษา สง่ เสรมิ สนบั สนนุ ส�ำ นกั งานเขตพน้ื ทกี่ ารศกึ ษา ในการ ตดิ ตาม
ตรวจสอบ ประเมนิ สถานศกึ ษาในทุกมติ ิ
๓. จัดสรรงบประมาณสนับสนุนผู้เรียนทุกกลุ่ม และสถานศึกษา
ทกุ ประเภท อยา่ งเหมาะสม และเพียงพอ
เป็นมาตรการเพื่อการลดความเหลื่อมล�้ำ และสร้างโอกาส
ใหผ้ เู้ รยี นเขา้ ถงึ การบรกิ ารการศกึ ษาทม่ี คี ณุ ภาพ โดยการจดั สรรงบประมาณแผน่ ดนิ
เพ่ือให้เด็กวัยเรียนทุกคนตั้งแต่ระดับปฐมวัย ประถมศึกษา และมัธยมศึกษา
อยา่ งเพยี งพอ และเหมาะสม สอดคลอ้ งกบั สภาพขอ้ เทจ็ จรงิ โดยค�ำนงึ ถงึ ความจ�ำเปน็
ตามสภาพพนื้ ทภี่ มู ศิ าสตร์ สภาพทางเศรษฐกจิ และทตี่ ง้ั ของสถานศกึ ษา จดั หาทนุ
การศึกษาเพิ่มเติม เพ่ือช่วยเหลือผู้ขาดแคลนทุนทรัพย์ จัดสรรงบประมาณและ
ทรัพยากรทางการศึกษาอ่ืนเป็นพิเศษให้เหมาะสมสอดคล้องกับความต้องการ
จ�ำเป็นในการจัดการศึกษาส�ำหรับผู้เรียนที่มีความต้องการจ�ำเป็นพิเศษ
และจดั สรรงบประมาณเปน็ คา่ ใชจ้ า่ ยในการด�ำเนนิ การ และงบลงทนุ ใหส้ ถานศกึ ษา

อย่างเหมาะสม และเพยี งพอ

นโยบายสำ�นักงานคณะกรรมการการศกึ ษาข้ันพืน้ ฐาน ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๓ 65
OBEC’S POLICY 2020

โดยมแี นวทางการด�ำ เนนิ การ ดังนี้
(๑) ส�ำ นกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาขน้ั พน้ื ฐาน และส�ำ นกั งาน
เขตพ้ืนท่ีการศึกษา ศึกษา วิเคราะห์ ความเหมาะสมของงบประมาณ
ในการสนับสนุนให้กับผู้เรียน และสถานศึกษา อย่างเหมาะสม และเพียงพอ
สอดคล้องกบั สถานภาพและพ้ืนท่ี
(๒) ส�ำ นกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาขนั้ พนื้ ฐาน และส�ำ นกั งาน
เขตพ้ืนที่การศึกษา ส่งเสริม สนับสนุนให้สถานศึกษาจัดทำ�แผนงบประมาณ
การศึกษาอย่างอิสระ โดยรับฟังความคิดเห็นของผู้เกี่ยวข้องในพ้ืนท่ีประกอบการ
จดั ท�ำ แผนงบประมาณกอ่ นเสนอหนว่ ยงานตน้ สังกดั
(๓) ส�ำนกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาขนั้ พน้ื ฐาน และส�ำนกั งาน
เขตพนื้ ทก่ี ารศกึ ษา ประสานความรว่ มมอื กบั กองทนุ ความเสมอภาคทางการศกึ ษา
เพอื่ จดั สรรงบประมาณใหเ้ ดก็ วยั เรยี นกลมุ่ ขาดแคลนทนุ ทรพั ย์ เพอ่ื ลดความเหลอ่ื มลำ้�
ทางการศึกษา
(๔) ส�ำ นกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาขน้ั พนื้ ฐาน และส�ำ นกั งาน
เขตพื้นท่ีการศึกษา ส่งเสริม สนับสนุน กระบวนการจัดทำ�แผนงบประมาณ
และติดตาม กำ�กับการใช้จ่ายงบประมาณของสถานศึกษาให้มีประสิทธิภาพ
และมีความโปรง่ ใส
๔. การประยุกต์ใช้เทคโนโลยีดิจิทัล (Digital Technology)
เป็นเครื่องมือในการพฒั นาคณุ ภาพของผู้เรยี น
โดยมแี นวทางการดำ�เนนิ การ ดังน้ี
(๑) ส�ำ นกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาขน้ั พนื้ ฐาน และส�ำ นกั งาน
เขตพ้ืนท่ีการศึกษา ส่งเสริม สนับสนุนให้สถานศึกษามีระบบโครงข่ายส่ือสาร
โทรคมนาคมท่ีมีประสทิ ธิภาพ และมคี วามปลอดภยั สงู

66 นโยบายส�ำ นกั งานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ปงี บประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๓
OBEC’S POLICY 2020

(๒) ส�ำ นกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาขนั้ พนื้ ฐาน และส�ำ นกั งาน
เขตพื้นท่ีการศึกษา ส่งเสริม สนับสนุน ให้สถานศึกษามีระบบคอมพิวเตอร์
และอปุ กรณท์ ใ่ี ชเ้ ปน็ เครอ่ื งมอื ในการพฒั นาทกั ษะดา้ นการรดู้ จิ ทิ ลั (Digital Literacy)
แกผ่ เู้ รยี น
(๓) ส�ำ นกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาขนั้ พน้ื ฐาน และส�ำ นกั งาน
เขตพ้ืนที่การศึกษา ส่งเสริม สนับสนุน ให้สถานศึกษาปรับปรุงพัฒนาห้องเรียน
ให้เป็นห้องเรียนที่ประยุกต์ใช้เทคโนโลยีดิจิทัล (Digital Technology)
ในการจดั การเรยี นรแู้ กผ่ เู้ รยี น
(๔) สำ � นั ก ง า น ค ณ ะ ก ร ร ม ก า ร ก า ร ศึ ก ษ า ขั้ น พื้ น ฐ า น
และส�ำ นกั งานเขตพนื้ ทก่ี ารศกึ ษา สง่ เสรมิ สนบั สนนุ อปุ กรณด์ จิ ทิ ลั (Digital Device)
ส�ำ หรบั ผเู้ รยี นทกุ ระดบั ตง้ั แตร่ ะดบั ปฐมวยั ประถมศกึ ษา และมธั ยมศกึ ษาอยา่ งเหมาะสม
เพ่ือเป็นเคร่ืองมือในการพัฒนาการเรียนรู้ของตนเองนำ�ไปสู่การสร้างการเรียนรู้
อย่างต่อเนื่องตลอดชีวติ
(๕) สำ � นั ก ง า น ค ณ ะ ก ร ร ม ก า ร ก า ร ศึ ก ษ า ข้ั น พื้ น ฐ า น
และส�ำ นกั งานเขตพน้ื ทก่ี ารศกึ ษา สง่ เสรมิ สนบั สนนุ อปุ กรณด์ จิ ทิ ลั (Digital Device)
และพัฒนาการสอนทักษะดิจิทลั (Digital Pedagogy) ส�ำ หรบั ครูอย่างเหมาะสม
เพื่อเป็นเคร่ืองมือในการจัดกระบวนการเรียนรู้ เพ่ือพัฒนาผู้เรียนได้อย่างมี
ประสิทธิภาพ
(๖) ส�ำ นกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาขนั้ พนื้ ฐาน และส�ำ นกั งาน
เขตพนื้ ทก่ี ารศกึ ษา สง่ เสรมิ สนบั สนนุ ใหส้ ถานศกึ ษาใชเ้ ทคโนโลยกี ารเรยี นการสอน
ทางไกล เพือ่ พัฒนาคณุ ภาพผูเ้ รียน (Distance Learning Technology : DLT)

นโยบายสำ�นักงานคณะกรรมการการศึกษาขัน้ พน้ื ฐาน ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๓ 67
OBEC’S POLICY 2020

นโยบายท่ี ๕ ดา้ นการจดั การศึกษาเพอื่ พัฒนาคุณภาพชวี ิต
ทเี่ ปน็ มิตรกบั สิง่ แวดลอ้ ม

บทน�ำ
นโยบายด้านการจัดการศึกษาเพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิตที่เป็นมิตร
กับสิ่งแวดล้อมได้น้อมนำ�ศาสตร์ของพระราชาสู่การพัฒนาที่ย่ังยืน โดยยึดหลัก
๓ ประการ คอื “มคี วามพอประมาณ มเี หตผุ ล มภี มู คิ มุ้ กนั ” มาเปน็ หลกั ในการจดั ท�ำ
ยทุ ธศาสตรช์ าตคิ วบคกู่ บั การน�ำ เปา้ หมายของการพฒั นาทยี่ ง่ั ยนื ทง้ั ๑๗ เปา้ หมาย
มาเป็นกรอบแนวคิดที่จะผลักดันดำ�เนินการเพ่ือนำ�ไปสู่การบรรลุเป้าหมาย
การพฒั นาท่ยี ง่ั ยืนในทกุ มติ ิ ทงั้ มติ ิดา้ นสงั คม เศรษฐกิจ สิ่งแวดลอ้ ม ธรรมาภบิ าล
และความเป็นหุ้นส่วนความร่วมมือ ระหว่างกันท้ังภายในและภายนอกประเทศ
อย่างบูรณาการ โดยมีวิสัยทัศน์เพ่ือให้ประเทศไทย “เป็นประเทศพัฒนาแล้ว
มคี ุณภาพชวี ติ และสงิ่ แวดลอ้ มท่ดี ีทีส่ ุดในอาเซยี นภายในปี พ.ศ. ๒๕๘๐”
ดังนัน้ นโยบายด้านการจดั การศกึ ษาขั้นพื้นฐานเพอ่ื รองรับวสิ ัยทัศน์
ดงั กลา่ ว จงึ ไดน้ อ้ มน�ำ ศาสตรพ์ ระราชา หลกั ปรชั ญาเศรษฐกจิ พอเพยี ง และเปา้ หมาย
ของการพัฒนาที่ย่ังยืนท้ัง ๑๗ เป้าหมาย มาเป็นหลักในการปรับปรุงหลักสูตร
การจดั กจิ กรรมการเรยี นรู้ และการจดั สภาพแวดลอ้ มของสถานศกึ ษา ใหส้ อดคลอ้ ง
กับหลักการดังกล่าว บนพื้นฐานความเชื่อในการเติบโตร่วมกัน ไม่ว่าจะเป็น
ทางเศรษฐกจิ สง่ิ แวดลอ้ ม และคณุ ภาพชวี ติ โดยใหค้ วามส�ำ คญั กบั การสรา้ งสมดลุ
ท้งั ๓ ดา้ น ไมใ่ ห้มากหรือน้อยจนเกินไป อันจะนำ�ไปส่คู วามยงั่ ยืนเพอ่ื คนรนุ่ ตอ่ ไป
อย่างแท้จริง
เป้าประสงค์
๑. สถานศึกษา นักเรียนได้รับการส่งเสริมด้านความรู้ การสร้าง
จติ ส�ำ นึกดา้ นการผลิตและบรโิ ภคท่ีเปน็ มิตรกบั สง่ิ แวดล้อม

68 นโยบายสำ�นกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาข้นั พน้ื ฐาน ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๓
OBEC’S POLICY 2020

๒. สถานศึกษาสามารถนำ�เทคโนโลยีมาจัดทำ�ระบบสารสนเทศ
การเก็บข้อมูลด้านความรู้ เร่ือง ฉลากสีเขียวเพื่อส่ิงแวดล้อม ฯลฯ และสามารถ
นำ�มาประยุกตใ์ ช้ในทกุ โรงเรียน ตามแนวทาง Thailand 4.0
๓. สถานศึกษามีการจัดทำ�นโยบายจัดซ้ือจัดจ้างท่ีเป็นมิตร
กบั ส่ิงแวดล้อม
๔. สถานศึกษามีการบูรณาการหลักสูตร กิจกรรมเรื่องวงจรชีวิต
ของผลิตภัณฑ์ การผลิตและบริโภค สู่การลดปริมาณคาร์บอนในโรงเรียน
คารบ์ อนต่�ำสู่ชมุ ชนคาร์บอนตำ่�
๕. สำ�นักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพื้นฐาน และสำ�นักงาน
เขตพื้นท่ีการศึกษา โรงเรียน ทุกโรงเรียนในสังกัดมีการปรับปรุงและพัฒนา
เป็นหน่วยงานต้นแบบสำ�นักงานสีเขียว (Green Office) เพื่อให้มีบริบทที่เป็น
แบบอย่างเอื้อหรอื สนบั สนุนการเรยี นรขู้ องนกั เรียนและชุมชน
๖. สถานศกึ ษาในสงั กดั ส�ำ นกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาขน้ั พน้ื ฐาน
จาก ๒๒๕ เขต มีนโยบายส่งเสริมความรู้และสร้างจิตสำ�นึกและจัดการเรียนรู้
การผลติ และบรโิ ภคที่เป็นมติ รกบั สงิ่ แวดลอ้ ม
๗. สถานศึกษาต้นแบบนำ�ขยะมาใช้ประโยชน์เพื่อลดปริมาณขยะ
จ�ำ นวน ๑๕,๐๐๐ โรงเรยี น
๘. มีสถานศึกษานวัตกรรมต้นแบบในการนำ� 3RS มาประยุกต์ใช้
ในการผลิตและบริโภคทีเ่ ปน็ มติ รกบั ส่งิ แวดลอ้ ม จ�ำ นวน ๖,๐๐๐ โรงเรียน
๙. สำ�นักงานเขตพื้นท่ีการศึกษา ๒๒๕ เขต มีการทำ�นโยบาย
การจัดซือ้ จัดจา้ งทเี่ ปน็ มติ รกบั สิง่ แวดล้อม

นโยบายส�ำ นกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาขั้นพ้ืนฐาน ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๓ 69
OBEC’S POLICY 2020

ตวั ช้วี ดั
๑. สถานศกึ ษาในสงั กดั มนี โยบายและจดั กจิ กรรมใหค้ วามรู้ ทถ่ี กู ตอ้ ง
และสร้างจิตสำ�นึกด้านการผลิตและบริโภคท่ีเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมนำ�ไปปฏิบัติ
ใชท้ บ่ี า้ นและชมุ ชนเชน่ การสง่ เสรมิ อาชพี ทเ่ี ปน็ มติ รกบั สง่ิ แวดลอ้ มการลดใชส้ ารเคมี
จากป๋ยุ และยาฆา่ แมลง
๒. สถานศึกษามีการนำ�ขยะมาใช้ประโยชน์ในรูปผลิตภัณฑ์
และพลงั งานเพอ่ื ลดปรมิ าณขยะและมสี ง่ เสรมิ การคดั แยกขยะในชมุ ชนเพอ่ื ลดปรมิ าณ
คารบ์ อนทโ่ี รงเรยี นและชมุ ชน
๓. สถานศึกษามีการบูรณาการเรื่องการจัดการขยะแบบมีส่วนร่วม
และการน�ำ ขยะมาใชป้ ระโยชน์ รวมทัง้ สอดแทรกในสาระการเรยี นรู้ท่ีเก่ยี วขอ้ ง
๔. นักเรียน เรียนรู้จากแหล่งเรียนรู้ มีการขยายผลแหล่งเรียนรู้
นักเรียน โรงเรียน ชุมชน เรียนรู้ด้านการลดใช้พลังงาน การจัดการขยะและ
อนรุ ักษ์สงิ่ แวดลอ้ มเพื่อเปน็ แหล่งเรยี นรู้ และตัวอย่างรูปแบบผลติ ภณั ฑ์ทเี่ ป็นมติ ร
กบั ส่ิงแวดล้อม เช่น โรงงานอตุ สาหกรรมสเี ขยี ว
๕. นกั เรยี น สถานศกึ ษามกี ารเกบ็ ขอ้ มลู เปรยี บเทยี บการลดปรมิ าณ
คาร์บอนไดออกไซด์ ในการดำ�เนินกิจกรรมประจำ�วันในสถานศึกษาและที่บ้าน
และขอ้ มลู ของ Carbon Footprint ในรปู แบบ QR CODE และ Paper less
๖. ครู มีความคิดสร้างสรรค์ สามารถพัฒนาส่ือนวัตกรรม
และดำ�เนินการจัดทำ�งานวิจัยด้านการสร้างสำ�นึกด้านการผลิตและบริโภค
ที่เป็นมิตรกบั ส่ิงแวดล้อมได้
๗. ครู และนักเรียนสามารถนำ�สอื่ นวตั กรรมทผี่ า่ นกระบวนการคดิ
มาประยุกต์ใช้ในโรงเรียนการจัดการเรียนรู้ และประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำ�วัน
และชมุ ชนไดต้ ามแนวทาง Thailand 4.0
๘. สำ�นักงานเขตพื้นที่การศึกษา สถานศึกษามีการปรับปรุง
พัฒนาบุคลากร และสถานท่ีให้เป็นสำ�นักงานสีเขียวต้นแบบมีนโยบายการจัดซื้อ
จดั จ้างทเ่ี ป็นมิตรกบั ส่งิ แวดล้อมทีเ่ อ้ือตอ่ การเรียนรขู้ องนักเรียนและชุมชน

70 นโยบายสำ�นกั งานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพื้นฐาน ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๓
OBEC’S POLICY 2020

มาตรการและแนวทางการดำ�เนนิ การ
๑. จัดทำ� Road Map และแผนปฏิบัติการเพื่อจัดแนวทาง
การด�ำ เนนิ การใหอ้ งคค์ วามรแู้ ละสรา้ งจติ ส�ำ นกึ ดา้ นการผลติ และบรโิ ภคทเ่ี ปน็ มติ ร
กบั สงิ่ แวดลอ้ ม
๒. จัดทำ�คู่มือและพัฒนาส่ือนวัตกรรมในรูปแบบ QR CODE
และสื่อระบบ Multimedia และอืน่ ๆ
๓. จัดท�ำเกณฑ์การประกวดโรงเรียนคาร์บอนต�่ำและชุมชน
คาร์บอนต�่ำและพัฒนาวิทยากรให้ความรู้เร่ืองวงจรชีวิตของผลิตภัณฑ์ (LCA)
สสู่ ังคมคาร์บอนต�่ำ
๔. พฒั นา วเิ คราะห์ แผนการจดั การเรยี นและจดั ท�ำ หนว่ ยการเรยี นรู้
ใ น เ รื่ อ ง ก า ร ผ ลิ ต แ ล ะ บ ริ โ ภ ค ท่ี เ ป็ น กั บ สิ่ ง แ ว ด ล้ อ ม ต่ อ ก า ร เ ป ล่ี ย น แ ป ล ง
สภาพภมู อิ ากาศตงั้ แตร่ ะดบั ปฐมวยั จนถงึ ระดบั มธั ยมศกึ ษา และพฒั นาระบบขอ้ มลู
สารสนเทศการเก็บข้อมูลการลดก๊าซท่ีมีผลต่อปรากฏการณ์ภาวะเรือนกระจก
เช่น คาร์บอนไดออกไซด์ ในรูปแบบการเปรียบเทียบและการลดการปล่อย
คาร์บอนไดออกไซด์ ในการดำ�เนินชีวิตประจำ�วัน Carbon emission/Carbon
Footprint ในสถานศกึ ษาสู่ชุมชน
๕. จดั จา้ งผเู้ ชยี่ วชาญในการจดั ท�ำ Road Map เปน็ ทปี่ รกึ ษาในการ
ด�ำเนินการตามแผนปฏบิ ัติการโรงเรียนคารบ์ อนต�่ำสู่ชุมชนคารบ์ อนต่ำ�
๖. พัฒนาต่อยอดและขยายผลศูนย์การเรียนรู้ลดใช้พลังงาน
การจดั การขยะ และอนุรักษส์ ิง่ แวดล้อมใน ๖ ศนู ย์ ๔ ภมู ภิ าค
๗. พัฒนาเคร่ืองมือ และกระบวนการให้ความรู้และแนวทาง
การจัดการเรียนรู้ กิจกรรม เรื่อง การผลิตและบริโภคท่ีเป็นมิตรกับส่ิงแวดล้อม
ใน ๖ ภมู ภิ าค

นโยบายสำ�นกั งานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๓ 71
OBEC’S POLICY 2020

๘. จดั สรรงบประมาณด�ำ เนนิ การตาม Road map และแผนปฏบิ ตั กิ าร
๒๕๕ เขต เพือ่ ดำ�เนนิ การต่อยอดขยายความรแู้ ละสร้างเครือขา่ ยโรงเรียน ชุมชน
และเช่ือมต่อหน่วยงานทง้ั ภาครัฐและเอกชน
๙. สนับสนุน ส่งเสริม พัฒนากระบวนการรณรงค์ให้มีการจัดซื้อ
จัดจ้างที่เป็นมิตรกับส่ิงแวดล้อมและยกระดับสำ�นักงานเขตพ้ืนการศึกษา
ท่ีต้นแบบ ๒๒๕ เขต และสถานศึกษาด้านการบริหารจัดการสำ�นักงานสีเขียว
และสถานศกึ ษาท่ีเป็นมิตรกับส่ิงแวดล้อม (Green Office)
๑๐. พัฒนา ยกระดับสถานศึกษานำ�ร่องขยายผล ส่งสถานศึกษา
ต้นแบบ ด้านการพัฒนา ด้านการผลิต และบริโภค ที่เป็นมิตรกับส่ิงแวดล้อม
ทง้ั ระบบ เชน่ การเลอื กซอื้ ผลติ ภณั ฑเ์ บอร์ ๕ และผลติ ภณั ฑท์ ม่ี ฉี ลากและสญั ลกั ษณ์
เบอร์ ๕ เพ่ือลดการใช้ทรัพยากรธรรมชาติและลดปริมาณขยะในสำ�นักงาน
และสถานศึกษา
๑๑. สง่ เสริมการพฒั นาส่ือนวัตกรรม และบรู ณาการสาระการเรยี นรู้
และแผนการจัดการเรียนรู้เร่ืองการผลิตและบริโภคท่ีเป็นมิตรกับส่ิงแวดล้อม
ต่อการเปล่ียนแปลงภูมิอากาศ

72 นโยบายส�ำ นกั งานคณะกรรมการการศึกษาขัน้ พ้ืนฐาน ปงี บประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๓
OBEC’S POLICY 2020

๑๒. ขยายผลผ่านระบบ DLTV ส่งเสริมความรู้เรื่อง การผลิตและ
บริโภคท่ีเป็นมิตรกับส่ิงแวดล้อมต่อความปลอดภัย และสุขภาพที่ดีสู่สังคมเมือง
เชิงนิเวศและการจัดการมลพิษและส่ิงแวดล้อมที่ดีและการเลือกผลิตภัณฑ์
บรรจุภัณฑ์ที่เป็นมิตรกับส่ิงแวดล้อมและฉลากท่ีแสดงสัญลักษณ์ที่เป็นมิตร
กับสิง่ แวดล้อม
๑๓. พฒั นานวตั กรรมโดยใช้กระบวนการ BBL/PLC และ Decision
- Making การน�ำขยะมาใช้ประโยชน์ในรูปแบบผลิตภัณฑ์และพลังงาน
และลดปรมิ าณขยะ การบ�ำบดั นำ�้ เสยี ลดการเผาและลดใชส้ ารเคมี สโู่ รงเรยี นปลอดภยั
และเป็นมติ รกบั สง่ิ แวดลอ้ ม
๑๔. ขยายผลจากโรงเรยี นคารบ์ อนตำ่� สชู่ มุ ชนเชงิ นเิ วศและการจดั การ
มลพิษและสิ่งแวดล้อมดี Green City ด้านพลังงาน การจัดการขยะและน�้ำเสีย
ชุมชนผลิตและบริโภคที่เป็นมติ รกบั ส่งิ แวดล้อม
๑๕. สง่ เสริม สนบั สนุน และพัฒนาให้นักเรยี น สถานศึกษาไดศ้ ึกษา
เรยี นรจู้ ากแหลง่ เรยี นรโู้ รงงานอตุ สาหกรรม การผลติ ทเี่ ปน็ มติ รกบั สง่ิ แวดลอ้ ม ชมุ ชน
เมอื งนเิ วศ และหนว่ ยงานสง่ เสรมิ การบรโิ ภคทเี่ ปน็ มติ รกบั สง่ิ แวดลอ้ มเพอื่ น�ำ ความรู้
มาประยกุ ตใ์ ช้และจดั ท�ำ โครงงานด้านการอนรุ ักษส์ ง่ิ แวดล้อม

นโยบายสำ�นักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๓ 73
OBEC’S POLICY 2020

๑๖. สง่ เสรมิ แนวทางการจดั การเรยี นรอู้ าชพี ทเี่ ปน็ มติ รกบั สง่ิ แวดลอ้ ม
ในสถานศกึ ษา จัดคา่ ยเยาวชนวัยซนลดคาร์บอนเพ่ือโลก ประกวดชุมชนตน้ แบบ
ท่ีน�ำความรู้จากโรงเรียนต่อยอดสู่ชุมชนนิเวศ ปลอดขยะ ปลอดสารพิษเป็นมิตร
กับสงิ่ แวดล้อม อยา่ งนอ้ ย ๒,๐๐๐ ชมุ ชน
๑๗. จัดท�ำระบบนิเทศ ติดตามผลการด�ำเนินงานในสถานศึกษา
ทั้งในระบบออนไลน์และนิเทศเชิงคุณภาพพัฒนาการกรอกข้อมูลระบบการนิเทศ
ติดตาม แลกเปล่ียนน�ำเสนอผลงาน และมอบรางวัลเกียรติยศ ประชาสัมพันธ์
และจัดพมิ พ์ เว็บไซต์ ผลงานเพอ่ื เผยแพรแ่ ละเปน็ ต้นแบบ สรปุ ผลรายงาน

74 นโยบายสำ�นักงานคณะกรรมการการศกึ ษาขั้นพืน้ ฐาน ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๓
OBEC’S POLICY 2020

นโยบายท่ี ๖ ด้านการปรับสมดลุ และพัฒนาระบบการบรหิ าร
จัดการศึกษา

บทน�ำ
นโยบายดา้ นการปรบั สมดลุ และพฒั นาระบบการบรหิ ารจดั การศกึ ษา
เป็นนโยบายจุดเน้นท่ีสำ�คัญ เน่ืองจากเป็นนโยบายท่ีกระจายอำ�นาจการจัดการ
ศึกษาให้สถานศึกษา หรือกลุ่มสถานศึกษา มีความเป็นอิสระในการบริหาร
และจดั การศกึ ษา ครอบคลมุ ทง้ั ดา้ นการบรหิ ารงานวชิ าการ ดา้ นการบรหิ ารงบประมาณ
ด้านการบรหิ ารงานบุคคล และด้านการบริหารงานท่ัวไป และปรับบทบาทภารกิจ
ของหน่วยงานทั้งระดับสำ�นักงานท้ังส่วนกลาง และระดับภูมิภาค โดยปรับ
โครงสร้างของหน่วยงานทุกระดบั ตั้งแต่สถานศึกษา สำ�นักงานเขตพนื้ ทก่ี ารศกึ ษา
และสำ�นักงานส่วนกลาง ให้มีความทันสมัย พร้อมที่จะปรับตัวให้ทันต่อการ
เปลี่ยนแปลงของโลกอยู่ตลอดเวลา หน่วยงานสำ�นักงานเป็นหน่วยงานที่มีหน้าท่ี
สนับสนุน ส่งเสริม ตรวจสอบ ติดตาม เพ่ือให้สถานศึกษาสามารถจัดการศึกษา
ได้อย่างมีประสิทธิภาพ นำ�เทคโนโลยีดิจิทัล Digital Technology เช่น Cloud
Technology Big Data Technology และ Communication Technology
เป็นต้น มาใช้ในการเพิ่มประสิทธิภาพการบริหารงานท้ังระบบ มีความโปร่งใส
ตรวจสอบได้ พร้อมทั้งปลูกฝังค่านิยมความซื่อสัตย์สุจริต ความมัธยัสถ์
และเปิดโอกาสให้ทุกภาคส่วนเข้ามามีส่วนร่วมเพื่อตอบสนองความต้องการ
ของประชาชนได้อย่างสะดวก รวดเร็ว

นโยบายสำ�นกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาขัน้ พน้ื ฐาน ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๓ 75
OBEC’S POLICY 2020

เปา้ ประสงค์
๑. สถานศกึ ษา หรอื กลมุ่ สถานศกึ ษา มคี วามเปน็ อสิ ระในการบรหิ าร
และจดั การศกึ ษาครอบคลมุ ดา้ นการบรหิ ารงานวชิ าการ ดา้ นการบรหิ ารงบประมาณ
ดา้ นการบรหิ ารงานบคุ คล และดา้ นการบรหิ ารงานทั่วไป
๒. หน่วยงานส่วนกลาง และสำ�นักงานเขตพื้นท่ีการศึกษา
ต้องปรับเปลี่ยนให้เป็นหน่วยงานให้มีความทันสมัย พร้อมท่ีจะปรับตัวให้ทันต่อ
การเปลย่ี นแปลงของโลกอยตู่ ลอดเวลา เปน็ หนว่ ยงานทมี่ หี นา้ ทส่ี นบั สนนุ สง่ เสรมิ
ตรวจสอบ ตดิ ตาม เพอื่ ใหส้ ถานศกึ ษาสามารถจดั การศกึ ษาไดอ้ ยา่ งมปี ระสทิ ธภิ าพ
๓. หน่วยงานทุกระดับ มีความโปร่งใส ปลอดการทุจริต
และประพฤตมิ ชิ อบ บรหิ ารจัดการตามหลกั ธรรมาภิบาล
๔. หน่วยงานทุกระดับมีกระบวนการ และการวิธีงบประมาณ
ดา้ นการศกึ ษา เพอ่ื เพมิ่ คณุ ภาพและประสทิ ธภิ าพการจดั การศกึ ษา โดยการจดั สรร
งบประมาณตรงสู่ผเู้ รยี น
๕. หน่วยงานทุกระดับ พัฒนานวัตกรรม และเทคโนโลยีดิจิทัล
(Digital Technology) มาใช้ในการเพ่ิมประสิทธิภาพการบริหารและการจัด
การเรียนการสอนอยา่ งเป็นระบบ
ตัวชี้วัด
๑. สถานศึกษาได้รับการกระจายอำ�นาจการบริหารจัดการศึกษา
อยา่ งเปน็ อิสระ

76 นโยบายสำ�นกั งานคณะกรรมการการศึกษาขน้ั พื้นฐาน ปงี บประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๓
OBEC’S POLICY 2020

๒. สถานศกึ ษา ส�ำ นกั งานเขตพน้ื ทก่ี ารศกึ ษา และส�ำ นกั งานสว่ นกลาง
ได้รับการพัฒนาให้เป็นหน่วยงานท่ีมีความทันสมัย ยืดหยุ่น คล่องตัวสูง
พรอ้ มทจ่ี ะปรบั ตวั ใหท้ นั ตอ่ การเปลย่ี นแปลงของโลกอยตู่ ลอดเวลา เปน็ หนว่ ยงานทม่ี ี
หนา้ ทสี่ นบั สนนุ สง่ เสรมิ ตรวจสอบ ตดิ ตาม เพอื่ ใหส้ ถานศกึ ษาสามารถจดั การศกึ ษา
ได้อยา่ งมีประสิทธภิ าพครอบคลมุ ทกุ ต�ำ บล
๓. สถานศกึ ษา ส�ำ นกั งานเขตพน้ื ทก่ี ารศกึ ษา และส�ำ นกั งานสว่ นกลาง
นำ�นวัตกรรม และเทคโนโลยีดิจิทัล (Digital Technology) มาใช้ในการบริหาร
จดั การและตัดสินใจทั้งระบบ
๔. สถานศึกษา และหน่วยงานในสังกัดทุกระดับมีความโปร่งใส
ปลอดการทจุ รติ และประพฤติมิชอบ บริหารจดั การตามหลกั ธรรมาภิบาล
๕. สถานศึกษา หน่วยงานในสังกัด ทุกระดับ ผ่านการประเมิน
คุณธรรมและความโปร่งใสในการดำ�เนินงานของหน่วยงานภาครัฐ (Integrity
& Transparency Assessment : ITA)
๖. สถานศึกษาทุกแห่งและหน่วยงานในสังกัดมีระบบฐานข้อมูล
สารสนเทศวิชาการ ผู้เรียน ครู บุคลากรทางการศึกษา สถานศึกษา หน่วยงาน
ในสงั กดั
๗. สถานศึกษาทุกแห่งมีข้อมูลผู้เรียนรายบุคคลที่สามารถเชื่อมโยง
กับข้อมูลต่าง ๆ นำ�ไปสู่การวิเคราะห์เพื่อวางแผนการจัดการเรียนรู้สู่ผู้เรียน
ได้อยา่ งมีประสทิ ธภิ าพ (Big Data Technology)

นโยบายส�ำ นักงานคณะกรรมการการศกึ ษาขั้นพนื้ ฐาน ปงี บประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๓ 77
OBEC’S POLICY 2020

๘. สถานศกึ ษา ส�ำ นกั งานเขตพน้ื ทก่ี ารศกึ ษา และส�ำ นกั งานสว่ นกลาง
มีแพลตฟอร์มดิจิทัล (Digital Platform) เพ่ือสนับสนุนภารกิจด้านบริหาร
จดั การศึกษา
๙. สถานศึกษาทุกแห่งมีระบบข้อมูลสารสนเทศที่สามารถใช้
ในการวางแผนการจัดการศึกษาได้อยา่ งมปี ระสิทธภิ าพ
มาตรการและแนวทางการด�ำ เนินการ
๑. ให้สถานศึกษา หรือกลุ่มสถานศึกษามีความเป็นอิสระในการ
บรหิ ารจัดการศกึ ษา
เป็นมาตรการกระจายอำ�นาจให้สถานศึกษา หรือกลุ่ม
สถานศกึ ษามคี วามเปน็ อสิ ระในการบรหิ ารและจดั การศกึ ษาครอบคลมุ ดา้ นการบรหิ าร
งานวิชาการ ด้านการบริหารงบประมาณ ด้านการบริหารงานบุคคล และด้าน
การบริหารงานท่ัวไป โดยดำ�เนินการเป็นรายสถานศึกษาหรือกลุ่มสถานศึกษา
อาจด�ำ เนินการเปน็ รายด้านหรอื ทกุ ดา้ นได้
โดยมแี นวทางการด�ำ เนินการ ดังนี้
(๑) ส�ำ นกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาขน้ั พน้ื ฐาน และส�ำ นกั งาน
เขตพื้นที่การศึกษา ศึกษา วิเคราะห์ หลักเกณฑ์ รูปแบบ อำ�นาจ หน้าท่ี
และโครงสร้างการกำ�กบั ดูแลของสถานศึกษา หรอื กลุ่มสถานศึกษา
(๒) สำ�นักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ
สำ�นักงานเขตพื้นท่ีการศึกษา ศึกษา วิเคราะห์ อำ�นาจ หน้าท่ีและองค์ประกอบ
จ�ำ นวนกรรมการคณุ สมบตั ิหลกั เกณฑ์และวธิ กี ารสรรหาการเลอื กประธานและกรรมการ

78 นโยบายส�ำ นกั งานคณะกรรมการการศึกษาขนั้ พ้นื ฐาน ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๓
OBEC’S POLICY 2020

คณะกรรมการสถานศกึ ษาของสถานศกึ ษา หรอื ของกลมุ่ สถานศกึ ษา โดยใหค้ �ำ นงึ ถงึ
หลักธรรมาภิบาลและความเป็นอิสระของสถานศึกษาหรือกลุ่มสถานศึกษา
ให้มีความหลากหลายและความแตกต่างของสถานศึกษารวมถึงความต้องการ
และขอ้ จำ�กัดของแตล่ ะพน้ื ที่
(๓) ส�ำ นกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาขนั้ พนื้ ฐาน และส�ำ นกั งาน
เขตพ้ืนทีก่ ารศึกษา สง่ เสรมิ สนับสนนุ ใหส้ ถานศึกษา หรอื กลมุ่ สถานศกึ ษาจดั หา
เจ้าหน้าที่เพ่ือปฏิบัติหน้าที่สนับสนุนงานด้านธุรการ ด้านการเงิน การบัญชี
และพัสดุ และดา้ นบรหิ ารงานบคุ คล เพ่อื มิให้งานดงั กลา่ วเปน็ ภาระทีเ่ กนิ สมควร
แกค่ รูผปู้ ฏบิ ตั หิ น้าที่การจัดการเรียนรใู้ ห้แกผ่ ้เู รยี น
(๔) ส�ำ นกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาขนั้ พนื้ ฐาน และส�ำ นกั งาน
เขตพ้ืนที่การศึกษา ศึกษา วิเคราะห์ ปรับปรุงกฎหมาย ระเบียบ ข้อปฏิบัติ
ให้สอดคล้องกับการกระจายอำ�นาจให้สถานศึกษา หรือกลุ่มสถานศึกษา
มีความเปน็ อิสระในการบริหารและจัดการศกึ ษา
(๕) ส�ำ นกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาขน้ั พน้ื ฐาน และส�ำ นกั งาน
เขตพื้นท่ีการศึกษา จัดทำ�แผนปฏิบัติการและดำ�เนินการส่งเสริม สนับสนุน
และพัฒนาสถานศึกษาหรอื กลุม่ สถานศกึ ษา ใหม้ ีความเปน็ อสิ ระในการบรหิ ารจดั
การศึกษา
(๖) ส�ำ นกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาขนั้ พนื้ ฐาน และส�ำ นกั งาน
เขตพ้นื ทกี่ ารศึกษา สง่ เสรมิ สนับสนุน ใหโ้ รงเรยี นขนาดเลก็ มรี ะบบการบรหิ าร

นโยบายสำ�นักงานคณะกรรมการการศกึ ษาขั้นพืน้ ฐาน ปงี บประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๓ 79
OBEC’S POLICY 2020

จัดการท่ีหลากหลาย เช่น การบริหารจัดการแบบกลุ่มโรงเรียน การสอนแบบ
บูรณาการ คละชั้น เปน็ ต้น
(๗) ส�ำ นกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาขนั้ พน้ื ฐาน และส�ำ นกั งาน
เขตพืน้ ท่กี ารศึกษา ยกระดบั สถานศกึ ษาใหเ้ ปน็ แหลง่ เรียนรูต้ ลอดชวี ิตของทกุ คน
ในชุมชน เปน็ ศนู ย์กลางในการพฒั นาทักษะอาชพี และทักษะชีวิต
(๘) ส�ำ นกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาขนั้ พน้ื ฐาน และส�ำ นกั งาน
เขตพ้ืนที่การศึกษา นำ�ผลการประกันคุณภาพการศึกษามาใช้ในการวางแผน
การปฏิบัติการตรวจสอบติดตามเพ่ือการปรับปรุงพัฒนาสถานศึกษาให้มีคุณภาพ
และเป็นไปตามมาตรฐานการศึกษา
(๙) ส�ำ นกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาขน้ั พน้ื ฐาน และส�ำ นกั งาน
เขตพนื้ ทก่ี ารศกึ ษา สง่ เสรมิ สนบั สนนุ ใหม้ กี ารศกึ ษา วเิ คราะห์ ออกแบบ และพฒั นา
รูปแบบระบบการบริหารจัดการศึกษาให้สอดคล้องกับการพัฒนาให้สถานศึกษา
ใหม้ ีอสิ ระในการบรหิ ารจัดการศึกษา
(๑๐) ส�ำ นกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาขน้ั พน้ื ฐาน และส�ำ นกั งาน
เขตพนื้ ทก่ี ารศกึ ษา จดั อบรม พฒั นาผบู้ รหิ ารสถานศกึ ษาใหม้ คี ณุ สมบตั ิ สมรรถนะ
และความร้คู วามเชยี่ วชาญ ประสบการณ์ทจ่ี ำ�เป็นสำ�หรบั การปฏบิ ตั ิหนา้ ที่
(๑๑) สถานศกึ ษา หรอื กลมุ่ สถานศกึ ษาไดร้ บั การกระจายอ�ำ นาจ
ใหอ้ ยา่ งเปน็ อสิ ระในการบรหิ ารและจดั การศกึ ษาครอบคลมุ ดา้ นการบรหิ ารวชิ าการ
ด้านการบริหารงบประมาณ ด้านการบริหารงานบุคคล และด้านการบริหารงาน

80 นโยบายส�ำ นกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาข้ันพน้ื ฐาน ปงี บประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๓
OBEC’S POLICY 2020

ทั่วไป โดยดำ�เนินการเป็นรายสถานศึกษาหรือกลุ่มสถานศึกษา อาจดำ�เนินการ
เปน็ รายด้านหรือทกุ ด้านได้
(๑๒) สถานศกึ ษา หรอื กลมุ่ สถานศกึ ษา มคี ณะกรรมการสถานศกึ ษา
ของสถานศกึ ษา เพอ่ื ท�ำ หนา้ ทสี่ ง่ เสรมิ สนบั สนนุ ก�ำ กบั ดแู ลกจิ การและการประกนั
คณุ ภาพของสถานศึกษา
๒. พฒั นาสำ�นักงานส่วนกลาง และส�ำ นักงานเขตพน้ื ทก่ี ารศึกษา
เปน็ หน่วยงานมีความทันสมัยอย่างมปี ระสทิ ธิภาพ
เป็นมาตรการในการเพ่ิมประสิทธิภาพการบริหารงาน
ของส�ำ นกั งานทง้ั ระดบั ส�ำ นกั งานสว่ นกลาง และส�ำ นกั งานเขตพนื้ ทกี่ ารศกึ ษา ใหเ้ ปน็
หน่วยงานที่ทันสมัย พร้อมที่จะปรับตัวให้ทันต่อการเปลี่ยนแปลงของโลก
อยตู่ ลอดเวลา มคี วามโปรง่ ใส ปลอดการทจุ รติ และประพฤตมิ ชิ อบ บรหิ ารจดั การ
ตามหลกั ธรรมาภบิ าล เปน็ หนว่ ยงานทมี่ หี นา้ ทส่ี นบั สนนุ สง่ เสรมิ ตรวจสอบ ตดิ ตาม
เพื่อให้สถานศึกษาสามารถจดั การศึกษาได้อยา่ งมีประสทิ ธิภาพ
โดยมีแนวทางการด�ำ เนนิ การ ดังนี้
(๑) ศึกษา วเิ คราะห์ ปรับปรงุ และพฒั นาสำ�นกั งานส่วนกลาง
และสำ�นกั งานเขตพนื้ ทกี่ ารศึกษา ให้เปน็ หน่วยงานท่ที ันสมยั มหี นา้ ที่ สนับสนุน
กำ�กับ ติดตาม ตรวจสอบ และประเมินผล สถานศึกษา เพื่อการบริหารจัดการ
ที่มีประสทิ ธภิ าพ โดยยดึ หลกั ธรรมาภิบาล

นโยบายสำ�นักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพนื้ ฐาน ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๓ 81
OBEC’S POLICY 2020

(๒) สง่ เสริม สนบั สนนุ ให้สำ�นักงานส่วนกลาง และสำ�นกั งาน
เขตพน้ื ทก่ี ารศกึ ษา ใชร้ ะบบการบรหิ ารจดั การทม่ี งุ่ เนน้ คณุ ธรรมและความโปรง่ ใส
ในการทำ�งานตามหลักการประเมินคุณธรรมและความโปร่งใสในการดำ�เนินงาน
ของหน่วยงานภาครัฐ (Integrity & Transparency Assessment : ITA)
(๓) สง่ เสรมิ สนบั สนนุ ใหส้ �ำ นักงานสว่ นกลาง และส�ำ นักงาน
เขตพ้ืนที่การศึกษานำ�นวัตกรรม และเทคโนโลยีดิจิทัล (Digital Technology)
มาใชใ้ นการบรหิ ารงาน
(๔) ส่งเสริมการบริหารจัดการเขตพื้นท่ีการศึกษาโดยใช้พ้ืนท่ี
เปน็ ฐาน (Area-based Management) รูปแบบการบริหารแบบกระจายอำ�นาจ
“CLUSTERs”
(๕) ส่งเสริม การมีส่วนรว่ ม จัดทำ�แผนบรู ณาการจัดการศกึ ษา
ในระดบั พน้ื ที่
(๖) สร้างความเข้มแข็งในการยกระดับคุณภาพการศึกษา
รปู แบบเครอื ขา่ ย เชน่ เครอื ขา่ ยสง่ เสรมิ ประสทิ ธภิ าพการจดั การศกึ ษา ศนู ยพ์ ฒั นา
กล่มุ สาระการเรยี นรู้ สหวิทยาเขต กลุ่มโรงเรียน
(๗) ส่งเสริมให้ทุกภาคส่วนของสังคมมีส่วนร่วมในการ
จัดการศึกษาแบบบรู ณาการท่ตี อบสนองความตอ้ งการของประชาชนและพน้ื ที่
(๘) สง่ เสรมิ สนบั สนนุ ผปู้ กครอง ชมุ ชน สงั คม และสาธารณชน
ใหม้ คี วามรู้ ความเขา้ ใจ และมสี ว่ นรว่ มรบั ผดิ ชอบ (Accountability) ในการบรหิ าร
จัดการศึกษา

82 นโยบายส�ำ นกั งานคณะกรรมการการศึกษาขัน้ พ้ืนฐาน ปงี บประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๓
OBEC’S POLICY 2020

(๙) สง่ เสริมใหท้ กุ ภาคสว่ นของสงั คมเข้ามามสี ่วนร่วมสนับสนนุ
ทรัพยากร เพอ่ื การศกึ ษา
๓. ปฏริ ปู การคลงั ดา้ นการศกึ ษา เพอ่ื เพม่ิ คณุ ภาพและประสทิ ธภิ าพ
การจัดการศกึ ษา โดยการจัดสรรงบประมาณตรงส่ผู ูเ้ รียน และสถานศึกษา
เปน็ มาตรการทเ่ี นน้ การน�ำเทคโนโลยดี จิ ทิ ลั (Digital Technology)
มาใชใ้ นการจดั สรรงบประมาณอดุ หนนุ ผเู้ รยี นทกุ คน สอดคลอ้ งกบั ยทุ ธศาสตรช์ าติ
ท่ีต้องการปฏิรูปการคลัง โดยการจัดสรรงบประมาณตรงไปยังผู้เรียน เทคโนโลยี
ดจิ ทิ ลั (Digital Technology) จะเปน็ เครอ่ื งมอื ส�ำคญั ในการด�ำเนนิ การเพอื่ ใหบ้ รรลุ
เป้าประสงค์ดังกล่าว โดยสามารถพสิ ูจน์ตัวตนของผ้เู รยี นทีร่ ับจัดสรรงบประมาณ
ไดอ้ ยา่ งถกู ตอ้ ง ลดความซำ้� ซอ้ นในการจดั สรรงบประมาณอดุ หนนุ ผเู้ รยี น สามารถ
ก�ำหนดเงื่อนไขการจัดสรรงบประมาณให้แก่ผู้เรียนกลุ่มต่าง ๆ ได้อย่างถูกต้อง
และสามารถเช่อื มโยงข้อมลู กบั ระบบธนาคาร ในการจัดสรรงบประมาณตรงไปยงั
ผู้เรียนไดอ้ ยา่ งมีประสทิ ธภิ าพ
โดยมีแนวทางการดำ�เนนิ การ ดงั น้ี
(๑) ศึกษา วิเคราะห์ ออกแบบ และพัฒนาระบบการบริหาร
จัดการงบประมาณ อุดหนนุ ผู้เรียนและสถานศึกษาโดยตรง
(๒) พัฒนาแพลตฟอร์มดจิ ทิ ลั (Digital Platform) เพอื่ พฒั นา
ระบบการบริหารจดั การงบประมาณอดุ หนุนผ้เู รยี นและสถานศึกษาโดยตรง

นโยบายสำ�นกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาขนั้ พืน้ ฐาน ปงี บประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๓ 83
OBEC’S POLICY 2020

(๓) พัฒนาและประยุกต์ใช้ ระบบไบโอเมทริกซ์ (Biometric)
ในการพิสูจน์ตัวตนของผู้เรียน เพ่ือลดความซ้�ำซ้อนในการจัดสรรงบประมาณ
โดยจะท�ำการแลกเปล่ียนข้อมลู นักเรยี นรายบุคคล กบั กระทรวงมหาดไทย
(๔) พัฒนาระบบเบิกจ่ายงบประมาณอุดหนุนตรงไปยังผู้เรียน
และสถานศกึ ษา โดยผ่านระบบธนาคาร
๔. พฒั นานวัตกรรม เทคโนโลยีดิจทิ ัล (Digital Technology)
และระบบการท�ำ งานทเ่ี ปน็ ดจิ ทิ ลั เขา้ มาประยกุ ตใ์ ชอ้ ยา่ งคมุ้ คา่ และเกดิ ประโยชน์
สูงสดุ
เ ป็ น ม า ต ร ก า ร ใ น ก า ร ป ร ะ ยุ ก ต์ ใช้ เ ท ค โ น โ ล ยี ดิ จิ ทั ล
(Digital Technology) มาใช้ในการเพม่ิ ประสทิ ธภิ าพการบรหิ ารอย่างเปน็ ระบบ
น�ำ ไปสกู่ ารน�ำ เทคโนโลยีการวิเคราะห์ขอ้ มูลขนาดใหญ่ (Big Data Technology)
เพ่ือเชื่อมโยงข้อมูลด้านต่าง ๆ ตั้งแต่ข้อมูลผู้เรียน ข้อมูลครู ข้อมูลสถานศึกษา
ข้อมูลงบประมาณ และข้อมูลอ่ืน ๆ ที่จำ�เป็น มาวิเคราะห์เพื่อให้สถานศึกษา
สามารถจัดการเรียนรู้ เพื่อพัฒนาผู้เรียนเป็นรายบุคคลตามสมรรถนะ
และความถนัด และสามารถวิเคราะห์เป็นข้อมูลในการวางแผนการพัฒนา
ทรัพยากรมนุษย์ของประเทศ นำ� Cloud Technology มาให้บริการแกห่ นว่ ยงาน
ทุกระดับ ท้ังระดับ IaaS PaaS และ SaaS และพัฒนาแพลตฟอร์มดิจิทัล
(Digital Platform) ระบบบรหิ ารงานส�ำ นกั งาน เชน่ ระบบแผนงานและงบประมาณ
ระบบบัญชี ระบบพัสดุ ระบบสารบรรณ เป็นต้น เพ่ือเจ้าหน้าที่สามารถ
ใชใ้ นการปฏบิ ตั ิงานได้อยา่ งมีประสทิ ธิภาพ เช่ืองโยงกนั ทง้ั องคก์ ร

84 นโยบายส�ำ นักงานคณะกรรมการการศกึ ษาขนั้ พ้ืนฐาน ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๓
OBEC’S POLICY 2020

โดยมแี นวทางการดำ�เนินการ ดงั น้ี
(๑) ศึกษา วิเคราะห์ นำ� Cloud Technology มาให้บริการ
หน่วยงานในสังกัดทุกระดับทั้งในรูปแบบ Private Cloud Hybridge Cloud
และ Public Cloud ทั้งในระดับ IaaS Paas และ SaaS
(๒) ศึกษา วเิ คราะห์ นำ� Big Data Technology มาใชใ้ นการ
เช่ือมโยงข้อมูลของนักเรียนในฐานข้อมูลต่าง ๆ เพ่ือนำ�มาวิเคราะห์ คุณภาพ
ของผู้เรียนในมิติต่าง ๆ
(๓) พฒั นาแพลตฟอรม์ ดจิ ทิ ลั (Digital Platform) เพอ่ื สนบั สนนุ
ภารกิจด้านบริหารจัดการศึกษาทั้งระบบพร้อมให้บริการ (Services) เช่ือมโยง
ข้อมูล เพื่อแลกเปล่ียนและบูรณาการข้อมูลภาครัฐท้ังภายในและนอกสังกัด
อีกท้ังยังเป็นระบบกลางสำ�หรับใช้ในการพิสูจน์ยืนยันตัวตนเดียวและรองรับ
การท�ำ งานร่วมกบั แพลตฟอรม์ ดจิ ทิ ัลต่าง ๆ
(๔) พัฒนาระบบฐานข้อมูลทรัพยากรมนุษย์ด้านการศึกษา
ขั้นพื้นฐาน ท่ีสามารถเช่ือมโยง และบูรณาการข้อมูลด้านการพัฒนาทรัพยากร
มนุษย์ระหว่างกระทรวง หน่วยงานท่ีเกี่ยวข้อง โดยการเช่ือมโยงข้อมูล
รายบุคคลที่เก่ียวกับการศึกษา การพัฒนาตนเอง สุขภาพและการพัฒนาอาชีพ
ในตลอดช่วงชีวิต เป็นฐานข้อมูลการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ของประเทศไทย
ทม่ี ปี ระสิทธภิ าพและประสทิ ธิผล สามารถประเมนิ จุดออ่ น จดุ แขง็ และศักยภาพ
บคุ คลของประเทศ นำ�ไปสกู่ ารตัดสินใจระดับนโยบายและระดับปฏิบตั ิ

นโยบายสำ�นกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาขน้ั พ้ืนฐาน ปงี บประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๓ 85
OBEC’S POLICY 2020

(๕) พฒั นาแพลตฟอรม์ ดจิ ทิ ลั (Digital Platform) ดา้ นการเรยี นรู้
ของผเู้ รยี น และบคุ ลากรทางการศกึ ษา ดา้ นการบรหิ ารงาน เชอ่ื มโยงถงึ การพฒั นาครู
เพ่ือให้สอดคล้องกับความก้าวหน้าในอาชีพ ตลอดจนพัฒนาระบบข้อมูล
สารสนเทศของผเู้ รยี นเปน็ รายบคุ คลตง้ั แตร่ ะดบั ปฐมวยั จนจบการศกึ ษาขนั้ พน้ื ฐาน
ทส่ี ามารถเชอ่ื มโยงกบั หนว่ ยงานทเี่ กยี่ วขอ้ ง น�ำ ไปสกู่ ารพฒั นาฐานขอ้ มลู ประชากร
ดา้ นการศึกษาของประเทศ

86 นโยบายสำ�นกั งานคณะกรรมการการศึกษาขัน้ พน้ื ฐาน ปงี บประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๓
OBEC’S POLICY 2020

ภาคผนวก

88 นโยบายส�ำ นักงานคณะกรรมการการศึกษาขัน้ พ้นื ฐาน ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๓
OBEC’S POLICY 2020

รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจกั รไทย พทุ ธศักราช ๒๕๖๐

หมวดที่ ๕ หน้าทข่ี องรฐั
มาตรา ๕๔ รัฐต้องดำ�เนินการให้เด็กทุกคนได้รับการศึกษาเป็น
เวลาสิบสองปี ตั้งแต่ก่อนวัยเรียนจนจบการศึกษาภาคบังคับอย่างมีคุณภาพ
โดยไมเ่ ก็บค่าใช้จ่าย
รัฐต้องดำ�เนินการให้เด็กเล็กได้รับการดูแลและพัฒนาก่อนเข้ารับ
การศึกษาตามวรรคหน่ึง เพ่ือพัฒนาร่างกาย จิตใจ วินัย อารมณ์ สังคม และ
สติปัญญาให้สมกับวัย โดยส่งเสริมและสนับสนุน ให้องค์กรปกครองส่วนท้องถ่ิน
และภาคเอกชนเข้ามีสว่ นรว่ มในการดำ�เนนิ การด้วย

และ ในหมวดท่ี ๑๖ การปฏิรปู ประเทศ
ส�ำ หรบั ดา้ นการศกึ ษาได้บญั ญัตไิ วใ้ นขอ้ จ. ด้านการศกึ ษา ดังน้ี
“จ. ดา้ นการศึกษา
(๑) ให้สามารถเร่ิมดำ�เนินการให้เด็กเล็กได้รับการดูแลและพัฒนา
ก่อนเข้ารับการศึกษาตามมาตรา ๕๔ วรรคสอง เพื่อให้เด็กเล็กได้รับการพัฒนา
ร่างกาย จติ ใจ วินยั อารมณ์ สังคม และสตปิ ัญญาใหส้ มกับวยั โดยไมเ่ กบ็ คา่ ใช้จ่าย
(๒) ให้ดำ�เนินการตรากฎหมายเพื่อจัดต้ังกองทุนตามมาตรา ๕๔
วรรคหก ให้แล้วเสรจ็ ภายในหนง่ึ ปีนบั แต่วนั ประกาศใช้รัฐธรรมนูญนี้

นโยบายสำ�นกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาขัน้ พื้นฐาน ปงี บประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๓ 89
OBEC’S POLICY 2020

(๓) ให้มีกลไกและระบบการผลิต คัดกรองและพัฒนาผู้ประกอบ
วชิ าชพี ครแู ละอาจารย์ ใหไ้ ดผ้ มู้ จี ติ วญิ ญาณของความเปน็ ครู มคี วามรคู้ วามสามารถ
อย่างแท้จริง ได้รับค่าตอบแทนท่ีเหมาะสมกับความสามารถและประสิทธิภาพ
ในการสอน รวมทั้งมีกลไกสร้างระบบคุณธรรมในการบริหารงานบุคคลของ
ผปู้ ระกอบวชิ าชพี ครู
(๔) ปรับปรุงการจัดการเรียนการสอนทุกระดับเพื่อให้ผู้เรียน
สามารถเรียนได้ตามความถนัด และปรับปรุงโครงสร้างของหน่วยงานท่ีเกี่ยวข้อง
เพอื่ บรรลเุ ป้าหมายดงั กล่าว โดยสอดคลอ้ งกันทง้ั ในระดับชาติ และระดบั พื้นที่”

90 นโยบายสำ�นกั งานคณะกรรมการการศึกษาขนั้ พื้นฐาน ปงี บประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๓
OBEC’S POLICY 2020

ยุทธศาสตร์ชาติ (พ.ศ. ๒๕๖๑ - ๒๕๘๐)

วิสยั ทศั น์ประเทศไทย

“ประเทศไทยมีความมั่นคง มั่งคั่ง ย่ังยืน เป็นประเทศพัฒนาแล้ว
ดว้ ยการพฒั นาตามหลักปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง”
เปา้ หมายอนาคตประเทศไทย ปี ๒๕๘๐
“ประเทศไทยมีความมั่นคง ม่ังคั่ง ย่ังยืน เป็นประเทศพัฒนาแล้ว
ด้วยการพัฒนาตามหลกั ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียง”
โดยมเี ปา้ หมายการพฒั นาประเทศ คอื “ประเทศชาตมิ น่ั คง ประชาชน
มคี วามสขุ เศรษฐกจิ พฒั นาอยา่ งตอ่ เนอื่ ง สงั คมเปน็ ธรรม ฐานทรพั ยากรธรรมชาติ
ย่ังยืน” โดยยกระดับศักยภาพของประเทศในหลากหลายมิติ พัฒนาคนในทุกมิติ
และในทุกชว่ งวยั ใหเ้ ปน็ คนดี เก่ง และมีคณุ ภาพ สร้างโอกาสและความเสมอภาค
ทางสังคม สร้างการเตบิ โตบนคณุ ภาพชวี ติ ท่เี ปน็ มิตรกับส่ิงแวดลอ้ ม และมีภาครัฐ
ของประชาชนเพือ่ ประชาชนและประโยชนส์ ว่ นรวม

นโยบายส�ำ นักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพน้ื ฐาน ปงี บประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๓ 91
OBEC’S POLICY 2020

๖ ประเด็นยุทธศาสตร์ชาติ

๑. ยุทธศาสตร์ชาตดิ ้านความมน่ั คง
๒. ยุทธศาสตร์ชาติด้านการสรา้ งความสามารถในการแขง่ ขัน
๓. ยทุ ธศาสตรช์ าตดิ า้ นการพฒั นาและเสรมิ สรา้ งศกั ยภาพทรพั ยากรมนษุ ย์
๔. ยุทธศาสตร์ชาติด้านการสร้างโอกาสและความเสมอภาค
ทางสงั คม
๕. ยุทธศาสตร์ชาติด้านการสร้างการเติบโตบนคุณภาพชีวิต
ทีเ่ ป็นมิตรกับสง่ิ แวดลอ้ ม
๖. ยทุ ธศาสตรช์ าตดิ า้ นการปรบั สมดลุ และพฒั นาระบบการบรหิ าร
จัดการภาครัฐ

92 นโยบายส�ำ นักงานคณะกรรมการการศึกษาขัน้ พื้นฐาน ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๓
OBEC’S POLICY 2020

แผนการศกึ ษาแหง่ ชาติ พ.ศ. ๒๕๖๐ - ๒๕๗๙

วสิ ัยทศั น์

“คนไทยทุกคนได้รับการศึกษาและเรียนรู้ตลอดชีวิตอย่างมี
คุณภาพ ด�ำ รงชีวิตอยา่ งเปน็ สขุ สอดคลอ้ งกับหลักปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียง
และการเปล่ยี นแปลงของโลกศตวรรษท่ี ๒๑”
วตั ถปุ ระสงค์
๑. เพ่ือพัฒนาระบบและกระบวนการ จัดการศึกษาท่ีมีคุณภาพ
และมปี ระสิทธิภาพ
๒. เพื่อพัฒนาคนไทยให้เป็นพลเมืองดี มีคุณลักษณะ ทักษะ
และสมรรถนะที่สอดคล้องกับบทบัญญัติของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย
พระราชบญั ญตั กิ ารศกึ ษาแหง่ ชาติ และยทุ ธศาสตรช์ าติ ๒๐ ปี (พ.ศ. ๒๕๖๑ - ๒๕๘๐)
๓. เพื่อพัฒนาสังคมไทยให้เป็นสังคมแห่งการเรียนรู้ และคุณธรรม
จริยธรรม ร้รู ักสามคั คี และรว่ มมอื ผนกึ ก�ำ ลงั มงุ่ ส่กู ารพฒั นาประเทศ อย่างยงั่ ยนื
ตามหลักปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง
๔. เพือ่ น�ำประเทศไทยกา้ วขา้ มกบั ดกั ประเทศทีม่ ีรายได้ปานกลาง
และความเหลอื่ มล�ำ้ ภายในประเทศลดลงเป้าหมาย

นโยบายสำ�นักงานคณะกรรมการการศึกษาขน้ั พน้ื ฐาน ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๓ 93
OBEC’S POLICY 2020


Click to View FlipBook Version