The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search

นโยบาย สพฐ. 2563

นโยบาย สพฐ. 2563

Keywords: OBEC'S POLICY

เพื่อให้บรรลุวิสัยทัศน์และจุดมุ่งหมายในการจัดการศึกษาดังกล่าว
ขา้ งตน้ แผนการศึกษาแหง่ ชาติไดว้ างเป้าหมายไว้ ๒ ดา้ น คอื
๑. ดา้ นผเู้ รยี น (Learner Aspirations)
๒. ดา้ นการจดั การศึกษา (Aspirations)

เป้าหมายของการจัดการศึกษากำ�หนดไว้ ๕ ประการ ดังนี้

๑. ประชากรทุกคนเข้าถึงการศึกษาที่มีคุณภาพและมีมาตรฐาน
อย่างทัว่ ถึง (Access)
๒. ผเู้ รยี นทกุ คน ทกุ กลมุ่ เปา้ หมายไดร้ บั บรกิ ารการศกึ ษาทมี่ คี ณุ ภาพ
ตามมาตรฐานอยา่ งเท่าเทียม (Equity)
๓. ระบบการศึกษาท่ีมีคุณภาพ สามารถพัฒนาผู้เรียนให้บรรลุ
ขีดความสามารถ เต็มตามศักยภาพ (Quality)
๔. ระบบการบริหารจัดการศึกษาท่ีมีประสิทธิภาพ เพื่อการลงทุน
ทางการศกึ ษาท่ีคุม้ ค่าและบรรลเุ ปา้ หมาย (Efficiency)
๕. ระบบการศึกษาท่ีสนองตอบและก้าวทันการเปล่ียนแปลง
ของโลกทีเ่ ปน็ พลวัตและบริบททเ่ี ปลย่ี นแปลง (Relevancy)

94 นโยบายสำ�นกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาขนั้ พน้ื ฐาน ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๓
OBEC’S POLICY 2020

คำ�สงั่ หวั หน้าคณะรกั ษาความสงบแห่งชาติ
ท่ี ๒๘/๒๕๕๙

เร่ือง ใหจ้ ดั การศึกษาขนั้ พ้ืนฐาน ๑๕ ปี โดยไมเ่ กบ็ ค่าใช้จา่ ย

อาศัยอำ�นาจตามความในมาตรา ๔๔ ของรัฐธรรมนูญแห่ง
ราชอาณาจกั รไทย (ฉบบั ชว่ั คราว) พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๗ หวั หนา้ คณะรกั ษาความสงบ
แหง่ ชาติ โดยความเหน็ ชอบของคณะรกั ษาความสงบแหง่ ชาติ จงึ มคี �ำ สงั่ ดงั ตอ่ ไปน้ี
ข้อ ๑ ในคำ�สงั่ นี้
“คา่ ใชจ้ า่ ยในการจดั การศกึ ษา” หมายความวา่ งบประมาณทรี่ ฐั
จัดสรรให้แก่หรือผ่านทางสถานศึกษาหรือผู้จัดการศึกษาเพื่อเป็นค่าใช้จ่าย
ในการจัดการศกึ ษาขัน้ พืน้ ฐาน ๑๕ ปี
“การศึกษาขน้ั พื้นฐาน ๑๕ ปี” หมายความว่า การศึกษาตงั้ แต่
ระดบั กอ่ นประถมศกึ ษา (อนบุ าล) (ถา้ ม)ี ระดบั ประถมศกึ ษา จนถงึ มธั ยมศกึ ษาปที ่ี ๖
หรอื ระดบั ประกาศนยี บตั รวชิ าชพี (ปวช.๓) หรอื เทยี บเทา่ และใหห้ มายความรวมถงึ
การศึกษาพิเศษและการศึกษาสงเคราะห์ดว้ ย
“การศึกษาพเิ ศษ” หมายความว่า การจดั การศึกษาให้แกบ่ คุ คล
ซึ่งมีความผิดปกติอย่างหนึ่งอย่างใด ซ่ึงจำ�เป็นต้องจัดการศึกษาให้เป็นรูปแบบ
โดยเฉพาะ และอาศัยเทคนิคต่าง ๆ ในการสอนตามลักษณะความต้องการและ
ความจ�ำ เปน็ ของแต่ละบคุ คล
“การศึกษาสงเคราะห์” หมายความว่า การจัดการศึกษา
ให้แก่เด็กที่ตกอยู่ในภาวะยากลำ�บาก หรืออยู่ในสถานภาพท่ีด้อยกว่าเด็กทั่วไป
หรือที่มีลักษณะเป็นการกุศล เพื่อให้มีชีวิตและความเป็นอยู่ที่ดีข้ึนมีพัฒนาการ
ทถ่ี กู ตอ้ งและเหมาะสมกบั วัย

นโยบายสำ�นักงานคณะกรรมการการศึกษาข้นั พื้นฐาน ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๓ 95
OBEC’S POLICY 2020

ข้อ ๒ ให้ส่วนราชการท่ีเก่ียวข้องตามท่ีคณะรัฐมนตรีกำ�หนด
เตรียมการเพื่อจัดให้เด็กเล็กก่อนวัยเรียนได้รับการดูแล และพัฒนาทางร่างกาย
จิตใจ วินัย อารมณ์ สังคม และสติปัญญา โดยส่งเสริมและสนับสนุนให้องค์กร
ปกครองสว่ นทอ้ งถ่นิ และภาคเอกชนเขา้ มสี ่วนร่วมในการด�ำ เนนิ การดว้ ย
ข้อ ๓ ให้ส่วนราชการท่ีเก่ียวข้องกับการจัดการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน
ดำ�เนินการจัดการศึกษาข้ันพน้ื ฐาน ๑๕ ปี ใหม้ ีมาตรฐานและคณุ ภาพ โดยไม่เกบ็
ค่าใชจ้ า่ ย
ให้รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการโดยความเห็นชอบ
ของคณะรฐั มนตรกี �ำ หนดอตั ราคา่ ใชจ้ า่ ยในการจดั การศกึ ษาส�ำ หรบั การศกึ ษาขน้ั พน้ื ฐาน
๑๕ ปี เพ่ือเสนอตามกระบวนการจัดทางบประมาณรายจ่ายประจำ�ปีค่าใช้จ่าย
ตามวรรคสอง ไดแ้ ก่
(๑) คา่ จัดการเรียนการสอน
(๒) คา่ หนงั สอื เรยี น
(๓) คา่ อปุ กรณก์ ารเรียน
(๔) คา่ เคร่อื งแบบนักเรยี น
(๕) คา่ กจิ กรรมพัฒนาคณุ ภาพผูเ้ รยี น
(๕) ค่าใชจ้ า่ ยอ่นื ตามทค่ี ณะรฐั มนตรเี ห็นชอบ
ขอ้ ๔ ใหก้ ระทรวงศกึ ษาธกิ ารจดั ท�ำ หรอื ปรบั ปรงุ กฎหมายทเี่ กย่ี วขอ้ ง
เพ่ือนำ�มาใช้แทน และขยายผลต่อจากคำ�ส่ังนี้แล้วเสนอคณะรัฐมนตรีพิจารณา
ภายในหกเดือนนบั แต่วันทีค่ �ำ สั่งนี้ใช้บังคบั
ข้อ ๕ ในกรณีมีปัญหาเกี่ยวกับการปฏิบัติตามคำ�ส่ังนี้ให้รัฐมนตรี
ว่าการกระทรวงศกึ ษาธิการ มีอ�ำ นาจวนิ จิ ฉยั ช้ขี าด

96 นโยบายส�ำ นกั งานคณะกรรมการการศึกษาขน้ั พน้ื ฐาน ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๓
OBEC’S POLICY 2020

ข้อ ๖ ให้อัตราค่าใช้จ่ายในการจัดการศึกษาต้ังแต่ระดับอนุบาล
จนจบการศึกษาข้ันพ้ืนฐานที่มีผลใช้อยู่ในวันก่อนวันท่ีคำ�ส่ังน้ีใช้บังคับ ยังคงมีผล
ใช้บังคับต่อไปจนกว่าจะมีการกำ�หนดอัตราค่าใช้จ่ายสำ�หรับการจัดการศึกษา
ข้ันพืน้ ฐาน ๑๕ ปี ตามข้อ ๓
ข้อ ๗ คำ�ส่ังนี้ให้ใช้บังคับต้ังแต่วันประกาศในราชกิจจานุเบกษา
เปน็ ต้นไป

นโยบายส�ำ นักงานคณะกรรมการการศึกษาขัน้ พนื้ ฐาน ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๓ 97
OBEC’S POLICY 2020

นโยบายของรัฐบาลดา้ นการศกึ ษา

ในคำ�แถลงนโยบายของรัฐบาล โดย พลเอกประยุทธ์ จันทร์โอชา
นายกรัฐมนตรี ต่อรัฐสภา เมื่อวันพฤหัสบดีที่ ๒๕ กรกฎาคม ๒๕๖๒ นโยบาย
ด้านการศกึ ษากำ�หนดไวใ้ นนโยบายท่ี ๘ ดงั นี้
๘. การปฏิรูปกระบวนการเรียนรู้และการพัฒนาศักยภาพ
ของคนไทยทกุ ช่วงวยั
๘.๑ สง่ เสรมิ การพัฒนาเด็กปฐมวัย
๘.๑.๑ จัดให้มีระบบพัฒนาเด็กแรกเกิดอย่างต่อเน่ือง
จนถึงเด็กวัยเรียนให้มีโอกาสพัฒนาตามศักยภาพ เพื่อสร้างคนไทยที่มีพัฒนาการ
เต็มตามศักยภาพผ่านครอบครัวท่ีอบอุ่นในทุกรูปแบบครอบครัว เพ่ือส่งต่อ
การพฒั นาเดก็ ไทยใหม้ คี ณุ ภาพสกู่ ารพฒั นาในระยะถดั ไปบนฐานการใหค้ วามชว่ ยเหลอื
ที่คำ�นึงถึงศักยภาพของครอบครัวและพื้นที่ เตรียมความพร้อมการเป็นพ่อแม่
ความรู้เร่ืองโภชนาการและสุขภาพการอบรมเล้ียงดู การส่งเสริมพัฒนาการ
เด็กปฐมวัยผ่านการให้บริการสาธารณะท่ีเก่ียวข้องโดยเฉพาะการยกระดับ
คุณภาพสถานพัฒนาเด็กปฐมวัยท่ัวประเทศให้ได้มาตรฐาน และพัฒนาศักยภาพ
ของบุคลากรทางการศึกษาและผู้ดูแลเด็กปฐมวัยให้สามารถจัดการศึกษาได้
อยา่ งมคี ุณภาพ

98 นโยบายส�ำ นกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาขั้นพืน้ ฐาน ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๓
OBEC’S POLICY 2020

๘.๑.๒ ส่งเสริมการพัฒนาเด็กปฐมวัย โดยคำ�นึงถึง
พหปุ ญั ญาทห่ี ลากหลายของเดก็ แตล่ ะคนใหไ้ ดร้ บั การสง่ เสรมิ และพฒั นาอยา่ งเตม็ ตาม
ศักยภาพ ผ่านการออกแบบการจัดการเรียนรู้ที่เช่ือมโยงกับระบบโรงเรียนปกติ
ทเ่ี ป็นระบบและมที ิศทางทชี่ ดั เจน
๘.๒ พฒั นาบณั ฑติ พนั ธใ์ุ หม่
๘.๒.๑ ปรับรูปแบบการเรียนรู้และการสอนเพื่อพัฒนา
ทักษะและอาชีพของคนทุกช่วงวัยสำ�หรับศตวรรษที่ ๒๑ โดยปรับโครงสร้าง
หลกั สตู รการศกึ ษาใหท้ นั สมยั มกี ารน�ำ เทคโนโลยแี ละการเรยี นรผู้ า่ นประสบการณจ์ รงิ
เข้ามามีส่วนในการจัดการเรียนการสอน และปรับระบบดึงดูด การคัดเลือก
การผลิตและพัฒนาครู ที่นำ�ไปสู่การมีครูสมรรถนะสูงเป็นครูยุคใหม่ท่ีสามารถ
ออกแบบและจดั ระบบการสรา้ งความรู้ สรา้ งวนิ ยั กระตุ้น และสรา้ งแรงบนั ดาลใจ
เปิดโลกทัศน์มุมมองของเด็กและครูด้วยการสอนในเชิงแสดงความคิดเห็น
ใหม้ ากขึน้ ควบคกู่ ับหลักการทางวิชาการ
๘.๒.๒ จดั การศกึ ษาเชงิ บรู ณาการกบั การท�ำ งานเพอ่ื พฒั นา
สมรรถนะของผู้เรียนท้ังในส่วนฐานความรู้และระบบความคิดในลักษณะ
สหวิทยาการ และตรงกับความต้องการของประเทศในอนาคต และเป็นผู้เรียน
ท่ีสามารถปฏิบัติได้จริงและสามารถกำ�กับการเรียนรู้ของตนเองได้ รวมถึง
มที กั ษะดา้ นภาษาองั กฤษและภาษาทส่ี ามทส่ี ามารถสอื่ สารและแสวงหาความรไู้ ด้
มคี วามพรอ้ มทงั้ ทกั ษะความรู้ ทกั ษะอาชพี และทกั ษะชวี ติ กอ่ นเขา้ สตู่ ลาดแรงงาน
๘.๓ พัฒนาอาชีวะ พัฒนาคุณภาพวชิ าชีพ และพัฒนาแรงงาน
รองรบั อตุ สาหกรรม ๔.๐ โดยการจดั ระบบและกลไกความรว่ มมอื ระหวา่ งหนว่ ยงาน
ภาครัฐและเอกชนที่ชัดเจนเป็นระบบในการพัฒนากำ�ลังคนท่ีมีทักษะข้ันสูง
ให้สามารถนำ�ความรู้และทักษะมาใช้ในการแก้ไขปัญหา รวมถึงการสร้างและ
พัฒนานวัตกรรม ซึ่งต้องครอบคลุมการพัฒนากำ�ลังคนท่ีอยู่ในอุตสาหกรรมแล้ว

นโยบายสำ�นกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาขั้นพื้นฐาน ปงี บประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๓ 99
OBEC’S POLICY 2020

กำ�ลังคนทกี่ ำ�ลงั จะเขา้ สอู่ ตุ สาหกรรม และเตรียมการส�ำ หรับผลิตกำ�ลงั คนในสาขา
ที่ขาดแคลน เพื่อรองรับอุตสาหกรรมและเทคโนโลยีในอนาคต รวมท้ังเร่งรัด
และขยายผลระบบคุณวุฒิวิชาชีพ การยกระดับฝีมือแรงงานในกลุ่มอุตสาหกรรม
ท่มี ศี กั ยภาพและอุตสาหกรรมทใี่ ชแ้ รงงานเขม้ ข้น
๘.๔ ดึงดูดคนเก่งจากท่ัวโลกเข้ามาร่วมทำ�งานกับคนไทย
และส่งเสริมผู้มีความสามารถสูง สนับสนุนให้ธุรกิจช้ันนำ�ในประเทศดึงดูดบุคคล
ที่มีความสามารถระดับสูงจากทั่วโลกโดยเฉพาะคนไทย เพ่ือกลับมาเป็นผู้นำ�
การเปลยี่ นแปลงและถา่ ยทอดประสบการณค์ วามรู้ ความเชย่ี วชาญใหแ้ กบ่ คุ ลากร
ในองคก์ ร ซง่ึ จะช่วยกระต้นุ ใหเ้ กดิ การสร้างธรุ กิจ ผลติ ภณั ฑแ์ ละนวตั กรรมใหม่ ๆ
ให้กับประเทศ โดยในระยะแรกให้ความสำ�คัญกับการดึงดูดนักวิจัยผู้เช่ียวชาญ
จากตา่ งประเทศมารว่ มวจิ ยั และพฒั นาเทคโนโลยชี นั้ แนวหนา้ ในสาขาอตุ สาหกรรม
เป้าหมายรวมท้ังมีพ้ืนท่ีให้กลุ่มผู้มีความสามารถพิเศษที่มีศักยภาพสูงได้ทำ�งาน
ร่วมกัน หรือร่วมกับเครือข่ายอื่น ๆ เพ่ือสร้างองค์ความรู้และนวัตกรรมใหม่ ๆ
ให้กับประเทศ
๘.๕ วจิ ยั และพฒั นานวตั กรรมทต่ี อบโจทยก์ ารพฒั นาประเทศ
๘.๕.๑ ส่งเสริมการวิจัยและพัฒนานวัตกรรมเพ่ือขจัด
ความเหล่ือมล�ำ้ และความยากจน ยกระดับคณุ ภาพชวี ติ ของประชาชน โดยมุ่งเนน้
การพัฒนานวัตกรรมเชิงสังคมและนวัตกรรมในเชิงพ้ืนที่ที่สามารถช่วยแก้ปัญหา
ความเหลอื่ มลำ้� สรา้ งโอกาสส�ำหรบั ผดู้ อ้ ยโอกาส และยกระดบั คณุ ภาพชวี ติ ผสู้ งู วยั
ควบคู่ไปกับการพัฒนาทุนมนุษย์ให้พร้อมส�ำหรับโลกยุคดิจิทัลและอุตสาหกรรม
๔.๐ ตามความเหมาะสมได้อย่างเป็นรูปธรรมโดยระยะแรกจะให้ความส�ำคัญ
กับการส่งเสริมการวิจัยและพัฒนาด้านสุขภาพของประชาชนอย่างครบวงจร
ทัง้ ระบบยา วัคซีน เวชภณั ฑ์ และเทคโนโลยีท่ีทนั สมัย

100 นโยบายสำ�นักงานคณะกรรมการการศึกษาขัน้ พนื้ ฐาน ปงี บประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๓
OBEC’S POLICY 2020

๘.๕.๒ ส่งเสริมการวิจัยและพัฒนานวัตกรรมทางด้าน
วทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยขี น้ั สงู เพอ่ื สรา้ งความได้เปรยี บในการแขง่ ขนั สามารถ
ตอบสนองต่อความเปล่ียนแปลง และสร้างความเป็นเลิศของประเทศในอนาคต
โดยมุ่งเน้นการวิจัยและพัฒนานวัตกรรมเพื่อนำ�มาใช้ให้เกิดประโยชน์ในเชิงธุรกิจ
ก�ำ หนดวาระการวจิ ยั แหง่ ชาติ สง่ เสรมิ ความรว่ มมอื และการเปน็ หนุ้ สว่ นของทกุ ฝา่ ย
ทง้ั ภาครัฐ ภาคการศกึ ษา ชมุ ชน และภาคเอกชนในทกุ สาขาการผลิตและบรกิ าร
สร้างสภาพแวดล้อมและองค์ประกอบของระบบวิจัยและการพัฒนานวัตกรรม
ใหเ้ ขม้ แขง็ รวมทงั้ บรู ณาการการวจิ ยั และพฒั นานวตั กรรมกบั การน�ำ ไปใชป้ ระโยชน์
ในเชงิ พาณชิ ย์
๘.๕.๓ สรา้ งเครือข่ายการท�ำ วิจยั ระหว่างภาคส่วนตา่ ง ๆ
ปฏิรูปและบูรณาการระบบการเรียนการสอนกับระบบงานวิจัยและพัฒนา
ให้เอ้ือต่อการเพ่ิมศักยภาพด้านนวัตกรรมของประเทศ เพื่อสนับสนุน
การสร้างความเข้มแข็งของธุรกิจไทยทุกระดับในเวทีการค้าโลก ส่งเสริม
กระบวนการการทำ�งานของภาครัฐและภาคเอกชนในการวิจัยและพัฒนา
วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี นวัตกรรมให้เป็นระบบเปิด และมีการบูรณาการ
การทำ�งานกันอย่างมีประสิทธิภาพ รวมทั้งเชื่อมโยงระบบการศึกษา
กับภาคปฏิบัติจริงในภาคธุรกิจ โดยเฉพาะอย่างยิ่งการสร้างนักวิจัยมืออาชีพ
และนวัตกรที่สามารถสร้างมูลค่าเพ่ิมและยกระดับงานวิจัย สู่การเพิ่มศักยภาพ
ดา้ นเทคโนโลยีและนวตั กรรมของประเทศ
๘.๖ สง่ เสริมการเรยี นรแู้ ละพฒั นาทักษะทกุ ชว่ งวัย
๘.๖.๑ มุ่งเน้นการพัฒนาโรงเรียนควบคู่กับการพัฒนาครู
เพิ่มประสิทธิภาพระบบบริหารจัดการศึกษาในทุกระดับบนพื้นฐานการสนับสนุน
ท่ีค�ำนึงถึงความจ�ำเป็นและศักยภาพของสถาบันการศึกษาแต่ละแห่ง พร้อมทั้ง
จดั ใหม้ มี าตรฐานขน้ั ตำ�่ ของโรงเรยี นในทกุ ระดบั และสรา้ งระบบวดั ผลโรงเรยี นและ

นโยบายส�ำ นกั งานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ปงี บประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๓ 101
OBEC’S POLICY 2020

ครูที่สะท้อนความรับผิดชอบต่อผลลัพธ์ที่เกิดกับผู้เรียน คืนครูให้นักเรียน
โดยลดภาระงานที่ไม่จ�ำเป็น รวมถึงจัดให้มีระบบฐานข้อมูลเพ่ือการพัฒนา
ทรัพยากรมนุษย์โดยการเชื่อมโยงหรือส่งต่อข้อมูลครอบครัวและผู้เรียน
ระหวา่ งหน่วยงานตา่ ง ๆ ตงั้ แตแ่ รกเกิดจนถึงการพัฒนาตลอดช่วงชีวิต ตลอดจน
พฒั นาชอ่ งทางใหภ้ าคเอกชนมสี ว่ นรว่ มในการจดั การศกึ ษาและการเรยี นรตู้ ลอดชวี ติ
๘.๖.๒ พัฒนาแพลตฟอร์มการเรียนรู้ผ่านระบบดิจิทัล
พร้อมท้ังส่งเสริมให้มีการนำ�เทคโนโลยีสารสนเทศและการสร้างสรรค์ท่ีเหมาะสม
มาใช้ในการเรียนการสอนออนไลน์แบบเปิดท่ีหลากหลาย เพื่อส่งเสริมการเรียนรู้
ด้วยตนเองตามความสนใจและเหมาะสมกับช่วงวัย ตลอดจนพัฒนาแหล่งเรียนรู้
และอทุ ยานการเรยี นรสู้ �ำ หรบั เยาวชนทเี่ ชอ่ื มโยงเทคโนโลยกี บั วถิ ชี วี ติ และสง่ เสรมิ
การเรียนการสอนที่เหมาะสมสำ�หรบั ผู้ที่เข้าสสู่ งั คมสูงวัย
๘.๖.๓ ลดความเหล่ือมล้ำ� ทางการศึกษา โดยบรู ณาการ
การด�ำเนินงานระหว่างหน่วยจัดการศึกษากับกองทุนเพื่อความเสมอภาค
ทางการศกึ ษา มงุ่ เนน้ กลมุ่ เดก็ ดอ้ ยโอกาสและกลมุ่ เดก็ นอกระบบการศกึ ษา ปรบั เปลยี่ น
การจัดสรรงบประมาณให้สอดคล้องกับความจ�ำเป็นของผู้เรียนและลักษณะพื้นท่ี
ของสถานศึกษา จัดระบบโรงเรียนพ่ีเล้ียงจับคู่ระหว่างโรงเรียนขนาดใหญ่
ท่ีมีคุณภาพการศึกษาดีกับโรงเรียนขนาดเล็กเพื่อยกระดับคุณภาพการศึกษา
และการสง่ เสรมิ ใหภ้ าคเอกชน ชมุ ชนในพนื้ ทเ่ี ขา้ มามสี ว่ นรว่ มในการออกแบบการศกึ ษา
ในพ้นื ท่ี สนบั สนุนเดก็ ทมี่ ีความสามารถแต่ไมม่ ที นุ ทรัพย์เป็นกรณพี ิเศษ ตลอดจน
แก้ไขปัญหาหนี้สินทางการศึกษา โดยการปรับโครงสร้างหน้ีกองทุนเงินให้กู้ยืม
เพื่อการศกึ ษา และทบทวนรปู แบบการใหก้ ู้ยืมเพื่อการศกึ ษาทีเ่ หมาะสม
๘.๖.๔ พัฒนาทักษะอาชีพทุกช่วงวัย โดยก�ำหนดระบบ
ที่เอื้อต่อการพัฒนาทักษะและเพิ่มประสิทธิภาพของทุกช่วงวัย อาทิ การพัฒนา
คุณภาพมาตรฐานการศึกษาให้เช่ือมโยงกับระบบคุณวุฒิวิชาชีพ โดยมีกลไก

102 นโยบายส�ำ นักงานคณะกรรมการการศกึ ษาข้ันพื้นฐาน ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๓
OBEC’S POLICY 2020

การวดั และประเมนิ ผลเพอ่ื เทยี บโอนความรแู้ ละประสบการณห์ นว่ ยการเรยี นทชี่ ดั เจน
ส่งเสริมเยาวชนท่ีมีศักยภาพด้านกีฬาให้สามารถพัฒนาไปสู่นักกีฬาอาชีพ
การก�ำหนดมาตรฐานฝมี อื แรงงาน การจดั ใหม้ รี ะบบทสี่ ามารถรองรบั ความตอ้ งการ
พฒั นาปรบั ปรงุ ทกั ษะอาชพี ของทกุ ชว่ งวยั เพอ่ื รองรบั การเปลยี่ นสายอาชพี ใหต้ รง
กับความต้องการของตลาดแรงงานที่อาจจะเปล่ียนไปตามแนวโน้มความก้าวหน้า
ทางเทคโนโลยีในอนาคต
๘.๖.๕ ส่งเสริมหลักคิดที่ถูกต้อง โดยสอดแทรก
การปลูกฝังวินัยและอุดมการณ์ที่ถูกต้องของคนในชาติ หลักคิดท่ีถูกต้อง
ดา้ นคณุ ธรรม จรยิ ธรรม การมจี ติ สาธารณะการเคารพกฎหมาย และกตกิ าของสงั คม
เข้าไปในทุกสาระวิชาและในทุกกิจกรรม ควบคู่ไปกับการส่งเสริมกลไก
สรา้ งความเขม้ แขง็ ของสถาบนั ครอบครวั ในทกุ มติ อิ ยา่ งเปน็ ระบบและมปี ระสทิ ธภิ าพ
ปรับสภาพแวดล้อมท้ังภายในและภายนอกสถานศึกษาให้เอื้อต่อการมีคุณธรรม
จริยธรรม และจิตสาธารณะ รวมทั้งลงโทษผู้ละเมิดบรรทัดฐานท่ีดีทางสังคม
ตลอดจนสง่ เสรมิ ให้เกิดการมสี ว่ นรว่ มของประชาชนในการขบั เคล่ือนประเทศ
๘.๗ จัดท�ำระบบปริญญาชุมชนและการจัดอบรมหลักสูตร
ระยะสั้นเน้นออกแบบหลักสูตรระยะสั้นตามความสนใจ พัฒนาทักษะต่าง ๆ
ทใี่ ชใ้ นการด�ำรงชวี ติ ประจ�ำวนั และทกั ษะอาชพี ของคนทกุ ชว่ งวยั ในพนื้ ทแี่ ละชมุ ชน
เป็นหลัก พร้อมทั้งศึกษาแนวทางการพัฒนาเป็นรูปแบบธนาคารหน่วยกิต
ซง่ึ เปน็ การเรยี นเกบ็ หนว่ ยกติ ของวชิ าเรยี นเพอื่ ใหผ้ เู้ รยี นสามารถเรยี นขา้ มสาขาวชิ า
และขา้ มสถาบนั การศกึ ษา หรอื ท�ำงานไปพรอ้ มกนั หรอื เลอื กเรยี นเฉพาะหลกั สตู ร
ที่สนใจ เพื่อสร้างโอกาสของคนไทยทุกช่วงวยั และทกุ ระดับสามารถพฒั นาตนเอง
ทง้ั ในด้านการศกึ ษาและการด�ำรงชวี ิต

นโยบายส�ำ นกั งานคณะกรรมการการศึกษาขน้ั พ้ืนฐาน ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๓ 103
OBEC’S POLICY 2020

นโยบายเร่งดว่ นดา้ นการศึกษา ขอ้ ที่ ๗
๗. การเตรียมคนไทยสศู่ ตวรรษท่ี ๒๑
โดยสร้างแพลตฟอร์มการเรียนรู้ใหม่ในระบบดิจิทัล ปรับปรุง
รูปแบบการเรียนรู้มุ่งสู่ระบบการเรียนการสอนวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี
ดา้ นวศิ วกรรม คณติ ศาสตร์ โปรแกรมเมอร์ และภาษาตา่ งประเทศ สง่ เสรมิ การเรยี น
ภาษาคอมพวิ เตอร์ (Coding) ตง้ั แตร่ ะดบั ประถมศกึ ษา การพฒั นาโรงเรยี นคณุ ภาพ
ในทุกตำ�บลส่งเสริมการพัฒนาหลักสูตรออนไลน์ของสถาบันการศึกษาต่าง ๆ
เพอื่ แบง่ ปนั องคค์ วามรขู้ องสถาบนั การศกึ ษาสสู่ าธารณะ เชอื่ มโยงระบบการศกึ ษา
กับภาคปฏิบัติจริงในภาคธุรกิจสร้างนักวิจัยใหม่และนวัตกรเพ่ือเพ่ิมศักยภาพ
ดา้ นเทคโนโลยแี ละนวตั กรรมของประเทศสรา้ งความรคู้ วามเขา้ ใจการใชเ้ ทคโนโลยี
ดิจิทัล ส่ือออนไลน์ และโครงข่ายสังคมออนไลน์ของคนไทยเพ่ือป้องกัน
และลดผลกระทบในเชิงสังคม ความปลอดภัย อาชญากรรมทางไซเบอร์
และสามารถใชเ้ ทคโนโลยเี ปน็ เครอ่ื งมอื ในการกระจายขอ้ มลู ขา่ วสารทถ่ี กู ตอ้ งการสรา้ ง
ความสมานฉันท์และความสามัคคีในสังคม รวมท้ังปลูกฝังคุณธรรม จริยธรรม
ที่จำ�เป็นในการดำ�เนินชีวติ  

104 นโยบายสำ�นกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาขัน้ พื้นฐาน ปงี บประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๓
OBEC’S POLICY 2020

นโยบายและจดุ เนน้ ของกระทรวงศกึ ษาธกิ าร
ปงี บประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๓

ประกาศกระทรวงศกึ ษาธกิ าร

เร่ือง นโยบายและจุดเน้นของกระทรวงศกึ ษาธกิ าร
ปงี บประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๓

เพ่ือให้การดำ�เนินการจัดการศึกษาและการบริหารจัดการ
การศกึ ษาของกระทรวงศกึ ษาธกิ าร ในปงี บประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๓ มคี วามสอดคลอ้ ง
กับยุทธศาสตร์ชาติ เป้าหมายของแผนแม่บทภายใต้ยุทธศาสตร์ วัตถุประสงค์
ของแผนการปฏริ ปู ประดา้ นการศกึ ษา และนโยบายของรฐั บาล โดยเฉพาะนโยบาย
เรง่ ดว่ น เร่ืองการเตรียมสศู่ ตวรรษที่ ๒๑
อาศยั อ�ำ นาจตามความในมาตรา ๘และมาตรา ๑๒แหง่ พระราชบญั ญตั ิ
ระเบยี บบรหิ ารราชการกระทรวงศกึ ษาธกิ าร พ.ศ. ๒๕๔๖ รฐั มนตรวี า่ การกระทรวง
ศกึ ษาธกิ ารจงึ ประกาศนโยบายและจดุ เนน้ ของกระทรวงศกึ ษาธกิ าร ปงี บประมาณ
พ.ศ. ๒๕๖๓ ดงั นี้

นโยบายสำ�นักงานคณะกรรมการการศกึ ษาขนั้ พนื้ ฐาน ปงี บประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๓ 105
OBEC’S POLICY 2020

หลักการ
๑. ให้ความสำ�คัญกับประเด็นคุณภาพและประสิทธิภาพในทุกมิติ
ทงั้ ผเู้ รยี น ครแู ละบคุ ลากรทางการศกึ ษา ขา้ ราชการพลเรอื น และผบู้ รหิ ารทกุ ระดบั
ตลอดจนสถานศกึ ษาทุกระดับทกุ ประเภท และเป็นการศึกษาตลอดชวี ติ
๒. บรู ณาการการท�ำ งานรว่ มกนั ระหว่างส่วนราชการหลัก องค์การ
มหาชนในก�ำ กบั ของรฐั มนตรวี า่ การกระทรวงศกึ ษาธกิ ารใหม้ คี วามคลอ่ งตวั รวมทงั้
หน่วยงานสังกัดกระทรวงศึกษาธิการในพ้ืนที่ภูมิภาคให้สามารถปฏิบัติงาน
รว่ มกนั ได้เพอ่ื ด�ำ เนนิ การปฏริ ปู การศกึ ษารว่ มกบั ภาครฐั ภาคเอกชนและภาคประชาชน
ตามนโยบายประชารัฐ
ระดับก่อนอนบุ าล
เน้นการประสานงานกับส่วนราชการ และชุมชน ในการเตรียม
ความพรอ้ มผู้เรยี นในดา้ นสขุ ภาพและโภชนาการ และจดั ประสบการณก์ ารเรยี นรู้
ท่เี ช่อื มโยงกบั ระบบโรงเรยี นปกติ
ระดบั อนุบาล
เนน้ สรา้ งความรว่ มมอื กบั พอ่ แม่ ผปู้ กครอง และชมุ ชน เพอ่ื ออกแบบ
กจิ กรรมการพฒั นาทกั ษะทส่ี �ำ คญั ดา้ นตา่ ง ๆ เชน่ ทกั ษะทางสมอง ทกั ษะความคดิ
ความจำ� ทกั ษะการควบคุมอารมณ์ ทักษะการรู้จกั และประเมินตนเอง
ระดับประถมศึกษา
มงุ่ ค�ำ นงึ ถงึ พหปุ ญั ญาของผเู้ รยี นรายบคุ คลทหี่ ลากหลายตามศกั ยภาพ
ด้วยจุดเน้น ดังนี้
๑. ปลกู ฝงั ความมรี ะเบยี บวนิ ยั ทศั นคตทิ ถี่ กู ตอ้ ง โดยใชก้ ระบวนการ
ลูกเสอื และยุวกาชาด
๒. เรยี นภาษาไทย เน้นเพอ่ื ใช้เปน็ เครือ่ งมอื ในการเรยี นรู้วชิ าอื่น

106 นโยบายส�ำ นกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาขัน้ พนื้ ฐาน ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๓
OBEC’S POLICY 2020

๓. เรียนรู้ภาษาอังกฤษและภาษาพ้ืนถิ่น (ภาษาแม่) เน้นเพ่ือ
การส่ือสาร
๔. เรยี นรดู้ ว้ ยวิธกี าร Active Learning เพ่อื พัฒนากระบวนการคิด
การเรียนรู้จากประสบการณ์จริงหรือจากสถานการณ์จำ�ลองผ่านการลงมือปฏิบัติ
และเปิดโลกทัศน์มุมมองร่วมกันของผู้เรียนและครูด้วยการจัดการเรียนการสอน
ในเชงิ แสดงความคิดเหน็ ให้มากขนึ้
๕. สรา้ งแพลตฟอรม์ ดจิ ทิ ลั เพอ่ื การเรยี นรู้ และใชด้ จิ ทิ ลั เปน็ เครอ่ื งมอื
การเรียนรู้
๖. จัดการเรียนการสอนเพื่อฝึกทักษะการคิดแบบมีเหตุผล
และเปน็ ขนั้ ตอน (Coding)
๗. พัฒนาครูใหม้ ีความชำ�นาญในการสอนภาษาองั กฤษ และภาษา
คอมพิวเตอร์ (Coding)
๘. จัดให้มีโครงการ ๑ ตำ�บล ๑ โรงเรียนคุณภาพ โดยเน้นปรับ
สภาพแวดลอ้ มทง้ั ภายในและภายนอกบรเิ วณโรงเรยี นใหเ้ ออื้ ตอ่ การสรา้ งคณุ ธรรม
จรยิ ธรรม และจิตสาธารณะ
ระดบั มธั ยมศกึ ษา
มงุ่ ตอ่ ยอดระดับประถมศึกษา ดว้ ยจุดเนน้ ดังน้ี
๑. จัดการเรยี นรูด้ ว้ ยวธิ ีการทางวทิ ยาศาสตร์ เทคโนโลยี วิศวกรรม
คณติ ศาสตร์ (STEM) และภาษาต่างประเทศ (ภาษาทส่ี าม)
๒. จัดการเรียนรู้หลากหลาย เพื่อสร้างทักษะพ้ืนฐานท่ีเช่ือมโยงสู่
การสรา้ งอาชพี และการมีงานทำ� เช่น ทกั ษะดา้ นกีฬาทส่ี ามารถพฒั นาไปสนู่ กั กฬี า
มืออาชีพ ทักษะภาษาเพือ่ เป็นมัคคุเทศก์

นโยบายส�ำ นักงานคณะกรรมการการศึกษาข้นั พ้นื ฐาน ปงี บประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๓ 107
OBEC’S POLICY 2020

ระดบั อาชีวศกึ ษา
มงุ่ จดั การศกึ ษาเพอ่ื การมงี านท�ำ และสรา้ งนวตั กรรมตามความตอ้ งการ
ของพ้ืนที่ชุมชน ภูมิภาคหรือประเทศ รวมท้ังการเป็นผู้ประกอบการเอง
ด้วยจุดเน้น ดังนี้
๑. จัดการศึกษาในระบบทวิภาคี ให้ผู้เรียนมีทักษะและความ
เชยี่ วชาญเฉพาะดา้ น
๒. เรยี นภาษาองั กฤษ เพอื่ เพมิ่ ทกั ษะส�ำ หรบั ใชใ้ นการประกอบอาชพี
๓. เรยี นรกู้ ารใชด้ จิ ทิ ลั เพอื่ ใชเ้ ปน็ เครอ่ื งมอื ส�ำ หรบั ในการสรา้ งอาชพี
๔. จัดตั้งศูนย์ประสานงานการผลิตและพัฒนากำ�ลังคนอาชีวศึกษา
ในภูมภิ าค
การศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศยั
มงุ่ สรา้ งโอกาสใหป้ ระชาชนผเู้ รยี นทส่ี �ำ เรจ็ หลกั สตู ร สามารถมงี านท�ำ
ด้วยจุดเนน้ ดังนี้
๑. เรียนรู้การใช้ดิจิทัล เพื่อใช้เป็นเครื่องมือสำ�หรับช่องทาง
ในการสรา้ งอาชพี
๒. จัดทำ�หลักสูตรพัฒนาอาชีพท่ีเหมาะสมสำ�หรับผู้ท่ีเข้าสู่สังคม
สงู วัย
การขบั เคลอ่ื นสกู่ ารปฏิบตั ิ
๑. ทุกหน่วยงานในสังกัดกระทรวงศึกษาธิการ ต้องปรับปรุง
แผนปฏบิ ตั ริ าชการ ใหส้ อดคลอ้ งกบั นโยบายรฐั บาล และวางแผนการใชง้ บประมาณ
เป็นรายไตรมาส รวมทั้งใช้จ่ายงบประมาณให้เป็นไปตามกฎหมาย ระเบียบ
ขอ้ บังคับทเ่ี ก่ียวขอ้ ง
๒. จัดทำ�ข้อมลู (Big Data) ของกระทรวงศกึ ษาธกิ าร ใหค้ รบถว้ น
ถกู ต้อง ทนั สมัย

108 นโยบายสำ�นกั งานคณะกรรมการการศึกษาขนั้ พน้ื ฐาน ปงี บประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๓
OBEC’S POLICY 2020

๓. ใชเ้ ทคโนโลยีและดิจทิ ัลเป็นเครอ่ื งมือในการพัฒนางานทัง้ ระบบ
เนน้ การเรยี นรู้และการบรหิ ารจัดการ
๔. ปรบั ปรงุ โครงสรา้ งของกระทรวงศกึ ษาธกิ ารใหเ้ กดิ ความคลอ่ งตวั
หากตดิ ขดั ในเรอ่ื งขอ้ กฎหมาย ใหผ้ บู้ รหิ ารระดบั สงู รว่ มหาแนวทางการแกไ้ ขรว่ มกนั
๕. ให้หน่วยงานระดับกรมกำ�หนดแผนงานสนับสนุนทรัพยากร
งบประมาณ อัตราก�ำ ลังตามความต้องการจำ�เปน็ ให้แก่หน่วยงานในพืน้ ท่ีภูมิภาค
๖. ใช้กลไกกองทนุ เพอ่ื ความเสมอภาคทางการศกึ ษา มาบรู ณาการ
การด�ำ เนนิ งานร่วมกับหน่วยจดั การศึกษา
๗. เรง่ ทบทวน (ร่าง) พระราชบัญญตั กิ ารศกึ ษาแหง่ ชาติ พ.ศ. ....
โดยปรับปรุงสาระสำ�คัญให้เอ้ือต่อการขับเคลอ่ื นนโยบายของรัฐบาล
๘. ในระดับพ้ืนท่ีหากเกิดปัญหาติดขัดการปฏิบัติงาน ต้องศึกษา
ตรวจสอบข้อมูล/ข้อเท็จจริงที่เกิดข้ึน เช่น จำ�นวนเด็กในพ้ืนท่ีน้อยลง ซึ่งจำ�เป็น
ต้องมีการควบรวมโรงเรียน ให้พิจารณาส่ือสารอธิบายทำ�ความเข้าใจที่ชัดเจน
กบั ชมุ ชน
๙. วางแผนการใชอ้ ตั ราก�ำ ลงั ครู โดยเฉพาะครรู ะดบั อนบุ าล และครู
ระดบั อาชวี ศกึ ษาใหม้ ปี ระสทิ ธภิ าพ และจดั ท�ำ แผนการประเมนิ ครอู ยา่ งเปน็ ระบบ
รวมท้ังจัดทำ�หลักสูตรการพัฒนาครูให้มีองค์ความรู้และทักษะในด้านพหุปัญญา
ของผู้เรยี น
๑๐. ให้ศึกษาธิการจังหวัดจัดทำ�แผนการจัดการศึกษาของ
แตล่ ะจงั หวดั น�ำ เสนอตอ่ คณะกรรมการศกึ ษาธกิ ารจงั หวดั และขบั เคลอ่ื นสกู่ ารปฏบิ ตั ิ
อย่างเป็นรูปธรรม
๑๑. ให้ผู้ตรวจราชการกระทรวงศึกษาธิการ และศึกษาธิการภาค
มีบทบาทหน้าท่ี ตรวจราชการ ติดตาม ประเมินผลในระดับนโยบาย และจัดทำ�
รายงานเสนอต่อรฐั มนตรีวา่ การกระทรวงศึกษาธกิ าร

นโยบายส�ำ นักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพน้ื ฐาน ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๓ 109
OBEC’S POLICY 2020

อนง่ึ สำ�หรบั ภารกิจของสว่ นราชการหลกั และหน่วยงานที่ปฏบิ ัติงาน
ตามปกติ (Function) งานในเชิงยุทธศาสตร์ (Agenda) และงานในเชิงพื้นท่ี
(Area) ซง่ึ ไดด้ �ำ เนนิ การอยกู่ อ่ นนน้ั หากรฐั บาลหรอื กระทรวงศกึ ษาธกิ ารมนี โยบาย
สำ�คัญเพิ่มเติมในปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๓ นอกเหนือจากท่ีกำ�หนด หากมี
ความสอดคล้องกับหลักการในข้างต้น ให้ถือเป็นหน้าที่ของส่วนราชการหลัก
และหนว่ ยงานทเ่ี กยี่ วขอ้ งจะตอ้ งเรง่ รดั ก�ำ กบั ตดิ ตาม ตรวจสอบใหก้ ารด�ำ เนนิ การ
เกิดผลส�ำ เรจ็ และมีประสทิ ธิภาพอย่างเปน็ รูปธรรมดว้ ยเช่นกนั

ทงั้ น้ี ต้งั แต่บดั นเี้ ปน็ ต้นไป
ประกาศ ณ วนั ที่ ๒๑ สงิ หาคม พ.ศ. ๒๕๖๒

(นายณัฏฐพล ทีปสวุ รรณ)
รัฐมนตรวี า่ การกระทรวงศกึ ษาธกิ าร

110 นโยบายส�ำ นักงานคณะกรรมการการศึกษาขน้ั พื้นฐาน ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๓
OBEC’S POLICY 2020

การวเิ คราะหส์ ภาพองคก์ ร (SWOT Analysis)
ส�ำ นกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาขน้ั พน้ื ฐาน

สำ�นักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานได้ระดมความคิดเห็น
และขอ้ เสนอแนะในการวเิ คราะหส์ ภาพขององคก์ ร (SWOT) จากผมู้ สี ว่ นไดส้ ว่ นเสยี
และผมู้ ีส่วนเกย่ี วขอ้ ง พบวา่ มจี ดุ แขง็ จดุ อ่อน โอกาส และอุปสรรค ดงั นี้

จุดแข็ง (Strengths)

๑. ส�ำ นกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาขนั้ พน้ื ฐานเปน็ องคก์ รภาครฐั
ขนาดใหญ่ ทม่ี คี วามพรอ้ มทงั้ ทางดา้ นก�ำ ลงั คน งบประมาณ และโครงสรา้ งพนื้ ฐาน
และสิ่งอำ�นวยความสะดวกในการจัดการศกึ ษาขัน้ พื้นฐาน
๒. สถานศึกษาในสังกัดกระจายท่ัวทุกภูมิภาคสามารถให้บริการ
การจดั การศกึ ษาขนั้ พน้ื ฐานใหแ้ กป่ ระชากรของประเทศได้อย่างครอบคลุม ทัว่ ถงึ
๓. มีเครือข่ายการบริหารจัดการในทุกระดับที่เอื้อต่อการพัฒนา
การศกึ ษา
๔. มเี ครอื ขา่ ยองคก์ รปกครองทอ้ งถน่ิ เอกชนและภาคสงั คมทเี่ ขม้ แขง็
พร้อมจะร่วมในการจัดการศกึ ษาให้แก่ประชากรของชาติ

จุดออ่ น (Weaknesses)

๑. การบริหารงานท่ีไม่มีประสิทธิภาพไม่สามารถจัดสรรทรัพยากร
ท่ีมีอยู่เป็นจำ�นวนมากทั้งบุคลากร งบประมาณ โครงสร้างพ้ืนฐานและสิ่งอำ�นวย
ความสะดวกต่าง ๆ ทม่ี ีให้เกิดประโยชนใ์ นการจดั การศึกษาได้

นโยบายสำ�นกั งานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๓ 111
OBEC’S POLICY 2020

๒. สถานศึกษาในสังกัด ในฐานะหน่วยปฏิบัติขาดความเป็นอิสระ
ในการบรหิ ารงานและการจดั การเรียนร้ใู หผ้ ู้เรยี น
๓. มีความเหล่ือมล้�ำในการได้รับการบริการการศึกษาท่ีมีคุณภาพ
และมีมาตรฐานเสมอกนั
๔. มโี รงเรยี นขนาดเลก็ จ�ำ นวนมาก ท�ำ ใหไ้ มส่ ามารถจดั สรรทรพั ยากร
เพือ่ พัฒนาคุณภาพการศกึ ษาได้อย่างเต็มท่ี
๕. ผู้บริหาร ครู และบุคลากรทางการศึกษาทุกประเภท
ขาดการพฒั นาอยา่ งตอ่ เนอื่ ง ท�ำ ใหข้ าดทกั ษะการจดั การเรยี นรู้ ขาดทกั ษะทจ่ี �ำ เปน็
ในศตวรรษท่ี ๒๑ เชน่ ทกั ษะการสอื่ สารภาษาองั กฤษ และทกั ษะดา้ นดจิ ทิ ลั เปน็ ตน้
๖. ระบบข้อมูลสารสนเทศยังขาดความสมบูรณ์ ไม่ครอบคลุม
ไม่สามารถเชอ่ื มโยงกบั หน่วยงานภายในและภายนอกได้
๗. ระบบการกำ�กบั ตดิ ตาม และประเมนิ ผล ยังขาดประสทิ ธภิ าพ
และไมม่ ีการน�ำ ผลการประเมนิ มาใชใ้ นการพัฒนาอย่างต่อเนอ่ื ง
๘. คุณภาพการศึกษาของผู้เรียนระดับการศึกษาข้ันพื้นฐานต่�ำกว่า
มาตรฐาน ซึง่ มผี ลมาจากมีผู้เรยี นจ�ำนวนมากขาดทกั ษะในการอ่าน ทกั ษะในการ
คิดเชิงวเิ คราะห์ และสังเคราะห์ และขาดทกั ษะในการเขียน
๙. ผู้เรียนขาดทักษะ ความรู้ ความสามารถ ด้านการคิดวิเคราะห์
การให้เหตุผลและการเรยี นรูใ้ นศตวรรษท่ี ๒๑
๑๐. ผู้เรียนส่วนใหญ่ยังมีปัญหาด้านคุณธรรมจริยธรรม และไม่
ตระหนกั ถงึ ความส�ำ คญั ของการมวี นิ ยั ความซอื่ สตั ยส์ จุ รติ และการมจี ติ สาธารณะ

112 นโยบายสำ�นักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพ้นื ฐาน ปงี บประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๓
OBEC’S POLICY 2020

โอกาส (Opportunities)

๑. รฐั ธรรมนญู แห่งราชอาณาจกั รไทย พ.ศ. ๒๕๖๐ ได้บญั ญัติไว้ใน
มาตรา ๕๔ ว่า “รฐั ต้องด�ำ เนินการใหเ้ ดก็ ทุกคนได้รับการศกึ ษาเปน็ เวลาสบิ สองปี
ตงั้ แตก่ อ่ นวยั เรยี นจนจบการศกึ ษาภาคบงั คบั อยา่ งมคี ณุ ภาพโดยไมเ่ กบ็ คา่ ใชจ้ า่ ย”
และค�ำ สงั่ หวั หนา้ คณะรกั ษาความสงบแหง่ ชาติ ที่ ๒๘/๒๕๕๙ เรอ่ื ง ใหจ้ ดั การศกึ ษา
ขัน้ พ้ืนฐาน ๑๕ ปี โดยไม่เก็บค่าใชจ้ า่ ย ไดม้ คี ำ�สง่ั ไว้ในข้อ ๓ ว่า “ใหส้ ว่ นราชการ
ท่ีเกี่ยวข้องกับการจัดการศึกษาขั้นพื้นฐานดำ�เนินการจัดการศึกษาข้ันพื้นฐาน
๑๕ ปี ให้มีมาตรฐานและคณุ ภาพ โดยไม่เกบ็ คา่ ใชจ้ า่ ย”
๒. ประเทศไทยมยี ทุ ธศาตรช์ าติ (พ.ศ. ๒๕๖๑ - ๒๕๘๐) เปน็ กรอบ
การพัฒนาประเทศให้เป็นประเทศท่ีพัฒนาแล้ว โดยเฉพาะยุทธศาสตร์ชาติ
ดา้ นการการพฒั นาและเสริมสร้างศักยภาพของทรพั ยากรมนุษย์ ที่เนน้ การพัฒนา
ทุกชว่ งวยั โดยรัฐบาลมนี โยบายการปฏริ ปู การศกึ ษาอย่างชดั เจน
๓. ความเปลี่ยนแปลงจากโลกาภิวัตน์ และความก้าวหน้า
ทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีท่ีได้รับการพัฒนาอย่างก้าวกระโดด ก่อให้เกิด
นวตั กรรมอยา่ งพลกิ ผนั เชน่ เทคโนโลยปี ญั ญาประดษิ ฐ์ อนิ เทอรเ์ นต็ ในทกุ สรรพสงิ่
การวิเคราะห์ข้อมูลขนาดใหญ่ หุ่นยนต์และโดรน เทคโนโลยีพันธุกรรมสมัยใหม่
และเทคโนโลยีทางการเงิน ซึ่งตัวอย่างแนวโน้มการพัฒนาเทคโนโลยี
อยา่ งกา้ วกระโดด
๔. โครงการกองทุนกู้ยืมเพ่ือการศึกษา โครงการนักเรียนพักนอน
โครงการอาหารกลางวนั สง่ ผลใหผ้ ู้ปกครองสง่ บตุ รหลานเขา้ รับการศึกษา
๕. หนว่ ยงานภาครฐั และเอกชนใหค้ วามส�ำ คญั ตอ่ การศกึ ษาและรว่ ม
ในการพฒั นาการศกึ ษามากข้นึ

นโยบายส�ำ นักงานคณะกรรมการการศกึ ษาข้ันพน้ื ฐาน ปงี บประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๓ 113
OBEC’S POLICY 2020

อุปสรรค (Threats)

๑. สถาบันการศึกษาท่ีผลิตครู ผลิตครูแต่ละสาขาไม่สอดคล้องกับ
ความขาดแคลน และความต้องการ
๒. ปัจจุบันค่าครองชีพของประชาชนสูงขึ้น ส่งผลให้ผู้ปกครอง
สนับสนุนลกู หลานไดไ้ ม่เตม็ ความสามารถ
๓. การย้ายถ่ินของประชากรวัยแรงงานเพ่ือประกอบอาชีพ ทำ�ให้
ผ้เู รียนเคล่อื นยา้ ยตามผูป้ กครอง ท�ำ ใหเ้ กดิ ปญั หาการออกกลางคนั และการไม่ส่ง
บุตรหลานเขา้ เรียน
๔. ขาดความเขา้ ใจในการมสี ว่ นรว่ มการบรหิ ารจดั การโรงเรยี นขนาดเลก็
๕. ผู้ปกครองบางคนละเลยไม่ส่งบุตรหลานเข้าเรียน ทำ�ให้เด็ก
ในวยั เรยี นอายุ ๖ - ๑๔ ปี ยงั ไมส่ ามารถเขา้ เรยี นการศกึ ษาภาคบงั คบั ไดค้ รบทกุ คน
๖. การสง่ เสริมการจดั การศกึ ษาสำ�หรับเด็กที่มคี วามต้องการพเิ ศษ
ยงั ด�ำ เนนิ การไดไ้ มม่ ากเทา่ ทคี่ วร ไมม่ กี ารส�ำ รวจจ�ำ นวนเดก็ ทมี่ คี วามตอ้ งการพเิ ศษ
อย่างแทจ้ รงิ
๗. การเปลี่ยนด้านสังคมอย่างรวดเร็ว อบายมุข ยาเสพติด
ส่ือที่ไมส่ รา้ งสรรค์
๘. ภยั คุกคามรูปแบบใหม่ และภัยคกุ คามทางไซเบอร์
๙. ปัจจัยภายนอกเข้ามาแทรกแซงในการบริหารงานบุคคล
ของหนว่ ยงาน
๑๐. โครงสร้างพนื้ ฐานดา้ น ICT ยังไม่มคี ุณภาพและประสิทธิภาพ
๑๑. กระบวนการวธิ งี บประมาณ ในการจดั สรรงบประมาณสนบั สนนุ
สถานศึกษา และผเู้ รยี นยงั ขาดประสิทธภิ าพ และไมเ่ พยี งพอ

114 นโยบายสำ�นักงานคณะกรรมการการศกึ ษาข้ันพื้นฐาน ปงี บประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๓
OBEC’S POLICY 2020

คำ�สงั่ ส�ำ นกั งานคณะกรรมการการศึกษาข้นั พนื้ ฐาน
ท่ี ๒๑๕๑/๒๕๖๑

เร่อื ง แตง่ ต้ังคณะท�ำ งานยกรา่ งนโยบายสำ�นกั งานคณะกรรมการ
การศกึ ษาข้นั พ้นื ฐาน ปงี บประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๓

ดว้ ย ส�ำ นกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาขน้ั พน้ื ฐาน เหน็ สมควรจดั ประชมุ
ยกร่างนโยบายสำ�นักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพื้นฐาน ปีงบประมาณ
พ.ศ. ๒๕๖๓ เพอื่ เปน็ การก�ำ หนดทศิ ทางการด�ำ เนนิ งานของส�ำ นกั งานคณะกรรมการ
การศึกษาข้ันพื้นฐาน ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๓
ดงั นน้ั เพอ่ื ใหก้ ารปฏบิ ตั งิ านและการด�ำ เนนิ งานเปน็ ไปอยา่ งมปี ระสทิ ธภิ าพ
ส�ำ นกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาขน้ั พน้ื ฐาน จงึ แตง่ ตง้ั คณะท�ำ งานยกรา่ งนโยบาย
ส�ำ นกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาขน้ั พน้ื ฐาน ปงี บประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๓ ดงั ตอ่ ไปนี้

ทป่ี รกึ ษา

นายบญุ รักษ์ ยอดเพชร เลขาธิการคณะกรรมการการศึกษาขั้นพนื้ ฐาน
นายสนิท แย้มเกษร ผชู้ ว่ ยเลขาธกิ ารคณะกรรมการการศกึ ษาขนั้ พนื้ ฐาน

คณะท�ำ งาน

๑. ว่าทรี่ อ้ ยตรี ธนุ วงษจ์ ินดา ประธานคณะท�ำ งาน

ผอู้ �ำ นวยการส�ำ นกั นโยบายและแผนการศกึ ษาข้ันพนื้ ฐาน

นโยบายสำ�นกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาข้นั พ้นื ฐาน ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๓ 115
OBEC’S POLICY 2020

๒. นายประพทั ธ์ รัตนอรุณ รองประธานคณะทำ�งาน

ผอู้ ำ�นวยการส�ำ นักงานเขตพื้นทก่ี ารศึกษามัธยมศึกษา เขต ๑๔

๓. นายเทอดชาติ ชัยพงษ์ คณะทำ�งาน

ผูอ้ ำ�นวยการส�ำ นกั งานเขตพืน้ ที่การศึกษาประถมศึกษา

เชียงราย เขต ๔

๔. นางสาวรตั นา แสงบวั เผอ่ื น คณะท�ำ งาน

รองผู้อำ�นวยการสำ�นกั วิชาการและมาตรฐานการศึกษา

๕. นายสุริยา หมาดท้ิง คณะท�ำ งาน

ผูอ้ �ำ นวยการกล่มุ นโยบายและแผน

ส�ำ นกั งานศึกษาธิการจงั หวัดสตูล

๖. นางสาวจิตตมิ า อยแู่ ย้มศร ี คณะท�ำ งาน

ผอู้ �ำ นวยการกล่มุ แผนและโครงการ

สำ�นักนโยบายและแผนการศึกษาขน้ั พนื้ ฐาน

๗. นางสาวปฐมาภรณ์ ปันอินทร ์ คณะทำ�งาน

ผอู้ �ำ นวยการกลุ่มพัฒนาคณุ ภาพผู้เรยี นการจัดการศึกษาทางไกล

ศนู ย์พัฒนาคุณภาพการศกึ ษาดว้ ยเทคโนโลยีการศกึ ษาทางไกล

๘. นางณัฐา เพชรธนู คณะทำ�งาน

นกั วชิ าการศึกษาช�ำ นาญการพเิ ศษ

ส�ำ นักทดสอบทางการศกึ ษา

๙. นางสาวขวญั ชวี า วรรณพินท ุ คณะท�ำ งาน

นกั วิชาการศึกษาชำ�นาญการพเิ ศษ

ส�ำ นักบริหารงานการมัธยมศกึ ษาตอนปลาย

116 นโยบายส�ำ นักงานคณะกรรมการการศึกษาขนั้ พ้นื ฐาน ปงี บประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๓
OBEC’S POLICY 2020

๑๐. นางมัลลวีร์ รอชโฟล คณะท�ำ งาน

นกั วชิ าการศกึ ษาชำ�นาญการพเิ ศษ

สำ�นกั พฒั นานวัตกรรมการจดั การศึกษา

๑๑. นายฉตั รชยั หวงั มีจงม ี คณะทำ�งาน

นักวชิ าการศกึ ษาชำ�นาญการพเิ ศษ

ส�ำ นักตดิ ตามและประเมนิ ผลการจัดการศึกษาขั้นพื้นฐาน

๑๒. นายพิทักษ์ โสตถยาคม คณะท�ำ งาน

นกั วชิ าการศึกษาช�ำ นาญการพิเศษ

สำ�นักพฒั นานวตั กรรมการจดั การศึกษา

๑๓. นางภาวิณี แสนทวีสุข คณะทำ�งาน

นักวิชาการศึกษาชำ�นาญการพิเศษ

ส�ำ นกั วชิ าการและมาตรฐานการศึกษา

๑๔. นายสรุ ศักด์ิ ศรสี วสั ด ์ิ คณะทำ�งาน

นักวชิ าการศกึ ษาช�ำ นาญการพิเศษ

สำ�นกั วิชาการและมาตรฐานการศึกษา

๑๕. นางสาวนวลพรรณ พลู ศรีสวัสดิ ์ คณะทำ�งาน

นกั วชิ าการศกึ ษาชำ�นาญการพเิ ศษ

ส�ำ นกั เทคโนโลยเี พื่อการเรียนการสอน

๑๖. นางพมิ พพ์ ิศา สุบรรณพงษ์ คณะท�ำ งาน

นักวเิ คราะหน์ โยบายและแผนช�ำ นาญการพิเศษ

ส�ำ นกั งานเขตพื้นท่ีการศกึ ษาประถมศึกษาบึงกาฬ

ชว่ ยราชการ ส�ำ นักนโยบายและแผนการศกึ ษาขน้ั พน้ื ฐาน

นโยบายสำ�นกั งานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพนื้ ฐาน ปงี บประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๓ 117
OBEC’S POLICY 2020

๑๗. นายวรพงษ์ น่วมอนิ ทร ์ คณะท�ำ งาน

นกั วชิ าคอมพวิ เตอร์ชำ�นาญการ

สำ�นกั เทคโนโลยีเพื่อการเรยี นการสอน

๑๘. นางสาววงเดือน สวุ รรณศริ ิ คณะท�ำ งาน

นกั วชิ าการศึกษาชำ�นาญการ

สำ�นักวิชาการและมาตรฐานการศกึ ษา

๑๙. นางสุชาดา คลา้ ยทอง คณะทำ�งาน

นักวิเคราะหน์ โยบายและแผนช�ำ นาญการ

สำ�นักนโยบายและแผนการศึกษาขน้ั พื้นฐาน

๒๐. นางสาวณภาภัช เพชรไทย คณะทำ�งาน

นักวิเคราะห์นโยบายและแผนช�ำ นาญการ

สำ�นักนโยบายและแผนการศึกษาข้ันพืน้ ฐาน

๒๑. นางกนกวรรณ ออ่ นตา คณะท�ำ งาน

นักวเิ คราะห์นโยบายและแผนชำ�นาญการ

ส�ำ นักงานเขตพ้นื ที่การศึกษาประถมศึกษาสมทุ รปราการ เขต ๑

๒๒. นางสาวกาญจนก์ ฤษด์ิ ทานเจอื คณะท�ำ งาน

นักวิชาการศกึ ษาปฏบิ ัติการ

ส�ำ นกั วิชาการและมาตรฐานการศกึ ษา

๒๓. นางสาวดาราวรรณ ผึ้งปฐมภรณ ์ คณะท�ำ งาน

นักวิเคราะหน์ โยบายและแผนปฏบิ ัติการ

สำ�นักนโยบายและแผนการศกึ ษาขน้ั พน้ื ฐาน

๒๔. นายกฤษณฤกษ์ กล่ินเพย คณะท�ำ งาน

นกั วชิ าการคอมพวิ เตอร์ปฏิบตั กิ าร

ส�ำ นกั นโยบายและแผนการศกึ ษาข้ันพื้นฐาน

118 นโยบายสำ�นักงานคณะกรรมการการศึกษาขน้ั พื้นฐาน ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๓
OBEC’S POLICY 2020

๒๕. นางวชั ราภรณ์ จติ รอนกุ ูล คณะทำ�งาน
ขา้ ราชการบ�ำ นาญ
๒๖. นางสาวสขุ เกษม ทกั ษณิ สมั พนั ธ์ คณะท�ำ งาน
ข้าราชการบ�ำ นาญ
๒๗. นางเพญ็ ศรี วิลาวรรณ คณะท�ำ งาน
ผู้อำ�นวยการกลมุ่ วิจัยและพฒั นานโยบาย และเลขานุการ
สำ�นักนโยบายและแผนการศึกษาขั้นพืน้ ฐาน
๒๘. นายวันชยั จันทร์ด�ำ คณะท�ำ งาน
ผอู้ ำ�นวยการกลุ่มงบประมาณ ๑ และผ้ชู ว่ ยเลขานกุ าร
ส�ำ นกั นโยบายและแผนการศึกษาขน้ั พน้ื ฐาน
๒๙. นายวโิ รจน์ ธานมาศ คณะทำ�งาน
นักวเิ คราะห์นโยบายและแผนชำ�นาญการ และผ้ชู ว่ ยเลขานกุ าร
สำ�นกั นโยบายและแผนการศกึ ษาขน้ั พน้ื ฐาน
๓๐. นางจรินทร พุ่มพวง คณะท�ำ งาน
เจ้าพนักงานธรุ การช�ำ นาญงาน และผูช้ ่วยเลขานุการ
ส�ำ นกั นโยบายและแผนการศึกษาขั้นพ้นื ฐาน
๓๑. นางสาวณฐั ธรี า มจี ันทร์ คณะท�ำ งาน
นกั วเิ คราะห์นโยบายและแผนปฏิบัติการ และผ้ชู ่วยเลขานกุ าร
ส�ำ นักนโยบายและแผนการศึกษาขน้ั พ้ืนฐาน
๓๒. นายวัชรินทร์ จะปะมากา คณะทำ�งาน
พนกั งานธรุ การ และผู้ช่วยเลขานกุ าร
ส�ำ นักนโยบายและแผนการศึกษาข้ันพื้นฐาน

นโยบายส�ำ นักงานคณะกรรมการการศกึ ษาข้ันพนื้ ฐาน ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๓ 119
OBEC’S POLICY 2020

ให้คณะท�ำ งานมหี นา้ ที่ ดงั น้ี
๑. ศึกษาวิเคราะห์ยุทธศาสตร์ชาติ (พ.ศ. ๒๕๖๑ - ๒๕๘๐)
แผนพฒั นาเศรษฐกจิ และสงั คม ฉบบั ที่ ๑๒ (พ.ศ. ๒๕๖๐ - ๒๕๖๕) แผนการศกึ ษา
แห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๖๐ - ๒๕๗๙ แนวทางการปฏิรูปการศึกษาของคณะกรรมการ
อิสระเพ่อื ปฏริ ปู การศกึ ษา
๒. ศกึ ษา วเิ คราะห์ นโยบายดา้ นการศกึ ษาขนั้ พนื้ ฐานทงั้ ระยะสน้ั
และระยะยาวใหส้ อดคลอ้ งกับยทุ ธศาสตรช์ าติ (พ.ศ. ๒๕๖๑ - ๒๕๘๐)
๓. ยกรา่ งนโยบายส�ำ นกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาขน้ั พน้ื ฐาน
ป ีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๓
ท ัง้ น้ี ต้งั แต่บดั นีเ้ ปน็ ต้นไป
ส่งั ณ วันที่ ๒๔ ตุลาคม พ.ศ. ๒๕๖๑

(นายสนทิ แย้มเกษร)
ผู้ชว่ ยเลขาธิการคณะกรรมการการศึกษาขนั้ พ้นื ฐาน
ปฏิบัติราชการแทน
เลขาธกิ ารคณะกรรมการการศึกษาขน้ั พ้ืนฐาน

120 นโยบายส�ำ นักงานคณะกรรมการการศกึ ษาขัน้ พ้ืนฐาน ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๓
OBEC’S POLICY 2020

คณะท�ำ งาน

ทป่ี รึกษา

นายสเุ ทพ ชติ ยวงษ์ เลขาธิการคณะกรรมการการศกึ ษาขน้ั พื้นฐาน
นายสนทิ แย้มเกษร รองเลขาธิการคณะกรรมการการศกึ ษาขัน้ พนื้ ฐาน
ผอู้ �ำ นวยการส�ำ นกั นโยบายและแผนการศกึ ษาขน้ั พน้ื ฐาน

บรรณาธิการกจิ

นางเพ็ญศรี วิลาวรรณ สำ�นกั นโยบายและแผนการศกึ ษาขน้ั พื้นฐาน

นายวันชัย จนั ทรด์ �ำ สำ�นักเทคโนโลยเี พื่อการเรียนการสอน

นางปัทมา ปนั ทวังกูร ส�ำ นกั นโยบายและแผนการศกึ ษาขน้ั พน้ื ฐาน

นางสาวณฐั ธีรา มีจันทร ์ สำ�นักนโยบายและแผนการศึกษาข้ันพน้ื ฐาน

นางสาวไอรตั นด์ า ศลิ าโรจนสมบตั ิ ส�ำ นกั นโยบายและแผนการศกึ ษาข้นั พน้ื ฐาน

นายวชั รนิ ทร์ จะปะมากา สำ�นกั นโยบายและแผนการศึกษาขนั้ พ้ืนฐาน

ออกแบบปกและรูปเลม่

นางสาวณัฐธรี า มีจันทร์ ส�ำ นักนโยบายและแผนการศึกษาขน้ั พื้นฐาน
นายวชั รนิ ทร์ จะปะมากา ส�ำ นักนโยบายและแผนการศึกษาขน้ั พ้นื ฐาน

นโยบายสำ�นักงานคณะกรรมการการศึกษาขัน้ พ้นื ฐาน ปงี บประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๓ 121
OBEC’S POLICY 2020

สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขน้ั พน�้ ฐาน
กระทรวงศึกษาธิการ
๐ ๒๒๘๐ ๕๕๓๐, ๐ ๒๒๘๘ ๕๘๓๙ - ๔๐
[email protected]
www.obec.go.th


Click to View FlipBook Version