คำนำ
จากสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคโควิด 19 ทั่วโลกทวีความรุนแรงเพิ่มมากขึ้น โดยเฉพาะใน
ประเทศไทยที่เกิดการแพร่ระบาดของโรคโควิด 19 ขยายวงกว้างมากขึ้นและรวดเร็ว พบผู้ติดเชื้อยืนยันราย
ใหม่วันละหลายพันรายอย่างต่อเนื่อง ส่งผลทำให้บุคลากรของสถานศึกษาและผู้ปกครองเกิดความตระหนก
และวิตกกังวลต่อการแพร่ระบาดของโรค จึงกำหนดให้ถือปฏิบัติตามมาตรการการควบคุมและป้องกันการตดิ
เชื้อโรคไวรัสโคโรนา 2019 อย่างเข้มข้นและต่อเนื่อง ดังนั้น โรงเรียนวัดลาดตาลได้เล็งเห็นและตระหนักถึง
ความสำคญั อย่างย่ิงในการป้องกันการแพร่ระบาดของโคโควิด 19 จงึ ได้จัดทำ “คมู่ อื การเฝา้ ระวังติดตามและ
แผนเผชญิ เหตุรองรบั การแพร่ระบาดของโรคโควดิ 19 ในโรงเรียนวดั ลาดตาล”
หวงั เปน็ อย่างยง่ิ ว่า บุคลากรและผ้เู ก่ยี วขอ้ งจะไดน้ ำไปใชป้ ระกอบและเป็นแนวปฏบิ ัติในการเฝ้าระวัง
กำกบั ติดตาม และเตรยี มการเตรยี มพร้อมต่อการเผชิญเหตรุ องรบั สถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคโควิด 19
อาจเกิดขึ้นในระลอกใหม่อยา่ งทนั เหตุการณ์ อันจะส่งผลให้นกั เรยี น บคุ ลากรของสถานศึกษา และผู้เก่ยี วข้อง
ปลอดภัย ไม่เส่ยี ง ไม่มีอาการปว่ ยของโรคโควิด 19 และสามารถดำเนินชวี ติ อย่างปกตสิ ุขตามแนวชีวิต วถิ ใี หม่
(New Normal)
คู่มือการเฝ้าระวังติดตามและแผนเผชิญเหตุรองรับการแพรร่ ะบาดของโรคโควดิ 19 ในโรงเรยี นวัดลาดตาล ก
สารบัญ หนา้
คำนำ ก
สารบัญ ข
1
1. บทนำ 5
2. เกณฑ์การพจิ ารณาความเส่ียงและการเฝ้าระวังโรคโควิด 19 18
3. มาตรการรองรับการเปิดภาคเรยี นของโรงเรยี น เพื่อจดั การเรียนการสอนแบบ on site 26
4. แผนเผชญิ เหตุรองรับสถานการณก์ ารแพรร่ ะบาดของโรคโควิด 19 ของโรงเรยี นวดั ลาดตาล 32
5. การกำกับติดตามและประเมนิ ผล 37
6. แนวทางปฏิบัตกิ ารปดิ หรือไม่ปิดสถานศึกษากรณีเกดิ โรคโควดิ 19
ภาคผนวก 41
⚫ รายชอื่ คณะกรรมการป้องกันการแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรสั โคโรนา 2019 (COVID-19)
42
โรงเรยี นวัดลาดตาล อ.เมอื งฯ จ.สุพรรณบรุ ี
⚫ 6 มาตรการหลกั ในการปอ้ งกนั การแพรร่ ะบาดของโรคตดิ เชอื้ ไวรสั โคโรนา 2019 (COVID-19)
ในสถานศกึ ษา
คู่มอื การเฝา้ ระวังตดิ ตามและแผนเผชิญเหตรุ องรบั การแพรร่ ะบาดของโรคโควดิ 19 ในโรงเรยี นวัดลาดตาล ข
สถานการณ์โรคโควิด 19 ทว่ั โลก
รายงานสถานการณ์ผู้ป่วยติดเชื้อยืนยันโรคโควิด 19 ทั่วโลก 218 ประเทศ มีการแพร่ระบาด รุนแรง
เพิ่มมากขึ้นอย่างต่อเนื่องแพร่กระจายไปยังหลายประเทศโดยเฉพาะในสหรัฐอเมริกา อินเดีย ยุโรป รวมถึง
เอเชีย เริ่มมีการแพร่ระบาดของโรคโควิด 19 ระลอก 2 ขยายวงกว้างมากขึ้น ปัจจุบัน มีผู้ป่วยติดเชื้อยืนยัน
สะสม จำนวน 162,525,588 ราย เสียชีวิต 3,371,049 ราย อาการรนุ แรง 103,604 ราย ประเทศทมี่ ผี ูป้ ่วยติด
เชื้อยืนยันสะสมมากที่สุด ได้แก่ อันดับ 1 สหรัฐอเมริกา 33,664,013 ราย เสียชีวิต 599,314 ราย อันดับ 2
อินเดีย 24,372,243 รายเสียชีวิต 266,229 ราย และอันดับ 3 บราซิล 15,521,313 ราย เสียชีวิต 432,785
ราย ส่วนประเทศไทย ลำดบั ที่ 95 ของโลก
ทม่ี า : https://media.thaigov.go.th/uploads/public_img/source/150564.pdf 1
คมู่ ือการเฝา้ ระวงั ตดิ ตามและแผนเผชญิ เหตุรองรบั การแพรร่ ะบาดของโรคโควิด 19 ในโรงเรยี นวดั ลาดตาล
ประเทศในเอเชยี พบผ้ปู ่วยติดเชื้ออย่างต่อเนื่องมากที่สดุ คืออินเดีย พบผปู้ ่วยรายใหม่กว่าสามแสนราย
(326,123 ราย) เสยี ชวี ติ วนั ละกวา่ สามพนั ราย (3,879 ราย) และสาธารณรฐั อินโดนเี ซยี พบผปู้ ่วยยืนยันตดิ เชื้อ
สะสม 1,734,285 ราย ยืนยันติดเช้อื รายใหม่ 2, 633 ราย เสียชีวิตสะสม 47,823 ราย
สถานการณ์โรคโควดิ 19 ในประเทศไทย
สถานการณ์การติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 ในประเทศไทย มผี ู้ตดิ เชื้อจำนวนสงู ขึ้นอยา่ งต่อเน่ือง พบผู้
ตดิ เชื้อสะสมจากการระบาดในระลอกใหม่ 70,282 ราย เสยี ชีวิตสะสม 565 ราย รกั ษาหายสะสม 63,667 ราย
โดยจำนวนผู้ติดเชื้อรายวันในประเทศยังมากกว่าสองพันรายต่อวัน ในวันนี้มีรายงานผู้ติดเชื้อรายใหม่ 3,095
ราย จาก 61 จงั หวดั เสยี ชวี ติ เพ่มิ 17 ราย (ขอ้ มูลวนั ที่ 15 พฤษภาคม 2564)
แนวโน้มการติดเชื้อในภาคเหนือ ใต้ และตะวันออกเฉียงเหนือมีแนวโน้มลดลง ส่วนใน
กรุงเทพมหานครและปริมณฑล การระบาด ยังคงมีแนวโน้มเพิ่มสูงขึ้นโดยเฉพาะในกรุงเทพมหานคร นนทบุรี
ปทุมธานี และสมุทรปราการ ซึ่งพบการระบาด ต่อเนื่องในชุมชนที่มีผู้อาศัยอย่างหนาแน่น โรงงาน สถาน
ประกอบการ และตลาด ผตู้ ิดเชื้อสว่ นใหญ่ในระยะนม้ี ีประวัตสิ มั ผสั กบั ผตู้ ิดเชอื้ รายก่อนหนา้ ท้งั คนในครอบครัว
เพื่อนบา้ น และเพอื่ นร่วมงาน
ทีม่ า : https://ddc.moph.go.th/viralpneumonia/file/situation/situation-no498-150564.pdf
สถานการณ์โรคโควดิ 19 ในเดก็
ความเป็นไปได้ของคนทุกช่วงวัยสามารถติดเชื้อไวรัสโควิด 19 ปัจจุบันรายงานการติดเชื้อ และ
เสียชีวิตดว้ ยโรคโควดิ 19 ในเด็กพบน้อยมาก เดก็ เปน็ กลมุ่ เสีย่ งในการติดเชอื้ คอ่ นข้างตำ่ เนอ่ื งจากเดก็ มี ACE2
receptor ในทางเดนิ หายใจนอ้ ย ทำใหเ้ ชอื้ โควิดเข้าส่รู ่างกายได้ยากกว่าผ้ใู หญ่ ข้อมลู สถติ ผิ ้ปู ว่ ยสะสมโรคโควดิ
19 ของประเทศไทย ระบวุ า่ พบผ้ตู ิดเชือ้ ในกลุ่มอายุ 0-9 ปี รวม 638 ราย คิดเป็นรอ้ ยละ 2.6 กลมุ่ อายุ 10-19
ปี รวม 1,217 ราย คดิ เปน็ รอ้ ยละ 5.0
คู่มือการเฝ้าระวงั ติดตามและแผนเผชญิ เหตรุ องรับการแพรร่ ะบาดของโรคโควดิ 19 ในโรงเรยี นวดั ลาดตาล 2
ข้อมูลจากการศึกษาในประเทศจีน พบว่า มีเพียง ร้อยละ 10 ของ Cluster โรคโควิด 19 ที่เกิดจาก
เด็กเป็นแหล่งแพร่เชื้อ ขณะที่โรคไข้หวัดใหญ่ พบว่า ร้อยละ 55 ของ Cluster ที่เป็นโรคไข้หวัดใหญ่ เกิดจาก
เดก็ เป็นแหล่งแพรเ่ ชื้อโรค การมาโรงเรยี นมผี ลต่อพัฒนาการและภาวะโภชนาการในเดก็ เลก็
(ทีม่ า : ข้อมูลจากคณะกรรมการวิชาการ พรบ.โรคติดตอ่ 2558)
สถานการณต์ า่ งประเทศทน่ี า่ สนใจกบั ความเส่ยี ง
ราชอาณาจักรฮังการีเริ่มฉีดวัคซีนป้องกันโรคโควิด-19 ให้กับกลุ่มคนอายุ 16-18 ปี ขณะที่รัฐบาล
กำลังดำเนินการผ่อนปรนมาตรการป้องกันและควบคุมโรค โดยโรงเรียนเปิดการเรียนการสอนตามปกติแล้ว
ตั้งแต่วันที่ 12 พฤษภาคม 2564 ส่วนร้านค้าและบริการส่วนใหญ่ก็กลับมาเปิดทำการแล้วตั้งแต่ช่วงต้นเดือน
พฤษภาคม อย่างไรก็ตาม ผ้ทู จ่ี ะสามารถใชบ้ ริการภายในอาคารได้ต้องไดร้ ับการฉีดวคั ซีนแล้วเท่านน้ั
ส่วนสาธารณรัฐจีน ยกระดับมาตรการรักษาระยะห่างทางสังคมในกรุงไทเปและเขตนิวไทเปซิตี้หลัง
พบผตู้ ิดเช้อื รายใหมใ่ นชมุ ชน 180 ราย ทางการไต้หวนั จึงไม่อนญุ าตให้ประชาชนรวมตวั กนั ในอาคารเกนิ 5 คน
และนอกอาคารไม่เกิน 10 คน แต่ไม่ได้สั่งล็อกดาวน์ทัง้ หมด โดยโรงเรยี น สถานทร่ี าชการ ท่ีทำงาน และธุรกิจ
สว่ นใหญ่เปดิ ให้บรกิ ารไดห้ ากยังรักษาระยะห่างและสวมหน้ากากอนามยั ตลอดเวลา
และในสาธารณรัฐแห่งสหภาพเมียนมา ยังคงมีผู้ติดเชื้อเพิ่มข้ึนอย่างต่อเนื่อง เพื่อเป็นการป้องกันการ
แพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID – 19) ในจังหวัดชายแดนที่มีพื้นที่ติดต่อกับชายแดน
ของสาธารณรัฐแห่งสหภาพเมียนมาจำนวน 10 จังหวัดชายแดนด้านเมียนมา ได้แก่ กาญจนบุรี ชุมพร
เชียงราย เชียงใหม่ ตาก ประจวบครี ีขันธ์ เพชรบุรี แมฮ่ อ่ งสอน ระนอง และราชบรุ ีโดยกระทรวงมหาดไทยได้มี
หนังสือแจ้งผู้ว่าราชการจังหวดั ชายแดนด้านเมียนมาให้กำชับหน่วยงานที่เกี่ยวข้องในพื้นท่ีดำเนินการเพิ่มเตมิ
ดังนี้
คมู่ อื การเฝ้าระวงั ตดิ ตามและแผนเผชญิ เหตุรองรับการแพรร่ ะบาดของโรคโควดิ 19 ในโรงเรยี นวดั ลาดตาล 3
1. การเดินทางเข้ามาในประเทศผ่านช่องทางการเข้าออกด่านจุดผ่านแดนหรือจุดผ่อนปรนในพื้นท่ี
รบั ผิดชอบ ให้ดำเนินการตามมาตรการและแนวทางการปฏิบัติของการป้องกันโรคสำหรับผู้ทเ่ี ดินทางเข้ามาใน
ราชอาณาจักรฯ ตามคำส่ังศูนยบ์ ริหารสถานการณ์การแพรร่ ะบาดของโรคตดิ เชื้อไวรสั โคโรนา 2019 (COVID -
19) (ศบค.) อย่างเครง่ ครดั
2. บูรณาการร่วมกันของหน่วยงานที่เกี่ยวข้องในพื้นที่ชายแดนเพื่อเพ่ิมเข้ามาอย่างผิดกฎหมายผ่าน
ช่องทางธรรมชาติบริเวณชายแดน ซึ่งหากพบกรณีดังกล่าวให้ดำเนินการตามระเบียบ กฎหมายที่เกี่ยวข้อง
และมาตรการป้องกันโรคทก่ี ระทรวงสาธารณสขุ กำหนดอยา่ งเข้มงวด
จากสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคโควิด 19 ในเมียนมาระลอกที่ 2 ส่งผลกระทบทำให้พื้นที่
จังหวัดชายแดนด้านเมียนมาบางจังหวัดมีโอกาสเสี่ยงต่อการแพร่แพร่ระบาดของเชื้อโควิด 19 อาทิ จังหวัด
แม่ฮ่องสอน มีแนวเขตติดต่อกับ เมียนมาตลอดแนวชายแดน จึงต้องเฝ้าระวังอย่างเข้มงวด ที่ประชุม
คณะกรรมการโรคตดิ ตอ่ จังหวัดแม่ฮ่องสอนได้ประชมุ พจิ ารณาสถานการณด์ ังกล่าว มมี ติปดิ จดุ ผ่อนปรนการค้า
ชายแดนทุกช่องทาง 15 วัน เริ่มวันที่ 3 กันยายน 2563 เป็นต้นไป ห้ามคน ยานพาหนะ สินค้าทุกชนิด เข้า
ออก โดยเด็ดขาดรวมทั้งศูนย์อพยพทุกแห่งในพื้นที่จังหวัดแม่ฮ่องสอนด้วยส่วนผู้ป่วยที่อยู่ภายในศูนย์อพยพ
สามารถเข้ามาตรวจรักษาในโรงพยาบาลในตัวเมืองหรือโรงพยาบาลอำเภอได้ตามปกติ แต่ถ้าหากพบมีเชื้อ
ไวรัสก็ให้อยู่ภายในศูนย์อพยพ ยกเว้นหากมีผู้ป่วยรุนแรงก็สามารถเข้ามารักษาในตัวเมืองได้ ทุกช่อง
ทางเขา้ ออกจะมีเจ้าหนา้ ท่คี อยควบคุมดูแลอย่างใกลช้ ดิ
กระทรวงศึกษาธิการได้กำชับโรงเรียนท่ีอยู่บริเวณพนื้ ท่ีชายแดนให้มีการปฏิบัติตามมาตรการ ป้องกัน
ของกระทรวงสาธารณสุขอย่างเคร่งครัด ทั้งนี้มีโรงเรียนในพื้นที่ติดชายแดนเมียนมาที่ปิดการเรียนการสอน
จำนวน 3 แห่ง ได้แก่ โรงเรียนในพื้นที่ชายแดนจังหวัดกาญจนบุรี 1 แห่ง และโรงเรียนในพื้นที่ติดชายแดน
จงั หวดั ประจวบคีรีขันธ์ 2 แห่ง ซ่ึงไดป้ ระสานเจา้ หนา้ ที่สาธารณสุขมาประเมินถึงความจำเป็นท่ีจะต้องปิดเรียน
ส่วนโรงเรียนอืน่ ๆ ในเขตพื้นทีจ่ งั หวัดชายแดน ได้มอบหมายให้สำนักงานเขตพื้นท่ีการศึกษา (สพท.) ประสาน
กับศูนย์บริหารสถานการณก์ ารแพร่ระบาดของโรคติดเช้ือไวรัสโคโรนา 2019 (โควิด 19) ระดับจังหวัด ในการ
ดำเนนิ การต่อไป
คู่มอื การเฝา้ ระวังติดตามและแผนเผชญิ เหตรุ องรับการแพรร่ ะบาดของโรคโควดิ 19 ในโรงเรยี นวัดลาดตาล 4
จากสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคโควิด 19 ที่กำลังดำเนินอยู่อย่างต่อเนื่อง จึงได้มีการกำหนด
เกณฑ์การพิจารณาระดับความรุนแรงของการระบาด ความเสี่ยงและการเฝ้าระวัง โดยจำแนกเป็น 3 ระดับ
กลา่ วคอื ระดับประเทศ ระดับชุมชน และระดบั สถานศึกษา มดี ังน้ี
1. เกณฑ์การพิจารณาระดบั ความรนุ แรงของการระบาดของโรคโควดิ 19 ระดบั ประเทศ
การพิจารณาระดับความรุนแรงของการระบาดของโรคโควิด 19 ระดับประเทศ ควรคำนึงถึง
ความสำคัญของคุณลักษณะ 3 ประเด็น ได้แก่ 1) จำนวนผู้ติดเชื้อรายใหม่สะสมต่อสัปดาห์ 2) ลักษณะการ
กระจายของโรคตามจังหวัดและเขตสุขภาพ 3) การกระจายของโรคตามลักษณะทางระบาดวิทยา แต่ละ
ประเด็นมีการจำแนกระดับความรุนแรงของการระบาดของโรคโควิด 19 ตามลักษณะสี แบ่งเป็น 5 สี ได้แก่ สี
ขาว เขียว เหลือง ส้ม แดง มีรายละเอยี ดคณุ ลกั ษณะ ดงั นี้
สขี าว (ปลอดภยั มีวัคซีน) หมายถึง ไมม่ ผี ตู้ ิดเชื้อในประเทศ มผี ู้ติดเชอ้ื มาจากตา่ งประเทศ ผูเ้ ดนิ ทาง
มาจากตา่ งประเทศเขา้ สถานทก่ี กั กัน ผู้ติดเช้ือเขา้ รักษาในโรงพยาบาลท่กี ำหนด
สีเขยี ว (ไมร่ ุนแรง ไมม่ วี ัคซนี ) หมายถึง มีผู้ตดิ เชือ้ ในประเทศ มีผู้ติดเชือ้ มาจากต่างประเทศ
ผู้เดนิ ทางจากตา่ งประเทศเขา้ สถานท่ีกกั กนั ผู้ติดเชอ้ื เข้ารกั ษาในโรงพยาบาลท่ีกำหนด
สีเหลือง (รุนแรงน้อย) หมายถึง จำนวนผู้ติดเชื้อรายใหม่สะสมต่อสัปดาห์น้อยกว่า 300 รายต่อ
สัปดาห์ ลักษณะการกระจายของโรคตามจังหวัดและเขตสุขภาพ ไม่เกิน 1 จังหวัดต่อเขต และไม่เกิน 3 เขต
การกระจายของโรคตามลักษณะทางระบาดวิทยา ระบาดในวงจำกดั มีไมเ่ กิน 3 กลมุ่ กอ้ น (Cluster)
สีส้ม (รนุ แรงปานกลาง) หมายถึง จำนวนผตู้ ิดเชือ้ รายใหมส่ ะสมตอ่ สัปดาห์ 300-900 รายตอ่ สัปดาห์
ลักษณะการกระจายของโรคตามจังหวัดและเขตสุขภาพ ไม่เกิน 1 จังหวัดต่อเขต จำนวน 4-6 เขต หรือ
มากกว่า 1 จังหวัดต่อเขต และไม่เกิน 3 เขต การกระจายของโรคตามลักษณะทาง ระบาดวิทยา ระบาดใน
วงจำกดั มมี ากกว่า 3 กลุม่ ก้อน (Cluster) และมคี วามเชื่อมโยงกนั
สีแดง (รนุ แรงมาก) หมายถึง จำนวนผู้ติดเชอื้ รายใหมส่ ะสมต่อสัปดาห์มากกว่า 900 ราย ต่อสัปดาห์
ลักษณะการกระจายของโรคตามจังหวัดและเขตสุขภาพ ไม่เกนิ 1 จังหวดั ต่อเขตและเกิน 6 เขต หรือ มากกว่า
1 จงั หวดั ต่อเขต และเกนิ 3 เขต การกระจายของโรคตามลกั ษณะทางระบาดวิทยา มีการระบาดในวงกว้าง หา
สาเหตไุ ม่ได้
คู่มือการเฝา้ ระวงั ตดิ ตามและแผนเผชิญเหตรุ องรบั การแพรร่ ะบาดของโรคโควดิ 19 ในโรงเรยี นวัดลาดตาล 5
เกณฑ์การพิจารณาระดับความรนุ แรง
เกณฑก์ ารพิจารณา ขาว เขียว
ความรุนแรง
(ปลอดภยั มีวัคซีน) (ไมร่ นุ แรง ไมม่ ีวัคซนี )
1. จำนวนผูต้ ดิ เช้อื ราย
ใหมส่ ะสมต่อสปั ดาห์ - ไมม่ ผี ูต้ ิดเช้อื ในประเทศ - มผี ูต้ ิดเชอ้ื ในประเทศ
- มผี ู้ตดิ เชื้อมาจาก - มผี ูต้ ดิ เชอื้ มาจาก
ตา่ งประเทศ ต่างประเทศ
2. ลกั ษณะการกระจาย - ผู้เดินทางมาจาก - ผเู้ ดินทางจาก
ของโรคตามจงั หวดั และ ต่างประเทศเขา้ สถานที่ ต่างประเทศเข้าสถานท่ี
เขตสขุ ภาพ กกั กนั กกั กัน
- ผตู้ ิดเชือ้ เขา้ รกั ษาใน - ผตู้ ดิ เชอ้ื เข้ารักษาใน
โรงพยาบาลทก่ี ำหนด โรงพยาบาลท่ีกำหนด
3. การกระจายของโรค - ผู้เดินทางมาจาก - ผเู้ ดนิ ทางจาก
ตามลักษณะทางระบาด ต่างประเทศเข้าสถานท่ี ตา่ งประเทศเขา้ สถานที่
วทิ ยา กักกนั กกั กัน
- ผู้ตดิ เชอ้ื เขา้ รักษาใน - ผู้ติดเชื้อเข้ารกั ษาใน
โรงพยาบาลทก่ี ำหนด โรงพยาบาลท่ีกำหนด
คณะกรรมการวิชาการพจิ ารณา และกำหนดระดับความรุนแรงเมื่อเกดิ การระบาดของ
กรณีเกดิ การระบาด จะมกี ารปรับปรุงระดบั สที ุกสปั ดาห์ ตามสถานกรณ์ ณ ขณะน้ัน
คมู่ อื การเฝา้ ระวงั ตดิ
งของการระบาดโควิด 19 ระดบั ระเทศ
เหลือง สม้ แดง
(รนุ แรงนอ้ ย)
- นอ้ ยกวา่ 300 รายต่อ (รนุ แรงปานกลาง) (รนุ แรงมาก)
สัปดาห์
- 300-900 รายต่อ - มากกวา่ 900 ราย ต่อ
สปั ดาห์ ไม่เกนิ 1 จังหวดั สปั ดาห์
ตอ่ เขต
- ไม่เกิน 1 จังหวดั ต่อเขต - ไม่เกิน 1 จงั หวดั ต่อเขต - ไมเ่ กิน 1 จังหวดั ต่อเขต
และไม่เกนิ 3 เขต จำนวน 4-6 เขต หรือ และเกนิ 6 เขต หรือ
มากกว่า 1 จงั หวดั ต่อเขต มากกวา่ 1 จังหวดั ต่อเขต
และไม่เกนิ 3 เขต และเกนิ 3 เขต
- ระบาดในวงจำกัด มีไม่ - ระบาดในวงจำกัด มี - มีการระบาดในวงกว้าง
เกิน 3 กลุ่มก้อน มากกว่า 3 กลมุ่ ก้อน หาสาเหตไุ ม่ได้
(Cluster) (Cluster) และมีความ
เชื่อมโยงกัน
งโรค (ปรบั ปรงุ จาก กก.ด้านวิชาการ 6 ส.ค.63)
ผู้จดั ทำ กระทรวงสาธารณสุข
ดตามและแผนเผชิญเหตุรองรับการแพรร่ ะบาดของโรคโควดิ 19 ในโรงเรยี นวัดลาดตาล 6
2. เกณฑ์การพิจารณาความเสย่ี งและการเฝา้ ระวังระดับชมุ ชน
จากสถานการณ์ความเสี่ยงต่อการแพร่ระบาดของโรคโควิด 19 ในพื้นที่ชุมชนจังหวัดระยอง กรณี
ทหารลูกเรือเครื่องบินทหารชาวอียิปต์ขณะมาปฏิบัติภารกิจทางการทหารในพื้นที่จังหวัดระยองเข้าพักใน
โรงแรมแห่งหนึ่ง อำเภอเมือง จังหวัดระยอง จากการตรวจคัดกรองโรคโควิด 19 จำนวน 31 ราย พบติดเช้ือ
ไวรัสโรคโควดิ 19 จำนวน 1 ราย เพศชาย อายุ 43 ปี ในทีมลูกเรือดังกล่าว ได้เดินทางไปห้างสรรพสินค้าใกล้
โรงแรมจากเหตุการณ์ในช่วงระยะเวลาระหว่างวันที่ 6-11 กรกฎาคม 2563 สร้างความตระหนกและความ
แตกตื่นแก่ประชาชนทั่วทั้งจังหวัดระยองและจังหวัดใกล้เคียง ส่งผลกระทบต่อเศรษฐกิจและสังคม เกิดความ
หวาดระแวงต่อการติดเชื้อซึ่งนักท่องเที่ยวกลุ่มประชุมสัมมนายกเลิกการจองห้องพักในจังหวัดระยองเกือบ
ทั้งหมด รวมถึงสง่ ผลกระทบด้านการศึกษา ผู้ปกครองเกิดความกังวล ไมม่ ัน่ ใจในสถานการณ์ความเส่ียงท่ีมีต่อ
ความปลอดภัยของนักเรียนที่เป็นบุตรหลานช่วงเปิดเทอม ทำให้สถานศึกษาในจังหวัดระยองปิดทำการเรียน
การสอน 274 แห่ง กระทรวงสาธารณสุขจึงกำหนดเกณฑ์การพิจารณาความเสี่ยงและการเฝ้าระวังในการ
ประเมิน ความเสี่ยงกรณีเกิดมีปัจจัยเสี่ยงของคนในครอบครัวในชุมชนหรือหมู่บ้านกับความเชื่อมโยง
สถานศึกษา สำหรับให้สถานศึกษาใช้เป็นมาตรการดำเนินการให้สอดคล้องตามสถานการณ์จำแนกเป็น 4 สี
ไดแ้ ก่ แดง ส้ม เหลอื ง และเขียว มีดงั นี้
สีแดง หมายถึง กรณีมีปัจจัยเสี่ยงมีผู้ป่วยในชุมชนใน 7 วัน คนในครอบครัวสัมผัสใกล้ชิดกับผู้ป่วย
อาการของคนในครอบครัวป่วยยืนยันโรคโควิด 19 ระดับความเสี่ยงสูงมาก มาตรการดำเนินการ สำหรับ
นกั เรยี นตอ้ งเรยี นอยู่ทบ่ี ้าน 28 วนั สว่ นสถานศึกษาถอื ปฏบิ ัตติ ามมาตรการสงู สุดอย่างเครง่ ครัด
สีส้ม หมายถึง กรณีมีปัจจัยเส่ียงมีผู้ป่วยในชุมชนใน 14 วัน คนในครอบครัวสมั ผัสไม่ใกล้ชดิ กบั ผูป้ ่วย
อาการของคนในครอบครวั รอยืนยันโรคโควิด 19 ระดับความเส่ยี งสงู มาตรการดำเนนิ การ สำหรบั นกั เรยี นตอ้ ง
เรยี นอยู่ทบี่ า้ น 14 วนั ส่วนสถานศกึ ษาถอื ปฏิบตั ิตามมาตรการสูง
สีเหลือง หมายถึง กรณีมีปัจจัยเสี่ยงมีผู้ป่วยในชุมชนใน 28 วัน คนในครอบครัวไปในพื้นที่ สถานท่ี
เสี่ยง หรือมีพฤติกรรมเสี่ยง อาการของคนในครอบครัวปว่ ยแต่ไม่เปน็ โรคโควดิ 19 ระดับความเสี่ยงปานกลาง
มาตรการดำเนินการสำหรับนักเรียนเรียนอยทู่ ีบ่ า้ น 7 วนั สว่ นสถานศกึ ษาถือปฏิบตั ติ ามมาตรการพืน้ ฐาน
สีเขียว หมายถึง กรณีไม่มีผู้ป่วยในชุมชน 28 วันขึ้นไป คนในครอบครัวไม่มีพฤติกรรมเสี่ยง อาการ
ของคนในครอบครัวปกติระดับความเสี่ยงต่ำ มาตรการดำเนินการสำหรับนักเรียนไปโรงเรียนได้ ส่วน
สถานศกึ ษาถือปฏิบตั ติ ามมาตรการผอ่ นคลาย
คู่มอื การเฝา้ ระวังติดตามและแผนเผชิญเหตรุ องรับการแพรร่ ะบาดของโรคโควิด 19 ในโรงเรยี นวดั ลาดตาล 7
การประเมินชมุ ชนและครอบครัวเพ
ผู้ปว่ ยในชมุ ชน ปจั จัยเส่ยี ง อาการคนในครอบครัว
คนในครอบครัว
มีผปู้ ่วยใน 7 วนั สมั ผัสใกลช้ ิดกบั ผปู้ ว่ ย ปว่ ยยนื ยันโรคโควิด
มผี ู้ปว่ ยใน 14 วนั สัมผสั ไมใ่ กล้ชิดกับผปู้ ่วย ปว่ ยรอยืนยนั โรคโควิด
มีผูป้ ว่ ยใน 28 วนั ไปในพ้นื ที่ สถานท่ีเส่ียง ป่วยไม่เปน็ โรคโควิด
หรอื มีพฤติกรรมเส่ยี ง
ไมม่ ผี ปู้ ่วยในชมุ ชน 28 ไม่มีพฤติกรรมเสีย่ ง ปกติ
วันขึน้ ไป
หมายเหตุ : ปัจจยั เส่ยี งมตี ัวแปรหลกั 3 ตั แต่ละตวั มีตวั แปรย่อย 4 ตวั ความเส่ียงจึงม
สามารถปรับมาตรการเปน็ 4 ระดบั หรือตามความเหมาะสม
คู่มอื การเฝา้ ระวงั ต
พอ่ื กำหนดมาตรการในสถานศกึ ษา
มาตรการดำเนินการ
ระดบั ความเส่ียง สำหรับเด็ก สำหรับสถานศึกษา
สูงมาก เรียนอยทู่ ี่บ้าน 28 วัน มาตรการสูงสุด
สูง เรียนอยทู่ ่บี า้ น 14 วัน มาตรการสงู
ปานกลาง เรยี นอยูท่ ี่บา้ น 7 วนั มาตรการพืน้ ฐาน
ตำ่ ไปโรงเรียนได้ มาตรการผ่อนคลาย
มีได้ 12 ระดับ
ติดตามและแผนเผชญิ เหตรุ องรบั การแพรร่ ะบาดของโรคโควดิ 19 ในโรงเรยี นวดั ลาดตาล 8
3. เกณฑ์การพิจารณากรอบการปฏิบตั ิตามตารางประสานสอดคลอ้ งในการบริหาร
สถานการณโ์ ควิด 19 ในสถานศกึ ษา
การพิจารณากรอบการปฏิบตั ิตามตารางประสานสอดคล้องในการบริหารสถานการณโ์ ควิด 19 ใน
สถานศึกษา จำแนกเป็นระดับสี 5 ระดบั สี ไดแ้ ก่ ขาว เขียว เหลอื ง ส้ม และแดง (สอดคล้องกับเกณฑก์ าร
พิจารณาระดบั ความรุนแรงของการระบาดของโรคโควิด 19 ระดับประเทศ) ซ่ึงมรี ายละเอียดกรอบการปฏบิ ัติ
ตามระดบั และระดับการผ่อนคลายกิจการหรือกจิ กรรมทส่ี ำคัญ มดี งั น้ี
❖ ระดบั การบรหิ ารสถานการณ์ : ระดบั สขี าว
กรอบการปฏบิ ตั ิ
1. สามารถเดินทางขา้ มจังหวัดได้
2. ใหจ้ ดั กิจกรรมรวมกลุ่มได้แต่ตอ้ งปฏบิ ัตติ ามมาตรการปอ้ งกนั โรคทก่ี ำหนด
3. ให้ดำเนนิ กิจการหรือกิจกรรมไดท้ ุกประเภทตามปกติ ผปู้ ระกอบการหรือผจู้ ดั กิจกรรมต้องมีการคัด
กรอง ผู้ใชบ้ รกิ ารและต้องปฏิบัติตามมาตรการหลกั ได้แก่
- ทำความสะอาดพื้นผวิ ที่มกี ารสัมผสั บ่อยๆ
- การสวมหนา้ กากของเจ้าหน้าที่ พนกั งาน ผู้ใชบ้ ริการ ผู้เข้ารว่ มกิจกรรม
- ให้มีจดุ บริการลา้ งมือดว้ ยสบู่หรอื แอลกอฮอลเ์ จลหรือนำ้ ยาฆา่ เชือ้ โรค
- ใหม้ กี ารควบคุมจำนวนผใู้ ชบ้ ริการ มใิ ห้แออัด
ตัวอยา่ งระดับการผ่อนคลายกิจการ/กจิ กรรมทสี่ ำคญั
- โรงเรียนเปดิ การเรียนการสอนที่โรงเรยี น 100%
- สนามกีฬากลางแจง้ เปดิ ให้มีผชู้ มได้ 70% / 50% (5000)
- สนามกีฬากลางในร่มเปิดให้มีผูช้ มได้ 50% / 25% (2000 / 1000)
- ขนส่งสาธารณะบรรทกุ ผโู้ ดยสารได้ 100%
- โรงภาพยนตร์เปดิ ใหม้ ผี ชู้ มได้ 100%
❖ ระดบั การบรหิ ารสถานการณ์ : ระดับสีเขียว
กรอบการปฏิบตั ิ
ตามข้อกำหนด ฉบับท่ี 13
1. ใหจ้ ดั กจิ กรรมรวมกลุ่มได้แต่ต้องปฏบิ ัติตามมาตรการป้องกันโรคทกี่ ำหนด
2. สามารถเดนิ ทางข้ามจังหวัดได้
คู่มือการเฝ้าระวังตดิ ตามและแผนเผชิญเหตุรองรับการแพรร่ ะบาดของโรคโควิด 19 ในโรงเรยี นวดั ลาดตาล 9
3. ให้ดำเนินกจิ การหรือกจิ กรรมได้ทุกประเภท แต่ผู้ประกอบการหรอื ผจู้ ัดกิจกรรมต้องมีการคดั กรอง 10
ผู้ใช้บริการ และต้องปฏบิ ัติตามมาตรการหลัก ไดแ้ ก่
- ทำความสะอาดพน้ื ผวิ ท่มี ีการสัมผัสบอ่ ย ๆ
- การสวมหน้ากากของเจ้าหน้าท่ี พนักงาน ผ้ใู ชบ้ ริการ ผเู้ ข้าร่วมกิจกรรม
- ให้มีจดุ บริการล้างมือดว้ ยสบู่ หรือแอลกอฮอลเ์ จลหรือน้ำยาฆ่าเชือ้ โรค
- ให้มีการควบคุมจำนวนผูใ้ ชบ้ รกิ าร มิใหแ้ ออัด
- ลงทะเบียนใช้งาน “ไทยชนะ” และแอปพลิเคชนั ทรี่ ฐั กำหนด
* ผู้วา่ ราชการจังหวดั /กทม. สามารถกำหนดมาตรการเพ่ิมเตมิ ได้
ตวั อยา่ งระดับการผ่อนคลายกิจการ/กจิ กรรมท่สี ำคัญ
- โรงเรยี นเปิดการเรยี นการสอนที่โรงเรียน 100%
- สนามกฬี ากลางแจง้ เปิดใหม้ ีผู้ชมได้ 50% / 25% (3000/2000)
- สนามกฬี ากลางในร่มเปดิ ให้มีผูช้ มได้ 25% / 15% (1000/500)
- ขนสง่ สาธารณะบรรทกุ ผูโ้ ดยสารได้ 100%
- โรงภาพยนตร์เปิดใหม้ ผี ูช้ มได้ 70%
ศบค. ที่ 8/2563 หรอื ตามท่คี ณะกรรมการเฉพาะกิจพิจารณาการผอ่ นคลายฯ กำหนด
❖ ระดบั การบริหารสถานการณ์ : ระดบั สีเหลอื ง
กรอบการปฏบิ ตั ิ
ตามข้อกำหนด ฉบับท่ี 9
1. สามารถเดินทางขา้ มจงั หวัดได้
2. ใหด้ ำเนนิ การหรอื ทำกิจกรรมด้านเศรษฐกิจและการดำเนินชวี ติ ตลอดจนด้านการออกกำลังกาย
หรอื ดแู ลสขุ ภาพหรือสนั ทนาการไดแ้ ตผ่ ู้ประกอบการ หรอื ผ้จู ัดกิจกรรมต้องมีการคดั กรองผู้ใช้บริการและต้อง
ปฏบิ ตั ติ ามมาตรการหลัก
- ทำความสะอาดพนื้ ผิวทมี่ กี ารสมั ผัสบ่อยๆ
- การสวมหนา้ กากของเจา้ หน้าท่ี พนกั งาน ผ้ใู ช้บรกิ าร ผู้เข้าร่วมกิจกรรม
- ให้มีจุดบริการลา้ งมือด้วยสบู่หรือแอลกอฮอล์เจลหรือนำ้ ยาฆา่ เชอื้ โรค
- ใหม้ กี ารเว้นระยะห่างอย่างนอ้ ย 1 เมตร
- ใหม้ กี ารควบคุมจำนวนผใู้ ช้บรกิ าร มใิ หแ้ ออัด
- ลงทะเบยี นใช้งาน “ไทยชนะ” และแอปพลเิ คชันที่รฐั กำหนด
* ผวู้ ่าราชการจงั หวดั /กทม. สามารถกำหนดมาตรการเพ่ิมเตมิ ได้
คู่มือการเฝ้าระวังตดิ ตามและแผนเผชิญเหตรุ องรับการแพรร่ ะบาดของโรคโควิด 19 ในโรงเรยี นวดั ลาดตาล
ตวั อย่างระดบั การผ่อนคลายกจิ การ/กจิ กรรมทีส่ ำคัญ
- โรงเรียนเปดิ การเรยี นการสอนท่ีโรงเรยี นได้ แตถ่ า้ มีความแออัดให้จดั นกั เรยี นสลบั กนั เรียน
- สนามกฬี ากลางแจง้ เปดิ ให้มีผู้ชมได้ 25% / 15% (3000/1000)
- สนามกีฬากลางในรม่ เปิดไม่ให้มผี ู้ชมได้
- ขนสง่ สาธารณะทางอากาศและ BTS บรรทุกผู้โดยสารได้ 100%
- รถขนสง่ สาธารณะบรรทุกผู้โดยสารได้ 70%
- โรงภาพยนตร์เปิดให้มผี ูช้ มได้ 50%
- อ่นื ๆ ตามคำสั่ง ศบค. ที่ 3/2563, 4/2563, 5/2563 และ 6/ 2563 หรือตามท่ี
คณะกรรมการเฉพาะกิจพิจารณาการผ่อนคลายฯ กำหนด
❖ ระดับการบริหารสถานการณ์ : ระดับสีส้ม
กรอบการปฏบิ ัติ
ตามข้อกำหนด ฉบับที่ 6
1. จำกดั การเดินทางขา้ มจงั หวัด
2. ให้ดำเนินการหรอื ทำกิจกรรมบางอย่างได้เฉพาะเพือ่ เป็นการอำนวยความสะดวกประชาชนในการ
ทำกิจกรรมดา้ นเศรษฐกจิ และการดำเนินชีวติ ตลอดจนด้านการออกกำลังกาย หรือดแู ลสุขภาพหรอื สันทนาการ
ท่ีไม่เส่ียงต่อการแพรร่ ะบาดและผ้ปู ระกอบการ หรือผู้จดั กิจกรรมตอ้ งมีการคัดกรองผใู้ ช้บรกิ ารและต้องปฏิบัติ
ตามมาตรการหลัก ได้แก่
- ทำความสะอาดพ้นื ผวิ ทมี่ ีการสัมผสั บอ่ ยๆ
- การสวมหนา้ กากของเจา้ หน้าท่ี พนกั งาน ผู้ใชบ้ รกิ าร ผเู้ ข้าร่วมกจิ กรรม
- ใหม้ ีจดุ บรกิ ารลา้ งมือด้วยสบู่ หรอื แอลกอฮอล์เจลหรือน้ำยาฆ่าเชอื้ โรค
- ให้มกี ารเว้นระยะห่างอย่างนอ้ ย 1 เมตร
- ใหม้ ีการควบคุมจำนวนผู้ใช้บริการ มใิ ห้แออัด
- ลงทะเบยี นใชง้ าน “ไทยชนะ” และแอปพลเิ คชันที่รฐั กำหนด
* ผวู้ า่ ราชการจังหวดั /กทม. สามารถกำหนดมาตรการเพ่ิมเติมได้
ตวั อยา่ งระดับการผ่อนคลายกจิ การ/กจิ กรรมท่สี ำคญั
- สถานศกึ ษาจดั การเรียนการสอน ออนไลนแ์ ละ/หรือ ออนแอร์
- รา้ นอาหารจำหนา่ ยอาหารและเคร่อื งดืม่ ได้ (เว้นเคร่ืองด่มื ทม่ี ีแอลกอฮอลใ์ นสถานที่ต่างๆ)
- ปดิ สถานบรกิ าร ผับ บาร์
- รา้ นค้าปลีก/ตลาดนดั /ตลาดสด เปิดไดแ้ ต่ต้องปฏิบตั ิมาตรการทกี่ ำหนด
คมู่ ือการเฝา้ ระวงั ติดตามและแผนเผชิญเหตุรองรบั การแพรร่ ะบาดของโรคโควดิ 19 ในโรงเรยี นวัดลาดตาล 11
- สนามกีฬา ลานกีฬา ประเภทกลางแจง้ และเป็นกีฬาท่ีไม่มีการปะทะกัน สวนสาธารณะ
เปิดทำการได้
- อน่ื ๆ ตามคำสงั่ ศบค. ท่ี 2/2563 หรอื ตามที่คณะกรรมการเฉพาะกิจพจิ ารณาการผ่อน
คลายฯ กำหนด
❖ ระดับการบรหิ ารสถานการณ์ : ระดบั สีแดง
กรอบการปฏิบัติ
ตามข้อกำหนด ฉบับที่ 1
- เน้นทีก่ ารหา้ มเข้าพน้ื ท่ีเสี่ยงและการปิดสถานท่เี สย่ี งต่อการตดิ ตอ่ โรค
- ปิดช่องทางเข้ามาในราชอาณาจกั ร เวน้ บคุ คลบางประเภท
- หา้ มชมุ นมุ
ตามข้อกำหนดฉบับที่ 2 และ 3
- ห้ามบคุ คลใดทั่วราชอาณาจักรออกนอกเคหะสถาน เว้นบุคคลทมี่ เี หตจุ ำเป็น
ตามข้อกำหนดฉบบั ที่ 5
* ผวู้ ่าราชการจงั หวดั /กทม. สามารถกำหนดมาตรการเพิ่มเตมิ ได้
ตัวอย่างระดบั การผ่อนคลายกจิ การ/กจิ กรรมท่ีสำคญั
- สถานศกึ ษาจดั การเรียนการสอน ออนไลนแ์ ละ/หรือ ออนแอร์
- หา้ มการเดนิ ทางข้ามจงั หวัด ยกเวน้ ขนสง่ สนิ ค้า
- ปิดกจิ การ/กจิ กรรมต่าง ๆ ยกเว้นกิจการท่จี ำเปน็ ตอ่ การดำรงชีวติ เช่น ธนาคาร โรงงาน สถาน
บริการเช้อื เพลิง บริการส่งสินค้าและอาหารตามสั่งหรอื ตามที่คณะกรรมการเฉพาะกิจ พิจารณาการ
ผอ่ นคลายฯ กำหนด
คมู่ อื การเฝ้าระวงั ติดตามและแผนเผชญิ เหตรุ องรบั การแพรร่ ะบาดของโรคโควิด 19 ในโรงเรยี นวดั ลาดตาล 12
ตารางประสานสอดคลอ้ งในการบรหิ ารสถานการณ์โรคโควิด 19
ระดบั การบรหิ าร กรอบการปฏิบัติ ตัวอย่างระดับการผ่อนคลาย
สถานการณ์ กิจการ/กิจกรรมที่สำคัญ
• สามารถเดินทางข้ามจงั หวดั ได้
ระดับขาว • ให้จดั กจิ กรรมรวมกลุ่มไดแ้ ตต่ ้องปฏบิ ัติตามมาตรการ - โรงเรยี นเปดิ การเรียนการสอนที่
โรงเรยี น 100%
ปอ้ งกันโรคท่ีกำหนด - สนามกฬี ากลางแจ้งเปดิ ใหม้ ผี ้ชู มได้
• ใหด้ ำเนนิ กิจการหรือกิจกรรมได้ทกุ ประเภทตามปกติ 70% / 50% (5000)
- สนามกีฬากลางในรม่ เปิดใหม้ ีผชู้ ม
ผปู้ ระกอบการหรือผจู้ ัดกจิ กรรมตอ้ งมกี ารคดั กรอง ได้ 50% / 25% (2000 / 1000)
ผ้ใู ชบ้ รกิ ารและต้องปฏิบตั ิตามมาตรการหลกั ได้แก่ - ขนสง่ สาธารณะบรรทุกผโู้ ดยสารได้
100%
- ทำความสะอาดพนื้ ผิวท่มี ีการสัมผัสบอ่ ยๆ - โรงภาพยนตร์เปดิ ใหม้ ผี ้ชู มได้
- การสวมหนา้ กากของเจ้าหน้าท่ี พนักงาน 100%
ผ้ใู ชบ้ ริการ ผู้เขา้ รว่ มกจิ กรรม
- ให้มีจดุ บริการลา้ งมือด้วยสบหู่ รอื แอลกอฮอล์
เจลหรือนำ้ ยาฆา่ เชอ้ื โรค
- ใหม้ ีการควบคมุ จำนวนผใู้ ช้บริการ มใิ ห้แออัด
ระดบั เขยี ว ตามข้อกำหนดฉบบั ที่ 13 - โรงเรยี นเปดิ การเรียนการสอนที่
โรงเรียน 100%
• ให้จัดกิจกรรมรวมกลมุ่ ได้แต่ต้องปฏิบัติตามมาตรการ - สนามกฬี ากลางแจง้ เปดิ ให้มผี ูช้ มได้
ป้องกันโรคทก่ี ำหนด 50% / 25% (3000/2000)
- สนามกฬี ากลางในรม่ เปิดใหม้ ีผู้ชม
• สามารถเดนิ ทางขา้ มจงั หวดั ได้ ได้ 25% / 15% (1000/500)
- ขนส่งสาธารณะบรรทกุ ผโู้ ดยสารได้
• ให้ดำเนินกจิ การหรอื กจิ กรรมได้ทกุ ประเภท แต่ 100%
ผปู้ ระกอบการหรอื ผู้จัดกจิ กรรมตอ้ งมีการคดั กรอง - โรงภาพยนตรเ์ ปดิ ใหม้ ีผู้ชมได้ 70%
ผ้ใู ชบ้ รกิ าร และตอ้ งปฏบิ ตั ิตามมาตรการหลกั ได้แก่ ศบค. ที่ 8/2563 หรอื ตามท่ี
- ทำความสะอาดพนื้ ผวิ ทม่ี ีการสมั ผัสบ่อย ๆ คณะกรรมการเฉพาะกจิ พจิ ารณาการ
- การสวมหนา้ กากของเจา้ หนา้ ที่ พนกั งาน ผ่อนคลายฯ กำหนด
ผใู้ ช้บริการ ผูเ้ ขา้ รว่ มกจิ กรรม
- ใหม้ ีจดุ บรกิ ารล้างมือดว้ ยสบู่ หรอื แอลกอฮอล์
เจลหรือน้ำยาฆา่ เชอื้ โรค
- ให้มีการควบคมุ จำนวนผใู้ ชบ้ รกิ าร มิใหแ้ ออดั
- ลงทะเบียนใชง้ าน “ไทยชนะ” และ
แอปพลเิ คชันทร่ี ัฐกำหนด
* ผู้ว่าราชการจงั หวัด/กทม. สามารถกำหนดมาตรการ
เพม่ิ เตมิ ได้
คู่มือการเฝ้าระวงั ตดิ ตามและแผนเผชิญเหตรุ องรับการแพรร่ ะบาดของโรคโควดิ 19 ในโรงเรยี นวัดลาดตาล 13
ระดับการบรหิ าร กรอบการปฏิบตั ิ ตวั อย่างระดับการผ่อนคลาย
สถานการณ์ กิจการ/กจิ กรรมทสี่ ำคญั
ตามขอ้ กำหนดฉบบั ที่ 9
ระดับเหลอื ง - โรงเรยี นเปดิ การเรียนการสอนที่
• สามารถเดนิ ทางข้ามจงั หวดั ได้ โรงเรยี นได้ แต่ถ้ามีความแออดั ให้จัด
ระดับสีสม้ นกั เรียนสลับกันเรยี น
• ใหด้ ำเนินการหรือทำกิจกรรมดา้ นเศรษฐกจิ และการ - สนามกฬี ากลางแจง้ เปดิ ให้มผี ู้ชมได้
ดำเนินชวี ิตตลอดจนดา้ นการออกกำลงั กายหรอื ดูแล 25% / 15% (3000/1000)
สขุ ภาพหรอื สนั ทนาการได้แตผ่ ปู้ ระกอบการ หรอื ผู้จดั - สนามกีฬากลางในรม่ เปดิ ไม่ให้มี
กจิ กรรมต้องมกี ารคดั กรองผใู้ ชบ้ รกิ ารและต้องปฏบิ ตั ิ ผู้ชมได้
ตามมาตรการหลัก - ขนสง่ สาธารณะทางอากาศและ
- ทำความสะอาดพ้นื ผวิ ทีม่ กี ารสมั ผสั บอ่ ยๆ BTS บรรทกุ ผู้โดยสารได้ 100%
- การสวมหน้ากากของเจ้าหน้าท่ี พนักงาน - รถขนส่งสาธารณะบรรทกุ ผโู้ ดยสาร
ผู้ใช้บริการ ผ้เู ข้าร่วมกจิ กรรม ได้ 70%
- ใหม้ ีจดุ บริการลา้ งมือด้วยสบหู่ รอื แอลกอฮอล์ - โรงภาพยนตรเ์ ปิดใหม้ ผี ้ชู มได้ 50%
เจลหรือนำ้ ยาฆา่ เชอื้ โรค - อืน่ ๆ ตามคำส่ัง ศบค ท่ี 3/2563,
- ใหม้ กี ารเว้นระยะหา่ งอยา่ งนอ้ ย 1 เมตร 4/2563, 5/2563 และ 6/ 2563
- ให้มีการควบคุมจำนวนผู้ใช้บรกิ าร มใิ ห้แออัด หรือตามท่คี ณะกรรมการเฉพาะกจิ
- ลงทะเบียนใช้งาน “ไทยชนะ” และ พิจารณาการผอ่ นคลายฯ กำหนด
แอปพลิเคชั่นที่รฐั กำหนด
- สถานศกึ ษาจดั การเรยี นการสอน
* ผู้วา่ ราชการจงั หวัด/กทม. สามารถกำหนดมาตรการ ออนไลนแ์ ละ/หรือ ออนแอร์
เพม่ิ เตมิ ได้ - ร้านอาหารจำหนา่ ยอาหารและ
ตามขอ้ กำหนด ฉบบั ที่ 6 เคร่ืองด่มื ได้ (เวน้ เคร่ืองด่ืมที่มี
แอลกอฮอลใ์ นสถานท่ตี า่ งๆ)
• จำกัดการเดนิ ทางขา้ มจงั หวัด - ปดิ สถานบริการ ผบั บาร์
- ร้านค้าปลกี /ตลาดนัด/ตลาดสด
• ให้ดำเนินการหรอื ทำกจิ กรรมบางอย่างไดเ้ ฉพาะเพื่อ เปิดไดแ้ ต่ต้องปฏบิ ัติมาตรการที่
เปน็ การอำนวยความสะดวกประชาชนในการทำ กำหนด
กิจกรรมดา้ นเศรษฐกิจและการดำเนินชวี ิตตลอดจน - สนามกฬี าลานกฬี า ประเภท
ดา้ นการออกกำลงั กาย หรอื ดูแลสขุ ภาพหรอื สนั ทนา กลางแจ้ง และเป็นกีฬาทไ่ี ม่มกี าร
การที่ไมเ่ สี่ยงตอ่ การแพรร่ ะบาดและผปู้ ระกอบการ ปะทะกัน สวนสาธารณะ เปดิ ทำการ
หรือผจู้ ดั กจิ กรรมตอ้ งมกี ารคดั กรองผใู้ ช้บรกิ ารและ ได้
ตอ้ งปฏิบตั ิตามมาตรการหลัก ได้แก่ - อื่นๆ ตามคำส่งั ศบค. ท่ี 2/2563
- ทำความสะอาดพน้ื ผิวท่ีมกี ารสัมผัสบอ่ ยๆ หรือตามท่คี ณะกรรมการเฉพาะกจิ
- การสวมหน้ากากของเจ้าหนา้ ที่ พนักงาน พิจารณาการผ่อนคลายฯ กำหนด
ผใู้ ช้บรกิ าร ผู้เขา้ ร่วมกจิ กรรม
- ให้มีจดุ บรกิ ารลา้ งมือดว้ ยสบู่ หรอื แอลกอฮอล์
เจลหรือน้ำยาฆา่ เช้ือโรค
- ให้มีการเว้นระยะห่างอยา่ งน้อย 1 เมตร
- ใหม้ ีการควบคมุ จำนวนผใู้ ช้บรกิ าร มใิ หแ้ ออัด
ค่มู อื การเฝ้าระวงั ติดตามและแผนเผชญิ เหตรุ องรบั การแพรร่ ะบาดของโรคโควิด 19 ในโรงเรยี นวดั ลาดตาล 14
ระดับการบรหิ าร กรอบการปฏิบตั ิ ตัวอย่างระดับการผ่อนคลาย
สถานการณ์ กิจการ/กิจกรรมทส่ี ำคญั
- ลงทะเบียนใชง้ าน “ไทยชนะ” และ
ระดบั สแี ดง แอปพลเิ คชนั ท่รี ัฐกำหนด - สถานศกึ ษาจัดการเรียนการสอน
* ผู้ว่าราชการจงั หวัด/กทม. สามารถกำหนดมาตรการ ออนไลน์และ/หรอื ออนแอร์
เพ่ิมเตมิ ได้ - หา้ มการเดนิ ทางข้ามจังหวดั ยกเวน้
ตามข้อกำหนด ฉบับที่ 1 ขนสง่ สนิ คา้
- ปดิ กิจการ/กจิ กรรมตา่ ง ๆ ยกเวน้
• เนน้ ท่ีการหา้ มเข้าพืน้ ทเ่ี สยี่ งและการปิดสถานท่ีเสยี่ ง กจิ การที่จำเป็นต่อการดำรงชีวติ เช่น
ต่อการตดิ ตอ่ โรค ธนาคาร โรงงาน สถานบริการ
- ปดิ ช่องทางเขา้ มาในราชอาณาจกั ร เว้น บุคคล เชือ้ เพลิง บรกิ ารสง่ สนิ ค้าและอาหาร
บางประเภท ตามสง่ั หรอื ตามทค่ี ณะกรรมการ
- หา้ มชมุ นุม เฉพาะกจิ พจิ ารณาการผ่อนคลายฯ
กำหนด
ตามข้อกำหนดฉบับที่ 2 และ 3
- ห้ามบคุ คลใดทั่วราชอาณาจกั รออกนอกเคหะ
สถาน เว้นบคุ คลทม่ี ีเหตุจำเป็น
ตามข้อกำหนดฉบบั ที่ 5
* ผูว้ า่ ราชการจังหวัด/กทม. สามารถกำหนดมาตรการ
เพ่มิ เตมิ ได้
แนวปฏิบัติสำหรับสถานศกึ ษารองรับสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคโควดิ 19
สถานศกึ ษาประเภทการศกึ ษาขั้นพนื้ ฐาน
1. กลุ่มนกั เรยี น - สถานศกึ ษาจัดการเรียนการสอนตามปกติ (ครบคน ครบห้องครบช้นั เรียน)
สีขาว-สเี ขยี ว - สถานศกึ ษาทตี่ ้งั อยู่ในพื้นท่ีทไ่ี ม่พบผู้ติดเชือ้ ไมน่ ้อยกวา่ 90 วนั (พน้ื ทีส่ ีเขยี ว) ได้รับการ
พิจารณาอนุญาตจากศนู ยป์ ฏิบตั กิ ารควบคุมโรคจังหวดั ให้จัดการเรยี นการสอนไดต้ ามปกติ
- โรงเรียนมีมาตรการใหน้ กั เรียน ครูบุคลากรทางการศึกษาและเจา้ หนา้ ท่ีทุกคนสวมหน้ากาก
ผา้ หรอื หนา้ กากอนามัย มีอุปกรณล์ า้ งมือและลา้ งมือบอ่ ยๆ มกี ารทำความสะอาดห้องเรียน
หอ้ งปฏบิ ตั ิการหรือโรงฝึกงาน และทำความสะอาดอุปกรณท์ ่ใี ช้ในการเรยี นการสอน การ
ฝกึ ปฏิบัติกอ่ นและหลงั ใชง้ านทกุ ครั้ง ตามมาตรการของกระทรวงสาธารณสขุ
คูม่ ือการเฝา้ ระวังตดิ ตามและแผนเผชญิ เหตุรองรับการแพรร่ ะบาดของโรคโควิด 19 ในโรงเรยี นวดั ลาดตาล 15
สีเหลือง-สสี ้ม - สถานศกึ ษาจัดการเรยี นการสอนแบบผสมผสาน โดยมกี ารสลับวนั เรยี นแต่ละชนั้ เรียน หรือ
มกี ารแบ่งจำนวนนักเรยี นใหเ้ หมาะสมกบั การเวน้ ระยะหา่ งระหว่างกัน (Social
distancing)
- มีมาตรการให้นักเรยี น ครู บุคลากรทางการศึกษา และเจา้ หนา้ ทท่ี กุ คนสวมหนา้ กากผา้ หรอื
หน้ากากอนามยั มีอปุ กรณล์ ้างมอื และล้างมือบ่อยๆ
- มีการทำความสะอาดหอ้ งเรียน หอ้ งปฏิบัติการหรือโรงฝึกงาน และทำความสะอาดอุปกรณ์
ท่ีใช้ในการเรียนการสอน การฝึกปฏิบตั ิก่อนและหลังใชง้ านทุกคร้งั
สแี ดง - สถานศกึ ษาจดั การเรยี นการสอนแบบ Online หรอื On air
คู่มือการเฝ้าระวงั ตดิ ตามและแผนเผชิญเหตุรองรบั การแพรร่ ะบาดของโรคโควิด 19 ในโรงเรยี นวัดลาดตาล 16
ตารางประสานสอดคลอ้ ง
กลมุ่ กิจกรรม/กจิ การ สีขาว สีเขยี ว
นักเรียน
สถานศกึ ษาจดั การ - สถานศกึ ษาทต่ี ัง้ อยใู่ นพื้นที่ท่ไี ม่พบผูต้
เรยี นการสอน น้อยกวา่ 90 วัน (พ้นื ทีส่ เี ขยี ว) ไดร้ ับกา
ตามปกติ (ครบคน พจิ ารณาอนุญาตจากศนู ยป์ ฏิบัติการคว
ครบห้องครบช้นั โรคจังหวัดให้จดั การเรยี นการสอนได้ตา
เรยี น) - โรงเรยี นมีมาตรการใหน้ กั เรยี น ครูบุค
ทางการศึกษาและเจา้ หน้าทที่ ุกคนสวม
หนา้ กากผา้ หรือหนา้ กากอนามยั มอี ปุ ก
มือและลา้ งมือบ่อยๆ
- มกี ารทำความสะอาดห้องเรียน
หอ้ งปฏบิ ัติการหรือโรงฝึกงาน และทำค
สะอาดอุปกรณ์ที่ใชใ้ นการเรียนการสอน
ฝกึ ปฏิบตั ิกอ่ นและหลงั ใชง้ านทุกครง้ั ตา
มาตรการของกระทรวงสาธารณสุข
ค่มู ือการเฝา้ ระวงั
ง (การศึกษาขัน้ พืน้ ฐาน)
สถานการณก์ ารแพรร่ ะบาด
ว สเี หลือง สสี ม้ สีแดง
ติดเช้อื ไม่ - สถานศึกษาจัดการเรียนการสอนแบบ - สถานศึกษาจดั การ
าร ผสมผสาน โดยมกี ารสลับวนั เรยี นแตล่ ะชน้ั เรยี นการสอนแบบ
วบคุม เรียน หรอื มีการแบง่ จำนวนนกั เรียนให้ Online หรอื On air
ามปกติ เหมาะสมกบั การเวน้ ระยะห่างระหว่างกนั
คลากร (Social distancing)
- มีมาตรการใหน้ ักเรียน ครู บุคลากรทางการ
กรณล์ ้าง ศกึ ษา และเจ้าหนา้ ท่ีทุกคนสวมหน้ากากผ้า
หรอื หน้ากากอนามยั มีอุปกรณล์ า้ งมือและล้าง
ความ มือบ่อยๆ
น การ - มกี ารทำความสะอาดหอ้ งเรียน
าม ห้องปฏบิ ตั กิ ารหรือโรงฝกึ งาน และทำความ
สะอาดอปุ กรณ์ท่ีใช้ในการเรียนการสอน การ
ฝกึ ปฏิบตั ิกอ่ นและหลังใช้งานทกุ ครั้ง
งติดตามและแผนเผชญิ เหตุรองรับการแพรร่ ะบาดของโรคโควดิ 19 ในโรงเรยี นวดั ลาดตาล 17
กระทรวงศึกษาธกิ ารได้ออกประกาศ เร่ืองหลกั เกณฑก์ ารเปิดโรงเรยี นหรอื สถาศึกษา ตามขอ้ กำหนด
ออกตามความในมาตรา 9 แหง่ พระราชกำหนดการบริหารราชการในสถานการณ์ฉุกเฉิน พ.ศ. 2548 (ฉบบั ที่
37) เพ่ือเปน็ การเตรยี มความพร้อมในการเปิดเรียนของภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2565 โดยได้ออกหลกั เกณฑ์
ตา่ งๆ ดงั นี้
มาตรการรองรบั การเปดิ ภาคเรียนของสถานศึกษา เพ่อื จดั การเรียนการสอนแบบ on site
ตารางมาตรการเตรยี มความพร้อมและแนวปฏิบตั ิจำแนกตามเขตพื้นทแ่ี พรร่ ะบาดปจั จบุ นั
เขตพืน้ ที่ มาตรการ ตรวจคัดกรอง การเขา้ ถงึ การประเมนิ
การแพร่ระบาด หาเชื้อ วคั ซนี ความเส่ยี ง
(TST)
พื้นทน่ี ำร่องการ 1. ผ่านเกณฑป์ ระเมินความพรอ้ มเปิด อย่างน้อย
1 วนั ต่อ
ท่องเทย่ี ว (สีฟ้า) TST+ สปั ดาห์
และพน้ื ทเี่ ฝา้ ระวัง 2. เครง่ ครดั ตามมาตรการ 6-6-7 อยา่ งน้อย
1 วันตอ่
(สีเขียว) 6 มาตรการหลกั (DMHT-RC) สัปดาห์
6 มาตรการเสริม (SSET-CQ)
7 มาตรการเข้มสำหรับสถานศึกษา
พนื้ ทีเ่ ฝ้าระวังสงู 1. ผ่านเกณฑป์ ระเมินความพร้อมเปิด
(สีเหลือง) TST+
2. เครง่ ครดั ตามมาตรการ 6-6-7
6 มาตรการหลกั (DMHT-RC)
6 มาตรการเสริม (SSET-CQ)
7 มาตรการเขม้ สำหรบั สถานศึกษา
คู่มือการเฝ้าระวังติดตามและแผนเผชิญเหตรุ องรบั การแพรร่ ะบาดของโรคโควดิ 19 ในโรงเรยี นวัดลาดตาล 18
ข้อกำหนดของ 6 มาตรการหลัก (DMHT-RC), 6 มาตรการเสริม (SSET-CQ) และ 19
แนวทาง 7 มาตรการเข้มสำหรับสถานศึกษา
โรงเรียนวัดลาดตาล ไดจ้ ดั การเรยี นการสอนในอาคารสถานท่โี ดยปฏิบตั ติ ามมาตรการ 6-6-7 อยา่ ง
เครง่ ครัดดงั นี้
1. ขอ้ กำหนด 6 มาตรการหลกั (DMHT-RC)
(1) Distancing เวน้ ระยะห่าง
(2) Mask wearing สวมหน้ากาก
(3) Hand washing ล้างมือ
(4) Testing คัดกรองวัดไข้
(5) Reducing ลดการแออดั
(6) Cleaning ทำความสะอาด
2. ข้อกำหนด 6 มาตรการเสริม (SSET-CQ)
(1) Self-care ดแู ลตนเอง
(2) Spoon ใช้ชอ้ นกลางส่วนตัว
(3) Eating กินอาหารปรุงสกุ ใหม่
(4) Track ลงทะเบียนเข้าออกโรงเรยี น
(5) Check สำรวจตรวจสอบ
(6) Quarantine กักกันตวั เอง
3. ขอ้ กำหนด 7 มาตรการเขม้ สำหรบั สถานศึกษา
(1) สถานศึกษาประเมนิ ความพรอ้ มเปิดเรยี นผ่าน TST+ และรายงานผลการตดิ ตามการ
ประเมินผลผา่ น MOECOVID
(2) ทำกจิ กรรมร่วมกนั ในรปู แบบ Small Bubble จัดนักเรียนเว้นระยะห่างในห้องเรียน
หลีกเลี่ยงการทำกิจกรรมข้ามกลมุ่
(3) จัดระบบการให้บริการอาหารตามหลักสขุ าภิบาลอาหารและหลกั โภชนาการ
(4) จดั การด้านอนามัยสง่ิ แวดล้อมใหไ้ ด้ตามหลักเกณฑ์มาตรฐาน ได้แก่ การระบายอากาศ
ภายในอาคาร การทำความสะอาด คณุ ภาพน้ำอปุ โภคบรโิ ภค และการจัดการขยะ
(5) จัดให้มี School Isolation แผนเผชญิ เหตุ และมีการซักซอ้ มอยา่ งเคร่งครดั
(6) ควบคุมดูแลการเดินทางเข้าและออกจากโรงเรยี น ทั้งกรณีรถรบั – ส่งนักเรียน รถส่วน
บุคคล และพาหนะโดยสารสาธารณะ
(7) จัดให้มี School Pass สำหรับนักเรียน ครู และบุคลากรในโรงเรยี น
คมู่ ือการเฝา้ ระวงั ตดิ ตามและแผนเผชญิ เหตุรองรบั การแพรร่ ะบาดของโรคโควิด 19 ในโรงเรยี นวัดลาดตาล
หลกั เกณฑ์พจิ ารณาเตรยี มการใช้อาคารหรอื สถานที่เพอื่ จัดการเรียนการสอนของโรงเรียน
ประเภทที่ 1 โรงเรยี นหรอื สถาบันการศึกษา ประเภทพักนอน
ประเภทที่ 2 โรงเรียนหรือสถาบนั การศึกษา ประเภทไป - กลับ
1. ประเภทที่ 1 โรงเรยี นหรือสถาบันการศกึ ษา ประเภทพักนอน
1.1 ดา้ นกายภาพ ลกั ษณะอาคารและพ้นื ทโ่ี ดยรอบอาคารของสถาบันการศกึ ษาประเภทพักนอน
หรอื โรงเรียนประจำ ประกอบด้วย
(1) หอพักนักเรยี ชาย และ/หรอื หอพักนกั เรยี นหญิง
(2) พื้นที่/อาคารสนับสนุนการบริการ
(3) พื้นท่ี/อาคารเพ่อื จัดการเรียนการสอน
(4) สถานท่ีพกั ครูและบุคลากรทางการศึกษา
โดยจัดอาคารและพืน้ ที่โดยรอบให้เปน็ ไปตามมาตรการ
1.2 ดา้ นการประเมนิ ความพร้อมสู่การปฏิบัติ โรงเรยี นหรือสถาบันการศกึ ษา ต้องเตรยี มการ
ประเมินความพร้อมดังน้ี
1.2.1 โรงเรยี นหรือสถาบันการศึกษา
(1) ต้องผ่านการประเมินความพร้อมผ่าน Thai Stop Covid Plus (TSC+) และรายงานการ
ตดิ ตามการประเมนิ ผลผา่ น MOECOVID
(2) ต้องจัดให้มีสถานที่แยกกักตัวในโรงเรียน (School Isolation) สำหรับรองรับการดูแล
รักษาเบื้องต้นกรณีนักเรียน ครู หรือบุคลากรในสถานศึกษามีการติดเชื้อโควิด 19 หรือผลตรวจคัดกรองหา
เชอ้ื เป็นบวก รวมถงึ มแี ผนเผชิญเหตแุ ละมีความรว่ มมือกับพยาบาลเครือข่ายในพนื้ ทท่ี ีด่ ูแลอย่างใกลช้ ิด
(3) ตอ้ งจัดอาคารและพืน้ ท่โี ดยรอบให้เป็นอาณาเขตบริเวณในรปู แบบดังน้ี
1) Screening Zone จัดพื้นที่หรือบรเิ วณให้เป็นจุดคัดกรอง (Screening Zone) ท่ี
เหมาะสม จดั จุดรับส่งส่งิ ของ จดุ รับส่งอาหาร หรอื จุดเสีย่ งอนื่ เปน็ การจำแนกนักเรยี น ครู บคุ ลากร ผ้ปู กครอง
และผู้มาติดต่อที่เข้ามาในโรงเรียน ไม่ให้ใกล้ชิดกับบุคคลในโซนอื่น รวมถึงจัดให้มีพื้นที่ปฏิบัติงานเฉพาะ
บุคลากรท่ีไมส่ ามารถเขา้ ปฏิบตั ิงานในโซนอืน่
2) Quarantine Zone จัดพื้นที่หรือบริเวณให้เป็นจุดกักตัวและสังเกตอาการ
สำหรับนกั เรียน ครู และบคุ ลากรทีย่ งั ตอ้ งสังเกตอาการ
3) Safety Zone จัดเป็นพื้นที่ปลอดเชื้อ ปลอดภัย สำหรับนักเรียน ครู และ
บคุ ลากรท่ปี ฏิบตั ิภารกจิ กิจกรรมแบบปลอดภัย
คมู่ อื การเฝา้ ระวังติดตามและแผนเผชญิ เหตรุ องรบั การแพรร่ ะบาดของโรคโควดิ 19 ในโรงเรยี นวดั ลาดตาล 20
1.2.2 นักเรียน ครู และบคุ ลากร
(1) นักเรียน ครู และบุคลากรในโรงเรียน ต้องมีการสังเกตอาการใน Quarantine Zone ให้
ครบกำหนด 5 วันกอ่ นเขา้ สู่ Safety Zone
(2) ดำเนนิ กจิ กรรมในรปู แบบ Small Buddle และหลีกเสี่ยงการทำกจิ กรรมขา้ มกลุ่มกนั
(3) หากมีนักเรยี น ครู และบคุ ลากรมีอาการเขา้ ได้ (Inclusion Criteria) กับการติดเชื้อโควิด
หรือสมั ผัสกลุ่มเสย่ี งสงู ให้ดำเนนิ การตรวจคัดกรองหาเชื้อดว้ ยวิธที เี่ หมาะสมโดยเฉพาะกลุ่มทีไ่ ม่ไดร้ ับวัคซีนตาม
เกณฑ์ พรอ้ มทงั้ รายงานผลการตรวจกบั หน่วยงานสาธารณสุขในพ้นื ทท่ี ันทีและปฏบิ ัติตามแผนเผชญิ เหตุกรณีมี
ผลตรวจเปน็ บวก
1.3 การดำเนินการของโรงเรียน หรือ สถาบันการศึกษา ระหว่างภาคการศึกษาต้องดำเนินการ
ดงั นี้
(1) สามารถจัดการเรียนการสอน ได้ทั้งรูปแบบ On Site หรือ Online หรือแบบผสมผสาน
(Hybrid) หากมคี วามจำเปน็
(2) นกั เรียน ครู และบคุ ลากร ทุกคนต้องประเมนิ Thai Save Thai (TST) ตามเกณฑ์จำแนก
ตามเขตพืน้ ทก่ี ารแพร่ระบาด (ดังตารางในหน้า 17)
(3) อาจมีการสุ่มตรวจคัดกรองหาเชื้อด้วยวิธีที่เหมาะสม ทั้งนักเรียน ครู และบุคลากรที่
เก่ยี วขอ้ งกับสถานศกึ ษา ตามแนวทางคณะกรรมการโรคตดิ ตอ่ ระดบั จังหวดั กำหนด
1.4 ปฏิบัติตามมาตรการสุขอนามัยส่วนบุคคลอย่างเข้มข้น ได้แก่ 6 มาตรการหลัก (DMHT-RC)
และ 6 มาตรการเสริม (SSET-CQ)
1.5 ปฏิบัตติ ามแนวทางมาตรการเขม้ สำหรับโรงเรยี นอย่างเคร่งครดั
(1) โรงเรียนประเมินความพร้อมเปิดเรียน ผ่าน TSC+ และรายงานการติดตามการ
ประเมนิ ผลผา่ น MOECOVID โดยถือปฏิบตั อิ ย่างต่อเน่ือง
(2) ทำกจิ กรรมรว่ มกนั ในรูปแบบ Small Buddle หลกี เลี่ยงการทำกิจกรรมขา้ มกล่มุ กัน และ
จัดนักเรียนในห้องเรียนขนาดปกติ (8x8 เมตร) ไม่เกิน 42 คน หรือ จัดให้เว้นระยะห่างระหว่างนักเรียนใน
ห้องเรียนไม่นอ้ ยกว่า 1.0 เมตร
(3) จัดระบบการใหบ้ ริการอาหารสำหรับนักเรยี น ครู บุคลากรในโรงเรียน ตามหลักมาตร
ฐานสุขาภบิ าลอาหารและหลักโภชนาการ อาทเิ ชน่ การจัดซ้ือจัดหาวตั ถดุ ิบจากแหลง่ อาหาร การปรุงประกอบ
อาหาร หรือการส่งซื้ออาหารตามระบบนำส่งอาหาร (Delivery) ที่ถูกสุขลักษณะและต้องมีระบบตรวจสอบ
ทางโภชนาการกอ่ นนำมาบริโภค
คมู่ ือการเฝา้ ระวงั ตดิ ตามและแผนเผชิญเหตุรองรับการแพรร่ ะบาดของโรคโควดิ 19 ในโรงเรยี นวดั ลาดตาล 21
(4) จดั การด้านอนามยั สิ่งแวดล้อมให้ได้ตามแนวปฏิบตั ิด้านอนามัยสิ่งแวดลอ้ มในการป้องกัน
โรคโควิด 19 ในโรงเรียน ได้แก่ การระบายอากาศภายในอาคาร การทำความสะอาด คุณภาพน้ำอุปโภค
บรโิ ภค และการจดั การขยะ
(5) จัดให้มีสถานที่แยกกักตัวในโรงเรียน (School Isolation) หรือพื้นที่แยกกักตัวชั่วคราว
รวมไปถึงแผนเผชิญเหตุสำหรับรองรับการดูแลรักษาเบื้องต้นกรณีนักเรียน ครู หรือบุคลากรทางการศึกษามี
การตดิ เชอ้ื โควิด 19 หรือผลตรวจคัดกรองหาเช้อื เปน็ บวก โดยมกี ารซกั ซ้อมอยา่ งเคร่งครัด
(6) ควบคุมดแู ลการเดินทางกรณีมีการเขา้ และออกจากโรงเรยี น (Seal Route) อยา่ งเขม้ ขน้
(หมายเหตุ: มาตรการและแนวทางปรับตามสถานการณก์ ารแพร่ระบาดของโรค ข้ึนกบั คณะกรรมการ
โรคตดิ ต่อจังหวดั หรือคณะกรรมการโรคตดิ ตอ่ กรงุ เทพมหานครกำหนด)
2. ประเภทที่ 2 โรงเรยี นหรอื สถาบันการศกึ ษา ประเภทไป - กลบั
2.1 ด้านกายภาพ : ลักษณะอาคารและพื้นที่โดยรอบอาคารของโรงเรียนหรือสถาบันการศึกษา
ประกอบด้วย
(1) พืน้ ท่/ี อาคารสนบั สนุนการบริการ
(2) พื้นที่/อาคารเพื่อจดั การเรียนการสอน
โดยจัดอาคารและพื้นที่โดยรอบให้เป็นพื้นที่ปฏิบัติงานที่ปลอดภัย และมีพื้นที่ที่เป็น COVID free
zone
2.2 ด้านการประเมินความพร้อมสู่การปฏิบัติ : โรงเรียนหรือสถาบันการศึกษา ต้องเตรียมการ
ประเมินความพรอ้ มดงั นี้
2.2.1 โรงเรียน หรอื สถาบนั การศกึ ษา
(1) ต้องผา่ นการประเมินความพร้อมผา่ น TSC+ และรายงานการติดตามการประเมินผลผ่าน
MOECOVID
(2) ควรมพี ้ืนท่แี ยกกักช่วั คราว (School lsolation หรอื Community isolation) โดยความ
ร่วมมือกับสถานพยาบาลเครือขา่ ยในพืน้ ท่ีกรณีนักเรียน ครู หรือบุคลากรในสถานศึกษามีการติดเชื้อโควิค 19
หรอื ผลตรวจคัดกรองหาเชอื้ เป็นบวก โดยมีการซกั ซอ้ มอยา่ งเครง่ ครดั
(3) ตอ้ งควบคมุ ดูแลการเดนิ ทางระหว่างบ้านกับโรงเรยี นเข้มข้น
(4) ต้องจัดพื้นที่หรือบริเวณให้เป็นจุดคัดกรอง Screening Zone) ที่เหมาะสม จัดจุดรับส่ง
ส่ิงของ จดุ รบั สง่ อาหาร หรือจุดเสย่ี งอ่นื เปน็ การจำแนกนักเรยี น ครู บคุ ลากร ผปู้ กครอง และผูม้ าตติ อ่ ทีเ่ ข้ามา
ในโรงเรียน
คู่มอื การเฝ้าระวังติดตามและแผนเผชิญเหตรุ องรับการแพรร่ ะบาดของโรคโควิด 19 ในโรงเรยี นวดั ลาดตาล 22
2.2.2 นักเรยี น ครู และบุคลากร
(1) ดำเนนิ กจิ กรรมในรปู แบบ Small Buddle และหลกี เลยี่ งการทำกิจกรรมข้ามกลุ่มกนั
(2) ถ้านักเรียน ครู และบุคลากร มีอาการเข้าได้ (Inclusion Criteria) กับการติดเชื้อโควิด
หรอื สัมผสั กลุ่มเสีย่ งสงู ใหด้ ำเนนิ การตรวจคัดกรองหาเช้ือดว้ ยวธิ ที ีเ่ หมาะสมโดยเฉพาะกลมุ่ ทไี่ ม่ไดร้ ับวัคซีนตาม
เกณฑพ์ ร้อมท้ังรายงานผลการตรวจกบั หนว่ ยงานสาธารณสขุ ในพ้ืนทที่ ันที และปฏบิ ตั ติ ามแผนเผชิญเหตุกรณีมี
ผลตรวจเปน็ บวก
2.3 การดำเนินการของโรงเรียน หรือ สถาบันการศึกษา : ระหว่างภาคการศึกษาต้องดำเนินการ
ดังน้ี
(1) สามารถจัดการเรียนการสอน ได้ทั้งรูปแบบ On Site หรือ Online หรือแบบผสมผสาน
(Hybrid) หากมคี วามจำเปน็
(2) นักเรียน ครู และบุคลากรที่อยู่ในพื้นที่ต้องประเมิน Thai Save Thai (TST) อย่าง
ตอ่ เนอ่ื งตามเกณฑ์ จำแนกตามเขตพ้นื ทกี่ ารแพรร่ ะบาด (ดงั ตารางท่ี 1)
(3) อาจมีการสุ่มตรวจคัดกรองหาเชื้อด้วยวิการที่เหมาะสม ตามแนวทางคณะกรรมการ
โรคติดตอ่ ระดบั จงั หวดั กำหนด
(4) ปฏิบัติตามมาตรการสุขอนามัยส่วนบุคลากรอย่างเข้มข้น ได้แก่ 6 มาตรการหลัก
(DMHT-RC) และ 6 มาตรการเสริม (SSCT-CQ)
(5) ปฏิบตั ิตามแนวทาง 7 มาตรการเข้มสำหรบั สถานศกึ ษา (ไป-กลับ) อยา่ งเครง่ ครัด
1) สถานศึกษาประเมินความพร้อมเปดิ เรยี น ผา่ น TSC+ และรายงานผลการติดตาม
การประเมนิ ผล ผา่ น MOECOVID โดยถอื ปฏิบตั อิ ยา่ งตอ่ เนื่อง
2) ทำกิจกรรมร่วมกันในรปู แบบ Small Buddle หลีกเลีย่ งการทำกิจกรรมข้ามกลุ่ม
กัน และจัดนักเรียนในหอ้ งเรียนขนาดปกติ (8x8เมตร) ไม่เกิน 42 คน หรือ จัดให้เว้นระยะระหว่างนักเรียนใน
ห้องเรยี นไม่นอ้ ยกวา่ 1.0 เมตร พิจารณาตามความเหมาะสมโดยคณะกรรมการโรคติดต่อจังหวดั
3) จัดระบบการให้บริการอาหารสำหรับนักเรียน ครู และบุคลากรในสถานศึกษา
ตามหลักมาตรฐานสขุ าภบิ าลอาหารและหลกั โภชนาการ อาทิเชน่ การจดั ซ้ือจัดหาวตั ถุดิบจากแหล่งอาหารการ
ปรุงประกอบอาหาร หรือการสั่งซื้ออาหารตามระบบนำส่งอาหาร (Delivery) ที่ถูกสุขลักษณะและและต้องมี
ระบบตรวจสอบทางโภชนาการก่อนนำมาบรโิ ภค
4) จดั การด้านอนามยั ส่งิ แวดล้อมให้ได้ตามแนวปฏิบตั ิดา้ นอนามัยสิง่ แวดล้อมในการ
ป้องกันโรคโควิด 19 ในโรงเรียน ได้แก่ การระบายอากาศภายในอาคาร การทำความสะอาด คุณภาพน้ำ
อุปโภคบรโิ ภค และการจดั การขยะ
ค่มู อื การเฝ้าระวังตดิ ตามและแผนเผชิญเหตรุ องรับการแพรร่ ะบาดของโรคโควดิ 19 ในโรงเรยี นวดั ลาดตาล 23
5) จัดให้มีสถานที่แยกกักตัวในโรงเรียน (School lsolation) หรือพื้นที่แยกกัก 24
ชั่วคราวรวมไปถึงแผนเผชิญเหตุสำหรับรองรับการดูแลรักษาเบื้องต้นกรณีนักเรียน ครู หรือบุคลากรใน
โรงเรียนกรณมี กี ารตดิ เช้ือโควิด 19 หรอื ผลตรวจคัดกรองหาเชื้อเป็นบวก โดยมกี ารซักซ้อมอย่างเครง่ ครัด โดย
มคี วามรว่ มมอื กับสถานพยาบาลเครอื ขา่ ยในพน้ื ทท่ี ี่ดูแลอย่างใกลช้ ิด
6) ควบคุมดแู ลการเดนิ ทางเข้าและออกจากสถานศึกษา (Seal Route) อยา่ งเข้าข้น
โดยหลีกเลี่ยงการเข้าไปสัมผัสในพื้นท่ีต่างๆ ตลอดเส้นทางการเดินทางจากบ้านไปกลับโรงเรียนทั้งกรณีรถรบั -
ส่งนกั เรียน รถส่วนบคุ คล และพาหนะโดยสารสาธารณะ
7) จัดให้มี School Pass สำหรับนักเรียน ครู และบุคลากรในโรงเรียน ซึ่ง
ประกอบด้วยขอ้ มูลผลการประเมิน TST ผลตรวจคัดกรองหาเชือ้ ตามแนวทางคณะกรรมการดรคติดต่อระดบั
พ้นื ที่ และประวัตกิ ารรับวัคซนี ตามมาตรการของกระทรวงสาธารณสุข
(6) ขอความร่วมมือสถานประกอบการกิจการ/กิจกรรมที่อยู่รอบรั้วสถานศึกษาให้ผ่านการ
ประเมนิ COVID free setting โดยมีการกำกับจากคณะกรรมการโรคติดต่อระดับพื้นที่
(หมายเหตุ : มาตรการและแนวทางปรับตามแนวสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรค ขึ้นกับ
คณะกรรมการโรคติดตอ่ จงั หวัด หรอื คณะกรรมการโรคติดตอ่ กรุงเทพมหานครกำหนด)
แนวทางปฏบิ ตั ดิ ้านอนามัยสงิ่ แวดลอ้ มในการปอ้ งกันโรคโควิด 19 ในโรงเรยี น
1. การระบายอากาศภายในอาคาร
(1) เปิดประตหู น้าต่างระบายอากาศก่อนและหลงั การใช้งาน อย่างน้อย 15 นาที ควรมี
หน้าตา่ งหรอื ช่องลม อย่างน้อย 2 ด้านของห้อง ให้อากาศภายในถา่ ยเทเข้าสู่ภายในอาคาร
(2) กรณีใช้เครื่องปรับอากาศ ควรระบายอากาศในอาคารก่อนและหลังการใช้งาน อย่าง
น้อย 10 นาทีในทุกๆ 2 ชั่วโมง หรือเปิดประตูหน้าต่างระบายอากาศช่วงพักเที่ยงหรือช่วงท่ี
ไม่มีการเรยี นการสอน กำหนดเวลาเปดิ ปดิ เครอ่ื งปรบั อากาศ และทำความสะอาดสม่ำเสมอ
(3) จัดให้เวน้ ระยะห่างระหว่างนักเรยี นในหอ้ งเรยี นไม่นอ้ ยกว่า 1.0 เมตร
2. การทำความสะอาด
(1) ทำความสะอาดวสั ดสุ งิ่ ของด้วยผงซกั ฟอกหรือนำ้ ยาทำความสะอาด และลา้ งมอื ด้วยสบู่
และนำ้
(2) ทำความสะอาดและฆา่ เชือ้ โรคบนพ้ืนผวิ ท่วั ไป อุปกรณ์สัมผสั ร่วม เชน่ หอ้ งนำ้ หอ้ งส้อม
ลกู บดิ ประตู รีโมทคอนโทรล ราวบนั ได สวติ ซไ์ ฟ ปุ่มกดลิฟท์ จุดน้ำดมื่ เป็น ดว้ ยแอลกอฮอล์
70% นาน 10 นาที และฆ่าเช้อื โรคบนพืน้ ผิววัสดแุ ขง็ เช่น กระเบื้อง เซรามิก สแตนเลส ดว้ ย
นำ้ ยาฟอกขาวหรือโซเดยี มไฮโปคลอไรท์ 0.1% นาน 5-10 นาที อย่างน้อย วนั ละ 2 ครงั้
และอาจเพิ่มความถต่ี ามความเหมาะสมโดยเฉพาะเวลาทม่ี ีผู้ใชง้ านจำนานมาก
คู่มอื การเฝ้าระวงั ติดตามและแผนเผชิญเหตุรองรบั การแพรร่ ะบาดของโรคโควิด 19 ในโรงเรยี นวัดลาดตาล
3. คณุ ภาพน้ำอุปโภคบริโภค
(1) ตรวจดูคณุ ลกั ษณะทางกายภาพ สี กลน่ิ และไมม่ ีส่งิ เจือปน
(2) ดแู ลความสะอาดจดุ บรกิ ารน้ำด่ืมและภาชนะบรรจนุ ำ้ ด่ืมทุกวัน (ไม่ใช้แก้วนำ้ ด่มื ร่วมกนั
เดด็ ขาด)
(3) ตรวจคณุ ภาพน้ำเพื่อหาเชอ้ื แบคทีเรยี ดว้ ยชดุ ตรวจภาคสนาม (อ 11) ทกุ 6 เดอื น
4. การจัดการขยะ
(1) มถี งั ขยะแบบมีฝาปดิ สำหรบั รองรบั ส่ิงของทีไ่ มใ่ ช้แล้ว ปะจำห้องเรยี น อาคารเรยี น หรือ
บริเวณโรงเรียนตามความเหมาะสม และมีการคัดแยก-ลดปรมิ าณขยะ ตามหลกั 3R(Reduce
Reuse Recycle)
(2) กรณีขยะเกิดจากผู้สัมผัสเสี่ยงสูง/กักกันตัว หรือหน้ากากอนามัยที่ใช้แล้ว นำใส่ในถุง
ก่อนทิ้งให้ราดด้วยแอลกอฮอล์ หรือ 70% น้ำยาฟอกขาว 2 ฝา ลงในถุง มัดปากถุงให้แน่น
ซ้อนด้วยถุงอีก 1 ชั้น ปิดปากถุงให้สนิท และฉีดพ่นบริเวณปากถุงด้วยสารฆ่าเชื้อแล้วทิ้งใน
ขยะท่วั ไป
คู่มอื การเฝา้ ระวังติดตามและแผนเผชิญเหตุรองรับการแพรร่ ะบาดของโรคโควิด 19 ในโรงเรยี นวัดลาดตาล 25
สถานการณ์การแพรร่ ะบาดของโรคโควิด 19 ในประเทศไทย ทัว่ โลกและประเทศใกลเ้ คียงยังมีความ
รนุ แรงอยา่ งต่อเนื่อง ในการเปิดภาคเรยี นของสถานศึกษาให้มกี ารเรียนการสอนตามปกติ 100% ดงั นน้ั จึงควร
กำหนดให้มีแผนเผชญิ เหตุรองรบั สถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคโควดิ 19 ในสถานศึกษาเพื่อเปน็ การ
เตรียมการและเตรียมพรอ้ มรองรับสถานการณ์ท่ีอาจจะเกิดข้นึ อนั เป็นแนวปฏบิ ัตติ ามมาตรการการป้องกัน
การแพรร่ ะบาด ของโรคโควดิ 19 อย่างเคร่งครดั
แนวปฏบิ ตั แิ ผนเผชญิ เหตรุ องรบั สถานการณก์ ารแพร่ระบาดของโรคโควดิ 19
ในโรงเรยี นวัดลาดตาล
แนวปฏิบตั ิแผนเผชญิ เหตุรองรบั สถานการณ์การแพรร่ ะบาดของโรคโควิด 19 ในโรงเรยี นวัดลาดตาล
มีดงั นี้
1. การปอ้ งกันเชื้อโรคไวรสั โคโรนา 2019 (COVID – 19) จากต่างประเทศ
• มีครูต่างประเทศตอ้ งรับการกักกนั ในสถานทท่ี ี่รัฐจัดให้ (State quarantine) เป็นเวลา 14วนั
• มนี กั เรียนนกั ศกึ ษาต่างประเทศ/ต่างดา้ วท่ีพักอาศยั อยู่ในประเทศไทย ใหจ้ ดั การเรยี นการ
สอนตามปกตสิ ำหรับนักเรยี นนกั ศึกษาท่ีไม่ไดพ้ ักอาศัยอย่ใู นประเทศไทย เมื่อเข้าประเทศไทย
ตอ้ งรับการกักกนั ในสถานทท่ี ่ีรฐั จัดให้ (State quarantine/Local quarantine) เปน็ เวลา
14 วัน
ข้อเสนอการพจิ ารณาสิทธิประโยชน์สำหรบั นักเรียนรหสั G
• การไดร้ บั สิทธปิ ระกันสงั คมหรอื ประกันสุขภาพ
• การใชก้ องทุนของ ศธ. เพอื่ ซ้ือประกนั สขุ ภาพใหน้ ักเรยี นรหสั G
• การใชร้ ะบบการศึกษาทางไกลแทน การเขา้ มาศึกษาในประเทศไทย
• ด่านชายแดนทางเขา้ และ Organizational Quarantine
• ประกนั ภยั โควิด 19 ระยะเวลา 1 ปี
ค่มู ือการเฝ้าระวงั ติดตามและแผนเผชญิ เหตรุ องรับการแพรร่ ะบาดของโรคโควดิ 19 ในโรงเรยี นวัดลาดตาล 26
2. การปอ้ งกนั การแพรร่ ะบาดของโรคโควดิ 19 ภายในประเทศ
• มีศนู ย์เฉพาะกิจการจัดการศึกษาทางไกลในสถานการณก์ ารแพรร่ ะบาดของโรคโควดิ 19
• พัฒนาระบบสารสนเทศเพ่ือการบริหารในสถานการณก์ ารแพรร่ ะบาดของโรคโควิด 19
• เปดิ ศนู ย์รบั ฟงั ความคิดเหน็ เก่ียวกบั การจัดการศึกษาทางไกลในสถานการณ์การแพร่ระบาด
ของโรคโควดิ 19
• จดั ทำแนวทางการจัดการเรยี นการสอนทางไกลในสถานการณก์ ารแพรร่ ะบาดของโรคโควดิ
19
• จัดทำแพลตฟอร์มการเรียนรู้ชดุ โปรแกรม และแพลตฟอร์มการเรียนรคู้ รบวงจร
• จัดทำแนวทางการบริหารจดั การสำหรับโรงเรียนเพื่อป้องกนั และควบคุมการแพรร่ ะบาดของ
โรคโควดิ 19
• แผนการเตรยี มการรองรับนักเรียนจากต่างประเทศท่ีกลับเข้ามาเรยี นในประเทศไทยของ
สถานศกึ ษา ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2565
• แนวทางรบั มือตอบโตภ้ าวะฉุกเฉิน กรณีการระบาดของโรคโควิด 19 ในสถานศึกษา
3. การเฝา้ ระวงั และการสอบสวนโรค
• คัดกรองนักเรยี น ผบู้ รหิ ารครูบคุ ลากรและผู้เกีย่ วข้อง มีการสวมหน้ากากการลา้ งมือ การเว้น
ระยะหา่ งการทำความสะอาด(หอ้ งเรียน ห้องปฏิบตั ิการ โรงฝกึ งาน อาคารเรียน โรงอาหาร
โรงนอน พนื้ ท่ีสว่ นกลาง) และลดความแออัด
• มีแนวปฏบิ ตั สิ ำหรับผบู้ รหิ ารครูและบคุ ลากรในสถานศึกษาในการดำเนนิ การเกยี่ วกบั โรคโค
วิด 19 เช่น จดั ทำแนวทางการบรหิ ารจดั การสำหรบั โรงเรยี นเพื่อป้องกนั และควบคมุ การแพร่
ระบาดของโรคโควดิ 19 มาตรการคดั กรองสุขภาพด้านสาธารณสุข การดำเนินการเมื่อมีกลมุ่
เส่ียงหรือผู้ปว่ ยยนื ยันในสถานศกึ ษา
• การปดิ สถานศึกษาทีเ่ กิดการระบาดและควบคุมการระบาดในสถานศึกษา
• รายงานการประเมนิ สถานการณผ์ ลการดำเนนิ งาน ปัญหาอปุ สรรคและใหข้ ้อเสนอแนะ แก่
หน่วยงาน ต้นสังกดั และคณะกรรมการโรคติดต่อระดับจงั หวดั เพอื่ การตดั สนิ ใจ
4. การสรา้ งความร่วมมือจากทุกภาคสว่ น
• มศี ูนยป์ ระสานงานและติดตามขอ้ มลู ระหว่างสถานศกึ ษาและหน่วยงานตา่ งๆ
• สถานศกึ ษาจับคโู่ รงพยาบาลหรอื โรงพยาบาลสง่ เสริมสขุ ภาพตำบลในความรว่ มมือ ป้องกัน
การแพร่ระบาดของโรคโควิด 19
คู่มอื การเฝ้าระวงั ตดิ ตามและแผนเผชิญเหตุรองรับการแพรร่ ะบาดของโรคโควดิ 19 ในโรงเรยี นวัดลาดตาล 27
• สถานศกึ ษาแต่งต้งั คณะกรรมการป้องกนั การแพรร่ ะบาดของโรคโควิด 19 ประกอบดว้ ย
เจา้ หน้าท่สี าธารณสุข เจา้ หน้าที่องค์กรปกครองสว่ นทอ้ งถ่ิน ฝา่ ยปกครอง คณะกรรมการ
สถานศึกษา
5. แนวปฏบิ ัติตามแผนเผชิญเหตุ
ตารางมาตรการแนวปฏิบตั ขิ องครู นกั เรียน และบคุ ลากรในโรงเรยี น
ประเภทสถานศึกษา แนวปฏบิ ัติของครู นักเรียน และบุคลากร
ประเภทพักนอน
1. กรณคี รู นกั เรยี น หรอื บคุ ลากร เปน็ ผสู้ มั ผสั เสยี่ งตำ่
(1) ให้ปดิ เรียน On Site ตามปกติ
(2) ปฏบิ ัตติ ามมาตรการ 6-6-7 และ Universal Prevention
(3) ประเมิน Thai Save Thai (TST)
(4) เว้นระยะห่างของนกั เรยี นในหอ้ งเรยี น ไม่น้อยกว่า 1.0 เมตร
2. กรณคี รู นกั เรียน หรือบคุ ลากร เปน็ ผู้สมั ผสั เส่ียงสงู
(1) กรณีเป็นผู้ไม่ได้รับวัคซีน ให้จัดการเรียนการสอน ปฏิบัติงาน
หรือดำเนินกิจกรรมในพื้นที่ Quarantine Zone เป็นเวลา 5
วนั และตดิ ตามสงั เกตอาการอีก 5 วัน
(2) กรณเี ปน็ ผไู้ ด้รบั วคั ซนี โควดิ 19 ครบโดส
- หากไม่ไมอ่ าการ ไมแ่ นะนำให้กกั กนั
- การตรวจคัดกรองหาเชื้อด้วย ATK ถ้าหากมีอาการให้
ตรวจทันที หากไม่มีอาการให้ตรวจครั้งที่1 วันที่ 5 หลัง
สมั ผัสผู้ตดิ เช้อื และตรวจคร้งั สดุ ท้ายวันที่10 หลังสัมผัสผู้
ติดเชือ้
- สถานศกึ ษาจัดการเรียนการสอนอยา่ งเหมาะสม ใน 5 วัน
แรก ควรเวน้ ระยะหา่ งไม่น้อยกวา่ 2.0 เมตร
(3) กรณนี กั เรยี น ครู หรือบคุ ลากร เปน็ ผู้ติดเชื้อ
(1) พิจารณาร่วมกับหน่วยบริการสาธารณสุขให้บุคคลแยก
กักตัวที่โรงเรียน (School Isolation) และปฏิบัติตาม
แนวทางของกระทรวงสาธารณสุข โดยพิจารณาร่วมกับ
หน่วยบริการสาธารณสุขในพื้นที่ หรือคณะกรรมการ
โรคติดตอ่ จังหวัด
(2) ตดิ ตอ่ หนว่ ยบริการสาธารณสุขในพ้ืนที่ ตามระบบงาน
อนามยั โรงเรียน
คมู่ ือการเฝา้ ระวงั ติดตามและแผนเผชญิ เหตรุ องรับการแพรร่ ะบาดของโรคโควดิ 19 ในโรงเรยี นวดั ลาดตาล 28
ประเภทสถานศกึ ษา แนวปฏบิ ัติของครู นักเรยี น และบุคลากร
ประเภทไป-กลบั
(3) ทำความสะอาดห้องเรยี น ชัน้ เรียน ตามมาตรการของ
กระทรวงสาธารณสุขและเปิดเรียนตามปกติ
(4) กรณไี มม่ ีอาการหรือมีอาการเล็กน้อย ใหจ้ ัดการเรียนการ
สอนได้ตามความเหมาะสมในพนื้ ทีแ่ ยกกักตัวของ
โรงเรยี น (School Isolation) โดยเว้นระยะห่างไม่นอ้ ย
กว่า 2.0 เมตร งดกจิ กรรมรวมกล่มุ โดยปฏิบตั ิตาม
มาตรการ UP-DMHTA อยา่ งเคร่งครดั
1. กรณีครู นักเรยี น หรือบุคลากร เป็นผู้สัมผสั เสย่ี งต่ำ
(1) ให้เรียนในพื้นที่โรงเรียน On Site ตามปกติ และปฏิบัติตาม
มาตรการ Universal Prevention
(2) ให้ประเมิน Thai Save Thai (TST) และจัดระยะห่างรหว่าง
นกั เรียนในหอ้ งเรียนไมน่ อ้ ยกวา่ 1.0 เมตร
2. กรณคี รู นกั เรยี น หรือบุคลากร เป็นผูส้ ัมผสั เสย่ี งต่ำ
(1) กรณีเป็นผู้ไม่ได้รับวัคซีนโควิด 19 ตามแนวทางปัจจุบันทั้งผู้ที่มี
อาการและไม่มีอาการ แนะนำให้กักตัว (Self Quarantine) เป็น
เวลา 5 วัน และตดิ ตามเฝา้ ระวังอีก 5 วนั
(2) กรณีเปน็ ผูไ้ ด้รับวคั ซีนโควดิ 19 ครบโดส
-หากไม่มีอาการ ไม่แนะนำไม่แนะนำให้กักกัน และควรพิจารณา
ใหไ้ ปเรียนได้
-การตรวจคัดกรองหาเชื้อดว้ ย ATK ถ้าหากมอี าการให้ตรวจทันที
หากไม่มีอาการให้ตรวจครั้งที่ 1 วันที่ 5 หลังสัมผัสผู้ติดเช้ือ และ
ตรวจคร้ังสดุ ทา้ ย วนั ที่ 10 หลงั สัมผสั ผู้ตดิ เชือ้
-โรงเรียนจัดการเรียนการสอนอย่างเหมาะสม ใน 5 วันแรก ควร
เวน้ ระยะหา่ งไม่น้อยกว่า 2.0 เมตร
3. กรณคี รู นกั เรยี น หรือบุคลากร เปน็ ผู้ตดิ เชื้อ
(1) ให้แยกกกั ตวั ท่ีบา้ น (Home Isolation) หรอื ปฏิบตั ติ ามแนะนำ
ของสถานบริการสาธารณสขุ
(2) ติดตอ่ หนว่ ยบริการสาธารณสขุ ในพนื้ ที่ ตามระบบงานอนามัย
โรงเรียน และพิจารณาจดั ทำ (School Isolation) หากจำเปน็
โดยคณะกรรมการโรงเรยี นหนว่ ยงานสาธารณสุข และ
คณะกรรมการโรคตดิ ต่อจงั หวดั
คู่มอื การเฝา้ ระวงั ตดิ ตามและแผนเผชญิ เหตุรองรับการแพรร่ ะบาดของโรคโควิด 19 ในโรงเรยี นวดั ลาดตาล 29
ประเภทสถานศกึ ษา แนวปฏบิ ตั ขิ องครู นกั เรียน และบคุ ลากร
(3) ทำความสะอาดห้องเรียน ชั้นเรียน ตามมาตรการของกระทรวง
สาธารณสุขและเปิดเรียนตามปกติ จังรูปแบบการเรียนการสอน
อยา่ งเหมาะสม โดยเฉพาะกล่มุ ทีไ่ มม่ อี าการ
นักเรยี นรหัส G
นักเรียนรหสั G หมายถงึ นักเรียนท่ยี งั ไม่มบี ตั รประชาชนคนไทย แต่มีตัวเลขประจำตัวเพอ่ื ใชใ้ นระบบ
การศึกษา ทจี่ ะเดนิ ทางเข้าไทยผ่านด่านชายแดนทางบกจำนวน 3,222 คน (5 สงิ หาคม 2563)
การเตรียมการ OQ (Organizational Quarantine) สำหรับนักเรยี นรหสั G
1. ส่วนกลางสำรวจนกั เรียนท่จี ะเดนิ ทางเข้าประเทศไทยในแตล่ ะดา่ นบรเิ วณชายแดน
2. สว่ นพนื้ ท่ี เลือกสถานทีท่ ี่มีความเหมาะสมในการจดั ทำ OQ และประสานกบั คณะกรรมการควบคุม
โรคตดิ ต่อจังหวัด
3. ประสานนกั เรยี นในสังกัดกระทรวงศึกษาธกิ าร เพื่ออำนวยความสะดวกในการเขา้ ตม.
4. จัดนักเรยี นเข้า OQ ตามมาตรฐานของกระทรวงสาธารณสขุ 14 วัน
5. จัดการเรียนการสอนทีเ่ หมาะสม เพ่ือใหส้ ามารถดำเนินเรยี นรูใ้ นช่วงกกั ตวั
6. เมอื่ ครบ 14 วนั ดำเนินการส่งนกั เรยี นไปตามสถานศึกษาท่ีนกั เรียนศึกษาอยู่
แนวปฏบิ ัตกิ ารผอ่ นคลายมาตรการสำหรบั สถานศกึ ษา
แนวปฏบิ ตั สิ ำหรับสถานศึกษาในการเปิดภาคเรยี นใหน้ กั เรียนมาเรยี นในห้องเรยี น หรอื On site
100% มดี งั นี้
1. ใหม้ กี ารจดั การเรียนการสอนไดป้ กติ On site
2. การจดั หอ้ งเรียนสามารถจัดได้ตามจำนวนนักเรยี นปกติโดยจดั ระยะห่างให้มากทส่ี ุดเท่าทจ่ี ะทำได้
3. กรณีหอ้ งเรยี นเปน็ ห้องแอร์ ให้เปิดประตู หนา้ ต่างชว่ งพักเท่ียง หรอื ช่วงทีไ่ ม่มีการเรยี นการสอนใน
หอ้ งน้นั
4. มาตรการเสรมิ ต้องเข้มข้น ดงั น้ี
- การคดั กรอง แยกผูป้ ่วย ส่งรักษา
- การสวมหน้ากากอนามยั ล้างมือบ่อยๆ ลดการจบั กลุม่ พูดคุยกันโดยไม่จำเปน็
- ลดกิจกรรมร่วมกันหลายหอ้ ง
คู่มอื การเฝ้าระวังตดิ ตามและแผนเผชญิ เหตุรองรบั การแพรร่ ะบาดของโรคโควิด 19 ในโรงเรยี นวดั ลาดตาล 30
- กรณมี กี ารเดนิ เรียนใหท้ ำความสะอาดพนื้ ผิวโต๊ะ เกา้ อ้ี หรืออปุ กรณท์ ี่ใช้ร่วมกนั หลังจบ
การเรียนการสอนทุกคาบ
- ทุกห้องเรียน ใหท้ ำความสะอาดพน้ื ผวิ โตะ๊ เกา้ อห้ี รืออุปกรณ์ที่ใชร้ ่วมกันทุกสองชวั่ โมง
5. ให้มกี ารบันทกึ การปว่ ยด้วยโรคทางเดินหายใจ การสง่ ต่อตรวจหาโควดิ 19 และสรปุ ผลการตรวจ
ทุกสปั ดาห์ส่งต้นสงั กัด กรณีมีเด็กป่วยหรอื ขาดเรยี นมากกว่าปกตใิ หป้ ระสาน สำนกั งานสาธารณสุขอำเภอ
หรอื จงั หวัดในพื้นท่ี
6. ใหม้ ีการดำเนนิ การผอ่ นคลายมาตรการกำกบั โดยคณะกรรมการสถานศกึ ษาและหนว่ ยงาน
สาธารณสขุ ในพน้ื ท่ี
7. การปรับมาตรการให้พจิ ารณาตามสถานการณ์การระบาดและข้อมลู ที่มีอยู่ในขณะน้ันเปน็ ระยะๆ
คูม่ ือการเฝา้ ระวังติดตามและแผนเผชญิ เหตุรองรบั การแพรร่ ะบาดของโรคโควิด 19 ในโรงเรยี นวดั ลาดตาล 31
แนวทางการกำกับติดตามและประเมินผลการจัดการเรียนการสอนและการดำเนินการตามมาตรการ
การป้องกันการแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID –19) ในสถานศึกษาแบบบูรณาการ
กระทรวงศึกษาธกิ ารได้กำหนดให้มีการตรวจราชการและกำกับติดตามประเมินผลการจัดการเรียนการสอนใน
สถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID –19) ในพื้นที่ทั่วประเทศและรายงาน
ผลการตรวจติดตามนโยบายการจัดการเรียนการสอนในสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโร
นา2019(COVID –19) เพื่อเป็นข้อเสนอเชิงนโยบายประกอบการวินิจฉัยสั่งการของรัฐมนตรีว่ าการ
กระทรวงศึกษาธิการ และเป็นข้อมลู ในการขับเคลื่อนนโยบายการจัดการเรียนการสอนในสถานการณ์การแพร่
ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID – 19) โดยลงพื้นที่ติดตามผลการดำเนินงานตามนโยบาย
ดังกล่าว รวมถึงการเก็บรวบรวมข้อมูลผ่านระบบอิเล็กทรอนกิ ส์เพื่อการตรวจตดิ ตามนโยบายการจัดการเรยี น
การสอนในสถานการณก์ ารแพร่ระบาดของโรคติดเชอื้ ไวรัสโคโรนา 2019 (COVID – 19)
การตรวจติดตาม หลังเปิดภาคเรียนที่ 1/2563 (1กรกฎาคม 2563) กระทรวงศึกษาธิการและ
กระทรวงสาธารณสุขได้มีการบูรณาการการทำงานร่วมกัน โดยได้กำหนดแนวทางการกำกับติดตาม
ประเมินผลการจัดการเรียนการสอนและการดำเนินการตามมาตรการป้องกันการแพร่ระบาดของโรคติดเช้ือ
ไวรัสโคโรนา 2019 (COVID – 19) หลังเปิดภาคเรยี นท่ี 1/2563 (ต้ังแต่วันที่ 1 กรกฎาคม 2563) ตามแนวทาง
ของศูนย์บริหารสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (โควิด 19) (ศบค.) โดยมี
นายกรัฐมนตรีเป็นผู้อำนวยการศูนย์ดังกล่าว ให้กระทรวงศึกษาธิการบูรณาการร่วมกับกระทรวงสาธารณสุข
ดำเนินการกำกับติดตามประเมินผล หลังเปิดภาคเรียนที่ 1/2563 กระทรวงศึกษาธิการกับกระทรวง
สาธารณสขุ จึงได้จดั ประชมุ ช้ีแจงการขับเคลื่อนงานดา้ นสุขภาพ โรงเรยี น และการกำกับติดตามประเมินผลการ
ป้องกันการแพร่ระบาดของโรคโควิด 19 ในสถานศึกษาแบบบูรณาการเมื่อวันที่ 29 มิถุนายน 2563โดยมี
ปลัดกระทรวงศึกษาธิการเป็นประธานการประชุม ที่ประชุมได้มอบหมายให้ผู้ตรวจราชการ
กระทรวงศึกษาธิการ ผู้ตรวจราชการกระทรวงสาธารณสุข ศึกษาธิการภาคและรองศึกษาธิการภาคร่วมกับ
ผู้แทนจากกระทรวงสาธารณสุขลงพื้นที่สถานศึกษา เพื่อกำกับติดตามประเมินผล และมีการรายงานผลความ
คบื หน้าตอ่ ศูนย์บรหิ ารสถานการณก์ ารแพร่ ระบาดของโรคตดิ เช้ือไวรสั โคโรนา 2019 (โควิด 19) (ศบค.)
คู่มือการเฝา้ ระวงั ติดตามและแผนเผชิญเหตุรองรับการแพรร่ ะบาดของโรคโควิด 19 ในโรงเรยี นวดั ลาดตาล 32
ด้วยสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID – 19) ในประเทศไทย
ยงั คงต้องเฝ้าระวงั อยา่ งตอ่ เนื่อง ทง้ั นี้ศูนย์บริหารสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเช้ือไวรสั โคโรนา 2019
(โควิด19) (ศบค.) ได้มีมาตรการผ่อนคลายมาตรการเพื่อให้ประชาชนได้ใช้ชีวิตปกติมากขึ้น
กระทรวงศึกษาธิการให้สถานศึกษาสามารถเปิดเรียนได้ร้อยละ 100 ดังนั้น จึงได้จัดทำแนวทางการตรวจ
ติดตามประเมินผลการจัดการเรียนการสอนในสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อ ไวรัสโคโรนา 2019
(COVID – 19) ในสถานศึกษาแบบบูรณาการตามแผนผังการกำกับติดตาม ประเมินผลร่วมกับกรมอนามัย
กระทรวงสาธารณสุข ดังนี้
คู่มอื การเฝา้ ระวังตดิ ตามและแผนเผชญิ เหตุรองรับการแพรร่ ะบาดของโรคโควดิ 19 ในโรงเรยี นวัดลาดตาล 33
กระทรวงศึกษาธิการและกระทรวงสาธารณสุข ได้จัดทำแนวทางการกำกับติดตามและประเมินผล
การจัดการเรียนการสอนและการดำเนนิ การตามมาตรการการป้องกันการแพรร่ ะบาดของโรคติดเช้ือไวรัสโคโร
นา 2019 (COVID – 19) ในสถานศึกษาแบบบูรณาการหลังเปิดภาคเรียนที่ 1/2563 ตั้งแต่เดือนกรกฎาคม
2563 เป็นต้นไป เพื่อให้หน่วยงานในสังกัดที่เกี่ยวข้อง รวมถึงหน่วยงาน ในพื้นท่ี เช่น สำนักงานศึกษาธิการ
ภาค สำนกั งานศกึ ษาธิการจังหวัด สถานศกึ ษา เปน็ ต้น ได้ดำเนินการร่วมกัน โดยมกี ลไกการตรวจราชการและ
การกำกับติดตามประเมนิ ผล ดงั นี้
ฝา่ ยกระทรวงศกึ ษาธกิ าร
1. ผตู้ รวจราชการกระทรวงศึกษาธิการ
2. ผูเ้ ชย่ี วชาญ / ผตู้ รวจราชการกรม
3. ศกึ ษาธกิ ารภาค
4. ศกึ ษาธิการจังหวดั
5. คณะกรรมการศึกษาธกิ ารจงั หวดั
6. เขตพน้ื ที่การศึกษา : สพป. / สพม.
ฝา่ ยกระทรวงสาธารณสขุ
1. ผตู้ รวจราชการกระทรวงสาธารณสขุ / สาธารณสุขนิเทศ
2. นายแพทยส์ าธารณสขุ จงั หวดั
3. ผแู้ ทนคณะกรรมการโรคติดต่อจังหวัด
4. ผู้อำนวยการศูนยอ์ นามยั ผู้อำนวยการสำนักงานปอ้ งกันควบคุมโรค ผูอ้ ำนวยการศูนย์สุขภาพจติ
5. ผพู้ ิทกั ษ์อนามัยโรงเรยี น
บทบาทหน้าที่
1. ให้คำปรกึ ษา แนะนำ การปอ้ งกนั การแพรร่ ะบาดของโรคติดเช้อื ไวรสั โคโรนา 2019 (COVID – 19)
2. แลกเปลยี่ น เรยี นรปู้ ญั หาอุปสรรคการดำเนนิ งานของสถานศึกษา และเสนอแนวทาง การ
ดำเนนิ งานร่วมกนั ระหว่างกระทรวงศึกษาธิการและกระทรวงสาธารณสขุ
3. สรุปประเด็นและข้อเสนอเชงิ นโยบายตอ่ การดำเนินงานปอ้ งกัน การแพรร่ ะบาดของ โรคตดิ เชือ้
ไวรัสโคโรนา 2019 (COVID – 19)
ระยะเวลาดำเนนิ การ
หลังเปิดภาคเรียนท่ี 1 - 2 ปกี ารศึกษา 2563
หลงั เปิดภาคเรยี น ปีการศึกษา 2564
หลงั เปิดภาคเรยี น ปีการศึกษา 2565
คมู่ อื การเฝ้าระวงั ติดตามและแผนเผชญิ เหตรุ องรับการแพรร่ ะบาดของโรคโควดิ 19 ในโรงเรยี นวดั ลาดตาล 34
การกำกับตดิ ตามและประเมนิ ผล
การกำกับตดิ ตามและประเมนิ ผลของกระทรวงศึกษาธิการโดยผูต้ รวจราชการกระทรวง ศึกษาธิการ
และศึกษาธกิ ารภาค รว่ มกับกระทรวงสาธารณสุข มีประเด็นดังนี้
1. ขอ้ มูลท่วั ไปของสถานศึกษา (สังกัด ประเภทการจัดการศกึ ษา ระดับทีเ่ ปิดสอน ขนาดสถานศกึ ษา)
2. การเปดิ เรยี น (กรณีเปิดเรียน On Site)
3. รูปแบบการจดั การเรยี นการสอนแบบออนไลน์ (Online), ความพร้อมของผู้ปกครอง
4. การดำเนินการตามแผนเผชิญเหตุรองรับการแพร่ระบาดโควดิ 19 ของหนว่ ยงานตน้ สงั กดั หรอื ทาง
ราชการกำหนด
5. การดำเนินงานตามมาตรการควบคมุ และปอ้ งกนั การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019
(COVID - 19) ของกระทรวงสาธารณสุขหรือทางราชการกำหนด
6. การเตรยี มแผนรองรับกรณีพบครูหรอื บุคลากรของสถานศึกษา มไี ข้และ/หรือมีอาการของระบบ
ทางเดนิ หายใจอย่างใดอยา่ งหนง่ึ (กรมอนามัย)
7. การปฏิบตั ิเพอ่ื ผ่อนคลายมาตรการสู่การจดั การเรียนการสอนตามปกติ
8. ปญั หาอปุ สรรคข้อจำกัดในการจดั การเรยี นการสอนและมาตรการป้องกนั ในสถานการณก์ ารแพร่
ระบาดของโรคตดิ เชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID - 19)
9. ข้อเสนอแนะ
เครื่องมือท่ีใช้ติดตามประเมินผล
แบบติดตามประเมินผลการจัดการเรียนการสอนและการดำเนินการตามมาตรการการป้องกัน ใน
สถานการณ์การแพร่กระจายของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID – 19) ของคณะกรรมการโรคติดต่อ
จงั หวดั สพุ รรณบุรี ภาคเรยี นที่ 1/2564 ตามภาคผนวก
ระบบการรายงานผล
การรายงานผลการติดตามประเมินผลการจัดการเรียนการสอนและการดำเนินการตามมาตรการการ
ปอ้ งกันในสถานการณก์ ารแพรร่ ะบาดของโรคติดเช้ือไวรัสโคโรนา 2019 (COVID – 19) โดยการรวบรวมขอ้ มูล
จากการลงพื้นที่ติดตาม (Site Visit) ของคณะตรวจราชการและกำกับติดตาม ประเมินผลฯ ระหว่าง
กระทรวงศึกษาธิการและกระทรวงสาธารณสุข และการรายงานผลการดำเนินงานของสถานศึกษา โดยกรอก
ข้อมูลผ่านทางระบบอิเล็กทรอนิกส์การตรวจติดตามจัดการเรียนการสอนในสถานการณ์การแพร่ระบาดของ
โรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID – 19) ซึ่งพัฒนาระบบโดยศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
สำนกั งานปลัดกระทรวงศกึ ษาธกิ าร (www.covid.moe.go.th) หรือ ระบบ Thai Stop Covid
คูม่ อื การเฝ้าระวงั ติดตามและแผนเผชญิ เหตรุ องรับการแพรร่ ะบาดของโรคโควิด 19 ในโรงเรยี นวัดลาดตาล 35
ผู้พิทกั ษ์อนามัยโรงเรยี น
การเปิดภาคเรียนของสถานศึกษา ในสภาวะที่ยังมีสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโค
โรนา 2019 (โควิด 19) ควรต้องคำนึงถึงความเป็นอยู่ของเด็กและคุณภาพชีวิตของเด็ก ทั้งด้านโภชนาการ
ความปลอดภัย สขุ อนามัยสว่ นบุคคล สุขภาพกาย สขุ ภาพจิตและการจดั สภาพแวดล้อมที่เอ้ือต่อการมีสุขภาพ
ดีของนักเรียน จึงเห็นควรมีการสร้างผู้พิทักษ์อนามัยโรงเรียน ให้ปฏิบัติหน้าที่เป็นที่ปรึกษาและกำกับติดตาม
การปฏิบัติตามมาตรการของสถานศึกษาตามนโยบาย ทางราชการที่กำหนด พร้อมรายงานให้กบั บุคลากรทาง
การแพทย์และสาธารณสุขรับทราบ เพื่อให้วางแผนการช่วยเหลือตามสถานการณ์อย่างทันท่วงที ดังนั้น จึง
กำหนดให้มีบทบาทหนา้ ทีด่ งั นี้
บทบาทหนา้ ท่ขี องผพู้ ิทกั ษ์อนามัยโรงเรยี น
1. เป็นผู้ให้คำปรึกษา แนะนำ (Health Coach) การป้องกันการแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโร
น่า 2019 (โควิด 19) ในสถานการศึกษาและชุมชน
2. ร่วมทีมตรวจราชการระดับจังหวัด และการกำกับ ติดตามประเมินผลการป้องกันการแพร่ระบาด
ของโรคตดิ เชื้อไวรัสโคโรน่า 2019 (โควดิ 19) ในสถานศึกษา
3. เป็นผู้ประเมินภายนอกในการเฝ้าระวังการปฏิบัติตามคู่มือการปฏิบัติสำหรับสถานศึกษาในการ
ป้องกนั การแพรร่ ะบาดของโรคโควิด 19 โดยสุม่ ประเมินสถานศึกษา จำนวน 3 แห่งตอ่ เดอื น ตามแบบประเมิน
ตนเองสำหรับสถานศึกษาในการเตรียมความพร้อมหลังเปิดภาคเรียน และการประเมินตนเองของนักเรียนใน
การเตรียมความพร้อมหลังเปิดเรียนในการป้องกันการแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรน่า 2019 (โควิด
19) จำนวน 10 คนต่อโรงเรยี นและบนั ทึกรายงาน แบบออนไลน์
4. เป็นผู้ประเมินภายนอกในการเฝ้าระวังและป้องกันการแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรน่า
2019 (โควิด 19) ในชุมชน โดยสุ่มประเมิน จำนวน 3 แห่งต่อเดือน ตามแบบตรวจประเมิน เพื่อการเฝ้าระวัง
และป้องกันการติดเชื้อไวรัส โคโรนา 2019 ประเภทตลาด (1 แห่ง ต่อเดือน) และประเภทร้านอาหารหรือ
เครื่องดื่ม รถเข็น หาบเร่ แผงลอย การเฝ้าระวังและป้องกัน การติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (2 แห่งต่อเดือน)
พร้อมสุ่มประชาชนที่มารับบริการฯ ข้างต้น ให้ประเมินตนเองในการป้องกันการแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อ
ไวรสั โคโรน่า 2019 (โควิด 19) จำนวน 10 คนต่อแห่ง และบันทกึ รายงานแบบออนไลน์
คูม่ ือการเฝ้าระวังตดิ ตามและแผนเผชิญเหตุรองรบั การแพรร่ ะบาดของโรคโควดิ 19 ในโรงเรยี นวัดลาดตาล 36
นยิ าม
o ผู้ป่วยยืนยันโรคโควิด 19 หมายถึง ผู้ที่มีผลตรวจทางห้องปฏิบัติการพบว่า ติดเชื้อไวรัสโคโรนา
2019
o ผู้สัมผัสที่มีความเสี่ยงต่อการติดเชื้อสูง (High risk contact) (ผู้สัมผัสเสี่ยงสูง) หมายถึง ผู้
สัมผสั ใกล้ชดิ กบั ผ้ปู ว่ ยยืนยันโรคโควดิ 19 ตามลกั ษณะข้อใดขอ้ หนง่ึ ดังนี้
• ผู้ที่เรยี นผูอ้ าศยั ร่วมหอ้ งพกั หรือทำงานในหอ้ งเดยี วกัน คลกุ คลกี นั
• ผู้สัมผัสที่มีการพูดคุยกับผู้ป่วยในระยะ 1 เมตร นานกว่า 5 นาที หรือถูกไอ จาม รด
จากผปู้ ว่ ยโรคโควดิ 19 โดยไมม่ กี ารป้องกนั เช่น ไม่สวมหนา้ กากอนามยั หรอื หน้ากากผ้า
• ผู้ที่อยู่ในบริเวณที่ปิดไม่มีการถ่ายเทอากาศ เช่น ในรถปรับอากาศ ในห้องปรับอากาศ
ร่วมกับผูป้ ่วยโควิด 19 และอยู่ห่างจากผู้ป่วยไมเ่ กนิ 1 เมตร นานกว่า 15 นาที โดยไม่มี
การปอ้ งกนั เชน่ ไม่สวมหนา้ กากอนามยั หรอื หนา้ กากผ้า
o ผูส้ มั ผัสท่ีมีความเส่ยี งต่อการติดเชื้อต่ำ (Low risk contact) (ผู้สัมผสั เส่ียงต่ำ) หมายถงึ ผู้ท่ีทำ
กจิ กรรมอ่ืนๆ รว่ มกบั ผู้ป่วยโรคโควิด 19 แตไ่ มเ่ ขา้ เกณฑ์ความเสีย่ งสูง
o ผใู้ กลช้ ิด
• ผูใ้ กลช้ ดิ กับผสู้ มั ผสั เสย่ี งสูง จัดเปน็ ผทู้ ่มี คี วามเสีย่ งตอ่ การตดิ เชอ้ื ตำ่
• ผใู้ กล้ชดิ กับผสู้ มั ผสั เส่ยี งตำ่ จัดเป็นไม่มีความเสีย่ ง (No risk)
คูม่ อื การเฝ้าระวังติดตามและแผนเผชิญเหตรุ องรบั การแพรร่ ะบาดของโรคโควิด 19 ในโรงเรยี นวดั ลาดตาล 37
แนวทางปฏิบัติตามมาตรการปอ้ งกนั การพรร่ ะบาดของโรคโควิด 19 ในโรงเรยี น
ระดับการแพร่ระบาด มาตรการปอ้ งกัน
ในสถานศกึ ษา
ครู/นกั เรยี น/บุคลากร สถานศกึ ษา
ไม่พบผตู้ ิดเชือ้ ยืนยนั
- ปฏิบัติเข้มตามมาตรการ 6-6-7 - เปิดเรียน On Site โดยปฏิบัติตาม
พบผู้ตดิ เชอ้ื ยืนยนั
ไม่เกนิ 2 ห้องเรียน ประเมนิ TST เป็นประจำ มาตรการ TSC Plus (44ข้อ) และ
และไมเ่ กิน 5 ราย
- กรณีเป็นผู้มคี วามเสีย่ ง เช่น อาศัยใน มาตรการ 6-6-7
พบผตู้ ดิ เชื้อยนื ยนั
ตั้งแต่ 3 ห้องเรียนขึ้นไป พื้นที่ที่มีผู้ติดเชื้อควรสุ่มตรวจหาเชื้อ - ตดิ ตามรายงานผลประเมนิ TST
หรือตงั้ แต่ 6 รายขนึ้ ไป
เปน็ ระยะ ตามสถานการณ์ - เน้นเฝ้าระวังตรวจคัดกรอง กลุ่ม
เปราะบางกรณีโรงเรียนประจำ เด็ก
พเิ ศษ กลมุ่ เสยี่ ง
- ปฏิบัตเิ ข้มตามมาตรการ 6-6-7 - ห้องเรียนที่พบผู้ติดเชื้อ ให้ปิด
- ประเมิน TSTทุกคนทุกห้องเรียนที่มี หอ้ งเรียนไม่น้อยกวา่ 2 ชว่ั โมง เพื่อทำ
ผู้ติดเชื้อและผู้สัมผัสใกล้ชิด ทุกวัน ความสะอาดตามมาตรการข อง
และรายงานผล กระทรวงสาธารณสุขแล้วให้เปิดใช้
- กรณเี ป็นผู้สมั ผสั เส่ียงตำ่ (Low Risk ห้องเรียนได้
Contact) ใหม้ าเรยี น On Site - ห้องเรียนอ่ืนเปิดเรียน On Site
ตามปกติ และสังเกตอาการตนเอง ตามปกติงดกิจกรรมที่มีการรวมกลุ่ม
- กรณีเป็นผู้เสี่ยงสูง (High Risk กัน โดยเฉพาะระหว่างห้องเรียน
Contact) ใหม้ าเรียนได้ โดยระยะ - ปฏบิ ตั เิ ข้มตามมาตรการ TSC Plus
5 วันแรกให้เว้นระยะห่าง 2.0 เมตร - เปิดประตูหน้าต่างห้องเรียน ให้
และตรวจหาเชื้อตามแนวทางที่กำหนด อากาศถ่ายเทสะดวก ตลอดเวลาการ
ใช้งาน กรณีใช้เครื่องปรับอากาศ เปิด
ประตหู น้าต่างระบายอากาศทกุ
2 ชั่วโมงอย่างน้อย 10 นาที รวมท้ัง
ช่วงเวลาพักเที่ยงหรือช่วงเวลาที่ไม่มี
การเรยี นการสอน
- ปฏิบัตเิ ขม้ ตามมาตรการ 6-6-7 - ห้องเรียนหลายห้องที่พบผู้ติดเชื้อให้
- ประเมิน TSTทุกคนทุกห้องเรียนที่มี ปิดเรียน เฉพาะห้องนั้นๆ ไม่น้อยกว่า
ผู้ติดเชื้อและผู้สัมผัสใกล้ชิด ทุกวัน 2 ชั่งโมง เพื่อทำความสะอาดตาม
และรายงานผล มาตรการของกระทรวงสาธารณสุข
แลว้ ให้เปิดใช้ห้องเรยี นได้
คมู่ ือการเฝ้าระวังติดตามและแผนเผชญิ เหตรุ องรบั การแพรร่ ะบาดของโรคโควดิ 19 ในโรงเรยี นวดั ลาดตาล 38
ระดับการแพร่ระบาด มาตรการป้องกนั
ในสถานศกึ ษา
ครู/นกั เรยี น/บุคลากร สถานศึกษา
- กรณีเปน็ ผูส้ มั ผสั เส่ียงตำ่ (Low Risk - ห้องเรียนอื่นเปิดเรียน On Site
Contact) ใหม้ าเรียน On Site ตามปกติงดกิจกรรมที่มีการรวมกลุ่ม
ตามปกติ และสังเกตอาการตนเอง กัน โดยเฉพาะระหวา่ งห้องเรียน
- กรณีเป็นผู้เสี่ยงสูง (High Risk - การปิดเรียนทั้งชั้นเรียนหรือ
Contact) ให้มาเรียนได้ โดยระยะ 5 สถานศึกษาเป็นอำนาจพิจารณาของ
วันแรกให้เวน้ ระยะห่าง 2.0 เมตร และ คณะกรรมการโรคตดิ ตอ่ จังหวัด/กทม.
ตรวจหาเช้อื ตามแนวทางท่ีกำหนด - ควรมีห้องแยกกักตัวในโรงเรียน
(School isolation) รองรับผู้ติดเชื้อ
ในโรงเรยี น (กรณีโรงเรยี นประจำ)
- ปฏิบัติตามมาตรการตัดความเสี่ยง
สร้างภูมิคุ้มกัน ด้วย 3T1V ( TSC
Plus, TST, TK, Vaccinc)
หมายเหตุ ทั้งนใ้ี นทุกกรณขี อใหด้ ำเนนิ การบนพื้นฐานของข้อมลู การสอบสวนทางระบาดวิทยา และ
สถานการณ์โรคในพืน้ ที่
คมู่ ือการเฝ้าระวังติดตามและแผนเผชญิ เหตรุ องรบั การแพรร่ ะบาดของโรคโควิด 19 ในโรงเรยี นวดั ลาดตาล 39
ภาคผนวก
รายชอื่ คณะกรรมการป้องกันการแพรร่ ะบาดของโรคติดเชอื้ ไวรสั โคโรนา 2019 (COVID-19)
โรงเรียนวัดลาดตาล อ.เมอื งฯ จ.สุพรรณบรุ ี
1. นางดวงทพิ ย์ เพ็ชรนลิ ศึกษานิเทศก์ชำนาญการพิเศษ ประธาน
2. นายวีรวิชญ์ เอย่ี มแสง ปลัดอำเภอประจำตำบลดอนมะสงั ข์ กรรมการ
3. นายอธวิ ตั น์ เกตมุ ณี หวั หน้าสำนกั ปลัดองค์การบริหารสว่ นตำบลดอนมะสงั ข์ กรรมการ
4. นางสาวณฐั พัชร์ เฉลิมพงษ์ รกั ษาการผอู้ ำนวยการกองสาธารณสขุ ฯ กรรมการ
5. นางแน่งนอ้ ย สขุ เผือก ผ้อู ำนวยการ รพ.สต.ดอนมะสังข์ กรรมการ
6. นายนิคม อดุ มรกั ษาทรพั ย์ กรรมการสถานศึกษาตวั แทนผ้ปู กครอง กรรมการ
7. นายเฉลมิ พล ศรีวิเชียร ผใู้ หญบ่ า้ น หมู่ที่ 3 กรรมการ
8. นางรตั นา ลอ้ มวงษ์ ผอู้ ำนวยการโรงเรียนวัดลาดตาล กรรมการ/เลขานุการ
9. นางสาวขนษิ ฐา สามทอง ครโู รงเรียนวดั ลาดตาล กรรมการ/ผชู้ ว่ ยเลขานุการ
อำนาจหน้าท่ี
1. บรหิ ารสถานการณ์ เฝ้าระวัง ตดิ ตาม และร่วมจดั ทำแผนเผชิญเหตุรองรบั การแพรร่ ะบาด
ของโรคตดิ เชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ในสถานศึกษา
2. พจิ ารณารปู แบบการเรียนการสอนใหเ้ หมาะสมกบั สถานการณต์ ามคำสั่งจงั หวัดสุพรรณบุรี/
ศบค./กรรมการสาธารณสุข/กรรมการสถานศกึ ษา
3. ประสานงานและพัฒนาขอ้ มูลระหว่างสถานศึกษา และหนว่ ยงานต่างๆ
4. ควบคมุ กำกบั ประสานงานให้สถานศึกษาปฏบิ ตั ติ ามมาตรการของกระทรวงสาธารณสุขโดย
เครง่ ครัด
5. ดำเนินการอนื่ ใดที่เกีย่ วขอ้ งตามแนวทางปฏบิ ัติการ เฝา้ ระวงั ปอ้ งกันควบคมุ โรคติดต่อตามที่
คณะกรรมการโรคติดต่อจังหวดั สุพรรณบุรกี ำหนด
คู่มือการเฝ้าระวังตดิ ตามและแผนเผชิญเหตุรองรับการแพรร่ ะบาดของโรคโควดิ 19 ในโรงเรยี นวัดลาดตาล 41
6 มาตรการหลักในการปอ้ งกันการแพรร่ ะบาดของโรคติดเช้ือไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19)
ในสถานศกึ ษา
1. วธิ กี ารตรวจคัดกรองวดั ไข้ (Screening)
ข้ันตอนการตรวจคดั กรองวัดไขหรือวัดอุณหภมู ริ างกายทางหนาผาก
1. ตงั้ คาการใชงานเปนโหมดการวัดอณุ หภูมริ างกาย (Body Temperature) ปกตเิ คร่ืองวัดอณุ หภูมิ
หนาผาก มีอยางนอย 2 โหมด คือ โหมดการวัดอุณหภูมิพื้นผิว (Surface Temperature) ใชวัดอุณหภูมิวัตถุ
ท่วั ไป เชน ขวดนม หรืออาหาร และโหมดการวัดอณุ หภูมริ างกาย ใชวดั อุณหภูมผิ วิ หนงั แลวแสดงคา
เปนอุณหภมู ริ างกาย
2. วัดอุณหภูมิ โดยชี้เครื่องวัดอุณหภูมิไปที่หนาผาก หรือบริเวณที่ผูผลิตแนะนํา ใหมีระยะหางจาก
ผิวหนังตามที่ผูผลติ แนะนาํ โดยทวั่ ไปมรี ะยะหางไมเกนิ 15 เซนตเิ มตร (บางรุนอาจตองสมั ผสั กับผวิ หนัง)
จากนน้ั กดปมุ บันทกึ ผลการวัด โดยขณะทาํ การวัด ไมควรสายมอื ไปมาบนผวิ หนังบริเวณที่ทาํ การวัด
ไมควรมีวัตถอุ ่นื ใดบงั เชน เสนผม หมวก หนากาก หรือเหงอ่ื
3. อานคาผลการวดั เมื่อมสี ัญญาณเสยี ง หรือสัญลกั ษณทีแ่ สดงวาทาํ การวัดเสร็จส้ิน ควรทาํ การวดั
อยางนอย 3 คร้งั หากผลการวดั ไมเทากนั ใหใชคามากที่สดุ หากสงสัยในผลการวดั ควรทาํ การวัดซำ้ ดวย
เคร่ืองวดั อณุ หภมู ิทางการแพทยชนดิ อ่ืนๆ เชน เคร่ืองวัดอุณหภูมิแบบอินฟาเรดในชองหู (Infrared Ear
Thermometers)
คมู่ อื การเฝา้ ระวงั ตดิ ตามและแผนเผชญิ เหตุรองรบั การแพรร่ ะบาดของโรคโควิด 19 ในโรงเรยี นวัดลาดตาล 42
2. วธิ ีการสวมหน้ากาก (Mask)
o มารู้จกั หนา้ กาก
• หนา้ กากผา้ : สาํ หรบั บุคคลท่ัวไปท่ไี มปวย
• หนากากอนามัย : สําหรบั ผูปวยทม่ี ีการไอ จาม เพื่อปองกนั การแพรเช้ือ ที่ออกมากับ
นำ้ มกู น้ำลาย
• หนากาก N95 : สาํ หรบั บุคลากรทางการแพทยทีด่ ูแลผูปวยอยางใกลชดิ
o สวมหนากาก เมื่อใด
• เม่ือออกจากบานทกุ ครง้ั
• ไปในสถานทต่ี าง ๆ ที่มีคนจํานวนมาก คนแออดั แหลงชมุ ชน หรอื พื้นท่ีเส่ียง เชน
สถานศกึ ษา ตลาด หางสรรพสินคา ชุมชนแออัด
o วธิ กี ารสวมหนากาก
• กรณหี นากากผา : ใชมอื จบั สายยางยืดคลองใบหทู งั้ 2 ขาง จบั ขอบหนากากใหคลมุ
จมกู และปาก จัดใหกระชบั พอดี
• กรณหี นากากอนามยั : เอาดานสเี ขยี วเขมออกดานนอก และขดลวดอยูดานบนสนั
จมูก จบั ขอบหนากากใหคลุมจมกู และปาก จัดใหกระชับพอดี
o วธิ ีการถอดหนากาก
• กรณีหนากากผา ถอดเก็บชัว่ คราวนํามาใสใหม เชน ชวงพักกนิ อาหาร ชวงแปรงฟน
- ใชมือจับสายยางยืดถอดออกจากใบหู 2 ขาง
- จบั ขอบหนากาก พบั คร่งึ และพบั ทบ (โดยไมสมั ผัสดานนอกหรือดานในของ
หน้ากาก)
- เกบ็ ใสถุงพลาสตกิ ปากกวาง พับปากถงุ ปดชวั่ คราว
• กรณหี นากากอนามยั ถอดแลวท้งิ
- ใชมือจบั สายยางยืดถอดออกจากใบหู 2 ขาง
- จับขอบหนากาก พับคร่งึ และพบั ทบ (โดยไมสัมผัสดานนอกหรือดานในของ
หน้ากาก)
- หยอนใสถงุ พลาสติกปากกวาง ปดสนทิ กอนทง้ิ แลวทิ้งในถงั ขยะทม่ี ีฝาปด
หมายเหตุ หลังถอดหนากากทกุ คร้ัง ตองลางมือดวยสบูและนำ้ หรอื เจลแอลกอฮอล์
ค่มู อื การเฝา้ ระวังติดตามและแผนเผชิญเหตุรองรับการแพรร่ ะบาดของโรคโควดิ 19 ในโรงเรยี นวัดลาดตาล 43
3. วธิ กี ารลา้ งมอื (Hand wash)
o ล้างมือ ปองกนั โควิด 19 ไดอยางไร
• ลางมือบอย ๆ ดวยสบูและน้ำ หรือใชเจลแอลกอฮอลทําความสะอาดมือ
o ล้างมือ เม่ือใด
• กอนกินอาหาร ⚫ หลังออกจากหองสวม
• กอน - หลงั ปรุงอาหาร ⚫ หลังสัมผัสสัตวเลี้ยง
• กอนสัมผัสใบหนา ⚫ เมือ่ มาถึงบาน
• หลังเลนกบั เพื่อน ⚫ เมอื่ คิดวามือสกปรก
• หลงั ไอ จาม
o วธิ ลี ้างมือ 7 ขนั้ ตอน
1. ฝามือถูกนั
2. ฝามือถหู ลังมือและนิ้วถูซอกนวิ้
3. ฝามอื ถูฝามือและน้วิ ถูซอกนิ้ว
4. หลงั นวิ้ มือถฝู ามือ
5. ถนู ้วิ หัวแมมอื โดยรอบดวยฝามอื
6. ปลายน้ิวมอื ถูฝามือ
7. ถรู อบขอมือ
4. การเวนระยะหางทางสังคม (Social Distancing)
การเวนระยะหางทางสงั คม (Social Distancing) เปนการลดปฏสิ ัมพนั ธใกลชดิ ระหวางตัวเรา
กบั บคุ คลอืน่ หรือลดการแพรระบาดของเชือ้ ทีต่ ดิ ตอทางละอองฝอยหรอื การสัมผัส โดยการยนื หรือนัง่ หางกัน
อยางนอย 1 - 2 เมตร งดกิจกรรมที่มีการชุมนุม รวมถึงหลีกเลี่ยงการสัมผัสกับผูอื่น เชน การจับมือ หรือโอบ
กอด รวมถึงไมอยูรวมกันหนาแนนจํานวนมาก ไมพบปะสังสรรค ลดการไปในสถานที่สาธารณะ ลดการให
บริการท่ไี มจาํ เปน ลดกจิ กรรมทม่ี คี นหนาแนน การเวนระยะหางทางสังคมเปนมาตรการทางสาธารณสุข
ชวยลดอตั ราความเส่ียงในการสัมผัสโรคปองกนั ตนเองใหปลอดภยั จากการตดิ เชื้อและลดปริมาณผูติดเช้ือ
การเวนระยะหางทางสงั คม แบงเปน 3 ระดบั
1. ระดบั บุคคล โดยเฉพาะเด็กทีม่ อี ายุต่ำกวา 5 ป กลมุ ผูสูงอายุ และกลุมผูปวยทีม่ โี รคประจาํ ตวั
ค่มู อื การเฝ้าระวังติดตามและแผนเผชญิ เหตุรองรบั การแพรร่ ะบาดของโรคโควดิ 19 ในโรงเรยี นวัดลาดตาล 44