The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

๙ วัดวิจิตรศิลป์ สู่ดินแดนรัตนโกสินทร์

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by me0981782508, 2021-04-30 04:46:32

๙ วัดวิจิตรศิลป์ สู่ดินแดนรัตนโกสินทร์

๙ วัดวิจิตรศิลป์ สู่ดินแดนรัตนโกสินทร์

Keywords: ๙ วัดวิจิตรศิลป์ สู่ดินแดนรัตนโกสินทร์

๓ . พ ร ะ วิ ห ำ ร ค ต ห รื อ พ ร ะ ร ะ เ บี ย ง

พระวิหำรคด หรือพระระเบียง สร้ำง
ในสมัยรชั กำลท่ี ๓ ลอ้ มพระวิหำรพระศรีศำกยมุนีท้ัง
สี่ด้ำน มีหลังคำเป็นทรงไทยโบรำณกระเบ้ืองเคลือบ
พ้ืนสีเหลือง ขอบสีเขียวใบไม้ และมีช่อฟ้ำ หำงหงส์
หน้ำบันพระวิหำรคตสลักภำพพระนำรำยณ์ทรง
สุบรรณ มีโคมกรอบลำยค่ันพื้นลำยทั้งหมด
ประกอบด้วยลำยใบเทศหำงโตกนกเปลวและหำงโต
ก้ำนขด สลักบนไม้แรเงำลวดลำย ปิดทองประดับ
กระจกท้ังหมด ใต้ลำยหน้ำบันลงมำประกอบด้วย
กระจังฐำนพระซึ่งประกอบด้วยกระจังใบเทศหน้ำ
กระดำน บัวหงำย ลูกแก้ว และกระจังรวน ฯลฯ ควำมวิจิตรสวยงำมของลวดลำยหน้ำบันนี้ยำกท่ีจะหำหน้ำบัน
วิหำรคตใดมำเทียบได้พระวิหำรคดด้ำนในมีเสำรำยรับหลังคำเฉลียงลดเป็นห้อง ๆ เสำทุกต้นเป็นสี่เหล่ียม
มีบัวท้องปลิง ท้องสะพำนเหนือปลำยเสำทำสีแดง ปิดทองฉลุลำยดอกแก้วแกมกนกเกลียว เพดำนทำสีแดง
มีลำยกรอบแว่นประดบั ดำวทองลอ้ มเดือนทกุ หอ้ ง ขอ่ื ทำสีเขยี วปดิ ทองประดบั ลำยกรวยเชงิ

๔๘

๔ . เ ป ร ต วั ด สุ ทั ศ น

ที่วดั สุทศั นเทพวรำรำมรำชวรมหำวิหำร มเี ร่ืองเลำ่ ขำนกนั ถึงเปรต สตั ว์ทเี่ กิดในอบำยภูมติ ำมควำมเชื่อ
ของพุทธศำสนำและชำวไทย ว่ำมีเปรตเคยปรำกฏอยู่ท่ีนี่ โดยเร่ืองน้ีอำจมีที่มำจำกภำยในพระวิหำร
มีภำพวำดบนเสำด้ำนข้ำงขององค์พระศรีศำกยมุนี เป็นภำพจิตรกรรมท่ีวำดขึ้นในรัชสมัยพระบำทสมเด็จ
พระน่ังเกล้ำเจ้ำอยู่หัวมีรูปหนึ่งเป็นรูปเปรตตนหนึ่งนอนพำดกำยอยู่และมีพระสงฆ์กำลังยืนพิจำรณำสังขำร
ซ่ึงภำพนี้มีชื่อเสียงมำกในสมัยอดีต เป็นท่ีร่ำลือกันว่ำหำกใครได้มีโอกำสไปกรำบไหว้พระศรีศำกยมุนี
ในพระวิหำรหลวง ต้องไปดูรูปจิตรกรรม "เปรตวัดสุทัศน์" ท่ีขึ้นช่ือน้ี จนมีคำกล่ำวคล้องจองกันว่ำ "แร้งวัด
สระเกศ เปรตวัดสุทัศน์ นอกจำกน้ีแล้วยังมีเร่ืองเล่ำกันจำกปำกต่อปำกว่ำ ในอดีตที่บริเวณหน้ำพระวิหำร
หลวงนี้ มีผู้พบเห็นเปรตในเวลำค่ำคืนบ่อย ๆ สมเด็จพระอริยวงศำคตญำณ สมเด็จพระสังฆรำช
(แพ ติสฺสเทโว) ขณะท่ียังทรงดำรงตำแหน่งเจ้ำอำวำสวัดสุทัศน์ ในเวลำประมำณ 3 ทุ่ม ยังเคยเปรยกับ
เปรต ควำมว่ำ "อยู่ด้วยกันนะ อย่ำให้ชำวบ้ำนได้เดือดร้อน" จำกนั้นเปรตก็ไม่มำปรำกฏอีก และมีควำม
เป็นไปได้ว่ำ เปรตวัดสุทัศน์ อำจเป็นควำมเข้ำใจผิดของผู้ที่มองเห็นเสำชิงช้ำท่ีอยู่บริเวณหน้ำวัดในเวลำ
เช้ำมืดที่หมอกลง หรือทัศนวิสัยไม่ดี แล้วสำคัญผิดว่ำเป็นเปรต หรืออำจจะมีที่มำจำกพระรำชนิพนธ์องค์
หนึ่งของพระบำทสมเด็จพระมงกุฎเกล้ำเจ้ำอยู่หัว ท่ีทรงเคยนิพนธ์เร่ือง "เปรตสะพำนหัน" ท่ีทรงเปรียบ
ขอทำนที่สะพำนหันว่ำเหมือนเปรต และมีกำรนำไปเปรียบเทียบกับขอทำนที่อำศัยอยู่หน้ำเทวสถำนโบสถ์
พรำหมณท์ ีอ่ ยใู่ กลเ้ คยี ง

- รถประจำทำง สำย๔๐, ๔๐(ปอ),
๕๖(ปอ)
- MRTสำยเฉลมิ รัชมงคล
- แท็กซ่ี

๔๙



วัดสระเกศ
รำชวรมหำวิหำร

วัดสระเกศหรือวดั ภเู ขำทอง สุดเรืองรองระยับประดบั ตำ

มผี ู้คนกรำบไหวแ้ ละบชู ำ แสนศรทั ธำดว้ ยดวงจติ นจิ นริ นั ดร์

๕๐

วัดสระเกศ เป็นวัดโบรำณในสมัยกรุงศรี พระรำชวิจำรณ์ในพระบำทสมเด็จ พระจุลจอมเกล้ำ
อยุธยำ เดิมช่ือวัดสะแก พระบำทสมเด็จพระพุทธ เจ้ำอยู่หัว เรื่องจดหมำยเหตุควำมทรงจำของกรม
ยอดฟ้ำจุฬำโลกมหำรำชโปรดเกล้ำฯ ให้ปฏิสังขรณ์ หลวงนรินทรเทวีข้อ ๑๑ ว่ำ"รับสั่งพระโองกำร ตรัส
และขุดคลองรอบพระอำรำม แล้วพระรำชทำนนำม วัดสะแกเรียกวัดสระเกศแล้วบูรณปฏิสังขรณ์ เห็น
ใหม่ว่ำ วัดสระเกศ ซ่ึงแปลว่ำ ชำระพระเกศำ ควร ท่ีต้นทำงเสด็จพระนคร"ทรงพระรำชวิจำรณ์ไว้
เน่ืองจำกเคยประทับทำพิธีพระกระยำสนำน ว่ำ"ปฏิสังขรณ์วัดสะแกและเปล่ียน ช่ือเป็น
เมอื่ เสด็จกรธี ำทพั กลับจำกกมั พูชำมำปรำบจลำจลใน วัดสระเกศเอำมำกล่ำวปนกับวัดโพธ์ิเพรำะเป็นต้น
กรุงธนบุรี และเสด็จขึ้นเถลิงถวัลยรำชสมบัติใน ทำงท่ีเสด็จเข้ำมำพระนครมีคำ เล่ำ ๆ กันว่ำ เสด็จ
พ.ศ. ๒๓๒๕ มูลเหตุท่ีพระบำทสมเด็จพระพุทธยอด เข้ำโขลนทวำรสรงพระมุธำภิเษกตำมประเพณีกลับ
ฟ้ำจุฬำโลกมหำรำชพระรำชทำนเปล่ียนช่ือวัดสะแก จำ กทำ งไกลที่ วัดสะแ ก จึงเป ล่ียนนำมว่ำ
เป็นวัดสระเกศน้ีมีหลักฐำนท่ีควรอ้ำงถึงคือ 'วัดสระเกศ'
๕๑

ในสมัยพระบำทสมเด็จพระน่ังเกล้ำเจ้ำอยู่หัว วัดสระเกศเปน็ พระอำรำมหลวงช้ันโท
โปรดเกล้ำฯ ให้บูรณะและสร้ำงพระบรมบรรพตหรือ ชนิดรำชวรมหำวิหำร
ภูเขำทอง ทรงกำหนดให้เป็นพระปรำงค์มีฐำนย่อมุม ต้ังอยู่แขวงบ้ำนบำตร เขตป้อมปรำบศัตรูพ่ำย
ไม้สิบสอง แต่สร้ำงไม่สำเร็จในรัชกำล เม่ือถึงสมัย กรุงเทพมหำนคร มีท่ีดินตั้งวัด เน้ือที่ ๑๒ ไร่
พระบำทสมเด็จพระจอมเกล้ำเจ้ำอยู่หัว จึงทรงให้ ๒๒ ตำรำงวำ
เปล่ียนแบบเป็นภูเขำก่อพระเจดีย์ไว้บนยอด เป็นท่ี ตง้ั อยู่รมิ คลองมหำนำคและคลองรอบกรุง แขวงบำ้ น
ประดิษฐำนพระบรมสำรีริกธำตุ กำรก่อสร้ำงแล้ว บำตร เขตป้อมปรำบศัตรูพ่ำย กรุงเทพมหำนคร
เสร็จในรัชสมัยพระบำทสมเด็จพระจุลจอมเกล้ำ ๑๐๖๐๐
เ จ้ ำ อ ยู่ หั ว ไ ด้ รั บ พ ร ะ ร ำ ช ท ำ น น ำ ม ว่ ำ
“สุวรรณบรรพต” มีควำมสูง ๗๗ เมตร บนยอด
สุวรรณบรรพตเป็นที่ตั้งของพระเจดีย์บรรจุพระบรม
สำรีรกิ ธำตทุ ข่ี ดุ คน้ พบท่เี มืองกบิลพสั ดุ์ และพสิ ูจน์ได้
ว่ำเป็นของพระสมณโคดมซ่ึงเป็นส่วนแบ่งของ
พระรำชวงศศ์ ำกยรำชเพรำะมคี ำจำรึกอยู่

๕๒

๑ . ต้ น พ ร ะ ศ รี ม ห ำ โ พ ธ์ิ

เม่ือได้รู้ประวัติอย่ำงคร่ำวๆ กันแล้ว จำกน้ัน
ฉันของพำมำชม ๘ จุดไฮไลท์ของกำรจัดงำน
โดยเริ่มต้นที่ “ต้นพระศรีมหำโพธิ์” มีอำยุกว่ำ
๒๐๐ ปี ประวตั คิ วำมเป็นมำของต้นโพธ์ินั้น มีควำมว่ำ
สมัยพระเจ้ำอโศกมหำรำชทรงส่งสมณทูตไปเผยแผ่
พระพุทธศำสนำในลังกำ ทรงโปรดให้นำหน่อ
พระศรีมหำโพธิ์ไปปลูกท่ีศรีลังกำด้วย จำกน้ันใน
สมัยรัชกำลที่ ๒ ได้มีกำรส่งสมณทูต โดย มี
พระอำจำรย์ดี พระอำจำรย์เทพ จำกวัดสระเกศ
เป็นหัวหน้ำสมณทูต ไปสืบพระพุทธศำสนำในลังกำ
กษัตริย์ลังกำ ได้พระรำชทำนหน่อพระศรีมหำโพธิ์
ถวำยรัชกำลที่ ๒ จำนวน ๓ หน่อ ทรงโปรดให้ปลูกท่ี
หน้ำพระอุโบสถ วัดสระเกศ วัดสุทัศน์ และ
วัดมหำธำตุ โดยพระองค์เสด็จพระรำชดำเนินทรง
ปลกู โดยพระองค์เอง ซ่ึงตรงกับ พุทธศักรำช ๒๓๕๗
แ ล ะ ไ ด้ พ ร ะ ร ำ ช ท ำ น น้ ำ สร ง ต้ น พ ร ะ ศรี ม ห ำ โ พ ธ์ิ ใ น
วันสงกรำนต์ จึงนับเป็นโบรำณรำชประเพณีปฏิบัติ
สืบเนอื่ งมำเปน็ ประจำทุกปี

๕๓

๒ . พ ร ะ อุ โ บ ส ถ

ต่อมำในจุดท่ี ๒ ฉันมุ่งหน้ำไปที่พระอุโบสถ เพ่ือไปชม
ค ว ำ ม ง ด ง ำ ม แ ล ะ ก ร ำ บ สั ก ก ำ ร ะ ห ล ว ง พ่ อ พ ร ะ ป ร ะ ธ ำ น
“พระอุโบสถวัดสระเกศ” ซ่ึงถูกสร้ำงขึ้นใหม่แทนพระอุโบสถ
หลังเดิมของวัดสระแก ในสมัยรัชกำลท่ี ๑ โดยพระอุโบสถนั้น
ต้ังอยู่ภำยในกำแพงแก้ว อยู่บนลำนกระเบ้ืองสีเหลืองนวล
ลวดลำยโบรำณ มพี ัทธสีมำกำหนดเขตพระอุโบสถประดษิ ฐำนอยู่
รอบ ๘ ทิศ ในซุ้มทรงกูบช้ำง ประดับด้วยกระเบ้ืองท่ีส่ังมำจำก
เมืองจีนอย่ำงวิจิตรสวยงำม และที่หน้ำบันพระอุโบสถท้ัง
ด้ำนหน้ำ-หลัง สลักลำยกนก ลำยก้ำนขดประดับกระจกสี
ตรงกลำงประดับรูปพระนำรำยณ์ทรงครุฑ เมื่อได้มองแล้ววิจิต
สวยงำมประทบั ใจมำก

๕๔

๓ . พ ร ะ บ ร ม บ ร ร พ ต ( ภู เ ข ำ ท อ ง )

พระบำทสมเด็จพระนั่งเกล้ำเจ้ำอยู่หัว
โปรดให้สมเด็จเจ้ำพระยำบรมมหำพิชัยญำติ
(ทัด บุนนำค) เป็นแม่กองก่อสร้ำงแบบ
พระปรำงค์ฐำนย่อมุมไม้สิบสอง แต่สร้ำง
ไม่สำเร็จ ต่อมำพระบำทสมเด็จเจ้ำพระยำบรม
มำหพิชัยญำติ เป็นแม่กองสร้ำงต่อ แต่เปล่ียน
แบบเป็นภูเขำ และก่อพระเจดีย์ทรงลังกำไว้
บนยอด พระนำมว่ำ พระบรมบรรพต สร้ำงเสร็จ
ในรัชกำลพระบำทสมเด็จพระจุลจอมเกล้ำ
เจ้ำอยู่หัว ได้บรรจุพระบรมสำรีริกฐำตุ ๒ ครั้ง
ครั้งแรก ปี พ.ศ. ๒๔๒๐ ครงั ที่ ๒ ปี พ.ศ. ๒๔๔๑
ที่ คู ห ำ ส ถู ป ย อ ด พ ร ะ บ ร ม บ ร ร พ ต
และทรงแบ่งบำงส่วนแก่ญี่ปุ่น ลังกำ พม่ำ
และไซบเี รีย

- รถประจำทำง สำย ๘, ๑๕, ๓๗, ๔๗, ๔๙
- รถแท็กซี่ เปน็ กำรเดนิ ทำงท่สี ะดวกสบำยและได้รับ
ควำมนิยมอย่ำงมำก โดยมีอัตรำค่ำบริกำรเร่ิมต้นที่
35 บำท และเพ่ิมคำ่ โดยสำรกิโลเมตรละ ๕.๕๐ บำท
ในระยะ ๑ - ๑๐ กโิ ลเมตรแรก

๕๕



วัดบวรนิเวศ
รำชวรวิหำร

วัดบวรนิเวศท่แี ห่งน้ี ล้วนแต่มเี ร่อื งรำวใหก้ ล่ำวถึง
ศิลปะมำกมำยให้ตรำตรงึ เป็นทพ่ี ง่ึ ทำงใจใหม้ วลชน

SCAN ME ๕๖

วัดบวรนิเวศ รำชวรวิหำร เป็นวัดช้ันเอกชนิด ซึง่ ผนวชเปน็ พระภิกษอุ ยวู่ ัดสมอรำย (วัดรำชำธิวำส)

รำชวรวหิ ำร ตงั้ อยตู่ น้ ถนนตะนำวและถนนเฟื่องนคร เสด็จมำครอง เมอ่ื พ.ศ. ๒๓๗๕ ทำให้วัดน้ีได้รับกำร

บำงลำภู กรุงเทพฯ แตเ่ ดมิ วัดน้เี ป็นวัดใหมอ่ ย่ใุ กล้กับ บรู ณปฏิสงั ขรณ์ และเสริมสรำ้ งสงิ่ ตำ่ งๆ ขึ้น

วัดรังษีสุทธำวำส ต่อมำได้รวมเข้ำเป็นวัดเดียวกัน เม่ือพระบำทสมเด็จพระจอมเกล้ำเจ้ำอยู่หัว

โ ด ย กร ม พ ระ ร ำ ช วั ง บ ว ร มห ำ ศั กดิ พ ลเ ส พ ย์ ทรงเป็นพระรำชำคณะเสด็จประทับท่ีวัดนี้แล้วทรง

ในรัชกำลที่ ๓ ทรงสร้ำงขั้นใหม่ วัดนี้ได้รับกำร บูรณะปฏสิ งั ขรณ์และสร้ำงถำวรวตั ถตุ ่ำงๆเพ่มิ เติมขึ้น

ทะนุบำรุง และสร้ำงส่ิงก่อสร้ำงต่ำงๆขึ้นจนเป็นวัด หลำยอย่ำง พร้อมท้ังได้รับพระรำชทำน ตำหนักจำก

สำคัญวัดหน่ึง โดยเฉพำะในสมัยปลำยรัชกำลท่ี ๓ รัชกำลท่ี ๓ ด้วย ในสมัยต่อมำวัดนี้ เป็นวัดท่ีประทับ

เม่ือพระบำทสมเด็จพระนั่งเกล้ำเจ้ำอยู่หัวได้ทรง ของพระมหำกษัตริย์ เมื่อทรง ผนวชหลำยพระองค์

อำรำธนำสมเด็จพระอนุชำ ธิรำชเจ้ำฟ้ำมงกุฏ เช่นพระบำทสมเด็จพระเจ้ำอยู่หัวรัชกำลที่ ๕

๕๗

และพระบำทสมเดจ็ พระเจำ้ อยู่หวั รชั กำลปัจจุบัน จึง
ทำให้วัดนี้ได้รับกำรทะนุบำรุงให้คงสภำพดีอยู่เสมอ
ในปัจจุบัน น้ี ศิลปกรรมโบรำณวัตถุ และ ศิลปวัตถุ
ห ล ำ ย สิ่ ง ห ล ำ ย อ ย่ ำ ง อ ยู่ ใ น ส ภ ำ พ ดี พ อ ที่ จ ะ ช ม
และ ศกึ ษำได้ เปน็ จำนวนไม่นอ้ ย

๒๔๘ ถนนพระสุเมรุ แขวงบวรนิเวศ เขตพระนคร กรุงเทพมหำนคร
อำณำเขต

- ทศิ เหนอื จรด ถนนพระสุเมรุ
- ทศิ ใต้ จรด บ้ำนพกั อำศยั และโรงเรียนสตรวี ทิ ยำ
- ทิศตะวันออก จรด ถนนบวรนิเวศ
- ทศิ ตะวันตก จรด ถนนประชำธปิ ไตย

๕๘

๑ . พ ร ะ อุ โ บ ส ถ

พระอุโบสถ วัดบวรนิเวศรำชวรวิหำร
ศิลปกรรมในเขตพุทธำวำสที่สำคัญเร่ิมจำก
พระอุโบสถซงึ่ สรำ้ งขึ้นตงั้ แต่สมัยรัชกำลที่ ๓
แต่ได้รับกำรบูรณะซ่อมแซมต่อมำอีกหลำย
ครั้ง รูปแบบของพระอุโบสถ ท่ีสร้ำงตำม
แบบ พระรำชนิยมในสมัยรัชกำลที่ ๓
มีมุขหน้ำยื่นออกมำ เป็นพระอุโบสถและมี
ปีกยื่นออก ซ้ำยขวำ เป็นวิหำรมุขหน้ำที่เป็น
พระอุโบสถมเี สำเหล่ยี มมีพำไลรอบซุ้มประตู
หนำ้ ตำ่ ง และ หน้ำบนั ประดบั ด้วยลำยปูนปั้น
พระอุโบสถวัดบวรนิเวศ หลังน้ีได้รับกำรบูรณะในสมัยรัชกำลที่ ๔ โดยโปรดฯ ให้มุงกระเบื้องเคลือบ
ลูกฟูก ประดับ ลำยหน้ำบันด้วยกระเบื้องเคลือบสี และโปรดฯให้ขรัวอินโข่งเขียนภำพจิตรกรรมฝำผนังภำย
ในพระอุโบสถ ส่วนภำยนอกได้รับกำรบูรณะ บุผนัง ด้วยหินอ่อนท้ังหมด เสำด้ำนหน้ำเป็นเสำเหล่ืยมมีบัวหัว
เสำเปน็ ลำยฝรง่ั ซ้มุ ประตหู นำ้ ต่ำงปิดทองประดบั กระจก
ด้ำนหน้ำมีใบเสมำรุ่นเก่ำสมัยอู่ทองทำด้วยหินทรำยแดงนำมำจำกวัดวังเก่ำ เพชรบุรี ส่วนใบเสมำอื่น
ทำแปลกคือติดไว้กับผนังพระอุโบสถแทน กำรตั้งไว้บนลำนรอบพระอุโบสถ หลังพระอุโบสถเป็นเจดีย์กลม
สมยั รชั กำลที่ ๔ ต่อมำไดห้ ุม้ กระเบอื้ งสีทอง ในรชั กำลปจั จุบนั

๕๙

๒. พระพทุ ธชินสหี (์ องคห์ นำ้ ) – พระสวุ รรณเขต (องค์หลงั )

พระสุวรรณเขต หรือเรียกว่ำหลวงพ่อโต

หรือ “หลวงพ่อเพชร” คือพระประธำนองค์ใหญ่
ต้ังอยู่ด้ำนในสุดของ วัดบวรนิเวศ เป็นพระประธำน
องค์แรกของพระอุโบสถนี้ สมเด็จพระบวรรำชเจ้ำ
มหำศักดิพลเสพ อัญเชิญมำจำกวัดสระตะพำน
จังหวัดเพชรบุรี เป็นพระพุทธรูปโลหะ ลงรักปิดทอง
ปำงมำรวิชัย ศิลปะอยุธยำ หน้ำตักกว้ำง ๙ ศอก
๒๑ น้ิว พระยำชำนิหัตถกำรได้ปั้นพอกพระศก
ให้มีขนำดดังที่เห็นในปัจจุบันแล้วลงรักปิดทอง
ด้ำนข้ำงพระพุทธรูปองค์น้ีมีพระอัครสำวกปูนป้ันหน้ำ
ตัก ๒ ศอก ข้ำงละ ๑ องค์

พระพุทธชินสีห์ ประดิษฐำนอยู่ข้ำงหน้ำ

พระพุทธสุวรรณเขต เป็นพระพุทธรูปสำริดปำง
มำรวิชัย ศิลปะสุโขทัย หน้ำตักกว้ำง ๕ ศอก ๔ นิ้ว
สองข้ำงพระพุทธชินสีห์มีรูปพระอัครสำวกคู่หนึ่ง
สันนิษฐำนว่ำ สมเด็จพระธรรมรำชำลิไทแห่ง
กรุงสุโขทัย โปรดให้สร้ำงขึ้นในเวลำใกล้เคียงกันกับ
พระพุทธชินรำช และพระศรีศำสดำ เดิมประดิษฐำน
อยู่ท่ีพระวิหำรด้ำนทิศเหนือของวัดพระศรีรัตน
มหำธำตุ จงั หวัดพษิ ณุโลก ตอ่ มำวหิ ำรชำรดุ ทรุด โทรมลง สมเด็จพระบวรรำชเจำ้ มหำศกั ดิพลเสพ จึงโปรดให้
อัญเชิญมำประดษิ ฐำนทมี่ ขุ หลงั ของพระอุโบสถจตั รุ มุข วดั บวรนิเวศวิหำร เม่อื พทุ ธศกั รำช ๒๓๗๔

๖๐

๓ . พ ร ะ วิ ห ำ ร พ ร ะ ศ ำ ส ด ำ

พระวิหำรพระศำสดำ วัดบวรนิเวศรำชวรวิหำร
ต้ังอยู่ทำงทิศใต้ของเขตพุทธำวำส ต่อจำกพระเจดีย์
และวิหำรเก๋ง พระบำทสมเด็จพระจอมเกล้ำเจ้ำอยู่หัว
ทรงสร้ำงในพุทธศักรำช ๒๔๐๒ เดิมท่ีนี้เป็นคูและที่ต้ัง
คณะลังกำ แต่โปรดให้ถมและรื้อเพื่อสร้ำงพระวิหำร
พระวิหำรหลังนี้มีขนำด ๕ ห้อง มีเฉลียงรอบ ภำยใน
แบ่งเป็น ๒ ตอน คือทำงทิศตะวันออก ๓ ห้อง
ประดิษฐำนพระศำสดำ ทิศตะวันตก ๓ ห้อง
ประดิษฐำนพระพุทธไสยำ หลังคำซ้อนชั้น ๒ ชั้น
หน้ำบันรวยระกำไม่มีลำยอง ลวดลำยหน้ำบันเป็นปูน
ปั้นรูปดอกพุดตำน ตรงกลำงเป็นรูปพระมหำมงกุฎ
ประดิษฐำนบนพำน มีฉัตร ๒ ข้ำง ซ่ึงเป็นพระบรมรำช
สัญลักษณ์ประจำรัชกำลที่ ๔ หลังคำมุงกระเบ้ือง
กำบกลว้ ย ซุ้มประตูหน้ำต่ำงด้ำนนอกเป็นลวดลำยปูน
ป้นั รปู ดอกพุดตำนใบเทศปิดทอง ตรงกลำงซุ้มด้ำนบน
ทำเป็นรูปพระมหำมงกุฎมีฉัตรอยู่ ๒ ข้ำงเช่นเดียวกับ
หน้ำบัน กำรก่อสร้ำงวิหำรพระศำสดำค้ำงมำจนถึง
รัชกำลที่ ๕ โปรดใหด้ ำเนนิ กำรต่อ โปรดให้ปิดทองพระ
ศำสดำ พระพุทธไสยำและซุ้มประตูหน้ำต่ำง
เขียนภำพจิตรกรรมที่บำนประตู หน้ำต่ำง เพดำน
และผนงั

๖๑

รถไฟใต้ดนิ : สำยเฉลมิ รัชมงคล MRT BLUE LINE
รถเมล์ : ๑๒๗, ๓๐, ๕๑๖ (ปอ.) (AC), ๕๖ (ปอ.) (AC), ๖๘ (ปอ.) (AC)

๖๒

เป็นอย่ำงไรบ้ำง สำหรับ ๙ วัดที่เรำแนะนำกันไป อันที่จริงแล้วคุณไม่จำเป็นต้องเดิน
ตำมรอย ๙ วัด ท่ีเรำรีวิวก็ได้ หำกคุณสะดวกเข้ำวัดไหนก็ไปวัดน้ัน เพรำะขึ้นชื่อว่ำวัด ย่อม
เปน็ สถำนทอ่ี นั เป็นศริ มิ งคลและมแี ต่ส่งิ ดี ๆ รอคณุ อยู่ดว้ ยกนั ทง้ั น้นั ซึง่ ๙ วัด ที่เรำแนะนำไป
นน้ั เป็นเพียงวดั ทมี่ ีคนส่วนใหญน่ ิยมไปและไม่รู้ว่ำจะไปกรำบไหว้ขอพรวัดไหนดี แต่หำกบุคคล
ทำ่ นใดท่ีสนใจวัดวำอำรำมในกรุงเทพฯจริงๆ ก็สำมำรถไปเย่ียมชมไหว้พระขอพรส่ิงศักดิ์สิทธิ์
เพอ่ื เปน็ ศิริมงคลต่อตนเองได้

๖๓

บรรณำนุกรม

กติ ตยิ ำ อำไพ, วดั พระศรีรตั นศำสดำรำม(งำนวิจัย คณะกำรจัดกำรทรัพยำกรวฒั นธรรม
. มหำวทิ ยำลยั ศิลปำกร, ๒๕๖๒), หนำ้ ๕๕-๖๕.
ชมยั ภร แสงกระจ่ำง,วัดพระเชตพุ นวมิ ลมังคลำรำมรำชวรมหำวหิ ำร(งำนวิจยั คณะโบรำณคดี

มหำวิทยำลัยศลิ ปำกร, ๒๕๖๐), หน้ำ ๒๐-๓๐.
แดนอรญั แสงทอง. ๒๕๖๒ . วดั อรุณรำชวรำรำมรำชวรมหำวิหำร.[ระบบออนไลน์].แหล่งทม่ี ำ
. https://www.watportal.com. (วนั ทีค่ น้ ขอ้ มูล : ๗ เมษำยน ๒๕๖๔).
นิวตั พุทธประสำท. ๒๕๖๑ . วดั ระฆังโฆสิตำรำมวรมหำวิหำร.[ระบบออนไลน]์ . แหลง่ ทีม่ ำ

https://palanla.com. (วันทค่ี น้ ข้อมลู : ๗ เมษำยน ๒๕๖๔).
บินหลำ สนั กำลำคีร.ี ๒๕๖๑. วัดกัลยำณมติ รวรมหำวิหำร .[ระบบออนไลน]์ . แหลง่ ทม่ี ำ

https://www.dpu.ac.th. (วันที่คน้ ข้อมูล : ๘ เมษำยน ๒๕๖๔).
ปยิ ะพร ศกั ดิเ์ กษม. ๒๕๖๒. วัดชนะสงครำมรำชวรมหำวิหำร.[ระบบออนไลน]์ . แหลง่ ทมี่ ำ

https://insidewatthai.com. (วนั ที่ค้นข้อมลู : ๘ เมษำยน ๒๕๖๔).
ผกำวดี อตุ ตโมทย.์ ๒๕๖๒. วดั สทุ ัศน์เทพวรำรำม.[ระบบออนไลน]์ . แหลง่ ท่มี ำ

http://www.resource.lib.su.ac.th. (วนั ท่ีคน้ ขอ้ มูล : ๙ เมษำยน ๒๕๖๔).
เพ็ญแข วงศ์สงำ่ . ๒๕๖๐. วดั บวรนิเวศรำชวรวหิ ำร.[ระบบออนไลน]์ . แหล่งท่มี ำ

https://insidewatthai.com. (วนั ท่คี น้ ขอ้ มูล : ๙ เมษำยน ๒๕๖๔).
ภำณุ ตรัยเวช. ๒๕๖๐. วดั สระเกศรำชวรมหำวหิ ำร.[ระบบออนไลน]์ . แหล่งทม่ี ำ

https://travel.trueid.net. (วันทค่ี น้ ข้อมูล : ๑๐ เมษำยน ๒๕๖๔).

๖๔

คณะผูจ้ ัดทำ

นำงสำวตรีรตั น์ จตุ ปิ ระภำค รหสั ๖๓๒๑๑๒๔๐๐๒
รหสั ๖๓๒๑๑๒๔๐๐๗
นำยศักดดิ์ ำ ชนะสมิ มำ รหสั ๖๓๒๑๑๒๔๐๑๐
รหสั ๖๓๒๑๑๒๔๐๑๕
นำงสำวกนกวรรณ มณฉี ำย รหัส ๖๓๒๑๑๒๔๐๒๐
รหสั ๖๓๒๑๑๒๔๐๒๓
นำงสำวนภเกตน์ แจ้งเศรษฐ์ รหสั ๖๓๒๑๑๒๔๐๒๗
รหสั ๖๓๒๑๑๒๔๐๒๙
นำยเมธำวี เพยี รจำ รหัส ๖๓๒๑๑๒๔๐๓๑
รหสั ๖๓๒๑๑๒๔๐๔๕
นำยธรี ะศักดิ์ สมบัติวงศ์

นำยปรชี ำ คล่องวถิ ี

นำงสำวศุภรดำ ไชยชำญรมั ย์

นำงสำวรุ่งนภำ นประไพชำติ

นำงสำวศณิ นี ำถ น่นุ เนียบ

นกั ศึกษำชัน้ ปที ่ี ๑ ปกี ำรศกึ ษำ ๒๕๖๓
สำขำวิชำภำษำไทย (ค.บ.)

มหำวทิ ยำลยั รำชภัฏบ้ำนสมเด็จเจำ้ พระยำ


Click to View FlipBook Version