The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

๙ วัดวิจิตรศิลป์ สู่ดินแดนรัตนโกสินทร์

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by me0981782508, 2021-04-30 04:46:32

๙ วัดวิจิตรศิลป์ สู่ดินแดนรัตนโกสินทร์

๙ วัดวิจิตรศิลป์ สู่ดินแดนรัตนโกสินทร์

Keywords: ๙ วัดวิจิตรศิลป์ สู่ดินแดนรัตนโกสินทร์

วัดวจิ ิตรศิลป์

สู่ดินแดนรัตนโกสนิ ทร์

คำนำ

หนงั สือสรำ้ งสรรค์ เรือ่ ง ๙ วัดวิจิตรศลิ ป์ สดู่ ินแดนรัตนโกสินทร์ ฉบับน้ีจัดทำขึ้นเพ่ือ
เป็นแนวทำงให้กับผู้ที่สนใจหรือต้องกำรศึกษำหำควำมรู้เพ่ิมเติมเก่ียวกับวัดในดินแดน
รัตนโกสินทร์ รวมทั้งเป็นข้อมูลไว้ให้สำหรับคณะบุคคลนักท่องเท่ียวทั้งชำวไทยและชำวต่ำงชำติ
ให้ได้พึงตระหนักถึงควำมสำคัญที่มีมำอย่ำงยำวนำนของวัดท่ีสำคัญของไทยทั้ง ๙ วัดท่ี
คณะผู้จัดทำได้รวบรวมมำ ซ่ึงทุกวัดล้วนแล้วแต่เป็นวัดท่ีมีประวัติศำสตร์บอกเล่ำไว้มำกมำย
และน่ำจดจำของปวงชนชำวไทย รวมทง้ั ยังเปน็ กำรสง่ เสริมใหผ้ ้ทู ไ่ี ดร้ ับข้อมลู เกิดควำมภำคภูมิใจ
รัก และหวงแหนในเอกลักษณ์ของชำติ ไปจนกระท่ังได้มีส่วนร่วมในกำรเผยแพร่วัฒนธรรม
ของชำติสืบต่อไป โดยในหนังสือสร้ำงสรรค์ฉบับนี้ประกอบด้วยเน้ือหำ ดังน้ี ประวัติวัด ท่ีต้ัง
กำรเดินทำง สถำปัตยกรรมที่สำคัญ สิ่งมหัศจรรย์ต่ำงๆภำยในวัด ข้อแนะนำต่ำงๆเกี่ยวกับวัด
ข้อมูลทั่วไปต่ำงๆ เปน็ ตน้

โดยคณะผู้จัดทำหวังเป็นอย่ำงยิ่งว่ำ หนังสือสร้ำงสรรค์ฉบับน้ีจะช่วยให้กำรเรียนรู้ใน
ด้ำนกำรอ่ำน เป็นเรื่องท่ีน่ำสนใจ สนุก และเป็นประโยชน์แก่ผู้ท่ีสนใจไม่มำกก็น้อย
รวมท้ังในครั้งน้ีคณะผู้จัดทำได้เป็นส่วนสำคัญในกำรอนุรักษ์และเผยแพร่วัฒนธรรมของชำติ
อกี ดว้ ย

คณะผ้จู ัดทำ

สำรบัญ

เรอ่ื ง หน้ำ

คำนำ
สำรบญั
๙ วัดวิจิตรศิลป์ สดู่ นิ แดนรัตนโกสินทร์........................................................................๑

๑. วัดพระศรีรตั นศำสดำรำม...............................................................................๒
๒. วัดระฆงั โฆสิตำรำมวรมหำวหิ ำร.....................................................................๑๓
๓. วัดอรุณรำชวรำรำมรำชวรมหำวิหำร...............................................................๑๙
๔. วัดพระเชตุพนวมิ ลมังคลำรำมรำชวรมหำวิหำร...............................................๒๖
๕. วดั กัลยณมิตรวรมหำวิหำร............................................................................๓๑
๖. วัดชนะสงครำมรำชวรมหำวหิ ำร.....................................................................๓๗
๗. วัดสุทศั นเทพวรรำมรำชวรมหำวหิ ำร..............................................................๔๓
๘. วัดสระเกศรำชวรมหำวหิ ำร...........................................................................๕๐
๙. วัดบวรนเิ วศรำชวรวหิ ำร................................................................................๕๖
บรรณำนกุ รม..............................................................................................................๖. ๔

๙ วดั วจิ ิตรศลิ ป์
สดู่ ินแดนรตั นโกสนิ ทร์

อย่ำงท่ีทรำบกันดีว่ำวัดต่ำงๆ ในกรุงเทพมหำนครนั้นมีมำกกว่ำ ๔๐๐ แห่ง
ซ่ึงบำงแหง่ ก็สำมำรถดึงดูดนกั ทอ่ งเท่ยี วได้หลำยพันคนต่อวัน เพรำะวัดส่วนใหญ่จะได้รับกำร
ออกแบบมำให้มีควำมสวยงำม ควำมวิจิตรบรรจงที่สลับซับซ้อน และแสดงออกถึง
เอกลักษณ์ของควำมเป็นไทยอย่ำงชัดเจน ท้ังยังเกี่ยวข้องทำงประวัติศำสตร์ไทยและ
วัฒนธรรมของประเทศชำติ ดังน้ันวัดวำอำรำมในเมืองไทยโดยเฉพำะในกรุงเทพฯ
(ท่ีเป็นเมืองหลวง) จึงกลำยเป็นหนึ่งในสถำนที่ท่องเที่ยวที่ยอดเยี่ยมท่ีสุด ซึ่งแน่นอนว่ำกำร
ไปวัดของแตล่ ะคนก็มจี ุดประสงคท์ ่ตี ำ่ งกัน บำงคนก็ไปแบบนักท่องเที่ยวเน้นถ่ำยรูป บำงคนก็
ไปกรำบไหว้ขอพรด้ำนกำรงำน, โชคชะตำ, ควำมรัก เพ่ือเสริมสร้ำงควำมเป็นสิริมงคลให้
แก่ชวี ิต และบำงคนก็ไปเพรำะมีควำมศรัทธำในพระพุทธศำสนำตำมวิถีหน้ำที่ของชำวพุทธท่ีดี
ดงั น้ันในวันนี้เรำก็จะมำนำเสนอ ๙ วัดท่คี นส่วนใหญ่มักชอบไป มำดกู ันว่ำจะมวี ัดอะไรบ้ำง



๑๒

รตั วนัดศพำสระดศำรรีำม

วัดพระแก้วแพรวพิศวจิ ิตรสรำ้ ง สอ่ งสวำ่ งกลำงกรุงแดนสยำม
ประดษิ ฐ์พระปฏิมำเรืองอรำ่ ม สดุ สวยงำมเรอื งระยบิ ทพิ ย์วิมำน



วัดพระศรีรัตนศำสดำรำม หรือท่ี ใช้เป็นท่ีบวชนำคหลวง และประชุมข้ำทูลละออง

ชำวบ้ำนเรียกว่ำ “วัดพระแก้ว” น้ัน พระบำทสมเด็จ พระบำทถือน้ำพระพิพัฒน์สัตยำ รัชกำลที่ ๑

พระพุทธยอดฟ้ำจุฬำโลก โปรดเกล้ำฯ ให้สร้ำงขึ้น โปรดเกล้ำให้เป็นท่ีประดิษฐำนพระพุทธมหำมณี

พร้อมกับกำรสถำปนำกรุงรัตนโกสินทร์ เมื่อ พ.ศ. รัตนปฏิมำกรหรือพระแก้วมรกต พระพุทธรูป

๒๓๒๕ แล้วเสรจ็ ในปี พ.ศ. ๒๓๒๗ คู่บ้ำนคู่เมืองของไทย มำประดิษฐำน ณ ที่น้ี วัดพระ

เ ป็ น วั ด ท่ี ส ร้ ำ ง ขึ้ น ใ น เ ข ต ศรีรัตนศำสดำรำมน้ี ภำยหลังจำกกำรสถำปนำแล้ว

พระบรมมหำรำชวัง ตำมแบบวัดพระศรีสรรเพชญ ก็ไดร้ ับกำรปฏิสงั ขรณส์ บื ต่อมำทุกรัชกำล เพรำะเป็น

สมัยอยุธยำวัดน้ีอยู่ในเขตพระรำชฐำนชั้นนอก ทำง วดั สำคัญ จึงมกี ำรปฏสิ ังขรณ์ใหญ่ทุก ๕๐ ปี คือใน

ทิศตะวันออก มีพระระเบียงล้อมรอบเป็นบริเวณ สมัยพระบำทสมเด็จพระน่ังเกล้ำเจ้ำอยู่หัว

เปน็ วัดคกู่ รุงทไี่ มม่ ีพระสงฆจ์ ำพรรษำ พระบำทสมเด็จพระจลุ จอมเกลำ้ เจ้ำอยูห่ วั ๓

พระบำทสมเด็จพระปกเกล้ำเจ้ำอยู่หัว และสมัย
พระบำทสมเดจ็ พระเจ้ำอยหู่ วั ภมู ิพลอดุลยเดช

...เนื่องในโอกำสสมโภชกรุงรัตนโกสินทร์
คร บ ๒๐ ๐ ปี ใ น ปี พ . ศ. ๒ ๕ ๒ ๕ ที่ผ่ ำ น ม ำ
ก ำ ร บู ร ณ ป ฏิ สั ง ข ร ณ์ ที่ ผ่ ำ น ม ำ มุ่ ง อ นุ รั ก ษ์
สถำปัตยกรรมและศิลปกรรมอันเป็นมรดกช้ินเอก
ของชำติ ให้คงควำมงำมและรักษำคุณค่ำของ
ช่ำงศิลปะไทยไว้อย่ำงดีท่ีสุด เพ่ือให้วัดพระศรี
รตั นศำสดำรำมนีอ้ ยคู่ กู่ บั กรงุ รัตนโกสินทรต์ ลอดไป

ถนนหน้ำพระลำน แขวงพระบรมมหำรำชวัง
เขตพระนคร กรุงเทพมหำนคร ประเทศไทย ๑๐๒๐๐

- ทิศเหนือ ติดถนนหน้ำพระลำน - ตรงกับ
ท้องสนำมหลวง และมหำวิทยำลัยศิลปำกร
เป็นทำงเขำ้ สู่วดั พระแกว้ ทำงประตูวเิ ศษไชยศรี

- ทิศใต้ ติดถนนท้ำยวงั - ตดิ กับวดั โพธ์ิ
- ทิศตะวันออก ติดถนนสนำมไชย - ด้ำน
ศำลหลักเมือง กระทรวงกลำโหม สวนสรำญรมย์
- ทิศตะวันตก ติดถนนมหำรำช - ฝั่งแม่น้ำ
เจ้ำพระยำ ท่ำช้ำง ท่ำรำชวรดิษฐ์ (ไม่มีท่ำเทียบ
เรอื )



ภำยในวัดพระ แก้วมีสถำ ปัตย กรรม
ท่ีงดงำม ถือเป็นที่รวบรวมแห่งศิลปกรรมของไทย
เลยก็ว่ำได้ กำรเข้ำชมวัดพระแก้วในช่วงนี้ถือเป็น
โอกำสดี เน่ืองจำกมีนักท่องเที่ยวไม่มำก ทำให้
สำมำรถเดินชมสถำปัตยกรรมอันวิจิตรได้อย่ำง
เพลิดเพลิน ครั้งนี้จึงขอชวนมำชมส่ิงที่น่ำสนใจ
กับ “ ไฮไลต์ท่ีไม่ควรพลำดในวัดพระแก้ว”
ให้ทกุ คนไปเยย่ี มชมกนั

๑ . พ ร ะ อุ โ บ ส ถ

ในวัดพระแก้วมีส่ิงน่ำสนใจให้ชมงมงำมหลำกหลำย และจุดที่ไม่ควรพลำดอยู่ที่พระอุโบสถ
มีลกั ษณะเป็นอำคำรทรงไทยก่ออฐิ ถือปนู เป็นศิลปะสมัยอยุธยำตอนปลำย ฐำนพระอุโบสถหย่อนท้องช้ำง
เป็นเส้นโค้ง หลังคำทรงไทย ๔ ชั้นลด หน้ำบันจำหลักลำยรูปนำรำยณ์ทรงครุฑยุดนำค ล้อมรอบด้วย
ลำยก้ำนขดเทพนม ลงรักปดิ ทองประดับกระจก



๒ . พ ร ะ แ ก้ ว ม ร ก ต

ภำยในพระอุโบสถนั้นจะมีองค์พระประธำนมีช่ือเต็มว่ำ "พระพุทธมหำมณีรัตนปฏิมำกร"
ซึ่งเป็นพระพุทธรูปที่ทำขึ้นจำกหินสีเขียวงดงำม หรือที่เรียกกันว่ำ “พระแก้วมรกต” มีพระพุทธ
ลักษณะเป็นศิลปะแบบล้ำนนำตอนปลำย ประทับน่ังปำงสมำธิ ขัดสมำธิรำบ องค์พระแกะสลักจำก
เน้ือหยกสีเขียวทึบชิ้นเดียว ฝำผนังด้ำนในท้ัง ๔ ด้ำน มีจิตรกรรมฝำผนังเขียนขึ้นในสมัย
พระบำทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้ำจุฬำโลก และสมัยพระบำทสมเด็จพระน่ังเกล้ำเจ้ำอยู่หัว ผนังหุ้ม
กลองด้ำนหน้ำพระแก้วมรกตเป็นภำพมำรผจญ ผนังหุ้มกลองด้ำนหลังเป็นภำพไตรภูมิ ผนังด้ำนข้ำง
เป็นภำพพระปฐมสมโพธิกถำและชำดก รวมท้ังภำพกระบวนพยุหยำตรำทำงชลมำรคและทำง
สถลมำรค



๓ . ห ม อ ชี ว ก โ ก ม ำ ร ภั จ จ์

รูปหล่อหมอชีวกโกมำรภัจจ์ เป็นรูปหล่อ
สำริดท่ีพระบำทสมเด็จพระน่ังเกล้ำเจ้ำอยู่หัว โปรด
เกล้ำฯ ให้สร้ำงข้ึน หมอชีวกโกมำรภัจจ์ เป็นหมอที่
ถวำยกำรรักษำพระพุทธเจ้ำเม่ือครั้งพุทธกำล ซ่ึงคน
ไทยได้ยกย่องให้เป็นบิดำกำรแพทย์แผนโบรำณ
บริเวณด้ำนหน้ำตั้งหินบดยำ ซ่ึงในสมัยโบรำณจะนำ
สมุนไพรมำบดที่นี่ โดยมีควำมเช่ือว่ำจะทำให้ยำ
สมนุ ไพรนน้ั มีสรรพคณุ มำกยิ่งขน้ึ



๔ . พ ร ะ ศ รี รั ต น เ จ ดี ย์

อีกหนึ่งควำมโดดเด่นท่ีอยู่ในวัดพระแก้วก็คือ “พระศรีรัตนเจดีย์” เป็นเจดีย์ทรงลังกำ
ซ่ึงพระบำทสมเด็จพระจอมเกล้ำเจ้ำอยู่หัว โปรดเกล้ำฯ ให้สร้ำงขึ้นในปีพ.ศ. ๒๓๙๘ สำหรับประดิษฐำน
พระบรมสำรีริกธำตุพระศรรี ัตนเจดยี น์ ีถ้ อดแบบมำจำกพระเจดีย์ ๓ องค์ วัดพระศรีสรรเพชญ ในพระรำชวัง
หลวงกรุงศรีอยุธยำ เม่ือแรกสร้ำงน้ันเป็นพระเจดีย์ก่ออิฐถือปูนทำสีขำว ต่อมำได้มีกำรตกแต่งด้วย
กระเบื้องโมเสกสีทอง (ทำจำกทองคำเปลว) ในรชั สมยั พระบำทสมเดจ็ พระจุลจอมเกลำ้ เจำ้ อย่หู วั



๕.พระมณฑป

พระมณฑปน้ีสร้ำงข้ึนแบบสถำปัตยกรรม
ทรงไทย เลียนแบบพระมณฑปท่ีประดิษฐำนรอย
พระพุทธบำทในจังหวัดสระบุรี ภำยในตั้งตู้ไม้ประดับ
มุกประดิษฐำนพระไตรปิฎกฉบับทองใหญ่ ผนังด้ำน
นอกทำลำยเทพพนมทรงพุ่มข้ำวบิณฑ์ ปิดทอง
ประดับกระจก มีบันไดทำงขึ้น ๔ ด้ำน รวมบันได
ทำรูปนำค ๕ เศียร มีใบหน้ำมนุษย์ บำนพระทวำร
ทั้ง ๔ ด้ำนประดับมุก ฐำนพระมณฑปบริเวณหน้ำ
พระทวำรตั้งแต่งรปู ยกั ษ์ทวำรบำล ด้ำนละ ๑ คู่ และ
บริเวณมุมท้ัง ๔ ก่อแท่นเพื่อประดิษฐำนพระพุทธรูป
ศิลำทำด้วยหินอัคนี ซ่ึงรัฐบำลชวำได้ทูลเกล้ำฯ
ถวำยพระบำทสมเด็จพระจุลจอมเกล้ำเจ้ำอยู่หัว
เมอื่ ครัง้ เสด็จประพำสชวำในปีพ.ศ. ๒๔๑๔



๖ . ป ร ำ ส ำ ท พ ร ะ เ ท พ บิ ด ร

“ปรำสำทพระเทพบิดร” เป็นสถำปัตยกรรมจัตุรมุขทรงไทย หลังคำยกยอดปรำสำทแบบปรำงค์
สร้ำงในสมัยพระบำทสมเด็จพระจอมเกล้ำเจ้ำอยู่หัว เมื่อแรกสร้ำงทรงพระรำชทำนนำมว่ำ “พระพุทธ
ปรำงคป์ รำสำท” โดยมีพระรำชประสงคจ์ ะอัญเชญิ พระแก้วมรกตจำกพระอุโบสถมำประดษิ ฐำนไวท้ ่หี อพระน้ี
แตเ่ มอื่ สร้ำงเสร็จสมบูรณแ์ ลว้ ปรำกฎวำ่ มขี นำดเล็กเกินไป ไม่เหมำะที่จะใช้เป็นสถำนที่ประกอบพระรำชพิธี
ทำงศำสนำ ต่อมำพระบำทสมเด็จพระจุลจอมเกล้ำเจ้ำอยู่หัว โปรดเกล้ำฯ ให้อัญเชิญเจดีย์กำไหล่ทอง
ขนำดเล็ก จำกสวนศิวำลยั ภำยมำประดิษฐำนไวภ้ ำยใน

๑๐

๑ . ก ำ ร ถ่ ำ ย ภ ำ พ ไ ม่ ค ว ร ใ ช้ แ ฟ ล ช ๓. กำรเข้ำชมวัดพระแกว้ นยิ มเข้ำทำงประตู
ในถ่ำยภำพจิตรกรรมฝำผนัง และไม่อนุญำตให้ วิเศษไชยศรี ประตูใหญ่ที่อยู่ทำงด้ำนถนนหน้ำ
ถ่ำยภำพ ภำยในพระอุโบสถเด็ดขำด ฝ่ำฝืนมีโทษ พระลำน โดยเดินเขำ้ ทำงหน่ึงและออกอกี ทำงหนึ่ง
ปรับ และยดึ ฟิล์ม/สอ่ื บนั ทึก
๔. ควรแต่งกำยสุภำพ ไม่ใส่เส้ือแขนกุด
๒. เข้ำชมเป็นหมู่คณะต้ังแต่ ๑๐ คนขึ้นไป รัดรูป ซีทรู เอวลอย ส่วนกำงเกงไม่ใส่ขำสั้น
ต้องทำหนังสือขออนุญำต ผู้อำนวยกำร สำนักงำน ขำสำมส่วน เลคก้ิง กำงเกงเอวต่ำ สำมำรถใส่ยีนส์
บรหิ ำรเงนิ ตรำ ล่วงหน้ำไม่นอ้ ยกวำ่ ๑ สัปดำห์ ได้ แต่หำ้ มใส่กำงเกงยีนส์ปะหรือท่ีตัดให้ขำดเป็นร้ิวๆ
หำกใส่กระโปรงก็ควรเป็นกระโปรงท่ีมีควำมยำวคลุม
๓ . ก ำ ร เ ข้ ำ ช ม วั ด พ ร ะ แ ก้ ว แ ล ะ เข่ำ
พระบรมมหำรำชวัง ควรไปตอนเช้ำ เพรำะแดดไม่
ร้อนและคนไม่วุ่นวำย เดินได้สะดวกกว่ำช่วงเที่ยงๆ ๕. หำกแต่งตัวไม่เรียบร้อย สำมำรถยืม
บำ่ ยๆ มกั จะมนี กั ท่องเที่ยวตำ่ งชำติมำกมำย ผ้ำถุงได้ท่ีเคำเตอร์ตรงประตูวิเศษไชยศรี (เดินเข้ำ
ประตูไปแล้ว เคำเตอร์อยู่ขวำมือ) โดยวำงมัดจำ
หรือใช้บัตรประชำชน เมอ่ื ออกมำแล้วค่อยนำมำแลก
คนื ได้ ณ จดุ เดิม

๑๑

๑. BTS + เรอื ดว่ นเจำ้ พระยำ ๔. เรือข้ำมฟำก ทำ่ วงั หลัง(พรำนนก) หรอื ท่ำศริ ิรำช
- ลง BTS สถำนีสะพำนตำกสนิ ทำงออก ๒ - รถเมล์ผ่ำนแยกศิริรำช สำย ๑๙ , ๕๗ , ๘๑ ,
- เดินไปทำงแม่น้ำเจ้ำพระยำ ใต้สะพำนมีท่ำเรือ
๙๑ , ๑๔๙ , ๑๕๗ , ๑๖๙ , ๑๗๗
สำทร ลงเรือด่วนเจำ้ พระยำ ธงสสี ม้ ๕. รถเมล์
- ขึ้นเรือท่ีท่ำช้ำง (N๙) เดินออกจำกท่ำเรือ
- รถเมล์ท่ีผำ่ นวดั พระแก้วที่ใกล้ท่ีสุดคือ ๑ , ๓
วดั พระแกว้ อยทู่ ำงขวำมือ , ๙ , ๑๕ , ๒๕ , ๓๐ , ๓๒ , ๓๓ , ๔๓ , ๔๔ , ๔๗ ,
๒. BTS + รถเมล์ ๕๓, ๕๙ , ๖๔ , ๘๐ , ๘๒ , ๙๑ , ๒๐๓ , ๕๐๓ ,
๕๐๘ , ๕๑๒
๒.๑ BTS สนำมกีฬำแหง่ ชำติ + รถเมล์
- ลง BTS สถำนีสนำมกีฬำแห่งชำติ เปิดให้เข้ำชมทุกวัน ๐๘.๓๐ - ๑๕.๓๐ น. คนไทย
เข้ำชมฟรี ชำวต่ำงชำติ ๒๐๐ บำท
ทำงออก ๒
- เดินมำรอรถเมล์ท่ีหน้ำสนำมกีฬำแห่งชำติ

รถเมลท์ ผี่ ำ่ นคือ สำย ๑๕, ๔๗, ๕๐๘
๒.๒ BTS สยำม + รถเมล์
- ลง BTS สถำนีสยำม
- เดินลงฝ่ังตรงข้ำมสยำมพำรำกอน

ต่อรถเมล์ สำย ๑๕, ๒๕, ๕๐๘
๓. MRT หวั ลำโพง + รถเมล์

- MRT สถำนหี วั ลำโพง ทำงออก ๔ เดินไปทำง
โรงแรมบำงกอกเซ็นเตอรต์ อ่ รถเมลส์ ำย ๒๕, ๕๓

๑๒



วัดระฆงั
โฆสติ ำรำมวรมหำวิหำร

วดั ระฆงั ดงั กงั วำนสะทำ้ นจิต เนรมติ ควำมงำมรว่ มสร้ำงสรรค์

ทัศนำสำยวำรหี ฤหรรษ์ อศั จรรยค์ วำมงำมตระกำรตำ

๑๓

เดมิ เปน็ วดั โบรำณสรำ้ งในสมยั อยธุ ยำ เดมิ ช่ือ ของเจ้ำนำยวังหลัง คือ สมเด็จพระเจ้ำพี่นำงเธอ
วัดบำงว้ำใหญ่ (หรือบำงหว้ำใหญ่) ในสมัยธนบุรี เจ้ำฟ้ำกรมพระเทพสุดำวดี (สำ) พระเชษฐภคินีของ
สมเด็จพระเจ้ำตำกสินมหำรำช ทรงสร้ำงพระรำชวัง พระบำทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้ำจุฬำโลกมหำรำช
ใกล้วัดบำงว้ำใหญ่ จึงทรงพระกรุณำโปรดเกล้ำฯ ให้ และเป็นพระชนนีของกรมพระรำชวังบวรสถำนพิมุข
ทำกำรบูรณปฏิสังขรณ์ และข้ึนยกเป็นพระอำรำม ทรงมีตำหนักทป่ี ระทับอยตู่ ิดกับวัด
หลวง และเป็นที่ประทับของสมเด็จพระสังฆรำชใน
สมัยรัตนโกสนิ ทร์ และทรงพระกรุณำโปรดเกล้ำฯ ให้ ไ ด้ ท ร ง บู ร ณ ป ฏิ สั ง ข ร ณ์ วั ด ร่ ว ม กั บ
เป็นที่ประชุมสังคำยนำพระไตรปิฎก ซึ่งอัญเชิญมำ พระบำทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้ำจุฬำโลกมหำรำช
จำกนครศรีธรรมรำชขน้ึ ทวี่ ัดนี้ และได้ขุดพบระฆังลูกหนึ่ง ซ่ึงทรงพระกรุณำโปรด
เกล้ำฯ ให้นำไปไว้ท่ีวัดพระศรีรัตนศำสดำรำม
ในรัชสมัยพระบำทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้ำ โดยทรงสรำ้ งระฆงั ชดเชยใหว้ ัดบำงวำ้ ใหญ่ ๕ ลกู
จฬุ ำโลกมหำรำช วัดบำงวำ้ ใหญอ่ ยู่ในพระอุปถัมภ์
๑๔

วัดระฆังโฆสิตำรำมวรมหำวิหำร ต้ังอยู่ในแขวง
ศิริรำช เขตบำงกอกน้อย กรุงเทพมหำนคร ๑๐๗๐๐
เ ป็ น พ ร ะ อ ำ ร ำ ม ห ล ว ง ช้ั น โ ท ช นิ ด ว ร ม ห ำ วิ ห ำ ร
อย่ใู นเขตกำรปกครองคณะสงฆ์มหำนกิ ำยภำค ๑

๑. พระปรำง

รชั กำลที่ ๑ มพี ระรำชศรัทธำสร้ำงพระปรำงค์
พระรำชทำนร่วมกุศลกบั สมเดจ็ พระพนี่ ำงพระองคใ์ หญ่
(สมเด็จเจ้ำฟ้ำหญิง กรมพระเทพสุดำวดี พระนำมเดิม สำ) ต้ังอยู่หน้ำพระวิหำร ได้รับกำร
ยกย่องจำกสมเด็จพระเจ้ำบรมวงศ์เธอ เจ้ำฟ้ำกรมพระยำนริศรำนุวัดติวงศ์ว่ำ เป็นพระปรำงค์
ที่ทำถูกแบบท่ีสุดในประเทศไทย พระปรำงค์องค์น้ีจัดเป็นพระปรำงค์แบบ สถำปัตยกรรม
รัตนโกสินทร์ยุคต้นที่มีทรวดทรงงดงำมมำก จนยึดถือเป็นแบบฉบับของพระปรำงค์ที่สร้ำงในยุค
ต่อมำ

๑๕

๒ . พ ร ะ อุ โ บ ส ถ

เป็นทรงแบบรชั กำลที่ ๑ หลงั คำลด ๓ ชน้ั มชี ่อฟำ้ ใบระกำ หำงหงส์ และคันทวยสลักเสลำอย่ำง
สวยงำม บริเวณมุขด้ำนหน้ำและหลังทำปีกนกคลุมมุขอยู่ในระยะไขรำหน้ำจ่ัว ตอนใต้จั่วหรือหน้ำบัน
ที่จำหลักลำยพระนำรำยณ์ทรงครุฑ ประดับลำยกนกปิดทองอย่ำงประณีต เจำะเป็นช่องหน้ำต่ำง ๒ ช่อง
แทนแผงแรคอสองเหนือประตูหน้ำต่ำงรอบพระอุโบสถติดกระจังปูนปั้นปิดทองทำเป็นรูปซุ้มบนบำนประตู
หน้ำต่ำงด้ำนนอกเขียนลำยรดน้ำปิดทองมีรูประฆังเป็นเคร่ืองหมำย ด้ำนในเขียนภำพทวำรบำลยืนแท่น
ระบำยสีงดงำม บริเวณฝำผนังภำยในพระอุโบสถโดยรอบเขียนภำพจิตรกรรมท่ีได้รับกำรยกย่องว่ำฝีมือ
งดงำมมำก โดยผนังด้ำนหน้ำพระประธำนเขียนเป็นภำพพระพุทธเจ้ำแสดงยมกปำฏิหำริย์ก่อนเสด็จข้ึนไป
จำพรรษำบนสวรรคช์ ้นั ดำวดึงส์ และตอนเสด็จลงจำกสวรรค์ชั้นดำวดึงส์ ด้ำนหลังพระประธำนเขียนภำพ
พระมำลัยขณะข้ึนไปนมัสกำรพระมหำจุฬำมณีบนสวรรค์ชั้นดำวดึงส์ เบ้ืองล่ำงเขียนภำพสัตว์นรก
ในอำกำรต่ำงๆ ภำพฝำผนังส่วนที่เหลือ เบื้องบนเขียนเป็นเทพชุมนุม ตอนล่ำงเขียนภำพทศชำติ ซึ่งเขียน
ได้อย่ำงมีชีวิตชีวำอ่อนช้อยและแสงสีเหมำะสมกับเรื่องรำว ภำพเหล่ำน้ีเขียนโดย .............
พระวรรณวำดวิจิตร (ทอง จำรุวิจิตร) จิตรกรเอกในสมัยรัชกำลที่ ๖ เม่ือรำว พ.ศ. ๒๔๖๕................
ครั้งมกี ำรบูรณะซอ่ มแซมพระอโุ บสถในรัชกำลน้นั

๑๖

๓ . ห ล ว ง พ่ อ ย้ิ ม รั บ ฟ้ ำ

พระประธำนย้ิมรับฟ้ำ เป็นพระพุทธรูปเน้ือทองสำริด ปำงสมำธิ หน้ำตักกว้ำง
ประมำณ ๔ ศอกเศษ เบอ้ื งพระพักตร์มีรูปพระสำวก ๓ องค์ น่ังประนมมือดุจรับพระพุทธ
โอวำท พระประธำนองค์นี้ได้รับกำรยกย่องว่ำงดงำมมำก จนปรำกฏว่ำคร้ังหน่ึงเม่ือ
พระบำทสมเด็จพระจุลจอมเกล้ำเจ้ำอยู่หัวเสด็จมำถวำยผ้ำพระกฐิน ณ วัดระฆัง
โฆสิตำรำม ได้มีพระรำชดำรัสแก่ผู้เข้ำเฝ้ำฯ ใกล้ชิดว่ำ ไปวัดไหนไม่เหมือนมำ..............
วัดระฆังพอเข้ำประตูโบสถ์พระประธำนย้ิมรับฟ้ำทุกที ด้วยเหตุน้ี......................
จึงทรงถวำ ยเคร่ือ งรำ ชอิสริยำภรณ์นพรัตนรำ ชวรำภรณ์ ... ... .. ... .. ... .. .
และมหำปรมำภรณ์ช้ำงเผือกแด่พระประธำนองค์น้ีเป็นพิเศษ.................................
และพ ระป ระธำ นอ ง ค์น้ีก็ได้นำมว่ ำพ ระ ป ระ ธำนย้ิ มรับ ฟ้ำ . .. . .. . .. .. . .. . .. . .. . .. . .. . .. . .. . .
ตงั้ แต่น้ันมำ

๑๗

- รถเ มล์ สำ มำรถนั่งรถเ มล์สำ ย ๕ ๗ หน้ำ
มหำวทิ ยำลัยรำชภฏั บ้ำนสมเด็จเจ้ำพระยำ รำคำ ๑๐
บำท ลงหน้ำทำงเข้ำวดั
- รถประจำทำง สำย ๕๗, ๑๔๖ และ ๑๗๗
- เรือด่วนเจ้ำพระยำ ลงเรือท่ีท่ำช้ำง จำกนั้นข้ึนเรือ
ขำ้ มฟำกมำยังท่ำวัดระฆัง ค่ำโดยสำรเรือด่วนเริ่มต้น
ท่ี ๑๕ บำท และค่ำเรอื ขำ้ มฟำก ๓.๕๐ บำท
-รถแทก็ ซ่ี รำคำประมำณ ๖๐ บำท

๑๘



วดั อรณุ รำชวรำรำม
รำชวรมหำวิหำร

วัดอรณุ รำชวรำรำม แสนสวยงำมพระปรำงค์เดน่ เปน็ สง่ำ
ต้งั อยู่ริมแมน่ ำ้ เจ้ำพระยำ สุดลำ้ คำ่ ประทับอยคู่ แู่ ผ่นดนิ

๑๙

วัดอรุณรำชวรำรำม หรือที่นิยมเรียกกันใน วัดแจ้งนั้น เชื่อกันว่ำ เม่ือสมเด็จพระเจ้ำตำกสิน
ภำษำพูดว่ำ วัดแจ้ง หรือที่เรียกสั้น ๆ ว่ำ วัดอรุณ มหำรำชทรงตั้งรำชธำนีท่ีกรุงธนบุรีใน พ.ศ. ๒๓๑๐
เป็นวัดโบรำณ สร้ำงในสมัยอยุธยำ ที่ชื่อวัดแจ้ง ไดเ้ สดจ็ มำถึงหนำ้ วัดนต้ี อนรุ่งแจง้ จึงพระรำชทำนชื่อ
เพรำะ พระเจำ้ ตำกฯ ทำศกึ เสร็จ แล้วยกทัพกลับมำ ใหม่ว่ำวัดแจ้ง แต่ควำมเช่ือนี้ไม่ถูกต้อง เพรำะเพลง
เป็นเวลำเช้ำพอดี ว่ำกันว่ำเดิมเรียกว่ำ วัดมะกอก ยำวหมอ่ มภมิ เสน วรรณกรรมสมัยอยุธยำที่บรรยำย
และกลำยเป็นวัดมะกอกนอกในเวลำต่อมำ เพรำะ กำรเดินทำงจำกอยุธยำไปยังเพชรบุรี ได้ระบุช่ือวัดน้ี
ได้มีกำรสร้ำงวัดขึ้นอีกวัดหน่ึงในตำบลเดียวกัน ไว้ว่ำชื่อวดั แจ้งต้งั แตเ่ วลำนน้ั แลว้
แต่อยู่ในคลองบำงกอกใหญ่ ชำวบ้ำนเรียกวัด
ทีส่ ร้ำงใหมว่ ำ่ วัดมะกอกใน (วัดนวลนรดิศ) แล้วจึง เมือ่ สมเดจ็ พระเจำ้ ตำกสนิ มหำรำชโปรดเกล้ำฯ
เรียกวัดมะกอกซึ่งอยู่ปำกคลองบำงกอกใหญ่ว่ำ ให้สร้ำงพระรำชวังที่ประทับน้ัน ทรงเอำป้อมวิชัย
วัดมะกอกนอก สว่ นเหตุท่มี ีกำรเปล่ยี นชื่อเปน็ ประสิทธขิ์ ้ำงฝัง่ ตะวันตกเปน็ ทีต่ ง้ั ตัวพระรำชวัง

๒๐

เช่นเดียวกับวัดพระศรีสรรเพชญ์สมัยอยุธยำ ในรัชสมัยพระบำทสมเด็จพระจอมเกล้ำ

และเป็นที่ประดิษฐำนพระพุทธมหำมณีรัตนปฏิมำกร เจ้ำอยู่หวั โปรดเกลำ้ ฯ ใหบ้ รู ณปฏิสังขรณ์วดั อรณุ รำช

ท่ีอัญเชิญมำจำกเวียงจันทน์ใน พ.ศ. ๒๓๒๒ ก่อนที่ ธำรำมหลำยรำยกำร และให้อัญเชิญพระบรมอัฐิของ

จะย้ำยมำประดิษฐำนท่ีวัดพระศรีรัตนศำสดำรำมใน พระบำทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้ำนภำลัยมำบรรจุไว้

ปี พ.ศ. ๒๓๒๗ ที่พระพุทธอำสน์ของพระประธำนในพระอุโบสถด้วย

ในสมัยรัตนโกสินทร์ รัชสมัยพระบำทสมเด็จ เม่ือกำรปฏิสังขรณ์เสร็จส้ินลง พระรำชทำนนำมวัด

พระพุทธยอดฟ้ำจฬุ ำโลกมหำรำช สมเด็จพระเจ้ำลูก ใหม่วำ่ “วัดอรุณรำชวรำรำม”

ยำเธอ เจ้ำฟ้ำกรมหลวงอิศรสุนทร ได้เสด็จมำ

ประทับที่พระรำชวังเดิม และได้ทรงปฏิสังขรณ์วัด

แจ้งใหม่ท้ังวัด แต่ยังไม่ทันสำเร็จก็ส้ินรัชกำลที่ ๑

สมเด็จฯ เจ้ำฟ้ำกรมหลวงอิศรสุนทรได้เสด็จข้ึน

ครองรำชสมบัติเป็นพระบำทสมเด็จพระพุทธเลิศ

หล้ำนภำลยั พระองคไ์ ดท้ รงบูรณปฏสิ ังขรณว์ ดั แจง้

ต่ อ ม ำ แ ล ะ พ ร ะ ร ำ ช ท ำ น น ำ ม ใ ห ม่ ว่ ำ

“วัดอรุณรำชธำรำม” ต่อมำมีพระรำชดำริท่ีจะ

เสรมิ สรำ้ งพระปรำงค์หน้ำวัดให้สูงข้ึน แต่สิ้นรัชกำล ข้ ำ ง ก อ ง ทั พ เ รื อ ๑ ๕ ๘ ถ น น วั ง เ ดิ ม
เสียก่อน จนถึงรัชสมัยพระบำทสมเด็จพระน่ังเกล้ำ แ ข ว ง วั ด อ รุ ณ เ ข ต บ ำ ง ก อ ก ใ ห ญ่
เจ้ำอยู่หัว โปรดเกล้ำฯ ให้เสริมพระปรำงค์ กรงุ เทพมหำนคร ๑๐๖๐๐
ข้ึ น แ ล ะ ใ ห้ ยื ม ม ง กุ ฎ ที่ ห ล่ อ ส ำ ห รั บ พ ร ะ พุ ท ธ รู ป

ท ร ง เ ค รื่ อ ง ที่ จ ะ เ ป็ น พ ร ะ ป ร ะ ธ ำ น วั ด น ำ ง น อ ง

มำตดิ ตอ่ บนยอดนภศลู

๒๑

๑ . พ ร ะ ป ร ำ ง ค์ ใ ห ญ่ วั ด อ รุ ณ

ถือได้ว่ำเปน็ ศลิ ปกรรมท่สี ง่ำและโดดเดน่ ที่สุด
ก่ อ ส ร้ ำ ง โ ด ย ช่ ำ ง ฝี มื อ ที่ มี ค ว ำ ม เ ชี่ ย ว ช ำ ญ
บนพระปรำงค์ประดับด้วยเคร่ืองกระเบื้องเคลือบ
และเครื่องถ้วยชำมเบญจรงค์ที่นำเข้ำมำจำกจีน ซึ่งมี
ลวดลำยงดงำมเป็นของเก่ำแก่และหำยำก โดยได้รับ
กำรบรู ณปฏสิ ังขรณ์เรอ่ื ยมำจนถึงสมยั รัชกำลที่ ๕

๒๒

๒ . ซุ้ ม ป ร ะ ตู ท ำ ง เ ข้ ำ พ ร ะ อุ โ บ ส ถ

จะมียักษ์วัดแจ้งที่มีชื่อเสียงยืนเฝ้ำอยู่ ยักษ์กำยสีขำว มีช่ือว่ำ "สหัสเดชะ" ยักษ์กำย
สีเขียว มีช่ือว่ำ "ทศกัณฐ์" เป็นยักษ์ศิลปะแบบจีน ปูนปั้นประดับด้วยกระเบ้ืองเคลือบสี มือถือ
ตะบองใหญเ่ ปน็ อำวธุ ตรงบรเิ วณหน้ำซุ้มทำงเข้ำพระอโุ บสถ แฝงไว้ด้วยคตคิ วำมเช่ือในกำรทำหน้ำที่
เป็นเทพพทิ กั ษ์ ปกปกั รกั ษำสถำนทีส่ ำคญั ทำงศำสนำ

๒๓

๓ . พ ร ะ อุ โ บ ส ถ

ประดิษฐำนพระประธำนช่ือว่ำ "พระพุทธธรรม
มิศรรำชโลกธำตุดิลก" เป็นพระพุทธรูปปำงมำรวิชัย
ศิลปะสมัยรัตนโกสินทร์ ประดิษฐำนเหนือแท่นไพที
บนฐำนชุกชี กล่ำวกันว่ำรัชกำลท่ี ๒ ทรงปั้นวง
พระพักตร์พระพทุ ธรปู องค์นด้ี ้วยพระองคเ์ อง

๒๔

๔ . พ ร ะ อุ โ บ ส ถ น้ อ ย

พระวหิ ำรจุฬำมณี เข้ำสกั กำรบชู ำหลวงพอ่ รงุ่ มงคล พระประธำนประจำพระอุโบสถน้อย, สักกำรบูชำ
รูปหล่อสมเด็จพระเจ้ำตำกสินมหำรำช, ชมพระแท่นวิปัสสนำ, ชมพระแท่นบรรทมของรัชกำลที่ ๒,
สักกำรบชู ำพระบรมสำรรี กิ ธำตุ ในพระเจดยี ์จุฬำมณี และบูชำท้ำวจตุโลกบำลทั้ง ๔

- รถไฟใตด้ นิ สำยเฉลิมรัชมงคล
- รถประจำทำง สำย ๕๗,๗๑๐
- น่งั เรือด่วนเจำ้ พระยำมำลงมีท่ ำ่ วดั อรณุ คนละ ๔ บำท

๒๕



วัดพระเชตุพน
วมิ ลมังคลำรำมรำชวรมหำวิหำร

นำมวดั โพธิเ์ ล่อื งช่ือกษัตรยิ ส์ ร้ำง มีพระปรำงค์รงุ่ เรืองเมอื งสวรรค์

วัดนม้ี เี ก้ำสิง่ มหัศจรรย์ แสนสรำ้ งสรรคป์ ระจกั ษอ์ ยู่คูแ่ ผ่นดนิ

๒๖

วัดพระเชตุพนวิมลมังคลำรำมรำชวรมหำวิหำร เป็นวัดประจำรัชกำลพระบำทสมเด็จพระพุทธยอดฟำ้
ตำมประวัติสร้ำงมำต้ังแต่คร้ังสมัยกรุงศรีอยุธยำ จุฬำโลกมหำรำช
แตไ่ มป่ รำกฏหลกั ฐำนเก่ียวกับกำรสร้ำง เดิมเรียกว่ำ
"วัดโพธำรำม" หรือ "วัดโพธ์ิ" ยกฐำนะข้ึนเป็น นั บ จ ำ ก นั้ น วั ด พ ร ะ เ ช ตุ พ น ไ ด้ รั บ ก ำ ร
พระอำรำมหลวงในสมัยกรุงธนบุรี ครั้งถึงรัชสมัย บูรณปฏิสังขรณ์คร้ังใหญ่ ในรัชสมัยพระบำทสมเด็จ
พระบำทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้ำจุฬำโลกมหำรำช พระน่ังเกล้ำเจ้ำอยู่หัว และได้โปรดเกล้ำฯ ให้จำรึก
โปรดเกล้ำฯ ให้สถำปนำวัดน้ีใหม่ในปี พ.ศ. ๒๓๓๑ สรรพตำรำต่ำง ๆ ลงบนแผ่นหินอ่อนประดิษฐ์ไว้ตำม
โดยทรงสร้ำงพระอุโบสถ พระระเบียง พระวิหำร ศำลำรำยต่ำง ๆ คร้ังถึงรัชสมัยพระบำทสมเด็จ
ตลอ ดจนบู รณ ะ ข อ งเ ดิม เ ม่ือ แ ล้วเ สร็จใน พระจอมเกลำ้ เจ้ำอยหู่ ัว ได้ทรงพระกรุณำโปรดเกล้ำ
พ.ศ. ๒๓๔๔ ได้ทรงพระกรุณำโปรดเกล้ำฯ ฯ ให้แก้สร้อยนำมพระอำรำมว่ำ “วัดพระเชตุพน
พระรำชทำนนำมวำ่ "วัดพระเชตุพนวมิ ลมังคลำวำส" วิมลมงั คลำรำมรำชวรมหำวหิ ำร"

๒๗

พระมหำกษัตริย์ในรำชวงศ์จักรีทุกพระองค์ทรง
ถือว่ำ วดั พระเชตุพนวิมลมังคลำรำมรำชวรมหำวิหำร
เป็นพระอำรำมหลวงท่ีมีควำมสำคัญมำก และทรง
ถือเปน็ พระรำชประเพณี ทจ่ี ะทรงบูรณะซ่อมแซมวัดน้ี
ทุกรัชกำล นอกจำกน้ี วัดพระเชตุพนวิมลมังคลำ
รำมยังเป็นเสมือนมหำวิทยำลัยแห่งแรกของไทย
เพรำะเป็นแหล่งรวบรวมวิชำควำมรู้ด้ำนต่ำง ๆ
ทง้ั ประวตั ศิ ำสตร์ วรรณกรรม และกำรแพทย์

๒ ถนนสนำมไชย แขวงพระบรมมหำรำชวัง
เขตพระนคร กรุงเทพฯ ๑๐๒๐๐
สำมำรถติดตอ่ ได้ท่ี

เ บ อ ร์ โ ท ร ศั พ ท์ : ๐ ๒ - ๒ ๒ ๖ - ๐ ๒ ๒ ๕ ,
๐๒-๒๒๕-๙๕๙๕, ๐๒-๒๒๑-๙๔๔๙

๒๘

ภำยในวัดโพธ์ิมี ๙ ส่ิงมหัศจรรยด์ งั นี้

๑. มหัศจรรยพ์ ระไสยำส ๔. มหัศจรรย์ต้นตำนำนสงกรำนต์ไทย
นำงสงกรำนต์เป็นควำมเช่ือในตำนำนสงกรำนต์
วิหำรพระพุทธไสยำส สร้ำงขึ้นในสมัย
พระบำทสมเด็จพระนั่งเกล้ำเจ้ำอยู่หัว ภำยในวิหำร มกี ำรบนั ทึกลงแผน่ ศลิ ำติดไวท้ ่ีวัดโพธิ์ ในสมัยรัชกำล
มีพระพุทธไสยำสท่ีมีควำมสวยงำมและใหญ่เป็น ท่ี ๓ มีกำรเลำ่ ถงึ ท่ีมำของประเพณี
อันดับ ๓ ของประเทศ และมีลักษณะพิเศษท่ี ๕. มหัศจรรย์มรดกโลกวดั โพธิ์
พระบ ำทข ององค์พระ คือ ประ ดับ มุกมงคล
๑๐๘ ประกำร พระบำทสมเด็จพระนั่งเกล้ำเจ้ำอยู่หัวทรง
๒. มหศั จรรย์ตำรำเวชเชตพุ น พระกรุณำโปรดเกล้ำฯ ใหน้ ำควำมรทู้ ำงดำ้ นต่ำงๆ เช่น
กำรแพท์ โบรำณคดี วรรณกรรม ฯลฯ จำรึกลงแผ่น
จำรึกตำรำนวดโบรำณ มีจิตกรรมลำยเส้น หินอ่อนซ่ึงประดับอยู่ภำยในวัด แผ่นศิลำนี้มีช่ือว่ำ
บอกตำแหนง่ นวด นอกจำกน้ยี ังมตี ำรำทำงกำรแพทย์ ประชมุ จำรึกวัดพระเชตุพล โดยองค์กำรยูเนสโก้มีมติ
กำรเมือง กำรปกคลอง ประวัติกำรสร้ำงวัด และ ร อ ง รั บ ขึ้ น ท ะ เ บี ย น ศิ ล ำ จ ำ รึ ก วั ด พ ร ะ เ ช ตุ พ ล เ ป็ น
วรรณคดี เอกสำรมรดกแห่งควำมทรงจำโลก
๓. มหศั จรรย์มหำเจดยี ส์ ่ีรัชกำล ๖. มหศั จรรยต์ ำนำนยกั ษ์วดั โพธิ์

เป็นเจดีย์ขนำดใหญ่ ๔ องค์ จัดสร้ำงข้ึนใน ยักษ์วัดโพธิ์ที่อยู่บริเวณซุ้มประตู มีลักษณะ
รัชกำลท่ี ๑ ถึงรัชกำลที่ ๔ รูปแบบเจดีย์ย่อไม้ คล้ำยยักษ์ในวรรณคดีเร่ืองรำมเกียรติ์ นอกจำกนี้ยัง
สบิ สอง ประดบั ด้วยกระเบ้ืองเคลือบ มีตำนำนยักษ์วัดโพธิ์ และ ยักษ์วัดแจ้งท่ีทำให้เกิด
ท่ำเตียนในปจั จบุ ัน
พระมหำเจดีย์ประจำรัชกำลท่ี ๑ นำมว่ำ
พระมหำเจดียพ์ ระศรีสรรเพชญดำญำณ

พระมหำเจดีย์ประจำรัชกำลท่ี ๒ นำมว่ำ
พระมหำเจดยี ์ดิลกธรรมกรรกนิทำน

พระมหำเจดีย์ประจำรัชกำลท่ี ๓ นำมว่ำ
พระมหำเจดยี ์มุนบี ตั บิ รขิ ำน

พระมหำเจดีย์ประจำรัชกำลที่ ๔ นำมว่ำ
พระมหำเจดีย์ทรงพระศรสี รุ โิ ยทยั

๒๙

๗. มหศั จรรยผ์ ำ่ นภพรัตนโกสนิ ทร์ รถยนต์ : วัดโพธ์ิ ต้ังอยู่ริมถนนสนำมไชยและถนน
เดิมเป็นพระอุโบสถของวัดโพธำรำมต้ังแต่ มหำรำช ติดกับพระบรมมหำรำชวัง ถ้ำนำรถมำ
สำมำรถจอดได้ท่ี ซอยเชตุพน
ส มั ย ก รุ ง ศ รี อ ยุ ธ ย ำ –ธ น บุ รี –รั ต น โ ก สิ น ท ร์ รถเมล์ : รถเมล์ธรรมดำสำย ๑, ๓, ๖, ๙, ๑๒, ๒๕,
แต่ภำยหลังกำรสถำปนำพระอุโบสถหลังใหม่ของวัด ๓๒, ๔๓, ๔๔, ๔๗, ๔๘, ๕๑, ๕๓, ๘๒, ๑๐๓
พระเชตุพนแล้วจึงได้ลดฐำนะเป็นศำลำกำรเปรยี ณ
๘. มหัศจรรย์วิจิตรพระพุทธเทวปฏมิ ำกร รถเมล์ปรับอำกำศ ปอ.๑, ปอ.๖, ปอ.๗,
ปอ.๘, ปอ.๑๒, ปอ.๔๔
ภำยในพระอุโบสถ ประดิษฐำนพระพุทธเทวปฏิ รถไฟฟ้ำ : นั่งรถไฟฟ้ำใต้ดิน (MRT) มำลงที่สถำนี
มำกร เป็นพระพุทธรูปปำงสมำธิ รัชกำลที่ ๑ หัวลำโพง แล้วต่อรถเมล์สำย ๒๕ หรือ รถแท็กซ่ี
ทรงอัญเชญิ มำจำกวัดสห่ี นำ้ ค่ำรถประมำณ ๖๕-๗๐ บำท
๙. มหศั จรรย์ต้นตำรบั นวดแผนไทย

เม่ือพูดถึงวัดโพธิ์ ส่วนมำกจะนึกถึงต้นตำรับ
กำรนวดแผนไทย ตำรำกำรนวดแผนไทยน้ีเร่ิมจำก
สมัยพระบำทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้ำจุฬำโลก
มหำรำช ทรงพระกรุณำโปรดเกล้ำ ให้รวบรวม
กำรแพทย์แผนโบรำณและศิลปะวิทยำกำรสมัยกรุง
ศรอี ยธุ ยำไว้ ทรงพระรำชดำรินำเอำท่ำดัดตนเป็นกำร
พักผอ่ น คลำยอิริยำบถ แก้เมื่อย และได้แสดงท่ำไว้
ท่ีวัดเพือ่ ให้รำษฎรทวั่ ไปไดน้ ำไปศึกษำ รกั ษำโรค

๓๐



วดั กัลยำณมติ ร
วรมหำวหิ ำร

พระวหิ ำรหลวงพ่อโตอยู่ค่บู ้ำน เปน็ ตำนำนกล่ำวขำนขนำนชอื่
อนั ประจกั ษ์สุดส่องกอ้ งบันลือ แหล่งนค้ี อื วดั กัลยำณมิตร

๓๑

เ จ้ำ พ ระ ย ำ นิก รบ ดิ นทร์ ( โ ต ) ต้ นสกุ ล คือมีพระโตอยู่นอกกำแพงเมือง อย่ำงเช่น
กัลยำณมิตร ว่ำท่ีสมุหนำยก ได้อุทิศบ้ำนและท่ีดิน วัดพนัญเชงิ
บริเวณใกล้เคียง ซ่ึงแต่เดิมเป็นหมู่บ้ำนที่มีภิกษุจีน หลวงพ่อโตเป็นที่เคำรพสักกำระอย่ำงสูง
พำนักอยู่ และเรียกกันต่อมำว่ำ "หมู่บ้ำนกุฎีจีน" โดยเฉพำะในหมู่ชำวจีน เรียกชื่อแบบจีนว่ำ ซำปอฮุด
สร้ำงเป็นวัดขึ้นเมื่อ พ.ศ. ๒๓๖๘ และน้อมเกล้ำฯ กง หรือ ซำปอกง เป็นพระพุทธรูปปูนป้ัน ปำงมำร
ถวำยเป็นพระอำรำมหลวง พระบำทสมเด็จพระนั่ง วิชัย หน้ำตักกว้ำง ๕ วำ ๓ ศอกคืบ สูง ๗ วำ ๒
เกล้ำเจ้ำอยู่หัว รัชกำลท่ี ๓ พระรำชทำนนำมว่ำ ศอกคืบ ๑๐ นิ้ว พระบำทสมเด็จพระนั่งเกล้ำ
"วัดกัลยำณมิตร" และทรงสร้ำงพระวิหำรหลวงและ เจ้ำอยู่หัวโปรดเกล้ำฯให้สร้ำงพระรำชทำนช่วย
พระประธำนพระรำชทำน เป็นพระพุทธรูปองค์ใหญ่ เ จ้ ำ พ ร ะ ย ำ นิ ก ร บ ดิ น ท ร์ เ ส ด็ จ ก่ อ พ ร ะ ฤ ก ษ์
ชื่อ พระพุทธไตรรัตนนำยก หรือ หลวงพ่อโต เมื่อ ๑๘ พฤษภำคม พ .ศ. ๒๓๘๐ อยู่ภำย
ด้ ว ย มี พ ร ะ ป ร ะ ส ง ค์ จ ะ ใ ห้ เ ห มื อ น ก รุ ง เ ก่ ำ ใ น พ ร ะ วิ ห ำ ร ข น ำ ด ใ ห ญ่ อ ยู่ ก ล ำ ง วั ด

๓๒

ต ร ง ก ล ำ ง ร ะ ห ว่ ำ ง วิ ห ำ ร เ ล็ ก แ ล ะ พ ร ะ อุ โ บ ส ถ
พ ร ะ อุ โ บ ส ถ เ ป็ น ที่ ป ร ะ ดิ ษ ฐ ำ น พ ร ะ พุ ท ธ รู ป ป ำ ง
ปำลิไลยก์ (ป่ำเลไลย์) ซ่ึงรัชกำลที่ ๓ ทรงสร้ำง
พระรำชทำน เป็นวัดเดียวในประเทศไทยท่ีมี
พระประธำนเป็นพระพุทธรูปปำงปำลิไลยก์ ภำยในมี
ภำพจิตรกรรมฝำผนังแสดงพุทธประวัติ และแสดง
ชีวิตชำวบำ้ นในสมัยรชั กำลท่ี ๓ และยังมีหอพระธรรม
มณเฑียรเถลิงพระเกียรติ เป็นท่ีเก็บพระไตรปิฎก
สมยั รัชกำลท่ี ๔

๓๗๑ ซอยอรุณอมรินทร์ ๖ ถนนอรุณอมรินทร์
แขวงวัดกัลยำณ์ เขตธนบุรี กรุงเทพมหำนคร
๑๐๖๐๐

๓๓

๑. พระอุโบสถ

วัดกัลยำณมิตรเป็นสถำปัตยกรรมรูปแบบพระรำชนิยมในรัชกำลท่ี ๓ คือลักษณะของอำคำร
นำเอำศิลปะจีนเข้ำมำตกแต่ง มีพะไลรอบ พะไลมีเสำทั้งหมด ๓๐ ต้น เสำพะไลไม่มีบัวหัวเสำ
หลบมุมเสำด้วยบัวเล็บมือ เฉลียงด้ำนสกัดมีควำมกว้ำงท้ังสองด้ำนเท่ำกัน หลังคำพระอุโบสถ
เป็นหลังคำช้ันลด หลังคำ ๓ ตับ ๒ ซ้อน ตับสุดท้ำยเป็นพะไลคลุมเฉียงรอบ หน้ำบันพระอุโบสถ
เป็นแบบกระเท่เซร ใช้กำรประดับกระเบ้ืองเคลือบสีเป็นลำยแผง ตัวอำคำรด้ำนสกัดทั้งสองด้ำนของ
พระอโุ บสถ เจำะชอ่ งประตูด้ำนละ ๒ ช่อง ผนังดำ้ นยำวเจำะชอ่ งหนำ้ ต่ำงแบบบำนแผละด้ำนละ ๕ ช่อง
ประตูหน้ำต่ำงป้ันปูนเป็นซุ้มเรือนแก้วประดับกระจก เสำรวมด้ำนในเขียนลำยประจำยำม ตอนล่ำง
เขียนลำยกรวยเชิง ฝำผนังภำยในเขียนลำยจิตกรรมฝำผนังเร่ืองกำรดำเนินชีวิตในสมัยนั้น
พระประธำนเปน็ พระพุทธรูปปำงปำลิไลย์

๓๔

๒. พระประธำน

ภ ำ ย ใ น วิ ห ำ ร ห ล ว ง เ ป็ น พ ร ะ พุ ท ธ รู ป ป ำ ง
มำรวิชัย องค์พระประทำนก่ออิฐถือปูนลงรักปิดทอง
ขนำดหน้ำตักกว้ำงประมำณ ๑๑.๗๕ เมตร สูง ๑๕.๔๔
เมตร รัชกำลที่ ๓ ทรงเสด็จพระรำชดำเนินไปก่อ
พระฤกษ์ในวันที่ ๑๘ พฤษภำคม พ.ศ. ๒๓๘๐
ชำวบ้ำนเรียกพระประธำนองค์น้ีว่ำ “พระโต”
ต่อมำในสมัยรัชกำลท่ี ๔ ทรงพระรำชทำนนำมใหม่ว่ำ
“พระพทุ ธไตรรัตนนำยก”

๓๕

๓ . ห อ ร ะ ฆั ง

พระสุนทรสมำจำรย์ (พรหม) สร้ำงข้ึนเม่ือ
พ.ศ. ๒๔๗๖ ตั้งอยู่ทำงเหนือพระวิหำรหลวง หน้ำหอ
พระธรรมมณเฑียรเถลิงพระเกียรติ ฐำนรูปส่ีเหล่ียม
กว้ำง ๘ เมตร สูง ๓๐ เมตร ชั้นบนประดิษฐำน
พระพุทธรูปยืนปำงลีลำ ยอดหอระฆังปั้นเป็นรูป
พรหมพักตร์ ชั้นล่ำงแขวนระฆังใบใหญ่ที่สุด
ในประเทศไทย มีเส้นผ่ำศูนย์กลำง ๑๙๒ ซม.
ระฆังใบนี้หล่อโดยช่ำงญีป่ ่นุ ช่ือ นำยยีฟยู ี วำรำ

- รถประจำทำง สำย ๓, ๔, ๗, ๗ก, ๙, ๒๑, ๓๗, ๕๖, ๘๒ ๓๖
- รถปรบั อำกำศ สำย ปอ.๗, ๒๑, ๘๒
(น่งั รถจักรยำนยนตร์ บจำ้ งจำกโรงเรียนศกึ ษำนำรี เข้ำมำที่วดั เพรำะรถประจำทำงเขำ้ ไม่ถงึ )
- ทำงเรอื ลงเรอื ขำ้ มฟำกทที่ ่ำปำกคลองตลำดขึน้ ท่ำวดั กลั ยำณมติ ร เปิดทุกวนั เวลำ ๐๖.๐๐ – ๑๗.๐๐ น.



วดั ชนะสงครำมรำช
วรมหำวิหำร

วดั ชนะสงครำมกระจำ่ งแจง้ งำมดจุ แสงสรุ ิยำนภำลยั
เกียรติประวัติเลื่องลือระบอื ไกล วัดแหง่ ชยั ชนะภัยจำกศตั รู

๓๗

วัดชนะสงครำมเป็นพระอำรำมหลวงช้ันโทชนิด ตองปู ซ่ึงเคยอยู่ในหงสำวดีได้เข้ำมำต้ังถ่ินฐำนใน
รำชวรวิหำรสร้ำงมำต้งั แตส่ มัยอยุธยำ แต่เดิมบริเวณ เมืองไทย จึงนำชื่อวัดท่ีตนยึดถือเป็นที่พ่ึงทำงใจมำ
รอบ ๆ วัดเป็นทุ่งนำค่อนข้ำงกว้ำงใหญ่ จึงเรียกว่ำ ต้ังด้วย วัดกลำงนำจึงเปล่ียนชื่อเป็นวัดตองปูตำม
“วัดกลำงนำ” สมเด็จกรมพระรำชวังบวรมหำสุรสิง ควำมเคยชินของชำวบ้ำนตองปู ต่อมำเมื่อทรงมีชัย
หนำท ทรงบูรณะปฏฺสังขรณ์ใหม่ท้ังพระอำรำม ชนะขำ้ ศกึ จึงพระรำชทำนนำมวำ่ “วดั ชนะสงครำม”
พระบำทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้ำจุฬำโลกทรงแต่งต้ัง
พระรำชำคณะฝ่ำยรำมัญสำหรับพระนครเช่นเดียวกับ ในสมัยรัชกำลท่ี ๒ สมเด็จพระบวนรำชเจ้ำ
สมัยอยุธยำ โดยโปรดให้พระสงฆ์รำมัญมำอยู่วัดน้ี มหำ เ ส นำ นุรัก ษ์เ มื่อ ไ ด้รับ กำ รสถำ ป นำ เ ป็ น
จงึ เรียกชอ่ื วดั วำ่ วัดตองปู เลียนแบบเดียวกับวัดตอง กรมพระรำชวังบวรสถำนมงคลแล้ว ได้โปรดให้
ปูซ่ึงเป็นวัดพระรำมัญในสมัยอยุธยำ แต่อีกกระแส ซ่อมแซมพระรำชมณเฑียรโดยร้ือพระทนี่ ง่ั พิมำนดุสิดำ
หนึ่งกลำ่ วว่ำช่อื วดั ตองปูมำจำกชำวรำมญั หมู่บ้ำน นำไม้มำสร้ำงกุฏิ ในสมัยรัชกำลที่ ๓ โปรดให้บูรณะ

วัดชนะสงครำมมำแลว้ เสรจ็ ในสมยั รชั กำลท่ี ๔ ๓๘

พร้อมทั้งทรงสร้ำงกุฏิใหม่ แล้วเสร็จในปี ๒๓๙๖
และโปรดใหท้ ำกำรฉลอง ในสมยั รชั กำลที่ ๕ โปรดให้
บูรณะซ่อมแซมและปฏิสังขรณ์หลังคำพระอุโบสถ
และทรงปรำรภที่จะสร้ำงที่บรรจุพระอัฐิสำหรับ
เจ้ำนำยฝ่ำยพระรำชวังบวรสถำนมงคลแต่ยังไม่สร้ำง
ท่ีใดก็ส้ินรัชกำล ต่อมำสมัยรัชกำลที่ ๖ สมเด็จพระ
ศรีพัชรินทรำบรมรำชินีนำถ พระบรมรำชชนนีพันปี
หลวงไดพ้ ระรำชทำนอุทิศพระรำชทรัพย์ส่วนพระองค์
ใหก้ อ่ สรำ้ งทบ่ี รรจุพระอฐั ิทีเ่ ฉลียงท้ำยพระอุโบสถวัด
ชนะสงครำม โดยก้ันผนังระหว่ำงเสำท้ำยพระอุโบสถ
เป็นห้องทำเป็นคูหำ ๕ ช่อง คูหำหน่ึงเจำะเป็นช่อง
เล็ก ๆ สำหรับบรรจุพระอัฐิเจ้ำนำยตำมรัชกำล
กำรก่อสร้ำงแลว้ เสรจ็ ในสมัยรชั กำลท่ี ๗ สำหรับกำร
บูรณะปฏิสังขรณ์พระอุโบสถได้มีมำจนถึงรัชกำล
ปัจจุบัน

๗๗ ถนนจักรพงษ์ แขวงชนะสงครำม เขตพระ
นคร กรงุ เทพ
อำณำเขต
- ทิศเหนอื จรด ถนนจักรพงษ์

- ทิศใต้ จรด บรเิ วณ ทพี่ กั อำศัย
- ทิศตะวนั ออก จรด บริเวณที่พกั อำศัย
- ทศิ ตะวันตก จรด ซอยพงษ์สำ

๓๙

๑ . พ ร ะ อุ โ บ ส ถ

ก่ อ อิ ฐ ถื อ ปู น เ ป็ น อ ำ ค ำ ร สี่ เ ห ล่ี ย ม ผื น ผ้ ำ
แบง่ เป็น ๑๓ ห้องเสำ ไม่มีพำไล ฐำนพระอุโบสถเป็น
ฐำนบัวลูกแก้ว หลังคำ ทำ เป็นช้ันลด ๓ ชั้น
มุงกระเบ้ีองเคลือบสี ประดับด้วยช่อฟ้ำ ใบระกำ
หำงหงส์ หน้ำบันเจำะเป็นช่องหน้ำต่ำง บำนหน้ำต่ำง
เ ป็ น ล ำ ย เ ท พ พ น ม เ ห นื อ บ ำ น ห น้ ำ ต่ ำ ง เ ป็ น
ลำยพระนำรำยณ์ทรงครุฑ ลวดลำยพ้ืนหน้ำบัน
แตกต่ำงกันคือ หน้ำบันด้ำนหน้ำลำยพ้ืนเป็น
ลำยเทพพนม ส่วนหน้ำบันด้ำนหลังลำยพื้นเป็น
ลำยก้ำนแย่งใบเทศ ประดับกระจกสีปิดทอง
ซุ้มประตู หน้ำต่ำงซ้อนสองช้ัน เป็นลำยก้ำนขดปูนป้ัน
บำนหนำ้ ตำ่ งดำ้ นในเป็นภำพเขยี นทวำรบำล บำนประตู ดำ้ นนอกเป็นไมแ้ กะสลักปิดทองลำยก้ำนแยง่ บำนหนำ้ ตำ่ ง
ด้ำนนอกลงรกั สีดำ ไม่มีลวดลำย ด้ำนหลังพระอุโบสถข้ำงหลงั พระประธำนเป็นเฉลียงก้ันห้องทำเป็นคูหำท่ีบรรจุ
อัฐิเจ้ำนำยฝ่ำยพระรำชวังบวรสถำนมงคล เจำะเป็นช่อง ๆ มีคันทวยรองรับชำยคำ โดยรอบพระอุโบสถเป็น
ลวดลำยเถำวัลย์พันตลอดคันทวย ใบเสมำพระอุโบสถจะติดที่ผนังตรงมุมด้ำนนอกท้ัง ๔ มุม และผนังด้ำนใน
นอกจำกใบเสมำติดผนงั แลว้ ยงั มีใบเสมำตงั้ บนแทน่ อกี ๑ แห่ง หลังพระรำชำนสุ ำวรียข์ องสมเด็จพระบวรรำชเจ้ำ
มหำสุรสิงหนำท ใบเสมำนี้เป็นใบคอดตรงเอว มีลำยท่ีกลำงอก ๔ ใบ ต้ังบนฐำนแก้วรองรับด้วยฐำนบัวอีก
ชั้นหนงึ่

๔๐

๒ . พ ร ะ พุ ท ธ น ร สี ห์ ต รี โ ล ก เ ช ฏ ฐ์

พระ ป ระ ธ ำ นใ นพร ะ อุ โ บ สถ มีน ำ มว่ ำ
พระพุทธนรสีห์ตรีโลกเชฏฐ์ เป็นพระพุทธรูปปูนป้ัน
แล้วบุด้วยดีบุกลงรักปิดทอง ปำงมำรวิชัย หน้ำตัก
กว้ำง ๒.๕๐ เมตร สูง ๓.๕๐ เมตร ประดิษฐำนบน
ฐำนสูง ๑.๓๐ เมตรมีพระอัครสำวกซ้ำยขวำ
นั่งประนมมอื ๒ องค์ เปน็ พระปนู ป้ันเชน่ กัน

๔๑

รถเมล์ : ๑๒๔, ๑๘๓ (ปอ.) (AC), ๓๐, ๓๒, ๓๓, ๓๕ (ปอ.)
(AC), ๕๐๙ (ปอ.) (AC)
รถไฟใตด้ ิน : สำยเฉลมิ รัชมงคล MRT BLUE LINE

๔๒



วัดสทุ ัศนเทพวรำรำม
รำชวรำมหำวหิ ำร

วดั สทุ ัศน์อยู่ ณ เสำชิงชำ้ ทกุ คนมำกรำบไหวส้ ิ่งศกั ดิ์สิทธ์ิ
ดลบันดำลให้ประจักษด์ ่งั ใจคิด ช่วยให้จิตใจสงบสยบมำร

๔๓

ในต้นยุคกรุงรัตนโกสินทร์ พระบำทสมเด็จ วัดเสำชิงช้ำบ้ำง จนกระท่ังในรัชสมัยพระบำทสมเด็จ

พระพุทธยอดฟ้ำจุฬำโลกมหำรำช รัชกำลท่ี ๑ พระพุทธเลิศหล้ำนภำลัยโปรดเกล้ำฯ ให้สร้ำงต่อ

โปรดเกล้ำฯ ให้มกี ำรสร้ำงวัดข้ึนในพ้ืนท่ีพระนครชั้นใน และทรงจำหลักบำนประตูพระวิหำรด้วยพระองค์เอง

ในปี พ . ศ. ๒๓ ๕ ๐ เ ดิมพ ระ รำ ช ทำ นนำ มว่ ำ แต่ก็สิ้นรัชกำลเสียก่อนที่กำรก่อสร้ำงจะแล้วเสร็จ

“วัดมหำสุทธำวำส” โดยมีพื้นที่ตั้งอยู่ในดงสะแก กำรก่อ สร้ำงวัด มำเสร็จบริบู รณ์ในรัชสมัย

เป็นท่ีลุ่มจึงโปรดเกล้ำฯ ให้ถมที่และสร้ำงเป็นวัด พร ะ บ ำ ทส มเ ด็ จพ ร ะ นั่ งเ ก ล้ำ เ จ้ำ อ ยู่ หั ว ใ น

และโปรดเกล้ำฯ ให้สร้ำงพระวิหำรข้ึนก่อนเพ่ือ พ.ศ. ๒๓๙๐ และพระรำชทำนนำมวำ่ "วัดสุทัศน์เทพว

ประดิษฐำนพระศรีศำกยมุนี (พระโต) ซ่ึงอัญเชิญมำ รำรำม" ปรำกฏในจดหมำยเหตุว่ำ "วัดสุทัศน์เทพ

จำกพระวิหำรหลวงวัดมหำธำตุ จังหวัดสุโขทัย ธำรำม" และในรัชสมัยพระบำทสมเด็จพระจอมเกล้ำ

แต่สิ้นรัชกำลก่อนที่จะประดิษฐำนเป็นสังฆำรำม เจ้ำอยู่หัว ทรงผูกนำมพระประธำนในพระวิหำร

จึงเรียกกันว่ำ วัดพระโต, วัดพระใหญ่ หรือ พระอุโบสถ และศำลำกำรเปรียญ ให้คล้องกันว่ำ
๔๔
"พระศรศี ำกยมนุ ี",

"พระพทุ ธตรโี ลกเชษฐ์" และ "พระพทุ ธเสรฏฐมุน"ี
ภำยในวัดสุทัศน์เทพวรำรำมเป็นท่ีประดิษฐำน

พระบรมรำชำนุสำวรีย์ พระบำทสมเด็จพระเจ้ำอยู่หัว
อำนันทมหิดล พระอัฐมรำมำ ธิบดินทร และ
ได้อัญเชิญ พระบรมรำชสรีรำงคำรของพระองค์
มำบรรจุที่ผ้ำทิพย์ด้ำนหน้ำพุทธบัลลังก์พระศรีศำกย
มุนีเมื่อ พ.ศ. ๒๔๙๓ และมีพระรำชพิธีทรงบำเพ็ญ
พระรำชกุศลคล้ำยวันสวรรคตของพระบำทสมเด็จ
พ ร ะ ป ร เ ม น ท ร ม ห ำ อ ำ นั น ท ม หิ ด ล
พระอฐั มรำมำธบิ ดนิ ทรในวันที่ ๙ มิถนุ ำยนของทุกปี

๑๔๖ ริมถนนตีทอง ๑ ถนนบำรุงเมือง หน้ำวัดออก
ทำงถนนอุณำกรรณ แขวงเสำชิงช้ำ เขตพระนคร
กรุงเทพมหำนคร

๔๕

๑ . พ ร ะ อุ โ บ ส ถ

พระอุโบสถของวัดสุทัศน์ จัดว่ำเป็นพระอุโบสถท่ียำวท่ีสุดในประเทศไทย พระประธำนภำยในพระ
อโุ บสถ คือ พระพทุ ธตรีโลกเชษฐ์ เป็นพระพุทธรูปปำงมำรวิชัย ท้ังพระอุโบสถและพระประธำนนี้สร้ำงข้ึนในสมัย
รัชกำลที่ ๓ ผนงั ด้ำนในของพระอโุ บสถมีภำพจติ กรรมฝำผนงั ฝมี ือช่ำงสมัยรัชกำลที่ ๓ ซุ้มประตแู ละหน้ำต่ำงเป็น
ซุ้มยอดเจดีย์ มีลักษณะแปลกตำและงดงำมมำก รอบ ๆ พระอุโบสถ มีซุ้มเสมำ ๘ ซุ้ม ต้ังอยู่บนกำแพงแก้ว
เป็นใบเสมำคู่ซ่ึงทำจำกหินอ่อนสีเทำ สลักเป็นภำพช้ำง ๓ เศียร งวงชูดอกบัวตูมเศียรละ ๑ ดอก เบื้องบนมี
ดอกบัวบำน ๓ ดอก บนกำแพงแก้วด้ำนทิศเหนือและทิศใต้ มีเกยอยู่ด้ำนละ ๔ เกย ซ่ึงใช้เป็นท่ีสำหรับประทับ
โปรยทำนแกป่ ระชำชนในงำนพระรำชพิธี เรียกว่ำ "เกยโปรยทำน"

๔๖

๒ . พ ร ะ วิ ห ำ ร

พระวิหำร มีควำมงำมตำมแบบสถำปัตยกรรมไทยสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น โดยถ่ำยทอดมำจำก
พระวิหำรมงคลบพิตร จังหวัดพระนครศรีอยุธยำ กล่ำวคือ พระวิหำรมีขนำดกว้ำง ๒๓.๘๔ เมตร
ขนำดยำว ๒๖.๓๕ เมตร สร้ำงบนฐำนไพทีช้ันที่ ๒ ซึ่งก่ออิฐถือปูนม่ันคง ฐำนไพทีประกอบด้วยกระดำน
ฐำนสงิ หบ์ วั ลูกแกว้ สงู ๖๒ เซนติเมตร มีพนกั สงู ๘๕ เซนตเิ มตร กอ่ อิฐกระเบ้ืองปรุตำโปร่งเคลือบสีเขียว
พื้นฐำนไพทีปูกระเบ้ืองดินเผำสีแดง ๘ เหลี่ยม หลังคำพระวิหำรเป็นทรงไทยโบรำณ ๒ ช้ันลด ๑ มีเฉลียง
ซ้ำยขวำมุงกระเบอ้ื งเคลือบสี ประดับด้วยช่อฟ้ำ ใบระกำ หำงหงส์ ด้ำนหน้ำและด้ำนหลังพระวิหำรมีประตู
เข้ำสู่พระวิหำรด้ำนละ ๓ ประตู เป็นประตูสลักไม้ สร้ำงในรัชกำลที่ ๒ กล่ำวกันว่ำบำนประตูพระวิหำร
ของวดั สุทศั น์เปน็ ฝพี ระหตั ถ์รชั กำลที่ ๒ นบั เปน็ สถำปตั ยกรรมชนิ้ เอกชิน้ หน่ึงในสมัยรชั กำลที่ ๒

๔๗


Click to View FlipBook Version