แผนการตรวจราชการ
ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖4
กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนษุ ย์
กองตรวจราชการ
สำนักงานปลัดกระทรวงการพัฒนาสังคมและความมน่ั คงของมนษุ ย์
เอกสารวิชาการ กองตรวจราชการ ลำดบั ที่ 1 เลม่ ท่ี 1/2564
๒
คำนำ
กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ (พม.) โดยคณะผู้ตรวจราชการ
กระทรวงการพัฒนาสังคมและความม่ันคงของมนษุ ย์ ร่วมกบั กองตรวจราชการ สำนักงานส่งเสริมและ
สนับสนุนวิชาการ 1-11 สำนักงานพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์จังหวัด และกรมต่าง ๆ
สังกัดกระทรวง พม. ได้จัดทำแผนการตรวจราชการ กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของ
มนุษย์ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 วัตถุประสงค์ เพื่อเป็นกรอบแนวทางด้านการตรวจราชการ
สำหรับผู้ที่เกี่ยวข้อง ได้แก่ ผู้ตรวจราชการกระทรวง พม. ผู้ช่วยผู้ตรวจราชการกระทรวง (สำนักงาน
ส่งเสริมและสนับสนุนวิชาการ) ผู้สนับสนุนการตรวจราชการ (กองตรวจราชการ และฝ่ายเลขานุการ
ผตู้ รวจราชการกระทรวง) รวมถึง หนว่ ยรบั ตรวจ คือ หนว่ ยงานในสงั กัดกระทรวงการพัฒนาสังคมและ
ความมั่นคงของมนุษย์ ตลอดจนหน่วยงาน และผู้ที่เกี่ยวข้อง โดยในปีงบประมาณ พ.ศ. 2564
แผนการตรวจราชการ กำหนดให้สอดคล้องและเชื่อมโยงกับยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี (พ.ศ. ๒๕๖๑ -
๒๕๘๐) ซึ่งเป็นยุทธศาสตร์ชาติตามรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย แผนปฏิบัติราชการกระทรวง
พม. ระยะ ๓ ปี (พ.ศ. ๒๕๖๓ - ๒๕๖๕) นโยบายกระทรวง พม. นโยบายผู้บริหาร นโยบายที่เกี่ยวข้อง
กับการประเมินผลภาครัฐ นโยบายการกำกับองค์กรที่ดี แนวทางและประเด็นการตรวจสอบ
ของคณะกรรมการตรวจสอบและประเมินผลภาคราชการ (ค.ต.ป) เพื่อให้การขับเคลื่อนการตรวจ
ราชการ ซึ่งเป็นกลไกสำคัญในการกำกับดูแลให้การปฏิบัติงานของหน่วยงานภาครัฐ บรรลุเป้าหมาย
นำไปสู่ “การสรา้ งสงั คมดี คนมีคณุ ภาพ” ต่อไป
กองตรวจราชการ
สำนกั งานปลัดกระทรวงการพัฒนาสังคมและความม่ันคงของมนุษย์
ตุลาคม 2563
สารบัญ ๓
หน้า
สว่ นที่ 1 บทนำ 4
ส่วนที่ 2 แผนการตรวจราชการของผู้ตรวจราชการ 9
กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมัน่ คงของมนษุ ย์
ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2564
1) การตรวจราชการกรณีปกติ 9
2) การตรวจราชการกรณีพิเศษ 74
3) การตรวจราชการแบบบรู ณาการ 75
4) การตรวจราชการตามสถานการณ์ เหตกุ ารณท์ ี่สำคัญ 78
ส่วนที่ 3 เขตและพืน้ ที่รับผดิ ชอบของผตู้ รวจราชการกระทรวง พม. 79
สว่ นที่ 4 แผนปฏิบัติงานการตรวจราชการกระทรวงการพัฒนาสังคม 83
และความม่ันคงของมนุษย์ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2564
ภาคผนวก
แนวทางปฏิบัติทีเ่ กีย่ วข้องกบั การตรวจราชการ 87
บทบาท หนา้ ที่ของผทู้ ี่เกี่ยวข้องในการตรวจราชการ 87
มาตรฐานในการปฏิบัติหน้าทีแ่ ละจรยิ ธรรมของผู้ตรวจราชการ 93
ทำเนียบทปี่ รึกษาผตู้ รวจราชการภาคประชาชน ปี พ.ศ. 2563 - 2565 94
๔
ส่วนที่ 1
บทนำ
1. หลักการและเหตผุ ล
ระเบียบกระทรวงการพฒั นาสังคมและความม่ันคงของมนุษย์ วา่ ดว้ ยการตรวจราชการ
ของผู้ตรวจราชการกระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ พ.ศ.๒548 กำหนด
ให้กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ จัดทำแผนการตรวจราชการของผู้ตรวจ
ราชการกระทรวงเป็นประจำทุกปี ซึ่งการตรวจราชการของผู้ตรวจราชการกระทรวง พม. เป็นกลไก
สำคัญในการบริหารราชการแผ่นดิน อันจะทำให้การปฏิบัติราชการตามภารกิจ แผนงาน/โครงการ
ของหน่วยงานบรรลุเป้าหมายตามยุทธศาสตร์ชาติ ยุทธศาสตร์กระทรวง นโยบายรัฐบาลและนโยบาย
รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ รวมถึง สามารถแก้ไขปัญหา
อุปสรรค และก่อให้เกิดประโยชน์สุขแก่ประชาชน มีความโปร่งใส เป็นธรรม ประหยัด และ
เกิดประสิทธิภาพ เป็นไปตามหลักธรรมาภิบาล และการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี ตลอดจน
ให้หนว่ ยงานรบั ตรวจสามารถปฏิบตั ิงานได้อย่างถกู ต้องตามกฎหมาย ต่อไป
2. วัตถปุ ระสงค์
๑. เพื่อใช้เป็นกรอบแนวทางการตรวจราชการของผู้ตรวจราชการกระทรวง ผู้ช่วย
ผตู้ รวจราชการกระทรวง เจ้าหนา้ ทีส่ นับสนุนการตรวจราชการ หนว่ ยรบั ตรวจ ตลอดจนหน่วยงานและ
ผทู้ ีเ่ กี่ยวข้อง
๒. เพื่อใช้เป็นแนวทางการตรวจติดตามความก้าวหน้า ปัญหา อุปสรรค และ
การประเมนิ ความคุ้มค่าในการปฏิบตั ิงานของหน่วยงานในสงั กดั ใหม้ ีประสิทธิภาพและประสิทธิผล
3. เพื่อใช้เป็นเครื่องมือในการประสานการตรวจราชการระหว่างส่วนราชการภายใน
และภายนอกกระทรวงการพัฒนาสังคมและความม่นั คงของมนุษย์
๕
3. กระบวนการจัดทำแผนการตรวจราชการประจำปี
กระบวนการจัดทำแผนการตรวจราชการประจำปี พร้อมผู้รับผิดชอบการดำเนินงาน
รายละเอียดปรากฏ ดังตาราง
กระบวนการ ผตู้ รวจ ผ้ชู ่วย กอง เลขานกุ าร ระยะเวลา
ราชการ ผู้ตรวจ ตรวจ ผตู้ รวจ
1. ประสานสำนัก/กอง/กรม ในด้านนโยบาย ราชการ ราชการ ราชการ ภายใน
แผนงาน โครงการ และดำเนินการ ดังน้ี / ต.ค.
- ศกึ ษา วิเคราะห์นโยบายของกรม/สำนกั /กอง / / 2563
ทีต่ อบสนองนโยบายรัฐบาลและแผนงานกระทรวง
พม. / / ภายใน
- รวบรวมเอกสาร ประมวลแผนงาน/โครงการ ต.ค.
จากเอกสารงบประมาณรายจ่ายประจำปี / 2563
2. ศึกษา วิเคราะห์ และกลั่นกรองประเด็น/
แผนงาน/โครงการตรวจราชการ / ภายใน
ต.ค.
3. พิจารณาคดั เลือกประเดน็ /โครงการ / 2563
ทีเ่ หน็ สมควรตรวจติดตาม (15 วนั )
- กำหนดเป้าหมาย/ตัวช้ีวัดการตรวจราชการ
- จัดประชมุ การจัดทำแผนตรวจราชการ ภายใน
- คัดเลือกโครงการที่เห็นควรบรรจุเข้าแผนการ ต.ค.
ตรวจราชการประจำปี 2563
4. จัดทำคำส่งั แผนการตรวจราชการเสนอ
รมว.พม. ภายใน
- จัดทำรายละเอียดแผนการตรวจราชการ พ.ย.
- เสนอแผนการตรวจราชการต่อ รมว.พม. 2563
เพื่อพิจารณาอนุมตั ิ
5. จัดทำแผนการตรวจราชการ กระทรวง พม.
ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 เป็นรูปเล่ม
สมบรู ณ์ เพือ่ ใช้ประโยชน์ต่อไป
๖
หมายเหตุ :
• ผตู้ รวจราชการ หมายถึง ผตู้ รวจราชการผู้รบั ผดิ ชอบและมีอำนาจหน้าทีใ่ นการตรวจราชการเกีย่ วกบั
การปฏิบัติราชการของหน่วยงานของรฐั และเจ้าหน้าที่ของรัฐ เฉพาะในขอบเขตอำนาจและหน้าที่
ของกระทรวง ในฐานะผสู้ อดส่องดแู ลแทนรฐั มนตรีวา่ การกระทรวง รัฐมนตรชี ว่ ยว่าการกระทรวง
และปลัดกระทรวง
• ผชู้ ่วยตรวจราชการ หมายถึง ผชู้ ว่ ยตรวจราชการ รบั ผิดชอบและมีอำนาจหน้าที่ในการช่วยการ
ตรวจราชการในพนื้ ที่ ในทนี่ ี้ คือ สำนักงานสง่ เสริมและสนับสนนุ วิชาการ 1 - 11
4. กรอบการตรวจราชการ
1. ความก้าวหน้าของการดำเนินงานตามนโยบายกระทรวง และเน้นความเชื่อมโยง
สอดคล้อง ตอบโจทย์ยทุ ธศาสตร์ชาติ ๒๐ ปี (พ.ศ. ๒๕๖๑-๒๕๘๐) แผนปฏิบัติราชการกระทรวง พม.
ระยะ ๓ ปี (พ.ศ. ๒๕๖๓ - ๒๕๖๕) นโยบายกระทรวง พม. นโยบายผู้บริหาร นโยบายที่เกี่ยวข้อง
กับการประเมินผลภาครัฐ นโยบายการกำกับองค์กรที่ดี แนวทางและประเด็นการตรวจสอบ
ของคณะกรรมการตรวจสอบและประเมินผลภาคราชการ (ค.ต.ป.)
2. การมีส่วนร่วมของภาคประชาชนและหน่วยงานภาคราชการและภาคเอกชน
ทีเ่ กีย่ วข้อง
3. การตรวจราชการในเชิงคุณภาพ มงุ่ เนน้ การบริหารจัดการหนว่ ยงาน/องค์กร
4. การตดิ ตามการดำเนินงาน ปัจจยั ความสำเร็จ ปญั หา อปุ สรรค และข้อเสนอแนะ
5. การมุง่ เน้นการดำเนินงานตามเป้าหมายที่กำหนด
6. แนวทางการพัฒนา ต่อยอดการดำเนินงานในปัจจบุ นั และอนาคต รวมถึงการพัฒนา
นวตั กรรม
๗
5. ระยะเวลาการตรวจราชการ
การตรวจราชการ มรี ะยะเวลาดำเนินงานใน 3 รอบ ดังน้ี
รอบท่ี ๑ การชีแ้ จงแผนการตรวจราชการ ประเดน็ เครือ่ งมือ เดือน ธันวาคม 2563 -
Agenda Review และการรายงานผลการตรวจราชการ รวมถึงการทำ มกราคม 2564
ความเข้าใจเกีย่ วกับนโยบายแก่หน่วยรับตรวจ
รอบท่ี 2 เป็นการสื่อสารนโยบายไปสู่หน่วยงานและเจ้าหน้าที่ เดือน กุมภาพันธ์ -
Progress Review ผรู้ ับผิดชอบในการนำนโยบายไปสกู่ ารปฏิบัติ มิถุนายน 2564
การตรวจติดตามความก้าวหน้าของงานตามประเดน็
รอบท่ี 3 การตรวจราชการประจำปี รวมถึง การรับฟังปัญหา เดือน สิงหาคม 2564
Evaluation อุปสรรคในการปฏิบัติงาน โดยผู้ตรวจราชการให้
ข้อคิดเห็น แนวทางการแก้ไขต่อผู้รับผิดชอบในพื้นที่
และข้อเสนอแนะเชิงนโยบายต่อผู้บริหารใน
ส่วนกลาง รวมถึง การเชิญที่ปรึกษาผู้ตรวจราชการ
ภาคประชาชนร่วมในการตรวจราชการ เพื่อเป็นการ
สื่อสารนโยบายไปสู่ประชาชน ผ่านทางที่ปรึกษา
ผตู้ รวจราชการภาคประชาชน
การประเมินผลในภาพรวม ทั้งประสิทธิภาพ
ประสิทธิผล ความคุ้มค่าในการปฏิบัติงาน และการ
ขับเคลื่อนงานตามประเด็นการตรวจราชการ
ประจำปี
6. การรายงานผลการตรวจราชการ
การรายงานผลการตรวจราชการ ดำเนินงานหลังจากเสร็จสิ้นการตรวจราชการ
โดยผู้ตรวจราชการกระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ ต้องรายงานผลการตรวจ
ราชการ ดังตอ่ ไปนี้
1. รายงานถึงปลัดกระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ (ปพม.) และ
ในกรณีที่ปลัดกระทรวงฯ เห็นว่ามีปัญหาสำคัญให้สรุปรายงานเสนอรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการ
พัฒนาสังคมและความม่ันคงของมนุษย์ เพือ่ ทราบหรือพจิ ารณาสงั่ การ ตอ่ ไป
๘
2. รายงานถึงรัฐมนตรี หรือรองนายกรัฐมนตรี ที่ได้รับมอบหมายให้กำกับการปฏิบัติ
ราชการในเขตพื้นที่ให้เป็นไปตามที่รัฐมนตรี หรือรองนายกรัฐมนตรีสั่งการ ในกรณีที่ผู้ตรวจราชการ
กระทรวงรายงานถึงปัญหาหรืออุปสรรคที่จำเป็นต้องได้รับการแก้ไขหรือปรับปรุง ให้ผู้ตรวจราชการ
กระทรวงติดตามผลการดำเนินงานของหน่วยงาน และถ้าพ้นหกสิบวันแล้ว ยังมิได้มีการดำเนินการ
แก้ไขหรือปรับปรุงอย่างหนึ่ง อย่างใด ให้รายงานรัฐมนตรีหรือรองนายกรัฐมนตรีที่ได้รับมอบหมาย
ให้กำกับการปฏิบัติราชการในเขตพืน้ ที่เพื่อพจิ ารณาสั่งการ ต่อไป
3. หากมีความจำเป็นเร่งด่วนที่จะต้องรายงาน หรือจะต้องขอคำวินิจฉัยสั่งการ
จากผู้มีอำนาจให้ผู้ตรวจราชการกระทรวง ดำเนินการโดยพลันทางโทรศัพท์หรือเครื่องมือสื่อสารอื่น
และให้บันทึกการดำเนินการดงั กลา่ วไว้ในรายงานผลการตรวจราชการด้วย
4. การรายงานผลการตรวจราชการ ให้จัดทำโดยสรุปให้เห็นถึงความสอดคล้อง
ตามวัตถุประสงค์ของการตรวจราชการ พร้อมทั้งปัญหาหรืออุปสรรค โดยสามารถเสนอแนะ
แนวทางแก้ไข และในกรณีที่ได้แนะนำหรือสั่งการด้วยวาจาไว้ ให้สรุปคำแนะนำ และการสั่งการนั้น
ไว้ในรายงานด้วย ทั้งนี้ ให้สำเนารายงานส่งคณะกรรมการตรวจสอบและประเมินผลประจำกระทรวง
(ค.ต.ป.)
5. การจัดทำรายงานผลการตรวจราชการประจำปีของผู้ตรวจราชการกระทรวง
ให้จัดทำในภาพรวมและสอดคล้องตามประเด็นการตรวจราชการที่กำหนดไว้ในแผนการตรวจราชการ
ประจำปี
7. ผลท่คี าดว่าจะได้รบั
1. หน่วยรับตรวจดำเนินงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ และประสิทธิผล รวมถึงได้รับ
ความเชื่อม่นั จากประชาชน
2. ผบู้ ริหารและผทู้ ี่เกี่ยวข้องมีขอ้ มลู ประกอบการตดั สินใจทางการบริหาร
3. ประชาชนได้รบั บริการที่มีคณุ ภาพ และตอบสนองตรงตามความต้องการ
๙
สว่ นที่ 2
แผนการตรวจราชการของผู้ตรวจราชการ
กระทรวงการพฒั นาสงั คมและความมั่นคงของมนุษย์
ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2564
แผนการตรวจราชการของผู้ตรวจราชการกระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคง
ของมนษุ ย์ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 ประกอบด้วย
1. การตรวจราชการ 2. การตรวจราชการ
กรณปี กติ กรณพี ิเศษ
3. การตรวจราชการ 4. การตรวจราชการตามสถานการณ์
แบบบูรณาการ เหตุการณ์ทีส่ ำคัญ
รายละเอียด ดงั น้ี
1. การตรวจราชการกรณีปกติ
การตรวจราชการกรณีปกติ เป็นการติดตามความก้าวหน้าในนโยบายและแผนงาน
กระทรวง พม. และในเรื่องที่สอดคล้องกับยุทธศาสตร์ชาติ นโยบายรัฐบาล แผนปฏิบัติราชการระยะ
3 ปี (พ.ศ. 2563 – 2565) กระทรวง พม. แผนงาน/โครงการสำคญั รวมท้ังการตรวจราชการเชิงลึก
ในเรื่องที่เป็นปัญหาหรือประเด็นทางสังคมที่สำคัญในพื้นที่ และมีผลกระทบต่อประชาชน รวมถึงการ
ดำเนนิ งานของหน่วยงานในพืน้ ที่
การตรวจราชการกรณีปกติ ครอบคลุมในประเดน็ ต่าง ๆ ดังน้ี
๑๐
1.1 การเบิกจา่ ยงบประมาณตามมาตรการการคลังด้านการใชจ้ ่ายภาครฐั
การเบิกจ่ายงบประมาณตามมาตรการการคลังด้านการใช้จ่ายภาครัฐ โดยการติดตาม
ความก้าวหน้าการเบิกจ่ายงบประมาณของหน่วยรับตรวจ โดยการติดตามความก้าวหน้าในการ
เบิกจ่ายงบประมาณ มีแนวทาง ดังน้ี
แนวทางการตรวจตดิ ตาม
การติดตามการใช้จ่ายเงินงบประมาณรายจ่าย ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2564
ตามเป้าหมายที่กำหนด ซึ่งหนังสือกระทรวงการคลัง ด่วนที่สุด ที่ กค 1004/19438 ลงวันที่
5 พฤศจกิ ายน 2563 เรื่อง มาตรการการคลังด้านการใช้จ่ายภาครัฐ ได้กล่าวถึงว่า เพื่อให้การใช้จ่าย
งบประมาณรายจ่ายประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 เป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ และสามารถ
สนับสนุนการฟื้นตัวของเศรษฐกิจและสังคมภายหลังจากสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อ
ไวรัสโคโรนา 2019 เหน็ ควรใหห้ นว่ ยรบั งบประมาณเรง่ รัดการใช้จ่ายงบประมาณประจำปีงบประมาณ
พ.ศ. 2564 ทั้งรายจ่ายประจำและรายจ่ายลงทุน โดยกำหนดเป้าหมายการใช้จ่ายงบประมาณ
เป็นรายไตรมาส ที่อา้ งองิ จากเป้าหมายการใชจ้ ่ายงบประมาณประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2562 ดังน้ี
ไตรมาส เป้าหมายการเบิกจา่ ยงบประมาณประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2564
(ร้อยละ)
รายจ่ายประจำ รายจ่ายลงทนุ ภาพรวม
1 36 20 32
2 57 45 54
3 80 65 77
4 100 100 100
หมายเหตุ : หนังสือกระทรวงการคลัง ด่วนที่สุด ที่ กค 1004/19438 ลงวันที่ 5 พฤศจิกายน
2563 เรื่อง มาตรการการคลังด้านการใช้จ่ายภาครัฐ นั้น คณะรัฐมนตรีได้ประชุมปรึกษาเมื่อวันที่
10 พฤศจิกายน 2563 และลงมติเห็นชอบ รวมถึงสำนักเลขาธิการคณะรัฐมนตรี ได้มีหนังสือ
ด่วนที่สุด ที่ นร0505/ว 534 ลงวันที่ 12 พฤศจิกายน 2563 เรื่อง มาตรการการคลังด้านการใช้
จา่ ยภาครัฐ เพือ่ แจ้งให้หน่วยงานที่เกีย่ วข้องทราบและถือปฏิบตั ิต่อไป
๑๑
1.2 การตรวจราชการตามนโยบายรฐั บาลและแผนงานกระทรวง พม.
กรอบการคดั เลือกประเดน็ การตรวจราชการ ควรเชือ่ มโยงสอดคล้องกับแผนและ
นโยบายต่าง ๆ ดงั น้ี
กรอบการคัดเลือกประเดน็ การตรวจราชการ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2564
1. แผนปฏิบัติราชการ ระยะ ๓ ปี 2. นโยบายรฐั มนตรีว่าการกระทรวง พม. /
(พ.ศ. ๒๕๖๓ - ๒๕๖๕) กระทรวง พม. นโยบายกระทรวง พม.
- การพัฒนาศกั ยภาพคน ครอบครัว และชุมชน - การมขี ้อมลู ดา้ นสังคมระดับพืน้ ที่
ให้มคี วามเข้มแข็ง และสร้างระบบทีเ่ อ้ือต่อการ - การพัฒนาการขับเคลื่อนทีม พม. จังหวัด ภายใต้
พัฒนาคนให้มีคุณภาพชวี ิตที่ดี แนวคิดบ้านเดียวกัน (One Home)
- การสร้างหลกั ประกนั ทางสงั คมที่ครอบคลมุ - การพัฒนาเครือข่าย
และเหมาะสมกับกลมุ่ เป้าหมายเฉพาะ - การปรบั ปรงุ กฎ ระเบียบ หลักเกณฑ์
- สง่ เสริมภาคีเครือข่ายอย่างเป็นระบบสู่การ - การพัฒนาบคุ ลากร
เป็นหนุ้ ส่วนทางสังคม - การประชาสัมพนั ธ์งาน พม.
- ยกระดับองค์กรสกู่ ารเป็นผนู้ ำทางสงั คม
๓. นโยบายการประเมินผลภาครฐั ๔. นโยบายการกำกับองค์กรที่ดี
- ประสิทธิผลการดำเนินงาน - มีระบบฐานข้อมูลกลางด้านสังคมอย่างสมบูรณ์
ครบถ้วน และเปน็ ปจั จุบัน
(Performance Base) - แบ่งปันข้อมูลด้านสวัสดิการสังคมระหว่าง
- ศักยภาพการดำเนินงาน (Potential Base) หน่วยงาน เพื่อเชื่อมโยงการทำงานอย่างเป็น
เอกภาพ
- มีช่องทางการส่อื สารที่หลากหลาย และการเข้าถึง
ข้อมลู ขา่ วสาร และบริการที่ง่าย สะดวก และรวดเรว็
- สง่ เสริมใหก้ ารประสาน และบรู ณาการการทำงาน
ร่วมกนั เพื่อการใชท้ รพั ยากรอยา่ งคุ้มค่า
- ส่งเสริม สนับสนุน และพัฒนาศักยภาพเครอื ข่าย
ในการทำงานร่วมกันอย่างมีประสิทธิภาพ
๕. ประเดน็ การตรวจสอบของคณะกรรมการตรวจสอบและประเมินผลภาคราชการ (ค.ต.ป.)
- การส่งมอบงานบริการสาธารณะทางสังคมอย่างทว่ั ถึง เพือ่ ลดความเหลื่อมล้ำในสังคม
- ระบบการบริหารข้อมูลด้านการบริหารจัดการภาครฐั
- ประสิทธิภาพและความพร้อมของระบบฐานขอ้ มลู ภาครัฐในการดำเนินงานสวสั ดิการภาครัฐ
๑๒
ประเด็นการตรวจราชการตามนโยบายรัฐบาลและแผนงานกระทรวง พม.
1. การพฒั นาศกั ยภาพคนทุกกลปุ่มรเปะจ้าหำปมาีงยบประมาณ พ.ศ. 2564
2. การบรู ณาการเพอ่ื ส่งมอบงานบริการสงั คม
3. การส่งเสริมและพัฒนาเครอื ขา่ ย
4. การบริหารข้อมูล
5. การขับเคลื่อนงานตามบริบทพืน้ ที/่ จงั หวัด
6. การแก้ไขปัญหาความเดือดร้อนหรอื ข้อรอ้ งเรียนของประชาชน
ความเชื่อมโยงประเด็นการตรวจราชกา
วิสัยทศั น์ : สร้างสังคมดี คนมคี ณุ ภาพ แผนปฏิบ
แผนปฏิบัติ ๑. พัฒนาศักยภาพคน ครอบครัว ชมุ ชน ๒. สรา้ งหลักประกนั ทาง
ราชการ ให้มคี วามเข้มแข็ง และสรา้ งระบบทเ่ี ออ้ื ต่อ ทค่ี รอบคลมุ และเหมาะส
(เรือ่ ง)
การพฒั นาคนให้มคี ณุ ภาพชวี ิตท่ดี ี กลมุ่ เป้าหมายเฉพา
ประเดน็ การ · การพัฒนาศักยภาพคนทกุ กลมุ่ เป้าหมาย · การบูรณาการเพ่อื ส่งมอ
ตรวจราชการ บริการสงั คม
· เพอ่ื สง่ เสริมความเข้มแข็งของสภาเดก็ · มกี ารขบั เคลือ่ นแผนการ
และเยาวชน ป้องกันและปราบปรามก
· เพอ่ื ส่งเสริมให้ผู้มีรายได้นอ้ ยในเมอื งและ มนษุ ยข์ องจงั หวัด *
เปา้ หมาย ชนบทมคี วามมั่นคงในด้านที่อยูอ่ าศัย · การขับเคลื่อนการดำเน
· เพื่อให้ประชาชนที่ต้องการมีที่อยู่อาศัย ทีม พม. จังหวดั (One Ho
เปน็ ของตนเองได้มที ีอ่ ยู่อาศัย และยกระดับ เพ่อื ให้เกิดการบูรณาการ
คณุ ภาพชีวิตของประชาชน มงุ่ เนน้ ส่งเสริม ส่งมอบบริการสงั คม *
และพัฒนาที่อยู่อาศัยสำหรับประชาชน · เกิดการชว่ ยเหลอื คมุ้ คร
รวมถึงสนบั สนุนให้ประชาชนมที ี่อยอู่ าศยั ผู้ถูกกระทำความรนุ แรงใ
ที่ได้มาตรฐาน ครอบครัว **
13
ารตามแผนปฏิบัติราชการกระทรวง พม.
บตั ริ าชการ ระยะ 3 ปี (พ.ศ. ๒๕๖3 – ๒๕65) กระทรวง พม.
งสังคม ๓. สง่ เสริมภาคีเครือข่ายอย่างเป็นระบบ ๔. ยกระดบั องค์กรสู่การเป็น
สมกับ สู่การเปน็ ห้นุ สว่ นทางสังคม ผู้นำทางสงั คม
าะ
· การบริหารข้อมูล
อบงาน · การส่งเสริมและพัฒนาเครือขา่ ย · การขบั เคลื่อนงานตามบริบท
พ้ืนที/่ จังหวัด
ร · การสง่ เสรมิ และพัฒนาอาสาสมัครพัฒนาสงั คมและ · การขับเคลือ่ นงานส่กู ารเป็น
การค้า ความม่ันคงของมนษุ ย์ เพื่อเป็นกลไกการขบั เคล่ือนการ ศนู ยข์ อ้ มูลทางสังคม
พฒั นาสงั คม ** ของจังหวดั *
นินงาน · การส่งเสรมิ ความรับผิดชอบต่อสงั คมของภาคธุรกิจ · ประชาชนในพ้ืนทีไ่ ด้รบั การ
ome) ระดับจังหวัด เพือ่ มสี ว่ นรว่ มรับผิดชอบตอ่ สังคม พฒั นาคุณภาพชวี ติ และแก้ไข
รในการ เชิงบูรณาการ และเกิดการจัดสวัสดกิ ารสังคม ปัญหา ความตอ้ งการ
แกก่ ลมุ่ เป้าหมาย ** ตามบริบทพ้ืนที่/จังหวัด
รอง · การเสริมสร้างศกั ยภาพศนู ยพ์ ัฒนาคุณภาพชีวิตและ
ใน ส่งเสริมอาชีพผู้สงู อายุ (ศพอส.) **
· เกิดการขบั เคลอ่ื นการดำเนินงานคุ้มครองเด็กระดับ
จงั หวัด **
· คนพกิ ารได้รบั การส่งเสรมิ และพัฒนาคุณภาพชีวิต**
ความเชือ่ มโยงประเดน็ การตรวจราชกา
· ระดับความสำเร็จของการจบั · ระดับความสำเรจ็ ในการ
เคลือ่ นโครงการสง่ เสริมความเข้มแข็ง ขับเคลื่อนแผนป้องกันและ
ของสภาเดก็ และเยาวชน ปราบปรามการค้ามนุษย์
· ระดับความสำเรจ็ ของการขบั เคลือ่ น ของจังหวัด *
ตัวชีว้ ัด โครงการผู้มีรายได้น้อยในเมอื งและ · ระดับความสำเรจ็ ในการ
ชนบทมคี วามมน่ั คงในด้านที่อยู่อาศัย ขับเคลื่อนการดำเนินงานทีม พม
· ระดับความสำเรจ็ ของการขบั เคลื่อน จังหวดั (One Home) *
โครงการบ้านเรา “ก้าว” ไปด้วยกนั · ระดบั ความสำเรจ็ ของการ
ชว่ ยเหลอื คมุ้ ครองผู้ถกู กระทำ
ความรุนแรงในครอบครวั **
งาน/โครงการ · โครงการสง่ เสริมความเข้มแขง็ · การขับเคลอ่ื นแผนป้องกันและ
สำคญั ของสภาเด็กและเยาวชน ปราบปรามการคา้ มนุษย์
· โครงการผู้มรี ายได้นอ้ ยในเมอื งและ ของจังหวัด *
ชนบทมคี วามม่ันคงในทีอ่ ยู่อาศัย · การขบั เคลอ่ื นการดำเนินงานทีม
· โครงการบ้านเรา “ก้าว” ไปดว้ ยกนั พม. จังหวดั (One Home) เพือ่ ให้เก
การบูรณาการในการส่งมอบบรกิ าร
สังคม *
· การช่วยเหลอื คุ้มครองผู้ถกู กระทำ
ความรุนแรง
ในครอบครัว **
หมายเหตุ : * หมายถึง ตวั ชวี้ ัด “บังคบั ” ในการประเมินผลการปฏบิ ัตริ าชการตามคำรบั ร
** หมายถึง ตัวชวี้ ดั “เลือก” ในการประเมินผลการปฏบิ ัตริ าชการตามคำรบั ร
๑๔
ารตามแผนปฏิบตั ิราชการกระทรวง พม.
· รอ้ ยละผู้สมัครอาสาสมัครพัฒนาสงั คมและความม่ันคงของมนษุ ย์ · ระดบั ความสำเร็จในการ
ใหม่ ** ขบั เคล่อื นงานสกู่ ารเป็น
· ระดับความสำเร็จของการสง่ เสริมความรับผิดชอบต่อสังคม ศนู ย์ขอ้ มลู ทางสังคม
ของภาคธรุ กิจระดับจงั หวัด ** ของจงั หวดั *
· ระดับความสำเร็จของการเสรมิ สร้างศกั ยภาพศูนย์พัฒนาคุณภาพ · ระดบั ความสำเร็จในการ
ม. ชีวิตและส่งเสริมอาชีพผู้สูงอายุ (ศพอส.) **
ขบั เคลื่อนงานตามบริบท
· ระดับความสำเร็จของการขับเคล่อื นการดำเนินงานคุ้มครองเดก็ พ้ืนที่/จงั หวดั
ระดับจังหวดั **
· ระดบั ความสำเร็จของการขับเคลอ่ื นงานด้านการส่งเสริมและ
พัฒนาคณุ ภาพชีวิตคนพกิ ารผา่ นกลไกการประชมุ คณะอนุกรรมการ
ส่งเสริมและพฒั นาคณุ ภาพชีวิตคนพิการประจำจังหวัด **
· การขบั เคล่อื นงานอาสาสมัครพัฒนาสังคมและความมั่นคงของ · การขบั เคลื่อนงานสู่การ
มนุษย์ ** เปน็ ศูนยข์ ้อมูลทางสงั คม
· การขับเคลอ่ื นงานศูนย์ส่งเสรมิ ความรบั ผิดชอบต่อสังคม ของจังหวดั *
ของภาคธุรกิจระดับจงั หวัด ** · การขับเคลื่อนงาน
กิด · การเสริมสร้างศักยภาพศูนยพ์ ัฒนาคุณภาพชีวิตและสง่ เสรมิ อาชีพ ตามบริบทพ้ืนที/่ จังหวัด
ร ผู้สงู อายุ (ศพอส.) **
เชน่
· การขบั เคล่อื นการดำเนินงานคุ้มครองเด็กระดับจังหวัด **
ำ · การขบั เคล่อื นงานด้านการส่งเสรมิ และพฒั นาคุณภาพชีวิต - โครงการดอื งันฮาตี
คนพกิ าร ผ่านกลไกการประชมุ คณะอนกุ รรมการส่งเสริมและพฒั นา - 1 จังหวัด 1 โครงการ
สำคัญ
คณุ ภาพชีวิตคนพกิ ารประจำจังหวัด **
รองการปฏบิ ัตริ าชการ ประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2564 ของ สนง.พมจ.
รองการปฏบิ ัตริ าชการ ประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2564 ของ สนง.พมจ.
๑๕
ประเดน็ การตรวจราชการท่ี 1
การพัฒนาศกั ยภาพคนทุกกลุ่มเป้าหมาย
ประเด็นการตรวจราชการ : การพัฒนาศกั ยภาพคนทกุ กลุม่ เป้าหมาย
งาน/โครงการสำคัญ เป้าหมาย ตวั ชี้วัด
1. โครงการส่งเสริม 1. เพือ่ สง่ เสริม 1. ระดับความสำเร็จ
ความเข้มแข็งของสภาเดก็ และ ความเข้มแขง็ ของสภาเดก็ และ ของการขบั เคลือ่ นโครงการ
เยาวชน เยาวชน ส่งเสริมความเข้มแข็ง
ของสภาเดก็ และเยาวชน
2. โครงการผู้มีรายได้นอ้ ย 2. เพื่อสง่ เสริมให้ผู้มีรายได้น้อย 2. ระดับความสำเรจ็
ในเมอื งและชนบทมีความม่ันคง ในเมืองและชนบทมีความมั่นคง ของการขบั เคลื่อนโครงการ
ในทีอ่ ยอู่ าศัย ในด้านที่อย่อู าศยั ผมู้ ีรายได้นอ้ ยในเมืองและ
ชนบทมีความมน่ั คงในด้าน
ที่อยู่อาศยั
3. โครงการบ้านเรา “ก้าว” 3. เพื่อให้ประชาชนที่ต้องการ 3. ระดบั ความสำเรจ็
ไปด้วยกัน (กคช.) มีทีอ่ ย่อู าศยั เปน็ ของตนเอง ของการขบั เคลือ่ นโครงการ
ได้มที ี่อยูอ่ าศยั และยกระดับ บ้านเรา “ก้าว” ไปด้วยกนั
คุณภาพชีวติ ของประชาชน มุง่ เนน้
สง่ เสริม และพฒั นาที่อยู่อาศยั
สำหรับประชาชน รวมถึง
สนบั สนนุ ให้ประชาชนมที ี่อย่อู าศยั
ที่ได้มาตรฐาน
รายละเอียด ดงั น้ี
๑๖
1.1 โครงการส่งเสรมิ ความเขม้ แขง็ สภาเดก็ และเยาวชน
กรมกิจการเด็กและเยาวชน สนับสนุนงบประมาณให้แก่สภาเด็กและเยาวชนทุกระดับ
เพื่อจัดกิจกรรมตามบทบาท หน้าที่ และกิจกรรมสร้างสรรค์เพื่อพัฒนาเด็ก เยาวชน ชุมชน และสังคม
รวมท้ัง สนับสนนุ เจ้าหน้าที่และงบประมาณในการขับเคลือ่ นกิจการสภาเด็กและเยาวชน โดยงบประมาณ
ทีจ่ ดั สรรให้กบั บ้านพกั เด็กและครอบครวั จังหวดั ประจำปี 2564 รายละเอียด ดงั ตาราง
หนว่ ย : บาท
โครงการ งบดำเนินงาน งบอดุ หนุน รวมทัง้ สิ้น
โครงการส่งเสริมความเข้มแขง็ 18,466,000 157,290,000 175,756,000
สภาเด็กและเยาวชน
(ที่มา : “แนวทางการขับเคลื่อนภารกิจสำคัญ ประจำปี 2564 และงบประมาณรายจ่ายประจำปี
2564 ที่จัดสรรลงจังหวัด” โดย กรมกิจการเด็กและเยาวชน, เอกสารประกอบการประชุมการมอบ
นโยบายกระทรวง พม. ระหว่างวันที่ 9 – 10 พฤศจิกายน พ.ศ. 2563 ณ โรงแรมรามาการ์เด้นส์
กรงุ เทพฯ)
วัตถปุ ระสงค์
ปี 2563 ปี 2564 ปี 2565
1. เพื่อส่งเสริมให้มกี ารจัดต้ังสภาเด็กและเยาวชนทกุ ระดับ
2. เพื่อเสริมสร้างความเข้มแข็งของสภาเด็กและเยาวชนทุกระดับ ให้สามารถจัดกิจกรรม
เพื่อพัฒนาศักยภาพเด็กและเยาวชนตามมาตรฐานสภาเด็กและเยาวชน และมีส่วนร่วมในการจัดกิจกรรม
เพื่อพัฒนาตนเอง ชุมชน สังคม
3. เพื่อสง่ เสริมใหเ้ ด็กและเยาวชนทำกิจกรรมทีเ่ ป็นประโยชน์ต่อชุมชน สงั คม
4. เพื่อส่งเสริมให้เครือข่ายทุกระดบั ทุกภาคส่วน มีส่วนร่วมในการพัฒนาเดก็ และเยาวชน
ในพนื้ ที่ เกิดพื้นทีใ่ นการทำกิจกรรมที่สร้างสรรค์
ปี 2564 - 2565
5. เพื่อส่งเสริมสนับสนุนให้มีการถ่ายโอนภารกิจด้านสภาเด็กและเยาวชนให้กับองค์กร
ปกครองส่วนท้องถิ่นและแผนปฏิบัติการกำหนดขั้นตอนการกระจายอำนาจให้แก่องค์กรปกครองส่วน
ท้องถิน่ (ฉบับที่ 3)
วิธีดำเนินกิจกรรม
1. สง่ เสริมความเข้มแข็งบทบาทสภาเด็กและเยาวชน/เครอื ข่ายเดก็ และเยาวชน/เครือข่าย
ผปู้ ฏิบัติงานด้านศกั ยภาพ
2. เสริมสร้างความเข้มแข็งสภาเด็กและเยาวชนทุกระดับ/เครือข่ายเด็กและเยาวชน/
เครือขา่ ยผู้ปฏิบัติงานด้านเดก็ และเยาวชน
๑๗
3. สนับสนุนงบประมาณแก่สภาเด็กและเยาวชนในการทำกิจกรรมที่สร้างสรรค์ในทุก
ระดบั
4. นิเทศ/ติดตามการดำเนินงานของสภาเดก็ และเยาวชน
ผลผลิต
1. สมาชิกสภาเด็กและเยาวชน สามารถเป็นแกนนำในการจัดกิจกรรมด้านการพัฒนา
เด็กและเยาวชนทุกระดับ รวมถึงมสี ว่ นรว่ มในการพฒั นาเด็กและเยาวชนในพืน้ ที่
2. ภาคีเครือข่าย/เครือข่ายเด็กและเยาวชนมีส่วนร่วมในการดำเนินกิจกรรมเพื่อการ
พัฒนาเด็กและเยาวชน
ผลลพั ธ์
1. สภาเด็กและเยาวชนทุกระดับ มีการดำเนินกิจกรรมด้านการพัฒนาเด็กและเยาวชน
ในพืน้ ที่
2. เกิดการเชื่อมโยงเครือขา่ ยกล่มุ เยาวชนในทุกระดับทว่ั ประเทศ
3. ภาคีเครือข่ายมีสว่ นรว่ มในการพฒั นาเด็กและเยาวชน
4. สภาเด็กและเยาวชนทุกระดับมีความเข้มแขง็ ตามมาตรฐานสภาเด็กและเยาวชน
เปา้ หมายและตวั ชี้วดั
เชงิ ปริมาณ
1. จำนวนเด็กและเยาวชนทีเ่ ข้าร่วมกิจกรรมการพัฒนาเดก็ และเยาวชน
2. จำนวนสภาเด็กและเยาวชน/เครือข่ายสามารถขับเคลื่อนกิจกรรมเพื่อพัฒนาเด็ก
และเยาวชนสูก่ ารปฏิบัติ
เชงิ คุณภาพ
3. ร้อยละของสภาเด็กและเยาวชนจังหวัดมีการดำเนินงานตามมาตรฐานสภาเดก็ และ
เยาวชน
(ที่มา : “แผนปฏิบัติราชการระยะ 3 ปี (พ.ศ. 2563 – 2565)” ของกระทรวง พม. กองยุทธศาสตร์
และแผนงาน สป.พม. ธนั วาคม 2562. หนา้ 22 - 23)
๑๘
1.2 การขับเคลือ่ นการเนินงานส่งเสริมใหผ้ ูม้ ีรายไดน้ ้อยในเมืองและชนบทมีความม่ันคง
ในด้านทอ่ี ย่อู าศยั ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2564
โครงการผู้มีรายได้น้อยในเมืองและชนบทมีความมั่นคงในที่อยู่อาศัย จำนวน 23,195
ครวั เรือน จำนวน 1,336.1300 ล้านบาท ประกอบด้วย
1) บ้านมั่นคง จำนวน 6,200 ครัวเรือน จำนวน 556.7600 ล้านบาท (การพัฒนาระบบ
สาธารณปู โภคและอดุ หนุนทีอ่ ยู่อาศัย)
2) บ้านพอเพียงชนบท จำนวน 15,000 ครัวเรือน จำนวน 337.5000 ล้านบาท
(การซอ่ มแซม/ปรับปรุง/ต่อเติม/สร้างใหม)่
3) ที่อยู่อาศัยชมุ ชนริมคลองเปรมประชากร จำนวน 995 ครัวเรือน จำนวน 423.8700
ล้านบาท
4) ที่อยู่อาศัยชั่วคราว กรณีไฟไหม้ ไล่รื้อ จำนวน 1,000 ครัวเรือน จำนวน 18.0000
ล้านบาท
(ที่มา : โครงการ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 โดย สถาบันพัฒนาองค์กรชุมชน (องค์การ
มหาชน), เอกสารประกอบการประชุมการมอบนโยบายกระทรวง พม. ระหว่างวันที่ 9 – 10
พฤศจกิ ายน พ.ศ. 2563 ณ โรงแรมรามาการ์เด้นส์ กรุงเทพฯ)
๑๙
1.3 โครงการบ้านเรา “ก้าว” ไปด้วยกัน
“โครงการบ้านเราก้าวไปด้วยกัน” มีวัตถุประสงค์ เพื่อให้ประชาชนที่ต้องการ
มีที่อยู่อาศัยเป็นของตนเองได้มีที่อยู่อาศัย และยกระดับคุณภาพชีวิตของประชาชน มุ่งเน้น ส่งเสริม
และพฒั นาที่อยู่อาศยั สำหรบั ประชาชน รวมถึงสนับสนุนใหป้ ระชาชนมที ีอ่ ยู่อาศัยที่ได้มาตรฐาน
โครงการบ้านเราก้าวไปด้วยกัน กำหนดทางเลือกของการมีที่อยู่อาศัยใน 3 ประเภท
ดงั น้ี
1) เชา่ ราคาพิเศษ (เรม่ิ ตน้ 999 บาท/เดือน)
1.1) กำหนดกรอบระยะเวลาการทำสัญญาเช่ากับการเคหะแห่งชาติ
เปน็ ระยะเวลา 1 ปี นบั จากวนั ที่สง่ มอบอาคาร
1.2) กำหนดอัตราเชา่ ปีที่ 1 ดงั น้ี
1.2.1) อาคารแนวราบ (บ้านแฝด 2 ชั้น, บ้านเดี่ยว 2 ชั้น) อัตราค่าเช่า
1,200 บาท/หนว่ ย/เดือน
1.2.2) อาคารชุด 4 – 5 ช้ัน กำหนด ดังน้ี
· ชั้น 1 – 2 อตั ราคา่ เช่า 1,200บาท/หนว่ ย/เดือน
· ชั้น 3 – 4 อัตราคา่ เช่า 999 บาท/หนว่ ย/เดือน
1.2.3) โครงการบ้านพระราม 4 อตั ราคา่ เชา่ 2,750 – 3,000บาท/
หนว่ ย/เดือน
1.3) กำหนดให้ชำระคา่ เชา่ ลว่ งหน้า 1 เดอื น ในวนั ทำสัญญา
1.4) เมื่อครบกำหนดสัญญาเช่าตามข้อ 1.2 กรณีผู้เช่าแจ้งความประสงค์ต่อ
สญั ญา กำหนดอตั ราค่าเชา่ และค่าใชจ้ า่ ยตา่ ง ๆ ทีผ่ ู้เช่าต้องรับผิดชอบ ดังน้ี
1.4.1) โครงการอาคารเชา่ ตั้งแต่ปีที่ 2 เปน็ ต้นไป กำหนดอัตราค่าเช่าตาม
ประกาศของการเคหะแห่งชาติ
1.4.2) โครงการบ้านเอื้ออาทร และโครงการเคหะชุมชนที่นำมาให้เช่า
กำหนดเงอ่ื นไขการเชา่ ต้ังแต่ปีที่ 2 เปน็ ต้นไป ดงั นี้
· ปีที่ 2 ปรบั คา่ เช่าเพิ่มขึน้ จากปีที่ 1 ในอัตรารอ้ ยละ 5
· ปีที่ 3 เปน็ ต้นไป ปรบเพิม่ ข้นึ ทกุ ปีในอัตรา ร้อยละ 15
1.5) โครงการบ้านเอื้ออาทร และโครงการเคหะชุมชน กรณีผู้เช่าแจ้งความ
ประสงค์ขอซื้อภายใน 1 ปี นับจากวันส่งมอบอาคาร กำหนดราคาขายตามประกาศการเคหะแห่งชาติ
ทั้งนี้ ต้องไม่มีหน้คี ้างชำระคา่ เชา่ และต้องเปน็ บุคคลเดียวกับทีร่ ะบุในสัญญาเช่า
๒๐
ทำเลที่ตงั้ โครงการบ้านเราก้าวไปด้วยกนั “ประเภทเช่า”
ทำเลกรุงเทพฯ ทำเลภาคกลาง ทำเลภาคตะวนั ออก
จำนวน 2 โครงการ จำนวน 3 โครงการ จำนวน 3 โครงการ
ทำเลภาคตะวนั ออกเฉียงเหนือ
จำนวน 4 โครงการ ทำเลภาคใต้ ทำเลภาคเหนอื
จำนวน 5 โครงการ จำนวน 1 โครงการ
รายละเอยี ดโครงการบา้ นเราก้าวไปดว้ ยกนั ประเภทเช่า
ประเภท ทำเล จำนวน รปู แบบ อัตราคา่ เช่า จำนวน หนว่ ยคงเหลือ รวม
เชา่ โครงการ อาคาร (บาท/หนว่ ย/ หนว่ ยให้ ประชาชน ผปู้ ระกัน 33
กรงุ เทพ
2 อาคารชดุ เดือน) เชา่ ทั่วไป ตน (EEC)
รวม 14 ช้ัน 2,750 – 296 33
ภาคกลาง 2 อาคารชุด 3,000
3 5 ช้ัน 999 – 1,200 374 238 238
รวม 3
ภาค 3 อาคารชดุ 670 271 271
ตะวนั ออก 5 ช้ัน 999 – 1,200 463 371 371
รวม 3
ภาค 4 อาคารชดุ 463 371 371
ตะวนั ออก 3 ชั้น 999 – 1,200 22 33
เฉยี งเหนือ 4
รวม อาคารชุด 999 – 1,200 59 8 14 22
5 ชั้น
1,200 81 11 14 25
บ้านแถว 41 15 15
ช้ันครึง่
อาคารชดุ 999 – 1,200 457 298 298
5 ชั้น
498 313 313
๒๑
ประเภท ทำเล จำนวน รูปแบบ อตั ราค่าเช่า จำนวน หน่วยคงเหลือ
โครงการ อาคาร (บาท/หนว่ ย/ หนว่ ยให้ ประชาชน ผปู้ ระกัน
ภาคใต้ รวม
5 อาคารชุด เดือน) เช่า ท่วั ไป ตน (EEC) 41
รวม 4 ชั้น 999 – 1,200 105 41
ภาคเหนอื 5
1 อาคารชุด 999 – 1,200 286 85 85
รวม 5 ช้ัน
รวมเช่า 18 1,200 391 126 126
บ้านแถว 52 19 19
ช้ันครึ่ง
52 19 19
2,155 1,111 14 1,125
2) ขายโปรโมชัน่ พิเศษ
2.1) กำหนดราคาขาย 250,000 – 450,000 บาท/หน่วย
2.2) ชำระเงินจองในวันทำสัญญา 1,000 บาท/หนว่ ย
2.3) กำหนดให้ลูกค้ายื่นขอสินเชื่อจากสถาบันการเงินเป็นลำดับแรก ทั้งนี้ กรณี
ไม่ผ่านการอนุมัติสินเชื่อจากสถาบันการเงิน ให้ทำสัญญาเช่าซื้อกับการเคหะแห่งชาติ ในเบื้องต้น
กำหนดกรอบระยะเวลา 5 ปี
2.4) ฟรีค่าเหล็กดัดมุ้งลวด สำหรับลูกค้าที่ซื้ออาคารชุดเฉพาะชั้น 4 – 5
โดยการเคหะแห่งชาติจะสนับสนุนค่าเหลก็ ดดั มุ้งลวด ดงั น้ี
2.4.1) อาคารชดุ 24 ตารางเมตร สนบั สนุนคา่ ใชจ้ า่ ย 10,000บาท/หนว่ ย
2.4.2) อาคารชุด 30 – 38.4 ตารางเมตร สนบั สนุนคา่ ใชจ้ ่าย 12,000
บาท/หน่วย
2.5) ฟรีคา่ ธรรมเนียมการโอนกรรมสทิ ธิ์
3) เช่าซื้อกบั การเคหะแห่งชาติ (ดอกเบี้ย ๐ %)
3.1) ราคาขายปจั จุบันตามทีก่ ารเคหะแห่งชาติประกาศ
3.2) ชำระเงินจองในวนั ทำสัญญา 1,000 บาท/หน่วย
3.3) ฟรีค่าเหล็กดัดมุ้งลวด สำหรับลูกค้าที่ซื้ออาคารชุดเฉพาะชั้น 4 – 5
โดยการเคหะแห่งชาติจะสนบั สนนุ ค่าเหลก็ ดัดมุ้งลวด ดังน้ี
บาท/หนว่ ย ๒๒
3.4.1) อาคารชดุ 24 ตารางเมตร สนับสนนุ ค่าใชจ้ ่าย 10,000บาท/หน่วย
3.4.2) อาคารชุด 30 – 38.4 ตารางเมตร สนับสนุนคา่ ใชจ้ า่ ย 12,000
3.4) ฟรีคา่ ธรรมเนียมการโอนกรรมสทิ ธิ์
ทำเลที่ตง้ั โครงการบ้านเราก้าวไปด้วยกนั “ประเภทขาย หรอื ให้เช่าซือ้ ”
ทำเลกรุงเทพฯ ทำเลภาคกลาง ทำเลภาคตะวนั ออก
จำนวน 10 โครงการ จำนวน 6 โครงการ จำนวน 9 โครงการ
ทำเลภาคตะวันออกเฉียงเหนอื
จำนวน 13 โครงการ ทำเลภาคใต้ ทำเลภาคเหนอื
จำนวน 2 โครงการ จำนวน 12 โครงการ
ทำเลปริมณฑล
จำนวน 43 โครงการ
๒๓
รายละเอยี ดโครงการบา้ นเราก้าวไปด้วยกัน
ประเภท ทำเล จำนวน รูปแบบ หนว่ ยนำ อัตราค่า ราคาขาย หนว่ ยคงเหลือ รวม
เชา่ /ขาย โครงการ อาคาร ออกเช่า เช่า (บาท/หนว่ ย) ประชาชน ผู้ประกันตน
กรุงเทพ (บาท/ 20
รวม 10 อาคารชุด 64 หน่วย/ 431,000 – ทั่วไป (EEC) 39
ปริมณฑล 4 ชั้น เดือน) 523,000 59
รวม 999 – 20 357
2,988
ภาคกลาง 1,200
3,345
รวม อาคารชุด 308 999 – 308,000 – 39 19
5 ชั้น 1,200 543,000 1
ภาคตะวันออก 136
10 372 59 4
รวม 9
ภาค 43 อาคารชุด 734 999 – 390,000 – 279 78 169
ตะวนั ออกเฉียงเหนือ 4 ชั้น 1,200 564,000 322 16
34
อาคารชดุ 5,756 999 – 355,000 – 2,666 429
5 ช้ัน 1,200 574,000 112
591
อาคารชดุ 8 999 – 660,000 – 223
8 ช้ัน 1,200 940,000
43 6,498 2,945 400
6 บ้านเดี่ยว 55 1,200 520,000 – 19
2 ชั้น 549,000
บ้านแฝด 3 1,200 570,000 – 1
2 ช้ัน 600,000
อาคารชุด 184 999 – 390,000 91 45
3 ช้ัน 1,200
อาคารชดุ 24 999 – 452,000 – 4
4 ช้ัน 1,200 492,000
อาคารชุด 26 999 – 390,000 9
5 ช้ัน 1,200
6 292 124 45
9 บ้านเดี่ยว 63 1,200 417,000 2 14
2 ช้ัน
บ้านแฝด 123 1,200 420,000 6 28
2 ช้ัน 686 28 401
อาคารชดุ 999 – 420,000 –
3 ช้ัน 1,200 523,000
อาคารชุด 163 999 – 420,000 7 105
4 ชั้น 1,200
9 1,035 43 548
13 บ้านเดีย่ ว 317 1,200 390,000 – 223
2 ช้ัน 611,000
๒๔
ประเภท ทำเล จำนวน รปู แบบ หนว่ ยนำ อัตราคา่ ราคาขาย หนว่ ยคงเหลือ
โครงการ อาคาร ออกเช่า เชา่ (บาท/หน่วย) ประชาชน ผู้ประกันตน
รวม (บาท/ รวม
ภาคใต้ 13 บ้านแถว 27 หน่วย/ 374,000 – ท่ัวไป (EEC)
รวม 2 2 ชั้น 7 เดือน) 580,000
ภาคเหนือ 2 บ้านแฝด 10 539,000 – 12 12
รวม 12 2 ชั้น 1,200 580,000
รวมเชา่ / ขาย อาคารชดุ 177 533,000 – 44
12 5 ชั้น 23 1,200 574,000
95 200 11
อาคารชดุ 291 999 – 513,000 –
3 ช้ัน 55 1,200 523,000 240 240
7 482,000 – 16 16
อาคารชุด 15 999 – 513,000
4 ช้ัน 368 1,200 44
9,126 999 – 390,000 –
บ้านเดี่ยว 1,200 570,000 20 20
2 ช้ัน 390,000 – 224 224
บ้านแฝด 1,200 450,000
2 ช้ัน 543,000 – 20 20
1,200 574,000
อาคารชดุ 543,000 – 00
4 ช้ัน 999 – 584,000
1,200 22
อาคารชุด 999 –
5 ช้ัน 1,200 246 246
3,677 993 4,670
๒๕
รายละเอียด
โครงการบ้านเรากา้ วไปด้วยกนั (มผี ลถึงวันท่ี 31 ธันวาคม 2563)
โครงการบ้านเราก้าวไปด้วยกัน ประกอบด้วย โครงการให้เช่า จำนวน 18 โครงการ รวม 2,155 หน่วย
และ โครงการใหเ้ ชา่ หรอื ขายจำนวน 95 โครงการ รวม 9,126 หน่วย รวมทัง้ สิน้ 113 โครงการ 11,281
หน่วย โดยมีรายละเอียด ดงั นี้
ประเภท จำนวน จำนวน ประชาชน ทำสญั ญา รวม หน่วยคงเหลอื รวม
โครงการ หน่วยให้ ทั่วไป ผู้ประกันตน ประชาชน ผู้ประกันตน
1. เช่า เชา่ /ขาย 1,030 1,030 1,125
2. เช่า/ขาย 18 2,155 4,449 (EEC) 4,456 ทัว่ ไป (EEC) 4,670
รวมท้ังสนิ้ 95 9,126 5,479 - 5,486 1,111 14 5,795
113 11,281 7 3,677 993
7 4,788 1,007
ข้อมูล ณ วนั ที่ 3 พฤศจิกายน 2563
(ที่มา : โครงการบ้านเรา “ก้าว” ไปด้วยกัน โดย การเคหะแห่งชาติ, เอกสารประกอบการประชุมการ
มอบนโยบายกระทรวง พม. ระหว่างวนั ที่ 9 – 10 พฤศจกิ ายน พ.ศ. 2563 ณ โรงแรมรามาการ์เด้นส์
กรุงเทพฯ)
๒๖
ประเดน็ การตรวจราชการท่ี 2
การบรู ณาการเพือ่ ส่งมอบงานบริการสงั คม
ประเดน็ การตรวจราชการ : การบูรณาการเพื่อส่งมอบงานบริการสังคม
งาน/โครงการสำคญั เปา้ หมาย ตวั ชีว้ ัด
1. การขบั เคลื่อนแผนป้องกัน 1. มีการขับเคลื่อนแผนป้องกัน 1. ระดบั ความสำเร็จในการ
และปราบปรามการค้ามนุษย์ และปราบปรามการค้ามนษุ ย์ ขับเคลือ่ นแผนป้องกนั และ
ของจังหวัด ของจังหวดั ปราบปรามการค้ามนุษย์
ของจังหวัด
2. การขบั เคลือ่ นการ 2. เกิดการขับเคลื่อนการ 2. ระดบั ความสำเร็จ
ดำเนนิ งานทีม พม.จังหวัด ดำเนนิ งานทีม พม.จงั หวัด ในการขับเคลื่อนการดำเนินงาน
(One Home) เพื่อให้เกิดการ (One Home) เพื่อให้เกิดการ ทีม พม.จังหวดั (One Home)
บรู ณาการในการสง่ มอบงาน บรู ณาการในการส่งมอบงาน
บริการสงั คม บริการสังคม
3. การช่วยเหลอื คุ้มครอง 3. เกิดการขบั เคลือ่ นการ 3. ระดบั ความสำเร็จของการ
ผถู้ ูกกระทำความรุนแรง ช่วยเหลอื คุ้มครองผู้ถูกกระทำ ชว่ ยเหลอื คุ้มครองผู้ถูกกระทำ
ในครอบครวั ความรุนแรงในครอบครัว ความรุนแรงในครอบครวั
๒๗
2.1 การขับเคลื่อนแผนป้องกันและปราบปรามการคา้ มนุษยข์ องจังหวัด
ความเชื่อมโยงกบั ยทุ ธศาสตรช์ าติ
แผนแมบ่ ทภายใตย้ ทุ ธศาสตร์ชาติ/แผน ๑๒ / นโยบายรฐั บาล
ประเด็นยทุ ธศาสตร/์ เป้าหมายของ ()
กระทรวง/สป .พม.
แผนแมบ่ ทฯ แผนฯ ๑๒ นโยบาย แผนปฏิรปู
ยทุ ธศาสตรท์ ี่ ๒: สร้างหลักประกัน
ทางสงั คมทีค่ รอบคลุมและเหมาะสม รัฐบาล ประเทศ
กบั กลุม่ เป้าหมายเฉพาะ
✓✓✓
ชือ่ ตวั ชีว้ ดั ขอ้ มูลพืน้ ฐาน (Baseline date) หมายเหตุ
ระดบั ความสำเรจ็ ในการขับเคลื่อนแผน ปี ๒๕๖๑ ปี ๒๕๖๒ ปี ๒๕๖๓
ปอ้ งกันและปราบปรามการค้ามนษุ ย์ของ
จงั หวัด --5
คำอธิบาย :
๑. สำนักงานพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์จังหวัด (พมจ.) บูรณาการความ
ร่วมมือกับหน่วยงาน ที่เกี่ยวข้องเพื่อวิเคราะห์และจัดทำรายงานสถานการณ์การค้ามนุษย์ของจังหวัด
ประจำปี๒๕๖๓ จำนวน ๑ ฉบับ เสนอต่อคณะอนุกรรมการ ศปคม.จังหวัด เพื่อพิจารณาให้ความ
เหน็ ชอบและใช้เป็นข้อมลู ประกอบการวางแผนการจัดทำแผนปฏิบัติการในระดบั จังหวัด
๒. พมจ. บูรณาการความร่วมมือกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้องในจังหวัด เพื่อจัดทำแผนปฏิบัติ
การเพื่อป้องกันและปราบปรามการค้ามนุษย์จังหวัด ประจำปี ๒๕๖๔ และแผนงาน/โครงการที่ต้อง
ขอรับการสนับสนุนงบประมาณจากกองทุนป้องกันและปราบปรามการค้ามนุษย์ จำนวน ๑ ฉบับ ทั้งนี้
เพื่อให้หน่วยงานที่เกี่ยวข้องในจังหวัดใช้เป็นกรอบแนวทางในการดำเนินงานป้องกันและปราบปรามการค้า
มนษุ ยข์ องจังหวัด
๓. พมจ. ดำเนนิ การโครงการ/กิจกรรมตามแผนปฏิบัติการเพือ่ ป้องกันและปราบปราม
การค้ามนษุ ย์จงั หวัด ประจำปี ๒๕๖๔ (ในสว่ นที่ได้รับการจดั สรรงบประมาณประจำปี ๒๕๖๔ จากกอง
ต่อต้านการค้ามนุษย์)จำนวน ๓ โครงการ/กิจกรรม พร้อมทั้งสรุปรายงานการประชุม หรือรายงานผล
๒๘
การดำเนินโครงการ และรวบรวมส่งให้กองต่อต้านการค้ามนุษย์ ทราบด้วย (ภายในวันที่ ๕ ตุลาคม
๒๕๖๔) ได้แก่
๓.๑ จัดประชุมคณะอนุกรรมการศูนย์ปฏิบัติการป้องกันและปราบปรามการค้า
มนุษย์จังหวัด (ศปคม.จังหวัด) โดยจัดสรรงบประมาณตามระดับสถานการณ์การค้ามนุษย์ในพื้นที่
แบ่งเป็น ๔ กล่มุ จังหวดั ดังน้ี
กลุ่ม A (เฝา้ ระวังเป็นพิเศษ) จำนวน ๗ จงั หวดั ดำเนนิ การ ๕ ครั้ง
กลุม่ B (เฝา้ ระวงั ) จำนวน ๑๖ จงั หวัด ดำเนนิ การ ๔ ครั้ง
กลุม่ C (เล็กน้อย) จำนวน ๑๒ จงั หวดั ดำเนนิ การ ๓ คร้ัง
กลมุ่ D (ปกติ) จำนวน ๓๒ จังหวดั ดำเนินการ ๒ ครง้ั
ระยะเวลาดำเนินการ : พฤศจกิ ายน ๒๕๖๓ – กนั ยายน ๒๕๖๔
๓.๒ โครงการเสริมสร้างและพัฒนาศักยภาพเครือข่ายภาคประชาสังคมเพื่อเป็นผู้
เฝา้ ระวังทางสังคมด้านการตอ่ ต้านการค้ามนษุ ย์ จำนวน ๑ รนุ่
ระยะเวลาดำเนินการ : พฤศจกิ ายน ๒๕๖๓ – มีนาคม ๒๕๖๔
๓.๓ โครงการเสริมสร้างและพัฒนาศักยภาพเด็กและเยาวชน เพื่อต่อต้านการค้า
มนุษย์ระดับพืน้ ที่ จำนวน ๑ รนุ่
ระยะเวลาดำเนินการ : เมษายน ๒๕๖๔ – สิงหาคม ๒๕๖๔
หมายเหตุ : ผลการจัดระดับสถานการณ์การค้ามนุษย์ของจังหวัดตามข้อ ๓.๑ จัดทำโดยสำนักงาน
ส่งเสริมและสนับสนุนวิชาการ (สสว.) ทั้ง ๑๑ แห่ง โดยในปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๒ กองต่อต้าน
การค้ามนุษย์ได้จัดสรรงบประมาณให้ สสว. เป็นผู้ดำเนินการจัดทำรายงานสถานการณ์การค้ามนุษย์
รายภูมิภาค และการจัดระดับสถานการณ์การค้ามนุษย์ของจังหวัด ( Grouping) เพื่อเป็นข้อมูล
เชิงวิชาการสำหรับประกอบการจัดทำนโยบาย ยุทธศาสตร์ และแนวทางการดำเนินงานป้องกันและ
ปราบปรามการค้ามนุษย์ รวมถึงสร้างเกณฑ์การจัดระดับสถานการณ์การค้ามนุษย์ของจังหวัด
(Grouping) เพื่อประกอบการจัดสรรงบประมาณประจำปีให้แก่สำนักงานพัฒนาสังคมและความมั่นคง
ของมนุษย์จังหวดั ให้สอดคล้องกับความตอ้ งการของหน่วยงานและบริบทของพื้นที่อย่างเหมาะสม
๒๙
เกณฑ์การประเมิน / ค่าเปา้ หมาย : รอบ ๖ เดือน (๑ ต.ค. ๒๕๖๓ – ๓๑ มี.ค. ๒๕๖๔)
ระดบั คำอธิบายเกณฑ์การใหค้ ะแนน
คะแนน
๑ พมจ. รวบรวมข้อมูลสถานการณ์การค้ามนุษย์ ประจำปี ๒๕๖๓จากหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
ในจงั หวัด
๒ จัดทำรายงานสถานการณ์การค้ามนุษย์ของจังหวัด ประจำปี ๒๕๖๓เพื่อนำข้อมูล
มาวิเคราะห์และใช้ประกอบการขับเคลือ่ นงานของจังหวดั
๓ จัดทำแผนปฏิบัติการเพื่อป้องกันและปราบปรามการค้ามนุษย์จังหวัด ประจำปี ๒๕๖๔
และแผนงาน/โครงการที่ต้องขอรับการสนับสนุนงบประมาณจากกองทุนป้องกันและ
ปราบปรามการค้ามนุษย์ เพื่อให้หน่วยงานที่เกี่ยวข้องในจังหวัดใช้เป็นกรอบแนวทางในการ
ดำเนนิ งานป้องกนั และปราบปรามการคา้ มนษุ ย์ของจังหวดั
๔ รายงานสถานการณ์การค้ามนุษย์ของจังหวัด ประจำปี ๒๕๖๓ และแผนปฏิบัติการป้องกัน
และปราบปรามการค้ามนุษย์จังหวัด ประจำปี ๒๕๖๔ ได้รับความเห็นชอบ
จากคณะอนกุ รรมการศนู ย์ปฏิบัติการป้องกันและปราบปรามการค้ามนษุ ยจ์ ังหวดั
๕ จัดส่งเล่มเอกสารทั้ง ๒ ฉบับ ให้กระทรวง พม. (กองต่อต้านการค้ามนุษย์) ภายในวันที่ ๕
เมษายน ๒๕๖๔
เกณฑ์การประเมิน / ค่าเปา้ หมาย : รอบ ๑๒ เดือน (๑ ต.ค. ๒๕๖๓ – ๓๐ ก.ย. ๒๕๖๔)
ระดับ คำอธิบายเกณฑ์การให้คะแนน
คะแนน
๑ ดำเนนิ โครงการ/กิจกรรมตามแผนปฏิบตั ิการเพื่อป้องกันและปราบปรามการค้ามนุษย์จังหวัด
ประจำปี ๒๕๖๔ แล้วเสร็จ จำนวน ๑ โครงการ/กิจกรรม
๒ ดำเนนิ โครงการ/กิจกรรมตามแผนปฏิบัติการเพื่อป้องกันและปราบปรามการค้ามนุษย์จังหวัด
ประจำปี ๒๕๖๔ แล้วเสรจ็ จำนวน ๒ โครงการ/กิจกรรม
๓ ดำเนนิ โครงการ/กิจกรรมตามแผนปฏิบัติการเพื่อป้องกันและปราบปรามการค้ามนุษย์จังหวัด
ประจำปี ๒๕๖๔ แล้วเสร็จ จำนวน ๒ โครงการ แต่จัดประชุม ศปคม.จังหวัด ไม่ครบ
ตามจำนวนครั้งทีก่ ำหนด
๔ ดำเนนิ โครงการ/กิจกรรมตามแผนปฏิบตั ิการเพื่อป้องกันและปราบปรามการค้ามนุษย์จังหวัด
ประจำปี ๒๕๖๔ แล้วเสร็จทั้ง ๓ โครงการ/กิจกรรม แต่ขาดเอกสารสรุปรายงานการประชุม
หรอื รายงานผลการดำเนนิ โครงการ
๓๐
ระดับ คำอธิบายเกณฑก์ ารใหค้ ะแนน
คะแนน
ดำเนนิ โครงการ/กิจกรรมตามแผนปฏิบัติการเพื่อป้องกันและปราบปรามการค้ามนุษย์จังหวัด
5 ประจำปี ๒๕๖๔ แล้วเสร็จทั้ง ๓ โครงการ/กิจกรรม พร้อมทั้งสรุปรายงานการประชุม หรือ
รายงานผลการดำเนินโครงการ และรวบรวมสง่ ใหก้ องต่อต้านการค้ามนุษย์ทราบภายในวันที่
๕ ตลุ าคม ๒๕๖๔
เง่อื นไข (ถา้ มี) :
1. รอบ ๖ เดือน จัดส่งเอกสารประกอบการรายงานผลการดำเนินงานตามตัวชี้วัด ให้กองต่อต้านการ
ค้ามนุษย์ ภายในวนั ที่ ๕ เมษายน ๒๕๖๔
2. รอบ ๑๒ เดือน จัดส่งเอกสารประกอบการรายงานผลการดำเนินงานตามตัวชี้วัด ให้กองต่อต้านการ
ค้ามนษุ ย์ ภายในวนั ที่ ๕ ตุลาคม ๒๕๖๔
3. รายละเอียดการแบ่งกลุ่มจังหวัดตามระดับสถานการณ์การค้ามนุษย์ในพื้นที่ เพื่อจัดสรรงบประมาณ
ดำเนนิ การให้แก่สำนกั งาน พมจ. ๗๖ จังหวดั ตามเอกสารแนบ
แหล่งข้อมลู /วิธีการจดั เก็บขอ้ มูล :
๑. ข้อมูลและสถิติจากระบบฐานข้อมูลของประเทศไทยด้านการดำเนินคดีและการช่วยเหลือผู้เสียหาย
จากการค้ามนุษย์ (https://www.e-aht.com)
๒. ข้อมลู จากหน่วยงานที่เกี่ยวข้องกับการดำเนินงานป้องกันและปราบปรามการค้ามนุษย์ในจงั หวัด
(ที่มา : เอกสาร “รายละเอียดตัวชี้วัดประเมินผลการปฏิบัติราชการตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ
ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 ของ สำนักงานพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์จังหวัด
สำนักงานปลัดกระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์, กลุ่มพัฒนาระบบบริหาร สป.พม.,
2564)
๓๑
การแบง่ กลมุ่ จงั หวัดตามระดับสถานการณ์ในพื้นที่ เพือ่ จัดสรรงบประมาณดำเนินการ
ให้แก่สำนักงาน พมจ. 76 จังหวัด
กลุม่ A (เฝา้ ระวังเปน็ พิเศษ) กลมุ่ B (เฝ้าระวงั ) กลุม่ C (เลก็ นอ้ ย) กล่มุ D (ปกติ)
ที่ จังหวัด ที่ จงั หวัด ที่ จงั หวัด ที่ จังหวัด
1 เชียงใหม่ 1 นครสวรรค์ 1 นครพนม 1 มกุ ดาหาร
2 เชยี งราย 2 พะเยา 2 สกลนคร 2 ยโสธร
3 แพร่ 3 ชมุ พร 3 ลพบรุ ี 3 ศรีสะเกษ
4 ระนอง 4 สรุ าษฎรธ์ านี 4 สิงหบ์ ุรี 4 อำนาจเจริญ
5 สงขลา 5 นราธิวาส 5 ชยั นาท 5 อบุ ลราชธานี
6 ชลบุรี 6 ปัตตานี 6 อ่างทอง 6 กำแพงเพชร
7 จนั ทบุรี 7 สตลู 7 พิจิตร 7 ลำพูน
8 ตาก 8 อุทัยธานี 8 น่าน
9 พิษณุโลก 9 แมฮ่ อ่ งสอน 9 ตรงั
10 นครราชสีมา 10 ลำปาง 10 พทั ลงุ
11 บรุ ีรัมย์ 11 กระบี่ 11 ยะลา
12 ขอนแก่น 12 พังงา 12 เพชรบรู ณ์
13 ระยอง 13 นครศรธี รรมราช 13 สุโขทัย
14 นครปฐม 14 อุตรดิตถ์
15 สพุ รรณบุรี 14 ภูเกต็ 15 นครนายก
16 ประจวบคีรขี นั ธ์ 15 สมทุ รปราการ 16 ปทมุ ธานี
16 สุรินทร์ 17 สระบุรี
17 มหาสารคาม 18 นนทบรุ ี
18 ร้อยเอด็ 19 พระนครศรีอยุธยา
19 กาญจนบรุ ี 20 ชยั ภูมิ
20 ฉะเชงิ เทรา 21 กาฬสินธ์ุ
21 ปราจีนบุรี 22 หนองคาย
23 อดุ รธานี
กลุ่ม A เฝา้ ระวังเปน็ พิเศษ 7 จังหวัด 24 บึงกาฬ
กลุ่ม B เฝา้ ระวงั 16 จงั หวดั 25 เลย
กลุ่ม C เล็กนอ้ ย 21 จงั หวัด 26 หนองบัวลำภู
กลมุ่ D ปกติ 32 จังหวดั 27 สระแก้ว
28 ตราด
29 ราชบรุ ี
30 สมุทรสาคร
31 สมทุ รสงคราม
32 เพชรบรุ ี
๓๒
2.2 การขบั เคลือ่ นการดำเนินงานทมี พม. จังหวัด (One Home)
เพือ่ ให้เกิดการบูรณาการในการสง่ มอบบรกิ ารสังคม (สป.)
ความเชือ่ มโยงกับยทุ ธศาสตรช์ าติ /
ประเดน็ ยทุ ธศาสตร/์ เปา้ หมาย แผนแมบ่ ทภายใตย้ ทุ ธศาสตร์ชาติ / แผนฯ 12 / นโยบายรัฐบาล
ของกระทรวง/กรม
(√)
ประเดน็ ยุทธศ์ าสตร์ พม.
- ยกระดับองค์กรสู่การเป็นผนู้ ำ แผนแมบ่ ทฯ แผนฯ 12 นโยบายรัฐบาล อืน่ ๆ
ทางสงั คม
ประเดน็ ยุทธ์ศาสตร์ สป.พม. การบริการ - การปฏิรปู การ -
- ผนึกกำลังทางสงั คมจากทกุ ภาค
ส่วน ประชาชนและ บริหารจดั การ
- เพิม่ ขีดความสามารถในการ
พฒั นาระบบการให้บริการทาง ประสิทธิภาพ ภาครฐั
สงั คม
ภาครฐั
ชือ่ ตวั ชีว้ ดั ข้อมูลพื้นฐาน (Baseline data) หมายเหตุ
ปี 256๑ ปี 256๒ ปี 256๓ -
ระดบั ความสำเรจ็ ในการขบั เคลื่อนการ
ดำเนนิ งานทีม พม.จังหวดั (One Home) -- -
คำอธิบาย :
๑. ทีม พม.จังหวัด (One Home) หมายถึง คณะทำงานขับเคลื่อนการดำเนินงานทีม พม.
จังหวัด (One Home) หมายถึง คณะทำงานที่มีองค์ประกอบ ดังนี้ ผู้อำนวยการสำนักงานส่งเสริมและ
สนับสนุนวิชาการ เป็นที่ปรึกษาและคณะทำงาน พัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์จังหวัด
เป็นประธาน ผู้แทนหน่วยงานสังกัดกระทรวง พม.ทุกหน่วย(รวม พอช.และกคช.) เป็นคณะทำงาน โฆษก
พม. ประจำจังหวัด และหัวหน้ากลุ่ม/ฝ่าย ในสนง.พมจ.ที่ได้รับมอบหมายเป็นคณะทำงานและเลขานุการ
เจ้าหน้าที่ สนง.พมจ.เป็นคณะทำงานและผู้ช่วยเลขานุการ มีหน้าที่กำหนดกรอบและแนวทางการ
ดำเนนิ งาน กำกับติดตามให้มกี ารบูรณาการการดำเนนิ งาน
๒. การขับเคลื่อนการดำเนินงานทีม พม.จังหวัด หมายถึง การดำเนินงานที่มีการ
บูรณาการการทำงานร่วมกันของหน่วยงานและเครือข่าย ประกอบด้วย มิติที่ ๑ ปัจจัยนำเข้า (โครงสร้าง
๓๓
ทีม พม.จังหวัด/ฐานข้อมูลทรัพยากร) มิติที่ ๒ กระบวนการ(การบูรณาการทรัพยากร/การสื่อสาร/
การกำกบั ติดตาม) มิติที่ ๓ วัฒนธรรมการทำงานเปน็ ทีม(การทำงานเป็นทีม/ความสัมพันธ์ของทีม) และมิติ
ที่ ๔ ผลผลิต/ผลลัพธ์(แผนปฏิบัติการระดับจังหวัด/ส่งเสริมสนับสนุน/ประสานการช่วยเหลือผู้ประสบ
ปญั หา)
๓. งาน/โครงการ/กิจกรรม หมายถึง ภารกิจที่ต้องดำเนินการตามแผนปฏิบัติงานประจำปี
งบประมาณ อำนาจหน้าที่ และที่ได้รบั มอบหมาย
การกำหนดค่าเป้าหมาย : รอบ 6 เดือน (1 ต.ค. 63 – 31 มี.ค. 64)
รอบการประเมินผลการปฏิบัติราชการ
ระดบั คะแนน คำอธิบายเกณฑก์ ารใหค้ ะแนน
1 มีคำสั่งแตง่ ต้ังคณะทำงานขับเคลื่อนการดำเนินงานทีม พม. จังหวดั (OneHome) และ
มีการจัดทำฐานข้อมูลทรัพยากร เพื่อเช่อื มโยงและบรู ณาการทรพั ยากร ประกอบด้วย
บุคลากร อาคารสถานที่ งบประมาณ ยานพาหนะ วัสดุอุปกรณ์ ข้อมลู และ
องค์ความรู้
หลกั ฐานประกอบ คำส่ังคณะทำงานขับเคลือ่ นฯ และ ฐานข้อมูลทรัพยากร ในจังหวัด
2 มีการจัดประชุมคณะทำงานขับเคลื่อนฯ เพื่อบูรณาการ การทำงานรว่ มกันภายใน
จังหวดั โดยมีการกำหนดแผนงานในการดำเนินการรว่ มกัน ในรอบ 6 เดือน
(อย่างน้อย 3 คร้ัง) ทั้งน้ีจะต้องมีแผนการขบั เคลือ่ นการดำเนินงานของศูนย์ชว่ ยเหลือ
สังคม 1300 ประจำจงั หวัด รวมอยู่ด้วย
หลกั ฐานประกอบ แผนปฏิบัติงานบูรณาการประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2564 ในรอบ 6 เดือน
3 มีการขบั เคลือ่ นงาน/โครงการ/กิจกรรม ตามแผนฯร่วมกันของ OneHome จงั หวดั
อย่างน้อย ๒ หน่วยงาน และไมน่ ้อยกวา่ 10 กิจกรรม
หลักฐานประกอบ รายงานผลการขับเคลื่อนการดำเนินงาน/โครงการ/กิจกรรม พร้อมภาพถ่าย
4 มีการขับเคลือ่ นงาน/โครงการ/กิจกรรม ตามแผนฯรว่ มกนั ของ OneHome จังหวัด
กับหน่วยงานอน่ื ภายในจังหวัดหรอื ภายนอกจงั หวดั อย่างนอ้ ย 5 กิจกรรม
หลักฐานประกอบ รายงานผลการขบั เคลื่อนดำเนินงาน/โครงการ/กิจกรรม พรอ้ มภาพถ่าย
5 มีการรายงานผลการดำเนินงานตามแผนฯ ในรอบ 6 เดือน
หลักฐานประกอบ รายงานผลการดำเนินงานตามแบบที่กำหนด
๓๔
การกำหนดคา่ เป้าหมาย : รอบ 12 เดือน (1 เม.ย. 64 – 30 ก.ย. 64)
รอบการประเมินผลการปฏิบัติราชการ
ระดบั คะแนน คำอธิบายเกณฑก์ ารให้คะแนน
1 มีการประชุมคณะทำงานขบั เคลือ่ นฯ เพือ่ ทบทวนแผนบูรณาการ ในรอบ 12 เดอื น
(อย่างน้อย 3 คร้ัง) ท้ังนจี้ ะต้องมีแผนการขบั เคลือ่ นการดำเนินงานของศูนย์ช่วยเหลือ
สังคม 1300 ประจำจงั หวัด รวมอยดู่ ้วย
หลกั ฐานประกอบ แผนปฏิบตั ิงานบูรณาการประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 ในรอบ 12 เดอื น
2 มีการขบั เคลื่อนงาน/โครงการ/กิจกรรม ตามแผนฯรว่ มกันของ OneHome จังหวัด
อย่างน้อย ๒ หน่วยงาน และไม่น้อยกว่า 10 กิจกรรม
หลักฐานประกอบ รายงานผลการขบั เคลือ่ นการดำเนินงาน/โครงการ/กิจกรรม พร้อมภาพถ่าย
3 มีการขับเคลือ่ นงาน/โครงการ/กิจกรรม ตามแผนฯรว่ มกันของ OneHome จงั หวดั
กับหนว่ ยงานอืน่ ภายในจังหวัดหรอื ภายนอกจังหวดั อย่างนอ้ ย 5 กิจกรรม
หลกั ฐานประกอบ รายงานผลการขับเคลือ่ นการดำเนินงาน/โครงการ/กิจกรรม พร้อมภาพถ่าย
4 มีรายงานผลการดำเนินงานตามแผน ในรอบ 12 เดือน
หลักฐานประกอบ รายงานผลการดำเนินงานตามแบบที่กำหนด
5 มีการประเมินประสิทธิภาพ ประสทิ ธิผล และความคุ้มค่าในการปฏิบัติงาน และมีการ
ถอดบทเรียนการดำเนินงาน
หลักฐานประกอบ รายงานผลการประเมินประสิทธิภาพ ประสิทธิผล และความคุ้มค่าในการปฏิบตั ิงาน
และการถอดบทเรียนการดำเนินงาน
(ที่มา : เอกสาร “รายละเอียดตัวชี้วัดประเมินผลการปฏิบัติราชการตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ
ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 ของ สำนักงานพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์จังหวัด
สำนักงานปลัดกระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์, กลุ่มพัฒนาระบบบริหาร สป.พม.,
2564)
๓๕
2.3 ระดบั ความสำเร็จของการช่วยเหลือคุ้มครองผู้ถูกกระทำความรนุ แรงในครอบครัว
ประเดน็ ยทุ ธศาสตร/์ เป้าหมาย ความเชื่อมโยงกบั ยทุ ธศาสตร์ชาติ /
ของกระทรวง/กรม แผนแม่บทภายใตย้ ุทธศาสตรช์ าติ / แผนฯ 12 / นโยบายรฐั บาล
ยทุ ธศาสตร์ที่ ๒ : สร้างหลักประกนั (√)
ทางสงั คมทีค่ รอบคลมุ และเหมาะสม แผนแม่บทฯ แผนฯ 12 นโยบายรฐั บาล อื่น ๆ
กบั กลุ่มเป้าหมายเฉพาะ
√√√
ชื่อตัวชี้วัด ข้อมลู พืน้ ฐาน (Baseline data) หมายเหตุ
-
ระดับความสำเรจ็ ของการช่วยเหลอื ปี 256๑ ปี 256๒ ปี 256๓
คุ้มครองผู้ถกู กระทำความรุนแรงใน
ครอบครัว -- -
คำอธิบาย :
1. ความรุนแรงในครอบครัว หมายถึง การกระทำใด ๆ โดยมุงประสงคใหเกิดอันตรายแกรงกาย
จติ ใจ หรอื สุขภาพ หรือกระทำโดยเจตนาในลักษณะที่นาจะกอใหเกิดอันตรายแกรงกาย จิตใจ หรือ
สุขภาพของบุคคลในครอบครัว หรือบังคับหรือใช อำนาจครอบงำผิดคลองธรรมใหบุคคล
ในครอบครัวตองกระทำการ ไม่กระทำการ หรอื ยอมรับการกระทำอย่างหนง่ึ อยา่ งใดโดยมิชอบ แต่ไม่
รวมถึงการกระทำโดยประมาท
2. ผู้ถกู กระทำความรนุ แรงในครอบครัว หมายถึงบคุ คลในครอบครวั (คูสมรส คูสมรสเดิม ผทู้ ีอ่ ยู่กิน
หรอื เคยอยกู่ ินฉันสามีภริยาโดยมิได้จดทะเบียนสมรส บตุ ร บุตรบุญธรรม สมาชิกในครอบครัว รวมท้ัง
บุคคลใด ๆ ที่ตองพึ่งพาอาศัยและอยู่ในครัวเรือนเดียวกัน) ที่ถูกกระทำด้วยความรุนแรงโดยบุคคล
ในครอบครัวเดียวกัน
3. การช่วยเหลือคุ้มครอง หมายถึง การคัดกรองสภาพปัญหาความรุนแรงในครอบครัวเข้าสู่
กระบวนการให้ความช่วยเหลือคุ้มครอง (โดยสร้างความเข้าใจเกี่ยวกับสิทธิตามพระราชบัญญัติ
คุ้มครองผู้ถูกกระทำด้วยความรุนแรงในครอบครวั พ.ศ. 2550)
4. บันทึกข้อมูล ลงระบบในเว็บไซต์ www.violence.in.th หมายถึง บันทึกข้อมูลพื้นฐานของ
ผถู้ กู กระทำความรุนแรงในครอบครัว สภาพปัญหา และกระบวนการให้ความคุ้มครอง
๓๖
5. การติดตาม หมายถึง การตดิ ตามผลหลังจากที่ได้ใหค้ วามช่วยเหลือคุ้มครองผถู้ กู กระทำด้วยความ
รุนแรงในครอบครัว ที่รับแจ้งในช่วงเดือนตุลาคม 2563 –สิงหาคม 2564 ทางวิธีการต่าง ๆ เช่น
สอบถามทางโทรศัพท์ ลงพื้นที่เยี่ยมบ้าน สอบถามญาติ/เพื่อนบ้าน/คนในชุมชน เป็นต้น โดยกำหนด
รอบการตดิ ตาม อย่างน้อย 1 ครงั้ ต่อ case
การกำหนดค่าเป้าหมาย : รอบ 6 เดือน (1 ต.ค. 63 – 31 มี.ค. 64)
ระดับคะแนน คำอธิบายเกณฑ์การให้คะแนน
1 มีการมอบหมายเจ้าหน้าที่รับผดิ ชอบดำเนินการชว่ ยเหลือคมุ้ ครองผถู้ กู กระทำความรนุ แรง
ในครอบครวั
2 มีชอ่ งทางการรับแจ้งการกระทำความรุนแรงในครอบครัว
3 บันทึกข้อมลู การรับแจ้งการกระทำความรุนแรงในครอบครัวตามแบบสรุปผล
การดำเนินการแก้ไขปัญหาความรนุ แรงต่อเด็ก สตรี และบคุ คลในครอบครวั (ศปพ. 04)
ทุก case ที่ได้รบั แจง้
4 บันทึกข้อมลู ของผถู้ กู กระทำความรุนแรงในครอบครัว ลงระบบในเวบ็ ไซต์
www.violence.in.th ภายในวันสุดท้ายของทกุ เดือน
5 รายงานผลการชว่ ยเหลือคุ้มครองผู้ถูกกระทำความรุนแรงในครอบครวั ประจำเดือนให้ สค.
ทราบภายในทุกวนั ที่ 5 ของเดือนถัดไป
การกำหนดค่าเป้าหมาย : รอบ 12 เดือน (1 เม.ย. 64 – 30 ก.ย. 64)
ระดบั คะแนน คำอธิบายเกณฑ์การให้คะแนน
1 มีการรับเรอ่ื งเพือ่ คดั กรองสภาพปญั หาความรุนแรง
2 บันทึกข้อมูลของผถู้ ูกกระทำความรนุ แรงในครอบครวั ทกุ caseลงในระบบบนเวบ็ ไซต์
www.violence.in.th ภายในวนั สุดท้ายของทกุ เดือน
3 ร้อยละของผถู้ ูกกระทำด้วยความรนุ แรงในครอบครัวที่ได้รบั การชว่ ยเหลอื คุ้มครองจาก
กระทรวงฯร้อยละ 100
4 - ร้อยละ 100 ของกรณีความรุนแรงในครอบครัวที่ได้รับการช่วยเหลอื คุ้มครองจาก
กระทรวงฯ จงั หวัดมีการติดตามcase อย่างนอ้ ย 1 คร้ังต่อ case
- ผลการติดตามcase
5 รายงานสถานการณค์ วามรุนแรงในครอบครวั ระดบั จังหวัดประจำปีในรปู แบบ Infographic
๓๗
เงอ่ื นไข :
การนบั คะแนนในแตล่ ะข้ันตอนจะนบั แยกจากกนั โดยใหแ้ ต่ละขั้นตอนมีคา่ คะแนนเปน็ 1 หากขั้นตอนใด
ดำเนนิ การได้ไมค่ รบถ้วนจะปรบั ลดค่าคะแนนลงโดยเทียบตามบัญญัติไตรยางค์ตามสัดส่วนของผลการ
ดำเนนิ งานทีด่ ำเนินงานสำเรจ็ ต่อเป้าหมายผลการดำเนินงานทั้งหมด
แหล่งขอ้ มลู /วิธีการจดั เกบ็ ขอ้ มลู :
แหลง่ ข้อมลู ผถู้ ูกกระทำความรุนแรงในครอบครวั
วิธีการจัดเกบ็ 1. แบบสรปุ ผลการดำเนินการแก้ไขปัญหาความรนุ แรงตอ่ เด็ก สตรี และบคุ คลใน
ข้อมลู ครอบครัว (ศปพ. 04)
2. ระบบ www.violence.in.th
3. รายงานสรุปผลการช่วยเหลือคุ้มครองสวสั ดิภาพผถู้ กู กระทำความรุนแรงในครอบครัว
ของจงั หวดั
4. แบบรายงานผลการตดิ ตามผถู้ กู กระทำความรุนแรงในครอบครัวทีไ่ ด้รบั การชว่ ยเหลือ
คุ้มครอง
(ที่มา : เอกสาร “รายละเอียดตัวชี้วัดประเมินผลการปฏิบัติราชการตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ
ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 ของ สำนักงานพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์จังหวัด
สำนักงานปลัดกระทรวงการพัฒนาสงั คมและความมั่นคงของมนุษย์, กลุ่มพัฒนาระบบบริหาร สป.พม.,
2564)
๓๘
ประเด็นการตรวจราชการท่ี 3
การสง่ เสริมและพัฒนาเครอื ข่าย
ประเด็นการตรวจราชการ : การส่งเสริมและพัฒนาเครอื ข่าย
งาน/โครงการสำคญั เป้าหมาย ตัวชีว้ ัด
1. การขับเคลือ่ นงาน 1. การส่งเสริมและพฒั นา 1. ร้อยละผสู้ มคั รอาสาสมัคร
อาสาสมัครพฒั นาสงั คมและ อาสาสมัครพัฒนาสงั คมและ พฒั นาสังคมและความมนั่ คงของ
ความมน่ั คงของมนษุ ย์ ความมนั่ คงของมนุษย์ เพื่อเป็น มนุษยใ์ หม่
กลไกการขบั เคลื่อนการพัฒนา
สังคม
2. การขบั เคลือ่ นศนู ยส์ ง่ เสริม 2. การส่งเสริมความรบั ผดิ ชอบ 2. ระดบั ความสำเร็จของการ
ความรบั ผิดชอบตอ่ สังคม ต่อสังคมของภาคธรุ กิจระดับ สง่ เสริมความรับผดิ ชอบ
ของภาคธรุ กิจระดับจงั หวัด จังหวดั เพือ่ มีส่วนร่วม ตอ่ สังคมของภาคธุรกิจระดับ
รบั ผิดชอบต่อสังคมเชิงบรู ณา จงั หวัด
การ และเกิดการจัดสวัสดิการ
สงั คมแกก่ ล่มุ เป้าหมาย
3. การเสริมสร้างศกั ยภาพ 3. การเสริมสร้างศกั ยภาพ 3. ระดับความสำเร็จของการ
ศูนยพ์ ัฒนาคุณภาพชวี ิตและ ศนู ย์พัฒนาคุณภาพชวี ิตและ เสริมสรา้ งศกั ยภาพ
สง่ เสริมอาชพี ผสู้ ูงอายุ ส่งเสริมอาชพี ผสู้ ูงอายุ ศนู ย์พฒั นาคุณภาพชวี ิตและ
(ศพอส.) สง่ เสริมอาชพี ผสู้ ูงอายุ (ศพอส.)
4. การขบั เคลื่อนการ 4. เกิดการขับเคลื่อนการ 4. ระดบั ความสำเร็จของการ
ดำเนนิ งานคุ้มครองเดก็ ระดับ ดำเนนิ งานคุ้มครองเด็กระดับ ขับเคลือ่ นการดำเนินงานคุ้มครอง
จังหวัด จังหวดั เด็กระดับจงั หวดั
5. การขับเคลือ่ นงานด้านการ 5. คนพิการได้รบั การสง่ เสริม 5. ระดับความสำเรจ็ ของการ
ส่งเสริมและพัฒนาคณุ ภาพชีวติ และพัฒนาคุณภาพชีวติ ขับเคลื่อนงานด้านการส่งเสริมและ
คนพิการผ่านกลไกการประชมุ พฒั นาคณุ ภาพชีวติ คนพิการผ่าน
คณะอนกุ รรมการส่งเสริมและ กลไกการประชมุ คณะอนุกรรมการ
พัฒนาคณุ ภาพชีวติ คนพิการ สง่ เสริมและพฒั นาคณุ ภาพชีวติ คน
ประจำจงั หวัด พิการประจำจังหวัด
๓๙
3.1 ร้อยละผสู้ มคั รอาสาสมคั รพัฒนาสังคมและความม่นั คงของมนษุ ย์ใหม่
ประเด็นยทุ ธศาสตร์/ ความเชื่อมโยงกบั ยทุ ธศาสตร์ชาติ /
เปา้ หมายของ
กระทรวง/กรม แผนแม่บทภายใต้ยุทธศาสตร์ชาติ / แผนฯ 12 / นโยบายรัฐบาล
(√)
แผนแม่บทฯ แผนฯ 12 นโยบายรฐั บาล อืน่ ๆ
ยุทธศาสตร์ท่ี 3 แผนแม่บทที่ 15 ยุทธศาสตร์ที่ 1 นโยบายหลักด้านที่ นโยบาย ท่าน รมว.
ส่งเสริมภาคีเครือข่าย ประเด็นพลังทาง การเสริมสร้าง 7 การพัฒนาสร้าง พม.
อย่างเป็นระบบส่กู ารเป็น สังคม แ ล ะ พ ั ฒ น า ความเข้มแข็งจาก - เพิ่มจำนวน อพม.
หนุ้ ส่วนทางสังคม (พม.) แผนย่อยที่ 1 ศ ั ก ย ภ า พ ทุ น ฐานราก ข้อ 7.2 ในแต่ละจังหวัด และ
ยุทธศาสตร์ท่ี 3 การเสริมสร้าง มนษุ ย์ สร้างความเข้มแข็ง ได้รับค่าตอบแทน
ส่งเสริม สนับสนุน
ทุกภาคสว่ นให้เกิดพลัง ทุนทางสังคม เป้าหมายที่ 1 ของชมุ ชน ในการเกบ็ ข้อมลู /
ขับเคลือ่ นการจัด
สวัสดิการสงั คมและ คนไทยส่วนใหญ่ อบรมการจัดเก็บ
พัฒนาสงั คมที่เหมาะสม
กับกลุม่ เป้าหมายและ มีทัศนคติและ ข้อมูลโครงการ
พืน้ ที่ (พส.)
พฤติกรรมตาม สำคญั ของ พส.
บรรทัดฐานที่ดี (Flagship Projects)
ของสังคม อพม. “เสริมพลงั
เพิม่ ขนึ้ เพื่อสงั คม”
- พัฒนาอาสาสมคั ร
ให้เข้ามามีส่วนรว่ มใน
การเฝา้ ระวังทาง
สงั คมและประสานสง่
ตอ่ / ขยายเครอื ขา่ ย
ทั้งในและนอก
ประเทศและนำ IT
มาสนบั สนุนการ
พัฒนาศักยภาพ
ข้อมูลพื้นฐาน (Baseline data) ปีงบประมาณ พ.ศ. 2562 ปีงบประมาณ พ.ศ. 2563
76,833 คน 326,724 คน
จำนวน อพม. และผู้สมคั ร อพม.
(76 จงั หวัดไม่รวม กทม.)
๔๐
คำอธิบาย :
· ผู้สมัครอาสาสมัครพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ใหม่ หมายถึง บุคคลที่มี
จติ อาสาและสมัครเข้ารับการอบรม เพื่อเป็นอาสาสมัครพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ (อพม.)
โดยการสมัครด้วยตนเอง ณ สำนกั งานพัฒนาสังคมและความม่ันของมนุษยจ์ ังหวดั หรอื สมัครออนไลน์
และผ่านการพิจารณาคุณสมบัติของ อพม. (เป้าหมายตามนโยบาย รมว.พม. จำนวน 460,409 คน
โดยใช้วธิ ีกำหนดเป้าหมาย 2 วิธี คือ 1) อพม. 1 คน : 40 ครวั เรือนซึง่ ใชว้ ิธีกำหนดเป้าหมายดังกล่าว
จำนวน 70 จังหวัด และ 2) หมู่บ้าน/ชุมชน : อพม. 10 คนซึ่งใช้วิธีกำหนดเป้าหมายดังกล่าว จำนวน
6 จงั หวัด ได้แก่ กรงุ เทพฯ นนทบรุ ี ปทุมธานี สมุทรปราการ ชลบรุ ี และขอนแกน่ ท้ังนี้ เป้าหมาย อพม.
สำหรับสำนกั งาน พมจ. 76 จังหวัด ไม่รวม กรงุ เทพฯ คิดเปน็ จำนวน 452,236 คน)
· คุณสมบัติของอาสาสมคั รพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนษุ ย์ ดงั นี้ 1) มีสัญชาติ
ไทย 2) มีอายุต้ังแตส่ ิบแปดปีบริบูรณ์ขึ้นไป 3)มีชือ่ ในทะเบียนบ้านและอาศัยอยู่ในจังหวัดที่ประสงค์จะ
เป็นอาสาสมัครพฒั นาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ไม่น้อยกว่าหกเดือน 4) มีความรู้ในขั้นสามารถ
อ่านออกเขียนได้ 5) เป็นบุคคลที่สมัครใจเพื่อช่วยเหลือการดำเนินงานตามภารกิจของกระทรวง
การพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ด้วยความเต็มใจ 6) มีความซื่อสัตย์สุจริตมีคุณธรรมและ
ความประพฤติดี 7) ไม่เป็นโรคติดต่อร้ายแรง 8) เป็นผู้มีความจงรักภักดีต่อชาติ ศาสนา
พระมหากษตั รยิ ์ 9)เปน็ ผู้มเี วลาให้กับการทำงานในบทบาท อพม.
· การพัฒนาศักยภาพ อพม. หมายถึง การที่ผู้สมคั ร อพม. เข้าฝึกอบรมเชิงปฏิบัติการ
จำนวน 1 วันเพื่อพัฒนาทักษะและเทคนิคในการปฏิบัติงานของ อพม. (ทั้งนี้ ต้องเรียนในระบบเรียนรู้
ด้วยตนเอง อพม. (E-Learning) จำนวน 5บทเรียนประกอบด้วย 1) เรื่องสถานการณ์ทางสังคม
2) เรื่องแนวคิดและอุดมการณ์ อพม. 3) เรื่องกฎหมายและสิทธิประชาชน 4) เรื่องแนวคิดการพฒั นา
สังคม 5) เรื่องการจัดสวัสดิการสังคมและชุมชน โดยต้องได้คะแนนการประเมินบทเรียนออนไลน์
ไม่ต่ำกว่าร้อยละ 70) หรือ ผู้สมัคร อพม. เรียนผ่านระบบเรียนรู้ด้วยตนเอง อพม. (E-Learning)
จำนวน 10 บทเรียน ประกอบด้วย 1) เรื่องสถานการณ์ทางสังคม 2) เรื่องแนวคิดและอุดมการณ์
อพม. 3) เรือ่ งกฎหมายและสิทธิประชาชน 4) เรื่องแนวคิดการพัฒนาสังคม 5) เรือ่ งการจัดสวัสดิการ
สังคมและชุมชน 6) เรื่องการศึกษาและวิเคราะห์ชุมชน 7) เรื่องเทคนิคการเฝ้าระวังและเตือนภัย
ทางสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ 8) เรื่องการสร้างเครือข่ายขับเคลื่อนงานพัฒนาสังคมและ
ความมั่นคงของมนุษย์ 9) เรื่องการจัดทำแผนงาน/โครงการ และ 10) เรื่องเทคนิคการถอดบทเรียน
การทำงานของ อพม. และการเขียนรายงาน โดยต้องได้คะแนนการประเมนิ บทเรียนออนไลนไ์ มต่ ่ำกว่า
ร้อยละ 70 และจะได้รับประกาศนยี บตั ร ขึน้ ทะเบียน และออกบตั ร อพม.
▪ สตู รการคำนวณ :
จำนวนผูส้ มคั ร อพม. ใหม่ x 100
จำนวนเปา้ หมายผสู้ มคั ร อพม. ใหมใ่ นจังหวัดปี 2564
๔๑
เกณฑ์การประเมิน/ค่าเปา้ หมาย : รอบ 6 เดือน (1 ต.ค. 63– 31 มี.ค. 64)
ระดบั คะแนน คำอธิบายเกณฑ์การให้คะแนน
1 มีผู้สมคั ร อพม. ใหม่ ร้อยละ 10ของเป้าหมายผสู้ มคั ร อพม. ใหม่ในจังหวดั ปี 2564
2 มีผู้สมคั ร อพม. ใหม่ ร้อยละ 20ของเป้าหมายผสู้ มัคร อพม. ใหมใ่ นจังหวัด ปี 2564
3 มีผู้สมคั ร อพม. ใหม่ ร้อยละ 30ของเป้าหมายผสู้ มัคร อพม. ใหมใ่ นจังหวดั ปี 2564
4 มีผู้สมัคร อพม. ใหม่ ร้อยละ 40ของเป้าหมายผสู้ มัคร อพม. ใหม่ในจังหวัด ปี 2564
5 มีผู้สมัคร อพม. ใหม่ ร้อยละ 50ของเป้าหมายผสู้ มคั ร อพม. ใหม่ในจังหวดั ปี 2564
เกณฑก์ ารประเมิน/ค่าเป้าหมาย : รอบ 12 เดือน (1 ต.ค. 63– 30 ก.ย. 64)
ระดับคะแนน คำอธิบายเกณฑก์ ารให้คะแนน
1 มีผู้สมคั ร อพม. ใหม่ ร้อยละ 60ของเป้าหมายผสู้ มคั ร อพม. ใหมใ่ นจังหวัด ปี 2564
2 มีผู้สมัคร อพม. ใหม่ ร้อยละ 70ของเป้าหมายผสู้ มัคร อพม. ใหม่ในจงั หวัด ปี 2564
3 มีผู้สมัคร อพม. ใหม่ ร้อยละ 80ของเป้าหมายผู้สมคั ร อพม. ใหม่ในจังหวัด ปี 2564
และมีการพฒั นาศกั ยภาพ อพม. ได้จำนวนต่ำกว่าเป้าหมายตามงบประมาณทีไ่ ด้รับจดั สรร
4 มีผู้สมคั ร อพม. ใหม่ ร้อยละ 90ของเป้าหมายผู้สมัคร อพม. ใหม่ในจังหวดั ปี 2564
และมีการพฒั นาศักยภาพ อพม. ได้จำนวนตามเป้าหมายตามงบประมาณทีไ่ ด้รบั จัดสรร
5 มีผู้สมคั ร อพม. ใหม่ ร้อยละ 100ของเป้าหมายผสู้ มัคร อพม. ใหมใ่ นจงั หวัด ปี 2564
และมีการพฒั นาศกั ยภาพ อพม. ได้จำนวนมากกว่าเป้าหมายตามงบประมาณทีไ่ ด้รับ
จดั สรร
แหลง่ ข้อมูล / วิธีการจัดเก็บขอ้ มูล :
1. สำนักงานพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์จังหวัด 76 จังหวัด ดำเนินการรับสมัคร
อาสาสมัครพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ ในพื้นที่จังหวัด และรายงานผลจำนวน
ผู้สมัครอาสาสมัครพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ใหม่ในรอบ 6 เดือน (ณ 31
มีนาคม 2564) และในรอบ 12 เดือน (ณ 30 กนั ยายน 2564) ให้กองกิจการอาสาสมัคร
และภาคประชาสังคม กรมพฒั นาสังคมและสวัสดิการ
2. กรมพัฒนาสังคมและสวัสดิการ ดำเนินงานจัดเก็บรวบรวมและจัดทำฐานข้อมูล อพม.
ภาพรวมของประเทศ การจำแนกข้อมูล อพม. ที่ดำเนินงานโดยส่วนกลาง และข้อมูลราย
จังหวดั และรายงานผลจำนวน อพม. ใหม่ ในรอบ 6 เดือน (ณ 31 มีนาคม 2564) และใน
รอบ 12 เดือน (ณ 30 กนั ยายน 2564) ให้ สป.พม. ทราบ
๔๒
เปา้ หมาย อพม. รายจังหวดั ประจำปี พ.ศ. 2564
๔๓
๔๔
(ที่มา : เอกสาร “รายละเอียดตัวชี้วัดประเมินผลการปฏิบัติราชการตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ
ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 ของ สำนักงานพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์จังหวัด
สำนักงานปลัดกระทรวงการพัฒนาสงั คมและความมั่นคงของมนุษย์, กลุ่มพัฒนาระบบบริหาร สป.พม.,
2564)
๔๕
3.2 ระดับความสำเร็จการส่งเสรมิ ความรับผิดชอบตอ่ สังคมของภาคธุรกิจระดบั จงั หวัด
ความเชือ่ มโยงกบั ยุทธศาสตรช์ าติ /
ประเดน็ ยทุ ธศาสตร์/ แผนแมบ่ ทภายใต้ยทุ ธศาสตรช์ าติ / แผนฯ 12 / นโยบายรัฐบาล
เปา้ หมายของ (✓)
กระทรวง/กรม แผนแม่บทฯ แผนฯ 12 นโยบาย อืน่ ๆ
รัฐบาล
ยุทธศาสตร์ พม. แผนแมบ่ ทที่ 15 ยทุ ธศาสตร์ที่ 1 นโยบายหลกั นโยบาย ปพม.
ยทุ ธศาสตร์ที่ 3 ส่งเสริม ประเด็นพลังทาง การเสริมสร้าง ด้านที่ 7 การ การสรา้ ง
เครือขา่ ย
ภาคีเครือข่ายอยา่ งเปน็ สงั คม และพัฒนา พัฒนาสร้าง การหาความ
รว่ มมอื
ระบบสูก่ ารเปน็ หนุ้ สว่ น แผนยอ่ ยที่ 1 การ ศักยภาพทุน ความเข้มแข็ง จาก สภา
อตุ สาหกรรม /
ทางสังคม เสริมสรา้ งทนุ ทาง มนษุ ย์ จากฐานราก หอการค้า
บริษัท CSR
ยุทธศาสตร์ พส. สงั คม เป้าหมายที่ 5 7.3 ส่งเสริม เข้ามามีส่วน
ร่วม
ยุทธศาสตร์ที่ 1 พัฒนา แผนแมบ่ ทที่ 17 สถาบนั ทางสงั คม บทบาท
ข้อเสนอเชงิ นโยบาย ประเดน็ ความเสมอ มีความเข้มแข็ง ภาคเอกชนใน
กลไก และระบบ ภาคและหลักประกนั และมีสว่ นร่วมใน การช่วยพฒั นา
สวสั ดิการสงั คมและการ ทางสังคม การพฒั นา สังคมและ
พฒั นาสงั คม แผนย่อยที่ 1 การ ประเทศ เพิ่มขึน้ เศรษฐกิจ ฐาน
ยุทธศาสตรท์ ี่ 3 ส่งเสริม คุ้มครองทางสงั คมข้ัน โดยเฉพาะ ราก
สนบั สนนุ ทกุ ภาคสว่ นให้ พืน้ ฐานและ สถาบนั
เกิดพลังขบั เคลือ่ นการจดั หลกั ประกนั ทาง ครอบครัว
สวัสดิการสงั คมและ เศรษฐกิจ สงั คม และ สถาบันการศึกษา
พัฒนาสงั คมที่เหมาะสม สุขภาพ สถาบันทาง
กับกลุ่มเป้าหมายและ ศาสนา ชุมชน
พืน้ ที่ สือ่ มวลชน และ
ภาคเอกชน
๔๖
ชื่อตัวชี้วดั ขอ้ มลู พื้นฐาน (Baseline data) หมายเหตุ
ปี 2561 ปี 2562 ปี 2563
ระดับความสำเรจ็ มีการจัดตั้ง มีการจัดตั้งศนู ย์ มีการจดั ต้ังศนู ย์ส่งเสริม
ของการส่งเสริม ศูนยส์ ง่ เสริม ส่งเสริมความ ความรบั ผดิ ชอบตอ่ สังคม
ความรบั ผดิ ชอบตอ่ ความรับผดิ ชอบ รบั ผดิ ชอบต่อสังคม ของภาคธุรกิจจังหวดั
สงั คมของภาค ต่อสังคมของภาค ของภาคธุรกิจจังหวัด จำนวน 11 จงั หวดั
ธรุ กิจระดับจงั หวัด ธรุ กิจจงั หวัด จำนวน 7 จงั หวดั (จังหวัดขอนแก่น
จำนวน 1 จังหวดั (จงั หวดั สุโขทยั เชยี งใหม่
(จังหวัดนา่ น) สรุ าษฎร์ธานี นครศรธี รรมราช
หมายเหตุ : นครนายก ภเู กต็ พระนครศรีอยุธยา
จังหวดั ราชบุรี มหาสารคาม ยโสธร ระยอง หนองคาย
จัดตงั้ ศนู ย์ฯ เพชรบูรณ์ และ หนองบวั ลำภู
เมื่อปี 2559 ศรีสะเกษ) สมทุ รปราการ อุดรธานี
เชยี งราย)
กรณีที่ 1 สำหรับจังหวัดที่ยังไม่มีการจัดตั้งศูนย์ส่งเสริมความรับผิดชอบต่อสังคมของภาค
ธรุ กิจจงั หวัด
(1. กาฬสินธุ์ 2. กำแพงเพชร 3. จนั ทบุรี 4. ฉะเชงิ เทรา 5. ชัยภมู ิ 6. ชุมพร 7. ชยั นาท
8. ชลบุรี 9. ตรงั 10. ตราด 11. ตาก 12. นครปฐม 13. นครพนม 14. นนทบุรี
15. นครสวรรค์ 16. นราธิวาส 17. บึงกาฬ 18. บรุ ีรัมย์ 19. ปทมุ ธานี
20. ประจวบคีรขี ันธ์ 21. นครราชสีมา 22. พทั ลุง 23. พะเยา 24. พังงา
25. เพชรบรุ ี 26. แพร่ 27. แมฮ่ อ่ งสอน 28. ยะลา 29. ลพบุรี 30. ร้อยเอ็ด 31. ระนอง
32. ลำพนู 33. ลำปาง 34. เลย 35. สกลนคร 36. สงขลา 37. สตูล 38. มุกดาหาร
39. สมทุ รสงคราม 40. สมทุ รสาคร 41. สระบุรี 42. สิงห์บรุ ี 43. สพุ รรณบรุ ี 44. สรุ ินทร์
45. สระแก้ว 46. ปตั ตานี 47. อา่ งทอง 48. ปราจนี บุรี 49. อุตรดิตถ์ 50. อุบลราชธานี
51. อำนาจเจรญิ 52. กาญจนบุรี 53. อทุ ยั ธานี 54. พิษณุโลก 55. พิจติ ร 56. กระบี่)
๔๗
คำอธิบาย :
การส่งเสริมความรับผิดชอบต่อสังคมของภาคธุรกิจ (CSR) หมายถึง การส่งเสริมให้ภาคธุรกิจ
มีการดำเนินกิจกรรมภายใต้หลักคุณธรรม จริยธรรม จรรยาบรรณ และการจัดการที่ดี โดยรับผิดชอบ
ต่อสังคมและสิง่ แวดล้อมทั้งภายในและภายนอกองค์กรอันนำไปสูก่ ารพัฒนาที่ย่งั ยืน
การสง่ เสรมิ ความรับผิดชอบตอ่ สังคมของภาคธุรกิจจังหวัด หมายถึง การสง่ เสริมให้ภาคธรุ กิจ
ในจังหวัดเข้ามามีส่วนร่วมในการดำเนินงานขับเคลื่อนงานของศูนย์ส่งเสริมความรับผิดชอบต่อสังคม
ของภาคธุรกิจจังหวัดและดำเนินกิจกรรมภายใต้หลักคุณธรรม จริยธรรม จรรยาบรรณ และการจัดการ
ทีด่ ี โดยรับผดิ ชอบตอ่ สังคมและสิ่งแวดล้อม ท้ังภายในและภายนอกองค์กร อนั นำไปสกู่ ารพัฒนาที่ยั่งยืน
การเชิญชวนองค์กรภาคธุรกิจเข้าร่วมในการจัดตั้งคณะทำงานขับเคลื่อนการส่งเสริมความ
รับผิดชอบต่อสังคมของภาคธรุ กิจ หมายถึง การประชาสัมพันธเ์ พื่อเชิญชวนผู้แทนองคก์ รภาคธุรกิจ
ภายในจังหวัดที่สนใจเข้าร่วมเป็นคณะทำงานฯ เพื่อขับเคลื่อนงานด้านการส่งเสริมความรับผิดชอบ
ต่อสังคมของภาคธุรกิจในจังหวัดด้วยวิธีการต่าง ๆ อาทิ หนังสือเชิญชวน Info-graphic Facebook Line
เปน็ ต้น
แผนปฏิบตั ิการส่งเสรมิ ความรบั ผิดชอบตอ่ สงั คมของภาคธุรกิจจังหวัด อย่างน้อยจะต้องประกอบไปด้วย
ประเด็น ดังต่อไปนี้ 1) แผนงาน 2) โครงการ/กิจกรรม 3) เป้าหมายของโครงการ/กิจกรรม
4) ระยะเวลาในการดำเนินการ 5) ผรู้ บั ผิดชอบ 6) ทนุ /งบประมาณ 7) แหลง่ ที่มาของทนุ /งบประมาณ
8) ตัวช้วี ัด เปน็ ต้น
การจดั ต้งั ศูนย์ส่งเสรมิ ความรับผิดชอบตอ่ สงั คมของภาคธุรกิจ หมายถึง การจดั ตง้ั ศูนย์ฯ เพื่อเป็น
กลไกในการขับเคลื่อนการส่งเสริมความรับผิดชอบต่อสังคมของภาคธรกิจทุกจังหวัด เพื่อสนับสนุน
ให้ภาคธุรกิจมีส่วนร่วมรับผิดชอบต่อสังคมเชิงบูรณาการ ผ่านกิจกรรมที่ส่งเสริมสนับสนุนการจัด
สวัสดิการสังคมให้กับกลุ่มเป้าหมาย รวมถึงเป็นช่องทางให้ผู้แทนองค์กรภาคธุรกิจ และหน่วยงานอื่น ๆ
ได้แลกเปลีย่ นเรียนรู้ร่วมกัน
๔๘
เกณฑ์การประเมิน/ค่าเปา้ หมาย : รอบ 6 เดือน ( 1 ต.ค. 63 - 31 มี.ค. 64)
ระดับ คำอธิบายเกณฑก์ ารให้คะแนน
คะแนน
1 สำรวจข้อมูลองค์กรภาคธุรกิจที่ดำเนินงานด้านการส่งเสริมความรับผิดชอบต่อสังคม
(CSR) ของจังหวัด โดยมีรายละเอียดอย่างน้อยในประเด็นดังต่อไปนี้ ชือ่ องค์กร ภารกิจ
ขององค์กร กิจกรรม CSR ที่องค์กรดำเนินการ กลุ่มเป้าหมายของกิจกรรม CSR
จำนวนครั้งที่จัดกิจกรรม CSR ต่อปี ผู้ประสานงานขององค์กร มูลค่าการดำเนินงาน
กิจกรรม CSR ขององค์กรต่อปี เปน็ ต้น
หลกั ฐานประกอบ :
1. สำเนาหนังสือประสานการสำรวจข้อมูลองค์กรภาคธุรกิจที่ดำเนินงานด้านการ
ส่งเสริมความรบั ผดิ ชอบตอ่ สังคม (CSR)
2. แบบฟอร์มการสำรวจ
2 จัดทำฐานข้อมูล Excel ทำเนียบองค์กรภาคธุรกิจที่ดำเนินงานด้านการส่งเสริม
ความรับผิดชอบต่อสังคม(CSR) ของจังหวัดตามรายละเอียดข้อมูลที่สำรวจในระดับ
คะแนน ที่ 1
หลักฐานประกอบ : ไฟล์ Excel ทีมีข้อมูลทำเนียบองค์กรภาคธุรกิจดำเนินงาน
ด้านการส่งเสริมความรบั ผดิ ชอบต่อสังคม (CSR) ของจังหวดั ตามรายละเอียดข้อมูล
ทีส่ ำรวจในระดบั คะแนน ที่ 1 ทีค่ รบถ้วนสมบรู ณ์ ตามแบบฟอร์มการสำรวจ
3 ประสานองค์กรภาคธุรกิจตามรายชื่อในทำเนียบ ที่จัดทำในระดับคะแนนที่ 2
เพื่อเชิญชวนเข้าร่วมในการจัดตั้งคณะทำงานขับเคลื่อนการส่งเสริมความรับผิดชอบ
ต่อสงั คมของภาคธุรกิจ
หลกั ฐานประกอบ :
1. สำเนาหนังสอื ประสานเชิญชวนองคก์ รภาคธุรกิจตามรายช่ือในทำเนียบเข้ารว่ ม
ในการจัดตง้ั คณะทำงานขบั เคลื่อนการสง่ เสริมความรบั ผิดชอบตอ่ สังคมของภาค
ธรุ กิจ หรอื เอกสารประชาสัมพันธ์ หรอื หลกั ฐานการเชิญชวนในรปู แบบอืน่ ๆ ตาม
ความเหมาะสมในบริบทของจังหวดั
2. แบบตอบรับการแสดงความสนใจในการเข้าร่วมจัดตั้งคณะทำงานฯ / หลักฐานอืน่
ๆ ทีเ่ หมาะสมทีแ่ สดงให้เหน็ ว่า มีองคก์ รภาคเอกชนสนใจเข้าร่วมกิจกรรมการจดั ตง้ั
คณะทำงานฯ