๔๙
ระดับ คำอธิบายเกณฑก์ ารให้คะแนน
คะแนน
มีคำสั่งแต่งตั้งคณะทำงานขับเคลื่อนการส่งเสริมความรับผิดชอบต่อสังคมของภาค
4 ธรุ กิจจังหวัดที่ผู้มอี ำนาจลงนาม
หลักฐานประกอบ :
5 - คำสั่งแต่งตั้งคณะทำงานขับเคลื่อนการส่งเสริมความรับผิดชอบต่อสังคมของภาค
ธุรกิจจงั หวัดที่ผู้มอี ำนาจลงนาม
จดั ประชมุ คณะทำงานขับเคลื่อนการส่งเสริมความรับผิดชอบต่อสังคมของภาคธุรกิจ
จังหวัด เพื่อจัดทำแผนปฏิบัติการส่งเสริมความรับผิดชอบต่อสังคมของภาคธุรกิจ
จังหวัดปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 โดยจะต้องมีกิจกรรมการจัดตั้งศูนย์ส่งเสริม
ความรบั ผดิ ชอบต่อสงั คมของภาคธรุ กิจของจังหวัดระบใุ นแผน ที่ได้รับความเห็นชอบ
จากคณะทำงานฯ และแจ้งกรมพัฒนาสังคมและสวัสดิการทราบภายในวันที่ 15
มีนาคม 2564
หลกั ฐานประกอบ :
1. รายงานการประชุมคณะทำงานขับเคลื่อนการส่งเสริมความรับผิดชอบต่อสังคม
ของภาคธุรกิจจังหวดั
2. แผนปฏิบัติการส่งเสริมความรับผิดชอบต่อสังคมของภาคธุรกิจจังหวัด
ปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 โดยจะต้องมีกิจกรรมการจัดตั้งศูนย์ส่งเสริม
ความรบั ผดิ ชอบต่อสงั คมของภาคธุรกิจของจังหวัดระบุในแผน ที่ได้รบั ความเห็นชอบ
จากคณะทำงานฯ
3. หนังสือจากจังหวัดแจ้งกรมพัฒนาสังคมและสวัสดิการทราบภายในวันที่ 15
มีนาคม 2564
๕๐
เกณฑ์การประเมิน/ค่าเปา้ หมาย : รอบ 12 เดือน ( 1 เม.ย. - 30 ก.ย. 64)
ระดบั คำอธิบายเกณฑก์ ารให้คะแนน
คะแนน
1 ไม่มีการจัดตั้งศูนย์ส่งเสริมความรับผิดชอบต่อสังคมของภาคธุรกิจของจังหวัด
ตามที่ระบุในแผน
หลักฐานประกอบ :
- รายงานการประชุมคณะทำงานขับเคลื่อนการส่งเสริมความรับผิดชอบ
ตอ่ สังคมของภาคธุรกิจจังหวดั ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2564
2-
3 มีการจัดตั้งศูนย์ส่งเสริมความรับผิดชอบต่อสังคมของภาคธุรกิจของจังหวัด
ตามที่ระบุในแผน
หลกั ฐานประกอบ :
1. รายงานการประชุมคณะทำงานขับเคลื่อนการส่งเสริมความรับผิดชอบต่อสังคม
ของภาคธุรกิจจังหวัด ที่ระบุว่ามีการจัดตั้งศูนย์ส่งเสริมความรับผิดชอบต่อสังคม
ของภาคธุรกิจของจังหวัด
2. คำส่ังจัดตั้งศนู ย์ส่งเสริมความรับผดิ ชอบต่อสังคมของภาคธรุ กิจของจังหวัด
4-
5 มีการดำเนินงานตามแผนปฏิบัติการส่งเสริมความรับผิดชอบต่อสังคมของภาค
ธุรกิจจังหวัด ปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 ไม่ต่ำกว่าร้อยละ 50 โดยมีการรายงาน
ผลต่อคณะทำงานขับเคลื่อนการส่งเสริมความรับผิดชอบต่อสังคมของภาคธุรกิจ
จังหวัด และแจ้งกรมพัฒนาสังคมและสวัสดิการทราบ ภายในวันที่ 31 สิงหาคม
2564
หลกั ฐานประกอบ :
1. รายงานผลการดำเนินงานตามแผนปฏิบัติการส่งเสริมความรับผิดชอบต่อสังคม
ของภาคธรุ กิจจงั หวัด ปีงบประมาณ พ.ศ. 2564
2. รายงานการประชมุ คณะทำงานขับเคลื่อนการส่งเสริมความรับผิดชอบต่อสังคม
ของภาคธุรกิจจังหวัด ที่รบั ทราบผลการดำเนนิ งานตามแผนปฏิบตั ิการสง่ เสริมความ
รับผิดชอบตอ่ สงั คมของภาคธุรกิจจังหวัด ปีงบประมาณ พ.ศ. 2564
3. หนังสือจากจังหวัดแจ้งกรมพัฒนาสังคมและสวัสดิการทราบ ภายในวันที่ 31
สิงหาคม 2564
๕๑
กรณีที่ 2 สำหรับจังหวัดที่มีการจัดตั้งศูนย์ส่งเสริมความรับผิดชอบต่อสังคมของภาคธุรกิจ
จังหวัดแลว้
(1. ราชบรุ ี 2. นา่ น 3. สุโขทยั 4. สรุ าษฎร์ธานี 5. นครนายก 6. ภูเกต็ 7. มหาสารคาม
8. เพชรบรู ณ์ 9. ศรสี ะเกษ 10. ขอนแกน่ 11. เชยี งใหม่ 12. นครศรธี รรมราช
13. พระนครศรีอยุธยา 14. ยโสธร 15. ระยอง 16. หนองคาย 17. หนองบัวลำภู
18. สมุทรปราการ 19. อดุ รธานี 20. เชยี งราย)
คำอธิบาย :
การส่งเสริมความรับผิดชอบต่อสังคมของภาคธุรกิจ (CSR) หมายถึง การส่งเสริมให้ภาคธุรกิจ
มีการดำเนินกิจกรรมภายใต้หลักคุณธรรม จริยธรรม จรรยาบรรณ และการจัดการที่ดี โดยรับผิดชอบต่อ
สังคมและสิ่งแวดล้อมทั้งภายในและภายนอกองค์กรอันนำไปสกู่ ารพัฒนาที่ยั่งยืน
การส่งเสริมความรับผิดชอบต่อสังคมของภาคธุรกิจจังหวัด หมายถึง การส่งเสริมให้ภาคธุรกิจ
ในจังหวัดเข้ามามีส่วนร่วมในการดำเนินงานขับเคลื่อนงานของศูนย์ส่งเสริมความรับผิดชอบต่อสังคม
ของภาคธุรกิจจังหวัดและดำเนินกิจกรรมภายใต้หลักคุณธรรม จริยธรรม จรรยาบรรณ และการจัดการ
ทีด่ ี โดยรบั ผดิ ชอบตอ่ สังคมและสิ่งแวดล้อม ท้ังภายในและภายนอกองค์กร อันนำไปสู่การพัฒนาที่ยงั่ ยืน
แผนปฏิบตั ิการส่งเสรมิ ความรับผิดชอบต่อสังคมของภาคธรุ กิจจงั หวดั อยา่ งน้อยจะต้องประกอบไปด้วย
ประเด็นดังต่อไปนี้ 1) แผนงาน 2) โครงการ/กิจกรรม 3) เป้าหมายของโครงการ/กิจกรรม 4) ระยะเวลา
ในการดำเนินการ 5) ผู้รับผิดชอบ 6) ทุน/งบประมาณ 7) แหล่งที่มาของทุน/งบประมาณ 8) ตัวชี้วัด
เปน็ ต้น
กิจกรรมที่สนับสนุนการจัดสวัสดิการสังคมที่ตอบสนองต่อกลุ่มเป้าหมายตามแนวคิด Productive
Welfare หมายถึง กิจกรรมการให้ความช่วยเหลือกลุ่มเป้าหมายที่ดำเนินการควบคู่กันระหว่างสวัสดิการ
เชิงคุ้มครอง (Protective Welfare) ในการให้ความช่วยเหลือเฉพาะหน้า และสวัสดิการเพื่อการพัฒนาและ
พึ่งตนเองอย่างยั่งยืน (Productive Welfare) ในการให้ความช่วยเหลือโดยใช้การจัดการรายกรณี
(Case Management) และใหค้ วามสำคญั กบั การเสริมพลงั (Empowerment) ผรู้ บั บริการ เครอื ข่าย และประสาน
ทุกภาคส่วนเข้ามามีส่วนร่วมในการจัดสวัสดิการสังคมที่ตรงกับสภาพปัญหาและความต้องการจำเป็น เช่น
การสนับสนุนทุนการศึกษา ทุนประกอบอาชีพ ทุนในการฝึกอาชีพต่าง ๆ เป็นต้น เพื่อให้ผู้รับบริการสามารถ
พึ่งตนเองได้
๕๒
เกณฑก์ ารประเมิน/ค่าเปา้ หมาย : รอบ 6 เดือน ( 1 ต.ค. 63 - 31 มี.ค. 64)
ระดบั คำอธิบายเกณฑก์ ารใหค้ ะแนน
คะแนน
1 จดั ประชุมคณะทำงานขบั เคลือ่ นการสง่ เสริมความรบั ผิดชอบตอ่ สงั คมของภาคธรุ กิจ
จังหวัด/คณะกรรมการหรอื คณะทำงานศูนย์ส่งเสริมความรับผดิ ชอบต่อสังคม
ของภาคธุรกิจจังหวัด และไม่มแี ผนปฏิบตั ิการส่งเสริมความรบั ผิดชอบตอ่ สังคม
ของภาคธรุ กิจจงั หวัด ปีงบประมาณ พ.ศ. 2564
หลักฐานประกอบ :
- รายงานการประชุมคณะทำงานขับเคลื่อนการส่งเสริมความรับผิดชอบต่อสังคม
ของภาคธุรกิจจังหวัด/คณะกรรมการหรือคณะทำงานศูนย์ส่งเสริมความรับผิดชอบ
ต่อสังคมของภาคธรุ กิจจงั หวดั
2-
3 จดั ประชุมคณะทำงานขับเคลือ่ นการส่งเสริมความรบั ผดิ ชอบต่อสังคมของภาคธุรกิจ
จังหวัด/คณะกรรมการหรือคณะทำงานศูนย์ส่งเสริมความรับผิดชอบต่อสังคม
ของภาคธุรกิจจังหวัด และมีแผนปฏิบัติการส่งเสริมความรับผิดชอบต่อสังคม
ของภาคธุรกิจจงั หวดั ปีงบประมาณ 2564 ทีไ่ ด้รบั ความเห็นชอบจากคณะทำงานฯ
หลักฐานประกอบ :
1. รายงานการประชุมคณะทำงานขับเคลื่อนการส่งเสริมความรับผิดชอบต่อสังคม
ของภาคธุรกิจจังหวัด/คณะกรรมการหรือคณะทำงานศูนย์ส่งเสริมความรับผิดชอบ
ต่อสังคมของภาคธุรกิจจังหวัด ที่เห็นชอบแผนปฏิบัติการส่งเสริมความรับผิดชอบ
ต่อสังคมของภาคธุรกิจจังหวดั ปีงบประมาณ พ.ศ. 2564
2. แผนปฏิบัติการส่งเสริมความรับผิดชอบต่อสังคมของภาคธุรกิจจังหวัด
ปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 ที่ได้รบั ความเห็นชอบจากคณะทำงานฯ
4-
5 จัดประชุมคณะทำงานขบั เคลื่อนการส่งเสริมความรับผดิ ชอบต่อสังคมของภาคธุรกิจ
จังหวัด/คณะกรรมการหรือคณะทำงานศูนย์ส่งเสริมความรับผิดชอบต่อสังคม
ของภาคธุรกิจจังหวัด และมีแผนปฏิบัติการส่งเสริมความรับผิดชอบต่อสังคม
ของภาคธุรกิจจังหวัด ปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 โดยมีการระบุกิจกรรมที่สนับสนุน
ด้านการจัดสวัสดิการสังคมที่ตอบสนองต่อกลุ่มเป้าหมายตามแนวคิด Productive
Welfare ที่ได้รับความเห็นชอบจากคณะทำงานฯ และแจ้งให้กรมพัฒนาสังคมและ
สวสั ดิการทราบ ภายในวันที่ 15 มีนาคม 2564
๕๓
ระดบั คำอธิบายเกณฑก์ ารใหค้ ะแนน
คะแนน
หลกั ฐานประกอบ :
1. รายงานการป ระชุมจัดป ระชุ มคณะท ำงานขับเคลื่อนการส่งเสริม
ความรับผิดชอบตอ่ สังคมของภาคธุรกิจจงั หวัด/คณะกรรมการหรือคณะทำงานศูนย์
สง่ เสริมความรับผดิ ชอบตอ่ สังคมของภาคธุรกิจจังหวดั ที่เหน็ ชอบแผนปฏิบตั ิการ
ส่งเสริมความรบั ผดิ ชอบต่อสงั คมของภาคธุรกิจจังหวัด ปีงบประมาณ พ.ศ. 2564
2. แผนปฏิบัติการส่งเสริมความรับผิดชอบต่อสังคมของภาคธุรกิจจังหวัด
ปีงบประมาณ 2564 โดยมีการระบกุ ิจกรรมที่สนบั สนุนด้านการจัดสวัสดิการสังคม
ที่ตอบสนองต่อกลุ่มเป้าหมายตามแนวคิด Productive Welfare ที่ได้รบั ความเห็นชอบ
จากคณะทำงานขับเคลื่อนการส่งเสริมความรับผิดชอบต่อสังคมของภาคธุรกิจ
จังหวัด/คณะกรรมการหรือคณะทำงานศูนย์ส่งเสริมความรับผิดชอบต่อสังคม
ของภาคธุรกิจจงั หวดั
3. หนังสือจากจังหวัดแจ้งกรมพัฒนาสังคมและสวัสดิการทราบ ภายในวันที่ 15
มีนาคม 2564
เกณฑ์การประเมิน/ค่าเปา้ หมาย : รอบ 12 เดือน (1 เม.ย. – 30 ก.ย. 64)
ระดบั คำอธิบายเกณฑก์ ารให้คะแนน
คะแนน
1 ไม่มีการดำเนินการตามแผนปฏิบัติการส่งเสริมความรับผิดชอบต่อสังคมของภาค
ธุรกิจจังหวัด ปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 ในกิจกรรมที่สนับสนุนด้านการจัด
สวัสดิการสังคมทีต่ อบสนองต่อกล่มุ เป้าหมายตามแนวคิด Productive Welfare
หลกั ฐานประกอบ :
- รายงานการประชุมของคณะทำงานขับเคลื่อนการส่งเสริมความรับผิดชอบ
ต่อสังคมของภาคธุรกิจจังหวัด/คณะกรรมการหรือคณะทำงานศูนย์ส่งเสริม
ความรับผิดชอบต่อสังคมของภาคธุรกิจจังหวัด ที่รับทราบผลการดำเนินงาน
ตามแผนปฏิบัติการส่งเสริมความรับผิดชอบต่อสังคมของภาคธุรกิจจังหวัด
ปีงบประมาณ พ.ศ. 2564
2 มีการดำเนินการตามแผนปฏิบัติการส่งเสริมความรับผดิ ชอบต่อสงั คมของภาคธุรกิจ
จังหวัด ปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 ในกิจกรรมที่สนับสนุนด้านการจัดสวัสดิการ
สังคมทีต่ อบสนองตอ่ กลุ่มเป้าหมายตามแนวคิด Productive Welfare
๕๔
ระดับ คำอธิบายเกณฑ์การให้คะแนน
คะแนน
หลกั ฐานประกอบ :
3 - รายงานผลการดำเนินงานตามแผนปฏิบัติการส่งเสริมความรับผิดชอบต่อสังคม
ของภาคธุรกิจจังหวัด ปีงบประมาณ 2564 ในกิจกรรมที่สนับสนุนด้านการจัด
4 สวัสดิการสงั คมทีต่ อบสนองต่อกล่มุ เป้าหมายตามแนวคิด Productive Welfare
มีการดำเนินการตามแผนปฏิบัติการส่งเสริมความรบั ผดิ ชอบตอ่ สงั คมของภาคธุรกิจ
จังหวัด ปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 ในกิจกรรมที่สนับสนุนด้านการจัดสวัสดิการ
สงั คมทีต่ อบสนองตอ่ กลมุ่ เป้าหมายตามแนวคิด Productive Welfare ทีม่ กี ารรายงาน
ผลต่อคณะทำงานรบั ทราบ
หลกั ฐานประกอบ :
1. รายงานการประชุมของคณะทำงานขับเคลื่อนการส่งเสริมความรับผิดชอบ
ต่อสังคมของภาคธุรกิจจังหวัด/คณะกรรมการหรือคณะทำงานศูนย์ส่งเสริม
ความรับผิดชอบต่อสังคมของภาคธุรกิจจังหวัด ที่รับทราบผลการดำเนินงาน
ตามแผนปฏิบัติการส่งเสริ มควา มรับผ ิดช อบต่อสัง คมขอ ง ภ าคธุรกิจ จั ง ห วั ด
ปีงบประมาณ พ.ศ. 2564
2. รายงานผลการดำเนินงานตามแผนปฏิบัติการส่งเสริมความรับผิดชอบต่อสังคม
ของภาคธุรกิจจังหวดั ปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 ในกิจกรรมที่สนับสนุนด้านการจัด
สวสั ดิการสงั คมที่ตอบสนองต่อกลมุ่ เป้าหมายตามแนวคิด Productive Welfare
มีการดำเนินการและมีผลสำเร็จตามเป้าหมายของกิจกรรมที่สนับสนุนด้านการจัด
สวัสดิการสังคมที่ตอบสนองต่อกลุ่มเป้าหมายตามแนวคิด Productive Welfare
ตามแผนปฏิบัติการส่งเสริมความรับผิดชอบต่อสังคมของภาคธุรกิจจังหวัด
ปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 โดยมีการรายงานผลต่อคณะทำงานฯ รับทราบ และ
แจ้งให้กรมพัฒนาสงั คมและสวัสดิการทราบ ภายในวนั ที่ 31 สิงหาคม 2564
หลักฐานประกอบ :
1. รายงานการประชุมของคณะทำงานขับเคลื่อนการส่งเสริมความรับผิดชอบ
ต่อสังคมของภาคธุรกิจจังหวัด/คณะกรรมการหรือคณะทำงานศูนย์ส่งเสริม
ความรับผิดชอบต่อสังคมของภาคธุรกิจจังหวัด ที่รับทราบผลสำเร็จตามเป้าหมาย
ในกิจกรรมที่สนับสนุนด้านการจัดสวัสดิการสังคมที่ตอบสนองต่อกลุ่มเป้าหมาย
ตามแนวคิด Productive Welfare ตามแผนปฏิบัติการส่งเสริมความรับผิดชอบ
ตอ่ สงั คมของภาคธรุ กิจจังหวัด ปีงบประมาณ พ.ศ. 2564
๕๕
ระดับ คำอธิบายเกณฑ์การให้คะแนน
คะแนน
2. รายงานผลสำเร็จตามเป้าหมายในกิจกรรมที่สนับสนุนด้านการจัดสวัสดิการ
5 สังคมที่ตอบสนองต่อกลุ่มเป้าหมายตามแนวคิด Productive Welfareตามแผนปฏิบัติ
การส่งเสริมความรับผดิ ชอบต่อสงั คมของภาคธุรกิจจงั หวดั ปีงบประมาณ
พ.ศ. 2564
3. หนังสือจากจังหวัดแจ้งกรมพัฒนาสังคมและสวัสดิการทราบ ภายในวันที่ 31
สิงหาคม 2564
ร้อยละ 60 ที่มีการดำเนินการตามแผนปฏิบัติการการส่งเสริมความรับผิดชอบ
ต่อสังคมของภาคธุรกิจจังหวัด ปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 และมีผลสำเร็จ
ตามเป้าหมายของแต่ละกิจกรรมตามแผนฯ ที่คณะทำงานฯ รับทราบ โดยต้องมี
กิจกรรมที่สนับสนุนด้านการจัดสวัสดิการสังคมที่ตอบสนองต่อกลุ่มเป้าหมาย
ตามแนวคิด Productive Welfare และแจ้งให้กรมพัฒนาสังคมและสวัสดิการทราบ
ภายในวนั ที่ 31 สิงหาคม 2564
หลักฐานประกอบ :
1. รายงานการประชุมของคณะทำงานขับเคลื่อนการส่งเสริมความรับผิดชอบ
ต่อสังคมของภาคธุรกิจจังหวัด/คณะกรรมการหรือคณะทำงานศูนย์ส่งเสริม
ความรับผิดชอบต่อสังคมของภาคธุรกิจจังหวัด ที่รับทราบผลสำเร็จตามเป้าหมาย
ของแต่ละกิจกรรม (ร้อยละ 60) โดยต้องมีกิจกรรมที่สนับสนุนด้านการจัดสวัสดิการ
สังคมทีต่ อบสนองต่อกลุ่มเป้าหมายตามแนวคิด Productive Welfare ตามแผนปฏิบัติ
การส่งเสริมความรับผิดชอบต่อสังคมของภาคธุรกิจจังหวัด ปีงบประมาณ
พ.ศ. 2564
2. รายงานผลสำเร็จตามเป้าหมายของแต่ละกิจกรรม (ร้อยละ 60)
โดยต้องมีกิจกรรมที่สนับสนุนด้านการจัดสวัสดิการสังคมที่ตอบสนองต่อ
กลุ่มเป้าหมายตามแนวคิด Productive Welfare ตามแผนปฏิบัติการส่งเสริม
ความรับผดิ ชอบต่อสงั คมของภาคธุรกิจจงั หวดั ปีงบประมาณ พ.ศ. 2564
3. หนังสือจากจังหวัดแจ้งกรมพัฒนาสังคมและสวัสดิการทราบ ภายในวันที่ 31
สิงหาคม 2564
๕๖
เงอ่ื นไข :
แหล่งขอ้ มูล / วิธีการจัดเกบ็ ขอ้ มูล :
แหล่งข้อมูล สำนักงานพัฒนาสงั คมและความมน่ั คงของมนุษยจ์ ังหวัด
วิธีการจดั เกบ็ ข้อมลู ดำเนินการจัดเก็บข้อมูลผลการดำเนินงาน ในรายไตรมาสของปี 2564
โดยให้จัดทำรายงานส่งให้กรมพัฒนาสังคมและสวัสดิการทราบผลการ
ดำเนนิ งานในรายไตรมาส
(ที่มา : เอกสาร “รายละเอียดตัวชี้วัดประเมินผลการปฏิบัติราชการตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ
ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 ของ สำนักงานพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์จังหวัด
สำนักงานปลัดกระทรวงการพัฒนาสงั คมและความมั่นคงของมนุษย์, กลุ่มพัฒนาระบบบริหาร สป.พม.,
2564)
๕๗
3.3 ระดับความสำเร็จของการเสรมิ สร้างศกั ยภาพ
ศนู ย์พัฒนาคุณภาพชวี ิตและสง่ เสรมิ อาชีพผูส้ ูงอายุ (ศพอส.)
ประเดน็ ยทุ ธศาสตร์/เป้าหมาย ความเชือ่ มโยงกบั ยทุ ธศาสตรช์ าติ /
ของกระทรวง/กรม
แผนแม่บทภายใตย้ ทุ ธศาสตรช์ าติ/ แผนฯ 12 / นโยบายรฐั บาล
พฒั นาภาคีเครือข่ายใหม้ ีส่วนร่วม
พัฒนาศักยภาพผสู้ งู อายุ และ (√)
เตรียมความพร้อมรองรบั สังคม
ผสู้ งู อายุ แผนแมบ่ ทฯ แผนฯ 12 นโยบาย อืน่ ๆ
รฐั บาล
แผนแม่บทที่ 15 ยุทธศาสตร์ที่ 2 การ
พลังทางสงั คม สร้างความเป็นธรรมและ
ลดความเหลอื่ มล้ำใน
สงั คม
ชือ่ ตวั ชี้วดั ปี ขอ้ มูลพื้นฐาน (Baseline data) หมายเหตุ
2558 ปี ปี ปี ปี ปี
จำนวนศนู ยพ์ ฒั นาคุณภาพชีวติ 879 2559 2560 2561 2562 2563
และสง่ เสริมอาชีพผสู้ งู อายุ แห่ง N/A N/A 390 220 100
(ศพอส.) ทีไ่ ด้รบั การสง่ เสริมและ
พัฒนาศักยภาพ แหง่ แหง่ แหง่
คำอธิบาย :
ศพอส. เป็นการจัดสวัสดิการสังคมสำหรับผู้สูงอายุในชุมชนรูปแบบหนึ่ง ดำเนินการภายใต้
แนวคิด “ร่วมแรง ร่วมใจ ผู้สูงวัยกายใจเบิกบาน” โดยใช้ชุมชนเป็นฐาน และเปิดโอกาสให้ผู้สูงอายุ แกนนำ
อาสาสมัคร ชุมชน องค์กรเครือข่ายจากภาครัฐและภาคเอกชน มีส่วนร่วมขับเคลื่อนการดำเนินงานศูนย์ฯ
โดยมี อปท. ให้การหนนุ เสริม เพื่อให้ผู้สงู อายุได้มสี ถานทีร่ วมกลมุ่ ในการจดั กิจกรรมและบริการที่ครอบคลุม
ทุกมิติทางด้านสุขภาพ สังคม จิตใจ และเศรษฐกิจ โดยเฉพาะมิติด้านเศรษฐกิจ ที่เน้นการสร้างรายได้และ
การมงี านทำทีเ่ หมาะสมสำหรับผสู้ ูงอายุ เพือ่ ยกระดบั การจดั บริการและสวสั ดิการทางสงั คมในการคุ้มครอง
ส่งเสริม และพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุแบบครบวงจร สามารถตอบสนองปัญหาและความต้องการ
ของผู้สูงอายุและชุมชนได้
๕๘
เกณฑ์การประเมิน/ค่าเป้าหมาย : รอบ 12 เดือน ( 1 ต.ค. 63 - 30 ก.ย. 64)
ระดบั คะแนน คำอธิบายเกณฑ์การประเมิน
1 ส่งเสริมใหเ้ กิดการจดั ตง้ั ศพอส. เพิ่มขนึ้ จากเดิม
2 สง่ เสริมใหม้ ีการจัดกิจกรรมใน ศพอส.
3 ติดตามผลการดำเนนิ กิจกรรมของ ศพอส.ให้เป็นไปตามคูม่ อื การดำเนินงาน
4 รวบรวมรายงานผลการประเมิน ศพอส. เพือ่ จัดระดับ/ประเภท (A, B, C, D) ตามค่มู ือ
มาตรฐานการดำเนนิ งาน ศพอส. และคดั เลือก ศพอส. ดีเดน่ โดยคณะกรรมการ ศพอส.
ระดบั จังหวัด
5 รวบรวมรายงานผลการดำเนินงานใหก้ รมกิจการผู้สูงอายุ ตามแผนรายงาน
แหล่งข้อมูล / วิธีการจัดเก็บข้อมูล : การรายงานผลการดำเนินงาน ตามแบบรายงาน ศพอส. ที่กรม
กิจการผู้สูงอายุกำหนด
(ที่มา : เอกสาร “รายละเอียดตัวชี้วัดประเมินผลการปฏิบัติราชการตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ
ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 ของ สำนักงานพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์จังหวัด
สำนักงานปลัดกระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์, กลุ่มพัฒนาระบบบริหาร สป.พม.,
2564)
๕๙
3.4 ระดบั ความสำเรจ็ ของการขบั เคลื่อนการดำเนินงานค้มุ ครองเด็กระดับจังหวัด
ประเดน็ ยทุ ธศาสตร์ / ความเชื่อมโยงกับยุทธศาสตร์ / แผนแม่บทภายใต้ยทุ ธศาสตรช์ าติ /
เปา้ หมายของ แผนฯ ๑๒ / นโยบายรฐั บาล ( ✓ )
กระทรวง / กรม แผนแมบ่ ทฯ แผนฯ ๑๒ นโยบายรฐั บาล อื่น ๆ
ยุทธศาสตร์ พม. : แผนแมบ่ ท ยทุ ธศาสตร์ที่ ๒ : นโยบายเรง่ ดว่ น : มตคิ ณะรัฐมนตรี
ประเดน็ ยทุ ธศาสตร์ ยอ่ ยภายใต้ การสรา้ งความ การปรบั ปรงุ ๑ สิงหาคม
ที่ ๓ ผนึกกำลังทาง ยทุ ธศาสตร์ เปน็ ธรรมและลด ระบบสวัสดิการ ๒๕๖๐ เห็นชอบ
สงั คมเพือ่ เป็นกลไกใน ชาติ ๒๐ ปี : ความเหลอ่ื มล้า และพัฒนา รา่ งยทุ ธศาสตร์
การพฒั นาสงั คม ประเด็น ในสงั คม คณุ ภาพชีวติ การคุ้มครองเด็ก
ยุทธศาสตร์ ดย. : ความ ของประชาชน แหง่ ชาติ
ประเดน็ ยทุ ธศาสตร์ เสมอภาค พ.ศ. ๒๕๖๐ -
ที่ ๓ เสริมสร้างระบบ และ ๒๕๖๔
คุ้มครองทางสงั คม หลักประกนั
สำหรบั เด็กและเยาวชน ทางสงั คม
ทีค่ รอบคลุม
ชื่อตัวชี้วดั ขอ้ มลู พืน้ ฐาน (Baseline Data) หมายเหตุ
ระดับความสำเรจ็ ปี ๒๕๖๑ ปี ๒๕๖๒ ปี ๒๕๖๓
ของการดำเนินงาน
ฝา่ ยเลขานกุ าร - - อยรู่ ะหว่างจัดเก็บ
คณะกรรมการ
คุ้มครองเดก็ จงั หวดั ข้อมลู ผลการ
ดำเนนิ งาน
คำอธิบาย :
คณะกรรมการคุ้มครองเด็กจังหวัด หมายถึง คณะกรรมการตามมาตรา ๑๗ แห่ง
พ.ร.บ.คุ้มครองเด็ก พ.ศ. ๒๕๔๖ประกอบด้วย ผู้ว่าราชการจังหวัดเป็นประธานกรรมการ รองผู้ว่า
ราชการจังหวัดซึ่งได้รับมอบหมายจากผู้ว่าราชการจังหวัด เป็นรองประธานกรรมการ อัยการจังหวัด
พัฒนาการจังหวัด แรงงานจังหวัด ผู้อำนวยการเขตพื้นที่การศึกษา นายแพทย์สาธารณสุขจังหวัด
ผบู้ งั คับการตำรวจภูธรจังหวัด ผแู้ ทนศาลเยาวชนและครอบครัวจังหวัด หรอื ผแู้ ทนศาลจังหวัด ในกรณี
๖๐
ที่จงั หวัดนั้นไม่มีศาลเยาวชนและครอบครัว ผแู้ ทนสถานพินิจและคุ้มครองเดก็ และเยาวชนจังหวัด หรือ
ผู้แทนกระทรวงยุติธรรมซึ่งแต่งตั้งจากข้าราชการในจังหวัดในกรณีที่จังหวัดนั้นไม่มีสถานพินิจ นายก
องค์การบริหารส่วนจังหวัด เป็นกรรมการ และกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิ ซึ่งผู้ว่าราชการจังหวัดแต่งตั้ง
จากผู้เชี่ยวชาญซึ่งมีประสบการณ์ในการงานที่ทำในวิชาชีพสังคมสงเคราะห์ ครูจิตวิทยา กฎหมาย
แพทย์ วิชาชีพละสองคน โดยจะต้องมีผู้แทนจากภาคเอกชนอย่างน้อยวิชาชีพละหนึ่งคนและแต่งตั้ง
จากผมู้ ีประสบการณด์ ้านสวัสดิการเด็กอีกสองคน โดยมีพฒั นาสังคมและความมั่นคงของมนุษยจ์ ังหวัด
เปน็ กรรมการและเลขานกุ าร มีอำนาจและหน้าทีต่ ามมาตรา ๒๐ ได้แก่
๑.เสนอความเห็นตอ่ คณะกรรมการคุ้มครองเด็กแห่งชาติ เกี่ยวกับนโยบาย แผนงาน งบประมาณ
และมาตรการในการสงเคราะห์ คุ้มครองสวัสดิภาพ และส่งเสริมความประพฤติเด็กตามพระราชบัญญัติ
คุ้มครองเดก็ พ.ศ. ๒๕๔๖
๒. ให้คำปรึกษา แนะนำ และประสานงานแก่หน่วยงานของรัฐและเอกชนที่ปฏิบัติงาน
ด้านการศึกษา การสงเคราะห์ คุ้มครองสวัสดิภาพ และส่งเสริมความประพฤติเด็ก รวมทั้งมีอำนาจเข้าไป
ตรวจสอบในสถานรับเลี้ยงเด็กสถานแรกรับ สถานสงเคราะห์ สถานคุ้มครองสวัสดิภาพ สถานพัฒนาและ
ฟื้นฟู สถานพินิจ หรือสถานที่ที่เกี่ยวข้องกับการสงเคราะห์ คุ้มครองสวัสดิภาพ และส่งเสริม
ความประพฤติเด็กของรฐั และเอกชนภายในเขตจงั หวัด
๓. กำหนดแนวทางการสงเคราะห์ คุ้มครองสวัสดิภาพ และส่งเสริมความ
ประพฤติเดก็ ในเขตจังหวดั
๔. จัดหาทุนเพื่อการสงเคราะห์ คุ้มครองสวัสดิภาพ และส่งเสริมความประพฤติเด็ก
ในเขตจังหวัด และรายงานผลการดำเนินการเกี่ยวกับการจัดหาทุนและการจัดการทุนต่อ
คณะกรรมการคมุ้ ครองเดก็ แห่งชาติและคณะกรรมการบริหารกองทุนคุ้มครองเด็ก
๕. ตรวจสอบหรือเรยี กบุคคลทีเ่ กี่ยวข้องมาชี้แจงกรณีมกี ารปฏิบตั ิตอ่ เดก็ โดยมิชอบ
๖. เรียกเอกสารหรือพยานหลักฐานใด ๆ หรือขอคำชี้แจงจากผู้ที่เกี่ยวข้อง
เพื่อประกอบการวินจิ ฉัยในการปฏิบตั ิหนา้ ที่ตามพระราชบญั ญตั ิน้ี
๗. ติดตาม ประเมินผลและตรวจสอบการดำเนินงานเกี่ยวกับการสงเคราะห์ และ
ส่งเสริมความประพฤติเด็กในระดบั จงั หวัด แล้วรายงานผลตอ่ คณะกรรมการคุ้มครองเด็กแหง่ ชาติ
๘. ดำเนนิ การอน่ื ใดตามที่คณะกรรมการคุ้มครองเดก็ แห่งชาติมอบหมาย
ฐานข้อมูลด้านการคุ้มครองเด็กระดับจังหวัดหมายถึง ข้อมูลเด็ก ครอบครัว
การดำเนินงานด้านการคุ้มครองเด็ก รวมถึงข้อมูลอื่น ๆที่เกี่ยวข้องกับการจัดบริการเพื่อการคุ้มครอง
เด็กระดับจังหวัด ที่มีการรวบรวมจากหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง และจัดเก็บในรูปแบบเอกสารหรือไฟล์
เอกสารอิเลก็ ทรอนิกส์
๖๑
รายงานสถานการณ์ด้านการคุ้มครองเด็กระดับจังหวัด หมายถึง รายงาน
สภาพปัญหาเด็กของจังหวัดที่ได้จากการวิเคราะห์ข้อมูลที่รวบรวมจากหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
และจัดลำดับความสำคัญของปัญหาเร่งด่วนโดยคณะกรรมการคุ้มครองเด็กจังหวัดเห็นควร
ให้ดำเนินการป้องกันและแก้ไขปัญหา
นโยบาย/แนวทางการดำเนินงานด้านก ารคุ้มครองเด็กของจั ง ห วั ด
หมายถึง นโยบาย แผนงาน แนวทาง มาตรการด้านการคุ้มครองเด็ก ซึ่งกำหนดเป็นแนวทาง
ในการดำเนินงานของหน่วยงานที่เกีย่ วข้อง เพือ่ ป้องกันและแก้ไขปญั หาตามสถานการณ์ปัญหา
เด็กทีม่ คี วามสำคัญและเร่งดว่ นของจงั หวัด
ตัวชี้วัดในการติดตามและรายงานผลการดำเนินงานคณะกรรมการ
คุ้มครองเด็กจังหวัดหมายถึง ตัวชี้วัดในการติดตามและรายงานผลการดำเนินงาน
คณะกรรมการคุ้มครองเด็กจังหวัดและคณะกรรมการคุ้มครองเด็กกรุงเทพมหานคร ประจำปี
๒๕๖๔ – ๒๕๖๕ ซึ่งคณะกรรมการคุ้มครองเด็กแห่งชาติ ในการประชุมคณะกรรมการฯ ครั้งที่
๑/๒๕๖๓ เมื่อวันที่ ๓๑ สิงหาคม ๒๕๖๓ มีมติเห็นชอบให้คณะกรรมการคุ้มครองเด็กจังหวัด
และคณะกรรมการคุ้มครองเด็กกรุงเทพมหานคร ใช้เป็นกรอบแนวทางในการดำเนินงาน และ
รายงานการประเมินผลการดำเนินงานตามตัวช้วี ดั ใหค้ ณะกรรมการคุ้มครองเด็กแห่งชาติทราบ
แนวทางการดำเนินงานเพื่อขับเคลื่อนงานตามตัวชี้วัดในการติดตามและ
รายงานผลการดำเนินงานคณะกรรมการคุ้มครองเด็กจังหวัด หมายถึง แนวทางการ
ดำเนินงานร่วมกันของหน่วยงานที่เกี่ยวข้องเพือ่ ให้บรรลุเป้าหมายตามตัวช้วี ัดในการติดตามและ
รายงานผลการดำเนินงานคณะกรรมการคุ้มครองเด็กจังหวัดและคณะกรรมการคุ้มครองเด็ก
กรงุ เทพมหานคร ประจำปี ๒๕๖๔ – ๒๕๖๕
การเสนอวาระเรื่องเพื่อพิจารณาในการประชุมคณะกรรมการคุ้มครองเด็ก
จงั หวดั อย่างน้อย ๑ เร่อื ง จากประเดน็ ทีก่ ำหนด ได้แก่
๑) มาตรการป้องกันหรือแก้ไขปัญหาที่สอดคล้องกับสถานการณ์ด้านการ
คุ้มครองเด็กของจงั หวดั
๒) ปัญหาการดำเนินงานคุ้มครองเด็กที่พนกั งานเจา้ หน้าที่ฯ หรอื หนว่ ยงานในจงั หวดั
ไม่สามารถดำเนินการได้
๓) ปญั หาเกี่ยวกบั การบริหารจัดการทรพั ยากรเพื่อใชใ้ นการจดั บริการให้แก่
เดก็
๔) การกำหนดพืน้ ที่/กิจกรรมที่ทำให้เกิดกิจกรรมรว่ มกันระหวา่ งเดก็ กับ
ครอบครัว
๖๒
แผนปฏิบัติการด้านการคุ้มครองเด็กของจังหวัด หมายถึง แผนการ
ดำเนนิ งานร่วมกนั ของหน่วยงานทีเ่ กี่ยวข้องเพื่อการคุ้มครองเด็ก ซึง่ ประกอบข้อมูลดว้ ย ๒ ส่วน
คือ
๑) นโยบาย/แนวทางการดำเนินงานด้านการคุ้มครองเด็กของจังหวัด
เพื่อป้องกนั และแก้ไขปญั หาตามสถานการณ์ปญั หาเด็กที่มคี วามสำคัญและเรง่ ด่วนของจังหวดั
๒) แนวทางการดำเนินงานเพื่อขับเคลื่อนงานตามตัวชี้วัดในการติดตามและ
รายงานผลการดำเนินงานคณะกรรมการคุ้มครองเด็กจังหวัดและคณะกรรมการคุ้มครองเด็ก
กรงุ เทพมหานคร ประจำปี ๒๕๖๔ - ๒๕๖๕โดยกำหนดเป็นแนวทางการดำเนินงานตามตัวชี้วัด
เปน็ รายปี
รายงานผลการดำเนินงานตามแผนปฏิบัติการด้านการคุ้มครองเด็ก
ของจังหวัดหมายถึง รายงานผลการดำเนินงานตามแผนปฏิบัติการด้านการคุ้มครองเด็ก
ซึง่ ประกอบด้วย
๑) รายงานผลการดำเนินงานตามนโยบาย/แนวทางการดำเนินงานด้านการ
คุ้มครองเด็กของจงั หวดั เพือ่ ป้องกันและแก้ไขปัญหาตามสถานการณ์ปัญหาเดก็ ทีม่ คี วามสำคัญ
และเรง่ ดว่ นของจังหวัด
๒) รายงานผลการดำเนินงานตามตัวชี้วัดในการติดตามและรายงานผลการ
ดำเนนิ งานคณะกรรมการคุ้มครองเด็กจังหวดั
เกณฑ์การประเมิน / คา่ เปา้ หมาย : รอบ ๖ เดือน (๑ต.ค. ๖๓–๓๑ มี.ค. ๖๔)
ระดบั คำอธิบายเกณฑก์ ารให้คะแนน
คะแนน
๑ มีขอ้ มูลเด็ก ครอบครัว และการจดั บริการใหแ้ กเ่ ด็กและครอบครวั จากหนว่ ยงาน
ทีเ่ กีย่ วข้อง
๒ มีรายงานข้อมูลและฐานขอ้ มลู ด้านการคุ้มครองเดก็ ระดบั จังหวัดที่เป็นปัจจบุ นั
๓ มีรายงานสถานการณ์ด้านการคุ้มครองเดก็ ระดบั จังหวัด
๔ มีร่างนโยบาย/แนวทางการดำเนนิ งานด้านการคุ้มครองเด็กของจงั หวัด และแนวทาง
การดำเนินงานเพื่อขบั เคลื่อนงานตวั ชวี้ ัดในการติดตามและรายงานผลการดำเนินงาน
คณะกรรมการคุ้มครองเด็กจงั หวัดปีงบประมาณ ๒๕๖๔
๕ มีความเห็นและข้อเสนอแนะจากหน่วยงานทีเ่ กีย่ วข้องต่อ
๑. ร่างนโยบาย/แนวทางการดำเนินงานด้านการคุ้มครองเด็กของจงั หวดั
๒. แนวทางการขับเคลื่อนการดำเนินงานตวั ชวี้ ัดในการติดตามและรายงานผลการ
ดำเนินงานคณะกรรมการคุ้มครองเด็กจังหวดั ปีงบประมาณ ๒๕๖๔
๖๓
เกณฑ์การประเมิน / ค่าเปา้ หมาย : รอบ ๑๒ เดือน (๑เม.ย. – ๓๐ ก.ย. ๖๔)
ระดบั คำอธิบายเกณฑก์ ารให้คะแนน
คะแนน
๑ มีการประชมุ คณะกรรมการคุ้มครองเด็กจังหวดั ซึง่ มกี ารเสนอวาระเพื่อพิจารณาอย่างน้อย
๑ เร่อื ง จากประเดน็ ทกี่ ำหนด* และมีการเสนอข้อมลู และรายงานสถานการณ์ด้านการคุ้มครอง
เดก็ จงั หวดั ใหค้ ณะกรรมการฯ รับทราบ และเสนอรา่ งนโยบาย/แนวทางการดำเนินงาน
ด้านการคุ้มครองเด็กของจังหวดั และแนวทางการขบั เคลือ่ นการดำเนินงานตัวชีว้ ดั ในการ
ติดตามและรายงานผลการดำเนนิ งานคณะกรรมการคุ้มครองเด็กจงั หวดั ปีงบประมาณ
๒๕๖๔ ให้คณะกรรมการฯ พิจารณาเห็นชอบ
๒ มีแผนปฏิบัติการด้านการคุ้มครองเดก็ ของจงั หวัดเพื่อขับเคลือ่ นงานตามนโยบาย/
แนวทางการดำเนินงานด้านการคุ้มครองเด็กของจังหวัด และแนวทางการดำเนินงานตวั ชวี้ ัด
ในการติดตามและรายงานผลการดำเนินงานคณะกรรมการคุ้มครองเดก็ จังหวัด
ปีงบประมาณ ๒๕๖๔
๓ มีการจัดทำรายงานผลการดำเนินงานตามแผนปฏิบตั ิการด้านการคุ้มครองเดก็ ของจังหวัด
ปีงบประมาณ ๒๕๖๔ ประกอบด้วย
๑) รายงานผลการดำเนินงานตามนโยบาย/แนวทางการดำเนินงานด้านการคุ้มครองเดก็
ของจงั หวดั
๒) รายงานผลการดำเนินงานตามตัวชีว้ ดั ในการติดตามและรายงานผลการดำเนินงาน
คณะกรรมการคุ้มครองเด็กจังหวัด
๔ มีการเสนอรายงานผลการดำเนินงานตามแผนปฏิบัติการด้านการคุ้มครองเด็กของจังหวดั
ปีงบประมาณ ๒๕๖๔ ตอ่ คณะกรรมการคุ้มครองเดก็ จังหวัดและคณะกรรมการคุ้มครองเดก็
แห่งชาติ
๕ ทบทวนและปรับปรงุ การดำเนินงานคุ้มครองเด็กของจังหวัดปีงบประมาณ ๒๕๖๔ และกำหนด
นโยบาย/แนวทางการดำเนินงานจงั หวดั ปีงบประมาณ ๒๕๖๕
แหล่งข้อมูล / วิธีการจดั เกบ็ ข้อมูล :
รอบ ๖ เดือน
๑. ข้อมูลและรายงานสถานการณ์การคุ้มครองเด็กระดับจังหวัด ปีงบประมาณ ๒๕๖๔
ในรปู แบบเอกสารและไฟล์เอกสารอิเล็กทรอนิกส์ (ไฟล์ Word หรอื Excel)
๒. ร่างนโยบาย/แนวทางการดำเนินงานด้านการคุ้มครองเด็กของจังหวัดปีงบประมาณ
๒๕๖๔
๖๔
๓. แนวทางการขับเคลื่อนการดำเนินงานตามตัวชี้วัดในการติดตามและรายงานผลการ
ดำเนนิ งานคณะกรรมการคุ้มครองเดก็ จังหวดั ปีงบประมาณ ๒๕๖๔
๔. สรุปข้อมูลความเห็น/ข้อเสนอแนะต่อร่างนโยบาย/แนวทางการดำเนินงานด้านการ
คุ้มครองเด็กของจังหวัดและแนวทางการดำเนินงานตามตัวชี้วัดในการติดตามและรายงาน
ผลการดำเนินงานคณะกรรมการคุ้มครองเด็กจังหวัด ปีงบประมาณ ๒๕๖๔
รอบ ๑๒ เดือน
๑. รายงานการประชุมคณะกรรมการคุ้มครองเด็กจังหวัด ปีงบประมาณ ๒๕๖๔ในการประชุมที่
คณะกรรมการฯ มีมติ
1.1 รับทราบข้อมูลและรายงานสถานการณ์ด้านการคุ้มครองเดก็ จงั หวัด
1.2 เหน็ ชอบร่างนโยบาย/แนวทางการดำเนินงานด้านการคุ้มครองเด็กของจังหวดั และรา่ งแนว
ทางการดำเนินงาน
๒. ตามตัวชี้วัดในการติดตามและรายงานผลการดำเนินงานคณะกรรมการคุ้มครองเด็กจังหวัด
ปีงบประมาณ ๒๕๖๔
๓. แผนปฏิบตั ิการด้านการคุ้มครองเดก็ ของจังหวัดปีงบประมาณ ๒๕๖๔
๔. รายงานผลการดำเนินงานตามแผนปฏิบัติการด้านการคุ้มครองเด็กของจังหวัดปีงบประมาณ
๒๕๖๔ ประกอบด้วย
๓.๑ รายงานผลการดำเนินงานตามนโยบาย/แนวทางการดำเนินงานด้านการคุ้มครองเด็ก
ของจงั หวดั
๓.๒ รายงานผลการดำเนินงานตามตัวชี้วัดในการติดตามและรายงานผลการดำเนินงาน
คณะกรรมการ
คุ้มครองเด็กจังหวดั ปีงบประมาณ ๒๕๖๔
๕. ร่างนโยบาย/แนวทางการดำเนินงานคุ้มครองเด็กจังหวัดปีงบประมาณ ๒๕๖๕
หมายเหตุ : แบบฟอร์มแบบรายงาน และตัวชี้วัดในการดำเนินงานฯ ตามที่ปรากฎในแนวทางการ
ดำเนินงานโครงการพัฒนามาตรการกลไกในการปกป้องคุ้มครองเด็กและเยาวชนตามกฎหมายและ
พันธกรณีระหว่างประเทศ กิจกรรมการขับเคลื่อนการดำเนินงานตามพระราชบัญญัติคุ้มครองเด็ก
พ.ศ. ๒๕๔๖ (การประชมุ คณะกรรมการคุ้มครองเด็กจงั หวัดและคณะอนกุ รรมการ)
(ที่มา : เอกสาร “รายละเอียดตัวชี้วัดประเมินผลการปฏิบัติราชการตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ
ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 ของ สำนักงานพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์จังหวัด
สำนักงานปลัดกระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์, กลุ่มพัฒนาระบบบริหาร สป.พม.,
2564)
๖๕
3.5 ระดับความสำเรจ็ ของการขับเคลือ่ นงานด้านการสง่ เสรมิ และพัฒนาคุณภาพชวี ิตคนพิการ
ผ่านกลไกการประชมุ คณะอนกุ รรมการส่งเสริมและพัฒนาคุณภาพชวี ิตคนพิการจังหวดั
ความเชื่อมโยงกบั ยุทธศาสตรช์ าติ/
ประเด็นยทุ ธศาสตร์/เป้าหมาย แผนแม่บทภายใตย้ ทุ ธศาสตรช์ าติ/แผน 12 /นโยบายรัฐบาล
ของกระทรวง/กรม
(✓)
ยุทธศาสตร์ที่ 3 : ผนึกกาํ ลังทาง
สังคมเพื่อเป็นกลไกในการพัฒนา แผนแม่บทฯ แผน 12 นโยบาย อื่น ๆ
สงั คม
ยทุ ธศาสตรท์ ี่ 4 : บริหารจัดการ รฐั บาล
องคก์ รที่เปน็ เลิศและเสริมสร้างธรร
มาภบิ าล ยุทธศาสตร์ ยุทธศาสตรท์ ี่ ลดความ
ชาติด้านการ 2 สร้างความ เหลือ่ มล้ำของ
สร้างโอกาส เป็นธรรมและ สงั คม
และความ ลดความ
เสมอภาค เหลื่อมล้ำใน
ทางสังคม สงั คม
ชื่อตัวชีว้ ัด ข้อมลู พื้นฐาน (Baseline data) หมายเหตุ
ปี 2561 ปี 2562 ปี 2563
จำนวนการจัดประชุมเพื่อขับเคลื่อน 396 ครั้ง 420 คร้ัง * ปี 2563
นโยบาย ระเบียบ ข้อบังคับ และด้าน อย่รู ะวา่ งรวบรวม
การส่งเสริมและพัฒนาคุณภาพชีวิต
คนพิการ ข้อมูล
คำอธิบาย : คณะอนกุ รรมการสง่ เสริมและพัฒนาคุณภาพชีวิตคนพิการประจำจังหวดั ทั่วประเทศ ตาม
พระราชบัญญัติส่งเสริมและพัฒนาคุณภาพชีวิตพิการ พ.ศ. 2550 และที่แก้ไขเพิ่มเติม มาตรา 11
เพื่อประโยชน์ในการส่งเสริมและพัฒนาคุณภาพชีวิตคนพิการอย่างทั่วถึง / ระเบียบคณะกรรมการฯ
กำหนดให้มีการประชุมเพื่อขบั เคลือ่ นการดำเนินงานด้านการส่งเสริมและพฒั นาคุณภาพชีวิตคนพิการ
กำหนดให้มีการประชุม 2 เดือน 1 ครงั้ รวม 6 ครั้งตอ่ ปี
๖๖
ประเดน็ ตามแผนการขับเคลื่อน ประกอบด้วย
- การกำหนดแผนส่งเสริมและพัฒนาคุณภาพชีวิตคนพิการจังหวัด ยุทธศาสตร์ โครงการการ
ดำเนินงานที่เกี่ยวข้องกับการส่งเสริมและพัฒนาคุณภาพชีวิตคนพิการในจังหวัดให้สอดคล้องกับ
แผนพัฒนาคุณภาพชีวิตคนพิการแห่งชาติ โดยบูรณาการให้เข้ากับแผนพัฒนาคุณภาพชีวิตคนพิการ
ประจำจงั หวดั หรอื แผนพฒั นาขององคก์ รปกครองส่วนท้องถิน่ ในจงั หวัดนั้น ๆ
- การดำเนินงานที่เกี่ยวกับคนพิการกับทุกภาคส่วน สนับสนุนหน่วยงานที่ปฏิบัติงานเกี่ยวข้องกับคน
พิการ ประสานทรัพยากร ตลอดจนระดมทุนเพื่อสนับสนุนกิจกรรมเกี่ยวกับการส่งเสริมและพัฒนา
คณุ ภาพชวี ิตคนพิการในจังหวดั
- การพิจารณาอนุมัติการจ่ายเงิน อนุมัติโครงการ กำหนดวงเงินและค่าใช้จ่ายเพื่อสนับสนุนแผนงาน
โ ค ร ง ก า ร แ ล ะ ก า ร ข อ ก ู ้ ย ื ม เ ง ิ น ท ุ น ป ร ะ ก อ บ อ า ช ี พ ข อ ง ค น พ ิ ก า ร ห ร ื อ ผ ู ้ ด ู แ ล ค น พ ิ ก า ร ต า ม ท ี่
คณะอนกุ รรมการบริหารกองทนุ ได้มอบหมาย และกำกบั ดูแล ติดตามการปฏิบัติตามแผนงานโครงการ
และการกู้ยืมเงนิ ของคนพิการในจงั หวัด
- การตรวจสอบ ติดตาม และแก้ไขปัญหาเกี่ยวกับสิทธิประโยชน์ของคนพิการ สวัสดิการ การเลือก
ปฏิบตั ิโดยไม่เป็นธรรมตอ่ คนพิการ และความชว่ ยเหลอื อืน่ ตามทีก่ ฎหมายกำหนด
- การกลั่นกรองแผนงานหรือโครงการเกี่ยวกบั การส่งเสริมและพัฒนาคุณภาพชีวิตคนพิการในจังหวัด
ตามที่คณะอนุกรรมการบริหารกองทุนหรือคณะกรรมการส่งเสริมและพัฒนาคุณภาพชีวิตคนพิการ
แหง่ ชาติมอบหมาย แล้วแตก่ รณี
- การส่งเสริมและสนับสนุนการดำเนินงานและความเข้มแข็งขององค์กรด้านคนพิการและศูนยบ์ ริการ
คนพิการภายในจังหวดั
- การแต่งตั้งคณะทำงานเพื่อช่วยเหลอื คณะอนุกรรมการตามความเหมาะสม
๖๗
เกณฑ์การประเมิน/ค่าเปา้ หมาย : รอบ 6 เดือน (1 ต.ค. 63 – 31 มี.ค. 64)
ระดับคะแนน คำอธิบายเกณฑ์การใหค้ ะแนน
1 จัดทำแผนการขับเคลือ่ นงานด้านการสง่ เสริมและพัฒนาคณุ ภาพชวี ิตคนพิการผ่านกลไกการ
ประชมุ คณะอนกุ รรมการส่งเสริมและพัฒนาคุณภาพชีวิตคนพิการจังหวัด
หลักฐาน แผนการขับเคลื่อนงานด้านการส่งเสริมและพัฒนาคุณภาพชีวติ คนพิการผ่านกลไก
การประชมุ คณะอนุกรรมการส่งเสริมและพฒั นาคณุ ภาพชวี ิตคนพิการจังหวัด
2 รายงานการขับเคลื่อนด้านการสง่ เสริมและพัฒนาคุณภาพชวี ิตคนพิการผ่านกลไกการประชมุ
คณะอนกุ รรมการส่งเสริมและพัฒนาคณุ ภาพชวี ิตคนพิการจงั หวดั ไม่น้อยกว่า 1 คร้ัง
หลกั ฐาน รายงานการขบั เคลือ่ นฯ หรอื รายงานการประชมุ คณะอนุกรรมการสง่ เสริมและ
พฒั นาคณุ ภาพชีวติ คนพิการจงั หวดั
3 รายงานการขบั เคลือ่ นด้านการสง่ เสริมและพัฒนาคุณภาพชวี ิตคนพิการผ่านกลไกการประชมุ
คณะอนกุ รรมการส่งเสริมและพัฒนาคณุ ภาพชวี ิตคนพิการจงั หวดั ไม่น้อยกว่า 2 คร้ัง
หลกั ฐาน รายงานการขับเคลือ่ นฯ หรอื รายงานการประชุมคณะอนุกรรมการส่งเสริมและ
พฒั นาคณุ ภาพชีวติ คนพิการจงั หวดั
4 รายงานการขบั เคลื่อนด้านการส่งเสริมและพัฒนาคุณภาพชวี ิตคนพิการผ่านกลไกการประชมุ
คณะอนุกรรมการส่งเสริมและพฒั นาคณุ ภาพชวี ิตคนพิการจงั หวดั ไม่น้อยกว่า 3 คร้ัง
หลักฐาน รายงานการขับเคลือ่ นฯ หรอื รายงานการประชมุ คณะอนกุ รรมการส่งเสริมและ
พฒั นาคณุ ภาพชีวติ คนพิการจังหวดั
5 รายงานการขับเคลือ่ นด้านการส่งเสริมและพัฒนาคุณภาพชวี ิตคนพิการผ่านกลไกการประชมุ
คณะอนุกรรมการส่งเสริมและพัฒนาคณุ ภาพชวี ิตคนพิการจงั หวดั มากกวา่ 3 คร้ัง
หลกั ฐาน รายงานการขับเคลือ่ นฯ หรอื รายงานการประชุมคณะอนุกรรมการสง่ เสริมและ
พฒั นาคุณภาพชีวติ คนพิการจงั หวัด
๖๘
เกณฑก์ ารประเมิน/ค่าเป้าหมาย : รอบ 12 เดือน (1 ต.ค. 63 – 30 ก.ย. 64)
ระดับคะแนน คำอธิบายเกณฑ์การใหค้ ะแนน
1 รายงานการขบั เคลื่อนด้านการส่งเสริมและพัฒนาคุณภาพชวี ิตคนพิการผ่านกลไกการประชุม
คณะอนุกรรมการส่งเสริมและพฒั นาคณุ ภาพชวี ิตคนพิการจังหวดั ไม่น้อยกว่า 4 คร้ัง
หลักฐาน รายงานการขบั เคลื่อนฯ หรอื รายงานการประชุมคณะอนุกรรมการส่งเสริมและ
พฒั นาคณุ ภาพชีวติ คนพิการจงั หวัด
2-
3 รายงานการขบั เคลื่อนด้านการส่งเสริมและพัฒนาคุณภาพชวี ิตคนพิการผ่านกลไกการประชุม
คณะอนุกรรมการส่งเสริมและพัฒนาคุณภาพชวี ิตคนพิการจงั หวัด ไม่น้อยกว่า 5 คร้ัง
หลักฐาน รายงานการขับเคลื่อนฯ หรอื รายงานการประชุมคณะอนกุ รรมการส่งเสริมและ
พฒั นาคุณภาพชีวติ คนพิการจังหวดั
4-
5 รายงานการขับเคลือ่ นด้านการส่งเสริมและพัฒนาคุณภาพชวี ิตคนพิการผ่านกลไกการประชุม
คณะอนุกรรมการส่งเสริมและพัฒนาคณุ ภาพชวี ิตคนพิการจงั หวัดไมน่ ้อยกวา่ 6 คร้ัง
หลกั ฐาน รายงานการขับเคลือ่ นฯ หรอื รายงานการประชุมคณะอนกุ รรมการสง่ เสริมและ
พัฒนาคณุ ภาพชีวติ คนพิการจังหวัด
แหลง่ ข้อมูล/วิธีการจดั เก็บข้อมูล:
1 การสำรวจขอ้ มูลจากแบบรายงานของคณะอนุกรรมการฯ
2 แบบสอบถามเบือ้ งตน้ ในการสรปุ ผลการประชุม
(ที่มา : เอกสาร “รายละเอียดตัวชี้วัดประเมินผลการปฏิบัติราชการตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ
ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 ของ สำนักงานพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์จังหวัด
สำนักงานปลัดกระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์, กลุ่มพัฒนาระบบบริหาร สป.พม.,
2564)
๖๙
ประเดน็ การตรวจราชการท่ี 4
การบรหิ ารขอ้ มูล
ประเดน็ การตรวจราชการ : การบริหารข้อมลู
งาน/โครงการสำคญั เป้าหมาย ตวั ชี้วดั
1. การขบั เคลือ่ นงานส่กู ารเปน็ 1. การขับเคลื่อนงานสู่การเป็น 1. ระดบั ความสำเรจ็
ศูนยข์ ้อมูลทางสังคม ศนู ยข์ ้อมลู ทางสังคม ของการขับเคลือ่ นงานสู่
ของจังหวัด ของจังหวดั การเป็นศูนย์ข้อมลู ทางสงั คม
ของจงั หวัด
4.1 ระดับความสำเร็จของการขบั เคลือ่ นงานสู่การเปน็ ศูนย์ข้อมลู ทางสงั คมของจงั หวดั
ประเด็นยุทธศาสตร/์ เป้าหมาย ความเชือ่ มโยงกบั ยุทธศาสตรช์ าติ /
ของกระทรวง/กรม แผนแม่บทภายใต้ยุทธศาสตร์ชาติ / แผนฯ 12 / นโยบายรฐั บาล
ยุทธศาสตร์กระทรวง พม. : (√)
ยทุ ธศาสตรท์ ี่ 4 ยกระดบั องค์กรสู่ แผนแม่บทฯ แผนฯ 12 นโยบายรัฐบาล อืน่ ๆ
การเป็นผู้นำทางสังคม
ยุทธศาสตร์ สป.พม. : √ √√
ยทุ ธศาสตร์ที่ 3 ยกระดับองคก์ รสู่
การเปน็ ผู้นำทางสังคม
ชือ่ ตวั ชี้วดั ข้อมูลพื้นฐาน (Baseline data) หมายเหตุ
ปี 2561 ปี 2562 ปี 2563 -
ระดับความสำเร็จของการขับเคลื่อนงานสู่
การเป็นศูนยข์ ้อมูลทางสังคมของจังหวดั ---
๗๐
คำอธิบาย :
ศูนย์ข้อมูลทางสังคมของจังหวัด หมายถึง แหล่งที่รวบรวม นำเข้าและจัดเก็บข้อมูลด้านสังคมทั้งจาก
ระบบสารสนเทศด้านสังคมของ พม. ข้อมูลด้านสังคมจากหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง และ/หรือข้อมูลที่บ่งชี้ถึง
สถานการณ์ทางสังคมที่เป็นสากล เป็นปัจจุบัน ทันต่อสถานการณ์ ครอบคลุมทั้งข้อมูลเชิงกลุ่มเป้าหมาย
ข้อมูลเชิงประเด็น สถิติการให้บริการ รวมทั้งสถานการณ์ทางสังคมอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง และมีการเผยแพร่
ข้อมูล นำข้อมูลทางสังคมไปใช้ประโยชน์ประกอบในการวางแผนงาน โครงการที่สอดคล้องกับบริบท
ของพื้นที่ โดยนำเสนอข้อมูลในรูปแบบระบบฐานข้อมูลทางสังคมบนหน้าเว็บไซด์ของสำนักงาน
พมจ. ทกุ จังหวดั
· ข้อมูลระบบสารสนเทศด้านสังคมของ พม. หมายถึง การนำข้อมูลจากระบบสารสนเทศของ
พม. เช่น 1) ระบบข้อมูลแผนที่ทางสังคม Social Map พม. (http://dbcenter.m-society.go.th) และ/หรือ 2)
ระบบสารสนเทศด้านสังคม (http://mis.m-society.go.th) 3) รายงานสถานการณ์ทางสังคมจังหวัด 4)
รายงานความมั่นคงของมนุษย์ เป็นต้น
· ข้อมูลด้านสังคมจากหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง หมายถึง การนำเข้าข้อมูลจากระบบสารสนเทศ
ด้านสังคมของหน่วยงานภายนอก เช่น 1) ข้อมูลความจำเป็นพื้นฐาน (จปฐ.) และข้อมูลพื้นฐานระดับ
หมู่บ้าน (กชช.2ค) ของกรมการพัฒนาชุมชน 2) ข้อมูลประชากร ของกรมการปกครอง 3) ข้อมูลจาก
สำนักงานสถิติจังหวดั เป็นต้น
· ข้อมูลที่บ่งชี้ถึงสถานการณ์ทางสังคมที่มีตัวชี้วัดที่เป็นสากล หมายถึง การนำเข้าข้อมูล
จากระบบสารสนเทศจากหน่วยงานที่มีดัชนีการวัดที่เชื่อถือ เป็นที่ยอมรับ เช่น 1) ดัชนีทุนมนุษย์ Human
Capital Index (ธนาคารโลก) 2) ดัชนีพัฒนามนุษย์ Human Development Index (UNDP) 3) ดัชนี
ความก้าวหน้าของคน Human Achievement Index (สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและ
สงั คมแห่งชาติ) เป็นต้น
· แผนพัฒนาการดำเนินงานของศูนย์ข้อมูลทางสังคมจังหวัด หมายถึง เอกสารที่มีการ
กำหนดแนวทางหรือขั้นตอน รายละเอียดของกิจกรรม งบประมาณ (ถ้ามี) ระยะเวลา ที่ชัดเจนในการ
พัฒนาการดำเนินงานของศูนย์ข้อมูลทางสังคมของจังหวัดจากปี 2563
· ข้อมลู พื้นฐานทก่ี ำหนดให้นำเข้าข้อมูลไว้ในปี 2562 ประกอบด้วย
1) ข้อมลู จำนวนประชากรของจังหวัด
2) ข้อมลู ผลู้ งทะเบียนเพื่อสวัสดิการแห่งรัฐของจังหวัด (ปี 2560)
3) ข้อมูลสถานการณ์/สถิติผปู้ ระสบปัญหาทางสังคม (Social Map) ของจงั หวดั
4) ข้อมูลสถิติการใหค้ วามช่วยเหลือผปู้ ระสบปัญหาทางสังคม (เงนิ อดุ หนนุ )
๗๑
โดยปี 2563 กำหนดให้มีการเพิ่มเติมข้อมูลจากข้อมูลพื้นฐานที่กำหนดไว้ในปี 2562 อย่าง
น้อย 2 ประเด็น และในปี 2564 กำหนดให้มีการเพิ่มเติมข้อมูลจากข้อมูลพื้นฐานที่กำหนดไว้
ในปี 2563 อย่างนอ้ ย 2 ประเดน็
· รายงานสถานการณ์ทางสังคมของจังหวัด หมายถึง การรวบรวม วิเคราะห์ สังเคราะห์
ข้อมลู ดา้ นสังคมในจังหวัด ประกอบด้วยสถิติการใหบ้ ริการ ทีเ่ ปน็ ปจั จุบนั ทนั ต่อสถานการณ์ ครอบคลุม
ทั้งข้อมูลเชิงกลุ่มเป้าหมาย ข้อมูลเชิงประเด็น ข้อมูลจากระบบสารสนเทศของ พม. ข้อมูลด้านสังคม
จากหน่วยงานแวดล้อมกระบวนงาน ข้อมูลที่บ่งชี้ถึงสถานการณ์ทางสังคมตัวชี้วัดที่เป็นสากล รวมทั้ง
สถานการณ์ทางสังคมอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง และข้อเสนอแนะในการป้องกันแก้ไขปัญหาทั้งในเชิงนโยบาย
และปฏิบตั ิ
· ประเมินผลศูนย์ข้อมูลทางสังคมจังหวัด หมายถึง ให้หน่วยงาน (สนง.พมจ.) ประเมินผล
ศูนย์ข้อมูลทางสังคมจังหวัด จาก 1) แบบประเมินความพึงพอใจของผู้รับบริการจากศูนย์ข้อมูลทาง
สังคมจังหวัด หรือ 2) เอกสาร/หลักฐานของหน่วยงานที่นำข้อมูลจากศูนย์ข้อมูลทางสังคมจังหวัดไปใช้
ประโยชน์อย่างน้อย 2 หน่วยงาน ทั้งนี้ส่วนกลาง (กมพ.) จะดำเนินการจัดทำแบบประเมิน
ความพึงพอใจ ท่เี ปน็ ทิศทางเดียวกันสง่ ให้ สนง.พมจ. ต่อไป
เกณฑก์ ารประเมิน/ค่าเปา้ หมาย : รอบ 6 เดือน (1 ต.ค. 63 – 31 มี.ค. 64)
ระดับคะแนน คำอธิบายเกณฑ์การให้คะแนน
1 ทบทวนแผนพัฒนาระบบ/รูปแบบของศูนยข์ ้อมูลทางสังคมจังหวดั
2 จัดทำแผนพัฒนาการดำเนินงานของศูนย์ข้อมูลทางสังคมจังหวัดประจำปี 2564
3 นำเข้า รวบรวมสถิติข้อมูลงานด้านสังคมของจงั หวัดท้ังเชิงประเด็น เชิงกลุ่มเป้าหมาย และ
ประสานส่งข้อมูลใหส้ สว. เพื่อจัดทำฐานข้อมูลทางสงั คมกลุม่ จังหวัด
4 ประชุมชี้แจงสร้างความเข้าใจหรอื บูรณาการกับหนว่ ยงานทีเ่ กีย่ วข้อง เพื่อประสานความ
เชือ่ มโยงของข้อมูลทางสังคมทั้งเชิงประเด็นและเชิงกลุ่มเป้าหมาย
5 เสนอผวู้ า่ ราชการจงั หวัดหรือคณะกรรมการสง่ เสริมการจัดสวสั ดิการสังคมจังหวัด (กสจ.)
เหน็ ชอบแผนพัฒนาการดำเนินงานของศนู ยข์ ้อมูลทางสังคมจังหวัดประจำปี 2564
๗๒
เกณฑก์ ารประเมิน/ค่าเป้าหมาย : รอบ 12 เดือน (1 เม.ย. – 30 ก.ย. 64)
ระดับคะแนน คำอธิบายเกณฑ์การใหค้ ะแนน
1 มีการเพิม่ เติมข้อมูลจากข้อมลู พืน้ ฐานที่กำหนดไว้ในปี 2563 อย่างนอ้ ย 2 ประเดน็
2 ประชมุ กบั หน่วยงานที่เกีย่ วข้องวิเคราะห์/คน้ หาประเดน็ จากศูนย์ข้อมูลทางสังคมจังหวดั เพือ่
กำหนดกรอบ/แนวทางการจัดทำรายงานสถานการณท์ างสงั คมจงั หวัดประจำปี 2564
3 จัดทำรายงานสถานการณท์ างสงั คมของจงั หวัด ประจำปี 2564 เสนอผวู้ ่าฯ หรอื
คณะกรรมการสง่ เสริมการจดั สวสั ดิการสังคมจังหวัด (กสจ.) และส่งให้กองมาตรฐานฯ
สป.พม. ภายในวันที่ 5 ตุลาคม 2564
4 เผยแพร่ ประชาสัมพนั ธ์ ศูนย์ข้อมูลทางสังคมจงั หวดั หน่วยงานที่เกีย่ วข้องเพื่อใช้ประโยชน์ใน
ข้อมูลรว่ มกนั
5 ประเมินผลศนู ย์ข้อมลู ทางสังคมจงั หวัด จาก
1) แบบประเมินความพึงพอใจของผู้รับบริการจากศูนยข์ ้อมลู ทางสังคมจังหวดั หรอื
2) เอกสาร/หลักฐานของหน่วยงานทีน่ ำข้อมูลจากศูนยข์ ้อมูลทางสังคมจังหวัดไปใช้ประโยชน์
อย่างน้อย 2 หน่วยงาน
แหลง่ ข้อมลู / วิธีการจัดเกบ็ ข้อมลู :
1 ข้อมูลระบบสารสนเทศด้านสังคมของ พม. เช่น 1) ระบบข้อมูลแผนที่ทางสังคม Social Map
พม. (http://dbcenter.m-society.go.th) และ/หร ื อ 2) ระบบสารสนเท ศด ้ านส ั งค ม
(http://mis.m-society.go.th) 3) รายงานสถานการณ์ทางสังคมจังหวัด 4) รายงานความมั่นคง
ของมนษุ ย์ เป็นต้น
2 ข้อมูลด้านสังคมจากหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง เช่น 1) ข้อมูลความจำเป็นพืน้ ฐาน (จปฐ.) และ
ข้อมลู พื้นฐานระดับหมู่บ้าน (กชช.2ค) ของกรมการพฒั นาชุมชน 2) ข้อมูลประชากร
ของกรมการปกครอง 3) ข้อมูลจากสำนักงานสถิติจงั หวัด เป็นต้น
3 ข้อมูลเชิงสถิตทิ ั้งเชิงประเด็นและกล่มุ เป้าหมายจากหน่วยงานต่าง ๆ
4 ข้อมูลที่บ่งชี้ถึงสถานการณ์ทางสังคมที่มีตัวชี้วัดที่เป็นสากล เช่น 1) ดัชนีทุนมนุษย์ Human
Capital Index (ธนาคารโลก) 2) ดัชนีพัฒนามนษุ ย์ Human Development Index (UNDP) 3) ดชั นี
ความก้าวหน้าของคน Human Achievement Index (สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการ
เศรษฐกิจและสงั คมแห่งชาติ) เปน็ ต้น
(ที่มา : เอกสาร “รายละเอียดตัวชี้วัดประเมินผลการปฏิบัติราชการตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ
ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 ของ สำนักงานพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์จังหวัด
สำนักงานปลัดกระทรวงการพัฒนาสงั คมและความมั่นคงของมนุษย์, กลุ่มพัฒนาระบบบริหาร สป.พม.,
2564)
๗๓
ประเด็นการตรวจราชการท่ี 5
การขับเคลื่อนงานตามบริบทพื้นที่/จังหวดั
ประเดน็ การตรวจราชการ : การขับเคลือ่ นงานตามบรบิ ทพื้นที่/จังหวดั
งาน/โครงการสำคัญ เป้าหมาย ตวั ชีว้ ดั
1. ระดับความสำเร็จของการ
1. การขบั เคลือ่ นงานตาม 1. ประชาชนในพื้นที่ได้รับการ ขับเคลือ่ นงานตามบริบทพืน้ ที่ /
จังหวัด
บริบทพืน้ ที่ / จังหวัด เช่น พฒั นาคุณภาพชีวติ และแก้ไข
- โครงการดอื งันฮาตี ปญั หา ความตอ้ งการ
- 1 จงั หวดั 1 โครงการสำคญั ตามบริบทพืน้ ที่ / จังหวัด
- โครงการที่ได้รบั สนบั สนุน
งบประมาณจากจงั หวัด /
กลมุ่ จังหวดั
หมายเหตุ : จังหวดั พิจารณาคัดเลือก จำนวน 1 โครงการสำคญั
ประเดน็ การตรวจราชการท่ี 6
การแก้ไขปัญหาความเดือดร้อน หรอื ขอ้ ร้องเรียนของประชาชน
(ตามกรอบแนวทางการตรวจราชการของผู้ตรวจราชการสำนักนายกรฐั มนตรี)
การตรวจราชการ เพือ่ การแก้ไขปญั หาความเดือดร้อน หรอื เรือ่ งร้องเรียนร้องทุกข์ของ
ประชาชน เป็นการตรวจราชการเพื่อแสวงหาข้อเท็จจริงให้ประชาชนที่ได้รับผลกระทบจากการ
ปฏิบัติงานของผู้มีอำนาจหรือจากเจ้าหน้าที่ของรัฐ เพื่อแก้ไขปัญหาข้อร้องเรียนของประชาชนอันเกิด
จากการดำเนินการของหน่วยงานของรฐั หรอื เจ้าหน้าทีข่ องรัฐ
ประเด็นการตรวจราชการ : การแก้ไขปัญหาความเดือดรอ้ น หรอื ขอ้ รอ้ งเรียนของประชาชน
งาน/โครงการสำคญั เปา้ หมาย ตัวชีว้ ดั
1. การแก้ไขปัญหาความ ความเดือดรอ้ น หรือข้อ ร้อยละความสำเร็จในการ
เดือดร้อน หรอื ข้อรอ้ งเรียน ร้องเรียนของประชาชน จัดการแก้ไขปญั หา
ของประชาชน ได้รบั การแก้ไขอย่างรวดเร็ว ความเดือดรอ้ น
มีประสิทธิภาพ หรอื ข้อรอ้ งเรียนของประชาชน
๗๔
2. การตรวจราชการกรณีพเิ ศษ
การตรวจราชการกรณีพิเศษ เป็นการตรวจราชการนอกเหนือจากการตรวจราชการ
กรณีปกติ เชน่ นโยบายสำคัญเร่งดว่ น และการมอบหมายของผู้บังคับบญั ชาในเร่อื งทีเ่ ป็นปัญหาสำคัญ
ในพื้นที่ และมีผลกระทบต่อนโยบายของรัฐบาล รวมถึง การตรวจติดตามที่สอดคล้องตามหลักเกณฑ์
และวิธีการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี ซึง่ กระทรวงได้กำหนดใน 2 เร่อื ง ได้แก่
2.1 โครงการเพิ่มทกั ษะด้านอาชีพแก่นกั เรยี นครอบครวั ยากจนท่ีไมไ่ ด้เรยี นต่อหลงั จากจบการศึกษา
ภาคบังคบั ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2564
สำนักงานผู้ตรวจการแผ่นดิน ได้ดำเนินโครงการเพิ่มทักษะด้านอาชีพแก่นักเรียน
ครอบครัวยากจนที่ไม่ได้เรียนต่อหลังจากจบการศึกษาภาคบังคับ วัตถุประสงค์ เพื่อพัฒนาทักษะด้าน
อาชีพให้กับนักเรียนครอบครัวยากจนที่ไม่ได้เรียนต่อหลังจากจบการศึกษาภาคบังคับทั่วประเทศให้ได้
พฒั นาทักษะฝมี อื กอ่ นออกสตู่ ลาดแรงงาน เพิ่มโอกาสการมงี านทำ
สำนักงานผู้ตรวจการแผ่นดิน ได้มีหนังสือถึงปลัดกระทรวงการพัฒนาสังคมและ
ความมั่นคงของมนุษย์ (หนังสือ ด่วนที่สุด ที่ ผผ 13/274 ลงวันที่ 30 ตุลาคม 2563) เพื่อขอความ
ร่วมมือพิจารณาบรรจุโครงการเพิ่มทักษะด้านอาชีพแก่นักเรียนครอบครัวยากจนที่ไม่ได้เรียนต่อ
หลังจากจบการศึกษาภาคบังคับ ในปฏิทินการตรวจราชการของผู้ตรวจราชการกระทรวง เพื่อให้
ผู้ตรวจราชการติดตามผลการดำเนินงานในโครงการดังกล่าวตามปฏิทินในคราวไปตรวจราชการตาม
ภารกิจของกระทรวงตามความเหมาะสม ต่อไป
2.2 การกำกับองค์การท่ีดี
การกำกับองคก์ การทีด่ ี ประกอบด้วย 4 ด้าน ได้แก่
- ด้านกระบวนการ / ขนั้ ตอนการให้บริการ
- ด้านเจา้ หนา้ ที่ / บุคลากรผใู้ ห้บริการ
- ด้านสิ่งอำนวยความสะดวก
- ด้านความพึงพอใจต่อผลของการใหบ้ ริการ
๗๕
3. การตรวจราชการแบบบูรณาการ
การตรวจราชการแบบบูรณาการของผู้ตรวจราชการกระทรวงการพัฒนาสังคมและ
ความมั่นคงของมนุษย์ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 ร่วมกับผู้ตรวจราชการสำนักนายกรัฐมนตรี
และผตู้ รวจราชการกระทรวงทีเ่ กีย่ วข้อง ภายใต้ประเด็นนโยบายเร่งดว่ น/สำคัญของรฐั บาลตามที่สำนัก
นายกรฐั มนตรกี ำหนด
การตรวจราชการแบบบูรณาการของผู้ตรวจราชการกระทรวงการพัฒนาสังคมและ
ความมั่นคงของมนุษย์ ร่วมกับผู้ตรวจราชการสำนักนายกรัฐมนตรี และผู้ตรวจราชการกระทรวง
ที่เกี่ยวข้องเป็นมาตรการสำคัญในการบริหารราชการแผ่นดิน ที่จะทำให้การปฏิบัติราชการหรือการ
จัดทำภารกิจของหน่วยงานของรัฐบรรลุเป้าหมาย สอดคล้องกับกรอบยุทธศาสตร์ชาติ ระยะ ๒๐ ปี
(พ.ศ. ๒๕๖๑ –๒๕๘๐) แผนแม่บทภายใต้ยุทธศาสตร์ชาติฯ แผนปฏิรูปประเทศ แผนพัฒนาเศรษฐกิจ
และสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ ๑๒ (พ.ศ. ๒๕๖๐ – ๒๕๖๔) นโยบายของรัฐบาล และ ยุทธศาสตร์
การจัดสรรงบประมาณรายจ่ายประจำปีงบประมาณ รวมทั้ง สามารถแก้ไขปัญหา อุปสรรคเร่งด่วน
ของประเทศ ปัญหาความเดือดร้อนของประชาชน และก่อให้เกิดประโยชน์สุขกับประชาชน ด้วยความ
โปรง่ ใส เป็นธรรม ประหยัดและมีประสทิ ธิภาพ เป็นไปตามหลักเกณฑก์ ารบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี
การตรวจราชการตามระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยการตรวจราชการแบบ
บูรณาการเป็นกระบวนการติดตามและประเมินผลเพื่อผลั กดันให้เกิดการผนึกกำลังทั้งในด้าน
ประสิทธิผลประสิทธิภาพคุณภาพการบริการและขีดสมรรถนะระหว่างส่วนราชการไปสู่การบรรลุผล
สำเร็จตามประเด็นนโยบายตามประเดน็ ยุทธศาสตรใ์ นทุกพืน้ ทีท่ ี่เกีย่ วข้องและตามหลกั การบริหาร
กิจการบ้านเมืองทีด่ ี
การตรวจราชการบูรณาการ หมายถึง
ร่วมคิด โดยวางแผนการตรวจราชการด้วยกระบวนการชุดเดียวกันและเป็นการ
วางแผน โดยเตรยี มการไว้ลว่ งหนา้ ในแตล่ ะรอบปีงบประมาณ เพือ่ ทำให้เกิดรูปธรรมของคำวา่ “เชิงรกุ ”
ร่วมตรวจ ในประเดน็ ยุทธศาสตรห์ รอื ประเด็นนโยบายระดับชาติเดียวกัน
ร่วมให้ข้อเสนอแนะ โดยเล็งเป้าไปที่การลดความเสี่ยงเชิงยุทธศาสตร์ร่วมกัน และ
จัดทำรายงานผลการตรวจราชการด้วยมาตรฐานเดียวกัน ซึ่งสมควรเผยแพรต่ ่อสาธารณชน
ร่วมสร้างภาคีภาคประชาชน ให้มีส่วนร่วมของประชาชนในกระบวนการตรวจ
ราชการระดบั พืน้ ที่
๗๖
ร่วมรับการประเมิน ภายใต้คำรับรองการปฏิบัติราชการที่มีการประเมินตัวชี้วดั และ
ค่าเป้าหมายเพื่อบรรลคุ ่าคะแนนทางการบริหาร (Management Score Point) รว่ มกัน
(ที่มา : คู่มือการตรวจราชการแบบบูรณาการของผู้ตรวจราชการสำนักนายกรัฐมนตรีและผู้ตรวจ
ราชการกระทรวง, ม.ป.ป., หนา้ 2)
กรอบประเด็นการตรวจราชการแบบบรู ณาการของผ้ตู รวจราชการ
ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2564
กรอบประเด็นการตรวจราชการแบบบรู ณาการของผตู้ รวจราชการ ประกอบด้วย
1. การตรวจราชการแบบบูรณาการในภาพรวม จำนวน ๓ เร่อื ง ได้แก่
1.1 การฟืน้ ฟูคุณภาพชีวติ ของประชาชนหลังการแพร่ระบาดของโรคติด
เชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ในภาพรวม เน้นการรับฟังข้อคิดเห็น ปัญหาอุปสรรค และ
ข้อเสนอแนะเกี่ยวกับการฟื้นฟูคณุ ภาพชีวิตของประชาชนหลังการแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโร
นา 2019 (COVID-19) จากการดำเนินแผนงานหรือโครงการที่มีวัตถุประสงค์เพื่อฟื้นฟูเศรษฐกิจและ
สังคมที่ได้รับผลกระทบจากการแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) (กรอบ
วงเงินงบประมาณ จำนวน ๔๐๐,๐๐๐ ล้านบาท)
1.2 การจัดการแหล่งน้ำชุมชนภาคการเกษตร เน้นตรวจติดตาม
ในโครงการต่าง ๆ ดงั น้ี
๑.๒.๑ โครงการ ๑ ตำบล ๑ เกษตรทฤษฎีใหม่ประยุกต์ โคก หนอง นา
โมเดล ในส่วนของการปรับพื้นที่เพื่อสร้างแหล่งน้ำชุมชน และในด้านการจัดการแหล่งน้ำชุมชน
เพื่อการเกษตรอย่างมีประสิทธิภาพ และการสร้างแหล่งน้ำของชุมชนในพื้นที่ของสำนักงานปฏิรูปที่ดิน
เพื่อเกษตรกรรม (ส.ป.ก.)
๑.๒.2 โครงการกอ่ สร้างแหลง่ นำ้ ในไร่นานอกเขตชลประทาน
1.3 การส่งเสริมและพัฒนาอาชีพของประชาชนในโครงการจัดที่ดิน
ทำกินให้ชุมชนตามนโยบายรัฐบาล (คทช.) เน้นตรวจติดตามการส่งเสริมและพัฒนาอาชีพ
ของประชาชนในโครงการจดั ที่ดนิ ทำกินให้ชุมชนตามนโยบายรฐั บาล (คทช.)
2. การตรวจราชการแบบบูรณาการเชิงพื้นท่ี จำนวน ๒ เร่อื ง ได้แก่
2.1 การแกไ้ ขปญั หามลพิษทางอากาศ เน้นตรวจติดตาม ดงั น้ี
๒.๑.๑ การดำเนินการขับเคลื่อนมาตรการต่าง ๆ ภายใต้แผนปฏิบัติการ
ขับเคลื่อนวาระแห่งชาติ “การแก้ไขปัญหามลพิษด้านฝุ่นละออง” ของกรมควบคุมมลพิษ กระทรวง
ทรัพยากรธรรมชาติและส่งิ แวดล้อม
๗๗
2.1.2 การดำเนินมาตรการตามหลักการบริหารจัดการสาธารณภัย
(2P2R) ได้แก่ การป้องกัน (Prevention) การเตรียมความพร้อม (Preparation) การรับมือ (Response)
และการฟื้นฟู (Recovery) ของจังหวัด เพื่อสร้างคุณภาพชีวิตและสิ่งแวดล้อมที่ดีให้กับประชาชน
อยา่ งยั่งยนื
2.๒ การแก้ไขปัญหาความเดือดร้อนของประชาชน/การพัฒนาเชิงพื้นที่
เน้นตรวจติดตามปัญหาที่เกี่ยวข้องกับประชาชนจำนวนมาก ซึ่งอาจเป็นปัญหาที่มีแนวโน้มจะเป็น
ปัญหามวลชน และการดำเนินการแก้ไขปัญหาดังกล่าวไม่สามารถดำเนินการได้ด้วยหน่วยงานใด
หน่วยงานหนง่ึ
กรอบแนวทางปฏิบัติและกรอบเวลาในการตรวจราชการแบบบูรณาการ
กรอบแนวทางปฏิบัติและกรอบเวลาในการตรวจราชการแบบบรู ณาการ มีดงั นี้
1. การตรวจติดตามในพื้นท่ี
1.1 การตรวจราชการแบบบูรณาการในภาพรวม ผู้ตรวจราชการสำนัก
นายกรัฐมนตรีและผู้ตรวจราชการกระทรวง ลงพื้นที่ตรวจราชการแบบบรู ณาการตามกำหนดการและ
สถานที่ทีไ่ ด้กำหนดโดยผู้ตรวจราชการสำนักนายกรฐั มนตรี อยา่ งน้อยเขตตรวจราชการละ ๑ จงั หวัด
1.2 การตรวจราชการแบบบรู ณาการในพื้นที่
1.๒.๑ การแก้ไขปัญหามลพิษทางอากาศ ผู้ตรวจราชการสำนัก
นายกรัฐมนตรีและผู้ตรวจราชการกระทรวงที่เกี่ยวข้อง ลงพื้นที่ตรวจราชการแบบบูรณาการ
ตามกำหนดการและสถานที่ที่ได้กำหนดโดยผู้ตรวจราชการสำนกั นายกรฐั มนตรี
1.๒.๒ การแก้ไขปัญหาความเดือดร้อนของประชาชน/การพัฒนาเชิงพื้นที่
ผตู้ รวจราชการสำนักนายกรัฐมนตรีและผตู้ รวจราชการกระทรวง/กรมเฉพาะกระทรวง/กรม ทีเ่ กีย่ วข้อง
กับปัญหาความเดือดร้อนของประชาชนลงพื้นที่ตรวจราชการแบบบูรณาการตามกำหนดการและ
สถานที่ที่ได้กำหนดโดยผู้ตรวจราชการสำนักนายกรฐั มนตรี
2. วิธีการตรวจติดตาม
๒.๑) การตรวจราชการแบบบูรณาการในภาพรวม การฟื้นฟูคุณภาพชีวิต
ของประชาชนหลังการแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ตรวจติดตาม
โดยวิธีการสดับตรับฟัง ข้อคิดเห็น ปัญหา อุปสรรคและข้อเสนอแนะในเชิงภาพรวมจากการดำเนิน
นโยบายฟืน้ ฟูเศรษฐกิจและสงั คมฯ จากตัวแทนภาครัฐ เอกชน และประชาชน
๒.2) การจัดการแหล่งน้ำชุมชนภาคการเกษตร และการส่งเสริมและพัฒนา
อาชีพของประชาชนในโครงการจัดที่ดินทำกินให้ชุมชน ตรวจติดตามโดยวิธีการรับฟังรายงานและ
๗๘
สอบถามข้อมูลจากหน่วยงานที่เกี่ยวข้องและหน่วยงานอื่น ๆ ตามดุลพินิจของผู้ตรวจราชการ และ
การสังเกตการณ์การดำเนินการในพืน้ ที่จรงิ ตามดุลพินิจของผู้ตรวจราชการ
3. ระยะเวลาการตรวจติดตาม
ระยะเวลาในการตรวจตดิ ตาม แบ่งเปน็ ๒ ครงั้ ดังน้ี
- คร้ังที่ ๑ ระหว่างวันที่ ๑ กมุ ภาพนั ธ์ - ๑๕ มีนาคม ๒๕๖๔
- ครั้งที่ ๒ ระหวา่ งวนั ที่ ๑ กรกฎาคม - ๑๖ สิงหาคม ๒๕๖๔
4. การตรวจราชการตามสถานการณ์ เหตุการณท์ ี่สำคญั
การตรวจราชการตามสถานการณ์ เหตุการณ์ที่สำคัญ เหตุการณ์ฉุกเฉิน หรือ
สาธารณภัย อันจำเป็นเร่งด่วนที่รัฐบาลหรือหน่วยงานต้องเข้าดำเนินการช่วยเหลือและแก้ไข
ให้ทันเหตุการณ์
๗๙
ส่วนที่ 3
เขตและพืน้ ที่รบั ผิดชอบของผู้ตรวจราชการกระทรวง พม.
เขตและพื้นท่รี บั ผิดชอบของผู้ตรวจราชการ
เขตและพื้นที่รับผิดชอบของผู้ตรวจราชการกระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคง
ของมนุษย์ จำนวน 19 เขต โดยแบ่งเปน็ สว่ นภมู ภิ าค 18 เขต และสว่ นกลาง (กรงุ เทพมหานคร) 1 เขต
ตาม คำสั่งกระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ ที่ 204/2563
เรื่องการมอบหมายให้ผู้ตรวจราชการกระทรวงการพฒั นาสงั คมและความม่ันคงของมนุษย์ รับผิดชอบ
เขตตรวจราชการ รายละเอียด ดงั น้ี
ผ้ตู รวจราชการกระทรวงการพัฒนาสังคมและความมัน่ คงของมนษุ ย์
เขตตรวจราชการท่ี กล่มุ จงั หวัดตามเขตตรวจราชการ
15 กลุม่ จงั หวัดภาคเหนือตอนบน 1
เชยี งใหม่ แมฮ่ อ่ งสอน ลำปาง ลำพนู
16 กลุ่มจงั หวัดภาคเหนือตอนบน 2
เชยี งราย น่าน พะเยา แพร่
17 กล่มุ จังหวดั ภาคเหนือตอนล่าง 1
ตาก พิษณโุ ลก เพชรบูรณ์ สโุ ขทัย อุตรดิตถ์
ผู้ตรวจราชการกระทรวงการพัฒนาสงั คมและความมั่นคงของมนษุ ย์
เขตตรวจราชการท่ี กลมุ่ จังหวัดตามเขตตรวจราชการ
4 กลมุ่ จงั หวดั ภาคกลางตอนล่าง 2
ประจวบคีรขี ันธ์ เพชรบรุ ี สมุทรสงคราม สมุทรสาคร
6 กลุ่มจังหวดั ภาคใตฝ้ ่ังอันดามนั
กระบี่ ตรงั พงั งา ภเู กต็ ระนอง สตูล
7 กลมุ่ จงั หวดั ภาคใต้ชายแดน
นราธิวาส ปัตตานี ยะลา
๘๐
ผู้ตรวจราชการกระทรวงการพัฒนาสงั คมและความมนั่ คงของมนษุ ย์
เขตตรวจราชการท่ี กลุ่มจงั หวดั ตามเขตตรวจราชการ
1 กลุ่มจงั หวดั ภาคกลางตอนบน
ชัยนาท พระนครศรอี ยุธยา ลพบุรี สระบุรี สิงห์บุรี อา่ งทอง
2 กลมุ่ จงั หวดั ภาคกลางปริมณฑล
นนทบรุ ี ปทุมธานี นครปฐม สมุทรปราการ
3 กลุ่มจังหวัดภาคกลางตอนลา่ ง 1
กาญจนบุรี ราชบุรี สุพรรณบรุ ี
เขตตรวจราชการ กรุงเทพมหานคร
ส่วนกลาง
นายชูรินทร์ ขวญั ทอง
ผตู้ รวจราชการกระทรวงการพัฒนาสังคมและความมนั่ คงของมนุษย์
เขตตรวจราชการท่ี กลุม่ จังหวัดตามเขตตรวจราชการ
5 กลมุ่ จงั หวัดภาคใต้ฝั่งอ่าวไทย
ชมุ พร นครศรธี รรมราช พทั ลุง สุราษฎร์ธานี สงขลา
11 กลมุ่ จงั หวัดภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนบน 2
นครพนม มกุ ดาหาร สกลนคร
14 กลมุ่ จงั หวัดภาคตะวนั ออกเฉียงเหนือตอนล่าง 2
ยโสธร ศรษี ะเกษ อำนาจเจริญ อุบลราชธานี
๘๑
นายอนันต์ ดนตรี
ผู้ตรวจราชการกระทรวงการพัฒนาสังคมและความม่นั คงของมนุษย์
เขตตรวจราชการท่ี กลมุ่ จังหวดั ตามเขตตรวจราชการ
12 กลุ่มจงั หวดั ภาคตะวนั ออกเฉียงเหนือตอนกลาง
กาฬสินธุ์ ขอนแก่น มหาสารคาม ร้อยเอด็
13 กลมุ่ จงั หวัดภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนล่าง 1
ชยั ภมู ิ นครราชสีมา บรุ ีรัมย์ สุรินทร์
18 กลมุ่ จงั หวัดภาคเหนือตอนลา่ ง 2
กำแพงเพชร นครสวรรค์ พิจติ ร อุทยั ธานี
นายธนสุนทร สว่างสาลี
ผู้ตรวจราชการกระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนษุ ย์
เขตตรวจราชการท่ี กลมุ่ จังหวัดตามเขตตรวจราชการ
8 กลุ่มจังหวดั ภาคตะวนั ออก 1
ฉะเชงิ เทรา ชลบรุ ี ระยอง
9 กลมุ่ จงั หวดั ภาคตะวันออก 2
จนั ทบุรี ตราด นครนายก ปราจนี บรุ ี สระแก้ว
10 กลมุ่ จงั หวัดภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนบน 1
บึงกาฬ เลย หนองคาย หนองบวั ลำภู อุดรธานี
๘๒
การแบง่ พื้นทีจ่ ังหวัด สำนักงานส่งเสรมิ และสนับสนุนวิชาการ 1 - 11
ตามการปรับปรุงโครงสร้างการแบง่ สว่ นราชการของ สป.พม.
สสว. 1 จำนวน 8 จังหวดั ประกอบด้วย
ปทุมธานี นนทบุรี พระนครศรีอยุธยา สระบุรี อ่างทอง นครนายก สมุทรปราการ และ
กรุงเทพมหานคร
สสว. 2 จำนวน 7 จงั หวดั ประกอบดว้ ย
ชลบุรี ระยอง จันทบรุ ี ตราด ปราจนี บุรี สระแก้ว และฉะเชงิ เทรา
สสว. 3 จำนวน 8 จงั หวัด ประกอบดว้ ย
นครปฐม ราชบุรี เพชรบุรี ประจวบคีรีขันธ์ กาญจนบุรี สมุทรสาคร สมุทรสงคราม และ
สุพรรณบุรี
สสว. 4 จำนวน 6 จังหวัด ประกอบด้วย
นครราชสีมา ชยั ภมู ิ บรุ ีรมั ย์ สรุ ินทร์ ศรสี ะเกษ และ ยโสธร
สสว. 5 จำนวน 7 จงั หวดั ประกอบด้วย
ขอนแก่น อุดรธานี หนองคาย หนองบวั ลำภู เลย รอ้ ยเอ็ด และมหาสารคาม
สสว. 6 จำนวน 7 จงั หวดั ประกอบดว้ ย
กาฬสินธ์ุ สกลนคร บึงกาฬ อำนาจเจรญิ อบุ ลราชธานี มกุ ดาหาร และนครพนม
สสว. 7 จำนวน 6 จังหวัด ประกอบด้วย
ลพบุรี สิงห์บรุ ี ชยั นาท อทุ ัยธานี นครสวรรค์ และพิจติ ร
สสว. 8 จำนวน 6 จังหวัด ประกอบดว้ ย
อตุ รดิตถ์ พิษณโุ ลก เพชรบูรณ์ สโุ ขทยั ตาก และกำแพงเพชร
สสว. 9 จำนวน 8 จังหวัด ประกอบด้วย
เชยี งใหม่ เชยี งราย ลำปาง ลำพูน พะเยา นา่ น แพร่ และแม่ฮ่องสอน
สสว. 10 จำนวน 7 จงั หวดั ประกอบด้วย
สุราษฎร์ธานี ชมุ พร ระนอง กระบี่ พังงา นครศรธี รรมราช และภเู กต็
สสว. 11 จำนวน 7 จังหวัด ประกอบดว้ ย
สงขลา ยะลา ปตั ตานี นราธิวาส สตูล ตรัง และพทั ลุง
สว่ นท
แผนปฏิบัติงานการตรวจราชการกระทรวงกา
ประจำปีงบประมาณ
กิจกรรม 25
ต.ค. พ
1. จัดทำคำสั่งแบ่งเขตตรวจราชการ ประจำปี และมอบหมาย
ความรับผิดชอบ
1.1 ประชุมผู้ตรวจราชการ เพือ่ แบง่ เขตตรวจราชการ
1.2 การจัดทำคำสัง่ แบ่งเขตตรวจราชการ
1.3 เสนอร่างคำส่ัง แบง่ เขตตรวจราชการ เสนอ รมว.พม.
ให้ความเห็นชอบ
2. การจัดทำแผนและแนวทางการตรวจราชการ ประจำปี
งบประมาณ พ.ศ. 256๔
2.1 ประชุมผู้ตรวจราชการ และหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง เพื่อกำหนด
แผนและแนวทางการตรวจราชการ
2.2 การจัดทำแผนและแนวทางการตรวจราชการ ประจำปี
งบประมาณ พ.ศ. 256๔
๘๓
ที่ 4
ารพัฒนาสังคมและความมนั่ คงของมนษุ ย์
ณ พ.ศ. 256๔
56๓ 256๔
พ.ย. ธ.ค. ม.ค. ก.พ. มี.ค. เม.ย. พ.ค. มิ.ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย.
กิจกรรม 25
ต.ค. พ
3. การมอบนโยบาย การขับเคลื่อนตามนโยบาย และติดตาม
งานตามแผนการตรวจราชการ
การตรวจราชการ รอบ ๑ (Agenda Review)
3.1 การชี้แจงแนวทาง แผนการตรวจราชการ ประเด็น เครื่องมือ
และการจดั ทำรายงาน
การตรวจราชการ รอบ 2 (Progress Review)
3.2 การลงพื้นที่ เพื่อติดตามความก้าวหน้า ปัญหา อุปสรรคใน
การปฏิบตั ิงาน (รายจังหวัด)
การตรวจราชการ รอบ 3 (Evaluation)
3.3 การประเมินประสิทธิภาพ ประสิทธิผล และความคุ้มค่าใน
การปฏิบัติงาน
4. สนับสนนุ การตรวจราชการของ รมว.พม.
4.1 การประชมุ วางแผน ลงพนื้ ที่
4.2 การประสานงานพืน้ ที่ และจัดทำขอ้ มูลลงพ้ืนที่
4.3 การเตรียมการลงพืน้ ที่ และลงพนื้ ที่
4.4 การจดั ทำรายงานตามข้อสั่งการ รมว.พม.
๘๔
56๓ 256๔
พ.ย. ธ.ค. ม.ค. ก.พ. มี.ค. เม.ย. พ.ค. มิ.ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย.
กิจกรรม 25
ต.ค. พ
5. การตรวจราชการแบบบูรณาการ
5.1 การประชุมเลือกประเดน็ การตรวจราชการแบบบูรณาการ
5.2 การลงพื้นที่ เพื่อร่วมการตรวจราชการแบบบูรณาการ
รว่ มกบั ผตู้ รวจราชการสำนักนายกรฐั มนตรี รอบ 1
5.3 การลงพื้นที่ เพื่อร่วมการตรวจราชการแบบบูรณาการ
ร่วมกับ ผตู้ รวจราชการสำนกั นายกรัฐมนตรี รอบ 2
5.4 การประชุม จดั ทำรายงานการตรวจราชการ
๘๕
56๓ 256๔
พ.ย. ธ.ค. ม.ค. ก.พ. มี.ค. เม.ย. พ.ค. มิ.ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย.
กิจกรรม 25
ต.ค. พ
6. การตรวจสอบ และประเมินผลภาคราชการ (ค.ต.ป.)
ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 256๔
6.1 การประชมุ ค.ต.ป. ประจำเดือน
6.2 การลงพื้นที่ตรวจสอบ และประเมินผลภาคราชการ ร่วมกับ
คณะกรรมการตรวจสอบและประเมนิ ผลประจำกระทรวง พม.
7. การสรปุ ผลการตรวจราชการ
7.1 การจัดทำรายงานผลการตรวจราชการ ตามแผนการตรวจ
ราชการ รอบ 1 นำเสนอต่อผบู้ ริหารระดบั สูง
7.2 การจัดทำรายงานผลการตรวจราชการ ตามแผนการตรวจ
ราชการ รอบ 2 นำเสนอตอ่ ผบู้ ริหารระดับสงู
7.3 การจัดทำรายงานสรุปผลการตรวจราชการ รอบ 6 เดือน
และ 12 เดือน เสนอปลัดกระทรวง พม. และหน่วยงานทีเ่ กี่ยวข้อง
ดำเนนิ การ
8. ภารกิจอืน่ ๆ ท่ไี ด้รับมอบหมาย
หมายเหตุ : การประชุมผู้ตรวจราชการกระทรวง พม. มีการดำเนินการ ท
๘๖
56๓ 256๔
พ.ย. ธ.ค. ม.ค. ก.พ. มี.ค. เม.ย. พ.ค. มิ.ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย.
ทกุ เดือน อย่างน้อยเดือนละ 1 ครงั้
๘๗
ภาคผนวก
แนวทางปฏบิ ตั ิที่เกี่ยวข้องกบั การตรวจราชการ
1. บทบาท หน้าท่ขี องผ้ทู ่ีเกีย่ วข้องในการตรวจราชการ
ผทู้ เ่ี กี่ยวข้องในการตรวจราชการ
1. ผู้ตรวจราชการ
หมายถึง ผู้ตรวจราชการผู้รับผิดชอบและมีอำนาจหน้าที่ในการตรวจราชการเกี่ยวกับการ
ปฏิบัติราชการของหน่วยงานของรัฐและเจ้าหน้าที่ของรัฐ เฉพาะในขอบเขตอำนาจและหน้าที่
ของกระทรวง ในฐานะผสู้ อดส่องดูแลแทนรัฐมนตรีว่าการกระทรวง รัฐมนตรชี ่วยว่าการกระทรวง และ
ปลดั กระทรวง
วัตถุประสงค์ และขอบเขตการตรวจราชการ
ระเบียบกระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ ว่าด้วยการตรวจ
ราชการของผู้ตรวจราชการกระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ พ.ศ.๒๕๔๘ ข้อ ๗
ได้กำหนดวตั ถุประสงคแ์ ละขอบเขตการตรวจราชการ ดงั น้ี
1. เพื่อชี้แจง แนะนำ หรือทำความเข้าใจกับหน่วยงานและเจ้าหน้าที่เกี่ยวกับแนวทาง
และการปฏิบัติงานหรือการจัดทำภารกิจตามนโยบายของรัฐบาล แผนต่าง ๆ ของชาติ และของ
กระทรวง กรม
2. เพื่อตรวจติดตามว่าหน่วยงานได้ปฏิบัติถูกต้องตามกฎหมาย กฎ ระเบียบ
ข้อบังคับ ประกาศ มติคณะรัฐมนตรี และคำสั่งของนายกรัฐมนตรี และเป็นไปตามความมุ่งหมาย
วัตถุประสงค์ เป้าหมาย และผลสมั ฤทธิ์ตามนโยบายรัฐบาล แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสงั คมแห่งชาติ
แผนการบริหารราชการแผ่นดิน แผนหรือยุทธศาสตร์ใด ๆ ที่กำหนดเป็นยุทธศาสตร์ชาติหรือวาระ
แหง่ ชาติหรอื ไม่
๘๘
3. เพื่อติดตามความก้าวหน้า ปัญหา และอุปสรรค รวมทั้งประเมินประสิทธิภาพ
ประสิทธิผล และความคุ้มค่าในการปฏิบตั ิงานหรอื การจัดทำภารกิจของกระทรวง กรม
4. เพื่อสดับตรับฟังทุกข์สุข ความคิดเห็น และความต้องการของเจ้าหน้าที่และ
ประชาชน
5. เพื่อแสวงหาข้อเท็จจริง และสืบสวนสอบสวนเกี่ยวกับเหตุการณ์หรือสถานการณ์
ในพืน้ ที่
เพื่อให้เป็นไปตามวัตถุประสงค์ของการตรวจราชการตามระเบียบข้อ ๗
ให้ผู้ตรวจราชการกระทรวง มีอำนาจหนา้ ท่ี ดงั ตอ่ ไปน้ี
อำนาจหน้าท่ี
ผู้ตรวจราชการกระทรวง
1. สั่งเป็นลายลักษณ์อักษรให้ผู้รับการตรวจปฏิบัติในเรื่องใดเรื่องหนึ่งให้ถูกต้อง
ตามกฎหมาย กฎ ระเบียบ ขอ้ บงั คับ ประกาศ มตคิ ณะรัฐมนตรี หรอื คำสั่งของนายกรฐั มนตรี
2. สัง่ เปน็ ลายลกั ษณอ์ กั ษรให้ผรู้ ับการตรวจปฏิบัติหรืองดเว้นการปฏิบัติในเร่ืองใดๆ
ในระหว่างการตรวจราชการไว้ก่อน หากเห็นว่าจะก่อให้เกิดความเสียหายแก่ทางราชการหรือ
ประโยชน์ของประชาชนอย่างร้ายแรง และเมื่อได้สั่งการดังกล่าวแล้ว ให้รายงานผู้บังคับบัญชา
เพือ่ ทราบหรือ พิจารณาโดยดว่ น
3. สั่งให้หน่วยงานและเจ้าหน้าที่ชี้แจง ให้ถ้อยคำ หรือส่งเอกสาร และหลักฐาน
เกีย่ วกบั การปฏิบตั ิงานเพือ่ ประกอบการพิจารณา
4. สอบสวนข้อเท็จจริง สืบสวนสอบสวน หรอื สดบั ตรับฟังเหตกุ ารณ์ เม่ือได้รับการ
ร้องเรียน หรือมีเหตุอันสมควร โดยประสานการดำเนินงานกับหน่วยงานและหน่วยตรวจสอบอื่นๆ
เพื่อแก้ไขปญั หาความเดือดรอ้ นของประชาชนหรือปัญหาอุปสรรคของหน่วยงานหรอื เจ้าหน้าที่
5. ประเมินผลการปฏิบัติราชการของผู้รับการตรวจและรายงานผู้บังคับบัญชาเพื่อ
ทราบ
6. เรียกประชุมเจ้าหนา้ ที่เพื่อชีแ้ จง แนะนำ หรอื ปรึกษาหารอื รว่ มกัน
๘๙
2. ผชู้ ว่ ยผตู้ รวจราชการกระทรวง
หมายถึง ผู้ช่วยตรวจราชการ รับผิดชอบและมีอำนาจหน้าที่ในการช่วยการตรวจราชการ
ในพืน้ ที่ ในทีน่ ้ี คือ สำนักงานส่งเสริมและสนับสนนุ วิชาการ 1 – 11 (สสว.)
บทบาทหน้าท่ีของสำนักงานส่งเสริมและสนับสนุนวิชาการ
1. นเิ ทศและติดตามผลการดำเนินงานการตรวจราชการกระทรวงการพัฒนาสงั คมและ
ความมั่นคงของมนษุ ย์
1.1 การชีแ้ จง แนะนำ และให้คำปรึกษาแก่หน่วยรบั ตรวจในการดำเนินงานนโยบาย
ตามแผนการตรวจราชการประจำปี
1.2 ติดตามผลการดำเนินงานตามข้อสังเกต/ข้อเสนอแนะของผู้ตรวจราชการ
พร้อมท้ังรายงานผลการติดตามให้ผู้ตรวจราชการทราบ
1.3 ร่วมปรึกษาหารือกับหน่วยรับตรวจในการพัฒนาบุคลากรเพื่อเพิ่ม
ประสิทธิภาพในการปฏิบัติงาน เช่น การอบรม/สมั มนา/วิธีการแลกเปลีย่ นเรียนรู้ในเขตตรวจราชการ
2. สนับสนนุ การตรวจราชการในเขตพืน้ ทก่ี ารตรวจราชการทร่ี ับผิดชอบ
2.1 ดำเนนิ การจัดประชมุ การตรวจราชการ รอบ 1 จำแนกเปน็ รายเขต สสว.
2.2 ให้การสนับสนุนทรัพยากรที่จำเป็นต่อการตรวจราชการ เช่น บุคลากร วัสดุ
อุปกรณ์ ยานพาหนะ ฯลฯ
2.3 การจัดทำแผนปฏิบัติการออกตรวจราชการร่วมกับผู้ตรวจราชการกระทรวง
และเตรียมข้อมูลตามประเด็นการตรวจราชการในแต่ละรอบการตรวจราชการ รวมถึงการจัดทำ
รายงานผลการออกตรวจราชการในพื้นที่ เป็นรายรอบการตรวจราชการเสนอปลัดกระทรวงการ
พัฒนาสงั คมและความม่นั คงของมนุษย์ และสำนักนายกรัฐมนตรี
2.4 ร่วมตรวจราชการกับผู้ตรวจราชการ โดยทำหน้าที่วิเคราะห์กิจกรรมที่หน่วย
รับตรวจนำเสนอว่ามีความเหมาะสม และถูกต้องและเป็นผลดีต่อการบริหารงาน รวมทั้งให้
ข้อเสนอแนะตอ่ ผู้ตรวจราชการ
3. รวบรวม ประมวล วิเคราะห์ และรายงานสถานการณ์ทางสังคมและการดำเนินงาน
นโยบายตามแผนการตรวจราชการกระทรวงการพฒั นาสังคมและความมนั่ คงของมนุษย์
3.1 ประเมินสถานการณ์ระดับจงั หวดั ในพืน้ ทีเ่ ขตตรวจราชการเพื่อนำเสนอผู้ตรวจ
ราชการเพื่อใช้เป็นข้อมูลประกอบการพิจารณากระบวนการบริหารงานตามนโยบายของหน่ วยรับ
ตรวจ
๙๐
3. ผูส้ นบั สนุนการตรวจราชการ
หมายถึง เจ้าหนา้ ที่ผู้ปฏิบัติงานในการสนับสนนุ งานตรวจราชการ ประกอบด้วย
3.1 เจ้าหน้าที่กองตรวจราชการ สำนักงานปลัดกระทรวงการพัฒนาสังคมและ
ความมั่นคงของมนษุ ย์
บทบาทหน้าท่ีของเจ้าหน้าท่ีกองตรวจราชการ
1. จดั ทำแผนการตรวจราชการประจำปี
2. จัดทำแบบฟอรม์ การตรวจราชการในแตล่ ะรอบการตรวจราชการ จัดส่งให้กับหนว่ ยรบั ตรวจ
3. ประสานสำนักงานส่งเสริมและสนับสนุนวิชาการในการประชุมกลุม่ จงั หวดั และการตรวจราชการ
ในพืน้ ที่
4. จัดทำรายละเอียดตัวชี้วัดการตรวจราชการแบบบูรณาการ เสนอคณะกรรมการติดตามและ
ประเมินผลคำรบั รองการตรวจราชการแบบบรู ณาการของสำนักนายกรฐั มนตรี
5. รวบรวมรายงานการตรวจราชการ เพื่อนำเสนอปลัดกระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคง
ของมนษุ ย์
6. ดำเนนิ การจดั ประชุมการตรวจราชการในภาพรวม ๗๖ จังหวัด
3.2 เลขานุการผ้ตู รวจราชการกระทรวงการพัฒนาสังคมและความม่ันคงของมนษุ ย์
บทบาทหน้าท่ีของเลขานุการผูต้ รวจราชการกระทรวง
1. ประสานกองตรวจราชการ (กตร.) และสำนักงานส่งเสริมและสนับสนุนวิชาการ (สสว.)
เพือ่ กำหนดวันเวลาและจงั หวัดทีจ่ ะออกตรวจราชการในแตล่ ะรอบ
2. จัดทำบันทึกขออนุมัติค่าใช้จ่ายในการเดินทางไปราชการ ค่าตอบแทนที่ปรึกษาผู้ตรวจราชการ
ภาคประชาชน และกำหนดการประชุมและการตรวจราชการในพื้นที่ของผู้ตรวจราชการกระทรวง
3. ประสาน สสว. หรอื พมจ. เตรียมที่พกั สำหรบั ผู้ตรวจราชการกระทรวงและคณะ
4. จัดเตรียมข้อมูลและ Power Point สำหรับผู้ตรวจราชการกระทรวงในการให้ความรู้แก่เจ้าหน้าที่
ในการประชุมจงั หวัด/กลุม่ จังหวัด
5. รว่ มจัดทำรายงานการออกตรวจราชการในพื้นที่
๙๑
4. หนว่ ยรับตรวจ
หมายถึง หน่วยงานในพื้นที่ สังกัดกระทรวง พม. (เช่น สำนักงานพัฒนาสังคมและความมั่นคง
ของมนุษย์จงั หวดั บ้านพกั เด็กและครอบครวั จังหวัด ศูนย์คุ้มครองคนไร้ทีพ่ ึ่งจังหวดั ) และเจ้าหน้าที่ผู้ซึ่ง
ปฏิบตั ิในหน่วยงานทีร่ ับการตรวจของผตู้ รวจราชการกระทรวง
บทบาทหน้าท่ีของหนว่ ยรับตรวจ (หนว่ ยงานในพื้นท)่ี
1. จดั เตรียมขอ้ มูลการดำเนินงานตามแผนการตรวจราชการประจำปี
2. ประสานหน่วยงาน/องค์กร ที่ปรึกษาผู้ตรวจราชการภาคประชาชนด้านสังคมของจังหวัด
เครือข่ายภาคประชาสังคม ผู้เข้าร่วมโครงการ และประชาชนในพื้นที่ในกรณีที่ผู้ตรวจราชการ
กระทรวงจะเดินทางไปตรวจตดิ ตามงานตามนโยบายหรือตรวจเยีย่ มโครงการ
3. พมจ./หัวหน้ากลุ่ม/หัวหน้าฝ่าย/เจ้าหน้าที่ที่เกี่ยวข้อง/หัวหน้าหน่วยงานทุกแห่ง เข้าร่วมประชุม
เพือ่ ให้ขอ้ มลู การดำเนินงาน
4. รายงานผลความก้าวหน้าการดำเนินงานนโยบายตามแผนการตรวจราชการประจำปี และการ
ดำเนนิ งานตามข้อเสนอแนะของผตู้ รวจราชการกระทรวง
5. ทป่ี รึกษาผู้ตรวจราชการภาคประชาชน
บทบาทหน้าท่ีของท่ปี รึกษาผ้ตู รวจราชการภาคประชาชน
1. ให้คำปรึกษาแก่ผู้ตรวจราชการสำนักนายกรฐั มนตรี หรือผู้ตรวจราชการกระทรวงในเรื่องที่ตนมี
ความรู้ความชำนาญ และมีความสนใจ โดยเฉพาะในเรื่องที่เป็นนโยบายสำคัญของรัฐบาลที่ผู้ตรวจ
ราชการสำนกั นายกรัฐมนตรหี รอื ผตู้ รวจราชการกระทรวงออกติดตาม
2. ให้ข้อมูล ข้อเท็จจริง ทั้งทางด้านเศรษฐกิจ ด้านสังคม ด้านวิชาการ หรือด้านสิ่งแวดล้อมที่ตนมี
ความรู้ ความชำนาญ รวมทั้งเรื่องที่เป็นประเด็นปัญหา ซึ่งเป็นข้อมูลที่เกิดขึ้นในพื้นที่แก่ผู้ตรวจ
ราชการ สำนักนายกรัฐมนตรีหรือผู้ตรวจราชการกระทรวง ในลักษณะทีส่ ะท้อนถึงการสง่ สัญญาณ
ความเสี่ยงล่วงหน้า
๙๒
3. ร่วมสังเกตการณก์ ารตรวจราชการในพืน้ ที่ภายในจังหวดั กับผตู้ รวจราชการสำนักนายกรัฐมนตรี
หรอื ผตู้ รวจราชการกระทรวงที่ได้รับการประสานงาน
4. ติดตามสถานการณ์ต่าง ๆ ในเขตพื้นที่ภายในจังหวัดที่จะส่งผลกระทบต่อพื้นที่หรือชุมชน
เพื่อรวบรวมเป็นข้อมูลในการให้คำปรึกษาแก่ผู้ตรวจราชการ หรือให้ผู้ตรวจราชการนำไปพิจารณา
ในการให้ข้อสังเกต หรือข้อเสนอแนะแก่หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง เพื่อดำเนินการป้องกันหรือแก้ไขไม่ให้
เกิดผลกระทบต่อประชาชน
5. ตอบแบบสอบถามความคิดเห็นเกี่ยวกับโครงการตามแผนการตรวจราชการที่กระทรวง พม.
ส่งให้เพื่อจะได้รวบรวมข้อคิดเห็นที่เป็นประโยชน์และเป็นข้อมูลให้แก่ผู้ตรวจราชการกระทรวง
ผบู้ ริหารกระทรวงและสำนักนายกรัฐมนตรี
๙๓
2. มาตรฐานในการปฏิบัติหนา้ ท่แี ละจริยธรรมของผูต้ รวจราชการ
1. ผตู้ รวจราชการพึงรวบรวมข้อมลู และติดตามข่าวสารเกีย่ วกบั เรื่องทีจ่ ะตรวจอย่างครบถ้วน
สมบูรณ์ ทั้งจากภาครัฐและภาคเอกชน และทำหน้าที่สอดส่องดูแลงานราชการทั้งของหน่วยงาน
ภาครฐั ต้นสังกัดของตน และราชการของหน่วยงานของรัฐอืน่ ตรวจตดิ ตามงานที่ได้รับมอบหมายอย่าง
เต็มความสามารถ รวดเร็ว ทันเหตุการณ์ ตลอดจนให้ข้อเสนอแนะ เพื่อให้ผู้บังคับบัญชาวินิจฉัยส่ัง
การในการแก้ไขปญั หาได้อย่างชดั เจน ถูกต้อง
ในกรณีที่พบเห็นปัญหาหรืออุปสรรคใดเกิดขึ้น ไม่ว่าจะอยู่ในความรับผิดชอบของหน่วยงาน
ของรฐั ที่ตนสังกัดหรอื ไม่ ให้เปน็ หนา้ ที่ที่จะต้องรายงานให้หนว่ ยงานของรฐั ที่รับผดิ ชอบในกิจการน้ันได้
ทราบโดยทันที
2. ผตู้ รวจราชการต้องร่วมมอื และประสานงานระหว่างกันทกุ ระดบั การตรวจราชการ รวมท้ัง
ประสานงานและรว่ มมอื กับหนว่ ยงานตรวจสอบหรอื ติดตามประเมินผลของส่วนราชการต่าง ๆ เพื่อให้
เกิดประโยชน์สงู สุดแก่การบริหารราชการแผ่นดิน
3. ผู้ตรวจราชการต้องไม่รับสิ่งของมีค่า หรือผลประโยชน์ใด ๆ จากผู้รับการตรวจหรือ
ผเู้ กี่ยวข้อง
(ทีม่ า : ระเบียบสำนกั นายกรัฐมนตรี วา่ ดว้ ยการตรวจราชการ พ.ศ. 2548, หนา้ 7 - 8)
กฎ/ระเบียบที่เกยี่ วขอ้ ง
1. ระเบียบสำนักนายกรฐั มนตรวี า่ ดว้ ยการตรวจราชการ พ.ศ. 2548
2. ระเบียบการตรวจราชการกระทรวงการพฒั นาสงั คมและความมัน่ คงของมนุษย์ พ.ศ. 2548
๙๔
ทำเนยี บทีป่ รกึ ษาผู้ตรวจราชการภาคประชาชน
ปี พ.ศ. 2563 - 2565
QR Code
เอกสาร
ทำเนียบทป่ี รึกษาผตู้ รวจราชการภาคประชาชน
ปี พ.ศ. 2563 - 2565