The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

หลักสูตรสถานศึกษาปฐมวัย โรงเรียนบ้านแก้ง

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by อริสรา ชัดเจน, 2022-06-06 03:52:02

หลักสูตรสถานศึกษาปฐมวัย โรงเรียนบ้านแก้ง

หลักสูตรสถานศึกษาปฐมวัย โรงเรียนบ้านแก้ง



หลกั สตู รปฐมวยั พุทธศกั ราช 2565
ตามหลักสูตรการศกึ ษาปฐมวัย พทุ ธศักราช 2560

โรงเรียนบา้ นแก้งยาง

สานักงานเขตพน้ื ท่ีการศกึ ษาปะถมศกึ ษาอุบลราชธานีเขต 4
สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขน้ั พ้ืนฐาน
กระทรวงศกึ ษาธกิ าร



คานา

หลักสูตรสถานศกึ ษาปฐมวยั พทุ ธศกั ราช ๒๕๖๐ จัดทาขนึ้ เพอื่ ให้โรงเรยี นบ้านแกง้ ยาง ซงึ่ จัดการศึกษา
ระดับปฐมวัย ตามหลกั สตู รแกนกลางการศึกษาปฐมวยั พุทธศกั ราช ๒๕๖๐ โดยปรับปรุงใหเ้ หมาะสมกบั เด็กและ
สภาพท้องถ่ิน เพ่ือที่กาหนดเป้าหมายในการพฒั นาเด็กปฐมวยั ใหม้ พี ฒั นาการด้านรา่ งกาย อารมณ์ จิตใจ สังคม และ
สตปิ ญั ญา เปน็ คนดี มีวินยั สานึกความเป็นไทย และมีความรับผดิ ชอบต่อตนเอง ครอบครวั ชุมชน สงั คม และ
ประเทศไทยในอนาคต อยา่ งมปี ระสทิ ธิภาพและได้มาตรฐานตามจุดหมายหลักสตู รการศึกษาปฐมวัย พุทธศักราช
๒๕๖๐

โรงเรยี นบ้านแกง้ ยาง สงั กดั สานกั งานเขตพนื้ ทกี่ ารศึกษาประถมศึกษาอบุ ลราชธานี เขต ๔ ขอขอบคุณผู้ทมี่ ี
สว่ นเกยี่ วข้องทุกทา่ น ร่วมท้ังคณะกรรมการสถานศึกษาโรงเรียนบ้านแกง้ ยาง ที่มีส่วนรว่ มในการพัฒนาหลักสูตร
สถานศึกษาปฐมวยั พุทธศักราช ๒๕๖๐ ใหม้ ีความเหมาะสมต่อการนาไปใช้จัดการศึกษาระดับปฐมวัยของโรงเรยี น
ตอ่ ไป

สารบัญ ๓

คานา หน้า
ความนา
ปรัชญาการศกึ ษาปฐมวัย 4
วสิ ัยทัศน์ 5
หลักการ 5
แนวคิดการจดั การศึกษาปฐมวัย 5
ปรัชญาการศึกษาปฐมวยั โรงเรยี นบา้ นแกง้ ยาง 6
8
พัฒนาการเด็กปฐมวยั ๙
มาตรฐานคุณลักษณะที่พึงประสงค์ ตัวบ่งช้ี และสภาพที่พึงประสงค์ ๑๐
การจัดเวลาเรียน ๒1
สาระการเรยี นรรู้ ายปี ๒1
การจดั ประสบการณ์ ๒6
การประเมนิ พฒั นาการ ๔1
การบริหารจดั การหลกั สูตร 56
การจัดการศึกษาปฐมวัย(เด็กอายุ๓-6ปี)สาหรบั กลุ่มเปา้ หมายเฉพาะ ๖0
การเชือ่ มต่อของการศึกษาระดับปฐมวัย กับระดับประถมศึกษาปีท่ี ๑ 60
การกากับ ติดตาม ประเมนิ และรายงาน 6๒



ความนา

สภาพการเปล่ียนแปลงด้านเศรษฐกิจ สังคม และความก้าวหน้าทางเทคโนโลยีสารสนเทศประกอบกับ
รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๖๐ รวมท้ังกรอบยุทธศาสตร์ชาติ ระยะ ๒๐ ปี(พ.ศ. ๒๕๖๐-
๒๕๗๙) แผนพฒั นาเศรษฐกจิ และสังคมแห่งชาติ ฉบบั ท่ี ๑๒ (พ.ศ. ๒๕๖๐-๒๕๖๔) แผนการศึกษาแห่งชาติ (พ.ศ.
๒๕๕๒-๒๕๖๑) แผนยทุ ธศาสตร์ชาตดิ ้านเด็กปฐมวยั (พ.ศ.๒๕๖๐-๒๕๖๔) นาไปสกู่ ารกาหนดทกั ษะสาคัญสาหรับเด็ก
ในศตวรรษที่ ๒๑ ทม่ี คี วามสาคัญในการกาหนดเป้าหมายในการพัฒนาเด็กปฐมวยั ให้มีความสอดคล้องและทนั ต่อการ
เปลีย่ นแปลงทกุ ดา้ น

กระทรวงศึกษาธิการมีนโยบายให้มีการพัฒนาการศึกษาปฐมวัยอย่างจริงจังและต่อเนื่องโดยได้แต่งตั้ง
คณะทางานพิจารณาหลักสูตรการศึกษาปฐมวัย เพ่ือปรับปรุงให้สอดคล้องกับสภาพการเปล่ียนแปลงดังกล่าว
หลักสูตรการศึกษาปฐมวัย พุทธศักราช ๒๕๖๐ เป็นหลักสูตรสถานศึกษา สถาบันพัฒนาเด็กปฐมวัย และหน่วยงานท่ี
เกี่ยวข้อง นาไปใช้เป็นกรอบและทิศทางในการพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาอย่างมีประสิทธิภาพและได้มาตรฐานตาม
จุดหมายหลักสูตรการศึกษาปฐมวัย พุทธศักราช ๒๕๖๐ ที่กาหนดเป้าหมายในการพัฒนาเด็กปฐมวัยให้มีพัฒนาการ
ดา้ นร่างกาย อารมณ์ จิตใจ สังคม และสติปญั ญา ครอบครัว ชมุ ชน สงั คม และประเทศชาตใิ นอนาคต



ปรัชญาการศึกษาปฐมวัย

การศึกษาปฐมวัยเป็นการพัฒนาเด็กต้ังแต่แรกเกิดถึง ๖ ปี บริบูรณ์ อย่างเป็นองค์รวม บนพื้นฐานการอบรม
เล้ียงดู และส่งเสริมกระบวนการเรียนรู้ท่ีสนองต่อธรรมชาติและพัฒนาการตามวัยของเด็กแต่ละคนให้เต็มตาม
ศักยภาพภายใต้บริบทสังคมและวัฒนธรรมที่เด็กอาศัยอยู่ ด้วยความรัก ความเอ้ืออาทร และความเข้าใจของทุกคน
เพ่ือสร้างรากฐานคุณภาพชีวิตใหเ้ ด็กพัฒนาไปสู่ความเปน็ มนุษยท์ ี่สมบูรณ์เกิดคุณค่าต่อตนเอง ครอบครัว สังคม และ
ประเทศชาติ

วสิ ัยทศั น์

หลักสูตรการศึกษาปฐมวัยมุ่งพัฒนาเด็กทุกคนให้ได้รับการพัฒนาด้านร่างกาย อารมณ์ จิตใจ สังคม
และสติปัญญาอย่างมีคุณภาพและต่อเนื่อง ได้รับการจัดประสบการณ์การเรยี นรู้อย่างมีความสุขและเหมาะสมตามวัย
มที กั ษะชีวิตและปฏบิ ัตติ นตามหลักปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง เปน็ คนดี มีวนิ ยั และสานึกความเป็นไทย โดยความ
รว่ มมือระหว่างสถานศกึ ษา พอ่ แม่ ครอบครัว ชมุ ชน และทุกฝ่ายทเี่ กี่ยวข้องกับการพัฒนาเด็ก

หลกั การ

เด็กทุกคนมีสิทธ์ิที่จะได้รับการอบรมเล้ียงดูและส่งเสริมพัฒนาการตามอนุสัญญาว่าด้วยสิทธิเด็ก ตลอดจน
ไดร้ บั การจดั ประสบการณ์การเรียนรู้อย่างเหมาะสม ด้วยปฏสิ ัมพันธ์ท่ดี ีระหว่างเดก็ กับพ่อแม่ เดก็ กบั ผู้สอน เด็กกับ
ผู้เลี้ยงดูหรือผู้ที่เกี่ยวข้องในการอบรมเลี้ยงดู การพัฒนา และให้การศึกษาแก่เด็กปฐมวัย เพ่ือให้เด็กมีโอกาสพัฒนา
ตนเองตามลาดบั ขน้ั ของพฒั นาการทกุ ด้าน อย่างเป็นองค์รวม มคี ณุ ภาพ และเตม็ ตามศักยภาพโดยมหี ลักการดังน้ี

๑. ส่งเสริมกระบวนการเรยี นรู้และพฒั นาการท่คี รอบคลมุ เดก็ ปฐมวยั ทุกคน
๒. ยึดหลักการอบรมเล้ียงดูและให้การศึกษาที่เน้นเด็กเป็นสาคัญ โดยคานึงถึงความแตกต่างระหว่างบุคคล
และวิถชี ีวิตของเด็กตามบริบทของชมุ ชน สังคม และวฒั นธรรมไทย
๓. ยึดพัฒนาการและการพัฒนาเด็กโดยองค์รวมผ่านการเล่นอย่างมีความหมายและมีกิจกรรมที่หลากหลาย
ได้ลงมอื กระทาในสภาพแวดล้อมทเี่ อ้ือต่อการเรียนรู้ เหมาะสมกบั วัย และมีการพกั ผ่อนที่เพยี งพอ
๔. จัดประสบการณ์การเรียนรู้ให้เด็กมีทักษะชีวิต และสามารถปฏิบัติตนตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจ
พอเพยี ง เป็นคนดี มีวินัย และมีความสขุ
๕. สร้างความรู้ ความเข้าใจและประสานความร่วมมือในการพัฒนาเด็กระหว่างสถานศึกษากับพ่อแม่
ครอบครวั ชุมชน และทุกฝ่ายทีเ่ กี่ยวข้องกับการพัฒนาเด็กปฐมวยั



แนวคดิ การจัดการศกึ ษาปฐมวัย

หลักสูตรการศึกษาปฐมวัย พุทธศักราช๒๕๖๐ พัฒนาข้ึนบนแนวคิดหลักสาคัญเกี่ยวกับพัฒนาการเด็ก
ปฐมวัย โดยถือว่าการเลน่ ของเด็กเปน็ หัวใจสาคัญของการจัดประสบการณ์การเรียนรู้ ภายใต้การจัดสภาพแวดลอ้ ม
ท่ีเอ้ือต่อการทางานของสมอง ผ่านส่ือท่ีต้องเอื้อให้เด็กได้เรียนรู้ผ่านการเลน่ ประสาทสัมผัสทั้งห้า โดยครูจาเป็นต้อง
เข้าใจและยอมรับว่าสังคมและวัฒนธรรมที่แวดล้อมตัวเด็กมีอิทธิพลต่อการเรียนรู้และการพัฒนาศักยภาพและ
พัฒนาการของเด็กแตล่ ะคน ทง้ั นี้ หลักสูตรฉบับนม้ี ีแนวคิดในการจดั การศึกษาปฐมวยั ดังนี้

๑. แนวคิดเก่ียวกับพัฒนาการเด็ก พัฒนาการของมนุษย์เป็นกระบวนการเปล่ียนแปลงท่ีเกิดขึ้นต่อเนื่องใน
ตัวมนุษย์เร่ิมตั้งแต่ปฏิสนธิไปจนตลอดชีวติ พัฒนาการของเด็กแต่ละคนจะมีลาดับขั้นตอนลักษณะเดียวกัน แต่อัตรา
และระยะเวลาในการผ่านขั้นตอนต่างๆอาจแตกต่างกันได้ขั้นตอนแรกๆจะเป็นพ้ืนฐานสาหรับพัฒนาการข้ันต่อไป
พัฒนาการด้านร่างกาย อารมณ์ จิตใจ สังคมและสติปัญญา แต่ละส่วนส่งผลกระทบซึ่งกันและกัน เมื่อด้านหนึ่ง
ก้าวหน้าอีกด้านหน่ึงจะก้าวหน้าตามด้วยในทานองเดียวกันถ้าด้านหนึ่งด้านใดผิดปกติจะทาให้ด้านอื่นๆผิดปกติตาม
ด้วย แนวคิดเก่ยี วกบั ทฤษฎพี ัฒนาการด้านรา่ งกายอธบิ ายว่าการเจริญเติบโตและพัฒนาการของเด็กมีลักษณะต่อเน่ือง
เป็นลาดับช้ัน เด็กจะพัฒนาถึงขั้นใดจะต้องเกิดวุฒิภาวะของความสามารถด้านนั้นก่อน สาหรับทฤษฎีด้านอารมณ์
จิตใจ และสังคมอธิบายว่า การอบรมเล้ียงดูในวัยเด็กส่งผลต่อบุคลิกภาพของเด็ก เม่ือเติบโตเป็นผู้ใหญ่ ความรักและ
ความอบอุ่นเป็นพื้นฐานของความเชื่อมั่นในตนเอง เด็กที่ได้รับความรักและความอบอุ่นจะมีความไว้วางใจในผู้อ่ืน
เห็นคุณค่าของตนเอง จะมีความเชื่อม่ันในความสามารถของตน ทางานร่วมกับผู้อ่ืนได้ดี ซึ่งเป็นพ้ืนฐานสาคัญของ
ความเป็นประชาธิปไตยและความคิดริเริ่มสร้างสรรค์และทฤษฎีพัฒนาการด้านสติปัญญาอธิบายว่า เด็กเกิดมา
พร้อมวฒุ ิภาวะ ซง่ึ จะพฒั นาขน้ึ ตามอายุ ประสบการณ์ รวมทงั้ คา่ นิยมทางสงั คมและส่ิงแวดลอ้ มทเี่ ด็กได้รับ

๒. แนวคิดเกี่ยวกับการเล่นของเด็ก การเล่นเป็นหัวใจสาคัญของการจัดประสบการณ์การเรียนรู้ การเล่น
อย่างมีจุดมุ่งหมายเป็นเครื่องมือการเรียนรู้ข้ันพื้นฐานท่ีถือเป็นองค์ประกอบสาคัญในกระบวนการเรียนรู้ของเด็ก
ขณะที่เด็กเล่นจะเกิดการเรียนรู้ไปพร้อมๆกันด้วย จากการเล่นเด็กจะมีโอกาสเคล่ือนไหวส่วนต่างๆของร่างกาย
ได้ใช้ประสาทสัมผัสและการรับรู้ผ่อนคลายอารมณ์ และแสดงออกของตนเอง เรียนรู้ความรู้สึกของผู้อื่น เด็กจะรู้สึก
สนุกสนาน เพลิดเพลิน ได้สังเกต มีโอกาสทาการทดลอง คิดสร้างสรรค์ คิดแก้ปัญหาและค้นพบด้วยตนเอง การเล่น
ช่วยให้เด็กเรียนรู้ส่ิงแวดล้อม และช่วยให้เด็กมีพัฒนาการทางด้านร่างกาย อารมณ์ จิตใจ สังคมและสติปัญญา
ดงั น้ันเด็กควรมโี อกาสเลน่ ปฏิสัมพันธ์กับบคุ คล ส่งิ แวดล้อมรอบตวั และเลือกกจิ กรรมการเล่นดว้ ยตนเอง

๓. แนวคิดเก่ียวกับการทางานของสมอง สมองเป็นอวัยวะที่มีความสาคัญท่ีสุดในร่างกายของคนเรา
เพราะการที่มนุษย์สามารถเรียนรู้ส่ิงต่างๆได้นั้นต้องอาศัยสมองและระบบประสาทเป็นพื้นฐานการรับรู้ รับความรู้สึก
จากประสาทสัมผัสท้ังห้า การเชื่อมโยงต่อกันของเซลล์สมองส่วนมากเกิดขึ้นก่อนอายุ ๕ ปี และปฏิสัมพันธ์แรกเริ่ม
ระหว่างเด็กกับผู้ใหญ่ มีผลโดยตรงต่อการสร้างเซลล์สมองและจุดเชื่อมต่อ โดยในช่วง ๓ ปีแรกของชีวิต สมอง
เจริญเติบโตอย่างรวดเร็วมาก มีการสร้างเซลล์สมองและจุดเชือ่ มต่อข้ึนมามากมาย มีการสร้างไขมันหรือมันสมองหุ้ม
ล้อมรอบเส้นใยสมองด้วย พอเด็กอายุ ๓ ปี สมองจะมีขนาดประมาณ ๘๐ % ของสมองผู้ใหญ่ มีเซลล์สมอง
นบั หม่นื ล้านเซลล์ เซลลส์ มองและจดุ เชอ่ื มต่อเหลา่ นีย้ ิ่งไดร้ บั การกระตนุ้ มากเท่าใด การเชอ่ื มตอ่ กันระหว่างเซลลส์ มอง
ยิ่งมีมากข้ึนและความสามารถทางการคิดย่ิงมีมากขึ้นเท่าน้ัน ถ้าหากเด็กขาดการกระตุ้นหรือส่งเสริมจากส่ิงแวดล้อม



ที่เหมาะสม เซลล์สมองและจุดเชื่อมต่อที่สร้างขึ้นมาก็จะหายไป เด็กท่ีได้รับความเครียดอยู่ตลอดเวลาจะทาให้

ขาดความสามารถที่จะเรียนรู้ อย่างไรก็ตาม ส่วนต่างๆของสมองเจริญเติบโตและเริ่มมีความสามารถในการทาหน้าท่ี

ในช่วงเวลาต่างกัน จึงอธิบายได้ว่าการเรียนรู้ทักษะบางอย่างจะเกิดข้ึนได้ดีท่ีสุดเฉพาะในช่วงเวลาหนึ่งที่เรียกว่า

“หน้าต่างของโอกาสการเรียนรู้” ซึ่งเป็นช่วงทพ่ี ่อแม่ ผู้เลี้ยงดูและครูสามารถช่วยให้เดก็ เรียนร้แู ละพัฒนาสง่ิ นั้นๆไดด้ ี

ท่ีสุด เม่อื พน้ ชว่ งนไี้ ปแล้วโอกาสนนั้ จะฝกึ ยากหรือเดก็ อาจทาไม่ไดเ้ ลย เช่น การเช่ือมโยงวงจรประสาท ของ

การมองเห็นและรับรู้ภาพจะต้องได้รับการกระตุ้นทางานต้ังแต่ ๓ หรือ ๔ เดือนแรกของชีวิตจึงจะมีพัฒนาการ

ตามปกติ ช่วงเวลาของการเรียนภาษาคือ อายุ ๓ – ๕ ปีแรกของชีวิต เด็กจะพูดได้ชัด คล่องและถูกต้อง โดยการ

พฒั นาจากการพูดเป็นคาๆมาเป็นประโยคและเล่าเรื่องได้ เปน็ ต้น

๔. แนวคิดเก่ียวกับส่ือการเรียนรู้ ส่ือการเรียนรู้ทาให้เด็กเกิดการเรียนรู้ตามจุดประสงค์ท่ีวางไว้ ทาให้ส่ิงที่

เป็นนามธรรมเขา้ ใจยากกลายเปน็ รปู ธรรมที่เด็กเข้าใจและเรยี นรู้ไดง้ ่าย รวดเร็ว เพลิดเพลนิ เกิดการเรยี นรู้และค้นพบ

ด้วยตนเอง การใช้สื่อการเรียนรู้ต้องปลอดภัยต่อตัวเด็กและเหมาะสมกับวัย วุฒิภาวะ ความแตกต่างระหว่างบุคคล

ความสนใจ และความต้องการของเด็กที่หลากหลาย สื่อประกอบการจัดกิจกรรมเพื่อพัฒนาเด็กปฐมวัยควรมีส่ือท้ังที่

เป็นประเภท ๒ มิติและ/หรือ ๓ มิติ ท่ีเป็นสื่อของจริง สื่อธรรมชาติ ส่ือท่ีอยู่ใกล้ตัวเด็ก สื่อสะท้องวัฒนธรรม

สื่อภูมิปัญญาท้องถ่ิน ส่ือเพ่ือพัฒนาเด็กในด้านต่างๆให้ครบทุกด้าน ท้ังนี้ ส่ือต้องเอื้อให้เด็กเรียนรู้ผ่านประสาทสัมผัส

ท้ังห้าโดยการจัดการใช้ส่ือสาหรับเด็กปฐมวัยต้องเริ่มต้นจากส่ือของจริง ของจาลอง ภาพถ่าย ภาพโครงร่างและ

สัญลักษณ์ตามลาดบั

๕. แนวคิดเก่ียวกับสังคมและวัฒนธรรม เด็กเมื่อเกิดมาจะเป็นส่วนหนึ่งของสังคมและวัฒนธรรม ซึ่งไม่

เพียงแตจ่ ะไดร้ บั อิทธิพลจากการปฏิบตั ิแบบดัง้ เดิมตามประเพณี มรดก และความร้ขู องบรรพบุรุษ แต่ยังได้รับอิทธิพล

จากประสบการณ์ ค่านิยมและความเชื่อของบุคคลในครอบครัว และชุมชนของแต่ละท่ีด้วย บริบทของสังคมและ

วัฒนธรรมท่ีเด็กอาศัยอยู่หรือแวดล้อมตัวเด็กทาให้เด็กแต่ละคนแตกต่างกันไป ครูจาเป็นต้องเข้าใจและยอมรับว่า

สังคมและวัฒนธรรมที่แวดล้อมตัวเด็ก มีอิทธิพลต่อการเรียนรู้ การพัฒนาศักยภาพและพัฒนาการของเด็กแต่ละคน

ครูควรต้องเรียนรู้บริบททางสังคมและวัฒนธรรมของเด็กท่ีตนรับผิดชอบ เพ่ือช่วยให้เด็กได้รับการพัฒนา

เกิดการเรียนรแู้ ละอยใู่ นกลุ่มคนทม่ี าจากพนื้ ฐานเหมือนหรือตา่ งจากตนได้อย่างราบรานมีความสุข เปน็ การเตรยี มเด็ก

ไปสู่สังคมในอนาคตกับการอยู่ร่วมกับผู้อ่ืน การทางานร่วมกับผู้อ่ืนท่ีมีความหลากหลายทางความคิด ความเชื่อและ

วัฒนธรรมเช่น ความคล้ายคลึงและความแตกต่างระหว่างวัฒนธรรมไทยกับประเทศเพ่ือนบ้านเร่ืองศาสนา ประเทศ

พม่า ลาว กัมพูชาก็จะคล้ายคลึงกับคนไทยในการทาบุญตักบาตร การสวดมนต์ไหว้พระ การให้ความเคารพพระสงฆ์

การทาบุญเลี้ยงพระ การเวียนเทียนเน่ืองในวันสาคัญทางศาสนา ประเพณีเข้าพรรษา สาหรับประเทศมาเลเซีย บรูไน

อินโดนีเซีย ประชากรส่วนใหญ่นับถือศาสนาอิสลามจึงมีวัฒนธรรมแบบอิสลาม ประเทศฟิลิปปินส์ได้รับอิทธิพล

จากคริสต์ศาสนา ประเทศสิงคโปร์และเวียดนามนับถือหลายศาสนา โดยนับถือลัทธิธรรมเนียมแบบจีนเป็นหลัก

เป็นตน้



ปรชั ญาการศึกษาปฐมวยั โรงเรียนบา้ นแก้งยาง

โรงเรียนบ้านแก้งยาง จัดการพัฒนาเด็กอายุ ๔-๕ ปีบนพื้นฐานการอบรมเล้ียงดูและส่งเสริมกระบวนการ
เรยี นรทู้ ี่สอดคลอ้ งกับการพัฒนาการทางสมองของเดก็ แต่ละคนให้เต็มตามศักยภาพ ผ่านการเลน่ การชว่ ยเหลอื ตนเอง
มีทักษะในการดารงชีวิตประจาวันตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ด้วยความรัก ความเข้าใจของทุกคน
เพื่อสร้างรากฐานคณุ ภาพชวี ติ และพฒั นาเดก็ มพี ฒั นาการ ทงั้ ดา้ นรา่ งกาย อารมณ์ จิตใจ สงั คม และสติปญั ญา

วิสยั ทัศน์

ภายในปีพุทธศักราช ๒๕๖๐ โรงเรียนบ้านแก้งยาง มุ่งเน้นพัฒนาเด็กอายุ ๔-๕ ปีให้มีพัฒนาการทางด้าน
ร่างกาย อารมณ์- จิตใจ สังคม และสติปัญญาเหมาะสมกับวัย เน้นให้เด็กเรียนรู้ผ่านการเล่น ช่วยเหลือตนเอง
ดารงชีวิตตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง และปลูกฝังให้เด็กมีนิสัยการประหยัดอดออม โดยการมีส่วนร่วม
ของผูป้ กครอง ชมุ ชนและทุกฝา่ ยทเ่ี กี่ยวข้อง

ภารกิจหรือพันธกจิ

๑. พัฒนาหลกั สตู รสถานศึกษาทม่ี ุ่งเนน้ พฒั นาการเดก็ ปฐมวัยท้ัง ๔ ด้าน อยา่ งสมดุลและเต็มศกั ยภาพ
๒. พัฒนาครูและบุคลากรด้านการจัดประสบการณ์ท่ีส่งเสริมการเรียนรู้ผ่านการเล่นท่ีมีจุดหมายอย่าง

ต่อเน่ือง
๓. ส่งเสรมิ สนับสนนุ การจดั สภาพแวดลอ้ ม ส่อื เทคโนโลยแี ละแหล่งเรียนร้ใู นการพัฒนาเด็กปฐมวยั
๔. จัดประสบการณ์การเรียนรู้ที่หลากหลายซึ่งสอดคล้องกับพัฒนาการทางสมองของเด็ก โดยนาหลัก

ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงและแหล่งเรียนรู้ ภูมิปัญญาท้องถ่ิน มาใช้เสริมสร้างพัฒนาการและการ
เรียนรขู้ องเดก็
๕. สง่ เสริมการมีส่วนรว่ มของผปู้ กครองและชุมชนในการพัฒนาเดก็ ปฐมวยั

เป้าหมาย

๑. เด็กปฐมวัยทุกคนได้รับการพัฒนาด้านร่างกาย อารมณ์-จิตใจ สังคม และสติปัญญาเป็นองค์รวมอย่าง
สมดุลและมคี วามสุข

๒. ครูมีความรู้ ความเข้าใจ และสามารถจัดประสบการณ์ที่ส่งเสริมการเรียนรู้ผ่านการเล่นโดยใช้
กระบวนการวางแผน การปฏบิ ตั ิ และการทบทวน

๓. มีสภาพแวดล้อม สื่อ เทคโนโลยี และแหล่งเรียนรู้ท่ีเอื้อต่อการส่งเสริมพัฒนาการเด็กปฐมวัยอย่าง
พอเพยี ง

๔. ผปู้ กครอง ชมุ ชน และหน่วยงานทีเ่ กี่ยวขอ้ งมีสว่ นรว่ มในการพัฒนาเด็กปฐมวัย



จดุ หมาย

หลักสตู รการศึกษาปฐมวัย มุ่งให้เดก็ มีพฒั นาการตามวัยเต็มตามศักยภาพ และเม่ือมีความพรอ้ มในการ
เรยี นรู้ต่อไป จงึ กาหนดจุดหมายเพอ่ื ใหเ้ กิดกับเด็กเมื่อเด็กจบการศกึ ษาระดับปฐมวยั ดงั นี้

๑. มีรา่ งกายเจริญเตบิ โตตามวัย แข็งแรง และมสี ุขนิสัยท่ีดี
๒. มสี ขุ ภาพจิตดี มสี ุนทรยี ภาพ มีคณุ ธรรม จริยธรรมและจิตใจที่ดีงาม
๓. มีทักษะชีวิตและปฏบิ ัตติ นตามหลักปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียง มีวินัย และอยู่รว่ มกบั ผ้อู ืน่ ได้อย่างมี

ความสขุ
๔. มที ักษะการคดิ การใช้ภาษาส่ือสาร และการแสวงหาความรู้ได้เหมาะสมกับวยั

พฒั นาการเดก็ ปฐมวัย

พัฒนาการของเด็กปฐมวัยด้านร่างกาย จิตใจ สังคม และสติปัญญาแสดงให้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงท่ีเกิดขึ้น
ตามวฒุ ิภาวะและสภาพแวดลอ้ มทเ่ี ดก็ ได้รบั พฒั นาการเดก็ ในแตล่ ะช่วงวัยอาจเร็วหรือชา้ แตกต่างกันไป
ในเด็กแตล่ ะคน มีรายละเอียด ดงั นี้

๑. พัฒนาการด้านร่างกาย เป็นพัฒนาการท่ีเป็นผลมาจากการเปล่ียนแปลงในทางที่ดีข้ึนของร่างกายในดา้ น
โครงสรา้ งของร่างกาย ดา้ นความสามารถในการเคล่ือนไหว และดา้ นการมสี ุขภาพอนามัยท่ีดี รวมถงึ การใช้สัมผัสรับรู้
การใช้ตาและมือประสานกันในการทากิจกรรมต่างๆ เด็กอายุ ๓-๕ ปีมีการเจริญเติบโตรวดเร็วโดยเฉพาะในเรื่อง
นา้ หนกั และสว่ นสูง กล้ามเนื้อใหญ่จะมคี วามกา้ วหน้ามากกวา่ กลา้ มเนื้อเล็ก สามารถบังคับการเคล่ือนไหวของร่างกาย
ได้ดี มีความคล่องแคล่วว่องไวในการเดิน สามารถว่ิง กระโดด ควบคุมและบังคับการทรงตัวได้ดี จึงชอบเคลื่อนไหว
ไมห่ ยุดนิง่ พร้อมทจ่ี ะออกกาลงั และเคลื่อนไหวในลักษณะต่างๆสว่ นกล้ามเนื้อเล็กและความสัมพนั ธร์ ะหวา่ งตาและมือ
ยังไม่สมบูรณ์ การสัมผัสหรือการใช้มือมีความละเอียดขึ้น ใช้มือหยิบจับสิ่งของต่างๆได้มากข้ึน ถ้าเด็กไม่เครียดหรือ
กงั วลจะสามารถทากจิ กรรมทพี่ ัฒนากลา้ มเนื้อเล็กได้ดีและนานขน้ึ

๒. พัฒนาการด้านอารมณ์ จิตใจ เป็นความสามารถในการรู้สึกและแสดงความรู้สึกของเด็ก เช่นพอใจ
ไม่พอใจ รัก ชอบ สนใจ เกียด โดยที่เด็กรู้จักควบคุมการแสดงออกอย่างเหมาะสมกับวัยและสถานการณ์ เผชิญกับ
เหตุการณ์ต่างๆ ตลอดจนการสร้างความรู้สึกท่ีดีและการนับถือตนเอง เด็กอายุ ๓-๕ ปีจะแสดงความรู้สึกอย่างเต็มท่ี
ไม่ปิดบัง ช่อนเร้น เช่น ดีใจ เสียใจ โกรธแต่จะเกิดเพียงชั่วครู่แล้วหายไปการท่ีเด็กเปลี่ยนแปลงอารมณ์ง่ายเพราะมี
ช่วงความสนใจระยะส้ัน เมื่อมีส่ิงใดน่าสนใจก็จะเปล่ียนความสนใจไปตามส่ิงนั้น เด็กวันนี้มักหวาดกลัวส่ิงต่างๆ เช่น
ความมืด หรือสัตว์ต่างๆ ความกลัวของเด็กเกิดจากจินตนาการ ซึ่งเด็กว่าเป็นเร่ืองจริงสาหรับตน เพราะยังสับสน
ระหว่างเร่ืองปรุงแต่งและเรื่องจริง ความสามารถแสดงอารมณ์ได้สอดคล้องกับสถานการณ์อย่างเหมาะสมกับวัย
รวมถึงชื่นชมความสามารถและผลงานของตนเองและผู้อื่น เพราะยึดตัวเองเป็นศูนย์กลางน้อยลงและต้องการความ
สนใจจากผอู้ ื่นมากข้ึน

๓. พัฒนาการด้านสังคม เป็นความสามารถในการสร้างความสัมพันธ์ทางสังคมครั้งแรกในครอบครัว โดยมี
ปฏิสัมพนั ธ์กับพ่อแม่และพน่ี ้อง เมอ่ื โตขึ้นต้องไปสถานศึกษา เด็กเร่ิมเรียนรู้การติดต่อและการมีสัมพันธ์กบั บคุ คลนอก

๑๐

ครอบครัว โดยเฉพาะอย่างย่ิงเด็กในวัยเดียวกัน เด็กได้เรียนรู้การปรับตัวให้เข้าสังคมกับเด็กอ่ืนพรอ้ มๆกับรู้จกั ร่วมมือ
ในการเล่นกับกลุ่มเพ่ือน เจตคติและพฤติกรรมทางสังคมของเด็กจะก่อข้ึนในวัยน้ีและจะแฝงแน่นยากที่ จะ
เปล่ียนแปลงในวัยต่อมา ดังน้ัน จึงอาจกล่าวได้ว่าพฤติกรรมทางสังคมของเด็กวัยน้ี มี ๒ ลักษณะ คือลักษณะแรกน้ัน
เป็นความสัมพันธ์กับผูใ้ หญแ่ ละลักษณะทีส่ องเปน็ ความสัมพันธ์กับเดก็ ในวัยใกลเ้ คยี งกนั

๔. ด้านสติปัญญา ความคิดของเด็กวัยน้ีมีลักษณะยึดตนเองเป็นศูนย์กลาง ยังไม่สามารถเข้าใจความรู้สึก
ของคนอื่น เด็กมีความคิดเพียงแต่ว่าทุกคนมองสิ่งต่างๆรอบตัว และรู้สึกต่อส่ิงต่างๆ เหมือนตนเอง ความคิด
ของตนเองเป็นใหญ่ท่ีสุด เม่ืออายุ ๔-๕ ปี เด็กสามารถโต้ตอบหรือมีปฏิสมั พันธ์กับวัตถุสิ่งของท่ีอยู่รอบตวั ได้ สามารถ
จาสิ่งต่างๆ ที่ได้กระทาซ้ากันบ่อยๆ ได้ดี เรียนรู้สิ่งต่างๆ ได้ดีขึ้น แต่ยังอาศัยการรับรู้เป็นส่วนใหญ่ แก้ปัญหา
การลองผิดลองถูกจากการรับรู้มากกว่าการใช้เหตุผลความคิดรวบยอดเกี่ยวกับสิ่งต่างๆ ที่อยู่รอบตัวพัฒนาอย่าง
รวดเร็วตามอายุที่เพิ่มขึ้น ในส่วนของพัฒนาการทางภาษา เด็กวัยน้ีเป็นระยะเวลาของการพัฒนาภาษาอย่างรวดเร็ว
โดยมีการฝึกฝนการใช้ภาษาจากการทากิจกรรมต่าง ๆ ในรูปของการพูดคุย การตอบคาถาม การเล่าเรื่อง การเล่า
นทิ านและการทากจิ กรรมตา่ ง ๆ ท เก่ยี วข้องกบั การใช้ภาษาในสถานศกึ ษา เดก็ ปฐมวยั สามารถ ใชภ้ าษาแทนความคิด
ของตนและใช้ภาษาในการติดต่อสัมพันธ์กับคนอื่นได้คาพูดของเด็กวัยนี้ อาจจะทาให้ผู้ใหญ่บางคนเข้าใจว่าเด็กรู้มาก
แล้วแตท่ ่ีจรงิ เดก็ ยังไมเ่ ขา้ ใจความหมายของคาและเรื่องราวลกึ ซ้ึงนัก

มาตรฐานคณุ ลักษณะท่ีพึงประสงค์

หลกั สตู รการศึกษาปฐมวยั กาหนดมาตรฐานคณุ ลักษณะที่พึงประสงค์จานวน ๑๒ มาตรฐาน ประกอบด้วย
๑.พฒั นาการด้านรา่ งกาย ประกอบด้วย ๒ มาตรฐานคอื

มาตรฐานท่ี ๑ รา่ งกายเจรญิ เติบโตตามวัยและมีสุขนิสยั ทีด่ ี
มาตรฐานท่ี ๒ กลา้ มเนื้อใหญ่และกลา้ มเนื้อเล็กแข็งแรงใช้ได้อยา่ งคล่องแคล่วและประสานสัมพันธ์กนั
๒.พัฒนาการด้านอารมณ์ จิตใจ ประกอบด้วย ๓ มาตรฐานคอื
มาตรฐานท่ี ๓ มีสขุ ภาพจิตดีและมีความสขุ
มาตรฐานท่ี ๔ ชน่ื ชมและแสดงออกทางศลิ ปะ ดนตรี และการเคลอ่ื นไหว
มาตรฐานท่ี ๕ มคี ุณธรรม จริยธรรม และมีจติ ใจที่ดีงาม
๓.พฒั นาการด้านสงั คม ประกอบด้วย ๓ มาตรฐานคือ
มาตรฐานท่ี ๖ มีทักษะชีวติ และปฏบิ ัตติ นตามหลักปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง
มาตรฐานที่ ๗ รกั ธรรมชาติ ส่งิ แวดลอ้ ม วัฒนธรรม และความเป็นไทย
มาตรฐานที่ ๘ อยรู่ ่วมกบั ผู้อน่ื ได้อยา่ งมีความสุขและปฏบิ ัติตนเปน็ สมาชิกท่ดี ีของสงั คมใน
ระบอบประชาธปิ ไตย อนั มพี ระมหากษัตรยิ ท์ รงเป็นประมุข
๔.พัฒนาการด้านสตปิ ญั ญา ประกอบด้วย ๔ มาตรฐานคือ
มาตรฐานที่ ๙ ใช้ภาษาสือ่ สารได้เหมาะสมกับวยั
มาตรฐานที่ ๑๐ มีความสามารถในการคดิ ท่เี ป็นพ้ืนฐานการเรยี นรู้
มาตรฐานท่ี ๑๑ มีจินตนาการและความคิดสร้างสรรค์

๑๑

มาตรฐานท่ี ๑๒ มเี จตคติที่ดตี ่อการเรียนรู้และมีความสามารถในการแสวงหาความรไู้ ด้
เหมาะสมกบั วยั
ตวั บ่งช้ี

ตัวบ่งชเ้ี ป็นเป้าหมายในการพัฒนาเด็กทม่ี ีความสัมพันธส์ อดคลอ้ งกับมาตรฐานคุณลักษณะท่ีพงึ ประสงค์

สภาพที่พงึ ประสงค์
สภาพที่พึงประสงค์เป็นพฤติกรรมหรือความสามารถตามวัยท่ีคาดหวังให้เด็กเกิด บนพื้นฐานพัฒนาการตาม

วัยหรือความสามารถตามธรรมชาติในแตล่ ะระดับอายุเพ่ือนาไปใช้ในการกาหนดสาระเรียนรู้ใน การจัดประสบการณ์
กจิ กรรมและประเมนิ พฒั นาการเด็ก โดยมีรายละเอียดของมาตรฐาน มาตรฐานคณุ ลกั ษณะที่พงึ ประสงค์ ตวั บ่งชี้ และ
สภาพที่พึงประสงค์ ดงั น้ี

มาตรฐานท่ี ๑ รา่ งกายเจรญิ เตบิ โตตามวยั เด็กมีสุขนิสัยที่ดี
ตวั บ่งชี้ที่ ๑.๑ มนี ้าหนกั และสว่ นสงู ตามเกณฑ์

สภาพท่ีพงึ ประสงค์

อายุ ๓ ปี อายุ ๔ ปี อายุ ๕ ปี

-นา้ หนกั และส่วนสูงตามเกณฑ์ของ -น้าหนักและส่วนสงู ตามเกณฑข์ อง -นา้ หนักและสว่ นสูงตามเกณฑข์ อง

กรมอนามยั กรมอนามยั กรมอนามยั

ตัวบ่งชท้ี ่ี ๑.๒ มีสุขภาพอนามยั สุขนสิ ยั ท่ดี ี
สภาพท่พี งึ ประสงค์

อายุ ๓ ปี อายุ ๔ ปี อายุ ๕ ปี

-ยอมรบั ประทานอาหารทม่ี ี -รับประทานอาหารทม่ี ีประโยชน์ -รบั ประทานอาหารทีม่ ีประโยชน์ได้
หลายชนิดและด่ืมนา้ สะอาดได้ด้วย
ประโยชน์และดืม่ นา้ ท่ีสะอาดเมือ่ มี และดื่มน้าสะอาดด้วยตนเอง ตนเอง

ผู้ชแี้ นะ

-ลา้ งมอื ก่อนรับประทานอาหารและ -ล้างมอื ก่อนรบั ประทานอาหารและ -ลา้ งมือก่อนรับประทานอาหารและ
หลังจากใช้ห้องนา้ ห้องสว้ มเมื่อมผี ู้ หลังจากใช้หอ้ งน้าห้องสว้ มด้วย หลงั จากใชห้ อ้ งน้าห้องสว้ มด้วย
ชแ้ี นะ ตนเอง ตนเอง

-นอนพักผ่อนเปน็ เวลา -นอนพกั ผ่อนเป็นเวลา -นอนพักผ่อนเป็นเวลา

-ออกกาลงั กายเป็นเวลา -ออกกาลงั กายเปน็ เวลา -ออกกาลงั กายเปน็ เวลา

๑๒

ตัวบ่งชที้ ี่ ๑.๓ รกั ษาความปลอดภยั ของตนเองและผู้อนื่
สภาพที่พึงประสงค์

อายุ ๓ ปี อายุ ๔ ปี อายุ ๕ ปี

-เล่นและทากจิ กรรมอยา่ งปลอดภยั -เลน่ และทากจิ กรรมอยา่ งปลอดภัย -เล่นและทากจิ กรรมและปฏบิ ัติตอ่

เม่ือมีผู้ชแ้ี นะ ด้วยตนเอง ผ้อู น่ื อยา่ งปลอดภยั

มาตรฐานท่ี ๒ กลา้ มเน้ือใหญแ่ ละกล้ามเนือ้ เลก็ แข็งแรงใชไ้ ดอ้ ยา่ งคล่องแคลว่ และประสานสมั พันธก์ นั
ตัวบ่งช้ีท่ี ๒.๑ เคลือ่ นไหวร่างกายอย่างคลอ่ งแคลว่ ประสานสัมพันธ์และทรงตัวได้

สภาพท่ีพงึ ประสงค์

อายุ ๓ ปี อายุ ๔ ปี อายุ ๕ ปี

-เดนิ ตามแนวที่กาหนดได้ -เดนิ ตอ่ เทา้ ไปข้างหนา้ เปน็ เส้นตรง -เดนิ ต่อเท้าถอยหลงั เป็นเส้นตรงไดโ้ ดย

ได้โดยไม่ต้องกางแขน ไมต่ ้องกางเกง

-กระโดดสองขา ข้นึ ลงอย่กู ับทไี่ ด้ -กระโดดขาเดียวอยู่กับท่ีไดโ้ ดยไม่ -กระโดดขาเดยี ว ไปข้างหน้าได้อย่าง

เสียการทรงตัว ตอ่ เนื่องโดยไม่เสยี การทรงตัว

-วง่ิ แล้วหยุดได้ -วิง่ หลบหลีกสิง่ กีดขวางได้ -วง่ิ หลบหลกี สงิ่ กีดขวางได้อย่าง
คล่องแคล่ว

-รับลกู บอลโดยใช้มอื และลาตัวชว่ ย -รับลกู บอลได้ด้วยมือทั้งสองข้าง -รบั ลูกบอลทกี่ ระดอนขึน้ จากพืน้ ได้

ตัวบ่งชีท้ ี่ ๒.๓ ใช้มือ-ตาประสานสัมพนั ธก์ นั
สภาพที่พงึ ประสงค์

อายุ ๓ ปี อายุ ๔ ปี อายุ ๕ ปี

-ใชก้ รรไกรตดั กระดาขาดจากกนั ได้ -ใช้กรรไกรตัดกระดาษตามแนว -ใชก้ รรไกรตัดกระดาษตามแนวเส้นโคง้

โดยใชม้ อื เดียว เสน้ ตรงได้ ได้

-เขยี นรปู วงกลมตามแบบได้ -เขียนรูปสเี่ หลี่ยมตามแบบได้อย่าง -เขยี นรูปสามเหลย่ี มตามแบบไดอ้ ย่างมี

มีมมุ ชดั เจน มุมชดั เจน

๑๓

-รอ้ ยวัสดุทม่ี ีรขู นาดเสน้ ผา่ น -รอ้ ยวัสดุทมี่ ีรจู นาดเสน้ ผ่านศูนย์ -ร้อยวสั ดุทมี่ รี ูขนาดเส้นผ่านศูนยก์ ลาง
ศูนยก์ ลาง ๑ ซม.ได้
๐.๕ ซม.ได้ ๐.๒๕ ซม.ได้

๒. พัฒนาการด้านอารมณ์ จติ ใจ
มาตรฐานท่ี ๓ มีสขุ ภาพจติ ดีและมีความสขุ
ตวั บง่ ช้ที ี่ ๓.๑ แสดงออกทางอารมณ์อย่างเหมาะสม

สภาพท่พี ึงประสงค์

อายุ ๓ ปี อายุ ๔ ปี อายุ ๕ ปี

-แสดงอารมณ์ ความรสู้ กึ ได้ -แสดงอารมณ์ ความร้สู กึ ได้ตาม -แสดงอารมณ์ ความรู้สกึ ไดส้ อดคล้อง
เหมาะสมกบั บางสถานการณ์ สถานการณ์ กับสถานการณ์อย่างเหมาะสม

ตัวบง่ ชี้ที่ ๓.๒ มีความรู้สกึ ท่ีดตี อ่ ตนเองและผู้อ่ืน
สภาพที่พึงประสงค์

อายุ ๓ ปี อายุ ๔ ปี อายุ ๕ ปี

-กล้าพดู กล้าแสดงออก -กลา้ พดู กล้าแสดงออกอยา่ งเหมาะสม -กลา้ พดู กลา้ แสดงออกอยา่ งเหมาะสมตาม

บางสถานการณ์ สถานการณ์

-แสดงความพอใจในผลงานตนเอง -แสดงความพอใจในผลงานและ -แสดงความพอใจในผลงานและ
ความสามารถของตนเอง ความสามารถของตนเองและผู้อน่ื

มาตรฐานท่ี ๔ ชนื่ ชมและแสดงออกทางศลิ ปะ ดนตรี และการเคล่ือนไหว
ตัวบ่งช้ที ี่ ๔.๑ สนใจและมคี วามสขุ และแสดงออกผ่านงานศิลปะ ดนตรแี ละการเคลื่อนไหว

สภาพทพี่ ึงประสงค์

อายุ ๓ ปี อายุ ๔ ปี อายุ ๕ ปี

-สนใจและมีความสุขและแสดงออกผ่าน -สนใจและมีความสุขและแสดงออก -สนใจและมีความสุขและแสดงออก

งานศลิ ปะ ผ่านงานศลิ ปะ ผ่านงานศลิ ปะ

-สนใจ มีความสขุ และแสดงออกผ่าน -สนใจ มคี วามสขุ และแสดงออกผา่ น -สนใจ มีความสขุ และแสดงออกผ่าน
เสยี งเพลง ดนตรี
เสยี งเพลง ดนตรี เสียงเพลง ดนตรี

๑๔

-สนใจ มีความสขุ และแสดงท่าทาง/ -สนใจ มคี วามสุขและแสดงท่าทาง/ -สนใจ มีความสุขและแสดงท่าทาง/
เคลอ่ื นไหวประกอบเพลง จงั หวะและ
ดนตรี เคลอ่ื นไหวประกอบเพลง จังหวะ เคล่ือนไหวประกอบเพลง จังหวะและ

และ ดนตรี ดนตรี

มาตรฐานที่ ๕ มคี ุณธรรม จรยิ ธรรมและมจี ติ ใจท่ีดงี าม
ตวั บง่ ช้ที ี่ ๕.๑ ซ่ือสตั ย์ สจุ ริต

สภาพทีพ่ ึงประสงค์

อายุ ๓ ปี อายุ ๔ ปี อายุ ๕ ปี

-บอกหรือช้ีได้วา่ สง่ิ ใดเป็นของตนเองและ - ขออนญุ าตหรือรอคอยเม่ือต้องการ - ขออนญุ าตหรอื รอคอยเม่ือต้องการ

ส่ิงใดเปน็ ของผูอ้ น่ื สงิ่ ของของผู้อนื่ เมื่อมีผู้ชีแ้ นะ สิง่ ของของผู้อืน่ ด้วยตนเอง

ตวั บ่งช้ีท่ี ๕.๒ มีความเมตตา กรุณา มนี า้ ใจและช่วยเหลือแบ่งปัน
สภาพทีพ่ งึ ประสงค์

อายุ ๓ ปี อายุ ๔ ปี อายุ ๕ ปี

-แสดงความรกั เพอ่ื นและมีเมตตาสัตว์ -แสดงความรกั เพอ่ื นและมีเมตตา -แสดงความรักเพอ่ื นและมีเมตตาสัตว์
เลย้ี ง
สตั ว์เลยี้ ง เลยี้ ง

สภาพทพี่ งึ ประสงค์

อายุ ๓ ปี อายุ ๔ ปี อายุ ๕ ปี

-แบง่ ปนั สง่ิ ของใหผ้ อู้ ่ืนได้เมื่อมผี ู้ช้ีแนะ -ชว่ ยเหลอื และแบง่ ปันผ้อู ่นื ได้เมอื่ มผี ู้ -ชว่ ยเหลอื และแบง่ ปันผู้อื่นได้ดว้ ย
ช้ีแนะ ตนเอง

ตวั บ่งช้ีที่ ๕.๓ มีความเหน็ อกเห็นใจผูอ้ น่ื
สภาพทพ่ี งึ ประสงค์

อายุ ๓ ปี อายุ ๔ ปี อายุ ๕ ปี

-แสดงสีหนา้ หรอื ท่าทางรับรคู้ วามรู้สกึ -แสดงสีหน้าหรือท่าทางรบั รู้ -แสดงสีหน้าหรอื ทา่ ทางรบั รู้ความรูส้ ึก
ผู้อ่ืน ความรูส้ กึ ผู้อนื่ ผอู้ ่นื อย่างสอดคล้องกบสถานการณ์

๑๕

ตวั บง่ ช้ที ี่ ๕.๔ มคี วามรบั ผิดชอบ

สภาพที่พงึ ประสงค์

อายุ ๓ ปี อายุ ๔ ปี อายุ ๕ ปี

-ทางานที่ไดร้ ับมอบหมายจนสาเรจ็ เม่อื มี -ทางานทไี่ ด้รับมอบหมายจนสาเรจ็ -ทางานทีไ่ ดร้ บั มอบหมายจนสาเรจ็

ผูช้ ว่ ยเหลือ เมอื่ มีผชู้ แ้ี นะ ด้วยตนเอง

๓. พฒั นาการดา้ นสังคม
มาตรฐานท่ี ๖ มีทกั ษะชีวิตและปฏบิ ัตติ นตามหลักปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียง
ตวั บ่งชีท้ ่ี ๖.๑ ช่วยเหลอื ตนเองในการปฏิบัติกจิ วตั รประจาวัน

สภาพที่พงึ ประสงค์

อายุ ๓ ปี อายุ ๔ ปี อายุ ๕ ปี

- แตง่ ตัวโดยมีผชู้ ว่ ยเหลอื - แตง่ ตวั ด้วยตนเอง - แต่งตัวดว้ ยตนเองได้อยา่ ง
คลอ่ งแคลว่

สภาพทพี่ ึงประสงค์

อายุ ๓ ปี อายุ ๔ ปี อายุ ๕ ปี

- รบั ประทานอาหารด้วยตนเอง -รบั ประทานอาหารด้วยตนเอง - รบั ประทานอาหารดว้ ยตนเองอย่าง
ถกู วิธี

-ใชห้ อ้ งน้าห้องสว้ มโดยมผี ้ชู ว่ ยเหลอื -ใช้ห้องน้าห้องส้วมดว้ ยตนเอง -ใชแ้ ละทาความสะอาดหลังใช้ห้องนา้
ห้องสว้ มด้วยตนเอง

ตวั บง่ ชท้ี ่ี ๖.๒ มีวินัยในตนอง

สภาพที่พึงประสงค์

อายุ ๓ ปี อายุ ๔ ปี อายุ ๕ ปี

-เก็บของเล่นของใชเ้ ขา้ ทเ่ี มื่อมผี ชู้ ้แี นะ -เกบ็ ของเล่นของใช้เข้าท่ดี ้วยตนเอง -เก็บของเลน่ ของใชเ้ ขา้ ท่ีอยา่ ง
เรยี บรอ้ ยดว้ ยตนเอง

-เข้าแถวตาลาดับก่อนหลังไดเ้ มอื่ มีผู้ช้แี นะ -เข้าแถวตาลาดับกอ่ นหลงั ได้ดว้ ย -เขา้ แถวตาลาดบั ก่อนหลงั ได้ดว้ ย
ตนเอง ตนเอง

๑๖

ตัวบ่งชที้ ่ี ๖.๓ ประหยัดและพอเพยี ง

สภาพที่พงึ ประสงค์

อายุ ๓ ปี อายุ ๔ ปี อายุ ๕ ปี

-ใช้สง่ิ ของเครื่องใช้อยา่ งประหยดั และ -ใชส้ ่ิงของเครื่องใช้อยา่ งประหยดั -ใชส้ ิ่งของเคร่ืองใช้อยา่ งประหยดั และ
พอเพยี งเม่ือมผี ูช้ แี้ นะ และพอเพยี งเมื่อมีผูช้ ้แี นะ พอเพียงด้วยตนเอง

มาตรฐานที่ ๗ รักธรรมชาติ สิ่งแวดล้อม วฒั นธรรม และความเปน็ ไทย
ตวั บง่ ชีท้ ่ี ๗.๑ ดูแลรักษาธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม

สภาพทพี่ งึ ประสงค์

อายุ ๓ ปี อายุ ๔ ปี อายุ ๕ ปี

-มสี ่วนร่วมในการดแู ลรักษาธรรมชาติและ -มีสว่ นรว่ มในการดูแลรักษา -มีส่วนรว่ มในการดแู ลรักษาธรรมชาติและ
สิง่ แวดล้อมด้วยตนเอง
สงิ่ แวดล้อมเมื่อมีผ้ชู ีแ้ นะ ธรรมชาตแิ ละสงิ่ แวดล้อมเมอ่ื มผี ู้
-ทิง้ ขยะได้ถูกที่
ช้แี นะ

-ท้ิงขยะไดถ้ ูกที่ -ทิ้งขยะไดถ้ ูกท่ี

ตัวบง่ ชท้ี ี่ ๗.๒ มมี ารยาทตามวัฒนธรรมไทยและรกั ความเป็นไทย
สภาพที่พงึ ประสงค์

อายุ ๓ ปี อายุ ๔ ปี อายุ ๕ ปี

ปฏบิ ตั ติ นตามมารยาทไทยได้ เมอื่ มผี ู้ -ปฏิบัตติ นตามมารยาทไทยได้ด้วย -ปฏบิ ตั ิตนตามมารยาทไทยได้ ตาม
ช้แี นะ ตนเอง กาลเทศะ

-กล่าวคาขอบคุณและขอโทษเมอ่ื มผี ูช้ ้แี นะ -กล่าวคาขอบคณุ และขอโทษดว้ ย -กล่าวคาขอบคุณและขอโทษด้วยตนเอง

ตนเอง -ยืนตรงและร่วมรอ้ งเพลงชาติไทยและ
เพลงสรรเสรญิ พระมารมี
-หยดุ เม่อื ไดย้ นิ เพลงชาติไทยและเพลง -หยดุ เม่อื ไดย้ ินเพลงชาติไทยและ

สรรเสริญพระบารมี เพลงสรรเสริญพระบารมี

๑๗

มาตรฐานท่ี ๘ อยรู่ ว่ มกับผอู้ ่ืนไดอ้ ย่างมีความสุขและปฏิบัติตนเป็นสมาชกิ ทีด่ ีของสังคมในระบอบประชาธปิ ไตย
อนั มีพระมหากษัตรยิ ์ทรงเป็นประมุข
ตวั บง่ ชท้ี ่ี ๘.๑ ยอมรับความเหมือนและความแตกตา่ งระหวา่ งบคุ คล

สภาพทีพ่ ึงประสงค์

อายุ ๓ ปี อายุ ๔ ปี อายุ ๕ ปี

-เลน่ และทากจิ กรรมรว่ มกบั เด็กท่ีแตกตา่ ง -เล่นและทากิจกรรมร่วมกบั กลมุ่ เด็ก -เล่นและทากจิ กรรมร่วมกับเดก็ ที่

ไปจากตน ทีแ่ ตกต่างไปจากตน แตกต่างไปจากตน

ตัวบง่ ชที้ ่ี ๘.๒ มีปฏสิ มั พันธ์ที่ดกี บั ผู้อน่ื
สภาพท่ีพึงประสงค์

อายุ ๓ ปี อายุ ๔ ปี อายุ ๕ ปี

-เลน่ ร่วมกบั เพอื่ น -เล่นหรอื ทางานรว่ มกับเพ่ือนเป็น -เล่นหรือทางานรว่ มกบั เพื่อนอยา่ งมี
กลุ่ม เป้าหมาย

-ย้ิมหรือทักทายผู้ใหญ่และบคุ คลท่ีคุน้ เคย -ยิ้มหรอื ทักทายหรอื พูดคุยกบั ผ้ใู หญ่ -ย้ิมหรอื ทกั ทายหรือพดู คยุ กับผูใ้ หญ่และ

เมื่อมผี ู้ชี้แนะ และบุคคลท่คี ุน้ เคยได้ด้วยตนเอง บคุ คลท่ีคนุ้ เคยไดเ้ หมาะสมกับ

สถานการณ์

ตวั บง่ ชีท้ ี่ ๘.๓ ปฏบิ ตั ติ นเบื้องต้นในการเปน็ สมาชกิ ท่ดี ขี องสังคม
สภาพทพ่ี งึ ประสงค์

อายุ ๓ ปี อายุ ๔ ปี อายุ ๕ ปี

-ปฏิบัตติ ามข้อตกลงเมื่อมผี ชู้ ้ีแนะ -มสี ว่ นรว่ มสรา้ งขอ้ ตกลงและปฏบิ ัติ -มสี ว่ นร่วมสร้างขอ้ ตกลงและปฏบิ ัตติ าม

ตามข้อตกลงเมอ่ื มีผู้ชแี้ นะ ข้อตกลงดว้ ยตนเอง

-ปฏิบัติตนเปน็ ผนู้ าและผตู้ ามเมื่อมีผชู้ แี้ นะ -ปฏิบตั ติ นเปน็ ผู้นาและผตู้ ามที่ดไี ด้ -ปฏบิ ตั ิตนเปน็ ผนู้ าและผตู้ ามได้

ด้วยตนเอง เหมาะสมกับสถานการณ์

-ยอมรับการประนปี ระนอมแกไ้ ขปัญหา -ประนีประนอมแกไ้ ขปัญหาโดย -ประนปี ระนอมแก้ไขปญั หาโดย
เม่ือมผี ้ชู ีแ้ นะ ปราศจากการใชค้ วามรุนแรงเม่ือมีผู้ ปราศจากการใชค้ วามรนุ แรงด้วยตนเอง
ชแ้ี นะ

๑๘

4. ด้านสตปิ ญั ญา
มาตรฐานท่ี ๙ ใช้ภาษาสอ่ื สารไดเ้ หมาะสมกบั วัย
ตวั บ่งชที้ ่ี ๙.๑ สนทนาโต้ตอบและเล่าเร่ืองให้ผู้อื่นเข้าใจ

สภาพที่พึงประสงค์

อายุ ๓ ปี อายุ ๔ ปี อายุ ๕ ปี

-ฟงั ผูอ้ ่นื พดู จนจบและโต้ตอบเกีย่ วกับเรอื่ ง -ฟงั ผ้อู นื่ พูดจนจบและสนทนาโต้ตอบ -ฟังผู้อื่นพดู จนจบและสนทนาโต้ตอบ

ทฟ่ี ัง สอดคล้องกับเรื่องท่ีฟงั อยา่ งต่อเน่ืองเชอ่ื มโยงกับเรื่องทฟี่ ัง

-เล่า เรอื่ งดว้ ยประโยคสนั้ ๆ -เล่าเรื่องเป็นประโยคอยา่ งต่อเน่ือง -เลา่ เป็นเรอื่ งราวต่อเน่ืองได้

ตัวบง่ ชีท้ ่ี ๙.๒ อ่าน เขยี นภาพ และสญั ลักษณ์ได้
สภาพที่พงึ ประสงค์

อายุ ๓ ปี อายุ ๔ ปี อายุ ๕ ปี

-อา่ นภาพ และพูดขอ้ ความด้วยภาษา -อ่านภาพ สัญลักษณ์ คา พร้อมท้ังชี้ -อา่ นภาพ สัญลักษณ์ คา ดว้ ยการช้ี
ของตน หรือกวาดตามองข้อความตาม หรอื กวาดตามองจดุ เริ่มต้นและจุดจบ
บรรทดั ของขอ้ ความ

-เขียนขีด เขีย่ อย่างมีทิศทาง -เขียนคลา้ ยตวั อักษร -เขียนช่ือของตนเอง ตามแบบ
เขยี นขอ้ ความด้วยวิธีทค่ี ิดขน้ึ เอง

มาตรฐานที่ ๑๐ มีความสามารถในการคดิ ทีเ่ ป็นพนื้ ฐานในการเรยี นรู้
ตัวบง่ ชีท้ ี่ ๑๐.๑ มคี วามสามารถในการคดิ รวบยอด

สภาพทีพ่ ึงประสงค์

อายุ ๓ ปี อายุ ๔ ปี อายุ ๕ ปี

-บอกลักษณะของสง่ิ ของตา่ งๆจากการ -บอกลกั ษณะและส่วนประกอบของ -บอกลักษณะ สว่ นประกอบ การ
สงั เกตโดยใช้ประสาทสัมผัส ส่ิงของตา่ งๆจากการสังเกตโดยใช้ เปล่ยี นแปลง หรอื ความสัมพันธ์ของ
ประสาทสัมผสั ส่ิงของตา่ งๆจากการสงั เกตโดยใช้
ประสาทสมั ผัส

๑๙

-จบั ค่หู รอื เปรยี บเทยี บสิ่งต่างๆโดยใช้ -จับคู่และเปรยี บเทียบความแตกต่าง -จบั คู่และเปรียบเทยี บความแตกตา่ ง
ลกั ษณะหรอื หนา้ ทีก่ ารงานเพียงลักษณะ หรอื ความเหมือนของสิ่งต่างๆโดยใช้ หรือความเหมือนของสิ่งตา่ งๆโดยใช้
เดยี ว ลักษณะทีส่ ังเกตพบเพยี งลักษณะ ลักษณะท่สี งั เกตพบสองลักษณะข้นึ ไป
เดยี ว
-คัดแยกสงิ่ ตา่ งๆตามลักษณะหรือหนา้ ที่ -จาแนกและจดั กลุ่มสงิ่ ตา่ งๆโดยใช้ -จาแนกและจดั กลมุ่ ส่ิงต่างๆโดยใช้ต้ังแต่
การใชง้ าน อย่างน้อยหนงึ่ ลักษณะเป็นเกณฑ์ สองลักษณะขนึ้ ไปเป็นเกณฑ์

-เรยี งลาดับส่ิงของหรือเหตกุ ารณ์อย่าง -เรยี งลาดับสิ่งของหรือเหตกุ ารณ์ -เรียงลาดับสิ่งของหรือเหตกุ ารณ์อย่าง

น้อย ๓ ลาดับ อยา่ งน้อย ๔ ลาดบั นอ้ ย ๕ ลาดับ

ตัวบ่งช้ีท่ี ๑๐.๒ มีความสามารถในการคดิ เชงิ เหตผุ ล
สภาพทพ่ี ึงประสงค์

อายุ ๓ ปี อายุ ๔ ปี อายุ ๕ ปี

-ระบผุ ลท่เี กดิ ขน้ึ ในเหตกุ ารณ์หรอื การ -ระบสุ าเหตุหรอื ผลท่เี กิดข้ึนใน -อธิบายเช่อื มโยงสาเหตุและผลทีเ่ กดิ ข้ึน
กระทาเม่ือมีผู้ชี้แนะ เหตุการณ์หรือ การกระทาเมื่อมีผู้ ในเหตุการณ์หรือการกระทาด้วยตนเอง
ชแ้ี นะ
-คาดเดา หรอื คาดคะเนส่งิ ที่อาจเกิดข้นึ -คาดเดา หรอื คาดคะเนส่ิงท่ีอาจจะ -คาดคะเนสงิ่ ที่อาจจะเกิดขึน้ และมสี ่วน
เกิดข้ึน หรอื มีสว่ นรว่ มในการลง ร่วมในการลงความเห็นจากข้อมูลอย่างมี
ความเหน็ จากข้อมูล เหตผุ ล

ตัวบ่งช้ที ี่ ๑๐.๓ มคี วามสามารถในการคิดแกป้ ัญหาและตดั สินใจ
สภาพที่พึงประสงค์

อายุ ๓ ปี อายุ ๔ ปี อายุ ๕ ปี

-ตดั สนิ ใจในเรอ่ื งง่ายๆ -ตดั สินใจในเรือ่ งง่ายๆและเร่ิมเรยี นรู้ -ตดั สนิ ใจในเร่อื งง่ายๆและยอมรับผลท่ี

ผลที่เกิดข้ึน เกิดข้นึ

-แก้ปญั หาโดยลองผิดลองถูก -ระบุปญั หา และแก้ปัญหาโดยลอง -ระบปุ ญั หาสรา้ งทางเลือกและเลือกวธิ ี

ผิดลองถกู แก้ปัญหา

๒๐

มาตรฐานที่ ๑๑ มจี นิ ตนาการและความคิดสร้างสรรค์
ตัวบง่ ชที้ ี่ ๑๑.๑ เล่น/ทางานศิลปะตามจินตนาการและความคิดสรา้ งสรรค์

สภาพทพ่ี ึงประสงค์

อายุ ๓ ปี อายุ ๔ ปี อายุ ๕ ปี

-สรา้ งผลงานศลิ ปะเพ่ือสื่อสารความคดิ -สร้างผลงานศลิ ปะเพื่อสือ่ สารความคดิ -สรา้ งผลงานศลิ ปะเพื่อสอื่ สารความคิด
ความรสู้ ึกของตนเอง ความรู้สึกของตนเองโดยมีการดัดแปลง ความรู้สึกของตนเองโดยมีการดดั แปลง
และแปลกใหมจ่ ากเดมิ หรอื มี และแปลกใหมจ่ ากเดมิ และ
รายละเอียดเพ่มิ ขน้ึ มรี ายละเอียดเพิ่มขน้ึ

ตวั บง่ ชท้ี ่ี ๑๑.๒ แสดงท่าทาง/เคลอ่ื นไหวตามจินตนาการอยา่ งสรา้ งสรรค์
สภาพที่พึงประสงค์

อายุ ๓ ปี อายุ ๔ ปี อายุ ๕ ปี

-เคลอื่ นไหวทา่ ทางเพ่อื ส่ือสารความคดิ -เคลอื่ นไหวทา่ ทางเพอื่ ส่ือสาร -เคลอ่ื นไหวท่าทางเพ่ือส่ือสารความคิด
ความร้สู ึกของตนเอง ความคิด ความรสู้ ึกของตนเอง ความรสู้ กึ ของตนเอง
อย่างหลากหลายหรือแปลกใหม่ อยา่ งหลากหลายและแปลกใหม่

มาตรฐานที่ ๑๒ มเี จตคติทด่ี ีต่อการเรยี นรู้ และมคี วามสามารถในการแสวงหาความรู้ไดเ้ หมาะสมกบั วัย
ตวั บง่ ชี้ท่ี ๑๒.๑ มเี จตคติท่ดี ีตอ่ การเรียนรู้

สภาพทีพ่ งึ ประสงค์

อายุ ๓ ปี อายุ ๔ ปี อายุ ๕ ปี

-สนใจฟงั หรอื อ่านหนังสอื ดว้ ยตนเอง -สนใจซักถามเก่ยี วกับสญั ลกั ษณห์ รอื -หยิบหนงั สอื มาอ่านและเขียนส่ือความคดิ

ตวั หนังสือท่ีพบเห็น ด้วยตนเองเป็นประจาอยา่ งต่อเน่อื ง

-กระตือรือร้นในการเข้าร่วมกิจกรรม -กระตือรอื ร้นในการเข้าร่วมกิจกรรม -กระตือรอื รน้ ในการร่วมกิจกรรมตง้ั แตต่ ้น
จนจบ

๒๑

ตวั บง่ ชท้ี ่ี ๑๒.๒ มีความสามารถในการแสวงหาความรู้
สภาพที่พงึ ประสงค์

อายุ ๓ ปี อายุ ๔ ปี อายุ ๕ ปี

-คน้ หาคาตอบของข้อสงสัยต่างๆ ตาม -ค้นหาคาตอบของข้อสงสยั ต่างๆ ตาม -คน้ หาคาตอบของข้อสงสัยตา่ งๆ ตาม

วธิ ีการทีม่ ผี ู้ชแี้ นะ วิธกี ารของตนเอง วิธีการท่ีหลากหลายด้วยตนเอง

-เชื่อมโยงคาถา “อะไร” ในการค้นหา -ใชป้ ระโยคคาถามว่า “ท่ีไหน” -ใชป้ ระโยคคาถามว่า “เม่ือไร” อย่างไร”
คาตอบ “ทาไม” ในการคน้ หาคาตอบ ในการคน้ หาคาตอบ

การจดั เวลาเรยี น

หลักสูตรการศึกษาปฐมวัยกาหนดกรอบโครงสร้างเวลาในการจัดประสบการณ์ให้กับเด็ก ๑-๓ ปีการศึกษา
โดยประมาณ ท้ังนี้ ข้ึนอยู่กับอายุของเด็กท่ีเริ่มเข้าสถานศึกษาหรือสถาบันพัฒนาเด็กปฐมวัย เวลาเรียนสาหรับเด็ก
ปฐมวัยขนึ้ อยกู่ ับสถานศึกษาแตล่ ะแห่ง โดยมีเวลาเรยี นไม่น้อยกว่า ๑๘๐ วันตอ่ ๑ ปกี ารศกึ ษา ในแต่ละวันจะใช้เวลา
ไม่น้อยกวา่ ๕ ช่วั โมง โดยสามารถปรับเปลี่ยนใหเ้ หมาะสมตามบรบิ ทของสถานศึกษาและสถาบนั พฒั นาเด็กปฐมวัย

สาระการเรียนร้รู ายปี

สาระการเรียนรู้ใช้เป็นส่ือกลางในการจัดประสบการณ์การเรียนรู้ให้กับเด็กเพื่อส่งเสริมพัฒนาการทุก
ดา้ น ให้เป็นไปตามจุดหมายของหลักสตู รทกี่ าหนด ประกอบด้วย ประสบการณ์สาคัญและสาระทีค่ วรเรียนรู้ ดงั น้ี

๑. ประสบการณส์ าคญั
ประสบการณ์สาคัญเป็นแนวทางสาหรับผู้สอนไปใช้ในการออกแบบการจัดประสบการณ์ ให้เด็กปฐมวัย

เรียนรู้ ลงมือปฏิบตั ิ และไดร้ ับการส่งเสริมพัฒนาการครอบคลมุ ทุกด้าน ดงั น้ี
๑.๑ ประสบการณ์สาคัญท่ีส่งเสริมพัฒนาการด้านร่างกาย เป็นการสนับสนุนให้เด็กได้มีโอกาสพัฒนาการ

ใช้กล้ามเน้ือใหญ่ กล้ามเนื้อเล็ก และการประสานสัมพันธ์ระหว่างกล้ามเนื้อและระบบประสาท ในการทากิจวัตร
ประจาวันหรอื ทากจิ กรรมต่างๆและสนับสนุนใหเ้ ด็กมโี อกาสดูแลสุขภาพและสุขอนามยั และการรกั ษาความปลอดภัย
ดังนี้

๑.๑.๑ การใช้กลา้ มเนอื้ ใหญ่
๑.๑.๑.๑ การเคล่ือนไหวอยู่กับที่
๑.๑.๑.๒ การเคลื่อนไหวเคล่ือนที่
๑.๑.๑.๓ การเคลอ่ื นไหวพร้อมวสั ดุอปุ กรณ์
๑.๑.๑.๔ การเคลื่อนไหวท่ใี ช้การประสานสมั พันธข์ องการใชก้ ล้ามเนื้อมัดใหญใ่ นการขวา้ ง การจบั
การโยน การเตะ
๑.๑.๑.๕ การเล่นเครื่องเล่นสนามอย่างอสิ ระ

๒๒

๑.๑.๒ การใช้กล้ามเนอื้ เลก็
๑.๑.๒.๑ การเลน่ เครอ่ื งเลน่ สัมผสั และการสร้างจากแท่งไม้ บลอ็ ก
๑.๑.๒.๒ การเขยี นภาพและการเล่นกับสี
๑.๑.๒.๓ การป้นั
๑.๑.๒.๔ การประดิษฐ์ส่งิ ตา่ งๆด้วย เศษวัสดุ
๑.๑.๒.๕ การหยิบจับ การใช้กรรไกร การฉกี การตดั การปะ และการร้อยวัสดุ

๑.๑.๓ การรกั ษาสุขภาพอนามยั ส่วนตวั
๑.๑.๓.๑ การปฏบิ ัติตนตามสุขอนามยั สุขนสิ ัยทีด่ ีในกิจวตั รประจาวนั

๑.๑.๔ การรักษาความปลอดภัย
๑.๑.๔.๑ การปฏบิ ัติตนให้ปลอดภัยในกจิ วัตรประจาวนั
๑.๑.๔.๒ การฟังนทิ าน เรอ่ื งราว เหตกุ ารณ์ เกยี่ วกบั การปอ้ งกนั และรักษาความปลอดภยั
๑.๑.๔.๓ การเลน่ เครือ่ งเลน่ อยา่ งปลอดภัย
๑.๑.๔.๔ การเลน่ บทบาทสมมติเหตกุ ารณต์ ่างๆ

๑.๑.๕ การตระหนกั รูเ้ กย่ี วกับร่างกายตนเอง
๑.๑.๕.๑ การเคลื่อนไหวเพ่ือควบคมุ ตนเองไปในทิศทาง ระดับ และพน้ื ท่ี
๑.๑.๕.๒ การเคลอื่ นไหวขา้ มสิง่ กดี ขวาง

๑.๒ ประสบการณส์ าคญั ท่ีส่งเสริมพัฒนาการดา้ นอารมณ์ จติ ใจเปน็ การสนับสนนุ ใหเ้ ด็กได้แสดงออกทาง
อารมณ์และความร้สู กึ ของตนเองทีเ่ หมาะสมกับวยั ตระหนักถึงลักษณะพิเศษเฉพาะท่ีเป็นอตั ลักษณ์ ความเป็นตวั ของ
ตวั เอง มคี วามสุข ร่าเรงิ แจ่มใส การเหน็ อกเห็นใจผู้อนื่ ไดพ้ ัฒนาคณุ ธรรม จริยธรรม สนุ ทรยี ภาพ ความรู้สกึ ทด่ี ีต่อ
ตนเอง และความเช่ือมัน่ ในตนเองขณะปฏบิ ัติกจิ กรรมต่างๆ ดังนี้

๑.๒.๑ สุนทรียภาพ ดนตรี
๑.๒.๑.๑ การฟงั เพลง การร้องเพลง และการแสดงปฏิกิรยิ าโต้ตอบเสยี งดนตรี
๑.๒.๑.๒ การเคลอ่ื นไหวตามเสียงเพลง/ดนตรี
๑.๒.๑.๓ การเล่นบทบาทสมมติ
๑.๒.๑.๔ การทากิจกรรมศิลปะต่างๆ
๑.๒.๑.๕ การสร้างสรรค์สิ่งสวยงาม

๑.๒.๒ การเล่น
๑.๒.๒.๑ การเลน่ อิสระ
๑.๒.๒.๒ การเลน่ รายบุคคล กลมุ่ ยอ่ ย กลุ่มใหญ่
๑.๒.๒.๓ การเลน่ ตามมมุ ประสบการณ์
๑.๒.๒.๔ การเล่นนอกห้องเรียน

๑.๒.๓ คณุ ธรรม จริยธรรม
๑.๒.๓.๑ การปฏิบัติตนตามหลกั ศาสนาทนี่ บั ถอื
๑.๒.๓.๒ การฟังนิทานเกี่ยวกับคุณธรรม จริยธรรม

๒๓

๑.๒.๓.๓ การรว่ มสนทนาแลกเปล่ียนความคิดเห็นเชงิ จรยิ ธรรม
๑.๒.๔ การแสดงออกทางอารมณ์

๑.๒.๔.๑ การสะทอ้ นความร้สู กึ ของตนเองและผู้อน่ื
๑.๒.๔.๒ การเลน่ บทบาทสมมติ
๑.๒.๔.๓ การเคล่อื นไหวตามเสียงเพลง/ดนตรี
๑.๒.๔.๔การร้องเพลง
๑.๒.๔.๕ การทางานศลิ ปะ
๑.๒.๕ การมีอตั ลกั ษณเ์ ฉพาะตนและเชื่อว่าตนเองมคี วามสามารถ
๑.๒.๕.๑ การปฏิบตั ิกจิ กรรมตา่ งๆตามความสามารถของตนเอง
๑.๒.๖ การเหน็ อกเหน็ ใจผอู้ ่ืน
๑.๒.๖.๑ การแสดงความยนิ ดีเมื่อผู้อื่นมีความสุข เหน็ อกเห็นใจเมอื่ ผู้อ่ืนเศรา้ หรือเสยี ใจ และการ

ช่วยเหลือปลอบโยนเม่อื ผู้อ่ืนไดร้ ับบาดเจบ็
๑.๓ ประสบการณ์สาคัญทสี่ ่งเสรมิ พัฒนาการดา้ นสงั คม เป็นการสนบั สนุนใหเ้ ด็กไดม้ ีโอกาสปฏสิ ัมพันธ์กบั
บคุ ลและสงิ่ แวดล้อมต่างๆรอบตัวจากการปฏิบัตกิ ิจกรรมต่างๆ ผ่านการเรยี นร้ทู างสงั คม เช่น การเลน่ การทางานกับ
ผู้อ่ืน การปฏบิ ตั ิกิจวัตรประจาวนั การแก้ปญั หาข้อขัดแย้งตา่ งๆ
๑.๓.๑ การปฏิบตั ิกจิ วัตรประจาวัน

๑.๓.๑.๑ การช่วยเหลอื ตนเองในกิจวตั รประจาวัน
๑.๓.๑.๒การปฏบิ ัติตนตามแนวทางหลักปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง
๑.๓.๒ การดูแลรักษาธรรมชาตแิ ละส่ิงแวดล้อม
๑.๓.๒.๑ การมสี ่วนร่วมรับผิดชอบดแู ลรักษาส่ิงแวดลอ้ มทงั้ ภายในและภายนอกหอ้ งเรียน
๑.๓.๒.๒ การทางานศลิ ปะทใ่ี ชว้ สั ดุหรือสงิ่ ของท่ีใช้แล้วมาใชซ้ ้าหรือแปรรปู แลว้ นากลบั มาใช้ใหม่
๑.๓.๒.๓ การเพาะปลูกและดูแลตน้ ไม้
๑.๓.๒.๔ การเลีย้ งสัตว์
๑.๓.๒.๕ การสนทนาขา่ วและเหตุการณ์ท่เี ก่ียวกับธรรมชาติและสง่ิ แวดล้อมในชวี ิตประจาวนั
๑.๓.๓ การปฏิบัตติ ามวฒั นธรรมทอ้ งถ่นิ ท่อี าศัยและความเป็นไทย
๑.๓.๓.๑ การเล่นบทบาทสมมุตกิ ารปฏิบตั ิตนในความเป็นคนไทย
๑.๓.๓.๒ การปฏบิ ัติตนตามวฒั นธรรมท้องถ่ินท่ีอาศยั และประเพณีไทย
๑.๓.๓.๓ การประกอบอาหารไทย
๑.๓.๓.๔ การศึกษานอกสถานที่
๑.๓.๓.๕ การละเล่นพน้ื บา้ นของไทย
๑.๓.๔ การมปี ฏสิ ัมพันธ์ มีวินยั มีสวนร่วม และบทบาทสมาชกิ ของสังคม
๑.๓.๔.๑ การร่วมกาหนดข้อตกลงของห้องเรยี น
๑.๓.๔.๒ การปฏิบตั ติ นเป็นสมาชิทด่ี ีของห้องเรียน
๑.๓.๔.๓ การให้ความรว่ มมือในการปฏบิ ตั ิกจิ กรรมต่าง ๆ

๒๔

๑.๓.๔.๔ การดแู ลห้องเรยี นร่วมกัน
๑.๓.๔.๕ การรว่ มกจิ กรรมวันสาคัญ
๑.๓.๕ การเล่นแบบร่วมมอื ร่วมใจ
๑.๓.๕.๑ การร่วมสนทนาและแลกเปลี่ยนความคิดเห็น
๑.๓.๕.๒ การเลน่ และทางานรว่ มกบั ผอู้ ่นื
๑.๓.๕.๓ การทาศิลปะแบบร่วมมอื
๑.๓.๖ การแกป้ ัญหาความขัดแย้ง
๑.๓.๖.๑ การมีสว่ นร่วมในการเลอื กวธิ ีการแก้ปญั หา
๑.๓.๖.๒ การมสี ่วนร่วมในการแก้ปัญหาความขัดแย้ง
๑.๓.๗ การยอมรบั ในความเหมือนและความแตกตา่ งระหวา่ งบุคคล
๑.๓.๗.๑ การเล่นหรอื ทากิจกรรมร่วมกบั กลุม่ เพื่อน
๑.๔ ประสบการณ์สาคัญที่ส่งเสริมพัฒนาการด้านสติปัญญา เป็นการสนับสนุนให้เด็กได้รับรู้ เรียนรู้สิ่ง
ต่างๆรอบตัวผ่านการมีปฏิสัมพันธ์กับส่ิงแวดล้อม บุคคลและส่ือต่างๆ ด้วยกระบวนการเรียนรู้ที่หลากหลาย เพ่ือเปิด
โอกาสให้เด็กพัฒนาการใช้ภาษา จินตนาการความคิดสร้างสรรค์ การแก้ปัญหา การคิดเชิงเหตุผล และการคิดรวบ
ยอดเกี่ยวกับสิ่งต่างๆ รอบตัวและมีความคิดรวบยอดทางคณิตศาสตร์ท่ีเป็นพื้นฐานของการเรียนรู้ในระดับท่ีสูงขึ้น
ตอ่ ไป
๑.๔.๑ การใชภ้ าษา
๑.๔.๑.๑ การฟงั เสยี งตา่ งๆ ในส่ิงแวดลอ้ ม
๑.๔.๑.๒ การฟงั และปฏิบตั ติ ามคาแนะนา
๑.๔.๑.๓ การฟงั เพลง นทิ าน คาคลอ้ งจอง บทร้อยกรงหรือเร่ืองราวต่างๆ
๑.๔.๑.๔ การแสดงความคิด ความรู้สึก และความต้องการ
๑.๔.๑.๕ การพูดกบั ผู้อน่ื เก่ยี วกับประสบการณข์ องตนเอง หรือพูดเลา่ เร่ืองราวเกีย่ วกับตนเอง
๑.๔.๑.๖ การพูดอธิบายเก่ียวกับสิ่งของ เหตุการณ์ และความสมั พันธ์ของส่งิ ตา่ งๆ
๑.๔.๑.๗ การพูดอย่างสรา้ งสรรคใ์ นการเล่น และการกระทาต่างๆ
๑.๔.๑.๘ การรอจังหวะที่เหมาะสมในการพดู
๑.๔.๑.๙ การพูดเรียงลาดบั เพอื่ ใช้ในการสื่อสาร
๑.๔.๑.๑๐ การอา่ นหนงั สอื ภาพ นทิ าน หลากหลายประเภท/รูปแบบ
๑.๔.๑.๑๑ การอา่ นอิสระตามลาพงั การอ่านรว่ มกนั การอา่ นโดยมีผ้ชู ี้แนะ
๑.๔.๑.๑๒ การเห็นแบบอย่างของการอ่านทีถ่ ูกต้อง
๑.๔.๑.๑๓ การสงั เกตทศิ ทางการอา่ นตัวอกั ษร คา และข้อความ
๑.๔.๑.๑๔ การอา่ นและชีข้ ้อความ โดยกวาดสายตาตามบรรทดั จากซา้ ยไปขวา จากบนลงลา่ ง
๑.๔.๑.๑๕ การสงั เกตตัวอักษรในช่อื ของตน หรอื คาคุ้นเคย
๑.๔.๑.๑๖ การสังเกตตวั อกั ษรทป่ี ระกอบเปน็ คาผา่ นการอ่านหรอื เขียนของผูใ้ หญ่
๑.๔.๑.๑๗ การคาดเดาคา วลี หรอื ประโยค ทม่ี โี ครงสร้างซ้าๆกัน จากนทิ าน เพลง คาคล้องจอง

๒๕

๑.๔.๑.๑๘ การเลน่ เกมทางภาษา
๑.๔.๑.๑๙ การเห็นแบบอยา่ งของการเขียนทีถ่ กู ตอ้ ง
๑.๔.๑.๒๐ การเขยี นรว่ มกนั ตามโอกาส และการเขยี นอิสระ
๑.๔.๑.๒๑ การเขียนคาที่มีความหมายกับตัวเดก็ /คาคนุ้ เคย
๑.๔.๑.๒๒ การคิดสะกดคาและเขียนเพ่ือส่ือความหมายดว้ ยตนเองอยา่ งอิสระ
๑.๔.๒ การคิดรวบยอด การคดิ เชิงเหตุผล การตดั สนิ ใจและแก้ปัญหา
๑.๔.๒.๑ การสังเกตลักษณะ สว่ นประกอบ การเปลย่ี นแปลง และความสัมพันธ์ของสิง่ ต่างๆ โดยใช้
ประสาทสัมผสั อย่างเหมาะสม
๑.๔.๒.๒ การสงั เกตส่งิ ตา่ งๆ และสถานท่จี ากมุมมองที่ตา่ งกัน
๑.๔.๒.๓ การบอกและแสดงตาแหนง่ ทศิ ทาง และระยะทางของส่งิ ตา่ งๆด้วยการกระทา ภาพวาด
ภาพถ่าย และรูปภาพ
๑.๔.๒.๔ การเล่นกับสอ่ื ต่างๆที่เป็นทรงกลม ทรงส่ีเหลยี่ มมุมฉาก ทรงกระบอก กรวย
๑.๔.๒.๕ การคดั แยก การจัดกลุม่ และการจาแนกสิ่งตา่ งๆตามลักษณะและรูปร่าง รปู ทรง
๑.๔.๒.๖ การตอ่ ของชิน้ เล็กเติมในชิ้นใหญใ่ หส้ มบูรณ์ และการแยกช้นิ สว่ น
๑.๔.๒.๗ การทาซา้ การต่อเติม และการสร้างแบบรปู
๑.๔.๒.๘ การนับและแสดงจานวนของสง่ิ ต่างๆในชวี ติ ประจาวัน
๑.๔.๒.๙ การเปรยี บเทยี บและเรยี งลาดบั จานวนของส่ิงต่างๆ
๑.๔.๒.๑๐ การรวมและการแยกสงิ่ ตา่ งๆ
๑.๔.๒.๑๑ การบอกและแสดงอนั ดับท่ีของสิ่งตา่ งๆ
๑.๔.๒.๑๒ การช่งั ตวง วัดสง่ิ ตา่ งๆโดยใชเ้ ครอื่ งมือและหน่วยท่ไี ม่ใช่หน่วยมาตรฐาน
๑.๔.๒.๑๓ การจับคู่ การเปรยี บเทียบ และการเรยี งลาดบั สิ่งตา่ งๆ ตามลกั ษณะความยาว/ความสงู
น้าหนกั ปรมิ าตร
๑.๔.๒.๑๔ การบอกและเรียงลาดบั กจิ กรรมหรือเหตกู ารณ์ตามช่วงเวลา
๑.๔.๒.๑๕ การใช้ภาษาทางคณติ ศาสตร์กบั เหตุการณใ์ นชีวติ ประจาวนั
๑.๔.๒.๑๖ การอธิบายเชอ่ื มโยงสาเหตแุ ละผลท่ีเกิดข้ึนในเหตกุ ารณห์ รือการกระทา
๑.๔.๒.๑๗ การคาดเดาหรอื การคาดคะเนสงิ่ ที่อาจเกิดข้นึ อยา่ งมเี หตุผล
๑.๔.๒.๑๘ การมสี ่วนร่วมในการลงความเหน็ จากขอ้ มลู อย่างมีเหตุผล
๑.๔.๒.๑๙ การตดั สนิ ใจและมสี ว่ นรว่ มในกระบวนการแก้ปัญหา
๑.๔.๓ จินตนาการและความคิดสร้างสรรค์
๑.๔.๓.๑ การรับรู้ และแสดงความคดิ ความร้สู กึ ผ่านสือ่ วัสดุ ของเล่น และชิน้ งาน
๑.๔.๓.๒ การแสดงความคิดสร้างสรรค์ผ่านภาษา ทา่ ทาง การเคลื่อนไหว และศลิ ปะ
๑.๔.๓.๓ การสรา้ งสรรค์ชน้ิ งานโดยใชร้ ปู รา่ งรูปทรงจากวสั ดุทหี่ ลากหลาย
๑.๔.๔ เจตคติทด่ี ีต่อการเรียนรู้และการแสวงหาความรู้
๑.๔.๔.๑ การสารวจส่ิงต่างๆ และแหลง่ เรยี นร้รู อบตวั

๒๖

๑.๔.๔.๒ การตง้ั คาถามในเรอ่ื งทสี่ นใจ
๑.๔.๔.๓ การสบื เสาะหาความรูเ้ พื่อค้นหาคาตอบของข้อสงสัยต่างๆ
๑.๔.๔.๔ การมีส่วนร่วมในการรวบรวมข้อมูลและนาเสนอข้อมลู จากการสืบเสาะหาความรใู้ น
รปู แบบต่างๆและแผนภมู ิอย่างงา่ ย

2. สาระทค่ี วรเรยี นรู้
สาระท่ีควรเรียนรู้ เป็นเร่ืองราวรอบตัวเด็กท่ีนามาเป็นสื่อกลางในการจัดกิจกรรมให้เด็กเกิดแนวคิดหลังจาก
นาสาระการเรียนรู้น้ัน ๆ มาจัดประสบการณ์ให้เด็ก เพ่ือให้บรรลุจัดหมายท่ีกาหนดไว้ท้ังน้ี ไม่เน้นการท่องจาเน้ือหา
ครูสามารถกาหนดรายละเอียดข้ึนเองให้สอดคล้องกับวัย ความต้องการ และความสนใจของเด็ก โดยให้เด็กได้เรียนรู้
ผ่านประสบการณ์สาคัญ ทงั้ น้ี อาจยดื หยุน่ เน้อื หาไดโ้ ดยคานงึ ถึงประสบการณ์และส่งิ แวดล้อมในชวี ติ จริงของเด็ก ดังนี้
๒.๑ เรื่องราวเกี่ยวกับตัวเด็ก เด็กควรรู้จักช่ือ นามสกุล รูปร่างหน้าตา รู้จักอวัยวะต่างๆ วิธีระวังรักษา
ร่างกายให้สะอาดและมีสุขภาพอนามัยที่ดี การรับประทานอาหารท่ีเป็นประโยชน์ การระมัดระวังความปลอดภยั ของ
ตนเองจากผู้อื่นและภัยใกล้ตัว รวมทั้งการปฏิบัติต่อผู้อ่ืนอย่างปลอดภัย การรู้จักความเป็นมาของตนเองและ
ครอบครวั การปฏบิ ตั ิตนเปน็ สมาชิกที่ดีของครอบครวั และโรงเรียน การเคารพสทิ ธิของตนเองและผู้อนื่ การรู้จักแสดง
ความคิดเห็นของตนเองและรับฟังความคิดเห็นของผู้อ่ืน การกากับตนเอง การเล่นและทาส่ิงต่างๆด้วยตนเองตาม
ลาพังหรอื กับผู้อื่น การตระหนักรู้เกี่ยวกับตนเอง ความภาคภูมิใจในตนเอง การสะทอ้ นการรับรู้อารมณ์และความรู้สึก
ของตนเองและผู้อื่น การแสดงออกทางอารมณ์และความรู้สึกอย่างเหมาะสม การแสดงมารยาทที่ดี การมีคุณธรรม
จริยธรรม
๒.๒ เรื่องราวเก่ียวกับบุคคลและสถานท่ีแวดล้อมเด็ก เดก็ ควรเรยี นรเู้ ก่ยี วกับครอบครวั สถานศกึ ษา ชุมชน
และบุคคลต่างๆ ที่เดก็ ต้องเก่ยี วข้องหรือใกล้ชดิ และมีปฏิสมั พนั ธ์ในชีวิตประจาวัน สถานทส่ี าคญั วนั สาคญั อาชีพของ
คนในชุมชน ศาสนา แหล่งวัฒนาธรรมในชุมชน สัญลักษณ์สาคัญของชาติไทยและการปฏิบัติตามวัฒนธรรมท้องถิ่น
และความเปน็ ไทย หรอื แหลง่ เรยี นรจู้ ากภมู ปิ ัญญาท้องถนิ่ อ่ืนๆ
๒.๓ ธรรมชาติรอบตวั เด็กควรเรียนรู้เก่ียวกบั ชื่อ ลกั ษณะ ส่วนประกอบ การเปลยี่ นแปลงและความสัมพันธ์
ของมนุษย์ สัตว์ พืช ตลอดจนการรู้จักเกี่ยวกับดิน น้า ท้องฟ้า สภาพอากาศ ภัยธรรมชาติ แรง และพลังงานใน
ชีวิตประจาวนั ท่ีแวดลอ้ มเด็ก รวมทงั้ การอนรุ กั ษ์สิ่งแวดล้อมและการรักษาสาธารณสมบัติ
๒.๔ สิ่งต่างๆรอบตัวเด็ก เด็กควรเรียนรู้เกี่ยวกับการใช้ภาษาเพ่ือสื่อความหมายในชีวิตประจาวัน ความรู้
พื้นฐานเกี่ยวกับการใช้หนังสือและตัวหนังสือ รู้จักชื่อ ลักษณะ สี ผิวสัมผัส ขนาด รูปร่าง รูปทรง ปริมาตร น้าหนัก
จานวน ส่วนประกอบ การเปลี่ยนแปลงและความสัมพันธ์ของสิ่งต่างๆรอบตัว เวลา เงิน ประโยชน์ การใช้งาน และ
การเลอื กใชส้ ิ่งของเคร่ืองใช้ ยานพาหนะ การคมนาคม เทคโนโลยแี ละการสื่อสารต่างๆ ท่ีใชอ้ ยู่ในชีวิตประจาวันอย่าง
ประหยัด ปลอดภยั และรักษาส่ิงแวดล้อม

การจดั ประสบการณ์

การจัดประสบการณ์สาหรับเด็กปฐมวัยอายุ ๓ – ๖ ปี เป็นการจัดกิจกรรมในลักษณะบรู ณาการผา่ นการ
เล่น การลงมือกระทาจากประสบการณ์ตรงอย่างหลากหลาย เกิดความรู้ ทักษะ คุณธรรม จริยธรรม รวมท้ังเกิดการ

๒๗

พัฒนาท้ังด้านร่างกาย อารมณ์ จิตใจ สังคม และสติปัญญา ไม่จัดเป็นรายวิชาโดยมีหลักการ และแนวทางการจัด
ประสบการณ์ ดังนี้

๑. หลักการจัดประสบการณ์
๑.๑ จัดประสบการณ์การเล่นและการเรยี นรหู้ ลากหลาย เพื่อพัฒนาเด็กโดยองค์รวมอย่างสมดุลและ

ต่อเนอ่ื ง
๑.๒ เน้นเด็กเป็นสาคัญ สนองความต้องการ ความสนใจ ความแตกต่างระหว่างบุคคลและบริบทของ

สังคมท่เี ด็กอาศัยอยู่
๑.๓ จดั ให้เด็กได้รับการพัฒนา โดยใหค้ วามสาคญั กับกระบวนการเรียนรู้และพฒั นาการของเดก็
๑.๔ จัดการประเมินพัฒนาการให้เป็นกระบวนการอย่างต่อเน่ือง และเป็นส่วนหนึ่งของการจัด

ประสบการณ์ พรอ้ มทง้ั นาผลการประเมินมาพฒั นาเด็กอย่างต่อเน่ือง
๑.๕ ใหพ้ อ่ แม่ ครอบครัว ชุมชน และทกุ ฝา่ ยท่ีเก่ยี วข้องมสี ว่ นรว่ มในการพัฒนาเดก็

๒. แนวทางการจัดประสบการณ์
๒.๑ จัดประสบการณ์ให้สอดคล้องกับจิตวิทยาพัฒนาการและการทางานของสมองที่เหมาะสมกับ

อายุ วฒุ ิภาวะและระดับพัฒนาการ เพ่ือใหเ้ ดก็ ทกุ คนได้พฒั นาเต็มตามศักยภาพ
๒.๒ จัดประสบการณ์ให้สอดคล้องกับแบบการเรียนรู้ของเดก็ เด็กได้ลงมือกระทาเรียนรู้ผ่านประสา

สมั ผสั ทั้งหา้ ได้เคล่ือนไหว สารวจ เล่น สังเกต สบื ค้น ทดลอง และคดิ แก้ปญั หาดว้ ยตนเอง
๒.๓ จดั ประสบการณ์แบบบูรณาการ โดยบรู ณาการทัง้ กิจกรรม ทกั ษะ และสาระการเรียนรู้
๒.๔ จัดประสบการณ์ให้เด็กได้ริเริ่มคิด วางแผน ตัดสินใจลงมือกระทาและนาเสนอความคิดโดยครู

หรือผจู้ ดั ประสบการณเ์ ปน็ ผ้สู นบั สนุนอานวยความสะดวก และเรียนรูร้ ่วมกบั เด็ก
๒.๕ จัดประสบการณ์ให้เด็กมีปฏิสัมพันธ์กับเด็กอ่ืนกับผู้ใหญ่ ภายใต้สภาพแวดล้อมท่ีเอื้อต่อการ

เรียนรู้ ในบรรยากาศทอ่ี บอุน่ มีความสุข และเรยี นรู้การทากจิ กรรมแบบร่วมมือในลกั ษณะต่างๆกนั
๒.๖ จัดประสบการณ์ให้เด็กมีปฏิสัมพันธ์กับสื่อและแหล่งการเรียนรี่หลากหลายและอยู่ในวิถีชีวิต

ของเดก็
๒.๗ จัดประสบการณ์ที่ส่งเสริมลักษณะนิสัยท่ีดีและทักษะการใช้ชีวิตประจาวันตลอดจนสอดแทรก

คณุ ธรรมจรยิ ธรรมใหเ้ ปน็ สว่ นหนึ่งของการจัดประสบการณก์ ารเรยี นรอู้ ยา่ งต่อเนอื่ ง
๒.๘ จัดประสบการณ์ท้ังในลักษณะท่ีดีการวางแผนไว้ล่วงหน้าและแผนท่ีเกิดข้ึนในสภาพจริงโดย

ไม่ได้คาดการณไ์ ว้
๒.๙ จัดทาสารนิทัศน์ด้วยการรวบรวมข้อมูลเกี่ยวกับพัฒนาการและการเรียนรู้ของเด็กเป็น

รายบคุ คล นามาไตร่ตรองและใช้ให้เปน็ ประโยชนต์ อ่ การพฒั นาเด็ก และการวิจยั ในชัน้ เรยี น
๒.๑๐ จัดประสบการณ์โดยให้พ่อแม่ ครอบครัว และชุมชนมีส่วนร่วมท้ังการวางแผน การสนับสนุน

สอ่ื แหลง่ เรียนรู้ การเข้าร่วมกิจกรรม และการประเมนิ พัฒนาการ

๒๘

หน่วยประสบการณ์
การจัดการเรียนรู้ในรูปแบบหน่วยประสบการณ์ครอบคลุมสาระการเรียนรู้ทั้ง 4 สาระได้แก่ เร่ืองราว

เกี่ยวกับตัวเด็ก เรื่องราวเก่ียวกับบุคคลและสถานท่ีแวดล้อมเด็ก ธรรมชาติรอบตัว และส่ิงต่างๆรอบตัวเด็ก ทั้งน้ีต้อง
เป็นเรื่องที่ใกล้ตัวเด็ก เกี่ยวข้องในชีวิตประจาวัน และสัมพันธ์กับชุมชนท้องถิ่น การกาหนดหัวเรื่องเพ่ือใช้เป็น
แกนกลางในการจัดประสบการณ์ใหก้ ับเด็ก มีแนวทางการปฏบิ ัติ 3 วิธีคอื

(1) เดก็ เปน็ ผูก้ าหนด โดยเปิดโอกาสให้เดก็ เปน็ ผูก้ าหนดหัวเรอ่ื งได้ตามความสนใจ
(2) ครูและเด็กร่วมกันกาหนด โดยครูกระตุ้นให้เด็กแสดงความคิดเห็นแล้วนาเรื่องท่ีสนใจมากาหนดเป็น
หนว่ ยการจัดประสบการณ์
(3) ครเู ป็นผกู้ าหนด ครูวางแผนกาหนดหนว่ ยการจัดประสบการณ์และสาระการเรยี นรูไ้ ว้ล่วงหน้า หนว่ ยการ
จัดประสบการณน์ ส้ี ามารถปรับและยึดหย่นุ ได้ตามความสนใจของเด็ก ความสอดคล้อง เหมาะสมตามสภาพความจริง
ของแตล่ ะปี

กาหนดหนว่ ยการจัดประสบการณ์ชน้ั อนบุ าล 1

ภาคเรยี นที่ / สปั ดาห์ที่ ชื่อหน่วย จานวนวัน

1/1 ปฐมนิเทศ 5

1/2 ตวั เรา 5

1/3 วันวิสาขบูชา 5

1/4 รา่ งกายของเรา 5

1/5 เดก็ ดีมีวนิ ัย 5

1/6 ของเลน่ ของใช้ 5

1/7 เรารักฤดูฝน 5

1/8 ครอบครวั แสนสุข 5

1/9 ยุงลาย 5

1/10 ชมุ ชนของฉนั 5

1/11 วนั เข้าพรรษา 5

1/12 ประสาทสมั ผสั ทง้ั 5 5

1/13 วันแม่แหง่ ชาติ 5

๒๙

1/14 ปลอดภยั ไวก้ ่อน 5

1/15 หนนู อ้ ยน่ารกั 5

1/16 สตั ว์โลก 5

1/17 ข้าว 5

1/18 อาชพี 5

1/19 การคมนาคม 5

1/20 ผีเสอื้ แสนสวย 5

1/21 ผักและผลไม้ 5

2/22 รปู ร่าง รปู ทรง 5

2/23 ส่งิ มีชวี ติ 5

2/24 สิ่งไมม่ ชี วี ติ 5

2/25 กลางวัน-กลางคืน 5

2/26 วนั ลอยกระทง 5

2/27 ธรรมชาติแสนสวย 5

2/28 อากาศรอบตัว 5

2/29 กินดีอยู่ดี 5

2/30 การติดต่อสอ่ื สาร 5

2/31 วนั คริสต์มาสและวนั ขน้ึ ปใี หม่ 5

2/32 ต้นไม้ 5

2/33 วันเด็ก – วนั ครู 5

2/34 จังหวดั อุบลราชธานี 5

2/35 โลกสวยด้วยสีสนั 5

2/36 ตวั เลขแสนสนุก1 5

2/37 ตัวเลขแสนสนุก 2 ๓๐
2/38 ตาวเิ ศษ
2/39 วันมาฆบชู า 5
2/40 ฤดูร้อน 5
5


๓. การจดั กิจกรรมประจาวัน

กิจกรรมสาหรับเด็กอายุ ๓ – ๖ ปีบริบูรณ์ สามารถนามาจัดเป็นกิจกรรมประจาวันได้หลายรูปแบบเป็นการ

ช่วยใหค้ รูผสู้ อนหรือผู้จัดประสบการณ์ทราบว่าแต่ละวันจะทากจิ กรรมอะไร เม่อื ใด และอย่างไร ทั้งน้ี การจดั กิจกรรม

ประจาวันสามารถจัดได้หลายรูปแบบ ข้ึนอยู่กับความเหมาะสมในการนาไปใช้ของแต่ละหน่วยงานและสภาพชุมชน

ท่ีสาคัญครูผู้สอนต้องคานึงถึงการจัดกิจกรรมให้ครอบคลุมพัฒนาการทุกด้านการจัดกิจกรรมประจาวันมีหลักการจัด

และขอบข่ายกจิ กรรมประจาวัน ดงั น้ี

๓.๑ หลกั การจดั กิจกรรมประจาวนั

๑. กาหนดระยะเวลาในการจัดกิจกรรมแต่ละกิจกรรมให้เหมาะสมกับวัยของเด็กในแต่ละวันแต่

ยืดหยนุ่ ได้ตามความต้องการและความสนใจของเดก็ เชน่

วัย ๓ - ๔ ปี มีความสนใจชว่ งสั้นประมาณ ๘-๑๒ นาที

วยั ๔ – ๕ ปี มคี วามสนใจอย่ไู ดป้ ระมาณ ๑๒-๑๕ นาที

วยั ๕-๖ ปี มีความสนใจอยไู่ ด้ประมาณ ๑๕- ๒๐ นาที

๒. กจิ กรรมทต่ี ้องใชค้ วามคิดทั้งในกลมุ่ เล็กและกลุ่มใหญ่ ไม่ควรใชเ้ วลาต่อเนอ่ื งนานเกนิ กว่า

๒๐ นาที

๓. กิจกรรมที่เด็กมีอิสระเลือกเลน่ เสรี เพื่อช่วยให้เดก็ รู้จกั เลอื กตัดสินใจ คิดแก้ปัญหา คิดสร้างสรรค์

เช่น การเล่นตามมุม การเลน่ กลางแจ้ง ฯลฯ ใชเ้ วลาประมาณ ๔๐-๖๐ นาที

๔. กิจกรรมควรมีความสมดุลระหว่างกิจกรรมในห้องและนอกห้อง กิจกรรมที่ใช้กล้ามเน้ือใหญ่และ

กล้ามเนื้อเล็ก กิจกรรมที่เป็นรายบุคคล กลุ่มย่อยและกลุ่มใหญ่ กิจกรรมที่เด็กเป็นผู้ริเร่ิมและครู ผู้สอนหรือผู้จัด

ประสบการณเ์ ปน็ ผู้ริเริ่ม และกิจกรรมท่ีใช้กาลงั และไม่ใช้กาลงั จดั ให้ครบทกุ ประเภท ทงั้ น้ี กจิ กรรมที่ ตอ้ ง

ออกกาลงั กายควรจัดสลับกับกจิ กรรมที่ไม่ต้องออกกาลงั มากนัก เพื่อเด็กจะไดไ้ มเ่ หนอ่ื ยเกินไป

๓๑

ตารางการจัดกจิ กรรมประจาวนั โรงเรยี นบ้านดอนยู

07.00 น. - 07.30 น. รับเด็ก
07.30 น. - 08.10 น. ทาความสะอาด
08.10 น. - 08.30 น. กิจกรรมหนา้ เสาธง
08.30 น. - 08.40 น. ตรวจสขุ ภาพ เขา้ ห้องน้า
08.40 น. - 09.00 น. บรหิ ารสมอง / เล่าข่าวและเหตุการณป์ ระจาวัน
09.00 น. - 09.20 น. กจิ กรรมเคลื่อนไหวและจงั หวะ
09.20 น. - 09.40 น. กจิ กรรมเสรมิ ประสบการณ์
09.40 น. - 10.00 น. กิจกรรมเล่นเสรี
10.00 น. - 10.30 น. กิจกรรมสรา้ งสรรค์
10.30 น. - 11.00 น. กิจกรรมกลางแจ้ง
11.00 น. - 11.30 น. พักรับประทานอาหารกลางวนั
11.30 น. - 12.30 น. พกั ผ่อนตามอัธยาศัย แปรงฟัน ด่ืมนม
12.30 น. - 14.30 น. นอนพักกลางวัน
14.30 น. - 14.40 น. ต่นื นอน เกบ็ ที่นอน ล้างหนา้ ทาแป้ง
14.40 น. - 14.50 น. กิจกรรมเกมการศกึ ษา
14.50 น. - 15.00 น. ทบทวน/เตรียมตัวกลบั บา้ น
หมายเหตุ
* เวลาอาจเปลยี่ นแปลงไดต้ ามความเหมาะสม
* หากมเี หตกุ ารณ์ที่เดก็ สนใจเกดิ ขน้ึ อาจนามาสอนไดท้ ันที
* หากมกี ารศึกษานอกสถานทีใ่ ห้บูรณาการกจิ กรรมในช่วงเวลานนั้
* กิจกรรมในแผนการจดั ประสบการณ์ทต่ี รงกบั วนั หยดุ ให้บูรณาการกบั วันเปดิ เรียนปก

๓๒

๓.๒ ขอบขา่ ยของกจิ กรรมประจาวัน
การเลือกกิจกรรมท่ีจะนามาจัดในแต่ละวันสามารถจัดได้หลายรูปแบบ ท้ังน้ี ข้ึนอยู่กับความเหมาะสมในการ
นาไปใช้ของแต่ละหน่วยงานและสภาพชุมชน ท่ีสาคัญครูผู้สอนต้องคานึกถึงการจัดกิจกรรมให้ครอบคลุมพัฒนาการ
ทกุ ด้าน ดงั ตอ่ ไปนี้
๓.๒.๑ การพัฒนากล้ามเนื้อใหญ่ เป็นการพัฒนาความแข็งแรง การทรงตัว ความยืดหยุ่น ความคล่องแคลว่
ในการใช้อวัยวะตา่ ง ๆ และจังหวะการเคลอ่ื นไหวในการใช้กลา้ มเนื้อใหญ่ โดยจดั กจิ กรรมใหเ้ ดก็ ไดเ้ ล่นอิสระกลางแจ้ง
เลน่ เครอ่ื งเล่นสนาม ปีนป่ายเล่นอิสระ เคลอ่ื นไหวรา่ งกายตามจงั หวะดนตรี
๓.๒.๒ การพัฒนาการกล้ามเนื้อเล็ก เป็นการพัฒนาความแข็งแรงของกล้ามเนื้อเล็ก กล้ามเนื้อมือ-น้ิวมือ
การประสานสัมพันธ์ระหว่างกล้ามเน้ือมือและระบบประสาทตามือได้อย่างคล่องแคล่วและประสานสัมพันธ์
โดยจัดกิจกรรมให้เด็กได้เล่นเคร่ืองสัมผัส เล่นเกมการศึกษา ฝึกช่วยเหลือตนเองในการแต่งกาย หยิบจับช้อนส้อม
และใชอ้ ปุ กรณ์ศลิ ปะ เชน่ สเี ทยี น กรรไกร พูก่ นั ดนิ เหนยี ว ฯลฯ
๓.๒.๓ การพฒั นาการอารมณ์ จิตใจ และปลูกฝังคุณธรรม จริยธรรม เป็นการปลกู ฝงั ให้เด็กมีความรู้สึกท่ีดี
ต่อตนเองและผู้อ่ืน มีความเชื่อม่ัน กล้าแสดงออก มีวินัย รับผิดชอบ ซ่ือสัตย์ ประหยัด เมตตากรุณา เอื้อเฟ้ือ แบ่งปัน
มีมารยาทและปฏิบัติตนตามวัฒนธรรมไทยและศาสนาที่นับถือโดยจัดกิจกรรมต่างๆ ผ่านการเล่นให้เด็กได้มีโอกาส
ตดั สินใจเลือก ไดร้ ับการตอบสนองตาความต้องการไดฝ้ ึกปฏิบัติโดยสอดแทรกคุณธรรม จริยธรรมอย่างต่อเนือ่ ง
๓.๒.๔ การพัฒนาสังคมนิสัย เป็นการพัฒนาให้เด็กมีลักษณะนิสัยท่ีดี แสดงออกอย่างเหมาะสมและ
อยู่ร่วมกับผู้อื่นได้อย่างมีความสุข ช่วยเหลือตนเองในการทากิจวัตรประจาวันมีนิสัยรักการทางาน ระมัดระวัง
ความปลอดภยั ของตนเองและผู้อ่นื โดยรวมทัง้ ระมดั ระวงั อนั ตรายจากคนแปลกหน้า ให้เดก็ ไดป้ ฏิบัติกจิ วตั รประจาวัน
อย่างสม่าเสมอ เช่น รับประทานอาหาร พักผ่อนนอนหลับ ขับถ่าย ทาความสะอาดร่างกาย เล่นและทางาน
รว่ มกบั ผู้อนื่ ปฏิบัตติ ามกฎกตกิ าขอ้ ตกลงของร่วมรวม เกบ็ ของเข้าที่เมอื่ เล่นหรอื ทางานเสรจ็

๓.๒.๕ การพัฒนาการคิด เป็นการพัฒนาให้เด็กมีความสามารถในการคิดแก้ปัญหา
ความคิดรวบยอดทางคณิตศาสตร์ และคิดเชิงเหตุผลทางคณิตศาสตร์และวิทยาศาสตร์โดยจัดกิจกรรมให้เด็ก
ได้สนทนา อภิปรายและเปลี่ยนความคิดเห็น เชิญวิทยากรมาพูดคุยกับเด็ก ศึกษานอกสถานท่ี เล่นเกมการศึกษา
ฝึกการแก้ปัญหาในชีวิตประจาวัน ฝึกออกแบบและสร้างชิ้นงาน และทากิจกรรมทั้งเป็นกลุ่มย่อย กลุ่มใหญ่และ
รายบุคคล

๓.๒.๖ การพัฒนาภาษา เป็นการพัฒนาให้เด็กใช้ภาษาสื่อสารถ่ายทอดความรู้สึกนึกคิด ความรู้
ความเข้าใจในสิ่งต่างๆ ท่ีเด็กมีประสบการณ์โดยสามารถต้ังคาถามในสิ่งที่สงสัยใคร่รู้ จัดกิจกรรมทางภาษาให้มีความ
หลากหลายในสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อการเรียนรู้ มุ่งปลูกฝังให้เด็กได้กล้าแสดงออกในการฟัง พูด อ่าน เขียน มีนิสัย
รักการอ่าน และบุคคลแวดล้อมต้องเปน็ แบบอย่างที่ดีในการใชภ้ าษา ท้ังนี้ต้องคานึกถึงหลกั การจัดกิจกรรมทางภาษา
ที่เหมาะสมกับเด็กเป็นสาคัญ

๓.๒.๗ การส่งเสริมจินตนาการและความคิดสร้างสรรค์ เป็นการส่งเสริมให้เด็กมีความคิดริเร่ิม
สร้างสรรค์ ได้ถ่ายทอดอารมณ์ความรู้สึกและเห็นความสวยงามของส่ิงต่างๆ โดยจัดกิจกรรมศิลปะสร้างสรรค์ดนตรี
การเคลื่อนไหวและจังหวะตามจินตนาการ ประดิษฐ์สิ่งต่างๆ อย่างอิสระ เล่นบทบาทสมมุติ เล่นน้า เล่นทราย
เลน่ บลอ็ ก และเลน่ ก่อสรา้ ง

๓๓

การสร้างบรรยากาศการเรยี นรู้

การจัดสภาพแวดล้อมในสถานศึกษา มีความสาคัญต่อเด็กเนื่องจากธรรมชาติของเด็กในวัยน้ีสนใจท่ีจะเรียนรู้

ค้นคว้า ทดลอง และต้องการสัมผัสกับสิ่งแวดล้อมรอบๆตัว ดังนั้น การจัดเตรียมส่ิงแวดล้อมอย่างเหมาะสมตาม

ความต้องการของเดก็ จึงมคี วามสาคญั ที่เกย่ี วขอ้ งกับพฤติกรรมและการเรยี นรู้ของเด็ก เด็กสามารถเรียนรจู้ ากการเล่น

ที่เป็น ประสบการณ์ตรงที่เกิดจากการรับรู้ด้วยประสาทสัมผัสท้ังห้าจึงจาเป็นต้องจัดสิ่งแวดล้อมในสถานศึกษาให้

สอดคลอ้ งกับสภาพ และความต้องการของหลักสูตร เพ่ือส่งผลใหบ้ รรลุจดุ หมายในการพัฒนาเดก็

การจัดสภาพแวดล้อมคานงึ ถึงสง่ิ ต่อไปนี้
๑. ความสะอาด ความปลอดภยั
๒. ความมีอิสระอย่างมขี อบเขตในการเลน่
๓. ความสะดวกในการทากจิ กรรม
๔. ความพร้อมของอาคารสถานที่ เช่น หอ้ งเรยี น ห้องน้าห้องส้วม สนามเด็กเลน่ ฯลฯ
๕. ความเพยี งพอเหมาะสมในเรือ่ งขนาด น้าหนกั จานวน สีของสอ่ื และเคร่อื งเลน่
๖. บรรยากาศในการเรยี นรู้ การจดั ทเ่ี ลน่ และมุมประสบการณ์ตา่ ง ๆ

สภาพแวดล้อมภายในห้องเรียน
หลักสาคัญในการจัดต้องคานึงถึงความปลอดภัย ความสะอาด เป้าหมายการพัฒนาเด็ก ความเป็นระเบียบ

ความเป็นตัวของเด็กเอง ให้เด็กเกิดความรู้สึกอบอุ่น ม่ันใจ และมีความสุข ซ่ึงอาจจัดแบ่งพื้นที่ให้เหมาะสมกับการ
ประกอบกิจกรรมตามหลักสตู ร ดงั นี้

๑. พนื้ ที่อานวยความสะดวกเพอ่ื เดก็ และผ้สู อน
๑.๑ ท่ีแสดงผลงานของเด็ก อาจจัดเปน็ แผน่ ปา้ ย หรือทีแ่ ขวนผลงาน
๑.๒ ที่เกบ็ แฟ้มผลงานของเด็ก อาจจดั ทาเปน็ กลอ่ งหรือจดั ใส่แฟม้ รายบุคคล
๑.๓ ทเ่ี ก็บเครอ่ื งใช้ส่วนตวั ของเดก็ อาจทาเปน็ ช่องตามจานวนเด็ก
๑.๔ ท่ีเกบ็ เครอื่ งใชข้ องผสู้ อน เชน่ อปุ กรณ์การสอน ของส่วนตวั ผู้สอน ฯลฯ
๑.๕ ปา้ ยนิเทศตามหนว่ ยการสอนหรือสง่ิ ท่ีเดก็ สนใจ

๒. พ้ืนท่ีปฏิบัติกิจกรรมและการเคล่ือนไหว ต้องกาหนดให้ชัดเจน ควรมีพื้นท่ีท่ีเด็กสามารถจะทางานได้ดว้ ย
ตนเอง และทากิจกรรมด้วยกันในกลุม่ เลก็ หรือกลุ่มใหญ่ เด็กสามารถเคล่ือนไหวได้อย่างอิสระจากกิจกรรมหนึ่งไปยัง
กจิ กรรมหน่งึ โดยไม่รบกวนผู้อื่น

๓. พื้นท่ีจัดมุมเล่นหรือมุมประสบการณ์ สามารถจัดได้ตามความเหมาะสมข้ึนอยู่กับสภาพของห้องเรียน
จดั แยกสว่ นที่ใช้เสยี งดงั และเงียบออกจากกนั เชน่ มมุ บลอ็ กอย่หู า่ งจากมมุ หนังสอื
มุมบทบาทสมมตอิ ยูต่ ิดกับมุมบลอ็ ก มุมวิทยาศาสตร์อยู่ใกล้มุมศิลปะฯ ลฯ ทสี่ าคัญจะตอ้ งมีของเลน่ วสั ดอุ ุปกรณ์ในมุม
อย่างเพียงพอต่อการเรียนรู้ของเด็ก การเล่นในมุมเล่นอย่างเสรี มักถูกกาหนดไว้ในตารางกิจกรรมประจาวัน เพ่ือให้
โอกาสเด็กไดเ้ ลน่ อยา่ งเสรีประมาณวันละ ๖๐ นาทีการจัดมมุ เล่นตา่ งๆ ผู้สอนควรคานึงถึงสิ่งต่อไปนี้

๓.๑ ในห้องเรียนควรมีมุมเล่นอยา่ งนอ้ ย ๓-๕ มุม ท้งั น้ขี ้นึ อยกู่ บั พื้นที่ของห้อง
๓.๒ ควรไดม้ ีการผลัดเปล่ยี นสือ่ ของเล่นตามมมุ บา้ ง ตามความสนใจของเด็ก
๓.๓ ควรจัดให้มีประสบการณ์ท่ีเด็กได้เรียนรู้ไปแล้วปรากฏอยู่ในมุมเล่น เช่น เด็กเรียนรู้เรื่องผีเส้ือ
ผู้สอนอาจจดั ใหม้ ีการจาลองการเกิดผเี สอ้ื ล่องไวใ้ ห้เด็กดูในมุมธรรมชาติศึกษาหรือมมุ วิทยาศาสตร์ ฯลฯ
๓.๔ ควรเปดิ โอกาสให้เด็กมสี ว่ นร่วมในการจดั มุมเลน่ ทัง้ นเี้ พอ่ื จูงใจให้เด็กรู้สกึ เป็นเจ้าของ อยากเรยี นรู้
อยากเข้าเลน่

๓๔

๓.๕ ควรเสริมสร้างวินัยให้กับเด็ก โดยมีข้อตกลงร่วมกันว่าเม่ือเล่นเสร็จแล้วจะต้องจัดเก็บอุปกรณ์ทุก
อยา่ งเข้าท่ใี ห้เรยี บร้อยสภาพแวดลอ้ มนอกหอ้ งเรียน คือ การจัดสภาพแวดล้อมภายในอาณาบริเวณรอบ ๆ สถานศึกษา
รวมทั้งจัดสนามเด็กเล่น พร้อมเคร่ืองเล่นสนาม จัดระวังรักษาความปลอดภัยภายในบริเวณสถานศึกษาและบริเวณรอบ
นอกสถานศึกษา ดูแลรักษาความสะอาด ปลูกต้นไม้ให้ความร่มร่ืนรอบๆบริเวณสถานศึกษา ส่ิงต่างๆเหล่านี้เป็นส่วน
หนง่ึ ทสี่ ่งผลตอ่ การเรยี นรู้และพฒั นาการของเด็ก

บริเวณสนามเดก็ เล่น ต้องจดั ใหส้ อดคลอ้ งกบั หลกั สตู ร ดังน้ี
สนามเด็กเล่น มีพื้นผิวหลายประเภท เช่น ดิน ทราย หญ้า พ้ืนท่ีสาหรับเล่นของเล่นที่มีล้อ รวมทั้ง

ที่ร่ม ท่ีโล่งแจ้ง พื้นดินสาหรับขุด ที่เล่นน้า บ่อทราย พร้อมอุปกรณ์ประกอบการเล่น เคร่ืองเล่นสนามสาหรับปีนป่าย
ทรงตัว ฯลฯ ท้ังน้ีต้องไม่ติดกับบริเวณที่มีอันตราย ต้องหมั่นตรวจตราเคร่ืองเล่นให้อยู่ในสภาพแข็งแรง ปลอดภัย
อยเู่ สมอ และหมั่นดูแลเรื่องความสะอาด

ทีน่ ่งั เล่นพักผอ่ น จดั ท่ีนงั่ ไว้ใตต้ ้นไมม้ ีรม่ เงา อาจใชก้ จิ กรรมกลุ่มย่อย ๆ หรอื กิจกรรมท่ตี ้องการความ
สงบ หรืออาจจัดเป็นลานนิทรรศการให้ความรู้แก่เด็กและผู้ปกครองบริเวณธรรมชาติ ปลูกไม้ดอก ไม้ประดับ พืชผัก
สวนครวั หากบรเิ วณสถานศึกษา มีไม่มากนกั อาจปลกู พชื ในกระบะหรือกระถาง

สื่อและแหลง่ เรียนรู้
สื่อประกอบการจัดกิจกรรมเพ่ือพัฒนาเด็กปฐมวัยท้ังทางด้านร่างกาย อารมณ์ จิตใจ สังคม และสติปัญญา

ควรมีสื่อทั้งที่เป็นประเภท ๒ มิติ และ/หรือ ๓ มิติ ท่ีเป็นส่ือของจริง ส่ือธรรมชาติ สื่อท่ีอยู่ใกล้ตัวเด็ก ส่ือสะท้อน
วัฒนธรรม สื่อที่ปลอดภัยต่อตัวเด็ก สื่อเพื่อพัฒนาเด็กในด้านต่างๆให้ครบทุกด้านสอ่ื ที่เอื้อให้เด็กเรยี นรู้ผ่านประสาท
สัมผัสทั้งห้า โดยการจัดการใช้ส่ือเร่ิมต้นจาก ส่ือของจริง ภาพถ่าย ภาพโครงร่าง และ สัญลักษณ์ ท้ังน้ีการใช้สื่อ
ต้องเหมาะสมกับวัย วุฒิภาวะ ความแตกต่างระหว่างบุคคล ความสนใจและความต้องการของเด็กท่ีหลากหลาย
ตวั อยา่ งสอ่ื ประกอบการจัดกจิ กรรม มดี ังน้ี

กิจกรรมเสรี /การเล่นตามมุม

๑. มุมบทบาทสมมติ อาจจดั เป็นมมุ เล่น ดังน้ี

๑.๑ มมุ บา้ น
ของเลน่ เคร่อื งใช้ในครัวขนาดเล็ก หรือของจาลอง เช่น เตา กระทะ ครก กาน้า
เขยี ง มดี พลาสตกิ หมอ้ จาน ชอ้ น ถว้ ยชาม กะละมัง ฯลฯ
เครอื่ งเล่นตุ๊กตา เส้ือผ้าต๊กุ ตา เตียง เปลเด็ก ต๊กุ ตา
เครอื่ งแต่งบ้านจาลอง เชน่ ชุดรบั แขก โตะ๊ เคร่ืองแป้ง หมอนอิง กระจกขนาดเห็นเต็มตวั
หวี ตลบั แป้ง ฯลฯ
เครื่องแต่งกายบุคคลอาชีพตา่ ง ๆ ทีใ่ ช้แล้ว เช่น ชุดเคร่อื งแบบทหาร ตารวจ

ชดุ เส้อื ผ้าผูใ้ หญ่ชายและหญงิ รองเทา้ กระเปา๋ ถือท่ีไมใ่ ชแ้ ล้ว ฯลฯ
โทรศัพท์ เตารดี จาลอง ท่รี ีดผ้าจาลอง
ภาพถ่ายและรายการอาหาร

๑.๒ มุมหมอ
เครอื่ งเล่นจาลองแบบเครื่องมือแพทย์และอุปกรณ์การรกั ษาผปู้ ่วย เชน่ หฟู งั

๓๕

เสือ้ คลมุ หมอ ฯลฯ
อปุ กรณส์ าหรบั เลียนแบบการบันทกึ ข้อมลู ผู้ป่วย เช่น กระดาษ ดนิ สอ ฯลฯ

๑.๓ มุมรา้ นคา้
กลอ่ งและขวดผลิตภณั ฑต์ ่างๆทีใ่ ชแ้ ล้ว
อุปกรณ์ประกอบการเลน่ เช่น เครอื่ งคดิ เลข ลกู คิด ธนบตั รจาลอง ฯลฯ

๒. มุมบลอ็ ก
ไมบ้ ล็อกหรือแท่งไมท้ มี่ ีขนาดและรปู ทรงต่างๆกัน จานวนต้งั แต่ ๕๐ ช้ินขน้ึ ไป
ของเล่นจาลอง เช่น รถยนต์ เครือ่ งบิน รถไฟ คน สตั ว์ ตน้ ไม้ ฯลฯ
ภาพถา่ ยต่างๆ

- ทีจ่ ดั เกบ็ ไม้บล็อกหรือแทง่ ไม้อาจเป็นช้นั ลังไม้หรือพลาสติก แยกตามรูปทรง ขนาด
๓. มมุ หนังสือ

หนังสือภาพนิทาน สมุดภาพ หนงั สือภาพท่ีมีคาและประโยคสั้น ๆพร้อมภาพ
ชั้นหรอื ท่วี างหนังสอื
อุปกรณ์ตา่ ง ๆ ท่ีใช้ในการสรา้ งบรรยากาศการอ่าน เช่น เส่ือ พรม หมอน ฯลฯ
สมุดเซ็นยืมหนงั สือกลับบ้าน
อุปกรณส์ าหรบั การเขียน
อุปกรณ์เสรมิ เชน่ เครือ่ งเล่นเทป ตลบั เทปนิทานพร้อมหนังสือนิทาน หูฟัง ฯลฯ
๔. มุมวทิ ยาศาสตร์ หรือมุมธรรมชาติศกึ ษา
วัสดตุ ่าง ๆ จากธรรมชาติ เช่น เมล็ดพชื ตา่ ง ๆ เปลอื กหอย ดิน หนิ แร่ ฯลฯ
เครือ่ งมือเคร่อื งใชใ้ นการสารวจ สังเกต ทดลอง เชน่ แวน่ ขยาย แมเ่ หลก็ เข็มทศิ

เครอ่ื งชั่ง ฯลฯ
๕. มุมอาเซียน

ธงของแต่ละประเทศในกลุม่ ประเทศอาเซยี น
คากล่าวทักทายของแตล่ ะประเทศ
ภาพการแต่งกายประจาชาติในกลุ่มประเทศอาเซียน

กิจกรรมสร้างสรรค์ ควรมวี ัสดุ อุปกรณ์ ดังน้ี

๑. การวาดภาพและระบายสี
- สเี ทียนแท่งใหญ่ สีไม้ สชี อลก์ สีนา้
- พู่กนั ขนาดใหญ่ (ประมาณเบอร์ ๑๒ )
- กระดาษ
- เสือ้ คลมุ หรือผ้ากันเป้ือน

๓๖

๒. การเลน่ กบั สี
การเปา่ สี มี กระดาษ หลอดกาแฟ สีน้า
การหยดสี มี กระดาษ หลอดกาแฟ พูก่ ัน สีนา้
การพบั สี มี กระดาษ สีน้า พู่กัน
การเทสี มี กระดาษ สีนา้
การละเลงสี มี กระดาษ สนี า้ แปง้ เปียก

๓. การพมิ พภ์ าพ
แม่พิมพ์ต่าง ๆ จากของจริง เช่น นิว้ มอื ใบไม้ ก้านกลว้ ย ฯลฯ
แม่พิมพจ์ ากวสั ดอุ ื่น ๆ เช่น เชือก เสน้ ด้าย ตรายาง ฯลฯ
กระดาษ ผ้าเช็ดมอื สีโปสเตอร์ (สนี า้ สฝี นุ่ ฯลฯ)

๔. การปน้ั เชน่ ดนิ นา้ มนั ดนิ เหนียว แปง้ โดว์ แผน่ รองปนั้ แม่พิมพ์รูปต่าง ๆ ไมน้ วดแป้ง ฯลฯ
๕. การพับ ฉีก ตดั ปะ เชน่ กระดาษ หรอื วัสดุอืน่ ๆท่ีจะใช้พบั ฉีก ตัด ปะ กรรไกรขนาดเล็ก
ปลายมน กาวน้าหรอื แป้งเปียก ผ้าเชด็ มอื ฯลฯ
๖. การประดิษฐเ์ ศษวัสดุ เช่น เศษวัสดุตา่ ง ๆ มกี ล่องกระดาษ แกนกระดาษ เศษผา้ เศษไหม กาว กรรไกร
สี ผา้ เชด็ มือ ฯลฯ
๗. การรอ้ ย เช่น ลกู ปดั หลอดกาแฟ หลอดดา้ ย ฯลฯ
๘.การสาน เช่น กระดาษ ใบตอง ใบมะพรา้ ว ฯลฯ
๙. การเล่นพลาสตกิ สร้างสรรค์ พลาสตกิ ช้นิ เลก็ ๆ รูปทรงตา่ ง ๆ ผเู้ ล่นสามารถนามาต่อเป็นรูปแบบต่าง
ๆ ตามความต้องการ
๑๐. การสรา้ งรปู เชน่ จากกระดานปักหมุด จากแปน้ ตะปูที่ใช้หนังยางหรือเชือกผูกดึงใหเ้ ป็นรูปร่างตา่ ง ๆ

เกมการศกึ ษา ตวั อย่างส่ือประเภทเกมการศึกษามดี งั น้ี
๑. เกมจับคู่
จับคู่รปู ร่างทเ่ี หมือนกัน
จบั คู่ภาพเงา
จบั คู่ภาพทซ่ี ่อนอยใู่ นภาพหลัก
จับคสู่ ง่ิ ท่มี คี วามสมั พันธ์กัน สิง่ ท่ีใช้คู่กัน
จบั คู่ภาพสว่ นเตม็ กบั ส่วนยอ่ ย
จับคู่ภาพกับโครงร่าง
จับคู่ภาพชิน้ ส่วนท่ีหายไป
จบั คภู่ าพท่ีเป็นประเภทเดียวกัน
จับคู่ภาพทซ่ี ่อนกนั
จบั คภู่ าพสัมพนั ธแ์ บบตรงกันข้าม
จับคภู่ าพทส่ี มมาตรกนั
จับคู่แบบอปุ มาอุปไมย
จับคู่แบบอนุกรม
๒. เกมภาพตัดตอ่

๓๗

ภาพตัดต่อท่สี มั พันธ์กับหน่วยการเรยี นต่าง ๆ เช่น ผลไม้ ผกั ฯลฯ
๓. เกมจัดหมวดหมู่

ภาพสิ่งต่าง ๆ ที่นามาจัดเป็นพวก ๆ
ภาพเก่ยี วกับประเภทของใช้ในชีวิตประจาวัน
ภาพจดั หมวดหมู่ตามรูปร่าง สี ขนาด รูปทรงเรขาคณติ
๔. เกมวางภาพต่อปลาย (โดมโิ น)
โดมโิ นภาพเหมือน
โดมโิ นภาพสัมพนั ธ์
๕. เกมเรียงลาดบั
เรียงลาดบั ภาพเหตกุ ารณ์ต่อเนื่อง
เรยี งลาดบั ขนาด
๖. เกมศึกษารายละเอียดของภาพ (ล็อตโต้)
๗. เกมจบั คแู่ บบตารางสัมพันธ์ (เมตริกเกม)
๘. เกมพนื้ ฐานการบวก

กิจกรรมเสรมิ ประสบการณ์ /กิจกรรมในวงกลม ตัวอย่างส่ือมีดังนี้
๑.สื่อของจรงิ ที่อย่ใู กลต้ วั และส่ือจากธรรมชาติหรือวสั ดุท้องถนิ่ เชน่ ตน้ ไม้ ใบไม้ เปลอื กหอย เส้อื ผ้า ฯลฯ
๒. ส่ือท่ีจาลองขน้ึ เชน่ ลกู โลก ตกุ๊ ตาสตั ว์ ฯลฯ
๓. สอ่ื ประเภทภาพ เช่น ภาพพลิก ภาพโปสเตอร์ หนงั สอื ภาพ ฯลฯ
๔. ส่ือเทคโนโลยี เชน่ วิทยุ เคร่ืองบนั ทึกเสียง เครื่องขยายเสยี ง โทรศัพท์

กิจกรรมกลางแจ้ง ตวั อย่างส่ือมีดังน้ี
๑. เครอื่ งเลน่ สนาม เชน่ เคร่อื งเล่นสาหรับปีนปา่ ย เครื่องเลน่ ประเภทลอ้ เล่ือน ฯลฯ
๒. ท่ีเลน่ ทราย มที รายละเอียด เครอ่ื งเล่นทราย เครือ่ งตวง ฯลฯ
๓. ทเี่ ลน่ นา้ มภี าชนะใส่นา้ หรอื อ่างนา้ วางบนขาตั้งทม่ี ่นั คง ความสูงพอทเ่ี ด็กจะยืนได้พอดี เสือ้ คลมุ หรอื ผา้

กันเปื้อนพลาสตกิ อปุ กรณ์เล่นน้า เชน่ ถ้วยตวง ขวดต่างๆ สายยาง กรวยกรอกน้า ตกุ๊ ตายาง ฯลฯ
กิจกรรมเคล่ือนไหวและจงั หวะ ตวั อยา่ งสอื่ มดี ังนี้

๑. เครอ่ื งเคาะจังหวะ เชน่ ฉงิ่ เหลก็ สามเหล่ียม กรับ รามะนา กลอง ฯลฯอปุ กรณ์ประกอบการ
เคล่อื นไหว เชน่ หนังสือพิมพ์ รบิ บ้นิ แถบผ้า ห่วง

๒. หวาย ถุงทราย ฯลฯ

การเลือกสอื่ มวี ิธกี ารเลอื กสื่อ ดงั น้ี
๑. เลอื กให้ตรงกับจดุ ม่งุ หมายและเรื่องทีส่ อน
๒. เลือกให้เหมาะสมกับวัยและความสามารถของเด็ก
๓. เลอื กใหเ้ หมาะสมกบั สภาพแวดลอ้ มของท้องถน่ิ ทีเ่ ดก็ อยู่หรือสถานภาพของสถานศึกษา
๔. มีวธิ กี ารใชง้ ่าย และนาไปใชไ้ ดห้ ลายกิจกรรม
๕. มีความถูกต้องตามเนอ้ื หาและทันสมัย
๖. มคี ณุ ภาพดี เช่น ภาพชดั เจน ขนาดเหมาะสม ไม่ใชส้ ีสะท้อนแสง
๗. เลือกสื่อท่ีเด็กเขา้ ใจงา่ ยในเวลาสั้น ๆ ไม่ซับซอ้ น
๘. เลือกสือ่ ท่สี ามารถสมั ผัสได้

๓๘

๙. เลือกสื่อเพื่อใช้ฝึก และส่งเสรมิ การคิดเป็น ทาเปน็ และกลา้ แสดงความคดิ เหน็ ด้วยความมั่นใจ

การจัดหาส่อื สามารถจัดหาได้หลายวิธี คือ
๑. จัดหาโดยการขอยืมจากแหลง่ ต่างๆ เช่น ศูนย์ส่ือของสถานศกึ ษาของรฐั บาล หรอื สถานศกึ ษาเอกชน ฯลฯ
๒. จัดซ้อื สือ่ และเครือ่ งเลน่ โดยวางแผนการจดั ซื้อตามลาดบั ความจาเป็น เพื่อให้สอดคลอ้ งกับงบประมาณทท่ี าง

สถานศกึ ษาสามารถจัดสรรใหแ้ ละสอดคล้องกับแผนการจดั ประสบการณ์
๓. ผลติ ส่อื และเครื่องเลน่ ขน้ึ ใช้เองโดยใชว้ ัสดุทปี่ ลอดภยั และหางา่ ยเปน็ เศษวัสดุเหลือใช้

ท่มี อี ยู่ในทอ้ งถน่ิ นน้ั ๆ เช่น กระดาษแขง็ จากลังกระดาษ รปู ภาพจากแผน่ ป้ายโฆษณา
รปู ภาพจากหนงั สือนิตยสารต่าง ๆ เปน็ ตน้

ขน้ั ตอนการดาเนนิ การผลติ สอื่ สาหรบั เด็ก มดี ังน้ี
๑. สารวจความตอ้ งการของการใชส้ อ่ื ใหต้ รงกับจุดประสงค์ สาระการเรยี นร้แู ละกจิ กรรมท่ีจดั
๒. วางแผนการผลิต โดยกาหนดจุดมุ่งหมายและรูปแบบของสือ่ ให้เหมาะสมกบั วัยและความสามารถ

ของเด็กส่อื น้นั จะต้องมีความคงทนแข็งแรง ประณีตและสะดวกต่อการใช้
๓. ผลติ สอื่ ตามรูปแบบท่เี ตรียมไว้
๔. นาสอ่ื ไปทดลองใช้หลาย ๆ ครัง้ เพ่ือหาข้อดี ข้อเสียจะได้ปรับปรงุ แก้ไขให้ดียิ่งข้ึน
๕. นาสอ่ื ทป่ี รับปรงุ แก้ไขแล้วไปใช้จริง

การใชส้ อื่ ดาเนินการดังนี้
๑.การเตรียมพร้อมก่อนใชส้ ่ือ มขี ั้นตอน คือ
๑.๑ เตรยี มตัวผ้สู อน
ผ้สู อนจะต้องศึกษาจดุ มุ่งหมายและวางแผนว่าจะจดั กิจกรรมอะไรบา้ ง
เตรียมจัดหาสอื่ และศึกษาวิธีการใชส้ ่ือ
จัดเตรียมสอ่ื และวัสดุอนื่ ๆ ท่ีจะต้องใช้รว่ มกนั
ทดลองใชส้ อ่ื ก่อนนาไปใชจ้ รงิ
๑.๒ เตรยี มตัวเดก็
ศกึ ษาความรพู้ ้ืนฐานเดมิ ของเด็กให้สัมพนั ธ์กบั เร่ืองทีจ่ ะสอน
เร้าความสนใจเดก็ โดยใช้สื่อประกอบการเรียนการสอน
ให้เด็กมีความรับผิดชอบ รจู้ ักใชส้ ่ืออยา่ งสร้างสรรค์ ไมใ่ ชท่ าลาย
เล่นแล้วเก็บใหถ้ กู ท่ี
๑.๓ เตรยี มสอื่ ใหพ้ รอ้ มก่อนนาไปใช้
จดั ลาดับการใช้สอ่ื ว่าจะใช้อะไรก่อนหรอื หลงั เพอ่ื ความสะดวกในการสอน
ตรวจสอบและเตรียมเคร่ืองมือใหพ้ ร้อมทจ่ี ะใช้ได้ทนั ที
เตรียมวัสดอุ ุปกรณ์ท่ใี ช้ร่วมกับส่ือ

๓๙

๒.การนาเสนอสื่อ เพื่อให้บรรลุผลโดยเฉพาะใน กิจกรรมเสริมประสบการณ์ / กิจกรรมวงกลม /
กจิ กรรมกลุ่มยอ่ ย ควรปฏิบัติ ดงั น้ี

๒.๑ สรา้ งความพร้อมและเรา้ ความสนใจให้เด็กกอ่ นจัดกิจกรรมทุกคร้งั
๒.๒ ใช้ส่อื ตามลาดบั ขนั้ ของแผนการจดั กจิ กรรมทก่ี าหนดไว้
๒.๓ ไม่ควรให้เดก็ เหน็ สอ่ื หลายๆชนดิ พรอ้ มๆกนั เพราะจะทาให้เดก็ ไม่สนใจกิจกรรมที่สอน
๒.๔ ผู้สอนควรยืนอยู่ด้านข้างหรือด้านหลังของสื่อที่ใช้กับเด็กผู้สอนไม่ควรยืน หันหลังให้เด็ก
จะต้องพูดคุยกับเด็กและสังเกตความสนใจของเด็ก พร้อมทั้งสารวจข้อบกพร่องของสื่อท่ีใช้ เพ่ือนาไปปรับปรุงแก้ไข
ให้ดขี ้นึ
๒.๕ เปดิ โอกาสให้เดก็ ได้รว่ มใช้ส่อื

ขอ้ ควรระวงั ในการใช้สอ่ื การเรียนการสอน การใชส้ ือ่ ในระดับปฐมวัยควรระวังในเร่ืองต่อไปนี้
๑.วสั ดทุ ่ใี ช้ ตอ้ งไมม่ พี ษิ ไมห่ กั และแตกง่าย มีพนื้ ผิวเรียบ ไม่เป็นเสยี้ น
๒.ขนาด ไม่ควรมีขนาดใหญ่เกนิ ไป เพราะยากต่อการหยบิ ยก อาจจะตกลงมา

เสยี หาย แตก เป็นอันตรายตอ่ เดก็ หรือใชไ้ ม่สะดวก เช่น กรรไกรขนาดใหญ่ โต๊ะ เก้าอีท้ ่ีใหญ่
และสูงเกินไป และไมค่ วรมขี นาดเล็กเกินไป เดก็ อาจจะนาไปอมหรอื กลนื ทาใหต้ ดิ คอหรือ
ไหลลงท้องได้ เชน่ ลูกปดั เลก็ ลกู แกว้ เลก็ ฯลฯ

๓. รปู ทรง ไมเ่ ปน็ รปู ทรงแหลม รปู ทรงเหลีย่ ม เป็นสัน
๔. น้าหนัก ไม่ควรมนี ้าหนกั มาก เพราะเด็กยกหรือหยบิ ไม่ไหว อาจจะตกลงมาเป็นอันตรายต่อตัวเด็ก
๕. สอ่ื หลกี เล่ยี งสือ่ ทีเ่ ป็นอนั ตรายตอ่ ตัวเดก็ เช่น สารเคมี วัตถไุ วไฟ ฯลฯ
๖. สี หลีกเลีย่ งสที เ่ี ปน็ อันตรายต่อสายตา เช่น สีสะทอ้ นแสง ฯลฯ

การประเมนิ การใชส้ ่อื
ควรพิจารณาจากองค์ประกอบ 3 ประการ คอื ผู้สอน เดก็ และสือ่ เพือ่ จะไดท้ ราบว่าส่ือนั้นชว่ ยให้เดก็ เรียนรู้

ไดม้ ากน้อยเพยี งใด จะได้นามาปรบั ปรุงการผลิตและการใช้ส่ือใหด้ ยี ง่ิ ขึน้ โดยใช้วธิ ีสงั เกต ดังน้ี
๑. ส่อื นั้นชว่ ยใหเ้ ด็กเกดิ การเรยี นรู้เพยี งใด
๒. เด็กชอบสอื่ นั้นเพยี งใด
๓. สื่อน้นั ชว่ ยใหก้ ารสอนตรงกับจุดประสงค์หรอื ไม่ ถกู ตอ้ งตามสาระการเรยี นรู้และทนั สมยั หรอื ไม่
๔. สอื่ นนั้ ชว่ ยใหเ้ ดก็ สนใจมากน้อยเพยี งใด เพราะเหตใุ ด

การเกบ็ รักษา และซอ่ มแซมสอื่
การจัดเก็บสื่อเป็นการส่งเสริมให้เด็กฝึกการสังเกต การเปรียบเทียบ การจัดกลุ่ม ส่งเสริมความรับผิดชอบ

ความมนี ้าใจ ชว่ ยเหลอื ผู้สอนไม่ควรใช้การเกบ็ สอื่ เปน็ การลงโทษเดก็ โดยดาเนินการดังน้ี
๑. เก็บส่ือให้เป็นระเบียบและเป็นหมวดหมู่ตามลักษณะประเภทของส่ือ สื่อท่ีเหมือนกันจัดเก็บหรือจัดวางไว้

ดว้ ยกนั
๒. วางสอ่ื ในระดับสายตาของเดก็ เพ่อื ใหเ้ ดก็ หยบิ ใช้ จัดเกบ็ ได้ด้วยตนเอง

๔๐

๓. ภาชนะท่ีจัดเก็บสื่อควรโปร่งใส เพ่ือให้เด็กมองเห็นส่ิงที่อยู่ภายในได้ง่ายและควรมีมือจับเพื่อให้สะดวกใน
การขนย้าย

๔. ฝกึ ใหเ้ ดก็ ร้คู วามหมายของรูปภาพหรือสที ่ีเปน็ สญั ลักษณ์แทนหมวดหมู่ ประเภทสื่อ เพือ่ เด็กจะไดเ้ ก็บเข้า
ท่ไี ดถ้ กู ตอ้ ง การใช้สัญลกั ษณ์ควรมีความหมายต่อการเรียนรขู้ องเด็ก สญั ลักษณค์ วรใชส้ ื่อของจริง ภาพถ่ายหรือสาเนา
ภาพวาด ภาพโครงร่างหรอื ภาพประจดุ หรือบัตรคาติดคกู่ บั สญั ลกั ษณ์อย่างใดอย่างหนงึ่

๕.ตรวจสอบสอื่ หลงั จากท่ีใช้แล้วทุกครั้งว่ามสี ภาพสมบรู ณ์ จานวนครบถว้ นหรือไม่
๖. ซอ่ มแซมสือ่ ชารดุ และทาเตมิ สว่ นท่ีขาดหายไปให้ครบชุด

การพัฒนาส่ือ
การพฒั นาส่ือเพ่ือใช้ประกอบการจัดกิจกรรมในระดับปฐมวัยน้นั กอ่ นอื่นควรได้สารวจข้อมูล สภาพปัญหา

ต่างๆของส่ือทุกประเภทท่ีใช้อยู่ว่ามีอะไรบ้างท่ีจะต้องปรับปรุงแก้ไข เพื่อจะได้ปรับเปล่ียนให้เหมาะสมกับความ
ตอ้ งการ

แนวทางการพัฒนาสื่อ ควรมีลักษณะเฉพาะ ดงั น้ี
๑. ปรับปรุงสอื่ ใหท้ นั สมัยเขา้ กบั เหตุการณ์ ใชไ้ ด้สะดวก ไม่ซับซอ้ นเกินไป เหมาะสมกับวยั
ของเดก็
๒. รกั ษาความสะอาดของสอ่ื ถ้าเปน็ วสั ดทุ ่ลี ้างน้าได้ เมื่อใช้แล้วควรได้ลา้ งเชด็ หรือ ปดั ฝนุ่ ให้สะอาด เกบ็ ไว้
เปน็ หมวดหมู่ วางเปน็ ระเบียบหยบิ ใชง้ า่ ย
๓. ถ้าเป็นสื่อท่ีผู้สอนผลิตข้ึนมาใช้เองและผ่านการทดลองใช้มาแล้ว ควรเขียนคู่มือประกอบการใช้ส่ือนั้น
โดยบอกช่ือส่ือ ประโยชน์และวิธีใช้ส่ือ รวมทั้งจานวนชิ้นส่วนของสื่อในชุดนน้ั และเก็บคู่มือไว้ในซองหรอื ถุง พร้อมสื่อ
ทผี่ ลติ
๔. พฒั นาสอ่ื ที่สร้างสรรค์ ใช้ไดเ้ อนกประสงค์ คือ เปน็ ได้ทัง้ สื่อเสริมพฒั นาการ
และเป็นของเล่นสนุกสนานเพลิดเพลิน

แหล่งการเรียนรู้
โรงเรยี นบ้านแก้งยาง ได้แบ่งประเภทของแหลง่ เรียนรู้ ไดด้ ังนี้
๑. แหล่งเรยี นรู้ประเภทบคุ คล ไดแ้ ก่ วทิ ยากรหรอื ผู้เชียวชาญเฉพาะด้าน ท่จี ดั หามาเพอื่ ให้ความรู้

ความเข้าใจอยา่ งกระจ่างแกเ่ ด็กโดยสอดคลอ้ งกับเนื้อหาสาระการเรยี นร้ตู ่างๆ ไดแ้ ก่
- เจ้าหนา้ ทส่ี าธารณสุข
- พระสงฆ์
- พ่อค้า – แม่ค้า
- ผูป้ กครอง
- ชา่ งตัดผม / ช่างเสริมสวย
- ครู
- ภารโรง
- ฯลฯ

๔๑

๒. แหลง่ เรยี นรู้ภายในชุมชน ได้แก่ แหล่งข้อมลู หรือแหล่งวทิ ยาการตา่ งๆ ที่อยู่ในชุมชน
มีความสัมพันธ์กับเอกลักษณ์ทางวัฒนธรรมและประเพณีช่วยให้เด็กสามารถเชื่อมโยงโลกภายในและโลกภายนอก
(inner world & outer world) ได้ และสอดคลอ้ งกับวถิ กี ารดาเนินชวี ติ ของเดก็ ปฐมวยั ได้แก่

1 หอ้ งปฏบิ ัตกิ ารคอมพวิ เตอร์
2 ลานกีฬา
3 ห้องครวั
4 สระนา้
5 อ่างล้างมอื
6 ทแี่ ปรงฟัน
7 สนามเดก็ เล่น
8 สนามฟตุ บอล
9 ห้องประชุมอาคารอเนกประสงค์
10 โรงจอดรถ
11 โรงอาหาร

การประเมินพฒั นาการ
การประเมินพัฒนาการเด็กอายุ ๓ – ๖ ปี เปน็ การประเมินพัฒนาการทางดา้ นร่างกาย อารมณ์ จติ ใจ

สังคม และสติปัญญาของเด็ก โดยถือเป็นกระบวนการต่อตนเอง และเป็น ส่วนหนึ่งของกิจกรรมปกติที่จัดให้เด็ก
ในแต่ละวัน ผลท่ีได้จากการสังเกตพัฒนาการเด็กต้องนามาจัดทาสารนิทัศน์หรือจัดทาข้อมูลหลักฐานหรือเอกสาร
อยา่ งเป็นระบบ ด้วยการวบรวมผลงานสาหรับเด็กเป็นรายบุคคลท่สี ามารถบอกเร่ืองราวหรือประสบการณ์ท่ีเด็กได้รับ
วา่ เดก็ เกดิ การเรยี นรูแ้ ละมคี วามกา้ วหน้าเพียงใด ท้ังนี้ ให้นาขอ้ มูลผลการประเมินพัฒนาการเด็กมาพิจารณา ปรับปรุง
วางแผล การจัดกิจกรรม และส่งเสริมให้เด็กแต่ละคนได้รับการพัฒนาตามจุดหมายของหลักสูตรอย่างต่อเนื่อง
การประเมนิ พฒั นาการควรยดึ หลกั ดงั นี้

๑. วางแผนการประเมนิ พฒั นาการอย่างเปน็ ระบบ
๒. ประเมนิ พฒั นาการเด็กครบทุกดา้ น
๓. ประเมนิ พฒั นาการเด็กเปน็ รายบคุ คลอย่างสม่าเสมอต่อเน่ืองตลอดปี
๔. ประเมินพัฒนาการตามสภาพจรงิ จากกิจกรรมประจาวันดว้ ยเคร่ืองมือและวธิ ีการทห่ี ลากหลาย ไม่ควรใช้

แบบทดสอบ
๕. สรุปผลการประเมิน จดั ทาขอ้ มลู และนาผลการประเมนิ ไปใช้พัฒนาเดก็
สาหรับวิธีการประเมินที่เหมาะสมและควรใช้กับเด็กอายุ ๓ – ๖ ปี ได้แก่ การสังเกต การบันทึกพฤติกรรม
การสนทนากับเด็ก การสัมภาษณ์ การวเิ คราะห์ข้อมลู จากผลงานเด็กทเี่ กบ็ อย่างมรี ะบบ

ประเภทของการประเมนิ พัฒนาการ
การพฒั นาคณุ ภาพการเรยี นรขู้ องเดก็ ประกอบดว้ ย

๔๒

๑) วัตถุประสงค์ (Objective) ซ่ึงตามหลักสูตรการศึกษาปฐมวัย พุทธศักราช 2560 หมายถึง จุดหมายซ่ึง
เป็นมาตรฐานคุณลักษณะท่พี ึงประสงค์ ตวั บ่งชแ้ี ละสภาพท่ีพงึ ประสงค์

๒) การจัดประสบการณการเรียนรู้ (Learning) ซ่ึงเป็นกระบวนการได้มาของความรู้หรือทักษะผ่านการ
กระทาสิง่ ต่างๆทีส่ าคัญตามหลกั สตู รการศึกษาปฐมวยั กาหนดใหห้ รือทเี่ รียกวา่ ประสบการณ์สาคญั ในการช่วยอธบิ าย
ใหค้ รเู ขา้ ใจถึงประสบการณ์ที่เด็กปฐมวัยต้องทาเพ่ือเรียนรสู้ ิ่งต่างๆรอบตวั และช่วยแนะผสู้ อนในการสังเกต สนบั สนุน
และวางแผนการจดั กจิ กรรมให้เดก็

๓) การประเมินผล(Evaluation) เพ่ือตรวจสอบพฤติกรรมหรือความสามารถตามวัยที่คาดหวังให้เด็กเกิดขึ้น
บนพนื้ ฐานพัฒนาการตามวยั หรือความสามารถตามธรรมชาติในแต่ละระดับอายุ เรยี กว่า สภาพท่ีพงึ ประสงค์ ทใ่ี ชเ้ ปน็
เกณฑ์สาคญั สาหรับการประเมินพัฒนาการเด็ก เปน็ เปา้ หมายและกรอบทศิ ทางในการพัฒนาคุณภาพเด็กทง้ั น้ีประเภท
ของการประเมินพัฒนาการ อาจแบง่ ไดเ้ ป็น ๒ ลักษณะ คือ

๑) แบ่งตามวัตถุประสงคข์ องการประเมนิ

การแบ่งตามวตั ถปุ ระสงคข์ องการประเมิน แบง่ ได้ ๒ ประเภท ดังน้ี

๑.๑) การประเมนิ ความกา้ วหนา้ ของเดก็ (Formative Evaluation) หรือการประเมนิ เพื่อพฒั นา (Formative

Assessment) หรือการประเมินเพ่ือเรียน (Assessment for Learning) เป็นการประเมินระหว่างการจดั ระสบการณ์

โดยเก็บรวบรวมขอ้ มูลเกีย่ วกับผลพัฒนาการและการเรยี นร้ขู องเด็กในระหว่างทากจิ กรรมประจาวัน/กิจวัตรประจาวัน

ปกติอย่างต่อเน่ือง บันทึก วิเคราะห์ แปลความหมายข้อมูลแล้วนามาใช้ในการส่งเสริมหรือปรับปรุงแก้ไขการเรียนรู้

ของเด็ก และการจัดประสบการณ์การเรียนรู้ของผู้สอน การประเมินพัฒนาการกับ การจัดประสบ

การณ์การเรียนรู้ของผ้สู อนจึงเป็นเร่ืองทีส่ มั พันธ์กันหากขาดสงิ่ หน่ึงสิ่งใดการจัดประสบการณ์ การเรยี นรกู้ ็ขาด

ประสิทธิภาพ เป็นการประเมินผลเพ่ือให้รู้จุดเด่น จุดท่ีควรส่งเสริม ผู้สอนต้องใช้วิธีการและเคร่ืองมือประเมิน

พัฒนาการที่หลากหลาย เช่น การสังเกต การสมั ภาษณ์ การรวบรวมผลงานที่แสดงออกถึงความก้าวหน้า แตล่ ะด้าน

ของเด็กเป็นรายบุคคล การใช้แฟ้มสะสมงาน เพ่ือให้ได้ข้อสรุปของประเด็นที่กาหยด สิ่งท่ีสาคัญที่สุดในการประเมิน

ความก้าวหน้าคือ การจัดประสบการณ์ให้กับเด็กในลกั ษณะการเชือ่ มโยงประสบการณ์เดิมกับประสบการณ์ใหม่ทาให้

การเรียนรู้ของเด็กเพ่ิมพูน ปรับเปล่ียนความคิด ความเข้าใจเดิมท่ีไม่ถูกต้อง ตลอดจนการให้เด็กสามารถพัฒนาการ

เรยี นรูข้ องตนเองได้

๑.๒) การประเมินผลสรุป (Summative Evaluation) หรือ การประเมินเพ่ือตัดสินผลพัฒนาการ

(Summative Assessment) หรือการประเมินสรุปผลของการเรียนรู้ (Assessment of Learning) เป็นการประเมิน

สรุปพัฒนาการ เพ่ือตัดสินพัฒนาการของเด็กว่ามีความพร้อมตามมาตรฐานคุณลักษณะที่พึงประสงค์ของหลักสูตร

การศึกษาปฐมวยั หรอื ไม่ เพ่ือเปน็ การเช่อื มต่อของการศึกษาระดับปฐมวัยกับชั้นประถมศกึ ษาปีที่ ๑

ดังน้ัน ผู้สอนจึงควรให้ความสาคัญกับการประเมินความก้าวหน้าของเด็กในระดับห้องเรียนมากกว่าการ

ประเมนิ เพื่อตัดสินผลพัฒนาการของเด็กเม่ือสิน้ ภาคเรียนหรอื สิ้นปีการศึกษา

๒) แบ่งตามระดบั ของการประเมิน
การแบ่งตามระดบั ของการประเมนิ แบ่งได้เปน็ ๒ ประเภท

๔๓

๒.๑) การประเมินพัฒนาการระดับชั้นเรียน เป็นการประเมินพัฒนาการท่ีอยู่ในกระบวนการจัด

ประสบการณ์การเรียนรู้ ผู้สอนดาเนินการเพื่อพัฒนาเด็กและตัดสินผลการพัฒนาการด้านร่างกาย อารมณ์ จิตใจ

สังคม และสติปัญญา จากกิจกรรมหลัก/หน่วยการเรยี นรู้(Unit) ท่ีผู้สอนจัดประสบการณ์ให้กับเด็ก ผู้สอนประเมนิ ผล

พัฒนาการตามสภาพที่พึงประสงค์และตัวบ่งชี้ที่กาหนดเป็นเป้าหมายในแต่ละแผนการจัดประสบการณ์ ของ

หน่วยการเรียนรู้ด้วยวิธีต่างๆ เช่น การสังเกต การสนทนา การสัมภาษณ์ การรวบรวมผลงานท่ีแสดงออกถึง

ความก้าวหน้า แต่ละด้านของเด็กเป็นรายบุคคล การแสดงกริยาอาการต่างๆของเด็กตลอดเวลาที่จัดประสบการณ์

เรยี นรู้ เพ่อื ตรวจสอบและประเมนิ ว่าเด็กบรรลุตามสภาพท่ีพึงประสงค์ละตวั บ่งช้ี หรอื มแี นวโน้มว่าจะบรรลุสภาพท่ีพึง

ประสงค์และตัวบ่งชี้เพียงใด แล้วแก้ไขข้อบกพร่องเป็นระยะๆอย่างต่อเนื่อง ทั้งน้ี ผู้สอนควรสรุปผลการประเมิน

พัฒนาการว่า เด็กมีผลอันเกิดจากการจัดประสบการณ์การเรียนรู้หรือไม่ และมากน้อยเพียงใด โดยมีวัตถุประสงค์

เพื่อรวบรวมหรือสะสมผลการประเมินพัฒนาการในกิจกรรมประจาวัน/กิจวัตรประจาวัน/หน่วยการเรียนรู้ หรื อผล

ตามรูปแบบการประเมินพัฒนาการที่สถานศึกษากาหนด เพ่ือนามาเป็นข้อมูลใช้ปรังปรุงการจัดประสบการณ์

การเรียนรู้ และเปน็ ข้อมลู ในการสรุปผลการประเมนิ พฒั นาในระดับสถานศึกษาต่อไปอีกดว้ ย

๒.๒) การประเมินพัฒนาการระดับสถานศึกษา เป็นการตรวจสอบผลการประเมินพัฒนาการของเด็ก

เปน็ รายบุคคลเปน็ รายภาค/รายปี เพ่อื ให้ไดข้ อ้ มูลเกี่ยวกับการจัดการศึกษาของเด็กในระดบั ปฐมวยั ของสถานศกึ ษาว่า

ส่งผลตาการเรียนรู้ของเด็กตามเป้าหมายหรือไม่ เด็กมีสิ่งที่ต้องการได้รับการพัฒนาในด้านใด รวมท้ังสามารถนาผล

การประเมินพัฒนาการของเด็กในระดับสถานศึกษาไปเป็นข้อมูลและสารสนเทศในการปรับปรุงหลักสตู รสถานศึกษา

ปฐมวัย โครงการหรือวิธีการจัดประสบการณ์การเรียนรู้ ตลอดจนการจัดแผนพัฒนาคุณภาพการศึกษาปฐมวัยของ

สถานศึกษาตามแผนการประกันคุณภาพการศึกษาและการรายงานผลการพัฒนาคุณภาพเด็กต่อผู้ปกครอง นาเสนอ

คณะกรรมการถานศึกษาข้ันพื้นฐานรับทราบ ตลอดจนเผยแพร่ต่อสาธรณชน ชุมชน หรือหน่วยงานต้นสังกัดหรือ

หนว่ ยงานต้นสงั กดั หน่วยงานทเ่ี ก่ียวขอ้ งตอ่ ไป

อน่ึง สาหรับการประเมินพัฒนาการเด็กปฐมวัยในระดับเขตพ้ืนที่การศึกษาหรือระดับประเทศน้ันหาก

เขตพ้ืนท่ีการศึกษาใดมีความพร้อม อาจมีการดาเนินงานในลักษณะของการสุ่มกลุ่มตัวอย่างเด็กปฐมวัยเข้ารั บการ

ประเมนิ ก็ได้ ทงั้ น้ี การประเมนิ พฒั นาการเดก็ ปฐมวยั ขอให้ถือปฏบิ ัตติ ามหลักการการประเมนิ พฒั นาการตามหลักสูตร

การศกึ ษาปฐมวัย พทุ ธศกั ราช ๒๕๖๐

บทบาทหน้าทข่ี องผูเ้ ก่ียวข้องในการดาเนนิ งานประเมนิ พัฒนาการ

ผ้ปู ฏบิ ตั ิ บทบาทหนา้ ที่ในการประเมินพัฒนาการ
ผ้สู อน
๑. ศึกษาหลักสตู รสถานศึกษาปฐมวยั และแนวการปฏิบตั ิการประเมนิ พัฒนาการตามหลักสตู ร
สถานศึกษาปฐมวัย
๒. วเิ คราะหแ์ ละวางแผนการประเมนิ พฒั นาการทีส่ อดคล้องกับหน่วยการเรยี นรู้/กจิ กรรม
ประจาวนั /กิจวัตรประจาวัน
๓. จดั ประสบการณต์ ามหน่วยการเรียนรู้ ประเมินพัฒนาการ และบนั ทกึ ผลการประจาวัน/กิจวตั ร
ประจาวัน
๔. รวบรวมผลการประเมนิ พัฒนาการ แปลผลและสรปุ ผลการประเมินเม่ือส้นิ ภาคเรยี นและสน้ิ ปี
การศกึ ษา

๔๔

๕. สรปุ ผลการประเมินพัฒนาการระดบั ชัน้ เรยี นลงในสมุดบันทกึ ผลการประเมนิ พัฒนาการประจา
ช้ัน
๖. จัดทาสมุดรายงานประจาตัวนักเรยี น
๗. เสนอผลการประเมินพัฒนาการตอ่ ผบู้ รหิ ารสถานศึกษาลงนามอนมุ ัติ
ผู้บริหาร ๑.กาหนดผู้รบั ผดิ ชอบงานประเมนิ พฒั นาการตามหลกั สูตร และวางแนวทางปฏบิ ัติการประเมนิ
สถานศึกษา พัฒนาการเด็กปฐมวยั ตามหลักสูตรสถานศึกษาปฐมวยั
๒. นิเทศ กากบั ติดตามใหก้ ารดาเนินการประเมินพฒั นาการให้บรรลเุ ปา้ หมาย
๓. นาผลการประเมินพฒั นาการไปจัดทารายงานผลการดาเนนิ งานกาหนดนโยบายและวางแผน
พัฒนาการจดั การศึกษาปฐมวัย
พอ่ แม่ ๑. ใหค้ วามร่วมมือกับผสู้ อนในการประเมนิ พฤตกิ รรมของเดก็ ที่สังเกตไดจ้ ากที่บ้านเพ่ือเปน็ ขอ้ มูล
ผู้ปกครอง ประกอบการแปลผลท่ีเท่ยี งตรงของผ้สู อน
๒. รับทราบผลการประเมนิ ของเด็กและสะท้อนให้ข้อมูลย้อนกลบั ทีเ่ ปน็ ประโยชน์ในการส่งเสริม
และพัฒนาเด็กในปกครองของตนเอง
๓. รว่ มกบั ผสู้ อนในการจดั ประสบการณห์ รือเป็นวทิ ยากรท้องถนิ่
คณะกรรมการ ๑. ใหค้ วามเห็นชอบและประกาศใช้หลกั สตู รสถานศกึ ษาปฐมวัยและแนวปฏิบตั ใิ นการประเมิน
สถานศกึ ษา พฒั นาการตามหลักสตู รการศึกษาปฐมวัย
ขั้นพ้นื ฐาน ๒. รบั ทราบผลการประเมนิ พัฒนาการของเด็กเพ่ือการประกนั คุณภาพภายใน
สานักงานเขต ๑. สง่ เสริมการจัดทาเอกสารหลักฐานวา่ ดว้ ยการประเมินพัฒนาการของเด็กปฐมวยั ของ
พน้ื ท่ี สถานศกึ ษา
การศกึ ษา ๒. สง่ เสรมิ ใหผ้ ูส้ อนในสถานศึกษามีความรู้ ความเข้าใจในแนวปฏิบัติการประเมนิ พฒั นาการตาม
มาตรฐานคณุ ลักษณะท่ีพงึ ประสงค์ตามหลกั สตู รสถานศึกษาปฐมวัย ตลอดจนความเข้าใจใน
เทคนคิ วิธีการประเมินพัฒนาการในรูปแบบต่างๆโดยเน้นการประเมินตามสภาพจรงิ
๓. สง่ เสริม สนับสนนุ ให้สถานศึกษาพฒั นาเครอื่ งมอื พัฒนาการตามมาตรฐานคุณลักษณะที่พึง
ประสงคต์ ามหลกั สูตรการศกึ ษาปฐมวยั และการจัดเก็บเอกสารหลักฐานการศึกษาอยา่ งเป็นระบบ
๔. ใหค้ าปรึกษา แนะนาเก่ยี วกบั การประเมนิ พฒั นาการและการจัดทาเอกสารหลักฐาน
๕. จดั ใหม้ กี ารประเมนิ พฒั นาการเด็กท่ดี าเนนิ การโดยเขตพ้ืนท่ีการศึกษาหรือหน่วยงานต้นสงั กัด
และใหค้ วามรว่ มมือในการประเมินพฒั นาการระดับประเทศ

แนวปฏบิ ัตกิ ารประเมนิ พัฒนาการ
การประเมินพัฒนาการเด็กปฐมวัยเป็นกิจกรรมที่สอดแทรกอยู่ในการจัดประสบการณ์ทุกขั้นตอนโดยเร่ิม

ต้ังแต่การประเมินพฤติกรรมของเด็กก่อนการจัดประสบการณ์ การประเมินพฤติกรรมเด็กขณะปฏิบัติกิจกรรม และ
การประเมินพฤติกรรมเด็กเม่ือส้ินสุดการปฏบิ ัติกิจกรรม ทั้งน้ี พฤติกรรมการเรียนรแู้ ละพัฒนาการด้านต่างๆ ของเด็ก
ที่ได้รับการประเมินนั้น ต้องเป็นไปตามมาตรฐานคุณลักษณะที่พึงประสงค์ ตัวบ่งช้ี และสภาพท่ีพึงประสงค์ของ
หลักสตู รสถานศกึ ษาระดบั ปฐมวยั ที่ผู้สอนวางแผนและออกแบบไว้ การประเมนิ พัฒนาการจึงเป็นเคร่ืองมือสาคัญท่ีจะ
ช่วยให้การเรียนรูข้ องเด็กบรรลตุ ามเป้าหมายเพื่อนาผลการประเมินไปปรับปรงุ พฒั นาการจดั ประสบการณ์การเรียนรู้
และใช้เป็นข้อมูลสาหรับการพัฒนาเด็กต่อไป สถานศึกษาควรมีกระบวนการประเมินพัฒนาการและการจัดการ
อย่างเป็นระบบสรุปผลการประเมินพัฒนาการท่ีตรงตามความรู้ ความสามารถ ทักษะและพฤติกรรมท่ีแท้จริงของเด็ก
สอดคล้องตามหลักการประเมินพัฒนาการ รวมทั้งสะท้อนการดาเนินงานการประกันคุณภาพภายในของสถานศึกษา
อยา่ งเปน็ ระบบและตอ่ เนือ่ ง แนวปฏบิ ัตกิ ารประเมินพฒั นาการเดก็ ปฐมวยั ของสถานศกึ ษา มีดังน้ี

๔๕

๑. หลกั การสาคญั ของการดาเนนิ การประเมนิ พัฒนาการตามหลักสูตรการศึกษาปฐมวยั
พทุ ธศักราช ๒๕๖๐

สถานศึกษาที่จัดการศึกษาปฐมวัยควรคานึงถึงหลักสาคัญของการดาเนินงานการประเมินพัฒนาการตาม
หลกั สตู รการศึกษาปฐมวยั สาหรับเด็กปฐมวยั อายุ ๓-๖ ปี ดังนี้

๑.๑ ผูส้ อนเป็นผรู้ ับผิดชอบการประเมินพัฒนาการเด็กปฐมวัย โดยเปิดโอกาสใหผ้ ู้ทีเ่ กีย่ วข้องมีสว่ นรว่ ม
๑.๒ การประเมินพัฒนาการ มีจุดมุ่งหมายของการประเมินเพื่อพัฒนาความก้าวหน้าของเด็กและสรุปผลการ
ประเมินพัฒนาการของเด็ก
๑.๓ การประเมินพัฒนาการต้องมีความสอดคล้องและครอบคลุมมาตรฐานคุณลักษณะท่ีพึงประสงค์ ตัวบ่งชี้
สภาพที่พงึ ประสงค์แต่ละวัยซง่ึ กาหนดไว้ในหลกั สูตรสถานศึกษาปฐมวัย
๑.๔ การประเมินพัฒนาการเป็นส่วนหนึ่งของกระบวนการจัดประสบการณ์การเรียนรู้ต้องดาเนินการด้วย
เทคนิควิธีการท่ีหลากหลาย เพื่อให้สามารถประเมินพัฒนาการเด็กได้อย่างรอบด้านสมดุลทั้งด้านร่างกาย อารมณ์
จติ ใจ สงั คม และสติปญั ญา รวมทั้งระดับอายุของเดก็ โดยตง้ั อยู่บนพื้นฐานของความเทย่ี งตรง ยุตธิ รรมและเชอื่ ถือได้
๑.๕ การประเมินพัฒนาการพิจารณาจากพัฒนาการตามวัยของเด็ก การสังเกตพฤติกรรมการเรียนรแู้ ละการ
ร่วมกจิ กรรม ควบค่ไู ปในกระบวนการจดั ประสบการณ์การเรยี นรูต้ ามความเหมาะสมของแตล่ ะระดบั อายุ และรูปแบบ
การจดั การศึกษา และต้องดาเนนิ การประเมินอยา่ งตอ่ เนื่อง
๑.๖ การประเมินพัฒนาการต้องเปิดโอกาสให้ผู้มีส่วนเก่ียวข้องทุกฝ่ายได้สะท้อนและตรวจส อบ
ผลการประเมนิ พฒั นาการ
๑.๗ สถานศึกษาควรจัดทาเอกสารบันทึกผลการประเมินพัฒนาการของเด็กปฐมวัยในระดับช้ันเรียนและ
ระดับสถานศึกษา เช่น แบบบันทึกการประเมินพัฒนาการตามหน่วยการจัดประสบการณ์ สมุดบันทึกผลการประเมิน
พฒั นาการประจาชน้ั เพอ่ื เป็นหลกั ฐานการประเมินและรายงานผลพัฒนาการและสมดุ รายงานประจาตวั นักเรียน เพอื่
เป็นการสอ่ื สารขอ้ มลู การพัฒนาการเด็กระหวา่ งสถานศกึ ษากับบ้าน

๒. ขอบเขตของการประเมินพัฒนาการ
หลักสูตรการศึกษาปฐมวัย พุทธศักราช ๒๕๖๐ได้กาหนดเป้าหมายคุณภาพของเด็กปฐมวัยเป็นมาตรฐาน

คุณลักษณะท่ีพงึ ประสงค์ ซึ่งถอื เปน็ คณุ ภาพลักษณะที่พงึ ประสงค์ท่ีต้องการให้เกิดขึน้ ตัวเดก็ เมื่อจบหลักสูตรการศึกษา
ปฐมวัย คุณลักษณะที่ระบุไว้ในมาตรฐานคุณลักษณะที่พึงประสงค์ถือเป็นส่ิงจาเป็นสาหรับเด็กทุกคน ดังนั้น
สถานศึกษาและหน่วยงานที่เก่ียวข้องมีหน้าที่และความรับผิดชอบในการจัดการศึกษาเพ่ือพัฒนาเด็กให้มีคุณภาพ
มาตรฐานท่ีพึงประสงค์กาหนด ถือเป็นเครื่องมือสาคัญในการขับเคล่ือนและพัฒนาคุณภาพการศึกษาปฐมวัย แนวคิด
ดังกล่าวอยู่บนฐานความเชื่อที่ว่าเด็กทุกคนสามารถพัฒนาอย่างมีคุณภาพและเท่าเทียมได้ ขอบเขตของการประเมิน
พัฒนาการประกอบดว้ ย

๒.๑ สิง่ ที่จะประเมิน
๒.๒ วิธแี ละเคร่อื งมือท่ีใชใ้ นการประเมนิ
๒.๓ เกณฑก์ ารประเมนิ พฒั นาการ

๒.๑ ส่ิงทจี่ ะประเมนิ
การประเมินพัฒนาการสาหรับเด็กอายุ ๓-๖ ปี มีเป้าหมายสาคัญคือ มาตรฐานคุณลักษณะที่พึงประสงค์

จานวน ๑๒ ขอ้ ดงั น้ี
๑. พฒั นาการดา้ นรา่ งกาย ประกอบดว้ ย ๒ มาตรฐาน คือ
มาตรฐานท่ี ๑ ร่างกายเจริญเติบโตตามวัยและมสี ขุ นิสัยท่ดี ี

๔๖

มาตรฐานท่ี ๒ กล้ามเนื้อใหญ่และกล้ามเนื้อเล็กแข็งแรงใช้ได้อย่างคล่องแคล่วและประสานสัมพันธ์
กนั

๒. พัฒนาการด้านอารมณ์ จิตใจ ประกอบด้วย ๓ มาตรฐาน คือ
มาตรฐานท่ี ๓ มสี ุขภาพจติ ดีและมีความสุข
มาตรฐานท่ี ๔ ชน่ื ชมและแสดงออกทางศลิ ปะ ดนตรี และการเคลื่อนไหว
มาตรฐานท่ี ๕ มีคณุ ธรรม จริยธรรม และมีจติ ใจทีด่ งี าม

๓. พัฒนาการด้านสงั คม ประกอบดว้ ย ๓ มาตรฐาน คอื
มาตรฐานที่ ๖ มที ักษะชวี ิตและปฏิบตั ติ นตามหลักปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียง
มาตรฐานที่ ๗ รักธรรมชาติ สิ่งแวดลอ้ ม วฒั นธรรม และความเปน็ ไทย
มาตรฐานท่ี ๘ อยู่ร่วมกับผู้อ่ืนได้อย่างมีความสุขและปฏิบัติตนเป็นสมาชิกที่ดีของสังคมในระบอบ

ประชาธิปไตย อันมีพระมหากษัตรยิ ์ทรงเป็นประมขุ
๔. พฒั นาการด้านสตปิ ญั ญา ประกอบดว้ ย ๔ มาตรฐาน คอื
มาตรฐานที่ ๙ ใชภ้ าษาสื่อสารได้เหมาะสมกบั วัย
มาตรฐานท่ี ๑๐ มีความสามารถในการคิดท่เี ป็นพื้นฐานในการเรียนรู้
มาตรฐานท่ี ๑๑ มจี นิ ตนาการและความคดิ สรา้ งสรรค์
มาตรฐานที่ ๑๒ มีเจตคติที่ดีต่อการเรียนรู้และมีความสามารถในการแสวงหาความรู้ได้เหมาะสม

กับวัยสงิ่ ที่จะประเมนิ พฒั นาการของเดก็ ปฐมวัยแต่ละด้าน มดี งั น้ี

ด้านร่างกาย ประกอบด้วย การประเมินการมีน้าหนักและส่วนสูงตามเกณฑ์ สุขภาพอนามัย สุขนิสัยท่ีดี
การรู้จักรักษาความปลอดภัย การเคล่ือนไหวและการทรงตัว การเล่นและการออกกาลังกาย และการใช้มืออย่าง
คลอ่ งแคล่วประสานสัมพนั ธก์ ัน

ด้านอารมณ์ จิตใจ ประกอบด้วย การประเมินความสามารถในการแสดงออกทางอารมณ์อย่างเหมาะสม
กับวัยและสถานการณ์ ความรู้สึกที่ดีต่อตนเองและผู้อ่ืน มีความรู้สึกเห็นอกเห็นใจผู้อ่ืน ความสนใจ/ความสามารถ/
และมีความสุขในการทางานศิลปะ ดนตรี และการเคลื่อนไหว ความรับผิดชอบในการทางาน ความซื่อสัตย์สุจริตและ
รู้สกึ ถูกผดิ ความเมตตากรณุ า มีนา้ ใจและช่วยเหลอื แบง่ ปนั ตลอดจนการประหยัดอดออม และพอเพยี ง

ดา้ นสงั คม ประกอบดว้ ย การประเมนิ ความมวี ินยั ในตนเอง การช่วยเหลอื ตนเองในการปฏิบัติ กจิ วัตร
ประจาวัน การระวังภัยจากคนแปลกหน้า และสถานการณ์ท่ีเส่ียงอันตราย การดูแลรักษาธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
การมีสัมมาคารวะและมารยาทตามวัฒนธรรมไทย รักษาความเป็นไทย การยอมรับความเหมือนและความแตกต่าง
ระหวา่ งบคุ คล การมีสมั พนั ธท์ ดี่ ีกับผูอ้ น่ื การปฏบิ ตั ติ นเบอื้ งต้นในการเป็นสมาชกิ ทดี่ ีของสงั คมในระบอบประชาธิปไตย
อันมพี ระมหากษัตรยิ ท์ รงเป็นประมขุ

ด้านสติปัญญา ประกอบด้วย การประเมินความสามารถในการสนทนาโต้ตอบและเล่าเรื่องให้ผู้อื่นเข้าใจ
ความสามารถในการอ่าน เขียนภาพและสัญลักษณ์ ความสามารถในการคิดแก้ปัญหา คิดเชิงเหตุผล คิดรวบยอด
การเล่น/การทางานศิลปะ/การแสดงท่าทาง/เคลื่อนไหวตามจินตนาการและความคิดสร้างสรรค์ของตนเอง
การมีเจตคติท่ีดีตอ่ การเรียนรู้และความสามารถในการแสวงหาความรู้

๒.๒ วิธกี ารและเครื่องมือที่ใชใ้ นการประเมินพฒั นาการ
การประเมินพัฒนาการเด็กแต่ละครั้งควรใช้วิธีการประเมินอย่างหลากหลายเพื่อให้ได้ข้อมูลท่ีสมบูรณ์ท่ีสุด

วิธกี ารที่เหมาะสมและนิยมใช้ในการประเมนิ เด็กปฐมวยั มีด้วยกันหลายวธิ ี ดงั ต่อไปนี้

๔๗

๑. การสังเกตและการบันทึก การสังเกตมีอยู่ ๒ แบบคือ การสังเกตอย่างมีระบบ ได้แก่ การสังเกตอย่างมี
จุดมุ่งหมายท่ีแน่นอนตามแผนที่วางไว้ และอีกแบบหน่ึงคือ การสังเกตแบบไม่เป็นทางการ เป็นการสังเกตในขณะท่ี
เด็กทากิจกรรมประจาวันและเกิดพฤติกรรมที่ไม่คาดคิดว่าจะเกิดขึ้นและผู้สอนจดบันทึกไว้การสังเกตเป็นวิธีการที่
ผู้สอนใช้ในการศึกษาพัฒนาการของเด็ก เมื่อมีการสังเกตก็ต้องมีการบันทึก ผู้สอนควรทราบว่าจะบันทึกอะไรการ
บันทึกพฤติกรรมมีความสาคัญอย่างย่ิงท่ีต้องทาอย่างสม่าเสมอ เน่ืองจากเด็กเจริญเติบโตและเปลี่ยนแปลงอย่าง
รวดเรว็ จึงตอ้ งนามาบนั ทึกเป็นหลักฐานไว้อย่างชัดเจน การสังเกตและการบนั ทึกพัฒนาการเด็กสามารถใช้แบบง่ายๆ
คือ

๑.๑ แบบบันทึกพฤติกรรม ใช้บันทึกเหตุการณ์เฉพาะอย่างโดยบรรยายพฤติกรรมเด็ก ผู้บันทึกต้อง
บันทึกวนั เดือน ปเี กดิ ของเด็ก และวัน เดือน ปี ท่ีทาการบันทกึ แตล่ ะครั้ง

๑.๒ การบันทึกรายวัน เปน็ การบนั ทกึ เหตกุ ารณ์หรือประสบการณห์ รือประสบการณ์ที่เกดิ ขน้ึ ในช้นั เรียน
ทุกวัน ถ้าหากบันทึกในรูปแบบของการบรรยายก็มักจะเน้นเฉพาะเด็กรายที่ตอ้ งการศึกษา ข้อดีของการบันทึกรายวนั
คือ การช้ีให้เห็นความสามารถเฉพาะอย่างของเด็ก จะช่วยกระตุ้นให้ผู้สอนได้พิจารณาปัญหาของเด็กเป็นรายบุคคล
ช่วยให้ผูเ้ ชยี วชาญมีข้อมูลมากขึ้นสาหรบั วินิจฉัยเดก็ ว่าสมควรจะได้รับคาปรึกษาเพ่ือลดปัญหาและส่งเสริมพัฒนาการ
ของเดก็ ไดอ้ ย่างถกู ต้อง นอกจากน้ันยงั ช่วยชี้ใหเ้ หน็ ขอ้ เสียของการจดั กจิ กรรมและประสบการณ์ไกเ้ ป็นอย่างดี

๑.๓ แบบสารวจรายการ ช่วยให้สามารถวเิ คราะหเ์ ดก็ แตล่ ะคนไดค้ อ่ นขา้ งละเอยี ด
๒. การสนทนา สามารถใช้การสนทนาได้ทั้งเป็นกลุ่มหรือรายบุคคล เพ่ือประเมินความสามารถในการแสดง
ความคดิ เหน็ และพฒั นาการดา้ นภาษาของเด็กและบนั ทึกผลการสนทนาลงในแบบบันทึกพฤติกรรมหรือบนั ทึกรายวัน
๓. การสัมภาษณ์ ด้วยวิธีพูดคุยกับเด็กเป็นรายบุคคลและควรจัดในสภาวะแวดล้อมเหมาะสมเพ่ือไม่ให้เกิด
ความเครียดและวิตกกังวล ผู้สอนควรใช้คาถามที่เหมาะสมเปิดโอกาสให้เด็กได้คิดและตอบอย่างอิสระจะทาให้ผู้สอน
สามารถประเมินความสามารถทางสติปัญญาของเด็กแต่ละคนและค้นพบศักยภาพในตัวเด็กได้โดยบันทึกข้อมูลล งใน
แบบสัมภาษณ์
การเตรยี มการกอ่ นการสมั ภาษณ์ ผู้สอนควรปฏิบตั ิ ดังนี้
- กาหนดวัตถุประสงคข์ องการสัมภาษณ์
- กาหนดคาพูด/คาถามท่จี ะพูดกับเดก็ ควรเปน็ คาถามทีเ่ ด็กสามารถตอบโตห้ ลากหลาย ไม่ผดิ /ถกู
การปฏบิ ัตขิ ณะสัมภาษณ์
- ผสู้ อนควรสร้างความคุ้นเคยเปน็ กันเอง
- ผู้สอนควรสรา้ งสภาพแวดล้อมทอี่ บอุน่ ไม่เคร่งเครียด
- ผ้สู อนควรเปดิ โอกาสเวลาใหเ้ ด็กมีโอกาสคดิ และตอบคาถามอย่างอิสระ
- ระยะเวลาสมั ภาษณไ์ ม่ควรเกนิ ๑๐-๒๐ นาที
๔. การรวบรวมผลงานท่ีแสดงออกถึงความก้าวหนา้ แต่ละด้านของเด็กเป็นรายบคุ คล โดยจัดเกบ็ รวบรวม
ไว้ในแฟ้มผลงาน (portfolio) ซึ่งเป็นวิธีรวบรวมและจัดระบบข้อมูลต่างๆท่ีเกี่ยวกับตัวเด็กโดยใช้เครื่องมือต่างๆ
รวบรวมเอาไวอ้ ยา่ งมจี ุดมุง่ หมายทีช่ ัดเจน แสดงการเปลยี่ นแปลงของพฒั นาการแตล่ ะด้าน นอกจากนยี้ ังรวมเครื่องมือ
อื่นๆ เช่น แบบสอบถามผู้ปกครอง แบบสังเกตพฤติกรรม แบบบันทึกสุขภาพอนามัย ฯลฯ เอาไว้ในแฟ้มผลงาน เพื่อ
ผูส้ อนจะได้ขอ้ มลู เกี่ยวกับตัวเด็กอย่างชดั เจนและถูกต้อง การเกบ็ ผลงานของเด็กจะไม่ถือวา่ เปน็ การประเมินผลถ้างาน
แต่ละชิ้นถูกรวบรวมไว้โดยไม่ได้รับการประเมินจากผู้สอนและไม่มีการนาผลมาปรับปรุงพัฒนาเด็กหรือปรับปรุง
การสอนของผู้สอน ดังน้ันจึงเป็นแต่การสะสมผลงานเท่านั้น เช่นแฟ้มผลงานขีดเขียน งานศิลปะ จะเป็นเพียงแค่
แฟ้มผลงานท่ีไม่มีการประเมิน แฟ้มผลงานนี้จะเป็นเคร่ืองมือการประเมินต่อเนื่องเม่ืองานท่ีสะสมแต่ละชิ้นถูกใช้ใน
การบง่ บอกความก้าวหน้า ความตอ้ งการของเด็ก และเปน็ การเกบ็ สะสมอยา่ งต่อเนอื่ งที่สร้างสรรคโ์ ดยผสู้ อนและเด็ก

๔๘

ผู้สอนสามารถใช้แฟ้มผลงานอย่างมีคุณค่าสื่อสารกับผู้ปกครองเพราะการเก็บผลงานเด็กอย่างต่อเนื่องและ
สม่าเสมอในแฟ้มผลงานเป็นข้อมูลให้ผู้ปกครองสามารถเปรียบเทียบความก้าวหน้าท่ีลูกของตนมีเพิ่มข้ึน จากผลงาน
ชิ้นแรกกับช้ินต่อๆมาข้อมูลในแฟ้มผลงานประกอบด้วย ตัวอย่างผลงานการเขียดเขียน การอ่าน และข้อมูล
บางประการของเด็กที่ผู้สอนเป็นผู้บันทึก เช่นจานวนเล่มของหนังสือที่เด็กอ่าน ความถี่ของการเลือกอ่านท่ีมุมหนังสือ
ในช่วงเวลาเลอื กเสรี การเปล่ียนแปลงอารมณ์ ทัศนคติ เป็นต้น ข้อมูลเหล่าน้ีจะสะท้อนภาพของความงอกงามในเด็ก
แต่ละคนไดช้ ัดเจนกว่าการประเมินโดยการให้เกรด ผู้สอนจะตอ้ งชี้แจงให้ผู้ปกครองทราบถึงท่ีมาของการเลือกชิ้นงาน
แต่ละชิ้นงานที่สะสมในแฟ้มผลงาน เช่น เป็นช้ินงานท่ีดีท่ีสุดในช่วงระยะเวลาท่ีเลือกชิ้นงานน้ัน เป็นช้ินงานท่ีแสดง
ความต่อเนื่องของงานโครงการ ฯลฯ ผู้สอนควรเชิญผู้ปกครองมามีส่วนร่วมในการคัดสรรช้ินงานที่บรรจุลงใน
แฟ้มผลงานของเด็ก

๕. การประเมินการเจริญเติบโตของเด็ก ตัวชี้ของการเจริญเติบโตในเด็กท่ีใช้ท่ัวๆไป ได้แก่ น้าหนัก ส่วนสงู
เส้นรอบศีรษะ ฟนั และการเจริญเตบิ โตของกระดูก แนวทางประเมนิ การเจริญเติบโต มีดังนี้

๕.๑ การประเมินการเจริญเติบโต โดยการชั่งน้าหนักและวัดส่วนสูงเด็กแล้วนาไปเปรียบเทียบกับเกณฑ์ปกติ
ในกราฟแสดงน้าหนักตามเกณฑ์อายุกระทรวงสาธารณสุข ซ่ึงใช้สาหรับติดตามการเจริญเติบโตโดยรวม วิธีการใช้
กราฟมขี ้ันตอน ดงั นี้

เมื่อช่ังน้าหนักเด็กแล้ว นาน้าหนักมาจุดเครื่องหมายกากบาทลงบนกราฟ และอ่านการเจริญเติบโตของเด็ก
โดยดูเครื่องหมายกากบาทว่าอยู่ในแถบสีใด อ่านข้อความบนแถบสีนั้น ซ่ึงแบ่งภาวะโภชนาการเป็น ๓ กลุ่มคือ
นา้ หนกั ท่อี ยู่ในเกณฑ์ปกติ นา้ หนกั มากเกนเกณฑ์ นา้ หนกั น้อยกวา่ เกณฑ์ ขอ้ ควรระวงั สาหรับผู้ปกครองและผสู้ อนคือ
ควรดูแลนา้ หนกั เด็กอย่างใหแ้ บ่งเบนออกจากเส้นประเมนิ มิเช่นน้ันเด็กมีโอกาสน้าหนักมากเกนิ เกณฑ์หรือน้าหนักน้อย
กวา่ เกณฑไ์ ด้

ขอ้ ควรคานงึ ในการประเมินการเจรญิ เติบโตของเดก็
- เดก็ แตล่ ะคนมคี วามแตกตา่ งกนั ในดา้ นการเจริญเตบิ โต บางคนรูปรา่ งอว้ น บางคนชว่ งคร่ึงหลังของ

ขวบปแี รก นา้ หนักเดก็ จะขนึ้ ชา้ เน่อื งจากหว่ งเลน่ มากข้นึ และความอยากอาหารลดลง
รา่ งใหญ่ บางคนรา่ งเลก็

- ภาวะโภชนาการเปน็ ตัวสาคัญที่เกี่ยวข้องกบั ขนาดของรปู ร่าง แตไ่ ม่ใช่สาเหตเุ ดียว
- กรรมพันธุ์ เด็กอาจมีรูปร่างเหมือนพ่อแม่คนใดคนหนึ่ง ถ้าพ่อหรือแม่เต้ีย ลูกอาจเตี้ยและพวกน้ี
อาจมนี า้ หนักตา่ กว่าเกณฑเ์ ฉลีย่ ไดแ้ ละมักจะเปน็ เด็กที่ทานอาหารได้น้อย
๕.๒ การตรวจสุขภาพอนามัย เป็นตัวช้ีวัดคุณภาพของเด็ก โดยพิจารณาความสะอาดส่งิ ปกติขอร่างกายท่จี ะ
สง่ ผลตอ่ การดาเนินชีวิตและการเจริญเตบิ โตของเด็ก ซึง่ จะประเมนิ สขุ ภาพอนามัย ๙ รายการคอื ผมและศรี ษะ หแู ละ
ใบหู มอื และเล็บมือ เท้าและเลบ็ เทา้ ปาก ลิ้นและฟัน จมกู ตา ผวิ หนังและใบหน้า และเสอ้ื ผ้า

๒.๓ เกณฑ์การประเมนิ พัฒนาการ
การสรา้ งเกณฑห์ รอื พัฒนาเกณฑ์หรอื กาหนดเกณฑก์ ารประเมินพัฒนาการของเด็กปฐมวัย ผู้สอนควรให้ความ

สนใจในส่วนที่เกยี่ วขอ้ ดังนี้
๑. การวางแผนการสงั เกตพฤติกรรมของเด็กอย่างเป็นระบบ เชน่ จะสงั เกตเดก็ คนใดบา้ งในแตล่ ะวัน กาหนด

พฤตกิ รรมท่สี ังเกตใหช้ ดั เจน จดั ทาตารางกาหนดการสังเกตเดก็ เป็นรายบคุ คล รายกล่มุ ผ้สู อนตอ้ งเลือกสรรพฤตกิ รรม
ทีต่ รงกบั ระดับพฒั นาการของเด็กคนนน้ั จริงๆ

๒. ในกรณีที่ห้องเรียนมีนักเรียนจานวนมาก ผู้สอนอาจเลือกสังเกตเฉพาะเด็กที่ทาได้ดีแล้วและเด็กที่ยังทา
ไมไ่ ด้ ส่วนเด็กปานกลางใหถ้ อื วา่ ทาได้ไปตามกจิ กรรม

๔๙

๓. ผู้สอนต้องสังเกตจากพฤติกรรม คาพูด การปฏิบัติตามข้ันตอนในระหว่างทางาน/กิจกรรม และคุณภาพ
ของผลงาน/ช้นิ งาน รอ่ งรอยทนี่ ามาใช้พิจารณาตดั สนิ ผลของการทางานหรือการปฏบิ ัติ ตัวอย่างเชน่

๑) เวลาที่ใช้ในการทากิจกรรม/ทางาน ถ้าเด็กไม่ชอบ ไม่ชานาญจะใช้เวลามาก มีท่าทางอิดออด
ไมก่ ลา้ ไมเ่ ต็มใจทางาน

๒) ความตอ่ เน่ือง ถ้าเด็กยังมกี ารหยดุ ชะงัก ลงั เล ทางานไมต่ อ่ เนอื่ ง แสดงว่าเดก็ ยังไมช่ านาญหรือยัง
ไมพ่ รอ้ ม

๓) ความสัมพันธ์ ถ้าการทางาน/ปฏิบัตินั้นๆมีความสัมพันธ์ต่อเน่ือง ไม่ราบร่ืน ท่าทางมือและเท้า
ไมส่ มั พนั ธ์กนั แสดงวา่ เด็กยงั ไม่ชานาญหรือยังไม่พรอ้ ม ทา่ ทแี่ สดงออกจึงไมส่ งา่ งาม

๔) ความภูมิใจ ถ้าเด็กยังไม่ช่ืนชม ก็จะทางานเพียงให้แล้วเสร็จอย่างรวดเร็ว ไม่มีความภูมิใจในการ
ทางาน ผลงานจึงไม่ประณตี

๒.๓.๑ ระดบั คณุ ภาพผลการประเมินพฒั นาการเดก็
การให้ระดบั คุณภาพผลการประเมนิ พัฒนาการของเด็กท้ังในระดับช้นั เรียนและระดบั สถานศึกษาควรกาหนด
ในทิศทางหรือรูปแบบเดียวกัน สถานศึกษาสามารถให้ระดับคุณภาพผลการประเมินพัฒนาการของเด็กท่ีสะท้อน
มาตรฐานคุณลกั ษณะท่ีพงึ ประสงค์ ตวั บง่ ช้ี สภาพท่ีพึงประสงค์ หรอื พฤติกรรมทจ่ี ะประเมนิ เปน็ ระบบตวั เลข เช่น ๑
หรือ ๒ หรือ ๓ หรอื เป็นระบบทใ่ี ช้คาสาคัญ เช่น ดี พอดี หรอื ควรสง่ เสรมิ ตามท่ีสถานศึกษากาหนด ตวั อย่างเช่น

ระบบตัวเลข ระบบที่ใช้คาสาคัญ
๓ ดี
๒ พอใช้
๑ ควรสง่ เสริม

สถานศึกษาอาจกาหนดระดบั คุณภาพของการแสดงออกในพฤติกรรม เปน็ ๓ ระดบั ดงั นี้

ระดับคุณภาพ ระบบทใี่ ช้คาสาคญั

๑ หรือ ควรส่งเสริม เด็กมีความลังเล ไม่แน่ใจ ไม่ยอมปฏิบัติกิจกรรม ทั้งนี้ เน่ืองจากเด็กยังไม่พร้อม ยัง

ม่ันใจ และกลัวไม่ปลอดภัย ผู้สอนต้องยั่วยุหรือแสดงให้เห็นเป็นตัวอย่างหรือต้อง

คอยอยู่ใกลๆ้ ค่อยๆใหเ้ ด็กทาทีละขน้ั ตอน พร้อมตอ้ งให้กาลังใจ

๒ หรอื พอใช้ เด็กแสดงได้เอง แต่ยังไม่คล่อง เด็กกล้าทามากข้ึนผู้สอนกระตุ้นน้อยลง ผู้สอนต้อง

คอยแก้ไขในบางครง้ั หรือคอยให้กาลังใจให้เด็กฝกึ ปฏิบัตมิ ากขึน้

๓ หรอื ดี เด็กแสดงได้อย่างชานาญ คล่องแคล่ว และภูมิใจ เด็กจะแสดงได้เองโดยไม่ต้อง

กระตนุ้ มคี วามสัมพันธ์ทดี่ ี

ตวั อยา่ งคาอธิบายคณุ ภาพ

พัฒนาการดา้ นรา่ งกาย : สขุ ภาพอนามยั พัฒนาการด้านร่างกาย : กระโดดเท้าเดยี ว

ระดับคุณภาพ คาอธบิ ายคุณภาพ ระดับคณุ ภาพ คาอธิบายคุณภาพ

๑หรือ ควรส่งเสรมิ ส่งเสริมความสะอาด ๑หรือ ควรส่งเสริม ทาได้แต่ไม่ถูกตอ้ ง

๒ หรอื พอใช้ สะอาดพอใช้ ๒ หรอื พอใช้ ทาไดถ้ กู ต้อง แต่ไม่คลอ่ งแคล่ว

๓ หรอื ดี สะอาด ๓ หรอื ดี ทาได้ถูกต้อง และคล่องแคลว่

พัฒนาการดา้ นอารมณ์ : ประหยัด

ระดับคณุ ภาพ คาอธบิ ายคณุ ภาพ

๕๐

๑หรือ ควรส่งเสริม ใชส้ ่งิ ของเครือ่ งใชเ้ กินความจาเปน็

๒ หรือ พอใช้ ใชส้ ่ิงของเครอ่ื งใชอ้ ยา่ งประหยัดเป็นบางครั้ง

๓ หรือ ดี ใช้สิง่ ของเคร่อื งใช้อย่างประหยดั ตามความจาเปน็ ทุกคร้งั

พฒั นาการด้านสังคม : ปฏิบตั ิตามข้อตกลง

ระดับคุณภาพ คาอธิบายคณุ ภาพ

๑หรอื ควรส่งเสรมิ ไมป่ ฏิบตั ิตามข้อตกลง

๒ หรือ พอใช้ ปฏิบัติตามขอ้ ตกลง โดยมีผชู้ ้นี าหรือกระตุน้

๓ หรอื ดี ปฏิบัติตามข้อตกลงไดด้ ้วยตนเอง

พัฒนาการดา้ นสตปิ ัญญา : เขยี นช่ือตนเองตามแบบ

ระดบั คุณภาพ คาอธิบายคุณภาพ

๑หรอื ควรส่งเสริม เขยี นชอ่ื ตนเองไมไ่ ด้ หรือเขยี นเป็นสัญลกั ษณท์ ีไ่ มเ่ ป็นตวั อักษร

๒ หรอื พอใช้ เขียนชื่อตนเองได้ มอี กั ษรบางตัวกลับหวั กลบั ดา้ นหรือสลับที่

๓ หรอื ดี เขยี นช่อื เองได้ ตัวอักษรไมก่ ลบั หวั ไมก่ ลบั ดา้ นไม่สลับท่ี

๒.๓.๒ การสรปุ ผลการประเมินพฒั นาการเดก็
หลักสูตรการศึกษาปฐมวัย พุทธศักราช2560 กาหนดเวลาเรียนสาหรับเด็กปฐมวัยต่อปีการศึกษาไม่น้อย
กว่า ๑๘๐ วัน สถานศึกษาจึงควรบริหารจัดการเวลาที่ได้รับน้ีให้เกิดประโยชน์สูงสุดต่อการพัฒนาเด็กอย่างรอบด้าน
และสมดุล ผู้สอนควรมีเวลาในการพัฒนาเด็กและเติมเต็มศักยภาพของแด็ก เพื่อให้การจัดประสบการณ์การเรียนรู้
มีประสิทธิภาพ ผู้สอนต้องตรวจสอบพฤติกรรมท่ีแสดงพัฒนาการของเด็กต่อเนื่องมีการประเมินซ้าพฤติกรรมนั้นๆ
อย่างน้อย ๑ คร้ังต่อภาคเรียน เพ่ือยืนยันความเช่ือมั่นของผลการประเมินพฤติกรรมนั้นๆ และนาผลไปเป็นข้อมูล
ในการสรุปการประเมินสภาพท่ีพึงประสงค์ของเด็กในแต่ละสภาพที่พึงประสงค์ นาไปสรุปการประเมินตัวบ่งช้ีและ
มาตรฐานคุณลกั ษณะที่พงึ ประสงคต์ ามลาดับ
อนึ่ง การสรุประดับคุณภาพของการประเมินพัฒนาการเด็ก วิธีการทางสถิติที่เหมาะสมและสะดวกไม่ยุ่งยาก
สาหรับผู้สอน คือการใช้ฐานนิยม (Mode) ในบางคร้ังพฤติกรรม หรือสภาพท่ีพึงประสงค์หรือตัวบ่งชี้นิยมมากว่า ๑
ฐานนยิ ม ใหอ้ ยใู่ นดุลยพนิ ิจของสถานศึกษา กล่าวคอื เมอื่ มีระดับคณุ ภาพซา้ มากกว่า ๑ ระดบั สถานศกึ ษาอาจตัดสิน
สรุปผลการประเมินพัฒนาการบนพ้ืนฐาน หลักพัฒนาการและการเตรียมความพร้อม หากเป็นภาคเรียนที่ ๑
สถานศึกษาควรเลือกตัดสินใจใช้ฐานนิยมท่ีมีระดับคุณภาพต่ากว่าเพ่ือใช้เป็นข้อมูลในการพัฒนาเด็กให้พร้อมมากข้ึน
หากเป็นภาคเรียนท่ี ๒ สถานศกึ ษาควรเลือกตัดสนิ ใจใชฐ้ านนิยมที่มรี ะดับคุณภาพสูงกว่าเพื่อตัดสนิ และการสง่ ต่อเด็ก
ในระดบั ช้ันท่สี ูงขึน้

๒.๓.๓ การเลอื่ นชน้ั อนบุ าลและเกณฑก์ ารจบการศกึ ษาระดับปฐมวัย
เม่ือสิ้นปีการศกึ ษา เด็กจะได้รบั การเลื่อนชั้นโดยเด็กต้องได้รับการประเมนิ มาตรฐานคุณลักษณะท่ีพงึ ประสงค์
ท้ัง ๑๒ ข้อ ตามหลักสูตรการศึกษาปฐมวัย เพ่ือเป็นข้อมูลในการส่งต่อยอดการพัฒนาให้กับเด็กในระดับสูงขึ้นต่อไป
และเนื่องจากการศึกษาระดับอนุบาลเป็นการจัดการศึกษาข้ันพื้นฐานท่ีไม่นับเป็นการศึกษาภาคบังคับ จึงไม่มีการ
กาหนดเกณฑก์ ารจบชั้นอนบุ าล การเทยี บโนการเรยี น และเกณฑก์ ารเรียนซา้ ชัน้ และหากเดก็ มแี นวโน้มวา่ จะมีปัญหา
ต่อการเรียนรู้ในระดับท่ีสูงข้ึน สถานศึกษาอาจตั้งคณะกรรมการเพ่ือพิจารณาปัญหา และประสานกับหน่วยงานที่
เกี่ยวข้องในการให้ความช่วยเหลือ เช่น เจ้าหน้าท่ีสาธารณสุขส่งเสริมตาบล นักจิตวิทยา ฯลฯ เข้าร่วมดาเนินงาน
แกป้ ญั หาได้


Click to View FlipBook Version