รายงานการประเมินตนเอง
(Salf Assessmant Report)
หลกั สูตรบริหารธรุ กจิ ดษุ ฎบี ัณฑติ
สาขาวชิ า/ภาควิชา การพฒั นาธรุ กิจอตุ สาหกรรมและทรพั ยากรมนุษย์
คณะพัฒนาธรุ กิจและอุตสาหกรรม
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ
รอบปกี ารศกึ ษา 2564
(ระหว่างวนั ที่ 1 มถิ นุ ายน 2564 ถงึ วนั ท่ี 30 พฤษภาคม 2565)
วนั เดือน ปที ี่รายงาน
วนั ท่ี 30 พฤษภาคม 2565
คํานาํ
รายงานการประเมินตนเองระดับหลักสูตรบริหารธุรกิจดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาการพัฒนาธุรกิจ
อุตสาหกรรมและทรัพยากรมนุษย์ คณะพัฒนาธุรกิจและอุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยเทคโนโลยี
พระจอมเกล้าพระนครเหนือ เป็นการสรุปผลการดําเนินงานระดับหลักสูตรในรอบปีการศึกษา 2564
(วันท่ี 1 มิถุนายน 2564 ถึง 30 พฤษภาคม 2565) โดยใช้เกณฑ์การประเมิน AUN-QA และ
คณะกรรมการพัฒนาระบบประกันคุณภาพการศึกษาของมหาวิทยาลัย ท่ีกําหนดให้หน่วยงานท่ีมีการ
จัดการเรียนการสอน ดําเนินการครบท้ัง 8 ตัวบ่งช้ี (AUN.1– AUN.8) ตามเกณฑ์ใหม่ ASEAN
University Network Quality Assurance (AUN-QA) รายงานการประเมินตนเองเล่มนี้ประกอบด้วย
3 สว่ น ไดแ้ ก่
ส่วนที่ 1 ข้อมูลพ้ืนฐานของหลักสูตร ประกอบด้วยประวัติโดยย่อของหลักสูตร วัตถุประสงค์
จดุ เน้นจดุ เดน่ ของหลกั สตู ร โครงสรา้ งการจดั องคก์ ารและการบรหิ ารจัดการ นโยบายการประกันคณุ ภาพ
ของคณะ/ภาควิชา และข้อมูลท่ัวไปเก่ยี วกับหลักสูตร
ส่วนท่ี 2 การกํากับมาตรฐาน เป็นการรายงานผลการดําเนินงานของหลักสูตรตามเกณฑ์
มาตรฐานหลักสูตร พ.ศ.2558 ประกอบด้วยอาจารย์ประจําหลักสูตร อาจารย์ผู้สอนและรายงานผล
การดาํ เนนิ การกํากับให้เป็นไปตามมาตรฐานหลกั สูตร
ส่วนที่ 3 การพัฒนาคุณภาพหลักสูตรตามเกณฑ์ AUN QA ระดับหลักสูตร จะเสนอผลการ
ดําเนินงานตามเกณฑ์ AUN-QA 8 หัวข้อ ซึ่งประกอบด้วยเกณฑ์ข้อย่อย ผลการดําเนินงาน ผลการ
ประเมินตนเอง และหลักฐานอ้างองิ
รายงานการประเมินตนเองฉบับน้ีจะครบถ้วนสมบูรณ์อย่างมีคุณค่า จําเป็นอย่างยิ่งท่ี
คณะกรรมการประเมินจะเสนอแนะแนวทางการพัฒนาเพื่อให้หลักสูตรมีความทันสมัย มีมาตรฐาน
หรือแนวทางที่สามารถตอบสนองต่อความต้องการของทุกฝ่ายท่ีเกี่ยวข้อง หลักสูตรบริหารธุรกิจ
ดุษฎีบัณฑิตหวังเป็นอย่างยิ่งว่าการประเมินตนเองระดับหลักสูตรฉบับนี้จะเอ้ืออํานวยประโยชน์ต่อการ
พัฒนาวิชาการใหบ้ รรลวุ ัตถปุ ระสงคแ์ ละประสบความสําเร็จมากยง่ิ ขนึ้
(ผู้ชว่ ยศาสตราจารย์ ดร.ธญั ญาทพิ พิชิตการค้า)
หวั หน้าภาควชิ าการพัฒนาธุรกจิ อุตสาหกรรมและ
ทรพั ยากรมนุษย์
ข
สารบญั
หนา้
บทสรปุ ผ้บู ริหาร............................................................................................................................ 1
สว่ นท่ี 1 ขอ้ มูลพ้นื ฐานของหลักสตู ร ............................................................................................. 3
สว่ นที่ 2 การกากับมาตรฐาน ...................................................................................................... 13
ส่วนที่ 3 การพัฒนาคุณภาพหลกั สตู รตามเกณฑ์ AUN-QA ระดับหลักสตู ร................................. 35
AUN. 1 ผลการเรยี นรู้ทค่ี าดหวงั (Expected Learning Outcomes).................................. 36
AUN. 2 โครงสรา้ งเน้ือหาหลักสตู ร (Programme Structure and Content) .................... 47
AUN. 3 การจัดการเรียนการสอน (Teaching and Learning Approach) ......................... 54
AUN. 4 การประเมนิ ผ้เู รียน (Student Assessment) ......................................................... 58
AUN. 5 บคุ ลากรสายวชิ าการ (Academic Staff)................................................................ 65
AUN. 6 การบรกิ ารสนันสนุนผ้เู รียน (Student Support Services) ................................... 71
AUN. 7 ส่งิ อานวยความสะดวก และโครงสร้างพื้นฐาน (Facilities and Infrastructure).... 80
AUN. 8 ผลผลิตและผลลัพธ์ (Output and Outcomes) .................................................... 85
สรุปผลการประเมนิ ตนเองตามเกณฑ์ AUN-QA.................................................................... 89
ภาคผนวก................................................................................................................................... 91
ค
บทสรุปผ้บู ริหาร
คณะกรรมการประจาหลักสูตรบริหารธุรกิจดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาการพัฒนาธุรกิจ
อุตสาหกรรมและทรัพยากรมนุษย์ ไดป้ ระเมนิ คุณภาพของหลักสูตรตามแนวทางคุณภาพ 2 ส่วน ดงั นี้
ส่วนที่ 1 องค์ประกอบท่ี 1 การกากับมาตรฐาน มีตัวบ่งชี้ 1 ตัวบ่งชี้ คือ การบริหารจัดการหลักสูตร
ตามเกณฑ์มาตรฐานหลักสูตรท่ีกาหนดโดยสานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา และส่วนท่ี 2
องค์ประกอบท่ี 2 การพัฒนาคุณภาพหลักสูตรตามเกณฑ์ AUN-QA ระดับหลักสูตร ประกอบด้วย
เกณฑ์ 8 เกณฑ์ (AUN.1 - AUN.8) สรุปผลการประเมินไดด้ ังนี้
องคป์ ระกอบที่ 1 การกากบั มาตรฐาน ผลการดาเนนิ การ
ผ่าน ไม่ผา่ น
เกณฑ์การประเมิน
1. จานวนอาจารยผ์ ูร้ บั ผิดชอบหลกั สตู ร
2. คุณสมบัติของอาจารยผ์ รู้ ับผิดชอบหลักสตู ร
3. คณุ สมบัตขิ องอาจารยป์ ระจาหลักสูตร
4. คุณสมบตั ิของอาจารย์ผสู้ อน ที่เป็นอาจารย์ประจา
5. คณุ สมบัติของอาจารยผ์ ูส้ อน ท่เี ป็นอาจารย์พเิ ศษ (ถ้ามี)
6. คณุ สมบตั ิของอาจารย์ที่ปรึกษาวทิ ยานิพนธ์หลกั
7. คณุ สมบตั ิของอาจารย์ที่ปรึกษาวิทยานิพนธร์ ว่ ม (ถ้ามี)
8. อาจารย์ผู้สอบวทิ ยานิพนธ์
9. คุณสมบัติของอาจารยผ์ สู้ อบวิทยานพิ นธ์
10. การตีพิมพ์เผยแพรผ่ ลงานของผู้สาเร็จการศกึ ษา
11. ภาระงานอาจารย์ท่ีปรึกษาวทิ ยานิพนธ์ในระดับบัณฑิตศึกษา
12. การปรับปรุงหลักสูตรตามรอบระยะเวลาของหลักสตู ร หรือทุกรอบ 5 ปี
การดาเนินการตามองค์ประกอบที่ 1 การกากับมาตรฐาน ซึ่งเป็นการดาเนินการตามเกณฑ์
มาตรฐานหลักสูตร ระดับปริญญาบัณฑิตศึกษา พ.ศ.2558 ดาเนินการได้ตามเกณฑ์การประเมินครบ
ทุกข้อ
สรุปผลการประเมินตนเององคป์ ระกอบที่ 1 การกากบั มาตรฐาน () ผ่าน ( ) ไมผ่ ่าน
องค์ประกอบท่ี 2 การพัฒนาคณุ ภาพหลกั สตู รตามเกณฑ์ AUN-QA ระดับหลกั สูตร
เกณฑ์ คะแนน
12 3 4567
AUN.1 ผลการเรยี นรทู้ ค่ี าดหวัง
(Expected Learning Outcomes)
AUN.2 โครงสร้างเนอ้ื หาหลักสตู ร
(Programme Structure and Content)
AUN.3 การจดั การเรยี นการสอน
(Teaching and Learning Approach)
AUN.4 การประเมินผเู้ รียน
(Student Assessment)
AUN.5 บุคลากรสายวชิ าการ
(Academic Staff)
AUN.6 การบริการสนันสนุนผเู้ รยี น
(Student Support Services)
3
AUN.7 สง่ิ อานวยความสะดวก และโครงสรา้ งพ้นื ฐาน
(Facilities and Infrastructure)
AUN.8 ผลผลิตและผลลพั ธ์
(Output and Outcomes)
ผลคะแนนโดยรวม (Overall Verdict)
การประเมินตนเององค์ประกอบท่ี 1 การกากับมาตรฐาน มี 1 ตัวบ่งช้ี คือ การบริหารจัดการ
หลักสูตรตามเกณฑ์มาตรฐานหลักสูตรท่ีกาหนดโดยสานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา และ
องค์ประกอบท่ี 2 การพัฒนาคุณภาพหลักสูตรตามเกณฑ์ AUN-QA ระดับหลักสูตร ประกอบด้วย
เกณฑ์ 8 เกณฑ์ (AUN.1 - AUN.8) ประกอบด้วยเกณฑ์การประเมินจานวน 8 ข้อ ผลการประเมิน
ผ่านเกณฑ์มาตรฐาน จานวน 8 ข้อ
สรุปผลการประเมินการบริหารจัดการหลักสูตรเป็นไปตามเกณฑ์มาตรฐานหลักสูตรท่ีกาหนด
โดยสานกั งานคณะกรรมการการอดุ มศึกษา
2
ส่วนท่ี 1 ขอ้ มลู พนื้ ฐานของหลักสูตร
1. ชือ่ หลักสูตร
(ภาษาไทย) บรหิ ารธรุ กิจดษุ ฎีบัณฑติ
(ภาษาอังกฤษ) Doctor of Business Administration
2. สถานภาพของหลกั สตู รและการพจิ ารณาอนุมัติ/เห็นชอบหลักสตู ร
( ) หลักสตู รใหม่ กาหนดเปิดสอน ภาคการศึกษาท่ี ........................พ.ศ. .........................
ไดร้ ับอนุมัติ/เห็นชอบหลักสตู รจากสภามหาวทิ ยาลัย
ในการประชุมคร้งั ท่ี ......./.........เมอ่ื วนั ท่ี.............. เดือน............. พ.ศ. ...................
() หลักสตู รปรบั ปรุง กาหนดเปิดสอน ภาคการศึกษาที่ ........1........พ.ศ. .......2561.........
ได้รับอนุมัต/ิ เหน็ ชอบหลักสตู รจากสภามหาวิทยาลยั
ในการประชุมครง้ั ท่ี....4/2561...เมอื่ วนั ท่ี.....27.....เดอื น..มถิ ุนายน....พ.ศ....2561...
ไดร้ ับอนุมตั ิ/เห็นชอบหลักสูตรจากสานักงานคณะกรรมการการอดุ มศึกษา
เมอ่ื วนั ท่ี........20.........เดอื น..สงิ หาคม.....พ.ศ....2562.....
3. รปู แบบแผนการศกึ ษาของหลกั สตู รบริหารธุรกิจดษุ ฎบี ณั ฑิต
() ระดับปริญญาเอก () แผน ก1 () แผน ก2 () แผน ข
() ระดบั ปรญิ ญาเอก () แบบ 1 () แบบ 2
4. รายช่อื อาจารย์ประจาหลักสูตรปจั จุบัน
4.1 อาจารยผ์ ้รู บั ผิดชอบหลกั สูตรและอาจารยป์ ระจาหลกั สตู ร
1. รองศาสตราจารย์ ดร.สมนึก วิสุทธแิ พทย์
2. รองศาสตราจารย์ ดร.วรกมล วเิ ศษศรี
3. ผชู้ ว่ ยศาสตราจารย์ ดร.กมลนัทธ์ มถี าวร
4.2 อาจารย์ประจาหลักสูตร
1. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ชลุ วี รรณ โชตวิ งษ์
2. รองศาสตราจารย์ ดร.สักรินทร์ อยูผ่ อ่ ง
3. รองศาสตราจารย์ ดร.ธีรวัช บุณยโสภณ
4. ผชู้ ว่ ยศาสตราจารย์ ดร.เชฐธดิ า กุศลาไสยานนท์
5. ผชู้ ว่ ยศาสตราจารย์ ดร.ปราโมช ธรรมกรณ์
6. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ธัญญาทพิ พิชติ การคา้
7. อาจารย์ ดร.ณัฏฐิรา หอพิบูลสขุ
8. ศาสตราจารย์ ดร.สชุ าติ เซีย่ งฉนิ
9. รองศาสตราจารย์ ดร.สนั ชัย อินทพชิ ัย
10. รองศาสตราจารย์ ดร.ไพโรจน์ สถิรยากร
11. รองศาสตราจารย์ ดร.ภาวณิ ี บุณยโสภณ
12. รองศาสตราจารย์ ดร.สภุ ัททา ปิณฑะแพทย์
5. ขอ้ มูลโดยสรุปเก่ียวกับคณะ และภาควชิ า
คณะพัฒนาธุรกจิ และอุตสาหกรรม ไดร้ ับอนุมัติจากสภามหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้า
พระนครเหนือ ให้จัดตั้งข้ึนเป็นส่วนงานระดับคณะ เมื่อวันท่ี 6 พฤษภาคม 2558 โดยได้ดาเนินการ
จัดการเรียนการสอนทางด้านบริหารธุรกิจ ท้ังในระดับปริญญาตรี ปริญญาโท และปริญญาเอก
ณ มจพ. กรุงเทพฯ คณะฯ มีความมุ่งม่ันท่ีจะผลิตบัณฑิตในสายสนับสนุนการผลิตสินค้าและบริการ
รวมท้ังการผลิตบุคลากรสายบริหารธุรกิจและอุตสาหกรรม ที่มีคุณภาพสอดคล้องกับความต้องการ
ของกลุ่มอุตสาหกรรมประเภทต่างๆ โดยมีการจัดการศึกษาที่ร่วมมือกับกลุ่มสถานประกอบการธุรกิจ
และอุตสาหกรรมต่างๆ ในรูปแบบสหกิจศึกษาและเสริมทักษะภาษาอังกฤษในระหว่างการศึกษา
นอกจากน้ี คณะฯ ยังมุ่งเน้นการเรียนการสอนท่ีให้บัณฑิตมีความรู้ความสามารถท้ังทางทฤษฏีและ
ปฏิบัติ โดยเน้นให้มีความเชี่ยวชาญทางด้านวิทยาการบริหารจัดการช้ันสูง เทคโนโลยีการบริหาร
จัดการแนวใหม่ รวมทั้ง การส่งเสริมและสนับสนนุ การทางานวิจัยเพ่ือรองรับการพัฒนาเศรษฐกิจของ
ประเทศ เพ่ือการแขง่ ขันในระดับนานาชาติ
ปรัชญา
พัฒนาทรัพยากรมนุษย์ เพ่ือพัฒนาธุรกิจอตุ สาหกรรม
ปณิธาน
สร้างบณั ฑติ ที่มีคุณภาพ สูค่ วามเปน็ เลิศดา้ นธุรกจิ และอุตสาหกรรม
วสิ ัยทัศน์
ผลิตบัณฑติ ที่มีความรู้ความสามารถ ด้านธุรกจิ และอตุ สาหกรรมสู่ระดบั นานาชาติ
พนั ธกจิ
1. ผลิตบณั ฑติ ทมี่ ีความรู้ ความสามารถ ทักษะ และเจตคติทด่ี ีตอ่ วิชาชพี
2. มงุ่ เน้นการวิจยั และพฒั นา เพ่ือสรา้ งองค์ความรู้ใหม่
3. สร้างเครอื ข่ายความร่วมมือและให้บริการทางวชิ าการและสังคม
4. บริหารจดั การตามหลกั ธรรมาภบิ าลและจรรยาบรรณวชิ าชีพ
คณะพัฒนาธุรกิจและอุตสาหกรรม ได้ดาเนินการจัดการเรียนการสอน 2 สาขาวิชา คือ
สาขาวิชาการพัฒนาธุรกิจอุตสาหกรรมและทรัพยากรมนุษย์ และสาขาวิชาการบริหารอุตสาหกรรม
การผลิตและบริการ โดยในระดับปริญญาเอกและปริญญาเอกจะดาเนินการจัดการเรียนการสอนโดย
โครงการหลักสูตรบริหารธุรกิจระดับบัณฑิตศึกษา สาขาวิชาการพัฒนาธุรกิจอุตสาหกรรมและ
ทรัพยากรมนษุ ย์
โครงการหลักสูตรบริหารธุรกิจระดับบัณฑิตศึกษา สาขาวิชาการพัฒนาธุรกิจอุตสาหกรรมและ
ทรัพยากรมนุษย์ สังกัดภาควิชาการพัฒนาธุรกิจอุตสาหกรรมและทรัพยากรมนุษย์ คณะพัฒนาธุรกิจและ
อุตสาหกรรม มีโครงสร้างการจัดองค์กรและการบริหารจัดการภายใต้โครงสร้างการบริหารจัดการของ
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ โดยโครงสร้างองค์กรแสดงดังแผนภูมิที่ 1 และ
โครงสร้างองค์กรตามการบริหารมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ ดังแสดงตาม
แผนภูมทิ ี่ 2
4
แผนภูมทิ ี่ 1 โครงสร้างองค์กรมหาวิทยาลยั เทคโนโลยีพระจอมเกลา้ พระนครเหนือ
5
คณะกรรมการส่งเสริมและ สภามหาวทิ ยาลยั
พฒั นากจิ การมหาวิทยาลัย
(นายกสภามหาวิทยาลยั )
สภาวิชาการ มหาวิทยาลยั คณะกรรมการนโยบายและแผน
สภาคณาจารย์ (อธิการบด)ี คณะกรรมการบรหิ ารงานบุคคล
และพนักงาน พนกั งานมหาวิทยาลยั
(รองอธิการบด)ี
(ผชู้ ่วยอธกิ ารบด)ี คณะกรรมการการเงนิ และ
ทรัพย์สิน
คณะกรรมการ คณะ/วิทยาลัย สานักงานอธกิ ารบดี สานกั งาน/สถาบนั คณะกรรมการ
ประจาคณะ/วทิ ยาลัย (คณบดี) (ผอู้ านวยการ) ประจาสานกั /สถาบนั
กอง/ศนู ย์
ภาควชิ า/ฝ่าย/ศนู ย์ สานักงานคณบดี สานกั งาน กองงานสานกั งาน
(ผอู้ านวยการกอง/ศนู ย์) ผู้อานวยการ สภามหาวทิ ยาลยั
(หัวหนา้ ภาควิชา/ฝา่ ย/ศูนย์) (หวั หน้าสานักงาน)
(หวั หนา้ สานักงาน)
หลกั สตู ร คณะกรรมการ
ผ้รู บั ผดิ ชอบหลักสตู ร
(ประธานผรู้ บั ผดิ ชอบหลักสตู ร)
แผนภูมทิ ี่ 2 โครงสรา้ งองค์กรตามการบรหิ ารมหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยพี ระจอมเกล้าพระนครเหนือ
โครงการหลักสูตรบริหารธุรกิจระดับบัณฑิตศึกษา สาขาวิชาการพัฒนาธุรกิจอุตสาหกรรม
และทรัพยากรมนุษย์ มีโครงสร้างการจัดองค์กรและการบริหารจัดการภายใต้การบริหารจัดการของ
ภาควิชาการพัฒนาธุรกิจอุตสาหกรรมและทรัพยากรมนุษย์ คณะพัฒนาธุรกิจและอุตสาหกรรม โดย
คณะพัฒนาธุรกิจและอุตสาหกรรม มีโครงสร้างการบริหารงาน แบ่งออกเป็น 3 ส่วน คือ สานักงาน
คณบดี ภาควิชาการพัฒนาธุรกิจอุตสาหกรรมและทรัพยากรมนุษย์ และภาควิชาการบริหาร
อตุ สาหกรรมการผลติ และบริการ ดงั แผนภูมทิ ี่ 3
ในการบริหารหลักสูตรจะมีประธานหลักสูตรและอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรเป็น
ผูร้ ับผดิ ชอบและบรหิ ารหลักสูตร มอี าจารย์ประจาหลักสูตร และคณะกรรมการบริหารโครงการหลักสูตร
บริหารธุรกิจระดับบัณฑิตศึกษา มีผู้อานวยการโครงการหลักสูตรบริหารธุรกิจระดับบัณฑิตศึกษา
บริหารหลักสูตรให้เป็นไปตามเป้าหมาย มีการประเมินความพึงพอใจของหลักสูตรและการเรียนการ
สอนการบริหารหลักสูตรให้เป็นไปตามระเบียบข้อบังคับและอัตลักษณ์ของมหาวิทยาลัย และปฏิบัติ
ตามเกณฑ์ท่ีกาหนดไว้ในประกาศคณะกรรมการอุดมศึกษา เรื่อง แนวทางการปฏิบัติตามกรอบ
มาตรฐานคุณวฒุ ิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ พ.ศ.2552
6
แผนภมู ิที่ 3 โครงสรา้ งการบริหารงานของคณะพฒั นาธรุ กจิ และอตุ สาหกรรม
6. ข้อมูลเกี่ยวกับหลักสูตร
หลักสูตรบริหารธุรกิจดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาการพัฒนาธุรกิจอุตสาหกรรมและทรัพยากร
มนุษย์ เดิมสังกัดภาควิชาสงั คมศาสตร์ คณะศิลปศาสตร์ประยุกต์ ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2545 ถึง พ.ศ. 2558
ปัจจุบันสังกัดภาควิชาการพัฒนาธุรกิจอุตสาหกรรมและทรัพยากรมนุษย์ คณะพัฒนาธุรกิจและ
อุตสาหกรรม หลักสูตรได้เร่ิมรับนักศึกษารุ่นแรกเมื่อปีการศึกษา 2545 และได้ดาเนินการเรียนการ
สอนตามหลักสูตรต่อเน่ืองมาจนถึงปัจจุบันจานวน 15 รุ่น และหลักสูตรบริหารธุรกิจดุษฎีบัณฑิต
สาขาวิชาการพัฒนาธุรกิจอุตสาหกรรมและทรัพยากรมนุษย์ได้มีดุษฎีบัณฑิตที่สาเร็จการศึกษาใน
หลักสูตรแล้วจานวน 13 รุ่น การจัดการเรียนการสอนของหลักสูตรเป็นไปตามหลักปรัชญาท่ีเน้นการ
พฒั นาธุรกิจอุตสาหกรรมและทรัพยากรมนษุ ย์ของประเทศใหก้ ้าวหน้าและมนั่ คง โดยเสริมสร้างความ
ร่วมมือกับสถานประกอบการเพ่ือให้สอดคล้องต่อความต้องการของสถานประกอบการ โดยออกแบบ
หลักสตู รเพือ่ ผลิตบณั ฑติ ใหม้ คี วามรู้ ทกั ษะ เจตคติ และประสบการณ์ ตลอดจนมีความรคู้ วามสามารถ
ในการวจิ ยั และพัฒนาองค์ความรู้ใหม่ สาหรบั ประยุกต์ใช้ในการแก้ไขปัญหาต่าง ๆ ท่ีเก่ยี วขอ้ งกับการ
บริหาร “ธุรกิจ” และ “บุคคล” ในองค์กร โดยสอดคล้องกับบริบทของสังคมและวัฒนธรรมท่ี
เปลี่ยนแปลงไปเพ่ือประโยชน์สูงสุดตอ่ องค์กรทง้ั ภาครัฐและเอกชน
6.1 ชือ่ หลักสตู ร
ภาษาไทย : บริหารธุรกจิ ดษุ ฎบี ัณฑติ
ภาษาองั กฤษ : Doctor of Business Administration
7
6.2 ช่อื ปรญิ ญาและสาขาวิชา
ชือ่ เต็ม (ภาษาไทย) : บริหารธรุ กิจดุษฎีบัณฑิต
(การพฒั นาธุรกจิ อุตสาหกรรมและทรัพยากรมนุษย์)
ชอื่ ยอ่ (ภาษาไทย) : บธ.ด. (การพัฒนาธุรกิจอุตสาหกรรมและทรัพยากรมนุษย์)
ช่ือเตม็ (ภาษาอังกฤษ) : Doctor of Business Administration
(Industrial Business and Human Resource Development)
ช่ือย่อ (ภาษาอังกฤษ) : D.B.A. (Industrial Business and Human Resource Development)
6.3 จานวนหนว่ ยกิตตลอดหลักสูตร
36 หนว่ ยกติ
6.4 รูปแบบของหลักสตู ร
รปู แบบ หลักสูตรระดับปรญิ ญาเอก หลักสตู ร 3 ปี แบบ 2.1
ภาษาทใี่ ช้ จดั การศึกษาเปน็ ภาษาไทยและภาษาองั กฤษ สาหรับเอกสารและตาราเรยี น
มีทงั้ ทีเ่ ปน็ ภาษาไทยและภาษาองั กฤษ
การรับเขา้ ศกึ ษา รับทั้งนักศึกษาไทยและนักศึกษาต่างชาติที่ใช้ภาษาไทยได้
การใหป้ ริญญาแกผ่ ู้สาเร็จการศกึ ษา ใหป้ รญิ ญาเพยี งสาขาวิชาเดียว
6.5 ปรัชญาของหลกั สูตร
“พฒั นาธรุ กจิ อตุ สาหกรรมและทรพั ยากรมนุษย์ เพื่อพัฒนาองค์การส่คู วามเปน็ เลิศ
และความสาเร็จอย่างยัง่ ยนื ”
6.6 ระบบการจดั การศึกษา
เป็นระบบทวิภาค โดย 1 ปีการศึกษา แบ่งออกเป็น 2 ภาคการศึกษา ปกติ 1 ภาคการศึกษา
มรี ะยะเวลาศกึ ษาไม่นอ้ ยกว่า 15 สัปดาห์
6.7 ความสาคัญของหลกั สูตร
6.7.1 หลกั สูตรให้ความสาคัญตอ่ การเรียนรู้ทั้งภาคทฤษฎแี ละปฏบิ ัติ
6.7.2 หลักสูตรให้ความสาคัญต่อการเลือกผู้เรียนที่มีประสบการณ์ในการบริหารจัดการหรือ
ปฏิบัติงานในสาขาวิชาท่ีเก่ียวข้อง ตลอดจนเลือกผู้สอนที่เป็นผู้ทรงคุณวุฒิและมีประสบการณ์สูงใน
การบรหิ ารจดั การในธุรกจิ อตุ สาหกรรมและการพฒั นาทรัพยากรมนุษย์
6.7.3 หลักสูตรมีเนื้อหารายวิชาท่ีเป็นองค์ความรู้ใหม่ ๆ ทางการพัฒนาธุรกิจอุตสาหกรรม
และทรัพยากรมนุษย์ ที่สามารถนาไปประยุกต์ใช้ในการพัฒนาธุรกิจอุตสาหกรรมและแก้ไขปัญหา
เก่ียวกับคนในองค์การได้อยา่ งมีประสิทธผิ ล
6.7.4 สร้างกลยุทธ์เครือข่ายเพ่ือความเข้มแข็งในวิชาชีพทางธุรกิจอุตสาหกรรมและ
ทรัพยากรมนษุ ย์
6.8 วตั ถุประสงคข์ องหลักสูตร
6.8.1 เพ่ือผลิตดุษฎีบัณฑิตให้มีความรู้ ทักษะ เจตคติ ประสบการณ์และจริยธรรมในการ
ประกอบธรุ กจิ เพ่ือพฒั นาธรุ กจิ อุตสาหกรรมและทรัพยากรมนุษย์ให้เกิดประโยชน์สูงสุดต่อองค์การทั้ง
ภาครัฐและเอกชน
6.8.2 เพ่ือผลิตดุษฎีบัณฑิตให้มีความรู้ความสามารถในการทาวิจัยเชิงลึก เพ่ือให้ได้รับองค์
ความรู้ในการบริหารจัดการทางธรุ กิจอตุ สาหกรรมและทรพั ยากรมนุษย์
8
6.8.3 เพ่ือผลิตดุษฎีบัณฑิตที่มีความสามารถในการวิเคราะห์ สังเคราะห์องค์ความรู้ด้านการ
บริหารธุรกิจอุตสาหกรรมและทรัพยากรมนุษย์เพ่ือนาไปใช้ในองค์การหรือสถานประกอบการให้เกิด
ประโยชนส์ งู สุด
6.8.4 เพื่อผลิตดุษฎีบัณฑิตที่มีความสามารถในการบริหารธุรกิจอุตสาหกรรมและทรัพยากร
มนุษย์ในการพัฒนาความคิดอย่างเป็นระบบเพื่อแก้ปัญหาด้านการบริหารธุรกิจอุตสาหกรรมและ
ทรัพยากรมนุษย์
6.9 ผลการเรียนรู้ทคี่ าดหวังของหลกั สูตร (Expected Learning Outcomes : ELO)
6.9.1 ปฏิบัติงานอย่างมืออาชีพ พัฒนาตนเองอย่างสม่าเสมอ มีความประพฤติดี ยึดหลัก
คณุ ธรรม จริยธรรมจรรยาบรรณ และกฎระเบียบทางสงั คม มีน้าใจเอือ้ เฟอื้ เผื่อแผ่ ช่วยเหลือผู้อน่ื และ
มคี วามรับผิดชอบตอ่ ตนเองและสงั คม
6.9.2 สามารถวิเคราะห์ สังเคราะห์ ประยุกต์ใช้และบูรณาการ ความรู้ ทักษะ และ
ความสามารถทางด้านการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ และศาสตร์อ่ืน ๆ เพื่อพัฒนาขีดความสามารถของ
ตนเอง และสรา้ งองค์ความรูใ้ หม่
6.9.3 มีความคิดสร้างสรรค์ ในการใช้ความรู้ ทักษะ และความสามารถในการคิดวิเคราะห์
แยกแยะ และแก้ไขปัญหาอย่างเปน็ ระบบ
6.9.4 มที ักษะในการติดตอ่ สอื่ สารทม่ี ีประสิทธภิ าพและประสทิ ธผิ ล
6.9.5 ศึกษาค้นคว้าข้อมูล เลือกใช้เคร่ืองมือทางสถิติและเลือกใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ ใน
การวเิ คราะหข์ ้อมูลเพอ่ื นาเสนอผลการวิเคราะหข์ ้อมูล
6.9.6 สามารถเสนอแนะแนวทางแก้ไขปัญหาได้อย่างถูกต้องตามหลักวิชาการและนาไปสู่
การประยุกต์ใช้ในงานด้านการพัฒนาสสู่ ากล
6.10 โครงสร้างหลกั สูตร
แบบ 2.1
หมวดวชิ าบงั คับ 45 หน่วยกติ
- วิชาบงั คับ 9 หนว่ ยกติ
- วทิ ยานิพนธ์ 36 หน่วยกติ
หมวดวชิ าเลือก 6 หนว่ ยกติ
- วชิ าเลอื ก 6 หน่วยกิต
รวมตลอดหลักสตู ร 51 หน่วยกิต
6.11 อาชีพทีส่ ามารถประกอบได้
6.11.1ผบู้ รหิ ารในองค์กรธรุ กิจอุตสาหกรรมและผ้เู ก่ยี วข้อง
6.11.2เจ้าของกจิ การหรือผู้ประกอบการ
6.11.3นกั วจิ ยั ทางดา้ นธุรกิจอุตสาหกรรม
6.11.4นกั วิชาการอสิ ระ
6.11.5อาจารยแ์ ละนักวิชาการประจาสถาบันการศึกษาท้ังภาครัฐและเอกชน
6.11.6งานอื่น ๆ ในสาขาทีเ่ กี่ยวข้อง
9
6.12 จานวนนักศกึ ษาในหลกั สตู ร
หลักสูตรมีการรับนักศึกษาใหม่ในทุกภาคการศึกษาที่ 1 ของทุกปีการศึกษา จานวน 20 คน
และในปีการศกึ ษา 2564 มจี านวนนักศกึ ษาดังตารางท่ี 1.1
ตารางท่ี 1.1 จานวนนักศึกษาสูตรบรหิ ารธุรกจิ ดุษฎบี ัณฑิตในปีการศกึ ษา 2564
ระดับชั้นป/ี รหัส 1/64 2/63 3/62 4/61 5/60 6/59 7/58 รวม (คน)
จานวนนกั ศกึ ษา (คน) 15 19* 24** 12 7 1 2 32
* แรกเขา้ มีนกั ศึกษาจานวน 20 คน ลาออก 1 คน
** แรกเข้ามีนกั ศกึ ษาจานวน 25 คน ลาออก 1 คน
6.13 ผสู้ าเร็จการศกึ ษา
นักศึกษาหลักสูตรบริหารธุรกิจดุษฎีบัณฑิตสามารถสาเร็จการศึกษาได้ภายในระยะเวลา 3 - 6 ปี
โดยมเี กณฑ์การสาเร็จการศึกษาตามหลกั สูตร ดังน้ี
1. ศึกษารายวิชาครบถว้ นตามท่ีกาหนดในหลักสตู ร
2. ได้ระดับคะแนนเฉลยี่ สะสมไม่ต่ากว่า 3.00 (จากระบบ 4 ระดบั คะแนน)
3. สอบวดั คณุ สมบัติ (Qualifying Examination) ผ่าน เป็นที่พอใจ
4. เสนอวทิ ยานิพนธ์ และสอบผา่ นการสอบปากเปล่า โดยต้องเปน็ ระบบเปดิ ใหผ้ ู้สนใจเขา้ รบั ฟังได้
5. ผลงานวิทยานิพนธ์หรือส่วนหน่ึงของวิทยานิพนธ์ ต้องได้รับการตีพิมพ์ หรืออย่างน้อย
ได้รับการยอมรับให้ตีพิมพ์ในวารสารระดับชาติหรือระดับนานาชาติท่ีมีคุณภาพ ตามประกาศ
คณะกรรมการการอุดมศึกษา เร่ือง หลักเกณฑ์การพิจารณาวารสารทางวิชาการ สาหรับการเผยแพร่
ผลงานทางวิชาการ จานวน 1 เร่ือง (ฐานข้อมูล Thai Journal Citation Index กลมุ่ 1 หรือ Scopus)
6. เกณฑ์อน่ื ๆ
- กรณีท่ีเรียนรายวิชาหรือทากิจกรรมวิชาการอื่นเพิ่มเติมโดยไม่นับหน่วยกิต ต้องมี
ผลสัมฤทธิ์ตามทีก่ าหนดในหลักสตู ร
- สอบผ่านภาษอังกฤษตามประกาศบัณฑิตวิทยาลัย เรื่อง เกณฑ์มาตรฐาภาษาอังกฤษ
สาหรับนักศกึ ษาระดับบณั ฑติ ศึกษา
ในปีการศึกษา 2564 หลักสูตรบริหารธุรกิจดุษฎีบัณฑิตมีจานวนนักศึกษาที่สาเร็จการศึกษา
ดงั ตารางที่ 1.2
ตารางที่ 1.2 จานวนนักศกึ ษาสูตรบรหิ ารธรุ กจิ ดุษฎีบัณฑติ ทส่ี าเร็จการศึกษาในปีการศึกษา 2564
ระดบั ชัน้ ป/ี รหสั 3/62 4/61 5/60 5/59 6/58 7/57 รวม (คน)
จานวนนกั ศกึ ษา (คน) 20 4 4 - 1 1 30
1.14 ศษิ ยเ์ ก่า
หลกั สตู รบริหารธรุ กิจดษุ ฎีบัณฑิต ผลติ บณั ฑิตทมี่ คี วามรู้ความเชี่ยวชาญดา้ นการบรหิ ารธรุ กิจ
อุตสาหกรรมและด้านการบริหารทรัพยากรมนุษย์ โดยในปัจจบุ ันมีศิษย์เก่าปฎิบัติงานอยู่ท้ังในภาครฐั
และภาคเอกชน เป็นบุคคลผู้ทาชื่อเสียงให้กับหน่วยงาน สังคม และประเทศชาติ และมีศิษย์เก่าของ
หลักสูตรได้รับเลือกตั้งให้ดารงตาแหน่งกรรมการสมาคมศิษย์เก่ามหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้า
พระนครเหนือในพระบรมราชูปถัมภ์ นายกสโมสรบัณฑิตวิทยาลัย และท้ังยงั มีศิษย์เก่าของหลักสูตรที่
ได้รับรางวลั จากภาครฐั และภาคเอกชน ตลอดจนได้เลือ่ นตาแหนง่ ทางวชิ าการทีส่ งู ข้ึน
10
1.15 งบประมาณ
ด้วยหลักสูตรเป็นโครงการพิเศษ (โครงการพัฒนาผู้บริหาร) การบริหารงบประมาณเป็นแบบ
พ่ึงตนเอง (Self-Support) โดยดาเนินการตามประกาศมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ
เร่ือง หลักเกณฑ์การจัดสรรและการเบิกจ่ายเงินรายได้สาหรับหลักสูตรบัณฑิตศึกษาภาคพิเศษ และ
ระเบยี บขอ้ บังคบั อนื่ ๆ ที่เก่ียวข้องของมหาวิทยาลยั
1.16 สง่ิ อานวยความสะดวกและสงิ่ สนบั สนนุ การเรียนรู้
สิ่งอานวยความสะดวกด้านสภาพห้องเรียน ห้องประชุมกลุ่มย่อย ห้องรับรองของว่าง และ
โสตทัศนูปกรณ์ที่ใช้ในการเรียนการสอนมีเพียงพอ ส่วนสิ่งสนับสนุนการเรียนรู้ มหาวิทยาลัย มีความ
พร้อมด้านหนังสือ ตารา และการสืบค้นผ่านฐานข้อมูลโดยมีสานักหอสมุดกลางเป็นศูนย์กลาง ซึ่งได้
จัดซ้ือหนังสือตาราใหม่ ๆ เป็นประจาทุกภาคการศึกษา และในช่วงสถานการณ์การแพร่ระบาดของเชื้อ
ไวรัสโควิด 19 ทางสานักหอสมุดกลางยังได้จับบริการระบบออนไลน์ เช่น บริการค้นหาเอกสารฉบับเต็ม
เปน็ บรกิ ารสืบค้นและจัดส่งเอกสารประเภทไฟล์เอกสารฉบับเต็มต่าง ๆ ทม่ี บี รกิ ารในสานักหอสมุดกลาง
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ หรือจากแหล่งสารสนเทศต่างๆ ท่ีเปิดให้บริการ
เอกสารฉบับเต็ม โดยไม่คดิ ค่าบริการ ซง่ึ จะจัดส่งใหแ้ กผ่ ู้ใช้บริการทาง email ภายใน 1-2 วนั ทาการ โดย
ไม่มีค่าบริการ แต่หากไม่พบเอกสารฉบับเต็มในแหล่งสารสนเทศเหล่าน้ี ห้องสมุดจะมีบริการยืมระหว่าง
ห้องสมุด (Inter Library Loan) ซึ่งเป็นการติดต่อขอใช้บริการยืมจากห้องสมุดสถาบันอุดมศึกษาอ่ืน
ภายในประเทศต่อไป บริการส่งหนังสือถึงมือคุณ (Get Book) เป็นบริการจัดส่งหนังสือท่ีมีให้บริการใน
สานักหอสมุดกลาง และห้องสมุดสาขา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ ไปยัง
ผู้ใช้บริการโดยตรง เพื่ออานวยความสะดวกให้กับนักศึกษา อาจารย์และบุคลากรของมหาวิทยาลัย
เทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ ท่ีมีความต้องการยืมหนังสือเพื่อใช้ประกอบการเรียน การสอน
การวิจัย ศึกษาหาความรู้และเพื่อความบันเทิง โดยผู้ใช้บริการสืบค้นหาหนังสือท่ีต้องการ แล้วกรอก
ข้อมูลลงใน Google Form เพื่อขอรับบริการ เป็นต้น อีกทั้งยังมีทางสานักคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยี
สารสนเทศ (มจพ.) ได้จัดหาซอฟต์แวร์ท่ีมลี ิขสิทธ์ิถูกต้องในนามมหาวิทยาลยั เพอื่ ใชใ้ นการเรียนการสอน
การวิจัย และงานของมหาวิทยาลัยภายใต้เงื่อนไขการใช้งานตามข้อตกลงของแต่ละซอฟต์แวร์ ทาให้
นกั ศึกษามคี วามสะดวกในการใชง้ านเป็นอย่างมาก
11
ส่วนท่ี 2 การกากับมาตรฐาน
ผลการประเมนิ ตนเอง ระดับหลักสูตร ตามเกณฑ์ สกอ. (ตวั บง่ ช้ี 1.1)
อาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร มีภาระหน้าท่ีในการบริหาร พัฒนาหลักสูตร และควบคุม
คุณภาพการจัดการเรียนการสอน โดยอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร ต้องจานวนอย่างน้อย 3 คน
มีคุณวุฒิปริญญาเอกหรือเทียบเท่า หรือช้ันต่าปริญญาโทหรือเทียบเท่าท่ีมีตาแหน่งรองศาสตราจารย์
และมีผลงานทางวิชาการท่ีไม่ใช่ส่วนหนึ่งของการศึกษาเพื่อรับปริญญา และเป็นผลงานทางวิชาการที่
ได้รับการเผยแพร่ตามหลักเกณฑ์ที่กาหนดในการพิจารณาแต่งต้ังให้บุคคลดารงตาแหน่งทางวิชาการ
อย่างน้อย 3 รายการ ในรอบ 5 ปีย้อนหลังนับจากวันท่ีสภามหาวิทยาลัยอนุมัติหลักสูตร โดย
อย่างน้อย 1 รายการต้องเป็นผลงานวิจัย โดยในหลักสูตรบริหารธุรกิจดุษฎีบัณฑิตมีอาจารย์
ผรู้ ับผดิ ชอบหลักสตู ร จานวน 3 คน ดังตารางท่ี 2.1
ตารางท่ี 2.1 รายชอ่ื อาจารย์ผ้รู ับผิดชอบหลักสตู ร
ชอ่ื -นามสกุล คุณวฒุ ิ (สาขาวชิ าเอก) สถาบันทีส่ าเรจ็ การศึกษา
1. รศ.ดร.สมนกึ วสิ ุทธิแพทย์ บธ.ด. (การพฒั นาธรุ กิจอุตสาหกรรม มหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยี
และทรพั ยากรมนษุ ย)์ พระจอมเกล้าพระนครเหนือ
วศ.ม. (วศิ วกรรมอตุ สาหการ) จฬุ าลงกรณม์ หาวทิ ยาลัย
อส.บ. (เทคโนโลยขี นถ่ายวสั ด)ุ สถาบนั เทคโนโลยีพระจอมเกล้า
พระนครเหนือ
2. รศ.ดร.วรกมล วเิ ศษศรี ปร.ด. (สังคมศาสตร์) มหาวิทยาลยั รามคาแหง
M.A. (Master of Arts Central Queensland
Administration) University, Australia.
B.B.A. (Human Resource Central Queensland
Management) University, Australia.
3. ผศ.ดร.กมลนัทธ์ มีถาวร ศ.ด. (เศรษฐศาสตร์) จุฬาลงกรณ์มหาวทิ ยาลัย
ศ.ม. (เศรษฐศาสตร์ธรุ กิจ) มหาวิทยาลยั เกษตรศาสตร์
บธ.บ. (การบริหารธุรกจิ ) มหาวิทยาลยั เชียงใหม่
อาจารย์ประจาหลกั สตู ร อาจารย์ประจาท่ีมีคุณวฒุ ิตรงหรือสัมพนั ธก์ ับสาขาของหลักสูตรท่ี
เปิดสอน ทาหน้าที่สอน และค้นคว้าวิจัยในสาขาดังกล่าว โดยอาจารย์ประจาหลักสูตร ต้องมีคุณวุฒิ
ข้ันต่าปริญญาเอกหรือเทียบเท่า และมีผลงานทางวิชาการท่ีไม่ใช่ส่วนหนึ่งของการศึกษาเพื่อรับ
ปริญญา และเป็นผลงานทางวิชาการท่ีได้รับการเผยแพร่ตามหลักเกณฑ์ท่ีกาหนดในการพิจารณา
แต่งตงั้ ใหบ้ ุคคลดารงตาแหนง่ ทางวิชาการอย่างนอ้ ย 3 รายการ ในรอบ 5 ปี ย้อนหลงั นบั จากวันท่ีสภา
มหาวิทยาลัยอนุมัติหลักสูตร โดยอย่างน้อย 1 รายการต้องเป็นผลงานวิจัย โดยในหลักสูตร
บรหิ ารธุรกิจดษุ ฎีบัณฑิตมอี าจารย์ประจาหลักสตู ร จานวน 15 คน ดงั ตารางที่ 2.2
ตารางที่ 2.2 รายชือ่ อาจารย์อาจารย์ประจาหลกั สูตร
ชื่อ-นามสกุล คุณวฒุ ิ (สาขาวิชาเอก) สถาบนั ทีส่ าเรจ็ การศึกษา
1. รศ.ดร.สมนึก วสิ ุทธิแพทย์ บธ.ด. (การพัฒนาธุรกจิ อตุ สาหกรรมและ มหาวทิ ยาลัยเทคโนโลยี
ทรพั ยากรมนุษย)์ พระจอมเกลา้ พระนครเหนือ
วศ.ม. (วศิ วกรรมอุตสาหการ) จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลยั
อส.บ. (เทคโนโลยขี นถ่ายวัสด)ุ สถาบันเทคโนโลยพี ระจอมเกลา้
พระนครเหนือ
2. รศ.ดร.วรกมล วเิ ศษศรี ปร.ด. (สงั คมศาสตร์) มหาวิทยาลยั รามคาแหง
M.A. (Master of Arts Administration) Central Queensland
University, Australia.
B.B.A. (Human Resource Management) Central Queensland
University, Australia.
3. ผศ.ดร.กมลนัทธ์ มีถาวร ศ.ด. (เศรษฐศาสตร)์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลยั
ศ.ม. (เศรษฐศาสตรธ์ รุ กิจ) มหาวทิ ยาลยั เกษตรศาสตร์
บธ.บ. (การบริหารธรุ กิจ) มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
4. ผศ.ดร.ชุลีวรรณ โชติวงษ์ บธ.ด. (การพัฒนาธรุ กิจอุตสาหกรรมและ มหาวทิ ยาลัยเทคโนโลยี
ทรัพยากรมนษุ ย์) พระจอมเกลา้ พระนครเหนือ
ค.อ.ม. (เทคโนโลยีเทคนิคศึกษา) สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลา้
พระนครเหนอื
บธ.บ. (การจดั การทว่ั ไป) มหาวทิ ยาลยั สุโขทยั ธรรมาธริ าช
5. รศ.ดร.สกั รนิ ทร์ อยผู่ อ่ ง ค.อ.ด. (วิจยั และพัฒนาหลักสตู ร) มหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยี
พระจอมเกลา้ พระนครเหนอื
ค.อ.ม. (บริหารอาชีวะและเทคนคิ ศกึ ษา) สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้า
พระนครเหนอื
ค.บ. (เทคโนโลยแี ละนวตั กรรมทางการศกึ ษา) วทิ ยาลยั ครูพระนคร
6. รศ.ดร.ธรี วชั บณุ ยโสภณ บธ.ด. (การพฒั นาธุรกจิ อตุ สาหกรรมและ มหาวิทยาลยั เทคโนโลยี
ทรัพยากรมนษุ ย)์ พระจอมเกลา้ พระนครเหนอื
บธ.ม. (การพัฒนาทรัพยากรมนุษยเ์ พ่ือ มหาวิทยาลยั เทคโนโลยี
ธุรกจิ อตุ สาหกรรม) พระจอมเกลา้ พระนครเหนือ
วท.บ. (การจดั การเทคโนโลยี สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลา้
การผลิตและสารสนเทศ) พระนครเหนือ
7. ผศ.ดร.เชฐธดิ า บธ.ด. (การพัฒนาธรุ กจิ อตุ สาหกรรมและ มหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยี
กุศลาไสยานนท์ ทรพั ยากรมนุษย์) พระจอมเกล้าพระนครเหนือ
บธ.ม. (การจดั การเทคโนโลยแี ละ มหาวทิ ยาลยั มหาสารคาม
พาณชิ ย์อเิ ล็กทรอนิกส์)
วท.บ. (วทิ ยาการคอมพิวเตอรป์ ระยกุ ต์) สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้า
พระนครเหนอื
8. ผศ.ดร.ปราโมช ธรรมกรณ์ บธ.ด. (การพัฒนาธรุ กิจอตุ สาหกรรมและ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยี
ทรพั ยากรมนุษย์) พระจอมเกล้าพระนครเหนือ
ค.อ.ม. (คอมพวิ เตอรแ์ ละเทคโนโลยี มหาวิทยาลยั เทคโนโลยี
สารสนเทศ) พระจอมเกลา้ ธนบรุ ี
วท.บ. (วิทยาการคอมพิวเตอร)์ วิทยาลยั ครธู นบรุ ี
14
ตารางที่ 2.2 (ตอ่ )
ชอื่ -นามสกุล คณุ วุฒิ (สาขาวิชาเอก) สถาบันทีส่ าเรจ็ การศกึ ษา
9. ผศ.ดร.ธญั ญาทพิ พชิ ิตการคา้ บธ.ด. (การพัฒนาธุรกจิ อตุ สาหกรรมและ มหาวิทยาลยั เทคโนโลยี
พระจอมเกลา้ พระนครเหนอื
ทรัพยากรมนุษย์) สถาบนั บณั ฑิตพัฒนบรหิ ารศาสตร์
มหาวทิ ยาลัยธรรมศาสตร์
รศ.ม. (การบรหิ ารทรัพยากรมนษุ ย)์ มหาวทิ ยาลัยรามคาแหง
มหาวิทยาลัยแมฟ่ ้าหลวง
สค.บ. (สงั คมสงเคราะหศ์ าสตร์) University of Warwick, UK
บธ.บ. (ประชาสมั พันธ์) จุฬาลงกรณ์มหาวทิ ยาลัย
Kaiserslautern University,
10. อ.ดร.ณฏั ฐริ า หอพบิ ลู สุข ปร.ด. (สงั คมศาสตร์) Germany
Erlangen-Nuernberg
M.A. (Training and Human University, Germany
University of Applied
Resources Development) Sciences Aalen, Germany
University of Applied
ร.บ. (ความสมั พนั ธร์ ะหว่างประเทศ) Sciences Giessen/Friedberg,
Germany,
11. ศ.ดร.สุชาติ เซย่ี งฉนิ Dr.-Ing. (Mechanical and Process สถาบันเทคโนโลยพี ระจอมเกล้า
พระนครเหนอื
Engineering) มหาวิทยาลยั เชียงใหม่
วทิ ยาลัยเทคโนโลยีและอาชีวศึกษา
M.Sc. (Material Science) วทิ ยาลัยเทคโนโลยีและอาชวี ศกึ ษา
สถาบนั เทคโนโลยพี ระจอมเกล้า
M.Sc. (Polymer Technology) พระนครเหนอื
สถาบันเทคโนโลยพี ระจอมเกลา้
Dipl.-Ing. (Mechanical Engineering) พระนครเหนือ
สถาบันเทคโนโลยพี ระจอมเกล้า
12. รศ.ดร.สันชยั อนิ ทพชิ ัย ค.อ.ด. (บรหิ ารอาชวี ะและเทคนคิ ศกึ ษา) พระนครเหนอื
University of Grenoble
วศ.ม. (วิศวกรรมโยธา) France
วศ.บ. (วิศวกรรมโยธา) Oklahoma State University,
ค.อ.บ. (วิศวกรรมโยธา) USA
13. รศ.ดร.ไพโรจน์ สถริ ยากร ค.อ.ด. (วจิ ยั และพฒั นาหลักสตู ร) จฬุ าลงกรณ์มหาวิทยาลัย
The University of
ค.อ.ม. (บรหิ ารอาชวี ะและเทคนคิ ศึกษา) Melbourne, Australia
Fort Hays State University
ค.อ.บ. (วศิ วกรรมเคร่อื งกล) มหาวิทยาลัยรามคาแหง
Fort Hays State University
14. รศ.ดร.ภาวิณี บณุ ยโสภณ Ph.D (Industrial Engineering)
M.Sc (Management Information
System)
บธ.บ. (ระบบสารสนเทศทางการจดั การ)
15. รศ.ดร.สภุ ัททา ปณิ ฑะแพทย์ Ed.D. (Policy and Management)
M.S. (Secondary Education)
วท.บ. (จติ วทิ ยาสงั คม)
B.S. (Chemistry)
15
อาจารยผ์ สู้ อน
อาจารย์ประจาภายในมหาวิทยาลัย ท่ีมีคุณวุฒิในสาขาวิชานั้นหรือสาขาวิชาท่ีสัมพันธ์กันหรือ
ในสาขาวิชาของรายวิชาท่ีสอน โดยอาจารย์ผู้สอนท่ีเป็นอาจารย์ประจาต้องมีคุณวุฒิข้ันต่าปริญญาเอก
หรอื เทียบเท่า หรอื ขัน้ ต่าปริญญาโทที่มีตาแหนง่ รองศาสตราจารย์ ในสาขาวิชานน้ั หรือสาขาวิชาทีส่ ัมพันธ์กัน
หรือในสาขาวชิ าของรายวิชาที่สอน และต้องมปี ระสบการณ์ด้านการสอน และมีผลงานทางวชิ าการที่ไม่ใช่
ส่วนหนึ่งของการศึกษาเพื่อรับปริญญา และเป็นผลงานทางวิชาการที่ได้รับการเผยแพร่ตามหลักเกณฑ์ที่
กาหนดในการพิจารณาแต่งตั้งให้บุคคลดารงตาแหน่งทางวิชาการอย่างน้อย 1 รายการ ในรอบ 5 ปี
ย้อนหลังนับจากวันที่สภามหาวิทยาลยั อนุมตั ิหลักสตู ร โดยในหลักสตู รบรหิ ารธรุ กิจดุษฎบี ัณฑิตมอี าจารย์
ผูส้ อนทเี่ ป็นอาจารยป์ ระจาภายในมหาวิทยาลยั จานวน 4 คน ดงั ตารางที่ 2.3
ตารางที่ 2.3 รายชื่ออาจารยผ์ ู้สอนทีเ่ ปน็ อาจารยป์ ระจาภายในมหาวทิ ยาลยั
ชอื่ -นามสกุล คุณวุฒิ รายวิชาท่ีสอน
1. รศ.ดร.สุภัททา ปิณฑะแพทย์ Ed.D. (Policy and Management) 160117101 สถติ แิ ละการวจิ ยั ขนั้ สูง
ดา้ นการพฒั นาธุรกิจอุตสาหกรรม
และทรัพยากรมนษุ ย์
2. รศ.ดร.สกั รนิ ทร์ อยู่ผ่อง ค.อ.ด. (วิจยั และพฒั นาหลกั สูตร) 160117103 ยทุ ธศาสตรก์ ารเสริมสร้าง
ขีดความสามารถของมนษุ ย์ในธรุ กิจ
อุตสาหกรรม
3. ผศ.ดร.ชุลีวรรณ โชตวิ งษ์ บธ.ด. (การพฒั นาธรุ กิจอตุ สาหกรรม 160117205 ยุทธศาสตรก์ ารตดั สินใจ
และทรัพยากรมนุษย)์ เพอ่ื พัฒนาธุรกจิ อุตสาหกรรมและ
ทรพั ยากรมนษุ ย์
4. รศ.ดร.ภาวิณี บณุ ยโสภณ Ed.D. (Policy and Management) 160117201สมั มนาการพัฒนาธรุ กจิ
อุตสาหกรรมและทรัพยากรมนษุ ย์
160117102 การบรหิ ารทรัพยากร
มนษุ ยข์ ัน้ สงู ในธรุ กิจอุตสาหกรรม
อาจารย์พิเศษนอกมหาวิทยาลัย ที่มีคุณวุฒิในสาขาวิชานั้นหรือสาขาวิชาท่ีสัมพันธ์กันหรือใน
สาขาวิชาของรายวิชาท่ีสอน โดยอาจารย์ผู้สอนท่ีเป็นอาจารย์พิเศษต้องมีคุณวุฒิขั้นต่าปริญญาเอก หรือ
เทียบเท่าในสาขาวิชานั้นหรือสาขาวิชาท่ีสัมพันธ์กัน หรือในสาขาวิชาของรายวิชาท่ีสอน และต้องมี
ประสบการณ์ด้านการสอนและมีผลงานทางวิชาการที่ไม่ใช่ส่วนหนึ่งของการศึกษาเพื่อรับปริญญา และ
เป็นผลงานทางวิชาการที่ได้รับการเผยแพร่ตามหลักเกณฑ์ท่ีกาหนดในการพิจารณาแต่งต้ังให้บุคคลดารง
ตาแหน่งทางวิชาการอย่างน้อย 1 รายการ ในรอบ 5 ปีย้อนหลังนับจากวันท่ีสภามหาวิทยาลัยอนุมัติ
หลักสูตร ท้ังน้ี ต้องมีช่ัวโมงสอนไม่เกินร้อยละ 50 ของรายวิชา โดยมีอาจารย์ประจาเป็นผู้รับผิดชอบ
รายวชิ านั้น
โ ด ย ใ น ห ลั ก สู ต ร บ ริ ห า ร ธุ ร กิ จ ดุ ษ ฎี บั ณ ฑิ ต มี อ า จ า ร ย์ ผู้ ส อ น ท่ี เ ป็ น อ า จ า ร ย์ พิ เ ศ ษ ภ า ย น อ ก
มหาวิทยาลัย จานวน 2 คน ดงั ตารางท่ี 2.4
ตารางท่ี 2.4 รายชอ่ื อาจารย์ผสู้ อนทเ่ี ปน็ อาจารย์พิเศษภายนอกมหาวิทยาลยั
ช่ือ-นามสกุล คุณวุฒิ รายวชิ าทีส่ อน
1. ดร.ปรดี า อัตวนิ ิจตระการ กศ.ด. (การจัดการภาครัฐ) 160117205 ยทุ ธศาสตรก์ ารตัดสนิ ใจ
เพอ่ื พฒั นาธรุ กิจอุตสาหกรรมและ
ทรพั ยากรมนษุ ย์
16
ตารางที่ 2.4 (ตอ่ ) คุณวุฒิ รายวิชาทีส่ อน
ช่ือ-นามสกุล
Ed.D. (Human Resource 160117201 สัมมนาการพฒั นาธุรกจิ
2. ศ.ดร.ธีรวุฒิ บุณยโสภณ Development) อตุ สาหกรรมและทรัพยากรมนุษย์
160117102 การบริหารทรพั ยากร
มนษุ ยข์ น้ั สงู ในธรุ กจิ อุตสาหกรรม
อาจารย์ที่ปรกึ ษาวิทยานพิ นธ์หลัก ต้องเป็นอาจารย์ประจาหลกั สูตร มคี ุณวุฒิปริญญาเอกหรือ
เทียบเท่า หรือขั้นต่าปริญญาเอกหรือเทียบเท่าที่มีตาแหน่งรองศาสตราจารย์ และมีผลงานทางวิชาการท่ี
ไม่ใช่ส่วนหนึ่งของการศึกษาเพ่ือรับปริญญา และเป็นผลงานทางวิชาการที่ได้รับการเผยแพร่ตาม
หลักเกณฑ์ที่กาหนดในการพิจารณาแต่งตั้งให้บุคคลดารงตาแหน่งทางวิชาการอย่างน้อย 3 รายการ ใน
รอบ 5 ปีย้อนหลังนับจากวันท่ีสภามหาวิทยาลัยอนุมัติหลักสูตร โดยอย่างน้อย 1 รายการต้องเป็น
ผลงานวิจัย และมีภาระงานทป่ี รกึ ษาวิทยานิพนธ์ ดังน้ี
(1) อาจารย์ประจาหลักสูตร 1 คน ให้เป็นอาจารย์ท่ีปรึกษาวิทยานิพนธ์หลักของนักศึกษา
ปริญญาโทและปริญญาเอกตามหลกั เกณฑ์ ดังนี้
กรณีอาจารย์ประจาหลักสูตรมีคุณวุฒิปริญญาเอกหรือเทียบเท่า และมีผลงานทางวิชาการตาม
เกณฑ์ ใหเ้ ป็นอาจารยท์ ี่ปรึกษาวิทยานพิ นธข์ องนักศึกษาระดบั ปรญิ ญาโทและเอกรวมไดไ้ ม่เกิน 5 คน
กรณีอาจารย์ประจาหลักสูตรมีคุณวุฒิปริญญาเอกหรือเทียบเท่า และดารงตาแหน่ง
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ขึ้นไป หรือมีคุณวุฒิปริญญาโทหรือเทียบเท่าท่ีมีตาแหน่งรองศาสตราจารย์ขึ้นไป และ
มีผลงานทางวิชาการตามเกณฑ์ ให้เป็นอาจารย์ท่ีปรึกษาวิทยานิพนธ์ของนักศึกษาระดับปริญญาโทและ
เอกรวมไดไ้ มเ่ กนิ 10 คน
กรณีอาจารย์ประจาหลักสูตรมีคุณวุฒิปริญญาเอกหรือเทียบเท่า และดารงตาแหน่ง
ศาสตราจารย์ และมคี วามจาเป็นต้องดูแลนักศึกษาเกนิ กว่า 10 คน ให้เสนอตอ่ สภามหาวิทยาลัยพิจารณา
แต่ท้ังน้ีต้องไม่เกิน 15 คน หากมีความจาเป็นต้องดูแลนักศึกษามากกว่า 15 คน ให้ขอความเห็นชอบจาก
คณะกรรมการการอดุ มศึกษาเป็นรายกรณี
โดยในหลักสูตรบริหารธุรกิจดุษฎีบัณฑิตได้แต่งต้ังอาจารย์ที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์หลัก จานวน 7
คน ดงั ตารางที่ 2.5
17
ตารางท่ี 2.5 รายชื่ออาจารย์ทป่ี รึกษาวทิ ยานิพนธห์ ลัก
ชอื่ -นามสกุล จานวน/ช่อื นกั ศึกษา/ชอ่ื วิทยานพิ นธ์
1. รศ.ดร.สมนึก วิสทุ ธิแพทย์ วิทยานิพนธ์ จานวน 10 เร่ือง
1. นางสาวปิยะศิริ เรอื งศรมี น่ั เรอ่ื ง รปู แบบการพฒั นาอตุ สาหกรรมแปรรปู อาหาร
สอู่ ตุ สาหกรรมสีเขียว
2. นายอดิศกั ด์ิ วรพวิ ุฒิ เรื่อง การพฒั นารปู แบบศักยภาพของผบู้ ริหารสานักงาน
การท่องเทย่ี วและกีฬาจงั หวัดในยุคเศรษฐกิจดจิ ทิ ัล
3. นายปติ ิณชั ศ์ ไชยประเสรฐิ เร่ือง รูปแบบการพัฒนาศักยภาพผู้บริหาร
หน่วยงานจัดหาวัตถุดบิ สาหรับอตุ สาหกรรมปโิ ตรเคมีในยคุ เศรษฐกิจดิจทิ ลั
4. นายสุรธัช เพยี รประสิทธิ์ เรอ่ื ง รปู แบบการพัฒนาศกั ยภาพผบู้ ริหารฝา่ ยผลิตใน
อุตสาหกรรมแปรรปู อาหารเพอื่ การแข่งขนั ในยุคดจิ ิทัล
5. นางสาวบรดิ ตา อนิ รญั เร่ือง การพฒั นารปู แบบสมรรถนะนักเทคโนโลยใี น
อุตสาหกรรมดิจทิ ลั
6. นายณัฐฐพนั ธ์ ทศั นนพิ นั ธ์ เรอ่ื ง การพฒั นารปู แบบวฒั นธรรมองคก์ รในธรุ กิจ
ก่อสร้างขนาดใหญ่เพอ่ื การแขง่ ขนั อยา่ งยั่งยืน
7. นางสาวกานตร์ วี ทองพูล เรื่อง การพัฒนารปู แบบศกั ยภาพผู้บรหิ ารการรถไฟ
แหง่ ประเทศไทย เพอื่ เพ่มิ ประสทิ ธิภาพในการให้บริการสาธารณะในยคุ ดิจทิ ัล
8. นายวรี ะศกั ด์ิ วานิชวฒั น์ เรอื่ ง การพฒั นารปู แบบศักยภาพของผู้จดั การ
โครงการในอตุ สาหกรรมกอ่ สรา้ งอาคารสงู ในยคุ เศรษฐกจิ ดจิ ทิ ัล
9. นายศักดิส์ ริ ิ มีสวสั ด์ิ เรอื่ ง การพัฒนารูปแบบศกั ยภาพผูบ้ ริหารจดั การในระบบ
สายกาผลิต เพื่อรองรบั การผลิตในอุตสาหกรรมยานยนตย์ ุคดจิ ิทลั
10. วา่ ท่ีรอ้ ยเอกสถาพร ประกอบผล เร่ือง การพฒั นารปู แบบศกั ยภาพของนัก
เทคโนโลยสี ารสนเทศทหารสงั กัดกระทรวงกลาโหมเพอื่ ความม่ันคงของประเทศ
2. รศ.ดร.วรกมล วิเศษศรี วิทยานิพนธ์ จานวน 3 เร่ือง
1. นายสมพร น้อยสาราญ เรอ่ื ง การพัฒนารปู แบบศักยภาพผปู้ ระกอบการ
อตุ สาหกรรมฟารม์ ไกเ่ น้ือขนาดกลางและขนาดเลก็ เพือ่ การพงึ่ พาตนเองในยคุ
เศรษฐกิจดิจทิ ัล
2. นายเสรมิ ศักดิ์ ยงั่ ยนื เรื่อง การพัฒนารปู แบบสมรรถนะของผูจ้ ดั การแผนกซ่อม
บารุง ในโรงงานอุตสาหกรรมแปรรูปอาหาร
3. นายอนชุ า กาญจนกุลไพศาล เรอ่ื ง การพฒั นารปู แบบศักยภาพของหวั หน้างาน
ในโรงงานอตุ สาหกรรมผลิตยาภาครฐั เพ่ือการแข่งขนั ในยคุ อุตสาหกรรม 4.0
3. รศ.ดร.สกั รนิ ทร์ อยผู่ ่อง วิทยานพิ นธ์ จานวน 8 เร่อื ง
1. นายอานาจ ศรเี กดิ เรื่อง รปู แบบการพัฒนาอุตสาหกรรมการซอ่ มบารุงอากาศ
ยานของประเทศไทย
2. นางสาวจงรักษ์ สมใจ เรอื่ ง รปู แบบการบรหิ ารจดั การธรุ กิจสถานีบรกิ ารนา้ มนั
เช้ือเพลงิ แบบครบวงจรขนาดกลางและขนาดยอ่ ม
3. นางสาวสุภาพร คณาทรัพย์ เร่อื ง รูปแบบการพฒั นาศกั ยภาพผจู้ ดั การบัญชี
ธรุ กิจกลมุ่ อาหารและเครอื่ งดมื่ ในยุคดจิ ทิ ลั
4. นายณรงค์ พศิ ิลป์ เรือ่ ง การพฒั นารูปแบบการบรหิ ารจดั การธรุ กิจบรกิ ารจดั
จา้ งงานจากภายนอกองคก์ รเพอื่ เพิม่ ขดี ความสามารถในการแขง่ ขนั
5. นางอมรรัตน์ ชมุ ภู เร่อื ง การพัฒนารูปแบบการบรหิ ารจัดการอุตสาหกรรมโรง
โม่และเหมอื งหิน เพ่ือการแข่งขัน
18
ตารางที่ 2.5 (ตอ่ ) จานวน/ชือ่ นักศกึ ษา/ช่อื วิทยานพิ นธ์
ช่ือ-นามสกุล
6. นายนันทวชิ ช์ วรรณเสน เร่อื ง การพฒั นารูปแบบศักยภาพผปู้ ระกอบการ
4. รศ.ดร.ธีรวชั บณุ ยโสภณ อู่ซอ่ มรถยนต์ในยุคเศรษฐกจิ สร้างสรรค์
7. นางสาวดนติ า กญุ ชรเพชร เรอื่ ง การพัฒนารูปแบบการบรหิ ารจดั การ
5. ศ.ดร.สุชาติ เซ่ยี งฉิน ธรุ กจิ อุตสาหกรรมการแปรรูปอาหารภายใตว้ ิกฤตเศรษฐกิจ
8. นายกฤษดา เดชาธพิ าโชติ เรือ่ ง การพัฒนารูปแบบศกั ยภาพผบู้ รหิ าร
โรงงานอุตสาหกรรมผลิตอาหารขนาดย่อม เพอื่ เพิม่ ขีดความสามารถในการ
แข่งขนั
วิทยานิพนธ์ จานวน 7 เรอ่ื ง
1. นางสาวขวญั ทิพย์ มีสมกรณ์ เรอื่ ง การพฒั นารปู แบบศักยภาพชา่ งอากาศ
ยานในยุคเศรษฐกจิ ดจิ ิทัล
2. นางสาวณภทั รมณ พลาพล เรอื่ ง การพัฒนารปู แบบการบริหารทรพั ยากร
มนุษยส์ าหรับผู้เกษยี ณอายุงานในธุรกจิ อุตสาหกรรมการผลิต
3. นายจิรซั ย์ เหรยี ญชัยวานชิ เรอื่ ง การพฒั นารปู แบบศกั ยภาพ
นักวทิ ยาศาสตร์ข้อมลู ขององคก์ รในยุคดจิ ทิ ลั
4. นายพงศกร ปรชี าวิทย์ เร่ือง การพัฒนารูปแบบสมรรถนะผู้จดั การฝ่าย
จดั ซ้อื ของบริษทั กอ่ สร้างในยคุ ดจิ ทิ ัล
5. นางสาววจิ ิตรา สรรพอาษา เรอ่ื ง การพฒั นารปู แบบศักยภาพ
ผ้ปู ระกอบการในธุรกจิ อตุ สาหกรรมเคร่อื งนุง่ หม่ สาเร็จรปู
6. นายพัลลภ บวรพฒั นานนท์ เรอ่ื ง การพัฒนารปู แบบการบริหารจัดการ
ธรุ กจิ ศูนย์บรกิ ารยางรถยนตค์ รบวงจร เพื่อเพิม่ ขดี ความสามารถในการแขง่ ขนั
7. นายนกิ ร ไร่ดี เรอื่ ง การพฒั นารปู แบบศักยภาพผู้บรหิ ารฝา่ ยควบคุม
คณุ ภาพของอุตสาหกรรมยานยนตใ์ นยุคอตุ สาหกรรม 4.0
วิทยานิพนธ์ จานวน 11 เรอ่ื ง
1. นางสาวนฤมล ขาวดี เรอ่ื ง รปู แบบการพัฒนาสมรรถนะของวศิ วกรต้นทนุ
ในอุตสาหกรรมกอ่ สร้าง
2. นายทรงยศ สารภาพ เร่อื ง การพัฒนารูปแบบการสง่ เสริมผู้ประกอบการ
SMEs ในธรุ กิจอตุ สาหกรรมเกษตรแปรรูปใน 3 จังหวดั ชายแดนภาคใต้
3. นางจนิ ตนา โชควรวัฒนกร เรอื่ ง การพัฒนารปู แบบการบรหิ ารความเสย่ี ง
ทางธรุ กิจของอตุ สาหกรรมชน้ิ ส่วนยานยนต์ในยุคดจิ ิทลั
4. นายวสนั ต์ พลาศยั เรอ่ื ง การพฒั นารูปแบบศักยภาพผู้จัดการวิสาหกจิ
ชมุ ชนอาหารฮาลาลจงั หวัดชายแดนใต้
5. นายวรี ะ เเสงฮวด เรื่อง การพฒั นารูปแบบศกั ยภาพผบู้ ริหารฝา่ ยควบคมุ
คุณภาพในอุตสาหกรรมการผลติ ชิ้นส่วนยานยนต์เพ่ือการแขง่ ขนั
6. นายสายัณห์ ปานซัง เรอื่ ง การพฒั นารปู แบบศกั ยภาพของผจู้ ดั การสว่ น
บริหารการผลิตในอุตสาหกรรมผลติ ไฟฟา้
7. นางณพิชญา เทพรอด เร่ือง รปู แบบการพฒั นาศกั ยภาพด้านการบรหิ าร
จัดการของนกั เทคโนโลยีปัญญาประดษิ ฐภ์ าครัฐ
8. นายฉัฐวฒั น์ ภกั ดี เรื่อง การพฒั นารูปแบบศกั ยภาพผู้นาด้านการ
ขับเคล่ือนนวตั กรรมในอุตสาหกรรมไทยในยคุ เศรษฐกจิ พลิกผัน
19
ตารางที่ 2.5 (ต่อ)
ชื่อ-นามสกุล จานวน/ช่อื นกั ศึกษา/ชอ่ื วทิ ยานพิ นธ์
6. รศ.ดร.ไพโรจน์ สถิรยากร 9. นางสาวปญุ ชรสั ม์ิ ตันประภสั ร์ เรือ่ ง การพฒั นารูปแบบการบรหิ ารจดั การ
7. รศ.ดร.สภุ ทั ทา ปณิ ฑะแพทย์ ธุรกิจการศกึ ษาเอกชนในยคุ เศรษฐกจิ พลิกผนั
10. นายธนะโรจน์ พงศก์ ติ ตอิ สิ รา เร่ือง การพฒั นารปู แบบศกั ยภาพผจู้ ดั การ
ฝา่ ยผลติ ด้านการบรหิ ารจัดการโรงงานอตุ สาหกรรมยานยนต์ขบั เคลือ่ นด้วย
เทคโนโลยีปัญญาประดษิ ฐ์ (AI)
11. นายพลธร พดุ กล่ัน เรื่อง การพฒั นารปู แบบศักยภาพหวั หนา้ ฝา่ ยผลิต
ของอุตสาหกรรมอิเลก็ ทรอนกิ สใ์ นยคุ ประเทศไทย 4.0
วทิ ยานิพนธ์ จานวน 1 เรือ่ ง
1. นางสาวศศิภา จนั ทรกั ษ์ เร่อื ง การพฒั นารปู แบบศักยภาพบุคลากรของ
ทมี งานด้านการจดั การความรขู้ องรัฐวสิ าหกิจในประเทศไทย
วิทยานพิ นธ์ จานวน 9 เร่อื ง
1. นางสาวนจิ ปัณฑน์ ีร์ ชาวบ้านเกาะ เร่ือง รปู แบบความสมั พนั ธเ์ ชิงสาเหตุ
ของปัจจัยทสี่ ง่ ผลตอ่ ประสิทธิภาพในการทางานของพนกั งานในอตุ สาหกรรม
ยานยนต์
2. นางสาวมนต์ณัฎ ขยันหา เรื่อง ปจั จัยท่ีมอี ิทธิพลตอ่ การตดั สินใจเลอื กซ้ือที่
พกั อาศัยของผสู้ ูงวยั ในยคุ สงั คมผสู้ งู อายุ
3. นายอศิ เรศ อศิ รางกูร ณ อยธุ ยา เรอ่ื ง การพฒั นารปู แบบศกั ยภาพ
ผบู้ รหิ ารสานักงานรฐั มนตรี เพอ่ื คุณภาพการปฏบิ ัติงานในยุคดจิ ทิ ลั
4. นายพศนิ แปลกสิริ เร่อื ง การพฒั นารปู แบบความสัมพันธ์เชิงเหตรุ ะหวา่ ง
ความผกู พัน ต่อองคก์ ารและประสทิ ธภิ าพในการทางานทส่ี ่งผลต่อ
ความก้าวหน้าในอาชพี
5. นางสาวชนัญชดิ า ขวญั ใจ เรือ่ ง การพัฒนารูปแบบการบรหิ ารจดั การธุรกจิ
การออกแบบงานสถาปตั ยกรรมในยคุ ดจิ ิทัล
6. นางสาวเขมณัฏฐ์ ยทุ ธวสิ ทุ ธ์ิ เรือ่ ง การพัฒนารูปแบบการบริหารจดั การ
ระบบการใหบ้ ริการสุขภาพ ในระดบั บริการปฐมภมู ิแบบบรู ณาการในยคุ ดจิ ทิ ัล
7. นายเชาวลิต อปุ ฐาก เรื่อง การพฒั นารปู แบบศักยภาพของผู้ประกอบการ
อตุ สาหกรรมอาหารสาหรบั ผู้สงู อายุเพอื่ สุขภาพในยคุ ดจิ ิทัล
8. นางสาวสบุ งกช เผือกแดง เร่ือง การพฒั นารปู แบบศกั ยภาพของพนกั งาน
ในหน่วยปฏบิ ตั งิ านบรกิ ารลูกคา้ สมั พันธใ์ นยคุ ดจิ ิทัล
9. นางเอกนารี สวัสด์นิ ที เรื่อง การพฒั นารปู แบบการจดั การองคค์ วามรู้ใน
ระบบการศกึ ษาเพอื่ สง่ เสริมธรุ กจิ อตุ สาหกรรมอาหารสคู่ รัวโลก
อาจารยท์ ี่ปรกึ ษาวิทยานพิ นธ์ร่วม
อาจารย์ท่ีปรึกษาวิทยานิพนธ์ร่วมที่เป็นอาจารย์ประจา ต้องมีคุณวุฒิและผลงานทางวิชาการ
เช่นเดียวกับอาจารย์ท่ีปรึกษาวิทยานิพนธห์ ลัก คือมคี ุณวุฒิปรญิ ญาเอกหรือเทียบเท่า หรือขนั้ ต่าปรญิ ญาโท
หรือเทียบเท่าท่ีมีตาแหน่งรองศาสตราจารย์ และมีผลงานทางวิชาการที่ไม่ใช่ส่วนหน่ึงของการศึกษาเพื่อ
รับปริญญา และเป็นผลงานทางวิชาการที่ได้รับการเผยแพร่ตามหลักเกณฑ์ที่กาหนดในการพิจารณา
แต่งตั้งให้บุคคลดารงตาแหน่งทางวิชาการอย่างน้อย 3 รายการ ในรอบ 5 ปีย้อนหลังนับจากวันที่สภา
มหาวทิ ยาลยั อนุมัตหิ ลักสตู ร โดยอยา่ งนอ้ ย 1 รายการตอ้ งเป็นผลงานวิจัย
20
โดยในหลักสูตรบริหารธุรกิจดุษฎีบัณฑิตได้แต่งต้ังอาจารย์ท่ีปรึกษาวิทยานิพนธ์ร่วมท่ีเป็น
อาจารย์ประจามหาวทิ ยาลยั จานวน 12 คน ดังตารางท่ี 2.6
ตารางที่ 2.6 รายชอ่ื อาจารย์ทป่ี รึกษาวทิ ยานิพนธร์ ่วมท่ีเป็นอาจารยป์ ระจามหาวิทยาลัย
ช่อื -นามสกุล จานวน/ช่อื นกั ศึกษา/ชื่อวิทยานพิ นธ์
1. รศ.ดร.สมนึก วิสทุ ธแิ พทย์ วิทยานิพนธ์ จานวน 10 เรอ่ื ง
1. นางสาวนฤมล ขาวดี เรอ่ื ง รปู แบบการพฒั นาสมรรถนะของวศิ วกรต้นทุน
ในอตุ สาหกรรมก่อสร้าง
2. นายทรงยศ สารภาพ เรื่อง การพฒั นารปู แบบการสง่ เสรมิ ผ้ปู ระกอบการ
SMEs ในธุรกจิ อุตสาหกรรมเกษตรแปรรูปใน 3 จงั หวดั ชายแดนภาคใต้
3. นางจนิ ตนา โชควรวฒั นกร เรอื่ ง การพฒั นารปู แบบการบริหารความเสี่ยง
ทางธุรกิจของอุตสาหกรรมชิ้นสว่ นยานยนตใ์ นยุคดจิ ทิ ลั
4. นายพงศกร ปรชี าวิทย์ เรอ่ื ง การพัฒนารูปแบบสมรรถนะผ้จู ดั การฝ่าย
จดั ซ้ือของบริษัทกอ่ สร้างในยุคดจิ ิทัล
5. นายวสันต์ พลาศัย เรื่อง การพฒั นารปู แบบศกั ยภาพผจู้ ัดการวสิ าหกิจ
ชมุ ชนอาหารฮาลาลจังหวัดชายแดนใต้
6. นายสายณั ห์ ปานซัง เรอื่ ง การพัฒนารูปแบบศักยภาพของผ้จู ดั การส่วน
บริหารการผลติ ในอุตสาหกรรมผลติ ไฟฟ้า
7. นางอมรรตั น์ ชุมภู เรอ่ื ง การพัฒนารูปแบบการบริหารจดั การ
อุตสาหกรรมโรงโมแ่ ละเหมืองหนิ เพอ่ื การแขง่ ขัน
8. นายธนะโรจน์ พงศก์ ติ ติอสิ รา เร่ือง การพัฒนารปู แบบศกั ยภาพผู้จัดการ
ฝา่ ยผลิตด้านการบรหิ ารจดั การโรงงานอตุ สาหกรรมยานยนตข์ ับเคลือ่ นดว้ ย
เทคโนโลยีปัญญาประดิษฐ์ (AI)
9. นายนกิ ร ไร่ดี เรอ่ื ง การพัฒนารปู แบบศกั ยภาพผบู้ รหิ ารฝา่ ยควบคุม
คุณภาพของอุตสาหกรรมยานยนต์ในยคุ อตุ สาหกรรม 4.0
10. นายพลธร พดุ กลนั่ เรื่อง การพัฒนารปู แบบศักยภาพหวั หน้าฝา่ ยผลติ
ของอุตสาหกรรมอิเล็กทรอนกิ ส์ในยุคประเทศไทย 4.0
2. รศ.ดร.วรกมล วเิ ศษศรี วิทยานิพนธ์ จานวน 1 เรื่อง
1. นางสาวมนตณ์ ัฎ ขยนั หา เร่อื ง ปัจจยั ท่ีมอี ิทธพิ ลตอ่ การตดั สินใจเลือกซื้อที่
พักอาศยั ของผูส้ งู วยั ในยคุ สงั คมผสู้ งู อายุ
5. รศ.ดร.สกั รนิ ทร์ อยูผ่ อ่ ง วทิ ยานิพนธ์ จานวน 1 เรื่อง
1. นางสาวศศิภา จนั ทรักษ์ เรอ่ื ง การพฒั นารปู แบบศกั ยภาพบคุ ลากรของ
ทีมงานดา้ นการจดั การความรู้ของรัฐวิสาหกิจในประเทศไทย
6. รศ.ดร.ธรี วชั บณุ ยโสภณ วิทยานพิ นธ์ จานวน 5 เรื่อง
1. นายพศนิ แปลกสริ ิ เรอ่ื ง การพฒั นารูปแบบความสมั พนั ธเ์ ชงิ เหตรุ ะหวา่ ง
ความผกู พนั ตอ่ องคก์ ารและประสทิ ธภิ าพในการทางานท่สี ง่ ผลตอ่
ความกา้ วหน้าในอาชีพ
2. นางสาวบริดตา อนิ รญั เรอื่ ง การพฒั นารปู แบบสมรรถนะนกั เทคโนโลยใี น
อุตสาหกรรมดจิ ทิ ลั
3. นายสายัณห์ ปานซงั เรอื่ ง การพัฒนารูปแบบศกั ยภาพของผู้จดั การสว่ น
บรหิ ารการผลติ ในอตุ สาหกรรมผลติ ไฟฟา้
21
ตารางท่ี 2.6 (ต่อ) จานวน/ชือ่ นักศึกษา/ชอ่ื วทิ ยานพิ นธ์
ชือ่ -นามสกุล
4. นางสาวปุญชรัสมิ์ ตนั ประภสั ร์ เร่ือง การพัฒนารปู แบบการบรหิ ารจดั การ
7. ผศ.ดร.ปราโมช ธรรมกรณ์ ธรุ กจิ การศกึ ษาเอกชนในยคุ เศรษฐกจิ พลกิ ผัน
8. ศ.ดร.สุชาติ เซ่ียงฉนิ 5. นายศกั ด์สิ ริ ิ มีสวัสด์ิ เรอ่ื ง การพฒั นารูปแบบศกั ยภาพผูบ้ รหิ ารจัดการใน
ระบบสายกาผลิต เพอื่ รองรบั การผลติ ในอุตสาหกรรมยานยนตย์ ุคดจิ ทิ ัล
9. รศ.ดร.ไพโรจน์ สถิรยากร
10. รศ.ดร.ภาวิณี บุณยโสภณ วิทยานพิ นธ์ จานวน 1 เร่อื ง
1. นายอานาจ ศรเี กิด เรอ่ื ง รปู แบบการพัฒนาอตุ สาหกรรมการซอ่ มบารุง
11. รศ.ดร.สภุ ัททา ปณิ ฑะแพทย์ อากาศยานของประเทศไทย
วิทยานิพนธ์ จานวน 4 เรอ่ื ง
1. นางสาวปิยะศิริ เรอื งศรมี ่ัน เรอื่ ง รปู แบบการพัฒนาอุตสาหกรรมแปรรูป
อาหารส่อู ตุ สาหกรรมสเี ขยี ว
2. นายเชาวลิต อปุ ฐาก เรอื่ ง การพัฒนารปู แบบศกั ยภาพของผู้ประกอบการ
อตุ สาหกรรมอาหารสาหรับผู้สงู อายุเพ่อื สขุ ภาพในยุคดจิ ิทัล
3. นายณฐั ฐพนั ธ์ ทศั นนิพันธ์ เรอื่ ง การพฒั นารูปแบบวฒั นธรรมองคก์ รใน
ธรุ กิจก่อสรา้ งขนาดใหญเ่ พือ่ การแขง่ ขันอย่างยง่ั ยนื
4. นางสาวกานต์รวี ทองพลู เรอ่ื ง การพัฒนารูปแบบศกั ยภาพผูบ้ รหิ ารการ
รถไฟแห่งประเทศไทย เพื่อเพิ่มประสทิ ธภิ าพในการใหบ้ ริการสาธารณะในยุค
ดิจทิ ัล
วิทยานพิ นธ์ จานวน 2 เรอ่ื ง
1. นางสาวสภุ าพร คณาทรัพย์ เร่อื ง รูปแบบการพฒั นาศกั ยภาพผจู้ ดั การ
บัญชีธุรกิจกลุม่ อาหารและเครือ่ งดืม่ ในยุคดิจทิ ลั
2. นางสาวดนิตา กญุ ชรเพชร เรอ่ื ง การพฒั นารูปแบบการบริหารจดั การ
ธรุ กจิ อตุ สาหกรรมการแปรรูปอาหารภายใตว้ ิกฤตเศรษฐกิจ
วทิ ยานิพนธ์ จานวน 3 เรือ่ ง
1. นางสาวชนญั ชดิ า ขวญั ใจ เรือ่ ง การพฒั นารปู แบบการบรหิ ารจัดการธุรกิจ
การออกแบบงานสถาปัตยกรรมในยคุ ดิจทิ ัล
2. นางสาวสบุ งกช เผอื กแดง การพฒั นารูปแบบศักยภาพของพนักงานใน
หนว่ ยปฏิบตั ิงานบรกิ ารลูกคา้ สัมพนั ธใ์ นยคุ ดจิ ิทัล
3. นางเอกนารี สวสั ดิ์นที เรือ่ ง การพัฒนารูปแบบการจดั การองคค์ วามรู้ใน
ระบบการศกึ ษาเพ่อื สง่ เสรมิ ธุรกจิ อตุ สาหกรรมอาหารสูค่ รวั โลก
วทิ ยานิพนธ์ จานวน 7 เรื่อง
1. นางสาวขวญั ทพิ ย์ มีสมกรณ์ เรือ่ ง การพัฒนารูปแบบศกั ยภาพช่างอากาศ
ยานในยุคเศรษฐกจิ ดิจิทลั
2. นางสาวณภัทรมณ พลาพล เรอื่ ง การพฒั นารูปแบบการบรหิ ารทรัพยากร
มนษุ ย์สาหรบั ผ้เู กษียณอายุงานในธุรกจิ อตุ สาหกรรมการผลติ
3. นายปัถย์ อนวุ รรณ เร่ือง การพฒั นารปู แบบศกั ยภาพผู้จัดการโครงการ
กอ่ สรา้ งระบบขนสง่ มวลชน
4. นางสาววจิ ิตรา สรรพอาษา เรอ่ื ง การพฒั นารูปแบบศกั ยภาพ
ผปู้ ระกอบการในธรุ กิจอุตสาหกรรมเครอ่ื งนุ่งห่มสาเรจ็ รปู
22
ตารางท่ี 2.6 (ต่อ) จานวน/ช่ือนกั ศึกษา/ช่ือวิทยานพิ นธ์
ชอื่ -นามสกุล
5. นายฉฐั วัฒน์ ภักดี เรื่อง การพฒั นารูปแบบศกั ยภาพผนู้ าด้านการ
12. รศ.ดร.ชาญชยั ทองประสทิ ธิ์ ขบั เคลอ่ื นนวตั กรรมในอตุ สาหกรรมไทยในยคุ เศรษฐกิจพลกิ ผนั
6. นางสาวปุญชรสั มิ์ ตันประภัสร์ เรอ่ื ง การพัฒนารูปแบบการบรหิ ารจดั การ
ธรุ กจิ การศกึ ษาเอกชนในยุคเศรษฐกิจพลกิ ผัน
7. ว่าทีร่ ้อยเอกสถาพร ประกอบผล เรอื่ ง การพัฒนารปู แบบศกั ยภาพของนกั
เทคโนโลยสี ารสนเทศทหารสงั กดั กระทรวงกลาโหมเพอ่ื ความมนั่ คงของ
ประเทศ
วทิ ยานิพนธ์ จานวน 2 เรอ่ื ง
1. นายพลั ลภ บวรพฒั นานนท์ เรอ่ื ง การพฒั นารปู แบบการบริหารจดั การ
ธุรกิจศูนยบ์ รกิ ารยางรถยนต์ครบวงจร เพอ่ื เพมิ่ ขีดความสามารถในการแขง่ ขัน
2. นายนกิ ร ไร่ดี เร่ือง การพัฒนารูปแบบศักยภาพผูบ้ รหิ ารฝา่ ยควบคุม
คุณภาพของอุตสาหกรรมยานยนตใ์ นยคุ อตุ สาหกรรม 4.0
อาจารยท์ ีป่ รึกษาวทิ ยานพิ นธ์รว่ มท่ีเปน็ ผู้ทรงคณุ วฒุ ิภายนอก ตอ้ งมีคณุ วุฒปิ ริญญาเอกหรือ
เทยี บเทา่ และมีผลงานทางวิชาการท่ีได้รบั การตพี ิมพ์เผยแพร่ในวารสารท่มี ชี ่ืออยูใ่ นฐานข้อมูลท่ีเป็นที่
ยอมรับในระดบั นานาชาติ ซง่ึ ตรงหรือสมั พนั ธก์ ับหวั ขอ้ วทิ ยานิพนธไ์ ม่น้อยกว่า 5 เรือ่ ง
กรณีผู้ทรงคุณวุฒิภายนอกท่ีไม่มีคุณวุฒิและผลงานทางวิชาการตามที่กาหนดข้างตัน
จะต้องเป็นผู้มีความรู้ความเช่ียวชาญและประสบการณ์สูงเป็นที่ยอมรับ ซ่ึงตรงหรือสัมพันธ์กับหัวข้อ
วิทยานิพนธ์โดยผ่านความเห็นชอบจากสภามหาวิทยาลัย และแจ้งคณะกรรมการการอุดมศึกษา
รับทราบ
โดยในหลักสูตรบริหารธุรกิจดุษฎีบัณฑิตได้แต่งต้ังอาจารย์ที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์ร่วมที่เป็น
ผ้ทู รงคุณวุฒภิ ายนอกมหาวิทยาลัย จานวน 4 คน ดงั ตารางท่ี 2.7
ตารางที่ 2.7 รายชือ่ อาจารยท์ ่ีปรึกษาวทิ ยานิพนธร์ ว่ มทีเ่ ป็นผู้ทรงคุณวุฒภิ ายนอกมหาวิทยาลยั
ช่ือ-นามสกุล จานวน/ช่ือนกั ศกึ ษา/ชื่อวทิ ยานิพนธ์
1. ศ.ดร.ธีรวฒุ ิ บณุ ยโสภณ วทิ ยานพิ นธ์ จานวน 24 เรอื่ ง
1. นางสาวนฤมล ขาวดี เรอ่ื ง รูปแบบการพฒั นาสมรรถนะของวศิ วกรตน้ ทุนใน
อุตสาหกรรมกอ่ สรา้ ง
2. นางสาวปิยะศิริ เรอื งศรีมนั่ เรอื่ ง รปู แบบการพฒั นาอุตสาหกรรมแปรรปู อาหาร
สอู่ ตุ สาหกรรมสเี ขียว
3. นายเจตรนิ กายอรุณสทุ ธ์ิ เร่อื ง ความตอ้ งการพฒั นาสมรรถนะของกลมุ่ ครชู ่าง
อุตสาหกรรมผู้เกษียณอายใุ ห้สามารถประกอบอาชีพเสรมิ ในยุคเศรษฐกจิ ดจิ ิทลั
4.นายอิศเรศ อศิ รางกรู ณ อยุธยา เร่ือง การพัฒนารูปแบบศกั ยภาพผบู้ ริหาร
สานกั งานรฐั มนตรี เพื่อคณุ ภาพการปฏิบัตงิ านในยคุ ดจิ ทิ ลั
5. นายทรงยศ สารภาพ เรอื่ ง การพัฒนารูปแบบการส่งเสรมิ ผูป้ ระกอบการ SMEs
ในธุรกิจอตุ สาหกรรมเกษตรแปรรปู ใน 3 จังหวัด ชายแดนภาคใต้
6. นายอดิศักดิ์ วรพวิ ฒุ ิ เรือ่ ง การพฒั นารปู แบบศักยภาพของผู้บริหารสานกั งาน
การท่องเท่ยี วและกีฬาจังหวดั ในยคุ เศรษฐกิจดิจทิ ลั
7. นายปิติณชั ศ์ ไชยประเสรฐิ เรอื่ ง รปู แบบการพัฒนาศักยภาพผู้บริหาร
หนว่ ยงานจัดหาวัตถุดบิ สาหรับอตุ สาหกรรมปโิ ตรเคมใี นยุคเศรษฐกจิ ดจิ ิทลั
23
ตารางท่ี 2.7 (ตอ่ )
ชื่อ-นามสกุล จานวน/ชอื่ นกั ศกึ ษา/ชอื่ วทิ ยานพิ นธ์
8. นายสรุ ธชั เพยี รประสทิ ธ์ิ เรอื่ ง รปู แบบการพฒั นาศกั ยภาพผบู้ รหิ ารฝ่ายผลติ ใน
อุตสาหกรรมแปรรปู อาหารเพอื่ การแข่งขนั ในยคุ ดิจิทลั
9. นางจินตนา โชควรวัฒนกร เรอื่ ง การพัฒนารปู แบบการบริหารความเสี่ยงทาง
ธรุ กิจของอตุ สาหกรรมช้ินสว่ นยานยนต์ในยุคดิจิทัล
10. นางสาวบริดตา อินรัญ เร่ือง การพัฒนารปู แบบสมรรถนะนักเทคโนโลยใี น
อตุ สาหกรรมดจิ ิทลั
11. นายวสนั ต์ พลาศยั เรอ่ื ง การพฒั นารูปแบบศักยภาพผจู้ ัดการวิสาหกจิ ชุมชน
อาหารฮาลาลจงั หวดั ชายแดนใต้
12. นายวีระ เเสงฮวด เรอ่ื ง การพฒั นารูปแบบศักยภาพผ้บู รหิ ารฝา่ ยควบคุม
คณุ ภาพในอตุ สาหกรรมการผลิตชนิ้ ส่วนยานยนต์เพอื่ การแขง่ ขัน
13. นางณพิชญา เทพรอด เรื่อง รปู แบบการพฒั นาศกั ยภาพดา้ นการบรหิ าร
จดั การของนกั เทคโนโลยีปญั ญาประดษิ ฐภ์ าครัฐ
14. นางอมรรตั น์ ชมุ ภู เร่ือง การพัฒนารูปแบบการบริหารจัดการอุตสาหกรรมโรง
โม่และเหมืองหิน เพอ่ื การแข่งขนั
15. นางสาวเขมณัฏฐ์ ยุทธวสิ ุทธ์ิ เรือ่ ง การพฒั นารูปแบบการบรหิ ารจัดการระบบ
การใหบ้ รกิ ารสขุ ภาพ ในระดบั บรกิ ารปฐมภมู ิแบบบรู ณาการในยคุ ดจิ ิทัล
16. นายเชาวลติ อปุ ฐาก เรอื่ ง การพฒั นารปู แบบศกั ยภาพของผปู้ ระกอบการ
อตุ สาหกรรมอาหารสาหรบั ผู้สงู อายเุ พื่อสุขภาพในยคุ ดจิ ิทัล
17. นายณฐั ฐพนั ธ์ ทัศนนพิ นั ธ์ เรอื่ ง การพฒั นารปู แบบวฒั นธรรมองคก์ รในธรุ กิจ
กอ่ สร้างขนาดใหญ่เพ่ือการแขง่ ขนั อยา่ งย่งั ยืน
18. นายฉฐั วัฒน์ ภกั ดี เรื่อง การพัฒนารปู แบบศักยภาพผู้นาด้านการขบั เคล่ือน
นวัตกรรมในอตุ สาหกรรมไทยในยุคเศรษฐกจิ พลิกผนั
19. นางสาวกานตร์ วี ทองพูล เรอ่ื ง การพัฒนารปู แบบศักยภาพผบู้ รหิ ารการรถไฟ
แหง่ ประเทศไทย เพ่อื เพม่ิ ประสทิ ธภิ าพในการใหบ้ ริการสาธารณะในยุคดจิ ิทัล
20. นายธนะโรจน์ พงศก์ ิตตอิ สิ รา เร่อื ง การพฒั นารปู แบบศกั ยภาพผูจ้ ดั การฝา่ ย
ผลิตดา้ นการบริหารจัดการโรงงานอตุ สาหกรรมยานยนตข์ ับเคล่ือนดว้ ยเทคโนโลยี
ปญั ญาประดิษฐ์ (AI)
21. นายพลั ลภ บวรพฒั นานนท์ เรื่อง การพฒั นารูปแบบการบรหิ ารจดั การธุรกจิ
ศูนย์บรกิ ารยางรถยนตค์ รบวงจร เพือ่ เพม่ิ ขีดความสามารถในการแข่งขัน
22. นายวรี ะศักด์ิ วานิชวฒั น์ เรอื่ ง การพัฒนารูปแบบศักยภาพของผู้จดั การ
โครงการในอตุ สาหกรรมกอ่ สร้างอาคารสูง ในยุคเศรษฐกจิ ดจิ ทิ ลั
23. นายพลธร พุดกล่ัน เร่อื ง การพัฒนารปู แบบศักยภาพหวั หนา้ ฝ่ายผลติ ของ
อตุ สาหกรรมอิเลก็ ทรอนกิ ส์ในยคุ ประเทศไทย 4.0
24. ว่าท่รี อ้ ยเอกสถาพร ประกอบผล เรื่อง การพัฒนารูปแบบศกั ยภาพของนัก
เทคโนโลยสี ารสนเทศทหารสังกดั กระทรวงกลาโหมเพอื่ ความม่ันคงของประเทศ
2. รศ.ดร.อคั ครตั น์ พลู กระจา่ ง วิทยานิพนธ์ จานวน 6 เร่อื ง
1. นายอานาจ ศรเี กิด เรอื่ ง รปู แบบการพัฒนาอตุ สาหกรรมการซอ่ มบารุงอากาศ
ยานของประเทศไทย
2. นางสาวจงรักษ์ สมใจ เรอ่ื ง รปู แบบการบรหิ ารจัดการธรุ กจิ สถานีบรกิ ารน้ามนั
เชอื้ เพลงิ แบบครบวงจรขนาดกลางและขนาดยอ่ ม
24
ตารางที่ 2.7 (ตอ่ ) จานวน/ชอื่ นกั ศกึ ษา/ชื่อวทิ ยานิพนธ์
ชื่อ-นามสกุล
3. นายณรงค์ พิศลิ ป์ เรือ่ ง การพฒั นารูปแบบการบรหิ ารจดั การธรุ กจิ บรกิ ารจดั
3. ดร.ปรดี า อัตวินจิ ตระการ จ้างงานจากภายนอกองคก์ รเพอื่ เพม่ิ ขีดความสามารถในการแขง่ ขนั
4. นายนันทวชิ ช์ วรรณเสน เรอื่ ง การพฒั นารูปแบบศกั ยภาพผู้ประกอบการอซู่ ่อม
4. ดร.วเิ ชยี ร เกตุสงิ ห์ รถยนตใ์ นยุคเศรษฐกิจสรา้ งสรรค์
5. นางสาวดนติ า กญุ ชรเพชร เรอ่ื ง การพัฒนารูปแบบการบริหารจดั การธุรกจิ
อตุ สาหกรรมการแปรรูปอาหารภายใต้วิกฤตเศรษฐกจิ
6. นายกฤษดา เดชาธพิ าโชติ เร่ือง การพฒั นารปู แบบศกั ยภาพผูบ้ ริหารโรงงาน
อุตสาหกรรมผลติ อาหารขนาดยอ่ ม เพอื่ เพิ่มขดี ความสามารถในการแข่งขนั
วทิ ยานพิ นธ์ จานวน 14 เรอ่ื ง
1. ว่าท่ีร้อยตรปี ระวฒุ ิ เวชรกั ษ์ เรอ่ื ง การพฒั นารปู แบบศกั ยภาพผู้บริหารในยคุ
ดิจทิ ลั สาหรบั อุตสาหกรรมอาหารแปรรูปขนาดกลาง
2. นายชินะพนั ธ์ สุขะการผดงุ เรอ่ื ง การพฒั นารูปแบบศักยภาพผู้บริหาร
อตุ สาหกรรมผลติ ภณั ฑก์ ่อสรา้ งเพอ่ื รองรับอุตสาหกรรม 4.0
3. นางสาวดารนิ ชูดวงเกียรติกุล เรอ่ื ง การพัฒนารูปแบบการจดั การสถาน
ประกอบการ OTOP ใหม้ ีคณุ ภาพเพ่ือการแขง่ ขนั ทางการตลาด
4. นายปติ ณิ ชั ศ์ ไชยประเสรฐิ เรอื่ ง รปู แบบการพัฒนาศกั ยภาพผู้บรหิ าร
หนว่ ยงานจัดหาวัตถดุ บิ สาหรับอตุ สาหกรรมปโิ ตรเคมีในยุคเศรษฐกจิ ดจิ ิทัล
5. นางสาวโศภชิ ฐ์ วงษ์กมลเศรษฐ์ เร่อื ง การพัฒนารูปแบบศักยภาพผู้บริหาร
หมูบ่ า้ นอุตสาหกรรม สรา้ งสรรคเ์ พ่ือการทอ่ งเท่ียว
6. นายสมพร นอ้ ยสาราญ เร่ือง การพัฒนารปู แบบศักยภาพผูป้ ระกอบการ
อุตสาหกรรมฟาร์มไก่เน้อื ขนาดกลางและขนาดเล็ก เพอื่ การพง่ึ พาตนเองในยคุ
เศรษฐกจิ ดิจิทลั
7. นายเสรมิ ศกั ดิ์ ยัง่ ยืน เรื่อง การพัฒนารปู แบบสมรรถนะของผูจ้ ดั การแผนกซ่อม
บารุง ในโรงงานอุตสาหกรรมแปรรปู อาหาร
8. นายจิรัซย์ เหรียญชยั วานิช เรอื่ ง การพฒั นารูปแบบศกั ยภาพนักวิทยาศาสตร์
ขอ้ มลู ขององคก์ รในยคุ ดิจิทัล
9. นางสาวชนญั ชดิ า ขวญั ใจ เร่อื ง การพฒั นารูปแบบการบรหิ ารจดั การธรุ กิจการ
ออกแบบงานสถาปตั ยกรรมในยุคดจิ ทิ ลั
10. นายชาติชาย จาดตานมิ เรอ่ื ง การพฒั นารปู แบบศกั ยภาพนกั บริหาร
ทรัพยากรมนษุ ยส์ าหรับธรุ กจิ อตุ สาหกรรมในยคุ ความปกตใิ หม่
11. นายพงศกร ปรชี าวทิ ย์ เร่อื ง การพัฒนารูปแบบสมรรถนะผู้จดั การฝา่ ยจดั ซอื้
ของบริษทั ก่อสร้างในยคุ ดิจทิ ัล
12. นายอนุชา กาญจนกลุ ไพศาล เร่ือง การพฒั นารูปแบบศักยภาพของหวั หนา้
งานในโรงงานอตุ สาหกรรมผลติ ยาภาครฐั เพ่ือการแขง่ ขนั ในยุคอุตสาหกรรม 4.0
13. นายณรงค์ พิศลิ ป์ เรอ่ื ง การพฒั นารูปแบบการบริหารจดั การธรุ กิจบรกิ ารจดั
จ้างงานจากภายนอกองคก์ รเพอ่ื เพิ่มขีดความสามารถในการแขง่ ขนั
14. นางสาววิจิตรา สรรพอาษา เรอื่ ง การพัฒนารปู แบบศักยภาพผปู้ ระกอบการ
ในธุรกจิ อตุ สาหกรรมเคร่อื งนุง่ หม่ สาเร็จรูป
วทิ ยานิพนธ์ จานวน 1 เร่ือง
1. นางณพิชญา เทพรอด เรอื่ ง รปู แบบการพัฒนาศักยภาพด้านการบรหิ ารจัดการ
ของนกั เทคโนโลยปี ญั ญาประดิษฐภ์ าครฐั
25
อาจารย์ผสู้ อบวิทยานพิ นธ์
อาจารย์ผู้สอบวิทยานิพนธ์ ประกอบด้วยอาจารย์ประจาหลักสูตร ผู้ทรงคุณวุฒิภายนอก
และอาจารย์ที่ปรึกษาวทิ ยานพิ นธ์
โดยอาจารยผ์ ู้สอบวทิ ยานพิ นธ์ตอ้ งมคี ุณวุฒิ คณุ สมบัติ และผลงานทางวชิ าการ ดังน้ี
กรณีอาจารยป์ ระจาหลักสตู ร ต้องมคี ณุ วุฒิปรญิ ญาเอกหรือเทียบเท่า หรอื ข้นั ตา่ ปริญญาโท
หรือเทียบเท่าท่ีมีตาแหน่งรองศาสตราจารย์ และมีผลงานทางวิชาการที่ไม่ใช่ส่วนหนึ่งของการศึกษา
เพ่ือรับปริญญา และเป็นผลงานทางวิชาการท่ีได้รับการเผยแพร่ตามหลักเกณฑ์ที่กาหนดในการ
พิจารณาแตง่ ต้ังให้บุคคลดารงตาแหน่งทางวชิ าการอย่างน้อย 3 รายการ ในรอบ 5 ปยี ้อนหลงั นับจาก
วนั ทีส่ ภามหาวิทยาลยั อนมุ ตั ิหลกั สตู ร โดยอยา่ งน้อย 1 รายการต้องเป็นผลงานวจิ ยั
กรณีผู้ทรงคุณวุฒิภายนอก ต้องมีคุณวุฒิปริญญาเอกหรือเทียบเท่า และมีผลงานทาง
วิชาการท่ีได้รับการตีพิมพ์เผยแพร่ในวารสารท่ีมีช่ืออยู่ในฐานข้อมูลท่ีเป็นที่ยอมรับในระดับ นานาชาติ
ซงึ่ ตรงหรือสมั พนั ธ์ กบั หัวข้อวทิ ยานิพนธไ์ ม่น้อยกว่า 5 เรื่อง
กร ณีผู้ ทร ง คุณวุ ฒิ ภ า ย น อกที่ไม่มีคุณวุ ฒิ แ ล ะผ ลง า น ทา ง วิ ช า กา รต า มท่ีกา ห น ดข้างต้น
จะต้องเป็นผู้มีความรู้ความเชี่ยวชาญและประสบการณ์สูงเป็นที่ยอมรับ ซ่ึงตรงหรือสัมพันธ์กับหัวข้อ
วิทยานิพนธ์โดยผ่านความเห็นชอบจากสภามหาวิทยาลัย และแจ้งคณะกรรมการการอุดมศึกษา
รับทราบ
โดยในหลักสูตรบริหารธุรกิจดุษฎีบัณฑิตได้แต่งตั้งอาจารย์ผู้สอบวิทยานิพนธ์ จานวน 10
คน ดังตารางท่ี 2.8
ตารางท่ี 2.8 รายชื่ออาจารยผ์ สู้ อบวิทยานิพนธ์
ชือ่ -นามสกุล จานวน/ช่ือนักศกึ ษา/ชอื่ วิทยานิพนธ์
1. ศ.ดร.ธรี วฒุ ิบุณยโสภณ ประธานกรรมการสอบวิทยานพิ นธ์ จานวน 15 เรื่อง
1. นางสาวดารนิ สิรชิ ญานัท เร่อื ง การพฒั นารปู แบบการจดั การสถาน
ประกอบการ OTOP ใหม้ ีคุณภาพเพอื่ การแขง่ ขนั ทางการตลาด
2. นายปิติณัชศ์ ไชยประเสรฐิ เรอ่ื ง รูปแบบการพัฒนาศกั ยภาพผู้บรหิ าร
หนว่ ยงานจัดหาวัตถดุ ิบสาหรับอตุ สาหกรรมปโิ ตรเคมีในยุคเศรษฐกิจดิจทิ ัล
3. นางสาวโศภชิ ฐ์ วงษ์กมลเศรษฐ์ เรอื่ ง การพฒั นารปู แบบศักยภาพ
ผูบ้ ริหารหมู่บ้านอตุ สาหกรรม สรา้ งสรรค์เพอ่ื การท่องเทีย่ ว
4. นายสมพร นอ้ ยสาราญ เร่อื ง การพัฒนารูปแบบศักยภาพ
ผูป้ ระกอบการอตุ สาหกรรมฟารม์ ไก่เนือ้ ขนาดกลางและขนาดเลก็
เพือ่ การพ่งึ พาตนเองในยคุ เศรษฐกจิ ดิจทิ ัล
5. นายเสรมิ ศกั ดิ์ ยง่ั ยืน เรื่อง การพฒั นารูปแบบสมรรถนะของผจู้ ดั การ
แผนกซอ่ มบารงุ ในโรงงานอุตสาหกรรมแปรรปู อาหาร
6. นายชาตชิ าย จาดตานิม เร่อื ง การพัฒนารูปแบบศกั ยภาพนักบรหิ าร
ทรัพยากรมนษุ ย์สาหรบั ธรุ กิจอุตสาหกรรมในยคุ ความปกติใหม่
7. นายสายัณห์ ปานซัง เรอ่ื ง การพัฒนารูปแบบศกั ยภาพของผูจ้ ดั การ
ส่วนบริหารการผลิตในอุตสาหกรรมผลติ ไฟฟ้า
8. นายอนุชา กาญจนกุลไพศาล เรือ่ ง การพัฒนารูปแบบศักยภาพของ
หัวหน้างานในโรงงานอตุ สาหกรรมผลติ ยาภาครัฐ เพ่ือการแขง่ ขนั ในยุค
อตุ สาหกรรม 4.0
9. นายชนิ ะพันธ์ สขุ ะการผดงุ เรอื่ ง การพฒั นารูปแบบศกั ยภาพผูบ้ ริหาร
อตุ สาหกรรมผลติ ภัณฑก์ ่อสร้างเพ่ือรองรับอตุ สาหกรรม 4.0
26
ตารางท่ี 2.8 (ต่อ)
ชอ่ื -นามสกุล จานวน/ชอื่ นกั ศกึ ษา/ช่ือวทิ ยานิพนธ์
11. นายจิรัซย์ เหรียญชยั วานชิ เรื่อง การพฒั นารูปแบบศกั ยภาพ
นักวทิ ยาศาสตรข์ อ้ มูลขององคก์ รในยคุ ดจิ ิทลั
12. นายสทุ พิ ย์ บญุ ฮก เรอื่ ง รปู แบบการพัฒนาศักยภาพผบู้ รหิ าร
ระดับกลางในกลุ่มผปู้ ระกอบการส่ือสารโทรคมนาคมในยุคดจิ ทิ ลั
13. นายสุริยัน ทองพิกลุ เรือ่ ง รปู แบบการพฒั นาองคก์ รในอุตสาหกรรม
ยานยนตเ์ พื่อรองรบั เทคโนโลยีปญั ญาประดษิ ฐ์
14. นายศกั ดสิ์ ทิ ธ์ิ ปัญญาแวว เรอ่ื ง รูปแบบการพฒั นาศักยภาพ
ผปู้ ระกอบการงานระบบวิศวกรรมในอุตสาหกรรมกอ่ สรา้ ง
15. นายปรเมศวร์ วารีวะนิช เรอ่ื ง รูปแบบการพฒั นาศกั ยภาพกาลงั คน
เพ่อื การเพมิ่ ผลิตภาพในอุตสาหกรรมชน้ิ ส่วนยานยนต์ในยุคดจิ ทิ ลั
2. รศ.ดร.อคั ครัตน์ พลู กระจ่าง ประธานกรรมการสอบวทิ ยานิพนธ์ จานวน 6 เรอ่ื ง
1. นายสุรธัช เพยี รประสทิ ธิ์ เรอื่ ง รปู แบบการพัฒนาศกั ยภาพผู้บริหาร
ฝา่ ยผลิตในอตุ สาหกรรมแปรรูปอาหารเพอ่ื การแขง่ ขนั ในยุคดิจทิ ลั
2. นางณพชิ ญา เทพรอด เรื่อง รปู แบบการพัฒนาศักยภาพดา้ นการ
บริหารจดั การของนกั เทคโนโลยปี ญั ญาประดษิ ฐภ์ าครฐั
3. นางสาวนฤมล ขาวดี เรอื่ ง รปู แบบการพัฒนาสมรรถนะของวศิ วกร
ต้นทุนในอตุ สาหกรรมก่อสรา้ ง
4. นายอดิศักด์ิ วรพวิ ฒุ ิ เรือ่ ง การพฒั นารปู แบบศกั ยภาพของผูบ้ รหิ าร
สานักงานการทอ่ งเที่ยวและกฬี าจงั หวัดในยุคเศรษฐกิจดิจทิ ัล
5. นายวีระ เเสงฮวด เรื่อง การพฒั นารูปแบบศักยภาพผู้บริหารฝา่ ย
ควบคมุ คณุ ภาพในอุตสาหกรรมการผลิตชิ้นสว่ นยานยนต์เพือ่ การแขง่ ขัน
6. นางสาวสุภาพร คณาทรพั ย์ เรือ่ ง รปู แบบการพัฒนาศกั ยภาพผู้จดั การ
บญั ชีธุรกจิ กลุ่มอาหารและเครอ่ื งดื่มในยคุ ดจิ ทิ ัล
3. ผศ.ดร.วัลลภ ภผู า ประธานกรรมการสอบวทิ ยานพิ นธ์ จานวน 5 เรื่อง
1. นางจนิ ตนา โชควรวัฒนกร เรอ่ื ง การพัฒนารูปแบบการบริหารความ
เสย่ี งทางธรุ กิจของอตุ สาหกรรมช้นิ ส่วนยานยนต์ในยุคดจิ ิทัล
2. นางอมรรตั น์ ชมุ ภู เร่ือง การพฒั นารูปแบบการบรหิ ารจัดการ
อตุ สาหกรรมโรงโม่และเหมืองหนิ เพอื่ การแขง่ ขนั
3. นายวสันต์ พลาศัย เร่ือง การพฒั นารปู แบบศักยภาพผจู้ ัดการวสิ าหกิจ
ชมุ ชนอาหารฮาลาลจังหวัดชายแดนใต้
4. นายจกั รพันธ์ อภนิ ันทธ์ รรม เร่ือง รูปแบบการพฒั นาศักยภาพของ
วิศวกรฝา่ ยขายสาหรับอุตสาหกรรมยานยนตส์ มัยใหม่
5. นายโกมล บัวเกตุ เรือ่ ง การพฒั นารปู แบบการบริหารการอนรุ กั ษ์
พลังงานในอาคารธุรกจิ อุตสาหกรรม
ประธานกรรมการสอบวทิ ยานิพนธ์ จานวน 3 เรอื่ ง
4. ดร.วิเชียร เกตุสงิ ห์ 1. นางสาวชนัญชดิ า ขวญั ใจ เร่อื ง การพฒั นารปู แบบการบรหิ ารจดั การ
ธรุ กิจการออกแบบงานสถาปัตยกรรมในยคุ ดจิ ทิ ลั
2. นางสาวบริดตา อินรัญ เรอ่ื ง การพฒั นารูปแบบสมรรถนะนกั
เทคโนโลยีในอตุ สาหกรรมดิจทิ ลั
3. นางสาววจิ ติ รา สรรพอาษา เรอ่ื ง การพัฒนารปู แบบศักยภาพ
ผปู้ ระกอบการในธุรกจิ อุตสาหกรรมเครื่องนุง่ ห่มสาเรจ็ รูป
27
ตารางท่ี 2.8 (ต่อ) จานวน/ช่ือนักศกึ ษา/ชอื่ วิทยานิพนธ์
ชื่อ-นามสกุล
กรรมการสอบวทิ ยานิพนธ์ จานวน 11 เร่อื ง
5. รศ.ดร.สกั รนิ ทร์ อย่ผู อ่ ง 1. นางสาวดารนิ สริ ชิ ญานัท เร่ือง การพฒั นารูปแบบการจดั การสถาน
ประกอบการ OTOP ให้มีคณุ ภาพเพอ่ื การแขง่ ขนั ทางการตลาด
2. นายปิตณิ ัชศ์ ไชยประเสรฐิ เรอื่ ง รปู แบบการพัฒนาศักยภาพผบู้ ริหาร
หน่วยงานจัดหาวตั ถุดบิ สาหรบั อตุ สาหกรรมปิโตรเคมใี นยุคเศรษฐกิจดจิ ิทัล
3. นางสาวโศภชิ ฐ์ วงษ์กมลเศรษฐ์ เรือ่ ง การพัฒนารูปแบบศักยภาพ
ผู้บรหิ ารหมู่บ้านอุตสาหกรรม สรา้ งสรรค์เพอื่ การทอ่ งเที่ยว
4. นายสมพร น้อยสาราญ เรอ่ื ง การพฒั นารูปแบบศักยภาพ
ผูป้ ระกอบการอตุ สาหกรรมฟารม์ ไกเ่ นอื้ ขนาดกลางและขนาดเลก็ เพอื่
การพ่งึ พาตนเองในยคุ เศรษฐกจิ ดิจิทลั
5. นายเสริมศักด์ิ ยงั่ ยืน เรื่อง การพฒั นารูปแบบสมรรถนะของผจู้ ดั การ
แผนกซอ่ มบารุง ในโรงงานอุตสาหกรรมแปรรปู อาหาร
6. นายชาติชาย จาดตานิม เรอื่ ง การพัฒนารูปแบบศักยภาพนักบริหาร
ทรพั ยากรมนษุ ยส์ าหรับธรุ กจิ อุตสาหกรรมในยุคความปกตใิ หม่
7. นายอนุชา กาญจนกลุ ไพศาล เรอื่ ง การพฒั นารูปแบบศักยภาพของ
หวั หน้างานในโรงงานอตุ สาหกรรมผลิตยาภาครฐั เพ่อื การแขง่ ขนั ในยุค
อุตสาหกรรม 4.0
8. นายชนิ ะพันธ์ สขุ ะการผดงุ เรอื่ ง การพัฒนารูปแบบศักยภาพผบู้ ริหาร
อตุ สาหกรรมผลติ ภัณฑ์ก่อสรา้ งเพ่ือรองรบั อตุ สาหกรรม 4.0
9. นายสรุ ิยัน ทองพิกลุ เร่ือง รปู แบบการพัฒนาองคก์ รในอตุ สาหกรรม
ยานยนต์เพอ่ื รองรับเทคโนโลยปี ญั ญาประดษิ ฐ์
10. นายศกั ดส์ิ ทิ ธ์ิ ปญั ญาแวว เรอ่ื ง รปู แบบการพัฒนาศักยภาพ
ผู้ประกอบการงานระบบวิศวกรรมในอตุ สาหกรรมกอ่ สร้าง
11. นายปรเมศวร์ วารวี ะนชิ เร่อื ง รปู แบบการพัฒนาศกั ยภาพกาลงั คน
เพือ่ การเพ่ิมผลติ ภาพในอตุ สาหกรรมช้นิ สว่ นยานยนต์ในยคุ ดิจิทลั
กรรมการสอบวทิ ยานิพนธ์ จานวน 16 เรือ่ ง
1. นางสาวดาริน สิริชญานัท เรอื่ ง การพัฒนารูปแบบการจัดการสถาน
ประกอบการ OTOP ใหม้ ีคณุ ภาพเพ่อื การแข่งขนั ทางการตลาด
2. นายปิติณัชศ์ ไชยประเสรฐิ เรอ่ื ง รูปแบบการพัฒนาศักยภาพผู้บรหิ าร
หน่วยงานจัดหาวัตถดุ บิ สาหรับอตุ สาหกรรมปิโตรเคมใี นยุคเศรษฐกจิ ดจิ ิทลั
3. นายสรุ ธัช เพียรประสิทธิ์ เรอื่ ง รปู แบบการพัฒนาศกั ยภาพผบู้ ริหาร
ฝา่ ยผลิตในอุตสาหกรรมแปรรปู อาหารเพอ่ื การแขง่ ขนั ในยคุ ดจิ ทิ ลั
4. นายเสริมศักดิ์ ยงั่ ยืน เรอื่ ง การพัฒนารปู แบบสมรรถนะของผู้จดั การ
แผนกซอ่ มบารุง ในโรงงานอุตสาหกรรมแปรรปู อาหาร
5. นางจินตนา โชควรวัฒนกร เรอื่ ง การพัฒนารูปแบบการบริหารความ
เสีย่ งทางธรุ กิจของอุตสาหกรรมช้นิ ส่วนยานยนต์ในยุคดจิ ิทลั
6. นางสาวชนญั ชดิ า ขวญั ใจ เร่อื ง การพฒั นารปู แบบการบรหิ ารจดั การ
ธรุ กจิ การออกแบบงานสถาปตั ยกรรมในยคุ ดิจทิ ลั
7. นางสาวบรดิ ตา อินรัญ เรอื่ ง การพฒั นารูปแบบสมรรถนะนัก
เทคโนโลยใี นอตุ สาหกรรมดิจิทัล
8. นายสายัณห์ ปานซงั เรอื่ ง การพัฒนารูปแบบศกั ยภาพของผจู้ ดั การ
ส่วนบรหิ ารการผลติ ในอุตสาหกรรมผลติ ไฟฟ้า
28
ตารางท่ี 2.8 (ต่อ) จานวน/ชื่อนักศึกษา/ช่ือวทิ ยานพิ นธ์
ชือ่ -นามสกุล
9. นางณพชิ ญา เทพรอด เรื่อง รปู แบบการพัฒนาศกั ยภาพด้านการ
6. รศ.ดร.ธีรวชั บณุ ยโสภณ บริหารจัดการของนกั เทคโนโลยปี ัญญาประดษิ ฐภ์ าครฐั
10. นางสาววิจติ รา สรรพอาษา เรอ่ื ง การพัฒนารปู แบบศักยภาพ
7. รศ.ดร.สมนึก วิสุทธแิ พทย์ ผู้ประกอบการในธุรกิจอตุ สาหกรรมเคร่อื งนุ่งห่มสาเรจ็ รูป
11. นางสาวนฤมล ขาวดี เรอ่ื ง รปู แบบการพฒั นาสมรรถนะของวศิ วกร
ต้นทุนในอุตสาหกรรมก่อสร้าง
12. นายอดศิ กั ด์ิ วรพวิ ฒุ ิ เรอ่ื ง การพฒั นารปู แบบศกั ยภาพของผบู้ ริหาร
สานักงานการท่องเที่ยวและกฬี าจังหวดั ในยคุ เศรษฐกจิ ดิจิทลั
13. นายวีระ เเสงฮวด เรอื่ ง การพฒั นารปู แบบศักยภาพผู้บริหารฝา่ ย
ควบคมุ คณุ ภาพในอตุ สาหกรรมการผลิตช้ินส่วนยานยนต์เพอื่ การแขง่ ขัน
14. นายวสนั ต์ พลาศัย เรอ่ื ง การพฒั นารูปแบบศกั ยภาพผ้จู ัดการ
วิสาหกจิ ชุมชนอาหารฮาลาลจงั หวดั ชายแดนใต้
15. นายจกั รพันธ์ อภินนั ท์ธรรม เร่ือง รปู แบบการพฒั นาศักยภาพของ
วศิ วกรฝ่ายขายสาหรับอตุ สาหกรรมยานยนต์สมัยใหม่
16. นายโกมล บวั เกตุ เร่ือง การพัฒนารปู แบบการบรหิ ารการอนรุ กั ษ์
พลงั งานในอาคารธรุ กิจอุตสาหกรรม
กรรมการสอบวทิ ยานพิ นธ์ จานวน 7 เร่ือง
1. นางสาวโศภิชฐ์ วงษก์ มลเศรษฐ์ เรอื่ ง การพฒั นารปู แบบศักยภาพ
ผูบ้ ริหารหมู่บา้ นอุตสาหกรรม สรา้ งสรรค์เพอื่ การทอ่ งเที่ยว
2. นายชาตชิ าย จาดตานมิ เร่อื ง การพัฒนารปู แบบศกั ยภาพนักบรหิ าร
ทรพั ยากรมนษุ ยส์ าหรับธุรกิจอุตสาหกรรมในยคุ ความปกติใหม่
3. นายสายณั ห์ ปานซงั เรอื่ ง การพัฒนารูปแบบศกั ยภาพของผ้จู ดั การ
ส่วนบริหารการผลิตในอตุ สาหกรรมผลิตไฟฟ้า
4. นายอนชุ า กาญจนกุลไพศาล เร่อื ง การพฒั นารปู แบบศักยภาพของ
หัวหนา้ งานในโรงงานอุตสาหกรรมผลติ ยาภาครฐั เพือ่ การแขง่ ขนั ในยุค
อุตสาหกรรม 4.0
5. นางสาวสภุ าพร คณาทรพั ย์ เรื่อง รปู แบบการพฒั นาศักยภาพผู้จดั การ
บญั ชีธรุ กจิ กลุ่มอาหารและเครอื่ งด่มื ในยคุ ดิจิทัล
6. นางอมรรัตน์ ชุมภู เร่อื ง การพฒั นารปู แบบการบรหิ ารจดั การ
อตุ สาหกรรมโรงโมแ่ ละเหมอื งหนิ เพ่อื การแข่งขัน
7. นายสทุ ิพย์ บุญฮก เรื่อง รูปแบบการพัฒนาศักยภาพผู้บริหาร
ระดับกลางในกลุ่มผ้ปู ระกอบการสือ่ สารโทรคมนาคมในยคุ ดิจทิ ัล
กรรมการสอบวทิ ยานพิ นธ์ จานวน 7 เรอ่ื ง
1. นายสมพร น้อยสาราญ เรอื่ ง การพัฒนารปู แบบศักยภาพ
ผูป้ ระกอบการอตุ สาหกรรมฟารม์ ไก่เนอื้ ขนาดกลางและขนาดเลก็ เพ่อื
การพ่งึ พาตนเองในยุคเศรษฐกิจดจิ ิทัล
2. นายสายัณห์ ปานซงั เรอ่ื ง การพัฒนารูปแบบศกั ยภาพของผู้จดั การ
สว่ นบรหิ ารการผลติ ในอุตสาหกรรมผลติ ไฟฟ้า
3. นายชินะพันธ์ สุขะการผดุง เรอ่ื ง การพัฒนารูปแบบศกั ยภาพผบู้ ริหาร
อุตสาหกรรมผลติ ภณั ฑก์ อ่ สร้างเพอื่ รองรบั อุตสาหกรรม 4.0
4. นายจริ ซั ย์ เหรยี ญชยั วานชิ เรอื่ ง การพฒั นารูปแบบศกั ยภาพ
นักวิทยาศาสตร์ข้อมูลขององคก์ รในยคุ ดิจทิ ลั
29
ตารางท่ี 2.8 (ตอ่ )
ชื่อ-นามสกุล จานวน/ชอ่ื นักศกึ ษา/ชอื่ วิทยานพิ นธ์
5. นายปรเมศวร์ วารวี ะนิช เรอ่ื ง รปู แบบการพฒั นาศกั ยภาพกาลังคน
เพอื่ การเพิ่มผลติ ภาพในอุตสาหกรรมชน้ิ ส่วนยานยนต์ในยคุ ดิจิทลั
6. นายศกั ดสิ์ ทิ ธ์ิ ปัญญาแวว เรื่อง รปู แบบการพฒั นาศกั ยภาพ
ผู้ประกอบการงานระบบวิศวกรรมในอุตสาหกรรมก่อสร้าง
7. นายสรุ ยิ นั ทองพกิ ลุ เรื่อง รปู แบบการพฒั นาองคก์ รในอตุ สาหกรรม
ยานยนตเ์ พ่อื รองรบั เทคโนโลยีปญั ญาประดิษฐ์
8. ศ.ดร.สชุ าติ เซีย่ งฉิน กรรมการสอบวทิ ยานพิ นธ์ จานวน 1 เร่อื ง
1. นายสายณั ห์ ปานซัง เรอ่ื ง การพฒั นารปู แบบศักยภาพของผู้จดั การ
ส่วนบริหารการผลติ ในอตุ สาหกรรมผลติ ไฟฟา้
9. รศ.ดร.ชาญชัย ทองประสิทธิ์ กรรมการสอบวิทยานพิ นธ์ จานวน 1 เรื่อง
1. นายอดิศกั ดิ์ วรพวิ ุฒิ เร่ือง การพฒั นารปู แบบศกั ยภาพของผู้บรหิ าร
สานักงานการทอ่ งเท่ยี วและกีฬาจงั หวัดในยุคเศรษฐกจิ ดจิ ทิ ลั
10. ผศ.ดร.ปราโมช ธรรมกรณ์ กรรมการสอบวทิ ยานิพนธ์ จานวน 1 เร่ือง
1. นางสาวสุภาพร คณาทรัพย์ เร่ือง รปู แบบการพัฒนาศักยภาพผู้จดั การ
บัญชธี รุ กิจกลุม่ อาหารและเครอ่ื งด่มื ในยุคดิจทิ ัล
การตีพิมพ์เผยแพร่ผลงานของผู้สาเรจ็ การศกึ ษา
ผลงานวทิ ยานิพนธ์หรือสว่ นหนึ่งของวทิ ยานิพนธ์ ตอ้ งได้รับการตีพิมพ์ หรอื อยา่ งน้อยได้รับ
การยอมรับให้ตีพิมพ์ในวารสารระดับชาติหรือระดับนานาชาติท่ีมีคุณภาพ ตามประกาศ
คณะกรรมการการอุดมศึกษา เรื่อง หลักเกณฑ์การพิจารณาวารสารทางวิชาการสาหรับการเผยแพร่
ผลงานทางวิชาการ จานวน 1 เร่อื ง (ฐานข้อมลู Thai Journal Citation Index กล่มุ 1 หรือ Scopus)
โดยในหลักสูตรบริหารธุรกิจดุษฎีบัณฑิตมีนักศึกษาที่ได้รับการตอบรับให้ตีพิมพ์จานวน 28
เร่ือง ดงั ตารางที่ 2.9
ตารางท่ี 2.9 รายการบทความท่ีไดร้ ับการยอมรับใหต้ ีพิมพ์ในวารสารระดับชาติ
ชอ่ื วารสารวิชาการที่ได้รบั การ
ช่ือ – นามสกุล ชือ่ วทิ ยานิพนธ์ ตพี มิ พ์ปีท/่ี ฉบับท่ี วนั -เดือน-ปี
ทตี่ พี ิมพ์
1. นายจักรพนั ธ์ อภินันทธ์ รรม รปู แบบการพฒั นาศักยภาพของวศิ วกร วารสารบรหิ ารธรุ กจิ เทคโนโลยี
ฝา่ ยขายสาหรับอุตสาหกรรมยานยนต์ มหานครปรทิ ศั น์ ปที ่ี 11 ฉบับที่ 2
สมยั ใหม่ เดือน กรกฎาคม – ธันวาคม 2564
2. นายสุทิพย์ บญุ ฮก รปู แบบการพัฒนาศกั ยภาพผ้บู รหิ าร วารสารวิชาการพระจอมเกลา้
ระดบั กลางในกลุ่มผู้ประกอบการ พระนครเหนือ ปีท่ี 34 ฉบบั ท่ี 4
สอื่ สารโทรคมนาคมในยคุ ดิจิทลั เดือนตุลาคม - ธนั วาคม 2567
3. นายสรุ ิยัน ทองพิกุล รูปแบบการพัฒนาองคก์ รใน วารสารวิทยาลัยสงฆ์นครลาปาง
อตุ สาหกรรมยานยนตเ์ พื่อรองรบั มหาวิทยาลยั มหาจฬุ าลงกรณราช
เทคโนโลยปี ญั ญาประดิษฐ์ วิทยาลยั ปีที่ 11 ฉบับท่ี 1
เดือนมกราคม - เมษายน 2565
30
ตารางท่ี 2.9 (ตอ่ )
ช่ือวารสารวิชาการทีไ่ ดร้ ับการ
ชือ่ – นามสกลุ ชอื่ วทิ ยานพิ นธ์ ตพี มิ พ์ปีท่ี/ฉบบั ท่ี วัน-เดอื น-ปี
ทต่ี ีพิมพ์
5. นายศักดิส์ ิทธ์ิ ปญั ญาแวว รูปแบบการพฒั นาศักยภาพ วารสารวิชาการพระจอมเกล้า
ผู้ประกอบการงานระบบวศิ วกรรมใน พระนครเหนือ ปที ่ี 34 ฉบับท่ี 4
อตุ สาหกรรมก่อสร้าง เดือนตลุ าคม - ธนั วาคม 2567
6. นายปรเมศวร์ วารวี ะนชิ รูปแบบการพฒั นาศักยภาพกาลังคน วารสารวทิ ยาลยั สงฆน์ ครลาปาง
เพื่อการเพิ่มผลิตภาพในอตุ สาหกรรม มหาวิทยาลยั มหาจุฬาลงกรณราช
ชิ้นสว่ นยานยนต์ในยคุ ดจิ ทิ ัล วทิ ยาลัย ปีท่ี 11 ฉบับที่ 2
เดือนพฤษภาคม - สงิ หาคม 2565
7. นางสาวดาริน สิริชญานทั การพัฒนารปู แบบการจดั การสถาน วารสารวิชาการมหาวทิ ยาลยั
ประกอบการ OTOP ใหม้ คี ณุ ภาพเพอื่ หอการคา้ ไทย มนุษยศาสตรแ์ ละ
การแข่งขันทางการตลาด สงั คมศาสตร์ ปีท่ี 42 ฉบบั ท่ี 3
เดอื นกรกฎาคม-กันยายน 2565
8. นายปติ ณิ ชั ศ์ ไชยประเสรฐิ รปู แบบการพัฒนาศกั ยภาพผู้บรหิ าร วารสารพฒั นาเทคนคิ ศกึ ษา ปีท่ี 34
หน่วยงานจดั หาวัตถุดิบสาหรับอตุ สาหกรรม ฉบบั ที่ 122 เดือนเมษายน-มิถนุ ายน
ปโิ ตรเคมใี นยุคเศรษฐกิจดจิ ิทลั 2565
9. นางสาวโศภิชฐ์ วงษก์ มลเศรษฐ์ การพัฒนารปู แบบศกั ยภาพผูบ้ รหิ าร วารสารวิทยาลยั สงฆน์ ครลาปาง
หมู่บา้ นอุตสาหกรรม สร้างสรรคเ์ พ่อื มหาวทิ ยาลยั มหาจุฬาลงกรณราช
การทอ่ งเทีย่ ว วิทยาลัย ปที ี่ 11 ฉบบั ที่ 2 เดอื น
พฤษภาคม - สงิ หาคม 2565
10. นายสมพร นอ้ ยสาราญ การพัฒนารูปแบบศกั ยภาพ วารสารวิทยาลยั สงฆ์นครลาปาง
ผู้ประกอบการอุตสาหกรรมฟารม์ ไก่ มหาวทิ ยาลัยมหาจฬุ าลงกรณราช
เนื้อขนาดกลางและขนาดเล็ก เพอื่ การ วิทยาลยั ปที ่ี 11 ฉบบั ท่ี 2 เดอื น
พง่ึ พาตนเองในยคุ เศรษฐกจิ ดจิ ทิ ัล พฤษภาคม - สิงหาคม 2565
11. นายสุรธัช เพียรประสทิ ธ์ิ รูปแบบการพฒั นาศักยภาพผูบ้ รหิ าร วารสารพัฒนาเทคนคิ ศกึ ษา
ฝา่ ยผลิตในอตุ สาหกรรมแปรรปู อาหาร ปที ่ี 35 ฉบับท่ี 127
เพื่อการแข่งขันในยุคดิจิทลั เดอื นกรกฎาคม-กนั ยายน 2566
12. นายเสรมิ ศกั ดิ์ ยง่ั ยนื การพฒั นารูปแบบสมรรถนะของ วารสารรชั ต์ภาคย์ สถาบนั รัชตภ์ าคย์
ผ้จู ดั การแผนกซอ่ มบารุง ในโรงงาน ปที ี่ 16 ฉบบั ที่ 46
อตุ สาหกรรมแปรรปู อาหาร เดือนพฤษภาคม-มิถุนายน 2565
13. นางจินตนา โชควรวัฒนกร การพฒั นารปู แบบการบริหารความ วารสารพัฒนาเทคนคิ ศกึ ษา
เสย่ี งทางธรุ กิจของอุตสาหกรรมชิ้นส่วน ปีที่ 36 ฉบบั ท่ี 130
ยานยนตใ์ นยคุ ดิจิทลั เดือนเมษายน-มิถุนายน 2567
14. นางสาวชนญั ชิดา ขวญั ใจ การพัฒนารปู แบบการบรหิ ารจัดการ วารสารพฒั นาเทคนคิ ศกึ ษา
ธรุ กจิ การออกแบบงานสถาปัตยกรรม ปีที่ 36 ฉบับที่ 130
ในยคุ ดิจทิ ลั เดอื นเมษายน-มิถนุ ายน 2567
15. นายชาติชาย จาดตานิม การพฒั นารปู แบบศักยภาพนักบริหาร วารสารพฒั นาเทคนคิ ศกึ ษา
ทรัพยากรมนษุ ยส์ าหรับธรุ กิจ ปที ี่ 36 ฉบับที่ 130
อุตสาหกรรมในยคุ ความปกตใิ หม่ เดอื นเมษายน-มิถุนายน 2567
31
ตารางท่ี 2.9 (ตอ่ )
ชอื่ – นามสกลุ ช่ือวิทยานิพนธ์ ช่ือวารสารวิชาการที่ไดร้ ับการ
ตีพิมพป์ ที ่ี/ฉบับท่ี วัน-เดือน-ปี
16. นางสาวบริดตา อินรญั การพฒั นารูปแบบสมรรถนะนกั
เทคโนโลยีในอตุ สาหกรรมดิจทิ ลั ทีต่ ีพิมพ์
17. นายสายณั ห์ ปานซัง การพัฒนารปู แบบศกั ยภาพของ วารสารพฒั นาเทคนคิ ศกึ ษา
ผู้จัดการสว่ นบริหารการผลิตใน ปีที่ 36 ฉบบั ท่ี 130
อตุ สาหกรรมผลติ ไฟฟา้
เดือนเมษายน-มิถุนายน 2567
18. นายอนุชา กาญจนกลุ ไพศาล การพฒั นารูปแบบศักยภาพของหวั หนา้ วารสารพฒั นาเทคนคิ ศกึ ษา
งานในโรงงานอตุ สาหกรรมผลิตยา
ภาครฐั เพ่อื การแขง่ ขนั ในยุค ปีท่ี 36 ฉบับท่ี 130
อตุ สาหกรรม 4.0 เดอื นเมษายน-มิถนุ ายน 2567
วารสารพฒั นาเทคนคิ ศกึ ษา
19. นางณพิชญา เทพรอด รูปแบบการพฒั นาศักยภาพด้านการ
บรหิ ารจัดการของนกั เทคโนโลยี ปีท่ี 36 ฉบับที่ 130
ปัญญาประดษิ ฐ์ภาครฐั เดอื นเมษายน-มิถุนายน 2567
20. นางสาววจิ ติ รา สรรพอาษา การพฒั นารูปแบบศักยภาพ วารสารพฒั นาเทคนคิ ศกึ ษา
ผูป้ ระกอบการในธุรกจิ อตุ สาหกรรม ปีท่ี 36 ฉบับที่ 130
เครอ่ื งนุง่ หม่ สาเรจ็ รูป
เดือนเมษายน-มถิ ุนายน 2567
21. นางสาวนฤมล ขาวดี รูปแบบการพัฒนาสมรรถนะของ วารสารพฒั นาเทคนคิ ศกึ ษา
วิศวกรตน้ ทนุ ในอุตสาหกรรมก่อสร้าง
ปีท่ี 36 ฉบบั ท่ี 130
22. นายอดศิ ักด์ิ วรพิวฒุ ิ การพัฒนารปู แบบศักยภาพของ เดือนเมษายน-มถิ ุนายน 2567
วารสารวิชาการพระจอมเกล้า
ผ้บู รหิ ารสานกั งานการท่องเท่ยี วและ พระนครเหนือ ปีที่ 34 ฉบับท่ี 4
เดือนเมษายน - มิถุนายน 2567
กีฬาจังหวดั ในยุคเศรษฐกจิ ดิจิทัล วารสารวิชาการพระจอมเกลา้
พระนครเหนือ ปที ี่ 34 ฉบับท่ี 4
23. นายชนิ ะพนั ธ์ สุขะการผดงุ การพัฒนารูปแบบศักยภาพผบู้ รหิ าร เดอื นเมษายน - มิถนุ ายน 2567
วารสารพฒั นาเทคนคิ ศกึ ษา
อุตสาหกรรมผลติ ภณั ฑ์กอ่ สรา้ งเพ่อื
ปที ี่ 36 ฉบับท่ี 130
รองรับอุตสาหกรรม 4.0 เดอื นเมษายน-มิถนุ ายน 2567
วารสารพัฒนาเทคนคิ ศกึ ษา
24. นายจิรซั ย์ เหรียญชัยวานิช การพัฒนารูปแบบศักยภาพ
ปีที่ 36 ฉบบั ท่ี 130
นกั วทิ ยาศาสตร์ขอ้ มูลขององคก์ รในยุค เดือนเมษายน-มิถุนายน 2567
วารสารพฒั นาเทคนคิ ศกึ ษา
ดจิ ิทัล
ปีที่ 36 ฉบบั ที่ 130
25. นายวีระ เเสงฮวด การพัฒนารปู แบบศักยภาพผู้บรหิ าร เดอื นเมษายน-มถิ ุนายน 2567
ฝา่ ยควบคุมคณุ ภาพในอุตสาหกรรม วารสารพฒั นาเทคนคิ ศกึ ษา
ปีท่ี 36 ฉบับท่ี 130
การผลิตช้ินส่วนยานยนต์เพ่อื การ
เดือนเมษายน-มถิ นุ ายน 2567
แข่งขัน
26. นางสาวสุภาพร คณาทรพั ย์ รูปแบบการพฒั นาศักยภาพผูจ้ ัดการ
บัญชีธรุ กิจกล่มุ อาหารและเครือ่ งดม่ื ใน
ยคุ ดจิ ทิ ัล
32
ตารางที่ 2.9 (ตอ่ ) ชอื่ วทิ ยานิพนธ์ ชอื่ วารสารวิชาการท่ไี ดร้ ับการ
ชอ่ื – นามสกลุ ตีพิมพ์ปีที/่ ฉบบั ท่ี วนั -เดือน-ปี
การพัฒนารูปแบบการบรหิ ารจัดการ
27. นางอมรรตั น์ ชมุ ภู อตุ สาหกรรมโรงโมแ่ ละเหมืองหนิ เพ่อื ทตี่ ีพิมพ์
การแขง่ ขัน
28. นายวสันต์ พลาศัย การพัฒนารูปแบบศักยภาพผ้จู ัดการ วารสารพฒั นาเทคนคิ ศกึ ษา
วิสาหกิจชุมชนอาหารฮาลาลจงั หวัด ปีที่ 36 ฉบับที่ 130
ชายแดนใต้
เดอื นเมษายน-มิถุนายน 2567
วารสารพฒั นาเทคนคิ ศกึ ษา
ปที ่ี 36 ฉบบั ที่ 130
เดอื นเมษายน-มถิ ุนายน 2567
การปรับปรุงหลกั สูตรตามรอบระยะเวลาทก่ี าหนด
หลักสูตรมีการปรับปรุงหลักสูตรอย่างต่อเน่ืองทุกๆ 5 ปี ตามมาตรฐานคุณภาพการศึกษาท่ี
กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (อว.) กาหนด โดยได้นาข้อมูลจากผู้มีส่วน
ได้ส่วนเสียมาปรับปรุงคุณภาพของหลักสูตร นอกจากน้ียังได้นาการประเมินผลรายงาน OBE.3 และ
OBE.5 ของแต่ละภาคการศึกษา และรายงานผลการดาเนินการของหลักสูตรใน OBE.7 เมื่อสิ้นสุดปี
การศกึ ษามาพจิ ารณาร่วมด้วย
33
ต า ร า งส รุ ป ผ ล กา ร ป ร ะเ มิน กา ร บ ริ ห า ร จั ด กา ร ห ลั กสู ต ร ต า มเ กณ ฑ์ ม า ต ร ฐ า น ห ลั ก สู ต ร
ท่ีกาหนดโดยสานักงานคณะกรรมการการอดุ มศึกษา
เกณฑก์ ารประเมนิ ผลการดาเนนิ การ
ผ่าน ไมผ่ ่าน
1. จานวนอาจารยผ์ รู้ ับผดิ ชอบหลักสูตร
2. คุณสมบัติของอาจารย์ผรู้ ับผิดชอบหลักสูตร
3. คณุ สมบัตขิ องอาจารย์ประจาหลักสตู ร
4. คณุ สมบัติของอาจารย์ผู้สอน ท่ีเปน็ อาจารยป์ ระจา
5. คุณสมบตั ิของอาจารย์ผสู้ อน ทเี่ ปน็ อาจารย์พิเศษ (ถา้ ม)ี
6. คณุ สมบตั ิของอาจารย์ท่ีปรกึ ษาวทิ ยานพิ นธ์หลัก
7. คณุ สมบัติของอาจารยท์ ่ีปรึกษาวิทยานิพนธร์ ่วม (ถ้ามี)
8. อาจารยผ์ ู้สอบวิทยานิพนธ์
9. คณุ สมบัติของอาจารยผ์ ู้สอบวิทยานิพนธ์
10. การตพี ิมพ์เผยแพรผ่ ลงานของผสู้ าเรจ็ การศกึ ษา
11. ภาระงานอาจารย์ท่ปี รึกษาวิทยานิพนธ์ในระดับบัณฑิตศึกษา
12. การปรับปรงุ หลักสตู รตามรอบระยะเวลาของหลักสูตร หรือทกุ รอบ 5 ปี
การประเมินตนเององค์ประกอบที่ 1 การกากับมาตรฐาน มี 1 ตวั บ่งชี้ คือ การบรหิ ารจัดการ
หลักสูตรตามเกณฑ์มาตรฐานหลักสูตรที่กาหนดโดยสานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา
ประกอบด้วยเกณฑก์ ารประเมินจานวน 12 ขอ้ ผลการประเมนิ ผา่ นเกณฑ์มาตรฐาน จานวน 12 ข้อ
สรุปผลการประเมินการบริหารจัดการหลกั สตู ร
() ผ่าน ( ) ไมผ่ า่ น
34
ส่วนท่ี 3 การพฒั นาคุณภาพหลกั สูตรตามเกณฑ์ AUN-QA ระดบั หลักสูตร
การประเมินคุณภาพหลักสูตรองค์ประกอบท่ี 2 การพัฒนาคุณภาพหลักสูตรตามเกณฑ์ AUN-
QA ระดับหลักสูตร เป็นการประเมินผลการบริหารหลักสูตรและการจัดการเรียนการสอนตามเกณฑ์
AUN-QA ระดับหลักสูตร มีเกณฑ์การประเมิน จานวน 8 เกณฑ์ แต่ละเกณฑ์มีระดับการประเมิน 7
ระดับ ตามรายละเอยี ดตอ่ ไปนี้
คะแนน คาอธบิ าย
1 Absolutely Inadequate
2 The QA practice to fulfil the criterion is not implemented. There are no
plans, documents, evidences or results available. Immediate improvement
3 must be made.
Inadequate and Improvement is Necessary
4 The QA practice to fulfil the criterion is still at its planning stage or is
5 inadequate where improvement is necessary. There is little document or
6 evidence available. Performance of the QA practice shows little or poor
results.
7 In adequate but Minor Improvement Will Make it Adequate
The QA practice to fulfil the criterion is defined and implemented but
minor improvement is needed to fully meet them. Documents are
available but no clear evidence to support that they have been fully
used. Performance of the QA practice shows inconsistent or some results.
Adequate as Expected
The QA practice to fulfil the criterion is adequate and evidences support
that it has been fulfil implemented. Performance of the QA practice
shows consistent results as expected.
Better than Adequate
The QA practice to fulfil the criterion is better than adequate. Evidences
support that it has been efficiently implemented. Performance of the QA
practice shows good results and positive improvement trend.
Example of Best Practices
The QA practice to fulfil the criterion is considered to be example of best
practices in the field. Evidences support that it has been effectively
implemented. Performance of the QA practice shows very good results
and positive improvement tread.
Excellent (Example of World-class or Leading Practices)
The QA practice to fulfil the criterion is considered to be excellent or
example of world-class practices in the field. Evidences support that it
has been innovatively implemented. Performance of the QA practice
shows excellent results and outstanding improvement trends.
AUN. 1 ผลการเรียนรทู้ คี่ าดหวัง (Expected Learning Outcomes)
ผลการดาเนนิ งาน
หลักสูตรบริหารธุรกิจดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาการพัฒนาธุรกิจอุตสาหกรรมและทรัพยากรมนุษย์
มุ่งผลิตดุษฎีบัณฑิตท่ีมีความรู้ความสามารถ มีหลักการในการบริหารธรุ กิจและการบริหารทรัพยากรมนุษย์
มีความรู้ความสามารถในการวิจัยและพัฒนาองค์ความรู้ใหม่ เพื่อนามาประยุกต์ใช้ในการแก้ปัญหา
ตา่ งๆ ทเ่ี ก่ียวขอ้ งกับการบริหารธุรกิจและบรหิ ารทรัพยากรมนุษย์ สร้างความเป็นเลิศทางด้านวชิ าการ
ในศาสตร์ของการบริหารจัดการในธุรกิจอุตสาหกรรมและทรัพยากรมนุษย์ เพื่อเป็นผู้นาในการ
ขับเคล่ือนเศรษฐกิจและอุตสาหกรรมของประเทศ ซ่ึงการดาเนินการของหลักสูตรจะสอดคล้องกับ
ปรัชญาของมหาวทิ ยาลยั คอื “พัฒนาคน พฒั นานวตั กรรม พฒั นาวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี”
ปรัชญาของหลักสูตร คือ “พัฒนาธุรกิจอุตสาหกรรมและทรัพยากรมนุษย์ เพ่ือพัฒนาองค์การสู่
ความเป็นเลิศและความสาเร็จอย่างย่ังยืน” อีกทั้งหลักสูตรยังมุ่งท่ีจะผลิตดุษฎีบัณฑิตให้สอดคล้อง
กับอัตลกั ษณ์ของมหาวิทยาลยั กลา่ วคอื “บณั ฑติ ท่คี ิดเป็น ทาเปน็ ” และวตั ถปุ ระสงค์ของหลักสตู รคือ
1. เพื่อผลิตดุษฎีบัณฑิตให้มีความรู้ ทกั ษะ เจตคติ ประสบการณแ์ ละจริยธรรมในการประกอบ
ธุรกิจเพ่ือพัฒนาธุรกิจอุตสาหกรรมและทรัพยากรมนุษย์ให้เกิดประโยชน์สูงสุดต่อองค์การ
ทัง้ ภาครฐั และเอกชน
2. เพือ่ ผลติ ดษุ ฎีบัณฑติ ให้มคี วามรคู้ วามสามารถในการทาวิจยั เชิงลึก เพ่อื ใหไ้ ดร้ ับองคค์ วามรู้
ในการบรหิ ารจดั การทางธรุ กจิ อุตสาหกรรมและทรัพยากรมนุษย์
3. เพ่ือผลิตดุษฎีบัณฑิตที่มีความสามารถในการวิเคราะห์ สังเคราะห์องค์ความรู้ด้านการบริ
หารธุรกิจอุตสาหกรรมและทรัพยากรมนุษย์เพื่อนาไปใช้ในองค์การหรือสถานประกอบการ
ให้เกิดประโยชนส์ ูงสดุ
4. เพอื่ ผลติ ดษุ ฎบี ณั ฑติ ที่มีความสามารถในการบริหารธุรกิจอตุ สาหกรรมและทรัพยากรมนษุ ย์
ในการพัฒนาความคิดอย่างเป็นระบบเพื่อแก้ปัญหาด้านการบริหารธุรกิจอุตสาหกรรมและ
ทรพั ยากรมนษุ ย์
หลักสูตรได้มีการปรับปรุงหลักสูตรอย่างต่อเนื่อง โดยหลักสูตรที่ดาเนินการในปัจจุบัน คือ
หลกั สตู รบรหิ ารธุรกจิ ดุษฎีบัณฑิต (หลักสูตรปรบั ปรุง พ.ศ. 2561) ไดผ้ ่านการพิจารณาความเห็นชอบ
จากคณะกรรมการพิจารณาหลักสูตรในรูปแบบของรายละเอียดหลักสูตร (มคอ.2) โดยมี
คณะกรรมการพัฒนาหลักสูตรบริหารธุรกิจดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาการพัฒนาธุรกิจอุตสาหกรรมและ
ทรัพยากรมนุษย์ พิจารณาความเหมาะสมของรายวิชาในหลักสูตร และได้รับการพิจารณากล่ันกรองโดย
คณะกรรมการประจาส่วนงานวิชาการคณะพัฒนาธุรกิจและอุตสาหกรรม คณะกรรมการบริหารบัณฑิต
วิทยาลัย คณะกรรมการประจาบัณฑิตวิทยาลัย สภาวิชาการมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้า
พระนครเหนือ ตลอดจนได้รับความเห็นชอบจากสภามหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ
เมื่อวันที่ 27 มิถุนายน 2561 และสานักงานปลัดกระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัย และ
นวัตกรรม (อว.) ได้พิจารณาความสอดคล้องและออกรหัสหลักสูตรเป็นท่ีเรียบร้อยแล้ว เม่ือวันที่ 20
สิงหาคม 2562 หลักสูตรได้กาหนดผลการเรียนรู้ท่ีคาดหวัง (Expected Learning Outcomes :
ELO) ของหลักสูตรภายใต้กรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ ที่กาหนดผลการเรียนรู้ท่ี
คาดหวังให้บัณฑิตมีอย่างน้อย 5 ด้าน ได้แก่ 1) คุณธรรม จริยธรรม 2) ความรู้ 3) ทักษะทางปัญญา
4) ทกั ษะความสัมพันธร์ ะหวา่ งบคุ คลและความรับผิดชอบ และ 5) ทักษะการวิเคราะหเ์ ชิงตวั เลข การ
36
ส่อื สารและการใช้เทคโนโลยสี ารสนเทศ ทง้ั นหี้ ลกั สตู รได้นาวิสยั ทัศน์ และพนั ธกจิ ของคณะมากาหนด
วัตถุประสงค์ของหลักสูตร จานวน 3 ข้อ ดังกล่าวในข้างต้น ซึ่งทาหน้าท่ีผลิตบัณฑิตท่ีมีความรู้
ความสามารถ ด้านธุรกิจและอุตสาหกรรมสู่ระดับนานาชาติ ในการพัฒนาคุณลักษณะพิเศษของดุษฎี
บัณฑิตตามนัยดังกล่าวนี้ หลักสูตรได้ส่งเสริมด้านภาวะผู้นาและทางานเป็นทีม ส่งเสริมด้านคุณธรรม
จริยธรรม และจรรยาบรรณวิชาชีพ ตลอดจนวินัยของนักศึกษาเป็นหลัก ซ่ึงสอดคล้องกับวิสัยทัศน์
และพันธกิจของมหาวิทยาลัย
หลักสูตรมีการปรับปรุงหลักสูตรอย่างต่อเน่ืองทุกๆ 5 ปี ตามมาตรฐานคุณภาพการศึกษาที่
กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (อว.) กาหนด และหลักสูตรมีการปรับปรุง
ย่อย โดยคณะกรรมการพัฒนาหลักสูตร และมีการปรับปรุงระดับรายวิชาโดยผู้ประสานงานรายวิชา
ระหว่างการใชห้ ลกั สูตรมาอย่างต่อเน่ือง โดยไดน้ าขอ้ มลู จากหลายชอ่ งทาง เชน่ ขอ้ มูลผลการประเมิน
ความพึงพอใจของนักศึกษา ผลการประเมินความพึงพอใจของผู้สาเร็จการศึกษาต่อหลักสูตร ผลการ
ประเมินความพึงพอใจของผู้ใช้บัณฑิต และข้อมูลที่ได้จากการสอบถามความต้องการของผู้บริหารใน
สถานประกอบการท้ังภาครัฐและเอกชน ขณะเข้าไปศึกษาดูงานและจากการสัมมนาวิชาการ
มาปรับปรงุ คุณภาพของหลักสตู ร นอกจากนีย้ ังได้นาการประเมินผลรายงาน OBE.3 และ OBE.5 ของ
แต่ละภาคการศึกษา และรายงานผลการดาเนินการของหลักสูตรใน OBE.7 เม่ือสิ้นสุดปีการศึกษามา
พจิ ารณารว่ มดว้ ย
หลักสูตรได้นาผลการสารวจความต้องการของผู้มีส่วนได้ส่วนเสยี ซึ่งได้แก่ ศิษย์ปัจจุบัน ศิษย์เก่า
ผู้ที่สนใจที่จะสมัครเข้าศึกษาต่อ ผู้ใช้บัณฑิต และผู้บริหารในสถานประกอบการท้ังภาครัฐและเอกชน
มาพิจารณาความสาคัญ เพื่อกาหนดและพัฒนาผลการเรียนรู้ที่คาดหวังในแต่ละด้าน ซึ่งได้ระบุไว้ใน
หลักสูตร (มคอ.2 หมวดที่ 4) โดยหลักสูตรมีลกั ษณะของผลการเรยี นรู้ที่คาดหวังครอบคลมุ ท้ังผลการ
เรียนรู้ทั่วไปและผลการเรียนรู้เฉพาะทาง ดังตารางที่ 3.1 อีกท้ังหลักสูตรยังได้จัดทาแผนท่ีแสดงการ
กระจายความรับผิดชอบต่อผลการเรยี นรจู้ ากหลักสตู รสู่รายวิชา (Curriculum mapping) ดังตารางที่ 3.2
37
ตารางที่ 3.1 ความสัมพันธ์ระหว่างผลการเรียนรู้ท่ีคาดหวังของหลักสูตร (ELO) กับความรู้ทั่วไปและ
ความรู้เฉพาะทาง
ผลการเรยี นรู้ที่คาดหวังของหลกั สตู ร Generic Subject
(Expected Learning Outcomes : ELO) Outcomes Specific
Outcomes
1. ปฏิบัติงานอย่างมืออาชีพ พัฒนาตนเองอย่างสม่าเสมอ มีความ
ประพฤติดี ยึดหลักคุณธรรม จริยธรรม จรรยาบรรณ และ
กฎระเบียบทางสังคม มีน้าใจเอ้ือเฟ้ือเผื่อแผ่ ช่วยเหลือผู้อ่ืน และ
มีความรับผิดชอบตอ่ ตนเองและสงั คม
2. สามารถวิเคราะห์ สังเคราะห์ ประยุกต์ใช้และบูรณาการ ความรู้
ทักษะ และความสามารถทางด้านการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์
และศาสตร์อ่ืน ๆ เพ่ือพัฒนาขีดความสามารถของตนเอง และ
สรา้ งองค์ความร้ใู หม่
3. มีความคิดสร้างสรรค์ ในการใช้ความรู้ ทักษะ และความสามารถ
ในการคิด วิเคราะห์ แยกแยะ และแก้ไขปญั หาอย่างเป็นระบบ
4. มีทักษะในการติดต่อสือ่ สารทีม่ ปี ระสิทธิภาพและประสทิ ธผิ ล
5. ศึกษาค้นคว้าข้อมูล เลือกใช้เครื่องมือทางสถิติและเลือกใช้
เทคโนโลยีสารสนเทศในการวิเคราะห์ข้อมูลเพ่ือนาเสนอผลการ
วเิ คราะห์ข้อมลู
6. สามารถเสนอแนะแนวทางแก้ไขปัญหาได้อย่างถูกต้องตามหลัก
วิชาการและนาไปสู่การประยกุ ตใ์ ชใ้ นงานดา้ นการพฒั นาสสู่ ากล
38
ตารางท่ี 3.2 แผนทแี่ สดงการกระจายความรบั ผดิ ชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลกั สตู รส่รู ายวชิ า (Curriculum Mapping)
ความรับผิดชอบหลัก ความรบั ผดิ ชอบรอง
รหัสวิชา รายวิชา 1.คุณธรรม 2.ความรู้ 3.ทกั ษะทาง 4.ทักษะความสัมพนั ธ์ 5.ทักษะการ
จรยิ ธรรม 123 ปญั ญา ระหวา่ งบคุ คลและความ วเิ คราะหเ์ ชิงตวั เลข
160117101 สถติ ิและการวิจยั ขนั้ สงู ในการพัฒนา การสื่อสารและการ
160117102 ธรุ กจิ อตุ สาหกรรมและทรัพยากร 123 123 รับผดิ ชอบ
160117103 มนษุ ย์ ใชเ้ ทคโนโลยี
160117201 การบริหารทรัพยากรมนุษย์ขั้นสูงใน 12345 สารสนเทศ
160117202 ธุรกิจอตุ สาหกรรม
ยทุ ธศาสตร์การเสรมิ สรา้ งขดี 123
ความสามารถของมนษุ ย์ในธรุ กิจ
อุตสาหกรรม
สัมมนาการพฒั นาธุรกจิ
39 อุตสาหกรรมและทรัพยากรมนุษย์
การพฒั นาธรุ กิจอุตสาหกรรม
ระหว่างประเทศและทรัพยากร
มนุษย์
39
ตารางที่ 3.2 แผนทีแ่ สดงการกระจายความรบั ผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรจู้ ากหลกั สูตรสูร่ ายวิชา (Curriculum Mapping) (ต่อ)
ความรับผดิ ชอบหลกั ความรับผิดชอบรอง
รหสั วชิ า รายวิชา 1.คุณธรรม 2.ความรู้ 3.ทกั ษะทาง 4.ทกั ษะความสัมพันธ์ 5.ทักษะการ
จรยิ ธรรม 123 ปญั ญา ระหว่างบุคคลและความ วเิ คราะหเ์ ชงิ ตัวเลข
160117203 การส่อื สารและการ
160117204 123 123 รับผิดชอบ
160117205 ใชเ้ ทคโนโลยี
12345 สารสนเทศ
160117206
160117207 123
160117208
160117209 การบริหารความสมดลุ ของชวี ิต
160117302
ปรัชญาการพฒั นาธุรกจิ อตุ สาหกรรม
และทรัพยากรมนุษย์ขน้ั สงู
40
ยุทธศาสตร์การตัดสนิ ใจเพื่อพัฒนา
ธุรกิจอุตสาหกรรมและทรัพยากร
มนุษย์
การวิจยั เชิงคณุ ภาพขน้ั สงู
การวิจยั เชิงปรมิ าณข้นั สงู
การปรึกษาด้านการพัฒนาองค์การ
ขั้นสงู
กฎหมายการดาเนนิ ธุรกจิ
วิทยานิพนธ์
40
หลักสูตรมีเน้ือหาของแต่ละรายวิชาครอบคลุมท้ังภาคทฤษฏีและปฎิบัติซึ่งได้ระบุไว้ในแผนการ
สอนของแตล่ ะวิชา และคาอธิบายรายวชิ าในหลักสูตร (มคอ.2) ทาใหผ้ เู้ รียนได้รบั ความรูใ้ นภาคทฤษฎี
และสามารถปฎบิ ัตไิ ดจ้ รงิ โดยจากการวเิ คราะห์แบบประเมินความพึงพอใจของนักศึกษาท่ีมตี ่อผู้สอน
นักศึกษามีความพึงพอใจในระดบั มากทีส่ ดุ โดยมีคา่ เฉล่ยี สงู สดุ 4.83 จาก 5
หลักสูตรได้จัดให้มีรายวิชาต่าง ๆ เพ่ือให้มีผลการเรียนรู้ที่คาดหวังครอบคลุมทั้งผลการเรียนรู้
ท่ัวไป และผลการเรียนรู้เฉพาะทาง ซ่ึงวิชาที่ทาให้นักศึกษามีผลการเรียนรู้ที่คาดหวังท่ัวไป ได้แก่
รายวิชาสัมมนาการพัฒนาธุรกิจอุตสาหกรรมและทรัพยากรมนุษย์ และรายวิชาสถิติและการวิจัย
ข้ันสูงด้านการพัฒนาธุรกิจอุตสาหกรรมและทรัพยากรมนุษย์ เป็นต้น ส่วนวิชาท่ีทาให้นักศึกษามีผล
การเรยี นรู้ทีค่ าดหวังเฉพาะทาง ไดแ้ ก่ รายวิชาการบรหิ ารทรัพยากรมนุษย์ข้นั สูงในธุรกิจอุตสาหกรรม
รายวิชายุทธศาสตร์การตัดสินใจเพ่ือพัฒนาธุรกิจอุตสาหกรรมและทรัพยากรมนุษย์ และรายวิชา
ยทุ ธศาสตรก์ ารเสรมิ สร้างขดี ความสามารถของมนุษย์ในธุรกจิ อตุ สาหกรรม เป็นตน้
ทงั้ น้ผี ลการเรียนรู้ทคี่ าดหวงั ของหลกั สตู รจะความเชื่อมโยงและครอบคลุมทุกรายวชิ าในหลักสูตร
เช่น รายวิชาการบริหารทรัพยากรมนุษย์ข้ันสูงในธุรกิจอุตสาหกรรม ได้ระบุผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง
ของหลักสูตรไว้ในจุดมุ่งหมายและวัตถุประสงค์ของวิชา ในแผนการสอน (Course syllabus) อย่าง
ชดั เจน
ผลการเรียนรู้ที่คาดหวังของหลักสูตรสะท้อนถึงความต้องการของผู้มีส่วนได้ส่วนเสียโดยใช้
แนวคิดการประเมินผลแบบ 360 องศา ซ่ึงประกอบด้วย คณะพัฒนาธุรกิจและอุตสาหกรรม
มหาวิทยาลัย อาจารย์ผู้สอน นักศึกษาปัจจุบัน ศิษย์เก่า และผู้ใช้บัณฑิต โดยหลักสูตรได้มีการสารวจ
ความต้องการของผู้มีส่วนได้ส่วนเสียต่อผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง (ELO) ของหลักสูตร และมีขั้นตอน
การได้มาซ่ึงผลการเรียนรู้ที่คาดหวังของหลักสตู รจากการประเมินโดยผู้มีสว่ นได้ส่วนเสยี ของหลักสูตร
ทาให้ผลการเรียนรู้ท่ีคาดหวัง (ELO) มีความเช่ือมโยงกับคุณลักษณะที่คาดหวังตามกรอบมาตรฐาน
คุณวุฒิการศึกษาแห่งชาติ ดังตารางที่ 3.3 แสดงความสัมพันธ์ระหว่างกรอบมาตรฐานคุณวุฒิ
การศึกษาแห่งชาติ (TQF) กับผลการเรียนรู้ท่ีคาดหวัง (ELO) และหลักสูตรได้แสดงความสัมพันธ์
ระหว่างผลการเรียนรู้ที่คาดหวังกับความต้องการของผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย ดังตารางท่ี 3.4 แสดงความ
เชือ่ มโยงของผลการเรยี นรู้ทีค่ าดหวังกบั ความต้องการของผู้มีสว่ นได้ส่วนเสยี
ผลการเรียนร้ทู ค่ี าดหวงั ของหลกั สตู รได้รบั การประเมนิ จากผ้มู สี ่วนได้ส่วนเสีย เช่น แบบสอบถาม
ความพึงพอใจของนักศึกษาต่อการจัดการเรียนการสอนของหลักสูตร ในปีการศึกษา 2564 มีผล
ประเมินความพึงพอใจของนักศึกษาต่อการจัดการเรียนการสอนของหลักสูตรในระดับมากท่ีสุด
(คา่ เฉล่ยี 4.85 จาก 5) และผลการประเมินแบบสารวจคณุ ลกั ษณะของบัณฑิตท่ีพงึ ประสงค์ ตามความ
ต้องการของสถานประกอบการอยู่ในระดับมากท่ีสุด (ค่าเฉลี่ย 4.72 จาก 5) จากผลการประเมินจะ
เหน็ ว่าได้ว่าผลคะแนนเฉลี่ยอยใู่ นเกณฑม์ ากถึงมากท่ีสุด แสดงให้เหน็ ว่าไดต้ อบสนองตอ่ ความต้องการ
ของผู้มสี ว่ นไดส้ ่วนเสีย
ในการดาเนินงานของหลักสูตรจะมีอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรทาหน้าที่กากับติดตามเพื่อให้
นักศึกษาบรรลุผลการเรียนรู้ท่ีคาดหวังของหลักสูตรตามกรอบมาตรฐาน (TQF) โดยกาหนดให้
อาจารย์ผู้สอนจัดทารายละเอียดของรายวิชา (OBE3) ซึ่งผู้สอนจะกาหนดรายละเอียดของการจัดการ
เรียนการสอนเพ่ือให้นักศึกษาบรรลุผลการเรียนท่ีคาดหวัง และจะต้องดาเนินการจัดทาแบบรายงาน
ผลการเรียนการสอนในแต่ละภาคการศึกษา (OBE5) นอกจากนี้ทุก ๆ สิ้นปีการศึกษาอาจารย์
ผู้รบั ผิดชอบหลกั สูตรจะรายงานผลการดาเนนิ การหลักสูตร (OBE7)
41
ตารางท่ี 3.3 แสดงความสมั พันธร์ ะหว่างกรอบมาตรฐานคุณวฒุ ิการศึกษาแห่งชาติ (TQF) กับผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง (ELO)
ผลการเรยี นร้ทู ่คี าดหวงั ของหลักสูตร กรอบมาตรฐานคณุ วุฒิการศกึ ษาแห่งชาติ (TQF)
(Expected Learning Outcomes : ELO) คุณธรรม ความรู้ ทกั ษะทาง ทักษะความสัมพันธ์ ทักษะการวเิ คราะหเ์ ชิง
จรยิ ธรรม ปญั ญา ระหว่างบคุ คลและ ตัวเลข การสื่อสารและการ
ความรับผิดชอบ ใช้เทคโนโลยสี ารสนเทศ
1. ปฏิบัติงานอย่างมืออาชีพ พัฒนาตนเองอย่างสม่าเสมอ มีความประพฤติดี
ยึดหลักคุณธรรม จริยธรรม จรรยาบรรณ และกฎระเบียบทางสังคม
มนี ้าใจเอือ้ เฟ้ือเผื่อแผ่ ชว่ ยเหลอื ผู้อ่ืน และมีความรับผิดชอบต่อตนเองและสังคม
2. สามารถวิเคราะห์ สังเคราะห์ ประยุกต์ใช้และบูรณาการ ความรู้ ทักษะ
และความสามารถทางด้านการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ และศาสตร์อ่ืน ๆ
เพื่อพฒั นาขีดความสามารถของตนเอง และสรา้ งองคค์ วามรใู้ หม่
42 3. มีความคิดสร้างสรรค์ ในการใช้ความรู้ ทักษะ และความสามารถในการคิด
วิเคราะห์ แยกแยะ และแก้ไขปญั หาอยา่ งเป็นระบบ
4. มที กั ษะในการตดิ ตอ่ สือ่ สารทีม่ ปี ระสิทธิภาพและประสิทธผิ ล
5. ศึกษาค้นคว้าข้อมูล เลือกใช้เคร่ืองมือทางสถิติและเลือกใช้เทคโนโลยี
สารสนเทศในการวิเคราะหข์ ้อมลู เพอ่ื นาเสนอผลการวิเคราะหข์ ้อมูล
6. สามารถเสนอแนะแนวทางแก้ไขปัญหาได้อย่างถูกต้องตามหลักวิชาการและ
นาไปสกู่ ารประยกุ ตใ์ ชใ้ นงานด้านการพัฒนาสู่สากล
42
ตารางที่ 3.4 แสดงความเชอื่ มโยงของผลการเรียนรทู้ ค่ี าดหวังกบั ความต้องการของผมู้ สี ่วนไดส้ ่วนเสยี (Aligning Stakeholders’ Needs to Learning Outcomes)
ผลการเรยี นรทู้ ีค่ าดหวังของหลกั สตู ร คณะ มหาวิทยาลัย อาจารย์ นักศกึ ษา ศษิ ย์ ผใู้ ช้
ผ้สู อน ปัจจบุ นั เกา่ บณั ฑิต
(Expected Learning Outcomes : ELO) P
PP P
1. ปฏิบัติงานอย่างมืออาชีพ พัฒนาตนเองอย่างสม่าเสมอ มีความประพฤติดี P
PP P
ยึดหลักคุณธรรม จริยธรรม จรรยาบรรณ และกฎระเบียบทางสังคม M M P
PP P P
มีนา้ ใจเอ้ือเฟอ้ื เผอื่ แผ่ ช่วยเหลอื ผอู้ น่ื และมีความรับผดิ ชอบตอ่ ตนเองและสังคม PP P P
PP P P
2. สามารถวิเคราะห์ สังเคราะห์ ประยุกต์ใช้และบูรณาการ ความรู้ ทักษะ และ PP P
ความสามารถทางด้านการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ และศาสตร์อ่ืน ๆ M M
เพอื่ พัฒนาขีดความสามารถของตนเอง และสร้างองค์ความรใู้ หม่
3. มีความคิดสร้างสรรค์ ในการใช้ความรู้ ทักษะ และความสามารถในการคิด M M
วเิ คราะห์ แยกแยะ และแก้ไขปญั หาอยา่ งเปน็ ระบบ
43 4. มที ักษะในการตดิ ต่อสื่อสารทมี่ ีประสิทธภิ าพและประสทิ ธิผล MM
5. ศึกษาค้นคว้าข้อมูล เลือกใช้เคร่ืองมือทางสถิติและเลือกใช้เทคโนโลยี M M
สารสนเทศในการวเิ คราะหข์ ้อมลู เพ่อื นาเสนอผลการวเิ คราะหข์ ้อมลู
6. สามารถเสนอแนะแนวทางแก้ไขปัญหาได้อย่างถูกต้องตามหลักวิชาการและ M M
นาไปสู่การประยุกต์ใช้ในงานด้านการพฒั นาสสู่ ากล
Remarks: F = Fully fulfilled M = Moderately fulfilled P = Partially fulfilled
43
ในระหว่างดาเนินการหลักสูตรได้มีการส่ือสารผลการเรียนรู้ท่ีคาดหวังระดับหลักสูตรและ
รายละเอียดของหลักสูตรให้กบั ผทู้ ีส่ นใจทจ่ี ะเข้าศกึ ษาต่อในหลักสูตร บคุ ลากร และผูม้ สี ว่ นได้ส่วนเสีย
ทุกกลุ่มผ่านช่องทางต่าง ๆ เช่น เว็บไซต์ของคณะ แผ่นพับประชาสัมพันธ์หลักสูตร เพ่ือให้ทราบและ
เข้าใจรายละเอียดและเอกลกั ษณข์ องหลักสตู ร ทาให้ในปีการศึกษา 2564 มผี ู้ท่ีมคี ณุ สมบตั ิเปน็ ไปตาม
เกณฑ์ สมคั รเข้ามาศึกษาต่อในระดบั ปริญญาเอก จานวน 32 คน และผา่ นการคัดเลอื กจานวน 17 คน
หลักสูตรไดต้ ิดตามประสทิ ธิผลของการประชาสมั พันธห์ ลักสูตรในชอ่ งทางตา่ งๆ ระหว่างการสมั ภาษณ์
ผู้สมัครเรียน พบว่า ผู้สมัครเข้าถึงข้อมูลรายละเอียดหลักสูตรผ่านทางเว็บไซต์ของมหาวิทยาลัย และ
ชอ่ งทางการใช้สอื่ สังคมออนไลน์ของบุคลากรในหลักสูตร รวมทั้งรบั รู้ข้อมูลจากการบอกตอ่ ของศิษย์เกา่
ในส่วนของการวัดผลการเรียนรู้เป็นไปตามข้อบังคับมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้า
พระนครเหนือ วา่ ด้วยการศึกษา ระดับบณั ฑติ ศึกษา พ.ศ. 2560 และมีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์โดยใช้
การทวนสอบจากข้อสอบ งานท่ีมอบหมาย รายงาน หรือการสอบประเภทอ่ืน ๆ โดยวิธีการทวนสอบ
ที่ใช้ขึ้นอยู่กับตัวชี้วัดมาตรฐานการเรียนรู้ในด้านต่าง ๆ เป็นสาคัญ ซึ่งการจัดการเรียนการสอนในปี
การศึกษา 2564 ทางหลักสูตรได้ดาเนินการตามนโยบายของมหาวิทยาลัยเน่ืองด้วยการจัดการเรียน
การสอนภายใต้สภาวการณ์โรคติดเชอ้ื ไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) โดยได้ดาเนินการจัดการเรียน
การสอนในรูปแบบ Online เต็มรูปแบบ ท้ังการเรียนและการวัดผล โดยส่วนใหญ่จะดาเนินการเรียน
การสอนผ่านแอปพลิเคช่ัน Google Classroom และ Google Meet เป็นหลัก (แอปพลิเคช่ัน
ดังกล่าว มีฟังก์ชั่นท่ีช่วยในการจัดการช้ันเรียนอยู่แล้ว ไม่ว่าจะเป็นการเขียนข้อความ การสร้าง
Assignment และการกาหนดส่งงาน) อย่างไรก็ตาม ผู้สอนจะมีการสังเกตพฤติกรรมของนักศึกษา
ระหว่างเรียนด้วย เพ่ือให้ได้ผลตามผลลัพธ์การเรียนรู้ของรายวิชา (CLOs) ผ่านกระบวนการวัดและ
ประเมินผลทั้ง Formative และ Summative เช่น มีการกาหนดเคร่ืองมือท่ีใช้ในการประเมินและ
เกณฑ์การตัดสินผลการประเมินไว้ชัดเจน และดาเนินการแจ้งคาอธิบายรายวิชาในเอกสารแผนการ
สอนก่อนเร่ิมเรียน พร้อมกับมีการทบทวนข้อสอบก่อนนาไปใช้ เน่ืองด้วยการเรียนการสอนที่มีการ
เปลี่ยนรูปแบบไป ทาให้ผู้สอนต้องปรับบริบทเนื้อหาการสอนและข้อสอบให้สอดคล้องกับวิธีการสอน
เมื่อดาเนินการสอบไปแลว้ จะแจง้ คะแนนและข้อมลู ป้อนกลับแกน่ ักศึกษาเป็นรายบุคคล
สว่ นการกาหนดผลการเรียนรู้ทีค่ าดหวัง ใหค้ รอบคลุมผูม้ ีส่วนไดส้ ว่ นเสยี หลกั สตู รไดห้ ารือในที่
ประชมุ คณะกรรมการพัฒนาหลักสูตรบรหิ ารธุรกจิ ดุษฎบี ณั ฑิต
ในส่วนของการวัดผลการเรียนรู้ที่คาดหวังเกี่ยวกับการจัดทาวิทยานิพนธ์ คือ การประเมิน
ผลสัมฤทธิ์ในการทาวิทยานิพนธ์ จะมีการประเมินตามความก้าวหน้าของผลงาน เพื่อให้จานวน
หน่วยกิต (IP) ตามความก้าวหน้าของงานวิจัยท้ังในการออกแบบวิจัยเชิงปริมาณและเชิงคุณภาพ
ซ่ึงนักศึกษาจะต้องจัดทาโครงร่างวิทยานิพนธ์ เพื่อสอบกลั่นกรองโครงร่างวิทยานิพนธ์ สอบหัวข้อ
วิทยานพิ นธ์ สอบกา้ วหน้าวทิ ยานพิ นธ์ สอบป้องกนั วทิ ยานิพนธ์ เขยี นบทความวิทยานิพนธเ์ พื่อตีพิมพ์
ในวารสารวิชาการซึ่งเป็นขั้นตอนสุดท้ายของกระบวนการจัดทาวิทยานิพนธ์ และเป็นการประเมินว่า
นักศึกษาบรรลุเป้าหมายผลลัพธ์การศึกษา หลักสูตรได้จัดทาเป็นระบบวางแผนวิทยานิพนธ์ให้แก่
นักศึกษาปริญญาเอก โดยจะแจ้งนักศึกษาให้ทราบตั้งแต่นักศึกษาเร่ิมต้นศึกษาหัวข้อวิทยานิพนธ์
เพือ่ ให้นกั ศกึ ษาได้ดาเนินวทิ ยานพิ นธ์เสร็จสิ้นตามกรอบเวลาทก่ี าหนด
ท้ังนี้หลักสูตร ได้วางแผนประเมินผลลัพธ์การเรียนรู้ของนักศึกษาทุกคนด้วยวิธีการต่างๆ และ
หลงั จากประเมินแลว้ หลักสตู รจะนาผลท่ไี ด้มาปรบั ในรายวชิ าและหลักสูตรต่อไป
44