The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

SAR63โรงเรียนร่มเกล้า บุรีรัมย์

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by chattuporn6599, 2021-05-11 03:59:54

SAR63โรงเรียนร่มเกล้า บุรีรัมย์

SAR63โรงเรียนร่มเกล้า บุรีรัมย์

๔๖

จดุ เด่น จดุ ทีต่ ้องพฒั นา และแผนการพัฒนาคุณภาพเพ่อื ยกระดับให้สงู ขึน้

จดุ เดน่ จดุ ทค่ี วรพัฒนา
๑. ผู้เรียนมีคุณธรรม จติ อาสา ๑. ความสามารถในการอา่ น การคดิ วเิ คราะห์ ของนกั เรียน
๒. ระบบดแู ลชว่ ยเหลอื ผเู้ รียน ๒. การพัฒนาความสามารถภาษาอังกฤษของนักเรียน
๓. ผลสมั ฤทธิ์ทางการเรยี นตามหลกั สตู ร ๓. คลงั ขอ้ สอบ
๔. การบริหารจดั การศกึ ษา และการมี

สว่ นร่วมของผ้เู กยี่ วข้อง
๕.โรงเรยี นจดั กจิ กรรมวถิ ีพุทธ
๖.กิจกรรมโรงเรียนคุณธรรม

๓. แผนพัฒนาเพือ่ ให้ได้มาตรฐานที่สูงขนึ้
แผนปฏิบัติการที่ ๑ ยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนตามหลักสูตรการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน ๘ กลุ่มสาระ โดยเน้น ๕
กลุม่ วิชาหลกั ไดแ้ ก่วิทยาศาสตร์ คณติ ศาสตร์ ภาษาไทย สังคมศึกษาศาสนาและวัฒนธรรม และภาษาต่างประเทศ
แผนปฏิบัตกิ ารท่ี ๒ ส่งเสรมิ สนับสนนุ ใหส้ ถานศึกษาใช้ระบบคอมพิวเตอร์ และส่อื อิเลคทรอนกิ ส์
ของโรงเรียนประชารฐั เพอื่ จัดการเรียนการสอนเพิ่มขึน้
แผนปฏิบัติการที่ ๓ พัฒนาศักยภาพผู้เรียน ครู ผู้บริหารและบุคลากรทางการศึกษาให้มีทักษะภาษาท่ีสองและมี
ความพรอ้ มตอ่ การเขา้ สปู่ ระชาคมอาเซยี น
แผนปฏบิ ตั ิการที่ ๔ สง่ เสรมิ จติ สานกึ ความเป็นชาตไิ ทยในสถาบนั ชาติ ศาสนา และพระมหากษัตริย์
การปกครองตามระบอบประชาธปิ ไตยอนั มีพระมหากษตั ริย์ทรงเป็นประมุข
แผนปฏิบัติการที่ ๕ ส่งเสริมการดารงตนตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงและขยายผลสถานศึกษาต้นแบบ
เศรษฐกจิ พอเพยี ง
แผนปฏิบตั ิการท่ี ๖ พัฒนาคณุ ภาพผูเ้ รียนใหม้ ที กั ษะชีวิตในการรบั มือกบั ภยั พิบัติได้

๔๗

มาตรฐานท่ี ๒ กระบวนการบรหิ ารและการจดั การ

๑. มาตรฐานการศกึ ษา : ดีเลศิ
๒. หลักฐานสนับสนุน

โรงเรียนได้ดาเนินการวิเคราะห์สภาพปัญหา ผลการจัดการศึกษาที่ผ่านมา โดยการศึกษาข้อมูล สารสนเทศ
จากผลการนิเทศ ติดตาม ประเมินการจัดการศึกษาตามนโยบายการปฏิรูปการศึกษา และจัดประชุมระดมความคิดเห็น
จากบุคลากรในสถานศึกษาเพ่ือวางแผนร่วมกันกาหนดเป้าหมาย ปรับวิสัยทัศน์ กาหนดพันธกิจ กลยุทธ์ ในการจัด
การศึกษาของสถานศึกษาเพื่อพัฒนาคุณภาพผู้เรียน มีการปรับแผนพัฒนาคุณภาพจัดการศึกษา แผนปฏิบัติการประจาปี
ให้สอดคล้องกับสภาพปัญหา ความต้องการพัฒนา และนโยบายการปฏิรูปการศึกษาพร้อมท้ังจัดหาทรัพยากร จัดสรร
งบประมาณ มอบหมายงานให้ผู้รับผิดชอบ ดาเนินการพัฒนาตามแผนงานเพื่อให้บรรลุเป้าหมาย ท่ีกาหนดไว้ มีการ
ดาเนินการนิเทศ กากบั ตดิ ตาม ประเมินผลการดาเนนิ งาน และสรปุ ผลการดาเนินงาน

๒.๑ การวางแผนและดาเนินงานพัฒนาวิชาการท่ีเน้นคุณภาพของผู้เรียนรอบด้านทุกกลุ่มเป้าหมาย และ
ดาเนนิ การอย่างเป็นรปู ธรรมหลักฐานและร่องรอยมีดงั น้ีโครงการพฒั นาหลักสูตรสถานศึกษา, แผนงานวิชาการ, แผนการ
จัดการเรียนรู้, แบบบันทึกหลังสอน, ระเบียบการวัดผลและประเมินผล, การวิเคราะห์นักเรียนรายบุคคล, การวิเคราะห์
ข้อสอบ O-NET, โครงการสอน, งานวิจัยในชั้นเรียน, โครงการส่งเสริมการจัดการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ, โครงการ
ส่งเสริมความเป็นเลศิ ด้านวิชาการ, กจิ กรรมพัฒนาผเู้ รียน, การพฒั นาส่อื การเรยี นการสอน

๒.๒ การวางแผนและดาเนินงานพฒั นาครูและบุคลากรให้มคี วามเชี่ยวชาญทางวชิ าชพี
หลักฐานและร่องรอยมีดังนี้โครงการพัฒนาครูและบุคลากรทางการศึกษา, โครงการศึกษาดูงานเปรียบเทียบ, โครงการ
พฒั นากระบวนการเรยี นร้แู ละการนเิ ทศการศกึ ษา, โครงการวิจัยคณุ ภาพการศกึ ษา, โครงการพัฒนาสื่อการเรียนการสอน
ดว้ ยเทคโนโลยี, แผนพฒั นาตนเอง (ID-PLAN),โครงการการวดั ผลและประเมนิ ผลตามสภาพจริง

๒.๓ การวางแผนการบริหารและการจัดการข้อมูลสารสนเทศอย่างเป็นระบบหลักฐานและร่องรอยมีดังน้ีแผน
บริหารจัดการสารสนเทศ, โครงสรา้ งการบริหารงาน, คาสัง่ แม่บท, แผนพฒั นาคุณภาพการศึกษา, แผนปฏิบัติการประจาปี
, ขอ้ มูลสารสนเทศ, รายงานประจาปีของสถานศกึ ษา, รายงานการดาเนนิ โครงการ/กจิ กรรม

๒.๔ การวางแผนและจดั สภาพแวดล้อมทางกายภาพและสงั คมท่ีเอื้อต่อการจดั การเรียนรู้อย่างมีคณุ ภาพ
หลักฐานและรอ่ งรอยมีดงั นี้การพฒั นาสอื่ นวตั กรรม แหลง่ เรยี นรู้ภายในและภายนอกสถานศกึ ษา, โครงการทศั นศึกษา,
การพัฒนาสภาพแวดลอ้ มและการให้บริการ, การพฒั นาภูมทิ ัศนใ์ ห้ ร่มรืน่ สวยงาม, การพฒั นาหอ้ งสมดุ , การสร้าง
บรรยากาศทางวชิ าการในห้องเรยี น, โครงการพฒั นาสภาพแวดลอ้ มทางกายภาพและสงั คมทเ่ี ออ้ื ต่อการจัดการเรยี นรู้

๒.๕ การมีส่วนร่วมของผู้ท่ีเก่ียวข้องทุกฝ่าย และการร่วมรับผิดชอบต่อการจัดการศึกษาให้มีคุณภาพและได้
มาตรฐาน หลักฐานและร่องรอยมีดังน้ีโครงการประชุมผู้ปกครองนักเรียน, โครงการประชุมคณะกรรมการสถานศึกษาขั้น
พนื้ ฐาน, แผนพัฒนาคณุ ภาพการศึกษา, แผนปฏิบัติการประจาปี, รายงานประจาปีของสถานศึกษา,กิจกรรมเยี่ยม
บ้านนักเรียน, โครงการระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน, รายงานการประชุมของคณะกรรมการสถานศึกษาข้ันพ้ืนฐาน,
รายงานการเยี่ยมบา้ น, รายงานการประชุมผูป้ กครองเครือข่ายนกั เรียน, รายงานการระดมทุนและทรพั ยากรเพ่ือการศกึ ษา

๒.๖ การกากับ ติดตาม ประเมนิ ผลการบรหิ ารและการจัดการศกึ ษาหลกั ฐานและร่องรอย
มีดังน้ีแผนการนเิ ทศ ตดิ ตาม ประเมนิ ผล, แบบบันทกึ การนิเทศภายใน, รายงานการนิเทศภายใน

๔๘

จุดเด่น จุดท่ีตอ้ งพฒั นา และแผนการพัฒนาคณุ ภาพเพ่อื ยกระดบั ให้สูงข้นึ

จุดเดน่ จดุ ทีค่ วรพัฒนา

๑. โรงเรยี นมกี ารบริหารและการจดั การอยา่ งเปน็ ระบบ ๑. เปิดโอกาสให้ผู้ปกครองได้มีส่วนร่วมในการเสนอความ

๒. ทุกฝ่ายมีส่วนร่วมในการกาหนดวิสัยทัศน์ พันธกิจ คิดเหน็ ในการจดั การศกึ ษาเพ่อื พฒั นาผเู้ รียน

เป้าหมาย ทชี่ ดั เจน ๒. สร้างเครือข่ายความร่วมมือของผู้มีส่วนเกี่ยวข้องในการ

๓. แผนปฏิบัติการประจาปี ที่สอดคล้องกับผลการจัด จัดการศกึ ษาของโรงเรียนใหม้ ีความเขม้ แข็ง

การศึกษา สภาพปัญหา ความต้องการพัฒนา และนโยบาย ๓. เปิดโอกาสให้ผู้ปกครองได้มีส่วนร่วมในการเสนอความ

การปฏริ ปู การศึกษา คดิ เหน็ ในการจัดการศึกษาเพอ่ื พฒั นาผูเ้ รยี น

๔. ครูผู้สอนสามารถจัดการเรียนรู้ได้อย่างมีคุณภาพ มีการ ๔.สรา้ งเครอื ขา่ ยความรว่ มมือของผูม้ ีสว่ นเก่ยี วข้องในการจัด

ดาเนินการนิเทศ กากับ ติดตาม ประเมินผล การดาเนินงาน การศึกษาของโรงเรียนให้มีความเข้มแข็ง มีส่วนร่วม

และจัดทารายงานผลการจัดการศึกษา รับผิดชอบต่อผลการจัดการศึกษา และการขับเคลื่อน

๕.ใชก้ ระบวนวิจัยในการรวบรวมขอ้ มลู คณุ ภาพการจดั การศึกษา

๓. แผนพฒั นาเพ่ือให้ได้มาตรฐานท่สี ูงขึ้น
แผนปฏบิ ัติการท่ี ๑ ประสานการวางแผนการผลิต พัฒนาครแู ละบุคลากรทางการศึกษา ใหเ้ ปน็ ระบบ
มปี ริมาณเพยี งพอและมคี ุณภาพ
แผนปฏบิ ัตกิ ารท่ี ๒ พฒั นาครแู ละบุคลากรทางการศึกษา ทัง้ ระบบใหส้ ามารถปฏบิ ตั งิ านไดอ้ ยา่ ง
มีประสทิ ธิภาพ
แผนปฏิบัติการท่ี ๓ คืนครูให้แก่ผู้เรียนโดยลดภาระงานอื่นท่ีไม่จาเป็นและจัดให้มีบุคลากรสายสนับสนุนให้
พอเพยี ง เพอ่ื ให้ครูทาหนา้ ท่ีพฒั นาผู้เรยี นอยา่ งเต็มท่ี และมโี อกาสพัฒนาตนเองอยา่ งตอ่ เน่อื ง
แผนปฏบิ ตั ิการท่ี ๔ พฒั นาการบรหิ ารจัดการของโรงเรยี น ใหม้ ีประสิทธิภาพเป็นไปตามมาตรฐาน และมีการนิเทศ
กากับ ตดิ ตามความกา้ วหนา้ ของโรงเรียน

๔๙

มาตรฐานท่ี ๓ กระบวนการจัดการเรยี นรู้ท่เี น้นผเู้ รยี นเป็นสาคญั

๑. มาตรฐานการศึกษา : ดีเลศิ

๒. หลักฐานสนบั สนุน

โรงเรียนดาเนินการส่งเสริมให้ครูจัดการเรียนการสอนท่ีเน้นผู้เรียนเป็นสาคัญโดยการดาเนินงาน /กิจกรรม

อยา่ งหลากหลาย ไดแ้ ก่ งานหลกั สตู รมีการประชุมปฏบิ ตั กิ ารปรับปรุงหลักสูตรสถานศึกษา พัฒนาสู่ประชาคมอาเซียนและ

มาตรฐานสากล มีการบูรณาการภาระงาน ช้ินงาน โดย ทุกระดับชั้นจัดทาหน่วยบูรณาการอาเซียน เศรษฐกิจพอเพียง

ปรับโครงสร้างรายวิชา หน่วยการเรียนรู้ ลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้ สัดส่วนคะแนนแต่ละหน่วยกาหนดคุณลักษณะอันพึง

ประสงค์ทส่ี อดคล้องกับหน่วยการเรียนรู้ สนับสนุนให้ครูจัดการเรียนการสอนท่ีสร้างโอกาสให้นักเรียนทุกคนมีส่วนร่วม ได้

ลงมือปฏบิ ัติจรงิ จนสรปุ ความรู้ได้ดว้ ยตนเอง จัดการเรียนการสอนท่เี น้นทกั ษะการคิด เช่น จัดการเรียนรู้ด้วยโครงงาน ครูมี

การมอบหมายหนา้ ท่ีใหน้ ักเรยี นจัดปา้ ยนิเทศ และบรรยากาศตามสถานที่ต่าง ๆ ทั้งภายในห้องเรียนและนอกห้องเรียน ครู

ใช้ส่ือการเรียนการสอน นวัตกรรมและเทคโนโลยี ภูมิปัญญาท้องถ่ิน มีการประเมินคุณภาพและประสิทธิภาพของส่ือการ

สอนทใี่ ช้ ครูทุกคนทางานวจิ ัยในช้ันเรียนภาคเรยี นละ ๑ เรือ่ ง และได้รบั การตรวจให้คาแนะนาโดยคณะกรรมการวิจัยของ

เขตพ้นื ที่การศกึ ษา มหี ลกั ฐานการสรุปโครงการหรือกจิ กรรมดังนี้

- โครงการสง่ เสรมิ ใหผ้ ูเ้ รยี นมีความร้แู ละทกั ษะท่ีจาเป็นตามหลกั สูตร

- กจิ กรรมสง่ เสริมความเปน็ เลิศทางวิชาการ

- กิจกรรมพัฒนาหลักสูตร

- กจิ กรรมแนะแนวสัญจร

- กจิ กรรมทัศนศึกษาแหลง่ เรียนรู้นอกสถานท่ี

- กจิ กรรมสง่ เสรมิ ประชาธปิ ไตยในโรงเรยี น

- กจิ กรรมพฒั นาระบบดูแลชว่ ยเหลอื นักเรียนดจุ ลูกหลาน

- กิจกรรมสถานศกึ ษาสขี าว ปลอดยาเสพตดิ และอบายมขุ

- โครงการพัฒนาระบบเทคโนโลยสี ารสนเทศและสง่ เสรมิ การใช้ ICT เพอ่ื การเรยี นรู้

จดุ เด่น จุดทีต่ อ้ งพัฒนา และแผนการพัฒนาคุณภาพเพ่อื ยกระดับให้สูงข้นึ

จดุ เด่น จุดท่คี วรพฒั นา

๑. ครมู ีความตั้งใจ มงุ่ ม่ันในการพัฒนาการสอน ๑. ควรนาภมู ิปัญญาท้องถิ่นให้เขา้ มามี

๒. จัดกิจกรรมใหน้ ักเรยี นไดเ้ รียนรโู้ ดยการคิด ไดป้ ฏิบตั ิจริง ส่วนร่วมในการจัดกจิ กรรมให้นกั เรียนได้

๓. ให้วิธีการและแหล่งเรียนรทู้ ีห่ ลากหลาย เรยี นร้มู ากขึ้น

๔. นักเรยี นแสวงหาความรจู้ ากสื่อเทคโนโลยดี ว้ ยตนเองอย่างต่อเนือ่ ง ๒.ครูควรมวี ธิ ีการวัดและประเมินผลการ

๕.นักเรยี นมีสว่ นรว่ มในการจัดบรรยากาศสภาพแวดลอ้ มทเี่ อือ้ ตอ่ การเรียนรู้ จัดการเรียนรทู้ ่ีหลากหลาย

๖.ครูใช้ส่ือ เทคโนโลยีสารสนเทศ และแหล่งเรียนรู้ท่ีเอื้อต่อการเรียนรู้และ ๓.ควรใหข้ อ้ มูลยอ้ นกลับแกน่ ักเรยี นทันที

จัดการเรียนรูท้ สี่ ่งเสริมใหผ้ ูเ้ รยี นไดใ้ ชแ้ หลง่ เรียนรนู้ อกห้องเรียน เพื่อนักเรยี นนาไปใชพ้ ัฒนาตนเอง

๗.ครูมีการแลกเปลีย่ นเรียนรแู้ ละใหข้ ้อมูลสะท้อนกลับเพื่อพัฒนาและปรับปรุง

การจดั การเรียนรู้

๕๐

๓.แผนพฒั นาเพอื่ ให้ได้มาตรฐานทสี่ งู ขนึ้
แผนปฏิบตั กิ ารที่ ๑ เสริมสรา้ งระบบดูแลชว่ ยเหลอื นักเรยี นและความสัมพันธ์ที่ดีระหว่างครูกบั นักเรยี น
แผนปฏบิ ัติการที่ ๒ ส่งเสริมการศึกษาเพอื่ การมีงานทา
แผนปฏิบตั กิ ารที่ ๓ สง่ เสรมิ การจดั การศกึ ษาสาหรับผ้ดู ้อยโอกาสและผพู้ กิ าร
แผนปฏบิ ัตกิ ารท่ี ๔ สง่ เสรมิ การพฒั นาคณุ ธรรม จริยธรรมในโรงเรียน

สรปุ ผลการประเมินในภาพรวม

๑. ผลการประเมนิ ตนเองปีการศกึ ษา ๒๕๖๓ อยรู่ ะดับคณุ ภาพ ดเี ลิศ
๒. ขอ้ มูลสนบั สนุนผลการประเมินคณุ ภาพภายในสถานศกึ ษา
จากผลการดาเนินงาน โครงการ และกิจกรรมต่างๆ ส่งผลให้สถานศึกษาจัดการพัฒนาคุณภาพการศึกษา
ประสบผลสาเร็จตามท่ีต้ังเป้าหมายไว้ในแต่ละมาตรฐาน จากผลการประเมินสรุปว่าได้ระดับดี ทั้งนี้ มาตรฐานท่ี ๑
คุณภาพผู้เรียน อยู่ในระดับดีเลิศ มาตรฐานท่ี ๒ กระบวนการบริหารและการจัดการศึกษา อยู่ในระดับดีเลิศ
มาตรฐานท่ี ๓ กระบวนการจัดการเรียนการสอนที่เนน้ ผ้เู รียนเปน็ สาคญั อยูใ่ นระดบั ดีเลิศ
ท้ังน้ี สถานศึกษามีการจัดกิจกรรมพัฒนาคุณภาพผู้เรียนอย่างหลากหลายท่ีเป็นไปตามปัญหาและความ
ตอ้ งการพัฒนาตามสภาพของผู้ เรียน สอดคล้องกับจุดเน้นของสถานศึกษาและสภาพของชุมชนท้องถิ่น จนมีผลการพัฒนา
คุณภาพของผู้เรยี นอยู่ในระดบั ดี พัฒนาการของค่าเฉลี่ยผลการทดสอบระดับชาติสูงขึ้น ผู้เรียนมีความสามารถในการอ่าน
และเขียน การสื่อสารทั้งภาษาไทยและภาษาอังกฤษ ความสามารถในการคิดคานวณ การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
และการสื่อสารได้ดี และมีความประพฤติด้านคุณธรรมจริยธรรม ค่านิยม และคุณลักษณะตามที่สถานศึกษากาหนด
ปรากฏอย่างชัดเจน ดังท่ีปรากฏผลประเมินในมาตรฐานท่ี ๑ ในด้านกระบวนการบริหารจัดการของผู้บริหาร
สถานศึกษามีผลประเมินในรายมาตรฐานอยู่ในระดับดีมาก สถานศึกษามีการวางแผนออกแบบกิจกรรมและดาเนินงาน
ตามแผนที่เกิดจากการมีส่วนร่วมใช้ผลการประเมินการดาเนินงานท่ีผ่านมาเป็นฐานในการพัฒนา และสอดคล้องกับ
เป้าหมายการพัฒนา ตรวจสอบผลการดาเนินงาน และการปรับปรุงแก้ไขงานให้ดีขึ้นอย่างต่อเน่ือง ครูจัดกระบวนการ
เรียนการสอนท่ีเน้นผ้เู รียนเป็นสาคัญ มผี ลประเมนิ อย่ใู นระดับ ดี วิเคราะห์ ออกแบบและจัดการเรียนรู้ที่เป็นไปตามความ
ตอ้ งการของหลกั สูตร และบริบทสถานศกึ ษา พฒั นากจิ กรรมการเรียนรู้ ใช้สื่อการเรียนรู้ ติดตาม ตรวจสอบและช่วยเหลือ
นักเรียนเพ่ือพัฒนาและแก้ปัญหารายบุคคล และการประเมินผลจากสภาพจริงในทุกขั้นตอน สถานศึกษาดาเนินงานตาม
ระบบการประกันคุณภาพภายในอย่างเป็นข้ันตอน จนเกิดคุณภาพ ประสิทธิภาพและประสิทธิผลจนมีผลประเมินอยู่ใน
ระดับดีโดยสถานศึกษาให้ความสาคัญกับผู้เก่ียวข้องทุกฝ่ายเพื่อเกิดความ ร่วมมือในการวางระบบและดาเนินงานประกัน
คุณภาพภายในของสถานศึกษาเป็นอย่างดี และผู้มีส่วนเก่ียวข้องมีความม่ันใจต่อระบบการบริหารและการจัดการของ
สถานศกึ ษาในระดบั สงู

๕๑

สรุปผล แนวทางการพัฒนา และความตอ้ งการชว่ ยเหลอื

รายงานประจาปีของสถานศึกษาถือเป็นข้อมูลสารสนเทศสาคัญที่สถานศึกษาจะต้องนาไปวิเคราะห์ สังเคราะห์

เพื่อสรุปการเชื่อมโยงหรือสะท้อนภาพความสาเร็จกับแผนพัฒนาการจัดการศึกษาของสถานศึกษา (๓ – ๔ ปี) และ

นาไปใช้ในการวางแผนพัฒนาคุณภาพการศึกษาของสถานศึกษา ดังน้ัน จากผลการดาเนินงานของสถานศึกษา สามารถ

สรปุ ผลการประเมินในภาพรวมของจุดเดน่ จุดควรพัฒนาของแตล่ ะมาตรฐาน พร้อมทง้ั แนวทางการพัฒนาในอนาคตและ

ความตอ้ งการการชว่ ยเหลอื ไดด้ ังน้ี

สรปุ ผล

จดุ เด่น จุดควรพฒั นา

 ดา้ นคุณภาพผเู้ รยี น
ผู้เรียนมีสามารถในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการ ผลสมั ฤทธ์ทิ างวิชาการของผู้เรียน ด้านความสามารถในการ
สื่อสารในการแสวงหาความรู้ได้ด้วยตนเอง มีทักษะในการ อ่ า น ก า ร เ ขี ย น ก า ร สื่ อ ส า ร แ ล ะ ก า ร คิ ด ค า น ว ณ

ทางาน มีสุขภาวะทางร่างกายและลักษณะจิตสังคมท่ีดี ความสามารถในการคิดวิเคราะห์ คิดอย่างมีวิจารณญาณ
รจู้ ักการยอมรบั ทจี่ ะอยูบ่ นความแตกตา่ งและหลากหลาย อภปิ ราย แลกเปลย่ี นความคิดเหน็ และแกป้ ญั หา

 ด้านกระบวนการบริหารและการจัดการของ

ผ้บู รหิ ารสถานศกึ ษา

๑. ผู้บริหารมีความต้ังใจ มีความมุ่งม่ัน มีหลักการบริหาร

และมีวิสัยทัศน์ที่ดีในการบริหารงาน สามารถเป็น ๑. ควรเปิดโอกาสให้ผู้ปกครองได้มีส่วนร่วมในการเสนอ
แบบอยา่ งท่ีดีในการทางาน และคณะกรรมการ ความคดิ เห็นในการจัดการศกึ ษาเพอ่ื พัฒนาผ้เู รยี นมากขน้ึ
สถานศึกษามีความต้ังใจ และมีความพร้อมในการปฏิบัติ ๒. ควรสร้างเครือข่ายความร่วมมือกับผู้มีส่วนเก่ียวช้องใน
หน้าที่ตามบทบาท
การจัดการศึกษาของโรงเรียนให้มีความเข้มแข็ง มีส่วนร่วม
๒. โรงเรียนมีการบริหารและการจัดการอย่างเป็นระบบ
โรงเรียนได้ใช้เทคนิคการประชุมท่ีหลากหลายวิธีเช่นการ รั บ ผิ ด ช อ บ ต่ อ ผ ล ก า ร จั ด ก า ร ศึ ก ษ า แ ล ะ ก า ร ขั บ เ ค ล่ื อ น
ประชุมแบบมีส่วนร่วมการประชุม ระดมสมอง การประชุม คุณภาพการจัดการศกึ ษา

กลุ่มเพ่ือให้ทุกฝ่ายมีส่วนร่วมในการกาหนดวิสัยทัศน์ พันธ

กิจ เป้าหมายท่ีชัดเจน มีการ ปรับแผนพัฒนาคุณภาพการ

จัดการศกึ ษา แผนปฏบิ ตั ิการประจาปีท่ีสอดคลอ้ งกับผลการ

จัดการศึกษา สภาพปญั หาความตอ้ งการพฒั นาและนโยบาย

การปฏริ ูปการศึกษาทีม่ ุง่ เนน้ การพัฒนาให้ผู้เรียน มีคุณภาพ

ตามมาตรฐานหลักสูตรของสถานศึกษา ครูผู้สอนสามารถ

จัดการ เรียนรู้ได้อย่างมีคุณภาพ มีการดาเนินการนิเทศ

กากับ ติดตาม ประเมินผลการดาเนินงาน และจัดทา

รายงานผลการจดั การศึกษา และโรงเรยี นได้ใช้กระบวนวิจัย

ในการรวบรวมข้อมูลมาใช้เป็นฐานในการวางแผนพัฒนา

คุณภาพ สถานศกึ ษา

๕๒

 ดา้ นกระบวนการเรียนการสอนท่ีเน้นผู้เรียน

เปน็ สาคัญ ๑. ครูควรจัดกิจกรรมเน้นให้ผู้เรียนได้มี ความสามารถใน

๑. ครูพัฒนาตนเองอยู่เสมอ มีความต้ังใจ มุ่งมั่น ใน การคิดวิเคราะห์ คิดสังเคราะห์อย่างหลากหลาย และใช้
การปฏิบตั หิ น้าทอ่ี ย่างเต็มเวลา และความสามารถ แหลง่ เรยี นรู้ในการพฒั นาตนเอง

จุดเด่น จุดควรพัฒนา

๒. ครูจัดกิจกรรมให้นักเรียนแสวงหาความรู้ จากส่ือ ๒. ครคู วรจัดกจิ กรรมพัฒนาผเู้ รียนใน ระดับช้ัน ม.๑ – ม.๖

เทคโนโลยดี ว้ ยตนเองอย่างตอ่ เนอ่ื ง ให้สามารถนาเสนอ อภิปรายและแลกเปล่ียนเรียนรู้อย่าง

๓. ครูให้นักเรียนมีส่วนร่วมในการจัด บรรยากาศ สมเหตสุ มผลและมีทกั ษะในการแก้ปัญหาตามสถานการณ์

สภาพแวดลอ้ มท่ีเอือ้ ต่อ การเรยี นรู้ ได้อยา่ งเหมาะสม

๔. ครูจัดกิจกรรมให้นักเรียนเรียนรู้จากการคิด ได้ ๓. ครูควรจัดการเรียนการสอนด้วยวิธีการที่หลากหลาย

ปฏบิ ตั จิ รงิ ดว้ ยวิธีการและแหล่งเรยี นรู้ทหี่ ลากหลาย สอดคล้องกับมาตรฐานการเรียนรู้ ตัวชี้วัดตามหลักสูตร

๕. ผลงานวิจัยในช้ันเรียนของครูทุกคนได้รับการตรวจ การศกึ ษาชนั้ พน้ื ฐาน และฝึกให้นกั เรยี นไดค้ ดิ วเิ คราะห์

ประเมินและคาแนะนา จากคณะกรรมการวจิ ัย หาความรู้จากแหล่งเรียนรู้ สื่อเทคโนโลยีให้มากขึ้น

และพัฒนาสอื่ แหล่งเรียนรู้ จัดเตรียมห้องปฏิบัติ การให้อยู่

ในสภาพดีและพรอ้ มใชง้ านเสมอ

๔. ครูควรวัดและประเมินผลการเรียนรู้ของผู้เรียนด้วยวิธีท่ี

หลากหลายตามสภาพจริง สอดคล้องกับมาตรฐาน การ

เรยี นร้แู ละธรรมชาติวชิ า

๕. ครคู วรนาภูมิปัญญาท้องถ่นิ ใหเ้ ข้ามามีส่วนร่วมในการจัด

กจิ กรรมใหน้ ักเรียนไดเ้ รียนรู้

แนวทางการพัฒนาในอนาคต
๑. การจัดกจิ กรรมการเรยี นรทู้ ีเ่ น้นการพฒั นาผเู้ รยี นเปน็ รายบุคคลใหช้ ัดเจนขึ้น
๒. การสง่ เสริมให้ครเู หน็ ความสาคญั ของการจัดการเรียนรู้โดยเน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ การจัดทาการวิจัยในข้ันเรียน

เพ่ือพฒั นาผู้เรยี นให้สามารถเรียนรไู้ ดเ้ ตม็ ศกั ยภาพ
๓. การพฒั นาบคุ ลากรโดยสง่ เข้ารับการอบรม แลกเปลี่ยนเรียนรู้ในงานที่ได้รับ มอบหมาย ติดตามผลการน่าไปใช้

และผลที่เกดิ กับผู้เรียนอย่างต่อเน่ือง
๔. การพฒั นาสถานศกึ ษาให้เปน็ สังคมแหง่ การเรียนรู้ของขมุ ซน

๕๓
ความต้องการและการชว่ ยเหลอื

๑. การพฒั นาครผู ูส้ อนในการจดั กิจกรรมการเรียนรู้ ทสี่ อดคล้องกับการพัฒนา ผเู้ รยี นในศตวรรษท่ี ๒๑
๒. การสร้างข้อสอบท่สี อดคลอ้ งกับมาตรฐานการเรียนรู้ตามแนวทางของการประเมิน ๐-NET และ PISA
๓. การจัดสรรครูผสู้ อนให้ตรงตามวิซาเอกทโ่ี รงเรยี นมคี วามต้องการและจาเป็น
๔. การจัดสรรงบประมาณในการจัดหาสอื่ เทคโนโลยี
๕. ความร่วมมือจากผู้ปกครองและชุมชน ในการสนับสนุนการจัดกิจกรรมพัฒนาผลสัมฤทธ์ิ ทางการเรียน
คณุ ธรรมจรยิ ธรรม และคณุ ลักษณะทพี่ ึงประสงค์ของนกั เรียน
๖. การใหค้ วามรดู้ ้านการบริหารโดยใชก้ ระบวนการวจิ ัย
๗. ข้อมลู วิทยากรท้องถ่นิ จากหน่วยงานในท้องถ่ิน
๘. การให้ความรูค้ รู ชมุ ชน ผ้ปู กครอง นักเรียน ด้านการประกันคุณภาพ

๕๔

สว่ นท่ี ๓
การปฏิบัตทิ ่เี ป็นเลศิ (Best Practices)

กิจกรรมทโี่ ดดเดน่

ชื่อผลงาน“กจิ กรรมคนดศี รีรม่ เกลา้ วถิ ีพุทธสู่มาตรฐานสากล”
๑. ความสาคญั และความเปน็ มา (บริบทของโรงเรียนหรืองาน ระบุเหตุผล ความจาเป็น ปัญหา ความต้องการ ความท้าทายที่
นาไปสู่ Best Practice แนวคิดหลักการสาคัญในการออกแบบผลงาน/ ภาพรวมของระบบงานท่ีค้นพบ Best Practice
นวัตกรรมทนี่ าเสนอ)

โรงเรียนรม่ เกล้า บุรีรัมย์ เปน็ โรงเรียนขนาดกลาง สังกดั สานักงานเขตพื้นที่การศึกษา มัธยมศึกษา เขต ๓๒ ต้ังอยู่
เลขที่ ๙๙ หมู่ที่ ๗ ตาบลโนนดินแดง อาเภอโนนดินแดง จังหวัดบุรีรัมย์ ระยะทางห่างจากจังหวัดบุรีรัมย์ประมาณ ๑๐๐
กิโลเมตร ปัจจุบันเปิดสอนตั้งแต่ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑- ๖ มีนักเรียนท้ังหมด ๖๘๖ คน มีครูและบุคลากรทางการ
ศึกษาท้ังหมด ๕๖ คน โรงเรียนร่มเกล้า บุรีรัมย์ เป็นโรงเรียนในโครงการพระราชดาริ ซ่ึงบริหารจัดการตามกลุ่มโรงเรียน
ร่มเกล้า ท้ังหมด ๑๒ โรงเรียน ซ่ึงการบริหารจัดการศึกษา เป็นไปด้วยดีตลอดมา ด้านการปฏิบัติตนของนักเรียนตามหลัก
ศาสนาพุทธ และแนวทางและวิถีชีวิตและ วัฒนธรรมของชาวไทยตามคาสอนของพุทธศาสนา จนเป็นเอกลักษณ์ ว่า “รัก
ชาติ ศาสน์ กษัตริย์ ปฏิบัติธรรมในวันพระ” ด้วยจุดเน้นที่มุ่งหวังให้นักเรียนเป็นคนดีมีคุณธรรม ควบคู่กับความรู้ทาง
วิชาการ แต่ปัจจุบันนักเรียนเยาวชนส่วนใหญ่ ละเลยที่จะประพฤติและปฏิบัติตามแนวพุทธศาสนา เน่ืองจากได้รับ
วัฒนธรรมจากตะวันตก และตามกระแสของสังคมในเรื่องระบบสื่อสารไร้พรมแดนทาให้นักเรียนห่างไกลจากหลักคาสอน
และการประพฤติ ตนตามหลักศาสนาพุทธท่ีดีงาม โรงเรียนร่มเกล้า บุรีรัมย์ ได้ดาเนินกิจกรรมวิถีพุทธสู่มาตรฐานสากลมา
ตั้งแต่ปีการศึกษา ๒๕๕๐ จนถึงปัจจุบัน และประกอบ กับกระทรวงศึกษาธิการมีนโยบายท่ีจะส่งเสริมให้สถานศึกษานา
ระบบของพุทธธรรมมาประยุกต์จัด กระบวนการบริหารและการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ เพ่ือพัฒนาผู้เรียนให้เป็นคนดี คน
เก่งและมีความสุข อย่างต่อเนื่องตามพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ โดยผ่านการดาเนินงานของโรงเรียนวิถีพุทธ
โรงเรยี นรม่ เกลา้ บุรีรมั ย์ จงึ ไดด้ าเนนิ การใหเ้ กดิ Best Practices ขนึ้ มา โดยอาศัยความร่วมมือจากทุกฝา่ ยท่ีเกีย่ วข้อง

๒.วัตถปุ ระสงค์
๑. นักเรียนเป็นคนดีมีคุณธรรมอยู่ร่วมกันกับผู้อ่ืนได้อย่างมีสุข มีคุณลักษณะอันพึงประสงค์ ตามที่สถานศึกษา

กาหนด
๒. บุคลากรทุกคนในโรงเรียนเป็นผู้มีคุณธรรม จริยธรรม มีปฏิสัมพันธ์ที่ดีต่อชุมชน มีความสามัคคี กลมเกลียว

และเป็นกัลยาณมิตรแก่กันและกันโดยใชว้ ถิ ีพุทธช่วยกล่อมเกลา
๓. ผูบ้ ริหาร คณะครู นกั เรียน ตลอดทั้งบุคลากรในโรงเรียนเปน็ แบบอย่างทีด่ ีของชมุ ชนและสังคม
๔. โรงเรยี นได้รับความเช่ือมนั่ จากผูป้ กครองและชุมชน

๓.หลักการและแนวคิด
หลักการโรงเรียนวิถีพุทธหมายถึงโรงเรียนในระบบปกติทุกระดับ ภายใต้การกากับของกระทรวงศึกษาธิการ ที่เน้น

การนาหลักธรรมทางพระพุทธศาสนาตามหลักไตรสิกขามาบูรณาการประยุกต์ใช้ในการบริหาร และการพัฒนาผู้เรียนใน

๕๕
ภาพรวมของสถานศกึ ษา โดยเนน้ กรอบการพฒั นาตามหลกั ไตรสกิ ขา ผ่านกระบวนการทางวฒั นธรรม แสวงหาปัญญา และ
มเี มตตา เพอื่ ม่งุ เนน้ พฒั นาผ้เู รียนให้สอดคลอ้ งกบั จดุ เน้นการพัฒนาของประเทศ

แนวคิดของโรงเรียนวิถีพุทธ มีการศึกษาและพัฒนาอัตลักษณ์โรงเรียนวิถีพุทธอย่างเป็นระบบ รวมทั้งมีการนิเทศ
ตดิ ตามเพอื่ คดั เลอื กและมอบโลร่ างวลั เกียรตยิ ศโรงเรยี นวิถีพทุ ธชั้น ซงึ่ โรงเรยี นรม่ เกลา้ บรุ ีรัมย์ได้รับรางวัลโรงเรียนวิถีพุทธ
ช้นั นารนุ่ ท่ี ๗ และยงั ดาเนินกจิ กรรมอยา่ งต่อเน่ืองและเข้มแข้งอย่างเปน็ ระบบมาจนถึงปจั จุบัน เพื่อส่งเสริมการดาเนินงาน
แก่โรงเรยี นท่ีดาเนนิ งานภายใต้กรอบอตั ลักษณ์โรงเรยี นวิถพี ุทธทงั้ ๒๙ ประการ อีกดว้ ย

๔. กระบวนการผลิตงานหรอื ข้ันตอนการดาเนินงาน (วิธีปฏบิ ตั ิทีเ่ ปน็ เลศิ )
๔.๑. ศกึ ษาแนวทางในการปฏิบัติ ความสาคัญ และการปฏิบัติกิจกรรมตามแนวทางโรงเรียนวิถีพุทธ (มจร.) เพ่ือ

ส่งเสรมิ คณุ ธรรม จริยธรรม และสรา้ งความตระหนักให้กับนกั เรียนและบุคลากรทกุ คน
๔.๒. ประชุมเพ่ือวางแผนการจัดกิจกรรมให้สอดคล้องกับแนวทางโรงเรียนวิถีพุทธ นักเรียน คณะครู และ

คณะกรรมการสถานศึกษาข้ันพ้นื ฐาน
๔.๓. ประสานงานกับพระวิทยากรมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณ์ราชวิทยาลัย ท่ีมีความรู้เก่ียวกับการดาเนินงาน

โรงเรยี นวถิ ีพุทธ
๔.๔ นักเรยี นเข้ารว่ มกจิ กรรมเดนิ แบบวถิ ีพทุ ธอยา่ งมีสตแิ ละนัง่ สมาธกิ อ่ นเขา้ ช้ันเรียนทุกวัน
๔.๕ ดาเนินการประเมนิ ตนเองในการจดั กจิ กรรมเดนิ อย่างมีสติและนง่ั สมาธิ
๔.๖ ปรับปรงุ และพฒั นาวิธกี ารดาเนนิ งานจากผลการประเมนิ ตนเองอย่างต่อเนอื่ ง

๕. ผลการดาเนนิ งาน ผลสมั ฤทธแ์ิ ละประโยชนท์ ีไ่ ด้รับ
องค์ความรู้/ประสบการณ์ท่ีเกิดข้ึนระหว่างการนาBest Practice ไปใช้ จากการประเมินการดาเนินกิจกรรม ตาม

แนวทางโรงเรยี นวถิ ีพทุ ธ กอ่ ใหเ้ กิดองคค์ วามรู้ และประสบการณ์ ตามกลมุ่ เปา้ หมายในการดาเนนิ งาน ดังนี.้
๕.๑ ผบู้ รหิ าร มกี ารสง่ เสรมิ การจัดกจิ กรรม โรงเรยี นวถิ พี ุทธภายในโรงเรียน
๕.๒ ครู ได้รับการพฒั นาและฝึกจิต สามารถนา ไปอบรม สัง่ สอนนกั เรยี นในห้องเรียนได้
๕.๓ นักเรียน ได้ฝึกฝนสมาธิช่วยให้จิตสงบ ส่งผลให้จิตใจผู้ทาสมาธิผ่องใส สะอาด บริสุทธิ์ สงบ จึงช่วยให้หลับ

สบายคลายกงั วล ชว่ ยพัฒนาใหม้ บี ุคลิกภาพดีข้ึน กระปร้ีกระเปร่า สง่าผ่าเผย มีความเช่ือมั่นในตนเองมากข้ึน รู้สึกควบคุม
อารมณ์จิตใจได้ดีข้ึน เหมาะสมกับกาลเทศะ ส่งผลให้ประสิทธิภาพใน การเล่าเรียน เกิดความประพฤติดีทั้งทางกาย วาจา
และจติ ใจ

๕.๔ ผู้ปกครองและชุมชน ผู้ปกครองเกิดความภาคภูมิใจในตัวนักเรียน มีการสนับสนุนการเรียนและกิจกรรมต่าง
ๆ ของนักเรียน มีการประสานงานและการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ในการจัดกิจกรรมของโรงเรียนอย่างต่อเนื่อง เห็นคุณค่าของ
วสั ดุทมี่ ใี นทอ้ งถ่นิ และการนามาใชอ้ ย่างคุ้มค่า

๕.๕ การขยายผล Best Practice ใหก้ บั หน่วยงานอน่ื
๕.๕.๑. การให้นกั เรยี นได้ถา่ ยทอดความร้แู ละทักษะที่ตนเองฝึกปฏบิ ัตใิ ห้แก่ผู้ปกครองนักเรียน
๕.๕.๒ การนานักเรยี นเขา้ รว่ มกจิ กรรมการฝึกสมาธิเจรญิ ปญั ญาในวันสาคญั ทางศาสนา
๕.๕.๓ การศึกษา ดูงานในการจดั กิจกรรมส่งเสรมิ โรงเรียนวถิ ีพทุ ธของหนว่ ยงานอ่นื ๆ

๕๖

องค์กรหน่วยงานทม่ี สี ่วนร่วม
๑. คณะกรรมการสถานศกึ ษา ผู้นาชุมชน และผปู้ กครองนักเรียน
๒. กลุ่มสาระการเรียนรสู้ งั คมศึกษาโรงเรยี นร่มเกลา้ บุรรี มั ย์
๓. องค์กรปกครองสว่ นท้องถน่ิ (เทศบาลโนนดนิ แดง)
๔. หน่วยงานในอาเภอโนนดินแดง

๖. ปัจจยั ความสาเร็จ
กระบวนการในการตรวจสอบ Best Practice ของโรงเรยี นร่มเกลา้ บุรรี ัมย์ เพ่อื ใหเ้ กิดผลท่ีเป็นเลิศ ประกอบด้วย

การตรวจสอบในดา้ นต่าง ๆ ดังต่อไปนี้
๑. การบริหารจัดการสถานศกึ ษา ตรวจสอบโดยคณะกรรมการสถานศกึ ษาขน้ั พื้นฐาน ผ้บู รหิ าร คณะครู
๒. การจัดกจิ กรรมส่งเสรมิ โรงเรียนวิถพี ุทธ ตรวจสอบโดยคณะกรรมการสถานศกึ ษาขัน้ พ้นื ฐาน ผบู้ ริหาร คณะครู
เพื่อให้การดาเนินกิจกรรมตามแนวทางโรงเรียนวิถีพุทธ ของโรงเรียนร่มเกล้า บุรีรัมย์ ประสบผลสาเร็จนั้น มี

ขั้นตอนในการดาเนนิ งาน ดังนี้
๑. ผ้บู รหิ ารและคณะครศู ึกษาแนวทางการปฏิบตั กิ จิ กรรม สบื คน้ ข้อมลู ประสานงานกับพระวิทยากร

เพ่ือนามาปรบั ใช้ในการจัดกิจกรรม และมีความเหมาะสมกบั บริบทของโรงเรียน และชมุ ชน
๒. ผู้บริหารและคณะครูประชุมเพ่ือวางแผนการจัดกิจกรรมตามแนวทางโรงเรียนวิถีพุทธ และ

มอบหมายหนา้ ทรี่ ับผิดชอบในแตล่ ะกิจกรรม
๓. ดาเนินกิจกรรมตามโครงการโรงเรยี นวถิ พี ุทธ ซ่ึงไดแ้ ก่

๑. เวลา ๐๗.๕๐ – ๐๘.๐๕ น. กิจกรรมหน้าเสาธงได้แก่กิจกรรมเทิดทูนสถาบันชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย์
การเชิญธงชาติ กจิ กรรมน้องไหวพ้ ี่

๒. ๐๘.๐๕ – ๐๘.๑๐ น. ครเู วรประจาวนั นาแถวกองเกยี รตยิ ศจากหน้าเสาธง เขา้ สู่อาคารเมตตาธิคุณ โดยเดิน
แบบวถิ ีพุทธอย่างมีสติ

๓. ๐๘.๑๐ – ๐๘.๒๐ น. นักเรียนสวดมนต์ แผ่เมตตา สงบน่ิง น่ังสมาธิ ( หากเป็นวันพระ จะทากิจกรรมวัน
พระโดยสวดมนตธ์ รรมจกั รกปั ปวัตนสตู ร น่ังสมาธิ แผเ่ มตตา) ครูเวรประจาวันอบรมนักเรียน นักเรียนเดินอย่างมีสติเข้าชั้น
เรียน

๔. ๑๔.๔๕ -๑๖.๐๐ น. หากเป็นกิจกรรมสวดมนต์ประจาสัปดาห์ครูกลุ่มบริหารกิจการนักเรียนจะอบรมและ
นัดหมายกจิ กรรมในสัปดาหต์ ่อไปจะสวดธรรมจกั รกปั ปวัตนสูตร นัง่ สมาธิ แผ่เมตตา และให้คณะกรรมการนักเรียนเช็คชื่อ
นอ้ งในความรบั ผิดชอบของตนเอง เดินทางกลับบ้าน

๕๗

สรุปผลการตดิ ตามตรวจสอบคุณภาพการศกึ ษา

ขอ้ ท่ี ๑ กาหนดเป้าหมายในการยกระดับผลสมั ฤทธิท์ างการเรียน ตามนโยบาย (No Child Left Behind)

1. วิธดี าเนินการของสถานศึกษา (โรงเรยี นไดด้ าเนินการอย่างไรเกีย่ วกับการกาหนดเปา้ หมายในการยกระดับผลสมั ฤทธิ์
ทางการเรยี น ของสถานศกึ ษา)
จัดสอนซอ่ มเสรมิ และจัดตวิ

ผลงานที่ปรากฏจากการดาเนินงาน
นักเรียนมผี ลสัมฤทธ์ทิ างการเรียนดขี ึน้ ลดการตดิ ๐ ร. มส.

ขอ้ ที่ ๒ วเิ คราะห์และจดั ทาขอ้ มูลสารสนเทศ ด้านผลสมั ฤทธแิ์ ละใชข้ อ้ มูลในการวางแผนพฒั นา

๑. วธิ ีดาเนนิ การของสถานศึกษา (โรงเรียนไดด้ าเนินการอย่างไรเก่ยี วกับการวเิ คราะห์และจดั ทาข้อมูลสารสนเทศ ด้าน
ผลสัมฤทธ์ิและใช้ข้อมูลในการวางแผนพัฒนา ของสถานศึกษา)

คุณครูประจาวิชาสรุปผลการปฏิบัติการสอนทุกคนในทุกภาคเรียน รวมถึงการทาวิจัยในชั้นเรียนเพ่ือแก้ปัญหาใน
การจัดการเรยี นการสอนของแตล่ ะรายวิชา
ผลงานท่ปี รากฏจากการดาเนนิ งาน

จากการสรุปผลการปฏิบัติการสอนและการทาวิจัยในช้ันเรียน ทาให้ทราบถึงปัญหา และนามาปรับปรุงเพ่ือ
พัฒนาการเรยี นการสอนใหม้ ีประสทิ ธภิ าพมากขึ้น

ข้อที่ ๓ กาหนดมาตรการ/โครงการ/กจิ กรรมเพื่อยกระดับผลสัมฤทธ์ิทางการเรียน

๑. วธิ ีดาเนนิ การของสถานศกึ ษา (โรงเรียนไดด้ าเนนิ การอย่างไรเก่ยี วกับการกาหนดมาตรการ/โครงการ/กิจกรรมเพื่อ
ยกระดบั ผลสมั ฤทธท์ิ างการเรียนของสถานศึกษา)

โครงการรกั การอ่าน

ผลงานทีป่ รากฏจากการดาเนนิ งาน
- นกั เรยี นมผี ลการเรยี นเฉลย่ี สูงขน้ึ
- การติด ๐ ร. มส. ลดลง
- นักเรียนมีความกระตือรือร้นในการเรียน
- นกั เรียนมผี ล GPA ดีขนึ้ และสามารถใช้เกรดเฉลย่ี เพือ่ เข้าศึกษาต่อในระดับอุดมศกึ ษา

ข้อที่ ๔ มกี ารดาเนินงานและมผี ู้รบั ผิดชอบอยา่ งชัดเจน

1. วธิ ีดาเนนิ การของสถานศกึ ษา (โรงเรียนได้ดาเนินการอย่างไรเก่ียวกับการดาเนนิ งานมีผรู้ ับผดิ ชอบ
อย่างชดั เจนของสถานศึกษา)
จัดทาโครงการในแผนปฏบิ ตั งิ าน

๕๘

ผลงานท่ีปรากฏจากการดาเนนิ งาน
- แบ่งงานใหแ้ ตล่ ะฝ่ายดาเนนิ การตามอานาจหน้าที่ ตามความเหมาะสม โดยจัดทาเปน็ คาสงั่ ของโรงเรียน
- ตรวจงานทเี่ กย่ี วขอ้ งกบั กลุม่ สาระ ตามแผนปฏบิ ตั งิ านประจาปี

ข้อท่ี ๕ ออกแบบการเรียนรู้ที่ตอบสนองความแตกตา่ งระหวา่ งบคุ คลและยดึ มาตรฐานการเรียนรู้

1. วธิ ีดาเนนิ การของสถานศกึ ษา (โรงเรยี นไดด้ าเนนิ การอย่างไรเกี่ยวกับการออกแบบการเรยี นรทู้ ตี่ อบสนอง
ความแตกต่างระหวา่ งบุคคลและยึดมาตรฐานการเรียนรู้ของสถานศึกษา)
จดั การเรยี นการสอนโดยใชว้ ธิ เี พือ่ ช่วยเพอื่ น

ผลงานที่ปรากฏจากการดาเนนิ งาน
แบ่งผู้เรียนออกเป็นกลุ่ม โดยการใช้วิธีให้คนท่ีเกิดการเรียนรู้ได้เร็ว ช่วยแนะนากับบุคคลที่เรียนรู้ช้า และแบ่งงาน

ในกลุม่ ตามความถนัดของผ้เู รยี น

ขอ้ ที่ ๖ การใช้สอื่ และเทคโนโลยีทเ่ี หมาะสมในการจดั การเรยี นรู้

1. วิธีดาเนินการของสถานศึกษา (โรงเรียนได้ดาเนินการอย่างไรเก่ียวกับการดาเนินงานการใช้สื่อและเทคโนโลยีท่ี
เหมาะสมในการจัดการเรียนรู้ของสถานศกึ ษา)
สง่ เสริมการสืบคน้ ขอ้ มลู ผ่านระบบอินเทอรเ์ น็ต

ผลงานทีป่ รากฏจากการดาเนินงาน
ติดตัง้ ระบบอินเทอรเ์ น็ตความเร็วสงู และครอบคลมุ บริเวณโรงเรียนทุกพน้ื ท่ี มีบริการหอ้ งสมดุ อเิ ลก็ ทรอนิกสอ์ ยา่ ง

เพยี งพอต่อความตอ้ งการของผเู้ รียน

ข้อท่ี ๗ มวี ธิ ีการและเคร่อื งมอื วัดประเมนิ ผลทหี่ ลากหลาย

1. วิธดี าเนินการของสถานศกึ ษา (โรงเรยี นไดด้ าเนนิ การอย่างไรเกี่ยวกบั การมีวิธกี ารและเครอ่ื งมือวดั ประเมนิ ผลท่ี
หลากหลายของสถานศึกษา)
จดั อบรมใหค้ วามรู้เก่ียวกับการวัดและประเมินผลทางการศกึ ษา

ผลงานทป่ี รากฏจากการดาเนินงาน
จากผลการดาเนินงาน คณะครูและบุคลากรทางการศึกษาได้จัดทาเคร่ืองมือและทดลองใช้กับผู้เรียนในช้ันเรียน

ผลปรากฏวา่ สามารถวัดและประเมนิ ผลทางการเรียนได้อย่างมีประสิทธิภาพ และนาผลจากการใช้เครื่องมือไปวิเคราะห์ผล

๕๙
และพฒั นาคณุ ภาพให้ดีย่ิงข้ึนตามหลักการของการวัดประเมินผลการเรียนรู้ โดยเครื่องมือท่ีทางโรงเรียนได้นาไปใช้วัดและ
ประเมนิ ผล มีดงั นี้

๑. ตัวอยา่ งชิ้นงาน
๒. แบบทดสอบปากเปลา่
๓. แบบสังเกต
๔. แบบสมั ภาษณ์

๕. แบบสอบถาม
๖. แบบตรวจสอบรายการ
๗. แบบรายงานตนเอง
๘. แบบประเมินการปฏบิ ัตเิ ชิงคณุ ภาพ (rubric)

ข้อท่ี ๘ มกี ารนิเทศ ตดิ ตาม กากบั การดาเนนิ งานอย่างเป็นระบบ
1. วิธีดาเนินการของสถานศึกษา (โรงเรียนได้ดาเนินการอย่างไรเก่ียวกับการดาเนินงานการนิเทศ ติดตาม กากับ

การดาเนนิ งานอย่างเป็นระบบของสถานศึกษา)
๑. การวางแผน (Plan : P)
๒. การปฏบิ ตั ิงานตามแผน (Do : D)
๓. การตรวจสอบและประเมนิ ผล (Check : C)
๔. การนาผลการประเมินมาปรับปรุง (Action : A)
ผลงานทีป่ รากฏจากการดาเนินงาน
๑. ดา้ นวิชาการ

ผลการดาเนินงานเป็นไปตามนโยบายของโรงเรียน มีการจัดทาหลักสูตรสถานศึกษาได้เหมาะสมและ
สอดคล้องกบั สภาพความต้องการของผู้เรยี น รวมถึงมีการจัดและดาเนินโครงการเพ่อื กระตุน้ ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนเพ่ือลด
ปัญหาการติด ๐ ร. มส. ของผู้เรียน และส่งเสริมการเรียนรู้ของผู้เรียนได้อย่างมีประสิทธิภาพและประสิทธิผลที่เห็นได้ชัด
จากผู้เรยี นกว่ารอ้ ยละ ๘๐

๒. ด้านบริหารบุคคล
ผลการดาเนินงานเป็นไปตามมาตรการและนโยบายของโรงเรียน มีการเก็บบันทึกข้อมูล และสารบรรณ

ต่างๆ ไว้อย่างเป็นระบบระเบียบ มีการดาเนินการสารวจข้อมูลและทาให้เป็นปัจจุบัน และงานอ่ืนๆ ปฏิบัติติได้อย่างมี
ประสทิ ธภิ าพและเกิดประสทิ ธิผล

๓. ดา้ นบรหิ ารทัว่ ไป
ผลการดาเนินงานด้านงานบริหารทั่วไป ได้ดาเนินงานตามแผนงานได้อย่างมีประสิทธิภาพและเกิด

ประสิทธผิ ลตอ่ ข้าราชการครแู ละบุคลากรอยา่ งท่ัวถงึ
๔. ดา้ นงบประมาณ
ผลการดาเนินงานด้านงบประมาณ มีการจัดทาเอกสารและปฏิบัติตามแผนดาเนินงาน ส่ังการ จัดซื้อจัด

จ้าง รวมถงึ การสรุปครุภณั ฑ์ และวสั ดุเปน็ ประจาและสมา่ เสมอ

๖๐
ข้อท่ี ๙. ผลงานท่ีจากการดาเนินงานตามนโยบาย ไม่มีเด็กคนใดถูกทอดทิ้งไว้ข้างหลัง (No Child Left Behind)
สูก่ ารปฏบิ ตั ทิ ่เี ป็นเลศิ “Best Practice ส่คู วามยั่งยนื ” ภายในสถานศึกษา
ผลงานท่ปี รากฏจากการดาเนนิ งาน

จากการดาเนินการตามนโยบาย นักเรียนมีผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนเพิ่มข้ึนจากที่มีการจบการศึกษาที่มากข้ึนในปี
การศกึ ษา ๒๕๖๓ ยิ่งไปกว่านนั้ ผลการทดสอบวดั ผลสมั ฤทธิ์ทางการศึกษาระดับชาติ (O-NET) เพิ่มข้ึนจากเดิมในระดับช้ัน
มัธยมศึกษาตอนตน้ และตอนปลาย มกี ารดาเนนิ การทาวจิ ยั ในชน้ั เรยี นเพอื่ แกไ้ ขปัญหาของผู้เรียน พัฒนาทักษะและผลลัพธ์
ใหเ้ ปน็ ไปตามนโยบาย เน้นทักษะกระบวนการในชั้นเรียนโดยใหผ้ ้เู รียนไดท้ ากิจกรรมกลมุ่ และส่งเสริมให้ผู้เรียนมีบรรยากาศ
ในการเรียนรู้แบบเพ่ือนช่วยเพ่ือน ดาเนินการจัดห้องสมุดแห่งการเรียนรู้เพ่ือให้ผู้เรียนได้มีโอกาสศึกษาหาความรู้เพ่ิมเติม
ติดต้ังระบบอินเทอร์เน็ตความเร็วสูง ส่งเสริมการใช้และรู้เท่าทันส่ือดิจิตอลให้กับผู้เรียน ยิ่งไปกว่านั้นยังเน้นให้ผู้เรียนได้
ตระหนักถึงความสาคัญของการเรียนทากิจกรรมทั้งในห้องเรียนและกิจกรรมส่งเสริมคุณธรรมจริยธรรม สวดมนต์ทุกวัน
พระและวันศุกร์ ทากิจกรรมจิตอาสาพัฒนาโรงเรียน โดยผู้เรียนร่วมกันทาความสะอาดในห้องเรียน บริเวณโรงเรียน และ
ห้องน้าตามอาคารเรียนต่างๆ เพอื่ ใหส้ ภาพแวดล้อมนา่ อยู่เปน็ มิตรกบั ผู้เรียน

๖๑

ภาคผนวก

๖๒

ประกาศโรงเรียนร่มเกลา้ บรุ ีรัมย์

เรอื่ ง แตง่ ตัง้ คณะกรรมการติดตาม ตรวจสอบระบบประกันคณุ ภาพและประเมนิ คุณภาพภายในสถานศึกษา

………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

ตามที่มีประกาศใช้กฎกระทรวงว่าด้วยระบบหลักเกณฑ์ และวิธีการประกันคุณภาพทางการศึกษา พ.ศ. ๒๕๕๓

และประกาศคณะกรรมการประกันคุณภาพภายใน ระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน เรื่อง กาหนดหลักเกณฑ์และแนวปฏิบัติ

เกย่ี วกบั การประกันคุณภาพภายใน ระดับการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน พ.ศ.๒๕๕๔ ท่ีกาหนดให้สถานศึกษาระดับการศึกษาข้ัน

พื้นฐาน จัดให้มีการติดตาม ตรวจสอบคุณภาพการศึกษาทั้งระดับบุคคลและระดับสถานศึกษาอย่างน้อยภาคเรียนละ ๑

คร้ัง พร้อมจัดทารายงานผล และนาผลการติดตามตรวจสอบคุณภาพการศึกษาไปใช้ประโยชน์ในการปรับปรุงพัฒนา

สถานศึกษาน้ัน

เพื่อให้การดาเนินงานเป็นไปด้วยความเรียบร้อย โรงเรียนร่มเกล้า บุรีรัมย์ จึงประกาศแต่งต้ัง คณะกรรมการ

ติดตาม ตรวจสอบระบบประกันคณุ ภาพและระบบประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา ดงั นี้

๑. นายธนภณ ธนะสีรงั กรู ผู้อานวยการโรงเรียนรม่ เกลา้ บุรีรัมย์ ประธานกรรมการ

๒. นายชน้ั ถมฉิมพลี ผู้ทรงคุณวุฒิ กรรมการ

๓. นายสมชยั กอชัยศิริกุล ประธานคณะกรรมการสถานศกึ ษาฯ กรรมการ

๔. พ.ต.ท.สบื สกลุ สรสริ ิ คณะกรรมการสถานศกึ ษาฯ กรรมการ

๕. นางสาวสลารีย์ ศรปี ญั ญา ครู กรรมการและเลขานุการ

มีหนา้ ท่ี

๑. ติดตาม ตรวจสอบคุณภาพการศึกษาทั้งระดับบุคคลและระดับสถานศึกษาอย่างน้อยภาคเรียนละ ๑ คร้ัง

และจัดทารายงานผลการติดตามตรวจสอบคุณภาพการศึกษา

๒. ประเมินคุณภาพภายในตามมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษาอย่างน้อยปีละ ๑ คร้ังและจัดทารายงาน

ผลการประเมนิ คุณภาพภายในตามมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา

ทงั้ น้ี ต้งั แตบ่ ดั นีเ้ ปน็ ต้นไป
ประกาศ ณ วนั ที่ ๑ เดือน กรกฏาคม พ.ศ. ๒๕๖๓

ลงช่ือ........................................................
(นายธนภณ ธนะสรี งั กูร)

ผอู้ านวยการโรงเรยี นรม่ เกล้า บุรีรมั ย์

๖๓

ประกาศโรงเรยี นร่มเกล้า บรุ ีรมั ย์
เรื่อง ใหใ้ ชม้ าตรฐานการศกึ ษาของสถานศึกษา
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

โดยประกาศในกฎกระทรวงว่าด้วยระบบ หลักเกณฑ์ และวิธีการประกันคุณภาพการศึกษาภายในสถานศึกษา ระดับ
การศึกษาข้ันพื้นฐาน พ.ศ.๒๕๕๓ และประกาศคณะกรรมการประกันคุณภาพภายในระดับการศึกษาข้ันพื้นฐาน พ.ศ. ๒๕๖๒ ให้
สถานศึกษากาหนดมาตรฐานการศกึ ษาเพ่ือใช้เป็นทิศทางในการพัฒนาคุณภาพของสถานศกึ ษา

โรงเรียนรม่ เกล้า บรุ รี ัมย์ได้ดาเนินการจัดทามาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษาระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน โดย
ได้รับการเห็นชอบจากคณะกรรมการสถานศึกษาฯ ดงั เอกสารมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา แนบทา้ ยประกาศน้ี

จงึ ประกาศใช้มาตรฐานการศกึ ษาของสถานศึกษาต้ังแตบ่ ัดน้เี ป็นตน้ ไป
ประกาศ ณ วันที่ ๑ เดือน กรกฏาคม พ.ศ. ๒๕๖๓

ลงชื่อ........................................................
(นายธนภณ ธนะสีรงั กูร)

ผอู้ านวยการโรงเรยี นรม่ เกล้า บุรรี มั ย์

๖๔

ประกาศโรงเรียนร่มเกลา้ บุรีรัมย์
เรือ่ ง การให้ใชม้ าตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา ระดับการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน

เพอื่ การประกนั คุณภาพภายในของสถานศกึ ษา
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………..

พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ.๒๕๔๒ และแก้ไขเพ่ิมเติม (ฉบับที่ ๒) พ.ศ.๒๕๔๕ มาตรา ๙ การ
จัดระบบ โครงสร้างและกระบวนการจัดการศึกษาโดยยึดหลักสาคัญในข้อ ๓ มีการกาหนดมาตรฐานการศึกษา และ
จัดระบบการประกันคุณภาพการศึกษา ทุกระดับและประเภทของการศึกษา และมาตรา ๔๘ ให้หน่วยงานต้นสังกัดและ
สถานศึกษาจัดให้มีระบบการประกันคุณภาพการศึกษาภายในสถานศึกษา และถือว่าการประกันคุณภาพภายในเป็นส่วน
หนง่ึ ของการบริหารการศึกษาที่ต้องดาเนินการอย่างต่อเน่ือง โดยมีการจัดทารายงานประจาปีเสนอต่อหน่วยงานต้นสังกัด
หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง และเปิดเผยต่อสาธารณชนเพ่ือนาไปสู่การพัฒนาคุณภาพและมาตรฐานการศึกษา และเพื่อรองรับ
การประกันคณุ ภาพภายนอก

โดยมีการประกาศใช้กฎกระทรวงว่าด้วยระบบ หลักเกณฑ์และวิธีการประกันคุณภาพการศึกษา พ.ศ.๒๕๕๓
ประกาศกระทรวงศึกษาธิการเรื่อง ให้ใช้มาตรฐานการศึกษาข้ันพื้นฐานเพื่อการประกันคุณภาพภายในของสถานศึกษา
เมื่อวันท่ี ๖ สิงหาคม ๒๕๖๑ มีนโยบายการปฏิรูปการศึกษาในทศวรรษท่ีสอง กาหนดเป้าหมายและยุทธศาสตร์อย่าง
ชดั เจนในการพัฒนาคนไทยและการศกึ ษาไทยในอนาคต ประกอบกบั มีนโยบายให้ปฏริ ูประบบการประเมินและการประกัน
คณุ ภาพภายในและภายนอกทุกระดับก่อนมีการประเมินคณุ ภาพในรอบต่อไป รวมท้งั การพัฒนาเอกลักษณ์และจุดเน้นของ
สถานศึกษา โรงเรียนร่มเกล้า บุรีรัมย์จึงปรับมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา ระดับการศึกษาข้ันพื้นฐานโดยความ
เห็นชอบของคณะกรรมการสถานศึกษา และการมีส่วนร่วมของผู้เก่ียวข้องทุกภาคส่วนทั้งครู บุคลากรในโรงเรียน
ผู้ปกครองและประชาชนในชุมชนให้เหมาะสมและสอดคล้องกันเพ่ือนาไปสู่การพัฒนาคุณภาพมาตรฐานการศึกษา การ
ประกันคุณภาพภายในของสถานศึกษาและเพือ่ รองรบั การประเมนิ คณุ ภาพภายนอก

โรงเรียนรม่ เกล้า บุรรี มั ยจ์ ึงประกาศใช้มาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา ระดับการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน เพื่อการ
ประกันคุณภาพภายในของสถานศึกษา ตามเอกสารแนบท้ายประกาศนี้ เพื่อเป็นเป้าหมายในการพัฒนาคุณภ าพและ
มาตรฐานการศึกษาตอ่ ไป

ประกาศ ณ วนั ที่ ๑ เดอื น กรกฏาคม พ.ศ. ๒๕๖๓

ลงช่ือ...............................................
(นายธนภณ ธนะสีรงั กรู )

ผู้อานวยการโรงเรียนร่มเกล้า บรุ ีรัมย์

๖๕

การกาหนดคา่ เปา้ หมายตามมาตรฐานการศึกษา ระดบั การศึกษาข้นั พื้นฐาน
เพอื่ การประกันคุณภาพภายในของโรงเรียนรม่ เกล้า บรุ รี มั ย์

มาตรฐาน / ประเด็นการพิจารณา เกณฑก์ ารวัดค่าเป้าหมายมาตรฐาน

มาตรฐานท่ี ๑ คุณภาพของผู้เรียน

๑.๑ ผลสมั ฤทธท์ิ างวิชาการของผูเ้ รียน

๑) มคี วามสามารถในการอ่าน การเขียน นักเรียนมีความสามารถในการอ่าน การเขียน การส่ือสาร และการคิด

การสอื่ สาร และการคิดคานวณ คานวณ ผ่านเกณฑร์ อ้ ยละ ๘๐

๒) มีความสามารถในการคิดวิเคราะห์ นักเรียนมีความสามารถในการคิดวิเคราะห์ คิดอย่างมีวิจารณญาณ

คิดอย่างมีวิจารณญาณ อภิปรายแลกเปล่ียน อภิปรายแลกเปล่ียนความคิดเห็น และแก้ปัญหาผ่านเกณฑ์ร้อยละ

ความคิดเหน็ และแกป้ ญั หา ๘๐

๓ ) มี ค ว า ม ส า ม า ร ถ ใ น ก า ร ส ร้ า ง นักเรยี นความสามารถในการสร้างนวตั กรรมไดด้ ว้ ยตนเองร้อยละ ๙๐

นวตั กรรม

๔) มีความสามารถในการใช้เทคโนโลยี นักเรียนมีความสามารถในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการส่ือสาร

สารสนเทศและการส่อื สาร รอ้ ยละ ๑๐๐

๕) มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนตาม นักเรียนโรงเรียนร่มเกล้า บุรีรัมย์มีผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนตาม

หลกั สูตรสถานศกึ ษา หลกั สูตรสถานศกึ ษา ในระดบั ๒ ขึ้นไปรอ้ ยละ ๗๐

๖) มีความรู้ ทักษะพื้นฐาน และเจตคติ นักเรียนมีความรู้ ทักษะพ้ืนฐาน และเจตคติท่ีดีต่องานอาชีพสุจริต

ทดี่ ีต่องานอาชพี รอ้ ยละ ๑๐๐

๑.๒ คุณลักษณะทพี่ งึ ประสงคข์ องผเู้ รยี น

๑) การมีคุณลักษณะและค่านิยมท่ีดี นักเรียนมีคุณลักษณะและค่านิยมที่ดีตามท่ีสถานศึกษากาหนดผ่าน

ตามท่ีสถานศกึ ษากาหนด เกณฑ์

รอ้ ยละ ๙๐

๒) ความภูมิใจในท้องถ่ินและความเป็น นกั เรียนมีความภมู ิใจในท้องถนิ่ และความเป็นไทยรอ้ ยละ ๑๐๐

ไทย

๓) การยอมรับท่ีจะอยู่ร่วมกันบนความ นักเรียนมกี ารยอมรับท่ีจะอยู่ร่วมกันบนความแตกต่างและหลากหลาย

แตกต่างและหลากหลาย รอ้ ยละ ๑๐๐

๔) สุขภาวะทางรา่ งกาย และจติ สังคม นักเรียนมีสุขภาวะทางร่างกายปกติ และมีจิตสังคมผ่านเกณฑ์การ

ประเมินของโรงเรียนร้อยละ ๙๐

มาตรฐานท่ี ๒ กระบวนการบรหิ ารและการจัดการ

๒.๑ มีเป้าหมายวิสัยทัศน์และพันธกิจท่ี โรงเรียนมีเปา้ หมาย วิสัยทัศน์และพันธกิจท่ีกาหนดชัดเจน สอดคล้อง

สถานศึกษากาหนดชดั เจน กับบริบทของสถานศึกษา ความต้องการชุมชน นโยบายรัฐบาล

แผนการศึกษาแห่งชาติ เปน็ ไปไดใ้ นการปฏบิ ตั ิ

๒.๒ มีระบบบริหารจัดการคุณภาพของ โรงเรียนมีระบบบริหารจัดการคุณภาพของโรงเรียนท่ีชัดเจน มี

๖๖

สถานศึกษา ประสิทธิภาพ ส่งผลต่อคุณภาพตามมาตรฐานการศึกษาของโรงเรียน

โดยความร่วมมือของผูเ้ กย่ี วข้องทุกฝา่ ย

๒.๓ ดาเนินงานพัฒนาวิชาการท่ีเน้น โรงเรียนได้ดาเนินงานพัฒนาวิชาการท่ีเน้นคุณภาพผู้เรียนรอบด้าน

คุณภาพผู้เรียนรอบด้านตามหลักสูตร ตามหลกั สตู รสถานศกึ ษา และทกุ กลุ่มเป้าหมาย เช่อื มโยงกับชวี ิตจรงิ

สถานศึกษาและทกุ กลมุ่ เป้าหมาย

๒.๔ พัฒนาครูและบุคลากรให้มีความ ครูและบุคลากรมีการพัฒนาตนเองให้มีความเชี่ยวชาญทางวิชาชีพ

เช่ียวชาญทางวชิ าชีพ รอ้ ยละ ๑๐๐ ตรงตามความต้องการของครู และสถานศกึ ษา

๒.๕ จัดสภาพแวดล้อมทางกายภาพและ โรงเรียนมีการจัดสภาพแวดล้อมทางกายภาพและสังคมที่เอื้อต่อการ

สังคมที่เอ้ือต่อการจัดการเรียนรู้อย่างมี จัดการเรยี นรู้อยา่ งมคี ุณภาพ และมคี วามปลอดภยั

คณุ ภาพ

๒.๖ จัดระบบเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อ โรงเรยี นมีการจัดระบบเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อสนับสนุนการบริหาร

สนับสนุนการบริหารจัดการและการจัดการ จัดการและการจดั การเรียนรทู้ ีเ่ หมาะสมกบั สภาพของสถานศึกษา

เรียนรู้

มาตรฐาน / ประเด็นการพจิ ารณา เกณฑ์การวดั ค่าเปา้ หมายมาตรฐาน

มาตรฐานท่ี ๓ กระบวนการจัดการเรียนการสอนท่ีเนน้ ผเู้ รียนเปน็ สาคัญ

๓.๑ จัดการเรียนรู้ผ่านกระบวนการคิด ครูมกี ารจัดการเรยี นร้ผู ่านกระบวนการคิดและปฏบิ ัติจริง และสามารถ

และปฏิบตั ิจรงิ และสามารถนาไปประยุกต์ใช้ นาไปประยุกตใ์ ช้ในชีวิตได้ รอ้ ยละ ๑๐๐

ในชีวติ ได้

๓.๒ ใช้ส่ือ เทคโนโลยีสารสนเทศและ ครูมีการใช้สื่อ เทคโนโลยีสารสนเทศและแหล่งเรียนรู้ที่เอื้อต่อการ

แหลง่ เรยี นรู้ทีเ่ ออ้ื ต่อการเรียนรู้ เรยี นรู้

รอ้ ยละ ๑๐๐

๓.๓ มีการบรหิ ารจดั การชัน้ เรยี นเชงิ บวก ครูมกี ารบรหิ ารจัดการชน้ั เรยี นเชงิ บวกรอ้ ยละ ๑๐๐

๓.๔ ตรวจสอบและประเมินผู้เรียนอย่าง ครูมีการตรวจสอบและประเมินผู้เรียนอย่างเป็นระบบและนาผลมา

เป็นระบบและนาผลมาพฒั นาผู้เรยี น พฒั นาผูเ้ รียน

ร้อยละ ๑๐๐

๓.๕ มีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้และให้ ครูมีการแลกเปล่ียนเรียนรู้และให้ข้อมูลสะท้อนกลับเพ่ือพัฒนาและ

ข้อมูลสะท้อนกลับเพ่ือพัฒนาและปรับปรุง ปรบั ปรุงการจดั การเรียนรู้ ร้อยละ ๑๐๐

การจดั การเรยี นรู้

๖๗

คาส่ังโรงเรียนร่มเกลา้ บรุ รี ัมย์

ที่ ๒๑๒/๒๕๖๓

เรอ่ื ง แตง่ ตั้งคณะกรรมการประกนั คุณภาพการศึกษาภายในสถานศึกษา

……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

ตามพระราชบัญญตั ิการศึกษาแหง่ ชาติ พ.ศ. ๒๕๔๒ ได้ระบุความมงุ่ หมายและหลกั การของการจัดการศกึ ษาใน

มาตรา ๔๘ วา่ ให้หนว่ ยงานตน้ สงั กัดและสถานศึกษาจดั ใหม้ ีการประกนั คุณภาพภายในสถานศึกษาและใหถ้ ือว่าการ

ประกันคุณภาพภายในสถานศึกษาเปน็ ส่วนหนึ่งของกระบวนการบริหาร การศึกษาต้องดาเนนิ การอย่างต่อเน่ือง โดยการ

จดั ทารายงาน ประจาปีเสนอต่อหนว่ ยงานต้นสังกัด หน่วยงานทีเ่ ก่ยี วข้องและเปดิ เผยต่อสาธารณชน เพอ่ื นาไปสู่การ

พัฒนาคุณภาพและมาตรฐานการศกึ ษาเพื่อรองรับการประกนั คณุ ภาพภายนอก

ดงั นั้นเพอ่ื ให้การดาเนินงานเกีย่ วกบั การประเมินคุณภาพการศึกษาประจาปีของโรงเรียนร่มเกล้า บุรีรัมย์ เป็นไป

ด้วยความเรียบร้อยและมีประสทิ ธิภาพ จงึ แตง่ ต้งั คณะกรรมการดาเนินงาน ดังนี้

๑. คณะกรรมการอานวยการ

๑. นายธนภณ ธนะสรี งั กรู ผู้อานวยการ ประธานกรรมการ

๒. นายพมิ ลศกั ดิ์ สบื สาราญ รองผู้อานวยการ รองประธานกรรมการ

๓. นางสาวฐติ ารีย์ ปริกลุ พสทิ ธ์ิ รก.รองผูอ้ านวยการ กรรมการ

๔. นางสาวกลุ ภัฌสรณ์ ศรีกิมแกว้ คศ.๒ กรรมการและเลขานกุ าร

๕. นายแสนสขุ แสนสสี ม ครู กรรมการและผชู้ ่วยเลขานุการ

๖. นางปารณีย์ วันภกั ดี พนักงานราชการ กรรมการและผู้ช่วยเลขานกุ าร

มีหน้าที่

๑. วางแผนในการประเมินการพัฒนาคุณภาพการศึกษาประจาปีของสถานศึกษาและเตรียมการเพื่อรองรับการ

ประเมิน คณุ ภาพภายนอกจาก สมศ.

๒. ดาเนนิ การขยายผล นเิ ทศ กากบั ตดิ ตาม ควบคุมดูแล การประเมินการพัฒนาคุณภาพการศึกษาประจาปีของ

สถานศึกษาและการประเมนิ คณุ ภาพภายนอกจาก สมศ.

๓. ให้คาปรกึ ษา แนะนา และแก้ไขปญั หาต่างๆ ในการทางาน

๒. คณะกรรมการดาเนนิ งาน ประธานกรรมการ
มาตรฐานท่ี ๑ คุณภาพของผเู้ รียน กรรมการและเลขานุการ
กรรมการและผู้ชว่ ยเลขานกุ าร
๑.๑ ผลสมั ฤทธ์ทิ างวิชาการของผเู้ รยี น
นางยุพนิ โคตรภธู ร
นางสาวปัณณรัตน์ โสภณวัฒน์ศริ ิ
นายวโิ รจน์ ภาระจ่า

๖๘

มหี นา้ ที่ ตดิ ตาม รวบรวมข้อมูล หลกั ฐาน รอ่ งรอยและเอกสารคณุ ภาพของผเู้ รยี นดา้ นผลสมั ฤทธิท์ างวชิ าการของผู้เรียน

จากคณะกรรมการตามมาตรฐานในข้อ ๑.๑ พร้อมทั้งตอบคาถามคณะกรรมการประเมินภายในสถานศึกษาและภายนอก

สถานศกึ ษา

๑. มคี วามสามารถในการอ่าน การเขียน การส่ือสารและการคดิ คานวณ

๑.๑ มีความสามารถในการอ่าน การเขยี น การส่อื สาร

๑. นางสาวฐติ ารีย์ ปรกิ ุลพสษิ ฐ์ ประธาน

๒. นางสาวรชั ฏาพร พนั ธวุ์ รรณ์ รองประธาน

๓. นางพกั ตรพิมาน สรสริ ิ กรรมการ

๔. นางอไุ รรตั น์ มุสินันทวัฒน์ กรรมการ

๕. นายรวิศทุ ธ์ ใจแก้ว กรรมการ

๖. นางสาวฉัตรรัตน์ ไชยพิรณุ รักษ์ กรรมการ

๗. นางสาวภญิ ญาวณี ์ วฒุ ณิ รงคร์ ตั น์ กรรมการ

๘. นายพงษ์พนั ธ์ สว่างวงษ์ กรรมการ

๙. นายวิฑรู ย์ หารคาตัน กรรมการและเลขานุการ

๑.๒ มีความสามารถในการคดิ คานวณ

๑. นายเศกสันต์ สนรมั ย์ ประธาน

๒. นางยพุ นิ โคตรภธู ร กรรมการ

๓. นางลักษ์คณา ยศศิริ กรรมการ

๔. นางสุนันทา สนรมั ย์ กรรมการ

๕. นายวีระโชติ เพช็ รรัตน์ กรรมการ

๖. นายออ๊ ด โสนางรอง กรรมการ

๗. นางสาวเพ็ญพรรณ เผยี ดนอก กรรมการและเลขานุการ

๒. ความสามารถในการวิเคราะห์ คดิ อย่างมีวิจารณญาณ อภปิ รายแลกเปล่ยี นความคดิ เห็น

และแกป้ ัญหา

๑. นางยุพนิ โคตรภูธร ประธาน

๒. นายวิโรจน์ ภาระจา่ กรรมการ

๓. นางสาวปณั ณรัตน์ โสภณวฒั น์ศิริ กรรมการและเลขานุการ

๓. ความสามารถในการสรา้ งนวตั กรรม

๓.๑ กลุ่มสาระการเรียนร้สู ขุ ศึกษาและพลศกึ ษา

๑. นายศุภพงษ์ หล้าลา้ จารสั กลุ ประธาน

๒. นายวีระชัย ภักดแี ก้ว กรรมการและเลขานกุ าร

๓.๒ กลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพ

๑. นางสถาพร ชาญประโคน ประธาน

๒. นางปารณีย์ วันภักดี กรรมการและเลขานุการ

๖๙

๓.๓ กลุ่มสาระการเรียนรสู้ ังคม ศาสนาและวัฒนธรรม ประธาน
๑. นายอเนก ตเี หลก็ กรรมการและเลขานกุ าร
๒. นางสาวสญามล มีจนั ทร์
๓.๔ กลุ่มสาระการเรียนรู้ศลิ ปะ ประธาน
๑. นายสุขพงษภ์ คั น้อยจันทร์ กรรมการและเลขานุการ
๒. นายอาทิตย์ สภุ าพ
๓.๕ กลมุ่ สาระการเรยี นรู้คณติ ศาสตร์ ประธาน
๑. นายเศกสนั ต์ สนรมั ย์ กรรมการและเลขานุการ
๒. นางสาวเพ็ญพรรณ เผยี ดนอก
๓.๖ กลุ่มสาระการเรยี นรู้วิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี ประธาน
๑. นางสาวสราลีย์ ศรปี ญั ญา กรรมการและเลขานกุ าร
๒. นางสาวณัฐวรรณ สัมผสั
๓.๗ กลมุ่ สาระการเรียนรภู้ าษาไทย ประธาน
๑. นายวฑิ รู ย์ หารคาตัน กรรมการและเลขานกุ าร
๒. นายพงษ์พันธ์ สวา่ งวงษ์
๓.๘ กลมุ่ สาระการเรยี นรภู้ าษาต่างประเทศ ประธาน
๑. นางสาวรัชฏาพร พันธ์ุวรรณ์ กรรมการและเลขานุการ
๒. นางสาวอไุ รรัตน์ มุสินนั ทวัฒน์
๔. มีความสามารถในการใชเ้ ทคโนโลยสี ารสนเทศและการสื่อสาร ประธาน
๑. นางสาวปณั ณรัตน์ โสภณวัฒน์ศริ ิ กรรมการ
๒. นายปัญญาพงศ์ ดแี ลว้ กรรมการและเลขานกุ าร
๓. นายจิรวฒุ ิ แสนเสริม
๕. ผลสัมฤทธิท์ างการเรียนตามหลกั สูตรสถานศกึ ษา ประธาน
๑. นางสาวยุพนิ โคตรภะร กรรมการ
๒. นายวโิ รจน์ ภาระจ่า กรรมการและเลขานกุ าร
๓. นางสาวปณั ณรัตน์ โสภณวัฒนศ์ ริ ิ
๖. มคี วามรู้ ทักษะพน้ื ฐานและเจตคตทิ ดี ตี อ่ งานอาชพี ประธาน
๑. นางพมิ พล์ ดา บุญลา กรรมการ
๒. นางอไุ รรตั น์ มุสินันทวฒั น์ กรรมการและเลขนกุ าร
๓. นายรวิศทุ ธ์ิ ใจแกว้
๑.๒ คุณลกั ษณะท่ีพงึ ประสงค์ของผูเ้ รียน ประธานกรรมการ
นางสาวฐติ ารยี ์ ปรกิ ลุ พสษิ ฐ์ กรรมการและเลขานุการ
นางสาวธนานิษฐ์ ศิระพัฒน์ปรีดา

๗๐

มีหน้าท่ี ติดตาม รวบรวมข้อมูล หลักฐาน ร่องรอยและเอกสารคุณภาพของผู้เรียนด้านคุณลักษณะที่พึงประสงค์ของ

ผู้เรียนจากคณะกรรมการตามมาตรฐานในข้อ ๑.๒ พร้อมทั้งตอบคาถามคณะกรรมการประเมินภายในสถานศึกษาและ

ภายนอกสถานศกึ ษา

๑. การมีคณุ ลักษณะและคา่ นยิ มทด่ี ีตามท่ีสถานศึกษากาหนด

๑. นางสาวฐติ ารีย์ ปรกิ ุลพสิษฐ์ ประธาน

๒. นางสาวรชั ฏาพร พนั ธุ์วรรณ์ กรรมการ

๓. นางสาวภิญญาวีณ์ วฒุ ิณรงคร์ ตั น์ กรรมการและเลขานุการ

๒. ความภูมิใจในท้องถน่ิ และความเป็นไทย

๓. การยอมรบั ทจี่ ะอย่รู ว่ มกนั บนความแตกต่างและหลากหลาย

๑. นายอเนก ตเี หลก็ ประธาน

๒. นางสาวธนานษิ ฐ์ ศริ ะพฒั นป์ รีดา กรรมการ

๓. นายธนวชิ ญ์ ศรสี งา่ กรรมการ

๔. นางสาวละออง ลีลาน้อย กรรมการ

๕. นางสาวสญามล มีจันทร์ กรรมการและเลขานุการ

๔. สขุ ภาวะทางร่างกายและจติ สงั คม

๑. นางจิราภรณ์ ดีสวัสดิ์ ประธาน

๒. นายนายศุภพงษ์ หล้าล้าจารัสกุล กรรมการและเลขานกุ าร

มาตรฐานท่ี ๒ กระบวนการบรหิ ารและการจัดการ

นายพิมลศกั ด์ิ สบื สาราญ ประธานกรรมการ

นายเศกสนั ต์ สนรมั ย์ กรรมการและเลขานกุ าร

มีหน้าที่ ติดตาม รวบรวมข้อมูล หลักฐาน ร่องรอยและเอกสารคุณภาพของผู้เรียนด้านคุณลักษณะท่ีพึงประสงค์ของ

ผู้เรียน จากคณะกรรมการตามมาตรฐานในข้อ ๒ พร้อมท้ังตอบคาถามคณะกรรมการประเมินภายในสถานศึกษาและ

ภายนอกสถานศกึ ษา

๒.๑ มีเปา้ หมาย วสิ ัยทัศน์ และพนั ธกจิ ทส่ี ถานศกึ ษากาหนดชัดเจน

๒.๒ มีระบบบริหารจัดการคุณภาพของสถานศึกษา

๑ นายพมิ ลศกั ด์ิ สบื สาราญ ประธาน

๒. นางสาวฐติ ารยี ์ ปรกิ ลุ พสิษฐ์ กรรมการ

๓. นายวรี ะชัย ภักดีแก้ว กรรมการ

๔. นางยุพิน โคตรภธู ร กรรมการ

๕. นางสนุ ันทา สนรมั ย์ กรรมการ

๖. นางสาวเพญ็ พรรณ เผยี ดนอก กรรมการ

๗. นายวีระโชติ เพช็ รรัตน์ กรรมการ

๘. นายเศกสันต์ สนรัมย์ กรรมการและเลขานุการ

๗๑

๒.๓ ดาเนินงานพัฒนาวิชาการที่เน้นคุณภาพของผู้เรียนรอบด้านตามหลักสูตรสถานศึกษาและทุก

กลมุ่ เปา้ หมาย

๑. นางยพุ นิ โคตรภธู ร ประธาน

๒. นายรวศิ ุทธ์ ใจแก้ว กรรมการ

๓. นางสาวปัณณรตั น์ โสภณวัฒน์ศิริ กรรมการ

๔. หวั หน้ากลุม่ สาระการเรียนรู้ กรรมการ

๕. นางสาวสราลีย์ ศรีปญั ญา กรรมการและเลขานกุ าร

๒.๔ พัฒนาครแู ละบุคลากรใหม้ คี วามเช่ยี วชาญทางวิชาชีพ

๑. นางลกั ษค์ ณา ยศศิริ ประธาน

๒. นางสาวนฤพร แสนเจก็ กรรมการ

๓. นางสาวรชั ฏาพร พนั ธวุ์ รรณ์ กรรมการและเลขานุการ

๒.๕ จดั สภาพแวดล้อมทางกายภาพและสังคมทเี่ อ้ือตอ่ การจัดการเรยี นรูอ้ ย่างมคี ณุ ภาพ

๑. นายทวีศกั ด์ิ ชาญประโคน ประธาน

๒. นายสขุ พงศ์ภคั นอ้ ยจนั ทร์ กรรมการ

๓. นายอเนก ตเี หลก็ กรรมการ

๓. นายอาทิตย์ สุภาพ กรรมการและเลขานกุ าร

๒.๖ จัดระบบเทคโนโลยีสารสนเทศเพ่อื สนับสนนุ การบรหิ ารจดั การและการจัดการเรียนรู้

๑. นายจิรวุฒิ แสนเสริม ประธาน

๒. นายทวีศักดิ์ ชาญประโคน กรรมการ

๓. นางสาวปณั ณรตั น์ โสภณวัฒนศ์ ิริ กรรมการ

๔. นายปญั ญาพงศ์ ดีแลว้ กรรมการ

๕. นายออ๊ ด โสนางรอง กรรมการและเลขานุการ

มาตรฐานที่ ๓ กระบวนการจัดการเรียนการสอนท่เี นน้ ผเู้ รียนเป็นสาคัญ

นางสถาพร ชาญประโคน ประธานกรรมการ

นางสาวสราลีย์ ศรีปญั ญา กรรมการและเลขานกุ าร

มีหน้าท่ี ติดตาม รวบรวมข้อมูล หลักฐาน ร่องรอยและเอกสารคุณภาพของผู้เรียนด้านคุณลักษณะที่พึงประสงค์ของ

ผู้เรียน จากคณะกรรมการตามมาตรฐานในข้อ ๓ พร้อมทั้งตอบคาถามคณะกรรมการประเมินภายในสถานศึกษาและ

ภายนอกสถานศึกษา

๓.๑ จัดการเรยี นรู้ผ่านกระบวนการคดิ และปฏิบตั ิจริง และสามารถนาไปประยกุ ต์ใชใ้ นชวี ติ ได้
๓.๒ ใชส้ ื่อ เทคโนโลยสี ารสนเทศและแหล่งเรยี นรทู้ ีเ่ อื้อต่อการเรยี นรู้
๓.๓ มกี ารบรหิ ารจดั การชั้นเรียนเชงิ บวก
๓.๔ ตรวจสอบและประเมนิ ผเู้ รยี นอย่างเป็นระบบและนาผลมาพฒั นาผเู้ รยี น
๓.๕ มีการแลกเปลย่ี นเรียนรู้และใหข้ อ้ มลู สะท้อนกลบั เพื่อพัฒนาและปรบั ปรุงการจัดการเรียนรู้

๗๒

๑) กลมุ่ สาระการเรยี นรสู้ ขุ ศึกษาและพลศกึ ษา ประธาน
๑. นายศภุ พงษ์ หลา้ ลา้ จารสั กลุ กรรมการ
๒. นายธีระวฒั น์ ตรีตรอง กรรมการ
๓. นางจิราภรณ์ ดีสวสั ดิ์ กรรมการ
๔. นางสาวนฤพร แสนเจก๊ กรรมการและเลขานุการ
๖. นายวีระชัย ภักดแี กว้
๒) กลุ่มสาระการเรยี นรูก้ ารงานอาชพี ประธาน
๑. นางสถาพร ชาญประโคน กรรมการและเลขานกุ าร
๒. นางปารณยี ์ วันภกั ดี
๓) กลมุ่ สาระการเรียนรู้สงั คม ศาสนาและวฒั นธรรม ประธาน
๑. นายธนวิชญ์ ศรสี ง่า กรรมการ
๒. นางสาวธนานิษฐ์ ศริ ะพัฒนป์ รีดา กรรมการ
๓. นางบปุ ผา จัตุเชื้อ กรรมการ
๔.นายอเนก ตีเหลก็ กรรมการ
๕. นางสาวละออง ลลี าน้อย กรรมการและเลขานุการ
๖. นางสาวสญามล มจี ันทร์
๔) กลุ่มสาระการเรียนรศู้ ลิ ปะ ประธาน
๑. นายสขุ พงษภ์ ัค น้อยจันทร์ กรรมการ
๒. นายทวศี ักดิ์ ชาญประโคน กรรมการ
๓. นายจตุรภัสณนิ ท์ ชวนิสสมิ าโฃติ กรรมการและเลขานกุ าร
๔. นายอาทิตย์ สุภาพ
๕) กลุ่มสาระการเรยี นรคู้ ณติ ศาสตร์ ประธาน
๑. นายเศกสนั ต์ สนรัมย์ กรรมการ
๒. นางยุพนิ โคตรภธู ร กรรมการ
๓. นางลักษ์คณา ยศศิริ กรรมการ
๔. นางสุนนั ทา สนรัมย์ กรรมการ
๕. นายวีระโชติ เพช็ รรัตน์ กรรมการ
๖. นายอ๊อด โสนางรอง กรรมการและเลขานุการ
๗. นางสาวเพ็ญพรรณ เผยี ดนอก
๖) กลุม่ สาระการเรยี นร้วู ิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ประธาน
๑. นางสาวสราลีย์ ศรีปัญญา กรรมการ
๒. นางพิมพ์ลดา บุญลา กรรมการ
๓. นางภคั รมัย โพภกั ดี กรรมการ
๔. นางสาวปัณณรัตน์ โสภณวฒั น์ศิริ กรรมการ
๕. นางสาวกุลภฌั สรณ์ ศรีกมิ แกว้

๗๓

๖. นายประกรณ์ ยินดีชาติ กรรมการ

๗. นางอรทัย ยินดชี าติ กรรมการ

๘. นางวนั ทนา สงธรรม กรรมการ

๙. นายแสนสขุ แสนสีสม กรรมการ

๑๐. นายจิรวุฒิ แสนเสริม กรรมการ

๑๑. นางจริญญา ช่วงชยั ชนะ กรรมการ

๑๒. นายปญั ญาพงศ์ ดีแลว้ กรรมการ

๑๓. นายวิโรจน์ ภาระจา่ กรรมการ

๑๔. นางสาวณฐั วรรณ สัมผัส กรรมการและเลขานกุ าร

๗) กลมุ่ สาระการเรียนรภู้ าษาไทย

๑. นายวิฑรู ย์ หารคาตนั ประธาน

๒. นางสาวฐิตารยี ์ ปรกิ ุลพสษิ ฐ์ กรรมการ

๓. นางสาวฉตั รรตั น์ ไชยพิรณุ รักษ์ กรรมการ

๔. นายพงษพ์ ันธ์ สว่างวงษ์ กรรมการและเลขานกุ าร

๘) กล่มุ สาระการเรียนร้ภู าษาต่างประเทศ

๑. นางสาวรัชฏาพร พันธุว์ รรณ์ ประธาน

๒. นางพักตรพิมาน สรสิริ กรรมการ

๓. นางอไุ รรัตน์ มุสนิ ันทวัฒน์ กรรมการ

๔. นายรวศิ ุทธ์ ใจแกว้ กรรมการ

๕. นางสาวภิญญาวณี ์ วุฒิณรงค์รตั น์ กรรมการและเลขานกุ าร

มีหนา้ ท่ี

๑. ศึกษาคาช้ีแจงแต่ละมาตรฐาน ซ่ึงประกอบด้วย มาตรฐาน ระดบั คุณภาพ ประเด็นการพจิ ารณา

๓. จัดทาเครอ่ื งมือแตล่ ะมาตรฐาน เพอื่ ใชใ้ นการตรวจสอบตามเกณฑก์ ารประเมนิ คุณภาพของการศึกษา

๔. วางแผน และจัดทากาหนดการในการประเมนิ แตล่ ะมาตรฐาน แล้วดาเนนิ การประเมนิ ตามมาตรฐานการศกึ ษา

๕. สรุปผลการประเมนิ ในแต่ละมาตรฐาน ในภาพรวมตามท่พี บระบุจุดเดน่ จุดท่ีควรพฒั นาและข้อเสนอแนะ

๖. เกบ็ รวบรวมข้อมลู หลักฐาน ร่องรอยและเอกสารคุณภาพของผู้เรียนตามมาตรฐานการศึกษาเข้าแฟ้มมาตรฐาน

ที่เก่ียวข้อง กับการประเมินคุณภาพให้เป็นหมวดหมู่ และสามารถตรวจสอบได้ เพื่อรองรับการประเมินคุณภาพภายใน

สถานศึกษาและภายนอกจาก สมศ. และรายงานผลการดาเนนิ งานต่อผู้บรหิ ารสถานศึกษา

ทั้งนขี้ อใหผ้ ทู้ ีไ่ ดร้ ับการแตง่ ต้ังจงปฏิบัติหนา้ ท่ดี ว้ ยความเอาใจใส่และเสยี สละ อย่าให้เกดิ ความเสยี หายแกท่ างราชการ

สง่ั ณ วันท่ี ๑๐ กรกฏาคม พ.ศ. ๒๕๖๓

(นายธนภณ ธนะสีรังกรู )
ผูอ้ านวยการโรงเรยี นรม่ เกลา้ บรุ ีรัมย์

๗๔

พิธีมอบประกาศนยี บัตร

นกั เรียนชั้นมธั ยมศึกษาปีท่ี ๓ และ นักเรียนชน้ั มธั ยมศกึ ษาปที ่ี ๖
รุ่นที่ ๔๐ ดอกแวววเิ ชยี ร

วันท่ี ๕ เมษายน พ.ศ. ๒๕๖๔

๗๕
โรงเรยี นรม่ เกล้า บุรีรมั ย์
โดยคณะผบู้ รหิ าร คณะครแู ละบคุ ลากรทางการศกึ ษาและนกั เรียนขอแสดงความยนิ ดีและยินดตี อ้ นรับ
นางสาวภาณุมาศ จันทร์เหลือ ในโอกาสเข้ารบั การบรรจุและแต่งตง้ั เปน็ ขา้ ราชการครู ตาแหน่งครผู ้ชู ่วย วชิ าเอก

ภาษาจีน
วนั ที่ ๑๖ กมุ ภาพันธ์ ๒๕๖๔

๗๖

มอบทนุ การศกึ ษาโครงการ " พีท่ หารสานฝนั "

โดย พนั เอกภาคภูมิ นภากาศ รองผบู้ ังคับหน่วยเฉพาะกิจท่ี ๒ กองกาลังสรุ นารี
มอบทุน คอรส์ เรยี น "ภาษาอังกฤษครนู ะ ออนไลน์ Entrance "
วันท่ี ๑ กุมภาพันธ์ ๒๕๖๔

๗๗

“ในหลวง”

พระราชทานทุนการศึกษานกั เรยี น ม.ท.ศ. รุ่นท่ี ๑๒ พรอ้ มพระราชทานพระบรมราโชวาท

พระบาทสมเดจ็ พระปรเมนทรรามาธิบดี ศรีสนิ ทรมหาวชิราลงกรณ มหศิ รภูมพิ ลราชวรางกูร
กิติสริ ิสมบูรณอดุลยเดช สยามินทราธิเบศร ราชวโรดม บรมนาถบพติ ร พระวชริ เกล้าเจา้ อยหู่ ัว
เสดจ็ ลง ณ ศาลาดุสดิ าลัย สวนจติ รลดา พระราชวังดสุ ติ พระราชทานพระบรมราชวโรกาสให้ คณะกรรมการ
มูลนธิ ิทุนการศึกษาพระราชทาน สมเด็จพระบรมโอรสาธิราชฯ สยามมกฎุ ราชกมุ าร (ม.ท.ศ) และผู้ว่าราชการจังหวดั
ทกุ จังหวดั นานกั เรยี นทุนการศกึ ษาพระราชทานสมเด็จพระบรมโอรสาธริ าชฯ สยามมกุฎราชกุมาร (ม.ท.ศ) ร่นุ ท่ี ๑๒

ประจาปกี ารศกึ ษา ๒๕๖๓ เฝา้ ทลู ละอองธลุ ีพระบาท รบั พระราชทานทนุ การศึกษา
แก่ นางสาวพชั รินทร์ ตดึ สันโดษ นักเรียนชั้นมธั ยมศึกษาปีที่ ๔/๑
วนั ท่ี ๒๒ พฤศจกิ ายน ๒๕๖๓

๗๘

สวัสดคี ณุ ครู ๖๓

นาโดย นายธนภณ ธนะสรี งั กูร ประธานสหวิทยาเขตละหานทราย
คณะผู้บรหิ ารพรอ้ มคณะครูในสหวิทยาเขตละหานทราย ยินดตี อ้ นรับ
ดร.กฤษ ละมูลมอญ ผอู้ านวยการสานกั งานเขตพนื้ ท่กี ารศึกษามัธยมศกึ ษาบรุ รี มั ย์

เพอื่ มอบนโยบายแนวทางการพัฒนาคณุ ภาพการศกึ ษา
วันท่ี ๒๙ ธนั วาคม ๒๕๖๓ ณ โรงเรยี นรม่ เกล้า บุรีรัมย์

๗๙

กิจกรรมวนั ครสิ ตม์ าส

ปกี ารศกึ ษา2563
วันท่ี ๒๕ ธนั วาคม ๒๕๖๓

๘๐

จิตอาสา

โรงเรยี นร่มเกล้า บรุ ีรมั ย์ คณะผู้บริหาร ครู และนกั เรยี น
ไดร้ ว่ มกจิ กรรมฟงั การบรรยายการสร้างเข่อื นคลองมะนาว ซ่ึงไดร้ ับเกยี รติจากวิทยากรสานักงานบารุงเข่อื นลานางรอง

เพือ่ ให้ทราบถึงประวตั ิความเป็นมาของเขือ่ นคลองมะนาว
วันท่ี ๒๘ ตลุ าคม ๒๕๖๓

๘๑

พิธปี ระดับอินทรธนูลูกเสอื -เนตรนารสี ามัญร่นุ ใหญ่

ระดบั ชั้นมัธยมศกึ ษาปีท่ี ๑
ประจาปีการศกึ ษา ๒๕๖๓

๘๒

โรงเรยี นรม่ เกลา้ บรุ ีรัมย์ ในโครงการพระราชดาริ
นอ้ มราลกึ เนอื่ งในวนั คล้ายวนั สวรรคต ในหลวงรชั กาลท่ี ๙

วนั ท่ี ๑๒ ตุลาคม ๒๕๖๓

๘๓

วันพระราชทานธงชาตไิ ทย
(Thai National Flag Day)

นายธนภณ ธนะสีรังกรู นาคณะผูบ้ รหิ าร ครู บุคลากรทางการศึกษา และนักเรียนโรงเรยี นร่มเกลา้ บุรีรมั ย์
ร่วมเคารพธงชาติ ณ บรเิ วณหน้าท่วี า่ การอาเภอโนนดนิ แดงโดยพรอ้ มเพรียงกนั เพ่อื เปน็ การสรา้ งความภาคภูมใิ จ

และเปน็ การนอ้ มราลกึ ถงึ พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจา้ อย่หู ัวที่ไดพ้ ระราชทานธงไตรรงคเ์ ปน็ ธงชาติไทย
๒๘ กันยายน ๒๕๖๓

๘๔

เปดิ กองลูกเสือและการอยู่ค่ายพกั แรม
ลูกเสอื – เนตรนารี ระดบั ช้ัน ม.๑

๘๕

เปิดกองลูกเสอื และการอยูค่ ่ายพักแรม
ลกู เสือ – เนตรนารี ระดับชัน้ ม.๒

๘๖

เปดิ กองลูกเสือและการอยู่ค่ายพกั แรม
ลูกเสอื – เนตรนารี ระดบั ช้ัน ม.๓

๘๗

วันออกพรรษา ๒๕๖๓

วันที่ ๒ ตลุ าคม ๒๕๖๓ ขน้ึ ๑๕ คา่ เดือน ๑๑ ปีชวด
คณะผู้บรหิ าร คณะครู บคุ ลากรทางการศึกษาและนักเรียนโรงเรยี นรม่ เกลา้ บุรีรัมย์

๘๘

มทุ ติ าจิต เกษยี ณอายุราชการ

นายธนภณ ธนะสีรังกูร นาคณะผู้บรหิ าร ครู บคุ ลากรทางการศึกษา นักเรียน และตวั แทนศษิ ยเ์ ก่าโรงเรียนร่มเกลา้
บุรรี มั ย์ ร่วมแสดงมุทติ าจติ และพธิ บี ายศรสี ู่ขวัญเกษียณอายรุ าชการ แด่คณุ ครวู ีระชาติ งุน้ ทอง ตาแหน่ง ครูชานาญ

การพิเศษ และคณุ ครคู ารณ บุตรไทย ตาแหนง่ ครชู านาญการ มกี ารแสดงราอวยพรเกษยี ณอายรุ าช
จากนักเรยี นโรงเรียนรม่ เกลา้ บรุ รี ัมย์ บรรยากาศเตม็ ไปด้วยความอบอนุ่ ณ อาคารพระเมตตาธิคุณ

วันท่ี ๒๓ กนั ยายน ๒๕๖๓

๘๙

ปฐมนิเทศนักเรยี นใหมแ่ ละมอบตวั นกั เรียน
ระดบั ชัน้ มธั ยมศึกษาปีที่ ๑ และ ๔ พรอ้ มมอบอปุ กรณ์การเรียนประจาปกี ารศกึ ษา ๒๕๖๓

วันที่ ๒๖ มิถนุ ายน ๒๕๖๓

๙๐

ท่ปี รึกษา คณะทางาน

นายธนภณ ธนะสีรงั กูร ผู้อานวยการโรงเรยี นร่มเกล้า บุรีรัมย์
นายพมิ ลศกั ด์ิ สืบสาราญ รองผู้อานวยการโรงเรยี นรม่ เกลา้ บรุ รี มั ย์
นางสาวฐิตารีย์ ปริกลุ พสิษฐ์ รักษาการ รองผู้อานวยการโรงเรียนรม่ เกล้า บุรรี มั ย์

ผู้จดั ทา

นางสาวสราลยี ์ ศรีปญั ญา หัวหนา้ งานประกนั คณุ ภาพการศกึ ษา

นายแสนสขุ แสนสสี ม เจ้าหน้าที่งานประกันคุณภาพการศกึ ษา

นางปารณี วนั ภักดี เจ้าหนา้ ทง่ี านประกนั คณุ ภาพการศึกษา

นายอ๊อด โสนางรอง เจา้ หน้าทง่ี านสารสนเทศ

นายอาทติ ย์ สภุ าพ เจ้าหนา้ ที่งานสารสนเทศ

คณะครูและบคุ ลากรโรงเรียนร่มเกล้า บุรรี ัมย์ ทุกท่าน

๙๑


Click to View FlipBook Version