The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

SAR63โรงเรียนร่มเกล้า บุรีรัมย์

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by chattuporn6599, 2021-05-11 03:59:54

SAR63โรงเรียนร่มเกล้า บุรีรัมย์

SAR63โรงเรียนร่มเกล้า บุรีรัมย์

ความเหน็ คณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพืน้ ฐาน

คณะกรรมการสถานศึกษาได้เข้ามามีส่วนร่วมในการให้ข้อมูล และรับทราบผลการประเมินตนเอง
ของโรงเรียน มีความเห็นที่สอดคล้องกับผลการประเมินตนเองในคร้ังนี้ ขอชมเชยและชื่นชมในการปฏิบัติ
หน้าที่ของฝ่ายบริหาร ครูและบุคลากรทางการศึกษาของโรงเรียนร่มเกล้า บุรีรัมย์เป็นอย่างย่ิง ขอเป็น
กาลังใจและยนิ ดสี ง่ เสรมิ สนบั สนุนการดาเนนิ งานของโรงเรยี นตลอดไป

( นายสมชยั กอชัยศิริกลุ )
ประธานคณะกรรมการสถานศกึ ษาข้นั พนื้ ฐาน

โรงเรียนร่มเกล้า บรุ ีรมั ย์

คานา

พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ.๒๕๔๒ กาหนดไว้ในมาตรา ๔๘ ระบุว่าให้หน่วยงาน
ต้นสังกัด และสถานศึกษาจัดให้มีระบบการประกันคุณภาพภายใน เป็นส่วนหนึ่งของกระบวนการบริหาร
การศึกษาท่ีต้องดาเนินการอย่างต่อเน่ือง โดยมีการจัดทารายงานประจาปีเสนอต่อหน่วยงานต้นสังกัด
หน่วยงานที่เก่ียวข้อง และเปิดเผยต่อสาธารณชน เพื่อนาไปสู่การพัฒนาคุณภาพ และมาตรฐาน
การศึกษา และเพื่อรองรับการประกันคุณภาพภายนอก ท้ังนี้สถานศึกษาจะต้องมีระบบการประเมินเพื่อ
ตรวจสอบผลการดาเนนิ งานดงั กล่าว

ในปีการศึกษา ๒๕๖๓ น้ัน ได้กาหนดมาตรฐานการศึกษาข้ันพื้นฐานเพ่ือการประกันคุณภาพ
ภายในของสถานศึกษาประกอบด้วย ๓ มาตรฐาน คือ มาตรฐานที่ ๑ คุณภาพผู้เรียน มาตรฐานท่ี ๒
กระบวนการบรหิ ารและการจัดการของผบู้ รหิ ารสถานศึกษา มาตรฐานท่ี ๓ กระบวนการจัดการเรียนการ
สอนท่เี น้นผู้เรียนเปน็ สาคัญ โรงเรยี นร่มเกล้า บุรีรัมย์ได้ประเมินตนเองและสรุปผล การประเมินในแต่
ละมาตรฐานออกเป็นระดับคุณภาพ ๕ ระดับ คอื ยอดเย่ียม ดีเลิศ ดี ปานกลาง กาลังพัฒนา พร้อม
รายงานผลการดาเนินงานของสถานศึกษา กับผลสาเร็จที่เป็นจุดเด่น จุดท่ีควรพัฒนาแนวทางการปรับปรุง
พฒั นา และความตอ้ งการรับความชว่ ยเหลอื เพ่อื ประโยชน์ในการพัฒนาคุณภาพการศึกษาของโรงเรียน
ใหม้ คี ณุ ภาพเข้าสูเ่ กณฑม์ าตรฐานตอ่ ไป

ขอขอบคุณคณะกรรมการประเมินคุณภาพภายในสถานศึกษาทุกท่าน ที่ได้ต้ังใจปฏิบัติหน้าท่ีจน
สามารถจัดทารายงานฉบับนี้สาเร็จลงได้ หวังเป็นอย่างยิ่งว่าผลของการดาเนินงานครั้งน้ี จะเป็นดัชนีให้
เห็นแนวทางในการพฒั นาโรงเรียนของเราให้เข้าสมู่ าตรฐานคุณภาพการศึกษาของกระทรวงศึกษาธิการเป็น
อยา่ งดี

(นายธนภณ ธนะสีรังกรู )
ผูอ้ านวยการโรงเรยี นรม่ เกลา้ บุรรี มั ย์

สารบัญ หนา้

คานา ๑
สารบัญ ๑
ความเหน็ คณะกรรมการสถานศึกษาข้นั พื้นฐาน ๑
บทสรุปของผู้บริหาร ๓
ส่วนท่ี ๑ ขอ้ มลู พ้ืนฐาน ๔
ข้อมูลพืน้ ฐานของสถานศึกษา ๕
ช่อื ผอู้ านวยการโรงเรียนและรองผ้อู านวยการ ๖
แนวทางจัดการศกึ ษา ๑๑
ขอ้ มูลครูและบุคลากร ๒๑
ข้อมลู นกั เรยี น ๒๔
ข้อมูลสรุปผลสัมฤทธท์ิ างการเรยี นระดบั สถานศกึ ษา ๒๕
ผลการทดสอบทางการศกึ ษาระดบั ชาติขั้นพน้ื ฐาน (O-NET) ๒๕
ผลการจดั การเรียนรตู้ ามหลักสตู รสถานศกึ ษา ๒๗
รางวลั ที่โรงเรยี นได้รับ ๓๐
ขอ้ มูลการใช้แหลง่ เรยี นรภู้ ายในและภายนอกโรงเรียน ปีการศกึ ษา ๒๕๖๒
ขอ้ มลู ทรพั ยากร ๔๔
ผลการประเมนิ คุณภาพภายในปที ผ่ี า่ นมา ๔๗
การดาเนินงานของสถานศกึ ษาตามนโยบายจากหนว่ ยงานตน้ สงั กัด ๔๙
ผลการประเมินภายนอก รอบสี่ ๕๐
ส่วนที่ ๒ ผลการประเมนิ ตนเองของสถานศึกษา
มาตรฐานที่ ๑ คุณภาพผเู้ รียน ๕๔
มาตรฐานท่ี ๒ กระบวนการบริหารและการจดั การของผู้บริหารสถานศกึ ษา
มาตรฐานที่ ๓ กระบวนการจดั การเรยี นการสอนท่ีเนน้ ผเู้ รียนเปน็ สาคัญ
ผลการประเมนิ ภาพรวม

ส่วนท่ี ๓ การปฏิบตั ทิ ีเ่ ปน็ เลิศ (Best Practices)
กจิ กรรมทีโ่ ดดเดน่

ภาคผนวก
หลกั ฐานขอ้ มลู สาคญั เอกสารอา้ งองิ ต่างๆ

รายงานการประเมนิ ตนเองชองสถานศึกษา
บทสรปุ ของผู้บริหาร

ผู้จัดทา นายธนภณ ธนะสีรังกูร เบอร์โทรศัพท์ ๐๖๑-๙๔๖๙๕๕๓
e-mail- thanaponfarm๐๑@gmail.com

ตอนที่ ๑ ขอ้ มูลพืน้ ฐานของสถานศึกษา
โรงเรียนร่มเกล้า บุรีรัมย์ ท่ีต้ังเลขที่ ๙๙ หมู่ ๗ ตาบลโนนดินแดง อาเภอโนนดินแดง จังหวัด

บุรีรัมย์ รหัสไปรษณีย์ ๓๑๒๖๐ สังกัดสานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษามัธยมศึกษา เขต ๓๒ สานักงาน
คณะกรรมการการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน โทรศัพท์/โทรสาร ๐๔๔-๖๐๖๑๖๙ website: www.rkbr.ac.th
e – mail: [email protected] เปิดสอนระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น ถึงระดับช้ันมัธยมศึกษาตอน
ปลาย จานวนนกั เรียน ๖๕๕ คน จานวนบคุ ลากรของโรงเรียน ๕๖ คน

ตอนที่ ๒ การนาเสนอผลการประเมินตนเอง
๑) ปจั จบุ ันโรงเรยี นดาเนินงานอยใู่ นมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา ระดับคณุ ภาพ ดี
๒) หลักฐานสนบั สนุนผลการประเมินตนเอง
๒.๑ แบบบนั ทกึ ปพ.๕ แผนการจดั การเรียนรู้
๒.๒ ผลงานนักเรยี น/เกียรตบิ ัตร
๒.๓ แผนปฏบิ ัติการประจาปี/แผนกลยุทธ์
๒.๔ สรุปรายงานการจดั กิจกรรม/โครงการ
๒.๕ รูปภาพการดาเนินงานตามกิจกรรม/โครงการ (website: www.rkbr.ac.th)
๓) โรงเรยี นมแี ผนจะพัฒนาตนเองต่อไปอย่างไรให้ได้มาตรฐานที่ดีขนึ้ กว่าเดิม ๑ ระดับ
๓.๑แผนปฏิบัตกิ ารที่ ๑ โรงเรียนคุณธรรม สพฐ. และหลักสูตรต้านทุจรติ ศึกษา
๓.๒ แผนปฏิบัติการที่ ๒ ส่งเสริมสนับสนุนให้สถานศึกษาใช้ระบบคอมพิวเตอร์ และสื่อ
อิเลคทรอนกิ สข์ องโรงเรยี นประชารัฐ เพือ่ จัดการเรียนการสอนเพมิ่ ขึ้น
๓.๓ แผนปฏิบัติการท่ี ๓ พัฒนาศักยภาพผู้เรียน ครู ผู้บริหารและบุคลากรทางการศึกษา
ให้มที กั ษะภาษาทีส่ องและมคี วามพรอ้ มตอ่ การเขา้ สู่ประชาคมอาเซียน
๓.๔ แผนปฏิบตั กิ ารท่ี ๔ เจา้ พนักงานด้านธรุ การ ๑ คน เพอื่ ลดภาระ
๓.๕ แผนปฏิบัติการที่ ๕ ประสานการวางแผนการผลิต พัฒนาครูและบุคลากรทางการ
ศึกษา ใหเ้ ป็นระบบมีปรมิ าณเพียงพอและมีคณุ ภาพ

ลงนาม............................................................(ผอู้ านวยการโรงเรยี น)
(นายธนภณ ธนะสีรังกูร)

วันที่ ๓๐ เดือน มีนาคม พ.ศ.๒๕๖๔



ส่วนท่ี ๑
ขอ้ มูลพน้ื ฐาน

๑. ขอ้ มลู พน้ื ฐานของสถานศึกษา
โรงเรียนร่มเกล้า บุรีรัมย์ ที่ต้ังเลขท่ี ๙๙ หมู่ ๗ ตาบลโนนดินแดง อาเภอโนนดินแดง จังหวัดบุรีรัมย์

รหัสไปรษณีย์ ๓๑๒๖๐ สังกัดสานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษามัธยมศึกษา เขต ๓๒ สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้น
พื้นฐาน โทรศพั ท/์ โทรสาร ๐๔๔-๖๐๖๑๖๙ website: www.rkbr.ac.th
e – mail: [email protected] เปดิ สอนระดับช้ันมธั ยมศึกษาตอนต้นถึงระดับชนั้ มธั ยมศกึ ษาตอนปลาย

๒. ชื่อผอู้ านวยการโรงเรียน นายธนภณ ธนะสีรงั กูร เบอร์โทรศัพท์ ๐๖๑-๙๔๖๙๕๕๓
ชอ่ื รองผูอ้ านวยการ นายพิมลศกั ด์ิ สืบสาราญ เบอร์โทรศพั ท์ ๐๘๙-๗๒๒๗๓๘๕

๓. แนวทางการจัดการศกึ ษา
วิสยั ทศั น์
ผเู้ รียนมคี ุณภาพตามมาตรฐาน น้อมนาแนวพระราชดาริ มาใชใ้ นการดารงชีวิตอย่างยัง่ ยืน

อตั ลักษณ์
ยิม้ แยม้ แจ่มใส ทักทาย สวัสดี

เอกลกั ษณ์
รักชาติ ศาสน์ กษตั รยิ ์ ปฏบิ ัตธิ รรมในวนั พระ

พนั ธกจิ
๑. จัดการเรยี นการสอนตามมาตรฐานการศกึ ษาขั้นพื้นฐาน และ/หรอื เทียบเคยี งมาตรฐานสากล
มคี วามเปน็ พลโลก
๒. บรหิ ารจดั การศึกษาตามหลักการบริหารจดั การบ้านเมอื งทด่ี ี
๓. จดั การศึกษาโดยนอ้ มนาแนวพระราชดาริ สบื สานพระราชปณิธาน และพระบรมราโชบายมาใช้ในกระบวนการ
จดั การเรียนรูอ้ ย่างยั่งยนื

เปา้ ประสงคห์ ลัก
๑. ผู้เรยี นทกุ คน มผี ลสัมฤทธ์ิทางวชิ าการและมคี ุณลกั ษณะท่พี งึ ประสงค์ ตามมาตรฐานการศึกษา ระดับการศึกษา
ขัน้ พ้ืนฐาน และ/หรือเทียบเคียงมาตรฐานสากลมคี วามเป็นพลโลก
๒. ผเู้ รียนดารงชีวิตอย่างมีความสุขโดยน้อมนาแนวพระราชดาริ สืบสานพระราชปณิธานและพระบรมราโชบายสู่
การปฏิบตั ิ


กลยทุ ธ์

กลยทุ ธ์ ๑ สง่ เสริมการจดั การศกึ ษาเพ่ือความมั่นคง
เปา้ ประสงคข์ องกลยทุ ธ์

๑. ผู้เรียนมคี วามรักในสถาบนั หลกั ของชาติ และยึดมั่นการปกครองระบอบประชาธิปไตย อันมีพระมหากษัตริย์ทรง
เป็นประมขุ

๒. ผ้เู รียนมีคุณธรรม จรยิ ธรรมและคา่ นยิ มท่ีพงึ ประสงค์
๓. ผู้เรียนในเขตพัฒนาพิเศษเฉพาะกิจจังหวัดชายแดนภาคใต้และพ้ืนท่ีพิเศษได้รับการศึกษาและเรียนรู้อย่างมี
คุณภาพ
๔. ผู้เรยี นมีความรู้และทักษะเกีย่ วกับสังคมพหุวฒั นธรรมและอนื่ ๆ
กลยทุ ธ์ ๒ ยกระดบั คุณภาพผู้เรยี นและสร้างขีดความสามารถในการแข่งขัน
เป้าประสงค์ของกลยุทธ์
๑. ผเู้ รียนมผี ลสัมฤทธิท์ างวชิ าการของผ้เู รยี น (ตามมาตรฐานคุณภาพผู้เรียน)
๒. ผเู้ รยี นมสี มรรถนะทักษะ และคณุ ลักษณะท่ีสาคัญจาเปน็ ในศตวรรษที่ ๒๑
๓. ผู้เรยี นที่มคี วามตอ้ งการพเิ ศษ ได้รับการพัฒนาตามศกั ยภาพ
๔. ผเู้ รียนมคี ุณลักษณะและศักยภาพที่จาเปน็ ต่อการสร้างขดี ความสามารถในการแข่งขนั ของประเทศ
กลยุทธ์ ๓ สร้างโอกาสการเข้าถึงบริการทางการศกึ ษาอยา่ งเสมอภาค
เป้าประสงคข์ องกลยทุ ธ์
๑. ประชากรวยั เรยี นทกุ คนได้รบั การศกึ ษาภาคบงั คับทเี่ สมอภาค และเปน็ ธรรม
๒. ประชากรวัยเรยี นได้รับโอกาสในการศกึ ษาขน้ั พ้ืนฐาน
กลยทุ ธ์ ๔ สง่ เสริมการจดั การศึกษาเพ่อื สร้างเสรมิ คุณภาพชวี ติ ที่เปน็ มิตรกบั สง่ิ แวดลอ้ ม
เป้าประสงคข์ องกลยทุ ธ์
ผ้เู รียนมจี ติ สานึกในการดาเนินชวี ิตเป็นมติ รกับสง่ิ แวดล้อม และสามารถประยกุ ตใ์ ช้หลักปรชั ญาเศรษฐกจิ พอเพียง
กลยทุ ธ์ ๕ พฒั นาระบบบรหิ ารจัดการทีท่ ันสมัยเน้นการมีส่วนร่วม
เป้าประสงค์ของกลยทุ ธ์
๑. สถานศึกษา มีระบบการบรหิ าร การจัดการศึกษาทีท่ นั สมัย มปี ระสิทธภิ าพและประสิทธผิ ลเป็นไปตามหลกั ธรร
มาภิบาล
๒. สถานศึกษาสร้างเครือข่ายความร่วมมือและส่งเสริมให้ทุกภาคส่วนของสังคมเข้ามามีส่วนร่วมในการบริหารจัด
การศกึ ษา
กลยุทธ์ ๖ น้อมนาแนวพระราชดาริสืบสานพระราชปณิธาน และพระบรมราโชบายมาใช้ในการดาเนินชีวิต
อย่างยง่ั ยืน
เป้าประสงคข์ องกลยทุ ธ์
สถานศึกษาน้อมนาแนวพระราชดาริ สืบสานพระราชปณิธาน และพระบรมราโชบาย ในการจัดการเรียนรู้อย่าง

ยงั่ ยืน



๔. ข้อมูลบคุ ลากรของสถานศกึ ษา

๔.๑) จานวนบุคลากร

บุคลากร ผ้บู ริหาร ครูผู้สอน พนักงาน ครูอตั ราจ้าง เจ้าหน้าทอ่ี ื่นๆ
ราชการ ๕๙
ปี การศึกษา ๒๕๖๒ ๒ ๓๗


๔.๒) วุฒิการศกึ ษาสูงสุดของบคุ ลากร

วุฒกิ ารศึกษาสงู สดุ ของบุคลากร

ต่ากวา่ ป.ตรี ป.ตรี ป.โท

๔.๓) สาขาวชิ าท่จี บการศกึ ษาและภาระงาน จานวน(คน) ภาระงานสอนเฉลย่ี ของครู ๑ คน

สาขาวชิ า ๒ ในแตล่ ะสาข๒า-๒วิชา (ช่ัวโมง/
๑. บรหิ ารการศึกษา ๔ สัป๒ด๑าห)์
๒. ภาษาไทย ๖ ๑๙
๓. คณติ ศาสตร์ ๑๒ ๒๓
๔. วิทยาศาสตร์ ๖ ๑๙
๕. สงั คมศึกษา ๕ ๑๘
๖. พลศึกษา ๔ ๒๓
๗. ศิลปะ ๒ ๑๘
๘. การงานอาชีพ ๘
๙. ภาษาตา่ งประเทศ ๔๙

รวม

๕. ขอ้ มูลนักเรียน (ณ วันที่ ๑๘ กรกฏาคม ของปีการศึกษาท่ีรายงาน) ๔

ระดับชนั้ เรยี น จานวนห้อง เพศ รวม เฉลย่ี
ชาย หญงิ ตอ่ ห้อง
ม.๑ ๔ ๖๓ ๖๘ ๑๓๑
ม.๒ ๔ ๕๖ ๙๒ ๑๔๘ ๓๓
ม.๓ ๔ ๕๖ ๗๘ ๑๓๔ ๓๗
ม.๔ ๓ ๔๑ ๖๘ ๑๐๙ ๓๔
ม.๕ ๓ ๓๑ ๕๖ ๘๗ ๓๖
ม.๖ ๓ ๒๑ ๕๖ ๘๗ ๒๙
รวมท้ังหมด ๒๑ ๒๗๓ ๔๑๓ ๖๘๖ ๒๙

เปรียบเทยี บจานวนนกั เรียน ระดบั ชั้น ม.๑ - ม.๖ ปีการศกึ ษา ๒๕๖๑ – ๒๕๖๓ ๒๕๖๑
๒๕๖๒
๒๕๐ ๒๕๖๓

๒๐๐ ม.6

๑๕๐

๑๐๐

๕๐


ม.1 ม.2 ม.3 ม.4 ม.5



๕.๑ ขอ้ มูลผลสมั ฤทธท์ิ างการเรยี นระดับสถานศึกษา
รอ้ ยละของนักเรียนท่มี เี กรดเฉล่ียทางการเรียนแต่ละรายวชิ าในระดับ ๓ ขน้ึ ไป

ระดับชนั้ มธั ยมศึกษาปีท่ี ๑ – ๖ ประจาภาคเรยี นท่ี ๑ ปกี ารศกึ ษา ๒๕๖๓

รอ้ ยละของนกั เรยี นทมี่ เี กรดเฉล่ียทางการเรยี นแต่ละรายวิชาในระดับ ๓ ขน้ึ ไป
ระดับช้ันมธั ยมศกึ ษาปีท่ี ๑ – ๖ ประจาภาคเรียนท่ี ๒ ปกี ารศกึ ษา ๒๕๖๓



๖. ผลการทดสอบทางการศกึ ษาระดบั ชาตขิ ัน้ พน้ื ฐาน (O-NET)
๑) ผลการทดสอบทางการศกึ ษาระดบั ชาติขัน้ พ้ืนฐาน (O-NET) ปกี ารศึกษา ๒๕๖๑ – ๒๕๖๓

ระดบั ชัน้ มธั ยมศกึ ษาปที ่ี ๓

ตารางเปรยี บเทียบพัฒนาการ o-net ม.๓ ย้อนหลงั ๓ ปีการศกึ ษา โรงเรียนรม่ เกลา้ บุรีรมั ย์

เปรียบเทียบ O-NET ๓ ปียอ้ นหลัง โรงเรียนร่มเกลา้ บุรีรมั ย์
ปีการศึกษา ปีการศึกษา ปีการศึกษา ร้อยละ(ปี

ม.๓ ๒๕๖๑ ๒๕๖๒ ๒๕๖๓ ๖๓)

ภาษาไทย ๕๐.๗๒ ๔๙.๓๖ ๕๒.๓๖ ๖.๐๘

องั กฤษ ๒๖.๕๓ ๒๘.๒๖ ๓๑.๑๖ ๑๐.๒๖

คณิต ๒๔.๘๑ ๒๑.๘ ๒๒.๔๓ ๒.๘๙

วิทย์ ๓๔.๑๑ ๒๙.๔๘ ๒๗.๘๒ -๕.๖๓

เฉล่ยี ๓๔.๐๔ ๓๒.๒๓ ๓๓.๔๔ ๓.๗๘

แผนภูมิ เปรียบเทียบ O-NET ม.๓ ย้อนหลงั ๓ ปี โรงเรียนรม่ เกลา้ บรุ รี มั ย์

เปรยี บเทียบ O-NET ม.๓ ย้อนหลงั ๓ ปี โรงเรียนร่ม
เกลา้ บุรีรมั ย์

60

40

20

0
ภาษาไทย อังกฤษ คณติ วิทย์ เฉลี่ย
ปีการศึกษา 2561 ปีการศกึ ษา 2562 ปกี ารศกึ ษา 2563



ตารางเปรยี บเทยี บพัฒนาการ o-net ปีการศกึ ษา ๒๕๖๒-๒๕๖๓
โรงเรยี นรม่ เกล้า บรุ ีรัมย์ – ระดับประเทศ

เปรียบเทยี บพัฒนาการ O-NET โรงเรยี นรม่ เกลา้ บุรีรมั ย์ - ระดบั ประเทศ

โรงเรยี นร่มเกล้า บรุ ีรัมย์ ระดบั ประเทศ

ปี ปี ปี ปี

ม.๓ ๒๕๖๒ ๒๕๖๓ เพมิ่ /ลด ร้อยละ ๒๕๖๒ ๒๕๖๓ เพม่ิ /ลด รอ้ ยละ

ภาษาไทย ๔๙.๓๖ ๕๒.๓๖ ๓ ๖.๐๘ ๕๕.๑๔ ๕๔.๒๙ -๐.๘๕ -๑.๕๔

องั กฤษ ๒๘.๒๖ ๓๑.๑๖ ๒.๙ ๑๐.๒๖ ๓๓.๒๕ ๓๔.๓๘ ๑.๑๓ ๓.๔๐

คณิต ๒๑.๘ ๒๒.๔๓ ๐.๖๓ ๒.๘๙ ๒๖.๗๓ ๒๕.๔๖ -๑.๒๗ -๔.๗๕

วทิ ย์ ๒๙.๔๘ ๒๗.๘๒ -๑.๖๖ -๕.๖๓ ๓๐.๐๗ ๒๙.๘๙ -๐.๑๘ -๐.๖๐

เฉลี่ย ๓๒.๒๓ ๓๓.๔๔ ๑.๒๒ ๓.๗๘ ๓๖.๓๐ ๓๖.๐๑ -๐.๒๙ -๐.๘๑

เฉล่ยี ๓๒.๒๒๕ ๓๓.๔๔ ๑.๒๒ ๓.๗๘ ๓๖.๓๐ ๓๖.๐๑ -๐.๒๙ -๐.๘๑

แผนภมู เิ ปรียบเทยี บ O-NET ม.๓ โรงเรียนรม่ เกลา้ บรุ ีรมั ย์กับระดับประเทศ

เปรียบเทยี บ O-NET ม.๓ โรงเรยี นรม่ เกล้า บุรีรมั ยก์ บั
ระดับประเทศ

60

40

20

0 องั กฤษ คณติ วทิ ย์ สรุปผล
ภาษาไทย

ร่มเกลา้ ประเทศ



ผลการประเมนิ คุณภาพการศกึ ษาระดับชาตปิ กี ารศกึ ษา ๒๕๖๓ ชนั้ มัธยมศกึ ษาปีที่ ๖ O-NET

จานวน คะแนน ส่วน เฉลยี่ จานวน/ร้อยละของนักเรียนทีไ่ ด้ระดบั
คน เฉลยี่ เบยี่ งเบน รอ้ ยละ
สาระวิชา มาตรฐาน ปรบั พอใช้ ปาน ค่อนข้าง ดี ดี
ปรุง กลาง ดี มาก

ภาษาไทย ๗๕ ๓๙.๑๕ ๑๑.๗๓ ๓๙.๑๕ ๑๗ ๒๐ ๒๗ ๑๐ ๑ ๐

สงั คมศกึ ษา ๗๕ ๓๓.๙๖ ๕.๗๘ ๓๓.๙๖ ๑๐ ๔๔ ๒๐ ๑ ๐ ๐

ภาษาอังกฤษ ๗๕ ๒๓.๕๗ ๕.๒๕ ๒๓.๕๗ ๒ ๖๓ ๑๐ ๐ ๐ ๐

คณิตศาสตร์ ๗๕ ๑๙.๑๗ ๖.๘๙ ๑๙.๑๗ ๑ ๕๔ ๑๘ ๑ ๐ ๐

วิทยาศาสตร์ ๗๕ ๒๘.๑๕ ๗.๗๙ ๒๘.๑๕ ๑๒ ๔๕ ๑๗ ๑ ๐ ๐

แผนภมู ิแสดงผลการประเมนิ คุณภาพการศกึ ษาระดับชาติปกี ารศึกษา ๒๕๖๓

ผลการประเมินคุณภาพการศกึ ษาระดบั ชาตปิ กี ารศกึ ษา ๒๕๖๓

80

60

40

20

0 2345 6
1 ภาษาไทย อังกฤษ คณิต วทิ ย์



๒) ผลการทดสอบทางการศกึ ษาระดับชาติขัน้ พน้ื ฐาน (O-NET) ปีการศึกษา ๒๕๖๑ – ๒๕๖๓
ระดับชั้นมธั ยมศึกษาปีท่ี ๖

ตารางเปรียบเทียบพัฒนาการ O-NET ปกี ารศึกษา ๒๕๖๑ – ๒๕๖๓ โรงเรียนร่มเกลา้ บุรีรัมย์ – ระดบั ประเทศ

เปรยี บเทียบ O-NET ม.๖ ย้อนหลัง ๓ ปี โรงเรียนร่มเกลา้ บรุ รี มั ย์

ม.๖ ปี กศ ๒๕๖๑ ปี กศ ๒๕๖๒ ปี กศ ๒๕๖๓ รอ้ ยละ(ปี๖๓)

ภาษาไทย ๔๓.๕๒ ๓๕.๐๑ ๓๙.๑๕ ๑๑.๘๓

สงั คม ๓๒.๗๔ ๓๐.๗ ๓๓.๙๖ ๑๐.๖๒

องั กฤษ ๒๓.๒๙ ๒๑.๖๖ ๒๓.๕๗ ๘.๘๒

คณติ ๒๑.๖๑ ๑๖.๔๓ ๑๙.๑๗ ๑๖.๖๘

วิทย์ ๒๗.๐๙ ๒๔.๖๙ ๒๘.๑๕ ๑๔.๐๑

เฉลยี่ ๕ วิชา ๒๙.๖๕ ๒๕.๖๙๘ ๒๘.๘ ๑๒.๐๗

แผนภมู ิ เปรยี บเทยี บ O-NET ม.๖ ยอ้ นหลงั ๓ ปี โรงเรียนร่มเกลา้ บรุ ีรัมย์

เปรียบเทียบ O-NET ม.๖ ย้อนหลงั ๓ ปี
โรงเรยี นรม่ เกลา้ บรุ รี มั ย์

50

40

30

20

10

0 วทิ ย์ เฉลี่ย 5 วชิ า
ภาษาไทย สังคม องั กฤษ คณติ

ปี กศ 2561 ปี กศ 2562 ปี กศ 2563

๑๐

ตารางเปรียบเทยี บพัฒนาการ o-net ปีการศึกษา ๒๕๖๓

โรงเรยี นร่มเกลา้ บุรรี มั ย์ - ระดบั ประเทศ

เปรยี บเทยี บพฒั นาการ O-NET โรงเรียนรม่ เกล้า บุรรี ัมย์ - ระดบั ประเทศ

โรงเรียนรม่ เกลา้ บรุ รี มั ย์ ระดบั ประเทศ

ปี ปี เพ่ิม/ ปี ปี เพ่มิ /

ม.๖ ๒๕๖๒ ๒๕๖๓ ลด ร้อยละ ๒๕๖๒ ๒๕๖๓ ลด ร้อยละ

ภาษาไทย ๓๕.๐๑ ๓๙.๑๕ ๔.๑๔ ๑๑.๘๓ ๔๒.๒๑ ๔๔.๓๖ ๒.๑๕ ๕.๐๙

สังคม ๓๐.๗ ๓๓.๙๖ ๓.๒๖ ๑๐.๖๒ ๓๕.๗ ๓๕.๙๓ ๐.๒๓ ๐.๖๔

องั กฤษ ๒๑.๖๖ ๒๓.๕๗ ๑.๙๑ ๘.๘๒ ๒๙.๒ ๒๙.๙๔ ๐.๗๔ ๒.๕๓

คณิต ๑๖.๔๓ ๑๙.๑๗ ๒.๗๔ ๑๖.๖๘ ๒๕.๔๑ ๒๖.๐๔ ๐.๖๓ ๒.๔๘

วิทย์ ๒๔.๖๙ ๒๘.๑๕ ๓.๔๖ ๑๔.๐๑ ๒๙.๒ ๓๒.๖๘ ๓.๔๘ ๑๑.๙๒

เฉล่ีย ๒๕.๖๙๘ ๒๘.๘ ๓.๑๐๒ ๑๒.๐๗ ๓๒.๓๔๔ ๓๓.๗๙ ๑.๔๔๖ ๔.๔๗

แผนภมู เิ ปรียบเทียบ O-NET ม.๖ โรงเรียนร่มเกลา้ บุรรี มั ย์กบั ระดบั ประเทศ

เปรยี บเทียบ O-NET ม.๖ โรงเรยี นร่มเกล้า บุรรี มั ยก์ บั ระดบั ประเทศ

50

40

30

20

10

0 สงั คม อังกฤษ คณิต วิทย์ เฉล่ีย 5 วิชา
ภาษาไทย ร่มเกล้า ประเทศ

๑๑

๖. ผลการจดั การเรยี นรตู้ ามหลกั สตู ร สถานศึกษา

๑๒

๑๓

๑๔

๑๕

๑๖

๑๗

๑๘

๑๙

๒๐

๒๑

๗. รางวลั ทโ่ี รงเรียนไดร้ ับ

รางวัล รายการรางวัล/ปีการศึกษา/หนว่ ยงาน ระดบั รางวัล

๑. สถานศึกษา ๑. ผลการประเมินคณุ ภาพภายนอกรอบสี่ คือ ดา้ นคุณภาพผู้เรียน/  ระดบั ประเทศ/สากล

กระบวนการบรหิ ารและการจัดการ/กระบวนการจดั การเรียนการ

สอนทีเ่ น้นผเู้ รียนเปน็ สาคัญ ไดร้ ะดบั ดีมากทั้งสามดา้ น

๒. สานักงานพระพทุ ธสาสนาแหง่ ชาติ มอบเกียรติบัตรให้ โรงเรยี น  ระดบั ภาค

รม่ เกล้า บุรีรมั ย์ ไดร้ ว่ มจดั นิทรรศการแสดงผลงานทางวิชาการ

เนือ่ งในการจัดงานมหกรรมทักษะทางวิชาการ “ศรนี ครชยั บุรนิ ทร์

ถนิ่ ภเู ขาไฟ” วนั ท่ี ๑๙-๒๐ ธนั วาคม ๒๕๖๓

๓. วดั ปราสาทบรู พาราม ขอมอบเกยี รตบิ ตั รน้ีเพ่ือแสดงวา่  ระดบั จังหวัด/เขตพน้ื ที่

“โรงเรียนร่มเกลา้ บุรีรัมย์ เป็นผูอ้ ุปถัมภ์ “งานปริวาสกรรมและ

ปฏิบัตธิ รรมประจาปีรนุ่ ท่ี ๑๑ จารกิ ธุดงคเ์ ผยแผ่พระพุทธธรรม

ตามเส้นทางอารยะธรรมขอโบราณ รนุ่ ท่ี ๓ ระหว่างวันท่ี ๒๙

มิถุนายน ถงึ ๙ กรกฎาคม ๒๕๖๓

๔. สภาวฒั นธรรมจังหวดั ขอมอบเกยี รติบตั รให้ไว้เพ่ือแสดงวา่  ระดบั จังหวัด/เขตพื้นที่

โรงเรยี นรม่ เกล้า บรุ ีรัมย์ เป็นสถานศกึ ษาทสี่ ่งเสรมิ โครงการ

“เยาวชนรุ่นใหม่ ใสใ่ จวัฒนธรรม” ประจาปี ๒๕๖๓

รางวลั รายการรางวัล/ปกี ารศึกษา/หนว่ ยงาน ระดับรางวัล
๒. ผ้บู รหิ าร ๑. สานักงานคณะกรรมการการศกึ ษาข้นั พ้ืนฐาน สมาคมผู้บริหาร  ระดบั ประเทศ/สากล
สถานศึกษา โรงเรียนมัธยมศึกษาแหง่ ประเทศไทย มอบโล่เกยี รติยศ ให้
นายธนภณ ธนะสรี งั กูร เปน็ ผ้ไู ดร้ ับยกย่องเชดิ ชเู กยี รตใิ นฐานะ  ระดบั จงั หวดั /เขตพืน้ ท่ี
ผูบ้ ริหารสถานศึกษาดเี ดน่ ประจาปพี ุทธศักราช ๒๕๖๓
๒.สานกั งานเขตพน้ื ทีก่ ารศึกษามธั ยมศึกษาเขต ๓๒ มอบเกยี รติ  ระดบั จังหวดั /เขตพื้นท่ี
บัตรให้ นายธนภณ ธนะสีรังกูร ผทู้ ีป่ ฏบิ ัตหิ น้าที่ดว้ ยความวิริยะ
อตุ สาหะสง่ ผลใหน้ ักเรยี นระดับชนั้ มัธยมศึกษาปีที่ ๓ ได้คะแนน  ระดบั จงั หวดั /เขตพ้ืนที่
เฉลยี่ รวมสูงข้นึ กวา่ ปที ผ่ี า่ นมา
๒. สานกั งานเขตพ้นื ทก่ี ารศึกษามธั ยมศึกษาเขต ๓๒ มอบเกยี รติ
บตั รให้นายธนภณ ธนะสรี ังกูร ผ้ทู ีป่ ฏิบัติหน้าที่ด้วยความวริ ยิ ะ
อตุ สาหะสง่ ผลให้นักเรยี นระดับช้ันมัธยมศกึ ษาปที ่ี ๖ ไดค้ ะแนน
เฉลี่ยรวมสงู ขน้ึ กว่าปีท่ผี ่านมา
๓. สานักงานเขตพ้นื ที่การศกึ ษามธั ยมศึกษาเขต ๓๒ มอบเกยี รตบิ ัตร
ใหน้ ายธนภณ ธนะสรี งั กรู เปน็ ผู้นาเสนอผลงานเพื่อการแลกเปลยี่ น
เรยี นร้วู ธิ กี ารปฏิบัติทเี่ ปน็ เลศิ ( Brst Practice)ตามนโยบายไมม่ เี ด็กคน
ใดถกู ทอดทง้ิ ไว้ขา้ งหลัง (No Child Left Behind)

๒๒

รางวัล รายการรางวัล/ปีการศึกษา/หนว่ ยงาน ระดับรางวลั
ครผู ู้สอน
๑. สานกั งานเขตพ้นื ทีก่ ารศึกษามัธยมศึกษาเขต ๓๒ มอบเกียรติ  ระดบั จงั หวัด/เขตพน้ื ที่

บตั รใหน้ างสาวฐิตารยี ์ ปรกิ ุลพสษิ ฐ์ เปน็ ผู้นาเสนอผลงานเพื่อการ

แลกเปลี่ยนเรยี นรวู้ ิธีการปฏบิ ตั ิทเ่ี ป็นเลศิ ( Brst Practice)ตาม

นโยบายไมม่ เี ด็กคนใดถูกทอดทิง้ ไวข้ ้างหลัง (No Child Left

Behind)

๒. สานักงานเขตพืน้ ท่ีการศึกษามธั ยมศึกษาเขต ๓๒ มอบเกยี รติ  ระดับจังหวัด/เขตพื้นที่

บตั รให้นายรวิศทุ ธ์ ใจแกว้ เป็นผ้นู าเสนอผลงานเพื่อการ

แลกเปลีย่ นเรียนรวู้ ิธกี ารปฏบิ ัติทีเ่ ป็นเลิศ ( Brst Practice)ตาม

นโยบายไมม่ ีเด็กคนใดถูกทอดทิง้ ไว้ข้างหลงั (No Child Left

Behind)

๓. สานกั งานเขตพ้ืนที่การศกึ ษามัธยมศึกษาเขต ๓๒ มอบเกียรติ  ระดับจงั หวดั /เขตพื้นท่ี

บตั รใหน้ างสาวกลุ ภฌั สรณ์ ศรกี ิมแกว้ เป็นผ้นู าเสนอผลงานเพอ่ื

การแลกเปลีย่ นเรยี นรวู้ ธิ ีการปฏบิ ัติทเ่ี ป็นเลศิ ( Brst Practice)ตาม

นโยบายไม่มีเด็กคนใดถูกทอดทิ้งไวข้ า้ งหลงั (No Child Left

Behind)

๔. สานักงานเขตพนื้ ทกี่ ารศกึ ษามธั ยมศึกษาเขต ๓๒ มอบเกยี รติ  ระดับจงั หวดั /เขตพน้ื ท่ี

บัตรใหน้ างสาวธนานษิ ฐ์ ศริ ะพัฒนป์ รดี า เปน็ ผ้นู าเสนอผลงานเพ่ือ

การแลกเปลยี่ นเรยี นรวู้ ธิ ีการปฏบิ ัติที่เปน็ เลิศ ( Brst Practice)ตาม

นโยบายไม่มเี ด็กคนใดถกู ทอดทงิ้ ไว้ขา้ งหลงั (No Child Left

Behind)

๕. สานักงานเขตพืน้ ท่ีการศึกษามัธยมศึกษาเขต ๓๒ มอบเกียรติ  ระดบั จังหวดั /เขตพน้ื ที่

บตั รใหน้ ายทวศี กั ด์ิ ชาญประโคน เป็นผู้นาเสนอผลงานเพื่อการ

แลกเปลยี่ นเรียนรวู้ ธิ กี ารปฏบิ ตั ิทีเ่ ป็นเลศิ ( Brst Practice)ตาม

นโยบายไมม่ ีเด็กคนใดถูกทอดทง้ิ ไว้ข้างหลงั (No Child Left

Behind) ระหวา่ งวันที่ ๓๐-๓๑ พฤษภาคม ๒๕๖๒

๖. สานกั งานเขตพ้นื ท่ีการศกึ ษามธั ยมศึกษาเขต ๓๒ มอบเกียรติ  ระดับจงั หวัด/เขตพื้นที่

บัตรให้นายจีรวฒุ ิ แสนเสริม เปน็ ผู้นาเสนอผลงานเพ่ือการ

แลกเปล่ียนเรยี นรวู้ ิธีการปฏบิ ตั ทิ เ่ี ป็นเลศิ ( Brst Practice)ตาม

๗. นางสาวธนานษิ ฐ์ ศิระพัฒนป์ รีดา ไดร้ ับรางวัล ครูดเี ด่น  ระดับจังหวดั /เขตพ้นื ท่ี

ประเภทครูผู้สอนระดับมธั ยมศกึ ษาตอนต้น เน่ืองในโอกาสวนั ครู

๑๖ มกราคา ๒๕๖๓ จากสานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษา

ประถมศึกษาบรุ ีรัมย์ เขต ๓

๘. นายเศกสนั ต์ สนรมั ย์ ได้รบั รางวัล ครดู ีเด่น ประเภท ๒๓
ครูผสู้ อนระดับมธั ยมศึกษาตอนปลาย เนื่องในโอกาสวนั ครู ๑๖  ระดับจงั หวัด/เขตพ้ืนท่ี
มกราคา ๒๕๖๓ จากสานักงานเขตพืน้ ท่ีการศกึ ษาประถมศกึ ษา
บรุ รี ัมย์ เขต ๓  ระดับประเทศ/สากล
๙. นางสาวธนานษิ ฐ์ ศิระพฒั นป์ รีดา ได้รบั รางวัล ครดู ีไม่มี  ระดับจังหวัด/เขตพน้ื ท่ี
อบายมุข ปี ๒๕๖๓  ระดับจงั หวดั /เขตพ้ืนท่ี
๑๒. นายแสนสุข แสนสสี ม ไดร้ ับรางวลั ครดู ี ศรี สพม.๓๒  ระดบั จังหวดั /เขตพน้ื ท่ี
ประจาปี พ.ศ.๒๕๖๓
๑๓. นายวฑิ รู ย์ หารคาตนั ไดร้ ับรางวัล ครดู ี ศรี สพม.๓๒
ประจาปี พ.ศ.๒๕๖๓
๑๔. นายรวิศทุ ธ์ ใจแก้ว ได้รับรางวัล ครดู ี ศรี สพม.๓๒
ประจาปี พ.ศ.๒๕๖๓

รางวลั รายการรางวัล/ปกี ารศึกษา/หน่วยงาน ระดบั รางวัล
๔. นักเรียน
๑. นกั กฬี าวอลเลยบ์ อลชายหาด รุน่ อายุ ๑๘ ปี หญิง ทมี โรงเรียน  ระดบั ภาค

ร่มเกลา้ บุรรี มั ย์ ได้รบั รางวัลชนะเลศิ การแข่งขันกีฬานักเรียน

นกั ศกึ ษาแหง่ ชาติ ครงั้ ท่ี ๔๒ รอบคัดเลอื กตวั แทนจงั หวัดบรุ รี มั ย์

และเป็นตวั แทนจงั หวดั บุรีรัมย์เขา้ รว่ มการแข่งขนั กฬี านักเรียน

นักศึกษาแหง่ ชาติ ครั้งที่ ๔๒ รอบคดั เลอื กตวั แทนเขต ๓

ภาคอีสานตอนล่าง (จังหวัดอุบลราชธานี)

๒.สานักงานเขตพน้ื ทีก่ ารศึกษามัธยมศึกษาเขต ๓๒ มอบเกียรติ  ระดบั จงั หวัด/เขตพน้ื ท่ี

บตั รให้นางสาวสมุ นี า จนั ทะวงษ์ เปน็ ผนู้ าเสนอผลงานเพ่ือการ

แลกเปล่ยี นเรียนรวู้ ิธีการปฏบิ ัตทิ เ่ี ป็นเลศิ ( Best Practice)

๓. สานักงานเขตพืน้ ที่การศกึ ษามัธยมศึกษาเขต ๓๒ มอบเกยี รติ  ระดบั จังหวดั /เขตพนื้ ที่

บตั รใหน้ างสาวกนกอร คาพุทธสกลุ เป็นผู้นาเสนอผลงานเพอื่ การ

แลกเปล่ยี นเรียนรูว้ ิธกี ารปฏบิ ตั ิที่เปน็ เลศิ ( Best Practice)

๘. ขอ้ มลู การใช้แหลง่ เรียนร้ภู ายในและภายนอกโรงเรยี น ปีการศึกษา ๒๕๖๓ ๒๔
๘.๑ จานวนนักเรยี นท่ใี ชแ้ หล่งเรยี นรู้ในโรงเรียน ปกี ารศึกษา ๒๕๖๓
หอ้ งคอมพิวเตอร์
๑๔๐ หอ้ งสมุด
๑๒๐ หอ้ งอาเซียน
๑๐๐ ป๋ยุ หมักสตู ร ม.เชียงใหม่
๘๐ ลานธรรม
๖๐
๔๐
๒๐



ม.๑ ม.๒ ม.๓ ม.๔ ม.๕ ม.๖

๘.๒ จานวนนกั เรียนท่ใี ช้แหลง่ เรยี นรูน้ อกโรงเรยี น ปีการศึกษา ๒๕๖๓

๑๔๐
๑๒๐
๑๐๐
๘๐
๖๐
๔๐
๒๐


ม.๑ ม.๒ ม.๓ ม.๔ ม.๕ ม.๖

อนสุ าวรียเ์ ราสู้ ปราสาทหนองหงส์ เขอื่ นลานางรอง เขอ่ื นคลองมะนาว เขตอรุ กั ษ์พนั ธ์สัตว์ป่าดงใหญ่

๒๕

๙. ข้อมลู ทรพั ยากร

รายละเอียด มี/ไมม่ ี ราละเอยี ด
๑. อาคารเรยี น มี มีอาคารเรียน ๓ หลัง
๒. ห้องเรยี น มี มหี ้องเรยี นจานวน ๒๕ ห้อง
๓. อาคารเอนกประสงค/์ หอ้ งประชุม มี อาคารอเนกประสงค์ ๒ หลงั ห้องประชมุ ๒ ห้อง
๔. ห้องสมดุ มี จานวน ๑ ห้อง
๕. หอ้ งพยาบาล มี จานวน ๑ ห้อง
๖. หอ้ งดนตรี มี จานวน ๑ หอ้ ง
๗. สนามกฬี า มี จานวน ๕ สนาม
๘. หอ้ งคอมพวิ เตอร์ มี จานวน ๓ หอ้ ง
๙.ห้องสอื่ การเรยี นรู้ มี จานวน ๕ ห้อง
๑๐. ห้องศลิ ปะ มี จานวน ๑ หอ้ ง
๑๑.หอ้ งนาฏศิลป์ มี จานวน ๑ ห้อง
๑๒.หอ้ งปฏิบัตกิ ารวทิ ยาศาสตร์ มี จานวน ๓ หอ้ ง
๑๓. ห้องคหกรรม มี จานวน ๑ หอ้ ง
๑๔.โรงอาหาร มี จานวน ๑ หลงั

๑๐. ผลการประเมนิ คณุ ภาพภายในของสถานศกึ ษาในปีที่ผ่านมา ระดบั คณุ ภาพ

มาตรฐาน ดเี ลศิ
ดีเลศิ
มาตรฐานที่ ๑ คุณภาพของผเู้ รยี น ดเี ลิศ
มาตรฐานที่ ๒ กระบวนการบริหารและการจดั การของผู้บริหารสถานศึกษา ดีเลศิ
มาตรฐานที่ ๓ กระบวนการจัดการเรยี นการสอนทเี่ น้นผูเ้ รียนเป็นสาคญั
สรุปภาพรวม

๒๖
สรปุ ผลการประเมินในภาพรวม
ผลการประเมนิ ตนเองของสถานศกึ ษาอยใู่ นระดับ ๓ ดีเลศิ

จากผลการดาเนินงาน โครงการ และกิจกรรมต่างๆ ส่งผลให้สถานศึกษาจัดการพัฒนาคุณภาพการศึกษา
ประสบผลสาเร็จตามท่ีตั้งเป้าหมายไว้ในแต่ละมาตรฐาน จากผลการประเมินสรุปว่าได้ระดับดี ทั้งนี้ เพราะมาตรฐานที่ ๑
คุณภาพผู้เรียน อยู่ในระดับดีเลิศ มาตรฐานที่ ๒ กระบวนการบริหารและการจัดการศึกษา อยู่ในระดับดีเลิศ
มาตรฐานท่ี ๓ กระบวนการจัดการเรียนการสอนทเี่ นน้ ผ้เู รยี นเป็นสาคญั อยู่ในระดับ ดเี ลิศ

ท้ังนี้ สถานศึกษามีการจัดกิจกรรมพัฒนาคุณภาพผู้เรียนอย่างหลากหลายท่ีเป็นไปตามปัญหาและความ
ต้องการพัฒนาตามสภาพของผู้เรียน สอดคล้องกับจุดเน้นของสถานศึกษาและสภาพของชุมชนท้องถิ่น ผู้เรียนมี
ความสามารถในการอา่ นและเขียน การสอ่ื สารทง้ั ภาษาไทยและภาษาอังกฤษ ความสามารถในการคิดคานวณ การใช้
เทคโนโลยีสารสนเทศและการส่ือสารได้ดี และมีความประพฤติด้านคุณธรรมจริยธรรม ค่านิยม และคุณลักษณะตามที่
สถานศึกษากาหนดปรากฏอย่างชัดเจน มีการวางแผนออกแบบกิจกรรมและดาเนินงานตามแผนท่ีเกิดจากการมีส่วนร่วม
ใช้ผลการประเมนิ /การดาเนินงานท่ีผ่านมาเป็นฐานในการพัฒนา และสอดคล้องกับเป้าหมายการพัฒนา ตรวจสอบผลการ
ดาเนินงาน และการปรับปรุงแก้ไขงานให้ดีข้ึนอย่างต่อเนื่อง ครูจัดกระบวนการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ มี
ผลประเมินอย่ใู นระดบั ดีเยี่ยม วิเคราะห์ ออกแบบและจัดการเรียนรู้ท่ีเป็นไปตามความต้องการของหลักสูตร และบริบท
สถานศกึ ษา พฒั นากิจกรรมการเรยี นรู้ ใช้ส่ือการเรียนรู้ ติดตาม ตรวจสอบและช่วยเหลือนักเรียนเพ่ือพัฒนาและแก้ปัญหา
รายบุคคล และการประเมินผลจากสภาพจริงในทุกข้ันตอน สถานศึกษาดาเนินงานตามระบบการประกันคุณภาพภายใน
อย่างเป็นขั้นตอน จนเกิดคุณภาพ ประสิทธิภาพและประสิทธิผลจนมีผลประเมินอยู่ในระดับดีเย่ียมโดยสถานศึกษาให้
ความสาคัญกับผู้เกี่ยวข้องทุกฝ่ายเพ่ือเกิดความร่วมมือในการวางระบบและดาเนินงานประกันคุณภาพภายในของ
สถานศกึ ษาเป็นอย่างดี และผมู้ ีส่วนเกยี่ วขอ้ งมีความมนั่ ใจต่อระบบการบริหารและการจัดการของสถานศึกษาในระดบั สูง

๒๗
๑๑. การดาเนนิ งานของสถานศกึ ษาตามนโยบายจากหน่วยงานต้นสังกัด มีกิจกรรม หรือโครงการและกิจกรรมดังน้ี คือ
นโยบาย No Child left Behind

เร่ืองที่ ๑ จะพูดถึงเรื่องการสอนซ่อมเสรมิ ถ้ายังมีเดก็ ติด ๐ ร ม ส ขอให้ดูแลโดยการสอนซ่อมเสริม การสอนซ่อม
เสริมเพ่อื พัฒนาคุณภาพยกระดับผลสัมฤทธขิ์ องผูเ้ รยี น เปน็ เร่อื งสาคญั ถ้าเด็กยงั ไม่ได้ ครูต้องสอนซ่อมเสริม หลักสูตรพูดไว้
ชัดเจน กรมวิชาการประกาศไว้นานแล้วว่าสอนซ่อมเสริมมีความจาเป็น ถ้าคุณครูสอนเด็ก ไม่ทันมาตรฐานตัวชี้วัด ครูต้อง
กลับมาสอนซ่อมเสริม แต่ถ้าสอนเสริมระหว่างสอนไม่เป็นไร แต่ถ้ายังมีเด็กติด ๐ ร ม ส สอนซ่อมเสริมแก้ปัญหาได้
เพราะวา่ เรามานบั ช่ัวโมงการสอนซอ่ มเสรมิ

เรื่องท่ี ๒ การบริหารจัดการชั้นเรียน เป็นเร่ืองของผู้บริหาร ครูว่าจะจัดห้องเรียนคุณภาพอย่างไร ให้ร่มร่ืน น่าอยู่
นา่ เรยี น ส่งเสรมิ บรรยากาศการเรยี นการสอน

เร่ืองที่ ๓ หลักสูตรสถานศึกษาควรมีหลักสูตรท่ีหลากหลายให้เหมาะสมกับผู้เรียนที่แตกต่างกัน เราทาหลักสูตร
เยอะมากในโรงเรยี น ท่ีเปน็ โรงเรยี นมาตรฐานสากล หลายๆ หลกั สูตรเพื่อเด็กบางกลุ่ม แตเ่ ราไม่เคยมีเร่ืองหลักสูตรเด็กหลัง
หอ้ ง สาหรบั เดก็ ออทสิ ตกิ เด็กเรยี นอ่อน เด็กทม่ี ีปัญหาครอบครัว ควรจัดหลกั สูตรใหม้ ีความยดื หยุ่น เป็นเร่ืองท่ีน่าสนใจ ขอ
ฝากเรอื่ งการจัดหลักสูตร

เรอ่ื ง ๔ การให้การบ้าน การใหก้ ารบา้ นควรคานึงถึงมาตรฐานตัวชี้วัด ตัวชี้วัดท่ีว่าสอดคล้องกับการพัฒนา ผู้เรียน
ที่กาลงั ศกึ ษาเลา่ เรยี น การใหก้ ารบ้านในทุกระดบั ชั้น ไมเ่ คยปรึกษากันในแตล่ ะกลมุ่ สาระฯ แต่ละกลุ่มสาระ ฯ ควรมีวิธีการ
ให้การบ้าน ถ้าเราปรับรูปแบบการให้การบ้าน เด็กจะมีเวลาเรียนรู้ศึกษาหาจากส่ือ จากส่ิงแวดล้อม สร้างอาชีพใน
ครอบครัวได้มากขึน้ การใหก้ ารบ้านจึงมีประโยชน์ ถ้าเราใหก้ ารบ้านใหเ้ หมาะสม

การดาเนนิ งานตามโครงการหรอื กิจกรรม
๑. การติดตามนโยบาย No Child Left Behind (ไม่มีเด็กคนใด ถูกทอดท้ิงไว้ข้างหลัง) ระยะ ๓ Walk in

classroom

๑.๑ การมอบงานและให้การบ้านนกั เรยี น
วิธดี าเนินการ
๑. โรงเรียนประชุมช้ีแจง วางแผนการดาเนินงาน ตามนโยบาย No Child Left Behind (ไม่มีเด็กคนใด ถูก
ทอดทิง้ ไว้ข้างหลงั )
๒. แตง่ ต้ังคณะกรรมการ มอบหมายงานให้ครูดาเนินกิจกรรมตามทีได้วางแผนไว้ดาเนินกิจกรรมตามที่ได้วางแผน
ไว้ กากบั ตดิ ตามและประเมินผลการดาเนินงาน และรายงานใหผ้ บู้ ริหารทราบถงึ ความก้าวหนา้ ในการดาเนนิ งาน
ผลการดาเนินงาน
ครูมีความเขา้ ใจและตระหนกั ถึงนโยบาย ครูจัดกจิ กรรมการเรียนรู้เพ่อื พฒั นาผู้เรียนตามศกั ยภาพของตนเอง มีการ

วดั ผลและประเมนิ ผลตามสภาพจรงิ ภาระงานและชน้ี งาน (การบา้ น) ของนักเรียนลดลง

๑.๒ การสอนซอ่ มเสริม
วธิ ีดาเนินการ
๑. ประชุมชีแ้ จง วางแผนการดาเนนิ งาน เพื่อให้ครูเขา้ ใจ และตระหนักถงึ การสอนซอ่ มเสรมิ

๒๘
๒. ฝ่ายวิชาการ รว่ มกับ หัวหน้ากลมุ่ สาระทุกกลมุ่ สาระ จดั ทาแบบบันทึกการสอนซ่อมเสริม จัดทาตารางการสอน
ซ่อมเสริม จัดตาราง กิจกรรมการซ่อมเสริม คาบว่าง ครูดาเนินการสอนซ่อมเสริมแก่นักเรียน ได้แก่ โครงการติดตาม
นักเรียนทตี่ ิด ๐ ร มส ในภาคเรียนท่ีผ่านมา การสอนซอ่ มเสริมแบบตวั ต่อตวั เช่น นกั เรียนที่อ่านไม่คล่อง เขียนไม่คล่องใน
วิชาภาษาไทย) การสอนในห้องเรียน การสอนในระดบั ชนั้ เรยี น เช่น นกั เรียนช้ัน ม.๑ พัฒนาการเรียนภาษาอังกฤษเพื่อการ
ส่ือสาร นักวิทย์น้อย คณิตคิดสนุก การเพ่ิมผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนชั้น ม.๓ และ ม.๖ (โอเน็ต) ใน ๕ กลุ่มสาระ เป็นต้น
๓. นิเทศ กากบั ติดตาม ประเมินผล และ
๔. รายงานผลการดาเนินงาน โครงการและกจิ กรรมตา่ ง ๆ
ผลการดาเนินงาน
นกั เรียนทมี่ ีปญั หาทางการเรยี น กรณี ติด ๐ ร มส มีจานวนลดลง นักเรียนได้เรียนรู้การอ่าน เขียน คล่องแคล่วขึ้น

นักเรยี นกล้าใชภ้ าษาองั กฤษเพอื่ การสื่อสารเพมิ่ ข้นึ ส่ง เส ริ มใ ห้นั ก เรี ย นรั กก า รเ รีย น วิช า ค ณิต ศ าส ต ร์

วิทยาศาสตร์ ผลสัมฤทธท์ิ างการเรยี นเพ่ิมข้นึ ครูมีความเข้าใจในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ในห้องเรียน วิชาท่ีตนเองสอน

และกิจกรรม โครงการ ทไี ดร้ บั ผดิ ชอบ

๑.๓ การบริหารจดั การชนั้ เรียน

วธิ ดี าเนินการ
๑. ประชุมครูผู้สอน วางแผน การมสี ่วนร่วมในการดาเนินงาน การบริหารจัดการชั้นเรียน เพ่ือทาความเข้าใจ ร่วม
คดิ รว่ มวางแผน
๒. ครูทา PLC ในกลุ่มสาระ และระดับชั้นเรียน เพ่ือจัดทารูปแบบ เป็นแนวทางใน ดาเนินการบริหารจัดการช้ัน
เรยี น
๓. ครดู าเนนิ กิจกรรมท่ีได้วางแผนไว้
๔. ติดตาม ประเมนิ ผล และรายงานผลการดาเนินงาน
ผลการดาเนนิ งาน
ครูมีความรู้ ความเข้าใจในการบริหารจัดการช้ันเรียน ครูให้ความร่วมมือ ช่วยเหลือ และการแก้ไขปัญหาร่วมกัน

นกั เรียนมคี วามรับผิดชอบ และมีส่วนรว่ มในกจิ กรรมตา่ ง ๆ ที่ครูและนกั เรยี นร่วมกันคดิ ปญั หาตา่ ง ๆของนักเรียนลดลง

๑.๔ การพฒั นาหลักสตู รทางเลอื กของสถานศึกษา

การดาเนินงาน

๑. ประชุมคณะกรรมการสถานศึกษา ผู้ปกครอง และ ครู เพื่อ ช้ีแจง และทาความเข้าใจ ในการพัฒนาหลักสูตร

โดยนาผลการใช้หลกั สูตรสถานศึกษา ปีทีผ่ ่านมา มาวิเคราะห์ เพื่อเป็นแนวทางในการจดั ทาหลักสูตรทางเลอื ก

๒. ประชุมครทู ุกลุ่มสาระ เพือ่ ปรับปรงุ โครงสร้างหลกั สูตร ใหเ้ หมาะสม

๓. ประชุมคณะกรรมการบริหารหลักสูตร จดั ทาหลกั สูตร เพอื่ ใหส้ อดคล้องกับหลกั สูตรแกนกลาง

๔. จัดกิจกรรมและดาเนินการสอนตามหลกั สตู ร

๕. ตดิ ตามและประเมินผลการใช้หลักสูตร

๖. สรุปรายงานผลการพฒั นาหลกั สูตร

๒๙
ผลการดาเนนิ งาน

มีหลักสูตรสถานศึกษา ฉบบั ปรงุ ใหม่ ปี พ.ศ ๒๕๖๒๓ มีหลักสูตรทางเลือก ได้แก่ ห้องเรียนกีฬา และ หลักสูตร
ทวศิ ึกษา มีกิจกรรมส่งเสริมหลักสูตร ได้แก่ กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน กิจกรรมลดเวลาเรียนเพิ่มเวลารู้ สะเต็มศึกษา
ภาษาองั กฤษเพือ่ การส่อื สาร นักเรียนอ่านได้เขยี นคลอ่ ง กจิ กรรมจติ อาสา เป็นต้น

๓๐

ผลการประเมนิ คุณภาพภายนอกรอบส่ี โดย สมศ.

๓๑

๓๒

๓๓

๓๔

๓๕

๓๖

๓๗

๓๘

๓๙

๔๐

๔๑

๔๒

๔๓

๔๔

ส่วนที่ ๒
ผลการประเมนิ ตามมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา

ระดบั การศกึ ษาขนั้ พื้นฐาน

มาตรฐานที่ ๑ คุณภาพของผู้เรียน ครูจัดการเรียนรู้ให้เป็นไปตามศักยภาพของ
๑. มาตรฐานการศึกษา : ดเี ลิศ
๒. หลกั ฐานสนบั สนนุ
โรงเรียนมีกระบวนการพัฒนาผู้เรียนด้วยวิธีการท่ีหลากหลาย

ผูเ้ รยี น และเปน็ ไปตามมาตรฐานและตัวช้ีวัดของหลักสูตรมีการออกแบบการจัดการเรียนรู้ที่เหมาะสมกับผู้เรียน โดยมีการ

จดั การเรียนรทู้ ้ังรูปแบบการระดมสมอง แบบลงมือปฏิบัติจริง แบบร่วมมือกันเรียนรู้ แบบใช้กระบวนการคิด กระบวนการ

ใช้ปญั หาเปน็ หลกั และเนน้ เร่อื งการอา่ นออกของผ้เู รยี นเปน็ เร่ืองสาคัญท่ีสุด โดยมุ่ง พัฒนาให้ผู้เรียน ทุกคนอ่านออกและ

เขียนได้ต้ังแต่ระดับช้ัน ม. ๑ พัฒนาครูทุกคนให้มีความสามารถในการนาเทคนิควิธีสอนให้ตรงตามศักยภาพผู้เรียน ใช้ส่ือ

เทคโนโลยีในการจัดการเรียนการสอน มีแหล่งเรียนรู้และแหล่งสืบค้นข้อมูล ได้แก่ ห้องคอมพิวเตอร์ ห้องปฏิบัติการทาง

วทิ ยาศาสตร์ หอ้ งสมดุ ฯลฯ ครูในสายชัน้ เดียวกนั ร่วมกนั กาหนดแผนการจัดการเรียนรู้ การวดั และประเมินผลแบบบูรณา

การ ครูเน้นการใช้คาถามเพ่ือพัฒนาทักษะการคิดของผู้เรียน นอกจากนี้ สถานศึกษาได้มีการดาเนินการเพื่อพัฒนาทักษะ

ชวี ติ ของผเู้ รียน เพอ่ื ให้อยใู่ นสังคมได้อยา่ งมคี วามสขุ เนน้ การพฒั นาดา้ นคณุ ธรรม จริยธรรม ท่ีเหมาะสมกับวัยของ มีระบบ

การแนะแนวและการดูแลสุขภาวะจิต นา ภูมิปัญญาท้องถ่ินมาร่วมกันวางแผนการจัดการเรียนการสอนและมีการเรียนรู้

ในโลกกวา้ ง การเขา้ ไปศึกษากับภมู ิปัญญาในชมุ ชนรอบๆ สถานศกึ ษา

๑.๑ ผลสัมฤทธ์ิทางวชิ าการของผู้เรยี น
๑..ความสามารถในการอ่าน เขียน การสอ่ื สาร และการคิดคานวณตามเกณฑ์ของแตล่ ะระดับชั้น หลักฐาน

และร่องรอยมีดังต่อไปน้ีแบบสรุปผลการอ่าน การเขียน, บันทึกการอ่าน, แบบสรุปรายงานการประเมินความสามารถใน
การอ่านคิดวิเคราะห์และเขียน, เอกสารการวัดและประเมินผลผู้เรียนทุกระดับชั้น, ช้ินงานผลงานนักเรียน, รายงาน
โครงการส่งเสริมสนับสนุนให้ผู้เรียนสามารถอ่านออกเขียนได้, แบบสรุปผลการคิดคานวณของนักเรียน, เอกสารการวัด
และประเมินผลผู้เรยี นทุกระดบั ช้ัน, สมดุ แบบฝกึ หดั ชิน้ งาน และผลงานนกั เรยี น

๒. ความสามารถในการคิดวิเคราะห์ คิดวิจารณญาณ อภิปรายแลกเปลี่ยนความคิดเห็นและแก้ปัญหา
หลักฐานและร่องรอยมีดังนี้ การจัดการเรียนรู้แบบกระบวนการแก้ปัญหา, การสอนแบบสืบสวนสอบสวน, การสอนแบบ
โครงงาน, การจดั การเรียนแบบแผนผังมโนทัศน์, การจัดโครงการส่งเสริมนิสัยรักการอ่านและโครงการยกระดับผลสัมฤทธ์ิ
ทางการเรยี น ๘ กลุ่มสาระการเรียนรู้

๓. ความสามารถในการใช้เทคโนโลยสี ารสนเทศและการสอื่ สาร หลกั ฐานและร่องรอยมีดังนี้ แบบบันทึกการ
เข้าใช้ห้องคอมพิวเตอร์, แบบบันทึกการส่งงานทาง E-mail, ผลงานและชิ้นงานเก่ียวกับการใช้อินเตอร์เน็ตและเทคโนโลยี
สารสนเทศ, แบบประเมินความสามารถในการใช้คอมพวิ เตอร์

๔๕
๔. ความก้าวหน้าทางการเรียนตามหลกั สูตรสถานศึกษา หลักฐานและร่องรอยมีดังน้ี หลักสูตรของสถานศึกษา,
ระเบียบการวัดผลและประเมินผล, แผนการจัดการเรียนรู้, สื่อการเรียนรู้รายงานผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน, หลักฐานทาง
วิชาการ เช่น ปพ.๕ อื่นๆ
๕. ผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนและพัฒนาการจากผลการสอบวัดระดับชาติ หลักฐานและร่องรอยมีดังนี้ รายงาน
สรปุ ผลการทดสอบระดับชาติขั้นพน้ื ฐาน(O-NET), ผลสัมฤทธ์ทิ างการเรยี น
ปีการศึกษา ๒๕๖๓ ผลการประเมินสมรรถนะของผู้เรียน แบบสรุปผลการอ่าน คิด วิเคราะห์และเขียน โครงการ
พัฒนาการเรียนการสอน ๘ กล่มุ สาระการเรยี นรู้ กิจกรรมส่งเสริมนสิ ยั รกั การอ่าน แผนการจัดการเรียนรู้,บันทึกหลังสอน
และแบบบนั ทึกการสอนซอ่ มเสรมิ
๖. ความพร้อมในการศึกษาต่อ การฝึกงานหรือการทางาน หลักฐานและรอ่ งรอยมีดังนี้
รายงานสรุปผลการทดสอบระดับชาติขั้นพื้นฐาน(O-NET) ผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนปีการศึกษา ๒๕๖๓ ผลการประเมิน
สมรรถนะของผเู้ รียน แบบสรุปผลการอ่าน คิด วิเคราะหแ์ ละเขยี น โครงการพฒั นาการเรียนการสอน ๘ กลุ่มสาระการ
เรียนรู้ แบบบนั ทกึ พฤติกรรมการทางานร่วมกัน การอภิปรายแสดงความคิดเห็น การร่วมกันแก้ไขปัญหาพฤติกรรมการ
ทางานรว่ มกัน

๑.๒ คุณลักษณะทพี่ งึ ประสงคข์ องผูเ้ รยี น
๑.การมีคณุ ลักษณะและค่านยิ มท่ดี ตี ามทสี่ ถานศกึ ษากาหนด โดยไมข่ ดั กบั กฎหมาย และวฒั นธรรมอันดีของสังคม

หลักฐานและรอ่ งรอยมีดงั นี้ การจัดการเรยี นการสอน สอดแทรกคณุ ธรรม จรยิ ธรรมและค่านิยมอนั พึงประสงค์โดยบูรณา
การในแผนการจดั การเรยี นรทู้ กุ รายวิชา, จดั โครงการพัฒนากจิ กรรมพัฒนาผเู้ รียน, จัดโครงการส่งเสริมคุณธรรมจริยธรรม,
จัดโครงการส่งเสริมกิจกรรมกิจการนักเรียน, จัดโครงการส่งเสริมประชาธิปไตย, จัดโครงการเศรษฐกิจพอเพียง, จัด
โครงการพัฒนาค่านิยมหลักของคนไทย ๑๒ ประการ, โครงการสถานศึกษาสีขาว, โครงการโรงเรียนดาเนินการตาม
โรงเรียนต้นแบบโรงเรยี นในฝัน, โรงเรียนต้นแบบวถิ ีพุทธ,โรงเรยี นคณุ ธรรมช้ันนา โครงการโรงเรียนสุจริต, แบบสรุปผลการ
ประเมนิ คณุ ลักษณะอันพึงประสงค์ ๘ ประการ, แบบสรปุ ผลการประเมนิ ค่านิยมหลักของคนไทย ๑๒ ประการ

๒. ความภมู ิใจในท้องถน่ิ และความเป็นไทย หลกั ฐานและร่องรอยมดี ังน้ี โครงการพัฒนาค่านิยมหลักของคนไทย
๑๒ ประการ, แบบสรปุ ผลการประเมินคา่ นยิ มหลักของคนไทย ๑๒ ประการ, แบบรายงานการเข้าร่วมกิจกรรมวันสาคัญ
ตา่ งๆ, แบบสังเกตเกย่ี วกับพฤติกรรมการแสดงความเคารพ การพูดจา กริ ิยามารยาท การไหว้ ฯลฯ

๓. การยอมรับท่ีจะอยู่ร่วมกันบนความแตกต่างและหลากหลายหลักฐานและร่องรอยมีดังน้ี การจัดโครงการ
สง่ เสรมิ ประชาธิปไตย, กจิ กรรมอาเซยี น, โครงการส่งเสรมิ กจิ การนกั เรยี น,
แบบบนั ทกึ พฤติกรรมการทางานรว่ มกนั การอภปิ รายแสดงความคิดเห็น การร่วมกันแกไ้ ขปัญหา

๔. สุขภาวะทางร่างกาย และลักษณะจิตสังคมหลักฐานและร่องรอยมีดังน้ี แฟ้มเอกสารผู้เรียนรายบุคคล ,
ข้อมูลด้านสุขภาพ, ข้อมูลสารสนเทศสถิติของสถานศึกษา ได้แก่ การเจ็บป่วย การใช้ห้องพยาบาล ข้อมูลจากฝ่าย
ปกครองสถิติการมาเรียนสถิติการส่งต่อนักเรียน, สมุดเย่ียมเจ้าหน้าท่ีสาธารณสุข, ข้อมูลพัฒนาการด้านน้าหนัก ส่วนสูง
สมรรถภาพทางกายตามเกณฑ์ของผู้เรียนรายบุคคล, เอกสารหลักฐานแสดงสุขภาวะทางร่างกาย อารมณ์ สังคม, แบบ
บนั ทกึ พฤติกรรมทางสงั คม, จัดโครงการส่งเสริมสุขภาพ และจดั โครงการระบบดูแลชว่ ยเหลอื นกั เรียน


Click to View FlipBook Version