The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

SAR63โรงเรียนรมย์บุรีพิทยาคม รัชมังคลาภิเษก

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by chattuporn6599, 2021-05-11 03:59:31

SAR63โรงเรียนรมย์บุรีพิทยาคม รัชมังคลาภิเษก

SAR63โรงเรียนรมย์บุรีพิทยาคม รัชมังคลาภิเษก

1

2

คาํ นํา

รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา (Self Assessment Report : SAR) เป็นการ
จดั ทาํ สรุปผลการจดั การศึกษาของสถานศึกษาที่สะทอ้ นผลการพฒั นาคุณภาพท้งั ในดา้ นคุณภาพผเู้ รียน และ
ผลสาํ เร็จจากการบริหารจดั การศึกษาท่ีสอดคลอ้ งกบั ระบบการประกนั คุณภาพภายในระดบั การศึกษาข้นั
พ้นื ฐาน และสอดคลอ้ งกบั มาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา รวมถึงการวเิ คราะห์จุดเด่นจุดที่ควรพฒั นา
และระบุแนวทางการพฒั นา โดยมีวตั ถุประสงคเ์ พ่อื สรุปผลการจดั การศึกษาในรอบปี ที่ผา่ นมาใหผ้ เู้ กี่ยวขอ้ ง
ไดท้ ราบ ระบุทิศทางการพฒั นาสถานศึกษาในอนาคต และนาํ เสนอรายงานผลใหต้ น้ สังกดั และสาธารณชน
ไดร้ ับทราบ รวมท้งั เพอ่ื เตรียมความพร้อมของสถานศึกษาในการรับการประเมินคุณภาพภายนอก

เน้ือหาสาระของรายงานประจาํ ปี ของสถานศึกษา ประกอบดว้ ย ๔ ส่วน ไดแ้ ก่ ส่วนท่ี ๑
บทสรุปของผบู้ ริหารสถานศึกษา ส่วนท่ี ๒ ขอ้ มูลพ้นื ฐานของสถานศึกษา ส่วนที่ ๓ ผลการประเมินตาม
มาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา ส่วนท่ี ๔ การปฏิบตั ิที่เป็นเลิศ (Best Practices)

รายงานประจาํ ปี ของสถานศึกษาฉบบั น้ี สาํ เร็จไดด้ ว้ ยดีเพราะไดร้ ับความร่วมมือจากทุกฝ่ าย
ไดแ้ ก่ คณะผูบ้ ริหาร คณะกรรมการสถานศึกษา คณะครู นกั เรียน และผปู้ กครอง โรงเรียนรมยบ์ ุรีพทิ ยาคม
รัชมงั คลาภิเษก ขอขอบคุณ ทุกทา่ นท่ีกล่าวขา้ งตน้ เป็นอยา่ งสูงไว้ ณ โอกาสน้ี

โรงเรียนรมยบ์ ุรีพิทยาคม รัชมงั คลาภิเษก

3

สารบัญ

ส่วนที่ ๑ ๑
บทสรุปของผู้บริหารสถานศึกษา ๖
๓๑
ส่วนที่ ๒
ข้อมูลพืน้ ฐานของสถานศึกษา ๔๓
๖๘
ส่วนที่ ๓
ผลการประเมินตามมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา
ระดบั การศึกษาข้ันพืน้ ฐาน
มาตรฐานที่ ๑ คุณภาพของผเู้ รียน
มาตรฐานที่ ๒ กระบวนการบริหารและการจดั การ
มาตรฐานที่ ๓ กระบวนการจดั การเรียนการสอนที่เนน้ ผเู้ รียนเป็นสาํ คญั
สรุปผลการประเมินในภาพรวม
สรุปผล แนวทางการพฒั นา และความตอ้ งการช่วยเหลือ

ส่วนที่ ๔
การปฏบิ ตั ิทเ่ี ป็ นเลศิ (Best Practices)

ภาคผนวก

1

ส่วนที่ ๑
บทสรุป
ผลการรายงานการประเมินตนเองของผู้บริหารสถานศึกษา

ข้อมูลพืน้ ฐาน
ชื่อโรงเรียน โรงเรียนรมยบ์ ุรีพิทยาคม รัชมงั คลาภิเษก ที่อยู่ เลขที่ ๒๕๒ หมู่ ๑

ถนน บุรีรัมย์ – สตึก ตาํ บลบา้ นด่าน อาํ เภอบา้ นด่าน จงั หวดั บุรีรัมย์ รหสั ไปรษณีย์ ๓๑๐๐๐
สังกดั เขตพ้นื ที่การศึกษามธั ยมศึกษาบุรีรัมย์ E- mail โรงเรียน :: [email protected]
website โรงเรียน : www.rbp.ac.th

ชื่อผู้บริหาร
1.นายนายปัญญา กุลแกว้ ผอู้ าํ นวยการสถานศึกษา เบอร์โทร ๐๘๑-๘๗๘-๒๒๐๖
2.นางสาวญาณิสา สอนอินทร์ รองผอู้ าํ นวยการ เบอร์โทร ๐๘๘-๓๗๖-๒๕๑๕
3.นายนุภาพ อพรรัมย์ รองผูอ้ าํ นวยการ เบอร์โทร ๐๖๔-๖๙๒-๙๑๕๗

จํานวนครูและบุคลากรทางการศึกษา จาํ นวน ๖๓ คน จาํ แนกเป็น ขา้ ราชการครู ๔๘ คน,
พนกั งานราชการ ๓ คน, ลูกจา้ งประจาํ ๒ คน, ครูอตั ราจา้ ง ๑ คน, ครูตา่ งชาติ ๒ คน, ธุรการโรงเรียน ๑ คน,
เจา้ หนา้ ท่ีวชิ าการ ๑ คน, ลูกจา้ งชว่ั คราว ๕ คน

จํานวนนักเรียนรวม ๘๗๒ คน จาํ แนกเป็ น ระดบั ช้นั มธั ยมศึกษาตอนตน้ จาํ นวน ๕๑๔ คน
ระดบั ช้นั มธั ยมศึกษาตอนปลาย จาํ นวน ๓๕๘ คน

ผลการประเมนิ ตามมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา ระดับการศึกษาข้ันพืน้ ฐาน
๑. มาตรฐานการศึกษาอยู่ในระดับ ดเี ลศิ
๒. หลกั ฐานสนับสนุน
โรงเรียนรมยบ์ ุรีพิทยาคม รัชมงั คลาภิเษก จดั การเรียนการสอนระดบั การศึกษาข้นั พ้ืนฐาน

ช้นั มธั ยมศึกษาปี ท่ี ๑-๖ จาํ นวนนกั เรียนท้งั สิ้น ๘๔๓ คน แบง่ เป็น ระดบั ช้นั มธั ยมศึกษาตอนตน้ จาํ นวน
๕๐๑ คน ระดบั ช้นั มธั ยมศึกษาตอนปลาย จาํ นวน ๓๔๒จาํ นวนครูและบุคลากรทาง
การศึกษาจาํ นวน ๖๓ คน จดั ทาํ รายงานการประเมินคุณภาพของตนเอง (SAR) ปี การศึกษา ๒๕๖๓ เสนอต่อ
หน่วยงานตน้ สงั กดั และหน่วยงานอื่น ๆ ผลการประเมินตนเองในภาพรวม อยใู่ นระดบั ดีเลศิ
มีผลการดาํ เนินงาน ดงั ตอ่ ไปน้ี

โรงเรียนกาํ หนดมาตรฐานการศึกษาตามมาตรฐานคุณภาพการศึกษาท้งั ๔ ดา้ น คือ
ดา้ นผเู้ รียน ดา้ นการเรียนการสอน และดา้ นการบริหารและการจดั การศึกษาและดา้ นการพฒั นาชุมชนแห่ง
การเรียนรู้

2

ประเดน็ ภาพความสาํ เร็จดา้ นผเู้ รียน และดา้ นการเรียนการสอน โรงเรียนรมยบ์ ุรีพทิ ยาคม รัชมงั
คลาภิเษก ไดด้ าํ เนินการพฒั นาผเู้ รียนการส่งเสริมใหผ้ เู้ รียนมีผลสมั ฤทธ์ิทางวชิ าการ โดยวเิ คราะห์ผลสมั ฤทธ์ิ
ทางการเรียน มีการพฒั นาหลกั สูตรสถานศึกษา หลกั สูตรรายกลุ่มสาระ มีการนาํ หลกั สูตรเขา้ สู่การจดั การ
เรียนการสอนในหอ้ งเรียน จดั ทาํ แผนพฒั นาคุณภาพการศึกษาเพื่อผเู้ รียน โดยมีกิจกรรมและโครงการที่
ส่งเสริมผเู้ รียนดว้ ยวธิ ีการท่ีหลากหลายท้งั ในช้นั เรียน และนอกช้นั เรียน รวมไปถึงมีวทิ ยากรภายนอกและ
สื่อการสอนที่พร้อมสาํ หรับการส่งเสริมผเู้ รียนทุกระดบั ช้นั ดว้ ยวธิ ีการท่ีเหมาะสมกบั ระดบั ช้นั ผเู้ รียนมี
ความรู้ และทกั ษะท่ีจาํ เป็นตามหลกั สูตร จดั กิจกรรมการเรียนการสอนเนน้ การปฏิบตั ิ รักการเรียนรู้ และ
พฒั นาตนเองอยา่ งต่อเน่ือง มีการรายงานผลการพฒั นาผเู้ รียน การรายงานโครงการตามแผนพฒั นาคุณภาพ
ในทุกๆ ปี เช่น โครงการรายงานการพฒั นาหลกั สูตรสถานศึกษา ท่ีจะเนน้ ใหผ้ เู้ รียนไดเ้ รียนดว้ ยการลงมือ
ปฏิบตั ิจริง โครงการยกระดบั ผลสมั ฤทธ์ิทางการเรียน จะมีกิจกรรมที่ช่วยส่งเสริมผเู้ รียน ท้งั ดา้ นการอ่าน
การส่ือสาร การคิดคาํ นวณ คิดวเิ คราะห์ ซ่ึงประกอบไปดว้ ย กิจกรรมการเขียนเร่ืองจากภาพ กิจกรรมรักการ
อา่ น กิจกรรมอา่ นเด่ียว อา่ นกลุ่มในทุกสาระการเรียนรู้ การคน้ ควา้ ดว้ ยตนเองและส่งเสริมใหน้ กั เรียนนาํ
ความรู้มาประยกุ ตใ์ ชใ้ นชีวติ ประจาํ วนั ดา้ นกระบวนการจดั การเรียนการสอนที่เนน้ ผเู้ รียนเป็นสาํ คญั โดย
การดาํ เนินงาน/โครงการ/กิจกรรม อยา่ งหลากหลาย มุ่งส่งเสริมใหค้ รูจดั การเรียนการสอนเนน้ การปฏิบตั ิ
(Active learning) ใหผ้ เู้ รียนผา่ น กระบวนการคิด ปฏิบตั ิจริง เพ่อื นาํ ไปสู่การเรียนรู้ท่ีลึกซ้ึงและคงทน ตาม
มาตรฐานและตวั ช้ีวดั ของหลกั สูตรสถานศึกษา ใหน้ กั เรียนมีส่วนร่วม ครูรู้จกั ผเู้ รียนเป็ นรายบุคคล
ดาํ เนินการตรวจสอบและประเมินผเู้ รียน อยา่ งเป็ นระบบ และนาํ ผลมาพฒั นาผเู้ รียน รวมท้งั ร่วมกนั
แลกเปลี่ยนเรียนรู้ และนาํ ผลท่ีไดม้ าปรับปรุงการจดั การ เรียนรู้ ครูมีแผนการจดั การเรียนรู้ที่สามารถ
นาํ ไปใชจ้ ดั กิจกรรมไดจ้ ริง ครูมีการบริหารจดั การช้นั เรียนเชิงบวก เนน้ การมีปฏิสมั พนั ธ์ ระหวา่ งเดก็ กบั ครู
ครูกบั เด็ก เดก็ กบั เดก็ เดก็ รักการเรียนรู้ และสามารถอยรู่ ่วมกนั ไดอ้ ยา่ ง มีความสุข ครูร่วมกนั ออกแบบการ
วดั ผลประเมินผลเพ่อื ตรวจสอบ และประเมินผูเ้ รียนอยา่ งมีข้นั ตอน ใชเ้ ครื่องมือ วธิ ีการวดั และประเมินผลที่
เหมาะสม พร้อมท้งั นาํ ผลไปใชพ้ ฒั นาการเรียนรู้ของผูเ้ รียน ครูผสู้ อนร่วมกนั แลกเปลี่ยนความรู้และ
ประสบการณ์ (PLC) เป็นชุมชนแห่งการเรียนรู้ทางวชิ าชีพ และนาํ ไปปรับปรุง พฒั นาการจดั การเรียนรู้ นาํ
ขอ้ มูลมาร่วมพฒั นาปรับปรุงการจดั การเรียนรู้และสอนตามแผน ครูผลิตนวตั กรรม แผนการจดั การเรียนรู้
อีกท้งั ปรับโครงสร้างรายวชิ า หน่วยการเรียนรู้ลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้ สัดส่วนคะแนนแต่ละหน่วย กาํ หนด
คุณลกั ษณะอนั พึงประสงคท์ ่ีสอดคลอ้ งกบั หน่วยการเรียนรู้ สนบั สนุนใหค้ รูจดั การเรียนการสอนที่สร้าง
โอกาสให้ นกั เรียนทุกคนมีส่วนร่วม ไดล้ งมือปฏิบตั ิจริงจนสรุปความรู้ไดด้ ว้ ยตนเอง จดั การเรียนการสอนที่
เนน้ ทกั ษะการคิด เช่น จดั การเรียนรู้ดว้ ยโครงงาน โครงงานวชิ า IS รายงานการคน้ ควา้ อิสระ ครูสามารถใช้
สื่อการเรียนการสอน นวตั กรรมและเทคโนโลยี ภูมิปัญญาทอ้ งถ่ิน มีการประเมินคุณภาพและประสิทธิภาพ
ของสื่อการสอนท่ีใชค้ รูทุกคนทาํ งานวจิ ยั ในช้นั เรียน ปี การศึกษาละ 1 เร่ือง โดยกาํ หนดประเด็นภาพ
ความสาํ เร็จดา้ นกระบวนการจดั การเรียนการสอนท่ีเนน้ ผเู้ รียนเป็นสาํ คญั เช่น กิจกรรมการ ระดมความคิด
สอดแทรกกิจกรรมโครงงานทุกกลุ่มสาระการเรียนรู้ กิจกรรมเพื่อสนองการสืบงานงานพระราชดาํ ริ เช่น

3

โครงการสวนพฤกษศาสตร์โรงเรียน กิจกรรมเขา้ ค่ายวชิ าการ กิจกรรมหอ้ งสมุด นอกจากน้ีแลว้ โรงเรียน
เลง็ เห็นความสาํ คญั ของภาษาองั กฤษ จึงไดจ้ ดั ต้งั โครงการยกระดบั ผลสมั ฤทธ์ิภาษาองั กฤษซ่ึงจะมี กิจกรรม
คา่ ยวชิ าการภาษาองั กฤษ กิจกรรมวนั สาํ คญั เช่น กิจกรรมวนั Christmas และจา้ งครูชาวต่างชาติมาสอน เป็น
ตน้ นอกจากน้ีโรงเรียนยงั มีโครงการท่ีฝึกใหผ้ เู้ รียนไดเ้ กิดทกั ษะการคิดวเิ คราะห์ คิดวจิ ารณญาณ อภิปราย
แลกเปลี่ยนความคิดเห็นและแกป้ ัญหา เช่น กิจกรรมของงานสภานกั เรียน โครงการประชาธิปไตยท่ีจะมี
กิจกรรมการทาํ ความสะอาดเขตรับผดิ ชอบโดยมีคณะกรรมการนกั เรียนตรวจเวรและรายงานหนา้ เสาธง มี
กิจกรรมเลือกประธานนกั เรียน จดั ต้งั คณะกรรมการนกั เรียน กิจกรรมหนา้ เสาธง รวมไปถึงการจดั
สภาพแวดลอ้ มและแหล่งเรียนรู้ท่ีจะส่งเสริมผูเ้ รียนทางดา้ นทกั ษะ เช่น โครงการลดเวลาเรียน เพม่ิ เวลารู้ มี
กิจกรรม เช่น กิจกรรมคา่ ยคณิตศาสตร์ คา่ ยภาษาองั กฤษ ค่ายวทิ ยาศาสตร์ คา่ ยโปงลาง กิจกรรมวงดนตรี
โปงลางวงฮกั ภูมิศิลป์ กิจกรรมโรงเรียนวถิ ีพทุ ธ เช่นกิจกรรมวนั พระทุกวนั ศุกร์ กิจกรมวนั สาํ คญั ทางศาสนา
เช่นแห่เทียนพรรษา เวยี นเทียน ทาํ บุญ กิจกรรมเขา้ ค่ายคุณธรรม กิจกรรมไหวค้ รู วนั แม่แห่งชาติ วนั ลอย
กระทง กิจกรรมเพอ่ื พฒั นาค่านิยม ๑๒ ประการ กิจกรรมภาคเชา้ ทกั ทาย/ไหวก้ นั ทุกวนั สวดมนต์
อาราธนาศีล 5 ทุกวนั โครงการสถานศึกษาสีขาว โครงการโรงเรียนสุจริต โครงการส่งเสริมสุขภาพ
กิจกรรมตรวจสุขภาพนกั เรียน เช่น กิจกรรมตรวจความสะอาดร่างกาย กิจกรรมเสียงตามสาย กิจกรรมการ
เฝ้าระวงั ห่างไกลส่ิงเสพติด กิจกรรมเยย่ี มบา้ นนกั เรียน ๑๐๐ %. เป็ นตน้

ดา้ นการบริหารและการจดั การศึกษาและดา้ นการพฒั นาชุมชนแห่งการเรียนรู้ โรงเรียนไดจ้ ดั
กิจกรรมท้งั ในและนอกหอ้ งเรียนเพ่ือพฒั นาผเู้ รียนเช่น กิจกรรมส่งเสริมความรู้โดยบูรณาการ
ทุกสาระการเรียนรู้ เช่น กิจกรรมวางทุกงานอ่านทุกคน ฝึ กใหน้ กั เรียนไดอ้ า่ นทุกวนั ท้งั อา่ นเด่ียว
ท้งั ภาษาไทยและภาษาองั กฤษ การนาํ เสนอผลงานหนา้ ช้นั เรียน แบบฝึกหดั คิดเลขเร็ว เกมคณิตศาสตร์
คณิตคิดในใจ เรียนบูรณาการทุกกลุ่มสาระ มีกิจกรรมการรายงาน การนาํ เสนอผลงาน เช่น การจดั ป้าย
นิเทศ การอภิปรายผล การทาํ บตั รอวยพรในวนั สาํ คญั เช่น วนั แม่ การเขียนยอ่ ความ การเขียนเรียงความ การ
เล่าข่าว สรุปผลและนาํ เสนอผลการทดลองวทิ ยาศาสตร์ท้งั เป็นกลุ่มและนาํ เสนอรายบุคคล โรงเรียนจดั ทาํ
โครงการระบบดูแลช่วยเหลือนกั เรียน เช่น กิจกรรมการใชส้ ่ือ
การสอนสาํ หรับเดก็ พเิ ศษ การสอนซ่อมเสริมท้งั ในและนอกเวลาเรียน นอกจากโครงการและกิจกรรมใน
หอ้ งเรียนท่ีกล่าวมาแลว้ ขา้ งตน้ น้นั ยงั มีการฝึกใหผ้ เู้ รียนไดท้ าํ ฝึกทาํ ขอ้ สอบมาตรฐานกลาง จดั ทาํ สมุดเล่ม
เล็กสาํ หรับสรุปบทเรียน มีการจดั กิจกรรมโครงงานคุณธรรมตามโครงการโรงเรียนคุณธรรม สพฐ.
กิจกรรมประหยดั ไฟฟ้า โรงเรียนจดั กิจกรรมเขา้ คา่ ยวชิ าการของนกั เรียนภาคเรียนละคร้ัง ดา้ นการแนะแนว
และศึกษาตอ่ โดยจดั กิจกรรมการแนะแนวนกั เรียนตามความสนใจ
ความถนดั เปิ ดโอกาสใหผ้ ูเ้ รียนไดศ้ ึกษาแหล่งเรียนรู้ภายนอกสถานศึกษา ไดค้ น้ ควา้ สอบถามจากวทิ ยา
ทอ้ งถ่ินในชุมชน และโรงเรียนยงั จดั บรรยากาศส่งเสริมการเรียนรู้ดว้ ยการจดั แหล่งเรียนรู้ภายในโรงเรียน
เช่น โครงการธนาคารโรงเรียน โครงการออมเงินกบั ธนาคารโรงเรียน มีการพฒั นาศูนยแ์ หล่งเรียนรู้ หอ้ ง

4

สืบคน้ คอมพวิ เตอร์ ส่ือการสอนจากอินเทอร์เน็ต เพ่อื สืบคน้ ขอ้ มูลจากอินเทอร์เน็ตโดย มีบริการไวไฟ
ครอบคลุมท้งั โรงเรียน เพ่ือใหน้ กั เรียนไดใ้ ชส้ ่ือสารสนเทศประกอบการเรียนการสอนของครูและนกั เรียน
และยงั ส่งเสริมใหผ้ เู้ รียนไดม้ ีการนาํ เสนองานโดยใชโ้ ปรแกรมคอมพวิ เตอร์ มีเครื่องฉายภาพ การเรียนโดย
ใช้ DLIT ช่วงการจดั การศึกษาทางไกลในสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเช้ือไวรัสโคโรนา 2019
(COVID-19) มีจดั การศึกษาทางระบบออนไลน์ ทาง Facebook ส่ือออนไลนต์ า่ งๆ ไดเ้ ป็นอยา่ งดี การรายงาน
สารสนเทศต่างอยา่ งครอบคลุม

นอกจากน้ีมีการนอ้ มนาํ พระบรมราโชบายดา้ นการศึกษาของในหลวงรัชกาลท่ี ๑๐ การศึกษาตอ้ ง
มุ่งสร้างพ้นื ฐานใหแ้ ก่ผเู้ รียน การมีงานทาํ –มีอาชีพ การเล้ียงดูลูกหลานในครอบครัว หรือการฝึกฝนอบรมใน
สถานศึกษาตอ้ งมุ่งใหเ้ ด็กและเยาวชนรักงานสู้งาน ทาํ งานจนสาํ เร็จ การฝึกฝนอบรมท้งั ในหลกั สูตรและ
นอกหลกั สูตรตอ้ งมีจุดมุ่งหมายใหผ้ เู้ รียนทาํ งานเป็นและมีงานทาํ ในท่ีสุด ตอ้ งสนบั สนุนผสู้ าํ เร็จหลกั สูตรมี
อาชีพ มีงานทาํ จนสามารถเล้ียงตวั เองและครอบครัวมีกิจกรรมฝึกทกั ษะอาชีพ ดว้ ยการนาํ เศรษฐกิจพอเพยี ง
มาฝึกนกั เรียน เช่น การแปรรูปอาหาร ปลูกผกั เล้ียงสตั ว์ ยงั มีกิจกรรม ตลอดจนมีการส่งเสริมกิจกรรมที่เพิ่ม
ศกั ยภาพของผเู้ รียนอีก เช่น การสอบแข่งขนั ความเป็ นเลิศทางวชิ าการ การจดั นิทรรศการนาํ เสนองาน
เศรษฐกิจพอเพยี งในโรงเรียน ชุมชน วดั และในหน่วยงานสถานศึกษา เช่น โครงงานคุณธรรม กิจกรรม
ลูกเสือ กิจกรรมยวุ กาชาด ผูบ้ าํ เพญ็ ประโยชน์ และชุมนุมตา่ งๆ มีกิจกรรมวนั ปลูกตน้ ไมแ้ ห่งชาติ ดูแลตน้ ไม้
ในโรงเรียนรักษาความสะอาด ในวดั โรงเรียนปลอดขยะ พฒั นา ทาํ ความสะอาดบริเวณวดั ร่วมเป็น
อาสาสมคั รบาํ เพญ็ ประโยชน์งานนโยบายจากผวู้ า่ ราชการจงั หวดั บุรีรัมย์ เช่น การหล่อทองที่อนุสาวรีย์
รัชกาลที่ ๑ อ.เมือง จ.บุรีรัมย์ จากกิจกรรมท่ีโรงเรียนดาํ เนินการดงั กล่าว นอกจากมีผลสัมฤทธ์ิทางการเรียน
ที่สูงข้ึนแลว้ ยงั ส่งเสริมใหผ้ เู้ รียนมีทกั ษะพ้ืนฐานในการจดั การ เจตคติ ท่ีดีพร้อมที่จะศึกษาตอ่ ในระดบั ช้นั ที่
สูงข้ึน การทาํ งานหรืองานอาชีพมีพฤติกรรมเป็ นผทู้ ี่มีคุณธรรม จริยธรรม เคารพในกฎกติกา มีคา่ นิยมและ
จิตสาํ นึกตามที่สถานศึกษากาํ หนดโดยไมข่ ดั กบั กฎหมายและวฒั นธรรมอนั ดีของ สังคมมีความภูมิใจใน
ทอ้ งถ่ิน เห็นคุณค่าของความเป็นไทย มีส่วนร่วมในการอนุรักษว์ ฒั นธรรมประเพณีไทยรวมท้งั ภูมิปัญญา
ผเู้ รียนยอมรับการอยรู่ ่วมกนั บนความแตกตา่ งระหวา่ งบุคคลในดา้ น เพศ วยั เช้ือชาติ ศาสนา ภาษา
วฒั นธรรม ประเพณีมีการรักษาสุขภาพกาย สุขภาพจิต อารมณ์ และสังคม แสดงออกอยา่ งเหมาะสมในแต่
ละช่วง วยั สามารถอยรู่ ่วมกบั คนอ่ืนอยา่ งมีความสุข เขา้ ใจผอู้ ื่น ไม่มีความขดั แยง้ กบั ผอู้ ื่น ผลการจดั
การศึกษาดงั กล่าว ส่งผลใหผ้ ลการทดสอบระดบั ชาติของนกั เรียนในระดบั ช้นั มธั ยมศึกษาปี ท่ี ๓ เพิ่มข้ึน
ดงั น้ีกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย เพม่ิ ขึน้ ร้อยละ ๓.๐๐ ผลใหผ้ ลการทดสอบระดบั ชาติ O-Net ของ
นกั เรียนในระดบั ช้นั มธั ยมศึกษาปี ท่ี ๖ เพิม่ ข้ึน ดงั น้ี กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ เพม่ิ ขึน้ ร้อยละ ๐.๕๕
กลุ่มสาระการเรียนรู้วทิ ยาศาสตร์ เพม่ิ ขนึ้ ร้อยละ ๒.๒๙, ในส่วนของกิจกรรมพฒั นาผเู้ รียนลูกเสือ-เนตรนารี
เขา้ แขง่ ขนั การประกวดระเบียบแถวในระดบั ประเทศ ผลการแข่งขนั ไดร้ ับรางวลั ชมเชย ในการแขง่ ขนั
ประเภทเนตรนารีวสิ ามญั , ไดร้ ับรางวลั ชมเชย โครงการประกวดการตอ่ ตา้ นการทุจริตผา่ นศิลปะการแสดง

5

พ้นื บา้ นประจาํ ปี 2563 ชิงถว้ ยพระราชทาน สมเด็จพระกนิษฐาธิราชเจา้ กรมสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ
สยามบรมราชกุมารี จดั โดยมูลนิธิต่อตา้ นการทุจริต กระทรวงวฒั นธรรม, ไดร้ ับรางวลั เกียรติบตั รเขา้ ร่วม
การแขง่ ขนั To be number one Teen Dancercise 2021 ระดบั ภาคตะวนั ออกเฉียงเหนือ รุ่น TEENAGE
จดั โดยกระทรวงสาธารณสุข

แผนพฒั นาเพ่ือให้ได้มาตรฐานทส่ี ูงขึน้
๑ พฒั นาหลกั สูตรและกระบวนการจดั การเรียนรู้เชิงบูรณาการโดยทุกหลกั สูตรปรับเน้ือหาวชิ า

พ้นื ฐานตา่ งๆ ใหม้ ีความเขม้ ขน้ เทียบเคียงกบั มาตรฐานสากล
๒ พฒั นาผเู้ รียนใหม้ ีความสามารถในการวเิ คราะห์ คิดสังเคราะห์ แกป้ ัญหา และสร้างองค์

ความรู้ดว้ ยตนเอง ภายใตก้ ารบริหารจดั การแบบมีส่วนร่วมเชิงบูรณาการจากทุกฝ่ ายท่ีเกี่ยวขอ้ ง
๓ พฒั นาผเู้ รียนใหม้ ีทกั ษะในการแสวงหาความรู้ดว้ ยตนเอง รักการเรียนรู้ และพฒั นาตนควร

ดาํ เนินการใหเ้ ป็ นรูปธรรมและต่อเน่ือง
๔ พฒั นางานวชิ าการโดยเฉพาะวชิ าหลกั ๆ เช่น คณิตศาสตร์ วทิ ยาศาสตร์ ภาษาตา่ งประเทศ ควร

ดาํ เนินการอยา่ งเป็ นระบบภายใตก้ ารบริหารจดั การเพ่ือการพฒั นาคุณภาพผเู้ รียนอยา่ งจริงจงั และต่อเนื่อง
๕ การส่งเสริมสนบั สนุนการเรียนภาษาต่างประเทศ จากเจา้ ของภาษา เช่น ภาษาองั กฤษ อยา่ ง

ต่อเนื่อง และนาํ ไปประยกุ ตใ์ นชีวติ จริง
๖ การสาํ รวจ จดั หา หอ้ งปฏิบตั ิการวทิ ยาศาสตร์ และ แหล่งการเรียนรู้ ภูมิปัญญาทอ้ งถ่ิน

วทิ ยากรทอ้ งถ่ินมาใชใ้ นการเรียนการสอน และบูรณาการในรายวชิ าท่ีเก่ียวขอ้ งอยา่ งเป็ นระบบ และต่อเน่ือง
๗ การส่งเสริมวินยั นกั เรียน และพฤติกรรมท่ีไมพ่ งึ ประสงค์ ควรดาํ เนินการอยา่ งเคร่งครัด

และตอ่ เนื่อง ภายใตก้ ารบริหารจดั การแบบมีส่วนร่วมเชิงบูรณาการจากทุกฝ่ ายที่เก่ียวขอ้ ง

6

ส่วนท่ี ๒
ข้อมูลพืน้ ฐานของสถานศึกษา

๑.๑ ข้อมูลทว่ั ไป

ชื่อโรงเรียนรมยบ์ ุรีพิทยาคม รัชมงั คลาภิเษก ท่ีอยู่ เลขท่ี ๒๕๒ หมู่ ๑ ถนน บุรีรัมย์ – สตึก
ตาํ บลบา้ นด่าน อาํ เภอบา้ นด่าน จงั หวดั บุรีรัมย์ รหสั ไปรษณีย์ ๓๑๐๐๐
สงั กดั เขตพ้นื ที่การศึกษามธั ยมศึกษา เขต ๓๒ โทรศพั ท์ ๐-๔๔๑๘-๖๔๓๙ โทรสาร ๐-๔๔๑๘-๖๔๓๙
เปิ ดสอนระดบั ช้นั มธั ยมศึกษาปี ท่ี ๑ ถึงระดบั ช้นั มธั ยมศึกษาปี ท่ี ๖

๑.๒ ข้อมูลบุคลากรของสถานศึกษา
๑) จํานวนบุคลากร

บุคลากร ผู้บริหาร รองผู้บริหาร ครูผู้สอน พนักงาน ครูอตั ราจ้าง เจ้าหน้าทอี่ ่ืนๆ

ปี การศึกษา ๒๕๖๓ ๑ ๒ ๔๘ ๓ ๒๗

๒) วฒุ ิการศึกษาสูงสุดของบุคลากร

๘.๓๑% ๓.๑๑%

๘๘.๕๘% ตาํ่ กวา ปรญิ ญาตรี
ปรญิ ญาตรี
ปริญาญาโท

7

๓) สาขาวชิ าทจี่ บการศึกษาและภาระงานสอน

8

9

ขอ มูลขาราชการครแู ละบคุ ลากรโรงเรยี นรมยบรุ ีพิทยาคม รชั มงั คลาภเิ ษก ประจาํ ปก ารศึกษา 256๓

1. ผูบริหาร จํานวน 3 คน
2. ขาราชการครู จาํ นวน 4๘ คน
๓. พนักงานราชการ จาํ นวน 3 คน
๔. ครอู ัตราจาง จาํ นวน ๑ คน
๔. ครชู าวตา งชาติ จํานวน ๒ คน
๕. ลกู จา งประจาํ จํานวน ๒ คน
๖. ลกู จางชั่วคราว จาํ นวน ๒ คน
๗. เจา หนา ท่วี ชิ าการ จาํ นวน ๑ คน
๘. เจาหนา ทธ่ี ุรการ จาํ นวน ๑ คน

รวมทั้งหมดบุคลากรทั้งส้ิน จํานวน 6๓ คน

ครผู ูสอนแยกตามรายวชิ าทีส่ อนไดดังนี้

๑.1 ภาษาไทย จาํ นวน 4 คน
๑.2 คณิตศาสตร จํานวน ๖ คน
๑.3 วิทยาศาสตรท่วั ไป จาํ นวน 3 คน
พนกั งานราชการ จํานวน 1 คน
๑.4 ฟส ิกส จํานวน 4 คน
๑.5 เคมี จาํ นวน 3 คน
พนักงานราชการ จาํ นวน 1 คน
๑.6 ชวี วทิ ยา จํานวน 3 คน
๑.7 สังคมศึกษา จาํ นวน 5 คน
ครูอตั ราจา ง จํานวน 1 คน
๑.8 ศิลปะ จาํ นวน 1 คน
๑.9 ดนตรสี ากล จํานวน 1 คน
๑.10 ดนตรีไทย จาํ นวน 1 คน
๑.11 นาฏศลิ ป จํานวน 1 คน
๑.12 คหกรรม จาํ นวน ๓ คน
๑.13 อตุ สาหกรรม จาํ นวน 1 คน
๑.1๔ คอมพิวเตอร จาํ นวน 4 คน
๑.1๕ พลศกึ ษา จาํ นวน 2 คน
๑.1๖ องั กฤษ จาํ นวน 4 คน
พนักงานราชการ จํานวน ๑ คน
ครอู ัตราจา ง จํานวน 2 คน

รวมท้ังหมด จํานวน ๕๔ คน

10

๑.๓ ข้อมูลนักเรียน

จํานวนนักเรียนปี การศึกษา ๒๕๖๓ รวม ๘๗๒ คน

ระดบั ช้นั ม.๑ ม.๒ ม.๓ รวม ม.๔ ม.๕ ม.๖ รวม รวม
เรียน ท้งั หมด

จาํ นวน ๖ ๕ ๕ ๑๖ ๔ ๔ ๓ ๑๑ ๒๗

หอ้ ง ๓๔๗
๕๒๕
เพศ ชาย ๗๙ ๗๑ ๖๖ ๒๓๔ ๔๓ ๓๙ ๓๑ ๑๑๓ ๘๗๒

หญิง ๑๐๗ ๘๖ ๘๗ ๒๘๐ ๑๐๔ ๗๙ ๖๒ ๒๔๕

รวม ๒๐๔ ๑๕๗ ๑๕๓ ๕๑๔ ๑๔๗ ๑๑๘ ๙๓ ๓๕๘

เฉลี่ยตอ่ ๓๔:๑ ๓๑:๑ ๓๐:๑ ๓๖:๑ ๓๔:๑ ๒๙:๑

หอ้ ง

เปรยี บเทียบจาํ นวนนกั เรียนระดบั มธั ยมศึกษาตอนตน
ปก ารศึกษา ๒๕๖๑ - ๒๕๖๓

ปการศึกษา๒๕๖๑ ปการศกึ ษา๒๕๖๒ ปก ารศึกษา ๒๕๖๓

๑๖๒ ๑๖๕ ๑๕๓ ๑๖๓ ๑๖๔ ๑๕๗ ๒๐๔
๑๕๖ ๑๖๓

ม.๓ ม.๒ ม.๑

11

เปรยี บเทยี บจํานวนนักเรียนระดับมัธยมศกึ ษาตอนปลาย
ปก ารศกึ ษา ๒๕๖๑ - ๒๕๖๓

ปก ารศึกษา ๒๕๖๑ ปการศกึ ษา ๒๕๖๒ ปการศกึ ษา ๒๕๖๓
๑๔๗
๑๒๕ ๑๓๑ ๑๐๓ ๑๐๔ ๑๑๘
๙๓ ๑๐๗ ๑๐๐

ม.๖ ม.๕ ม.๔

12

๑.๔ ข้อมูลผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนระดบั สถานศึกษา
สรปุ ผลสัมฤทธิท์ างการเรียนแยกตามระดบั ช้ัน
ปก ารศึกษา ๒๕๖๓

ช้นั ๔ ๓.๕ ๓ ๒.๕ ๒ ๑.๕ ๑ ๐ ร มส จาํ นวน เฉล่ีย
นักเรียน

ม.๑ ๙๒๗ ๔๗๖ ๔๕๓ ๕๔๒ ๒๔๙ ๑๔๕ ๑๓๑ ๕๙ ๔๐ ๑๗ ๓๐๓๙ ๒.๙๙
ม.๒ ๗๕๗ ๒๘๘ ๓๓๕ ๒๑๖ ๒๒๒ ๑๑๙ ๑๒๓ ๑๖๙ ๗๖ ๙๖ ๒๔๐๑ ๒.๘๓
ม.๓ ๔๙๗ ๒๕๔ ๓๒๓ ๓๖๘ ๒๙๙ ๑๖๕ ๒๐๘ ๘๕ ๒๗ ๗๓ ๒๒๙๙ ๒.๖๔
ม.๔ ๗๗๙ ๒๔๖ ๓๔๔ ๒๘๕ ๓๐๐ ๑๓๓ ๑๒๖ ๓๙ ๑๗ ๓๖ ๒๓๐๕ ๒.๙๕
ม.๕ ๗๘๑ ๒๒๕ ๒๖๗ ๒๒๕ ๑๙๔ ๑๑๔ ๑๔๗ ๙๒ ๑๔ ๖ ๒๐๖๕ ๒.๙๒
ม.๖ ๕๑๙ ๑๕๑ ๒๓๘ ๑๘๖ ๑๓๓ ๗๗ ๗๕ ๘ ๘ ๐ ๑๓๙๕ ๓.๐๕
รวม ๔๒๖๐ ๑๖๔๐ ๑๙๖๐ ๑๘๒๒ ๑๓๙๗ ๗๕๓ ๘๑๐ ๔๕๒ ๑๘๒ ๒๒๘ ๑๓๕๐๔ ๒.๙๐
รอยละ ๓๑.๕๕ ๑๒.๑๔ ๑๔.๕๑ ๑๓.๔๙ ๑๐.๓๕ ๕.๕๘ ๖.๐๐ ๓.๓๕ ๑.๓๕ ๑.๖๙ ๑๐๐.๐๐

จากตารางผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนแยกตามระดบั ชนั้ ปการศกึ ษา ๒๕๖๓ ปรากฏวารอยละทีน่ กั เรียน
มีผลสัมฤทธ์สิ ูงที่สุด คือ เกรด ๔ มีคา ๓๑ ๕๕ รองลงมาคือ เกรด ๓ มีคา ๑๔.๕๑ ตามลําดับ ดานผลการ
เรยี นเฉล่ีย นักเรยี นชัน้ มัธยมศึกษาปที่ ๖ มผี ลการเรียนสูงทส่ี ดุ คือ ๓.๐๕ รองลงมาคือ ช้ันมธั ยมศึกษาปท่ี ๑
มีผลการเรยี น ๒.๙๙ และต่ําทีส่ ดุ คอื ชน้ั มัธยมศึกษาปท ี่ ๓ มีผลการเรียนเฉลีย่ คอื ๒.๖๔

13

สรุปผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนแยกตามรายวิชา
ปก ารศกึ ษา ๒๕๖๓

กลมุ สาระ ๔ ๓.๕ ๓ ๒.๕ ๒ ๑.๕ ๑ ๐ ร มส จํานวน เฉลย่ี
นกั เรยี น

ภาษาไทย ๒๐๔ ๑๗๐ ๑๗๓ ๑๗๓ ๑๑๐ ๒๗ ๒๐ ๔ ๑๑ ๑๔ ๙๐๖ ๓.๐๐

คณติ ศาสตร ๗๓ ๕๔ ๗๘ ๑๑๕ ๑๙๗ ๑๖๕ ๓๖๑ ๑๕๓ ๕๑ ๓๘ ๑๒๘๕ ๑.๖๗

วิทยาศาสตร ๑๐๓๙ ๔๗๑ ๕๗๔ ๔๕๐ ๔๐๓ ๒๑๙ ๑๘๕ ๑๐๗ ๓๓ ๕๘ ๓๕๓๙ ๒.๘๙

สงั คมศึกษา
ศาสนา และ
วัฒนธรรม ๘๔๙ ๒๗๘ ๓๕๘ ๒๙๖ ๒๖๒ ๑๑๕ ๘๒ ๒๗ ๒๔ ๕๐ ๒๓๔๑ ๓.๐๗

สขุ ศกึ ษาและพล ๙๙๑ ๒๒๖ ๒๓๓ ๘๖ ๓๐ ๒๔ ๔๙ ๕๓ ๔ ๑๗ ๑๗๑๓ ๓.๔๓
ศกึ ษา
ศิลปะ ๕๓๑ ๑๗๘ ๒๑๔ ๒๑๒ ๑๐๙ ๕๑ ๑๗ ๔๔ ๖ ๒๔ ๑๓๘๖ ๓.๑๑

การงานอาชพี ๑๖๙ ๑๐๙ ๖๖ ๑๙๕ ๕๘ ๒๗ ๑๖ ๑๖ ๒๐ ๕ ๖๘๑ ๒.๙๑
และเทคโนโลยี
ภาษาตางประเทศ ๒๔๖ ๑๓๘ ๒๔๙ ๒๘๗ ๒๒๔ ๑๑๕ ๗๖ ๓๖ q ๑๗ ๑๓๘๘ ๒.๖๔
การศกึ ษาคน ควา
ดว ยตนเอง (IS) ๑๕๘ ๑๖ ๑๕ ๘ ๔ ๑๐ ๔ ๑๒ ๓๓ ๕ ๒๖๕ ๓.๔๓

๔๒๖๐ ๑๖๔๐ ๑๙๖๐ ๑๘๒๒ ๑๓๙๗ ๗๕๓ ๘๑๐ ๔๕๒ ๑๘๒ ๒๒๘ ๑๓๕๐๔ ๒.๙๑
รวม ๓๑.๕๕ ๑๒.๑๔ ๑๔.๕๑ ๑๓.๔๙ ๑๐.๓๕ ๕.๕๘ ๖.๐๐ ๓.๓๕ ๑.๓๕ ๑.๖๙ ๑๐๐.๐๐

จากตารางผลสัมฤทธิ์ทางการเรยี นแยกตามรายวชิ า ปก ารศึกษา ๒๕๖๓ ปรากฏวารอ ยละทน่ี ักเรยี นมี
ผลสมั ฤทธ์ิสงู ทส่ี ุด คือ เกรด ๔ มคี า ๓๑.๕๕ รองลงมาคือ เกรด ๓ มคี า ๑๔.๕๑ ตามลําดบั ดา นผลการเรียน
เฉล่ยี ในรายวิชาการศกึ ษาคนควาดว ยตนเอง และรายวิชาสขุ ศึกษาและพลศึกษา มผี ลการเรียนสงู ที่สดุ คือ
๓.๔๓ รองลงมาคือ รายวชิ าสงั คมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรมมีผลการเรียน ๓.๐๗
และตา่ํ ทีส่ ุดคอื รายวิชาคณิตศาสตร มีผลการเรียนเฉลยี่ คือ ๑.๖๗

14

กราฟสรปุ ผลสัมฤทธ์ทิ างการเรยี นแยกตามระดบั ชน้ั
ปการศกึ ษา ๒๕๖๓

3.1 ผลการเรยี นเฉลย่ี

3 ม.๒ ม.๓ ม.๔ ม.๕
2.83 2.64 2.95 2.92
2.9

2.8

2.7

2.6

2.5

2.4 ม.๑ ม.๖ ทงั้ โรงเรยี น
ผลการเรียนเฉลีย่ 2.99 3.05 2.9

15

กราฟสรปุ ผลสัมฤทธท์ิ างการเรยี นแยกตามรายวิชา
ปการศกึ ษา ๒๕๖๓

ไทย คณิตฯ วทิ ย์ สงั คม สขุ ศกึ ษา ศิลปะ การงาน Is ตา่ งประเทศ รวมทง้ั โรงเรียน

3.43 3.43

3.00 3.07 3.11 2.91
2.89 2.91

2.64

1.67

ผลการเรียนเฉล่ยี

16

สรปุ จํานวนนักเรียนทม่ี ผี ลการเรยี นระดับ ๓ ข้ึนไป แยกตามระดับชั้น
ปก ารศึกษา ๒๕๖๓

ชั้น ๔ ๓.๕ ๓ จํานวน เกรด ๓ รอ ยละ
นักเรียน ขึน้ ไป

ม.๑ ๙๒๗ ๔๗๖ ๔๕๓ ๓๐๓๙ ๑๘๕๖ ๖๑.๐๗
ม.๒ ๗๕๗ ๒๘๘ ๓๓๕ ๒๔๐๑ ๑๓๘๐ ๕๗.๔๘
ม.๓ ๔๙๗ ๒๕๔ ๓๒๓ ๒๒๙๙ ๑๐๗๔ ๔๖.๗๒
ม.๔ ๗๗๙ ๒๔๖ ๓๔๔ ๒๓๐๕ ๑๓๖๙ ๕๙.๓๙
ม.๕ ๗๘๑ ๒๒๕ ๒๖๗ ๒๐๖๕ ๑๒๗๓ ๖๑.๖๕
ม.๖ ๕๑๙ ๑๕๑ ๒๓๘ ๑๓๙๕ ๙๐๘ ๖๕.๐๙
รวม ๔๒๖๐ ๑๖๔๐ ๑๙๖๐ ๑๓๕๐๔ ๗๘๖๐ ๕๘.๒๐

จากตารางสรปุ จาํ นวนนักเรียนท่ีมผี ลการเรียนระดบั ๓ ขน้ึ ไป แยกตามระดับชน้ั ปก ารศึกษา ๒๕๖๓
ปรากฏวารอ ยละทนี่ ักเรยี นท่ีมีผลการเรยี นระดับ ๓ ขนึ้ ไป สงู ท่สี ดุ คอื ระดับช้นั ม.๖ รอ ยละ ๖๕.๐๙ รองลงมา
คือ ระดับ ม.๕ รอ ยละ ๖๑.๖๕ ตามลาํ ดับ

17

สรปุ จํานวนนกั เรียนท่ีมผี ลการเรยี นระดบั ๓ ขึ้นไป แยกตามรายวชิ า
ปก ารศึกษา ๒๕๖๓

กลมุ สาระ ๔ ๓.๕ ๓ จาํ นวน เกรด๓ รอยละ
นกั เรยี น ขน้ึ ไป ๖๐.๓๘
ภาษาไทย ๒๐๔ ๑๗๐ ๑๗๓ ๙๐๖ ๕๔๗ ๑๕.๙๕
คณติ ศาสตร์ ๒๐๕ ๕๘.๘๙
วทิ ยาศาสตร์ ๗๓ ๕๔ ๗๘ ๑๒๘๕ ๒๐๘๔ ๖๓.๔๓
สงั คมศกึ ษา ศาสนา และวฒั นธรรม ๑๔๘๕ ๘๔.๖๕
สขุ ศกึ ษาและพลศกึ ษา ๑๐๓๙ ๔๗๑ ๕๗๔ ๓๕๓๙ ๑๔๕๐ ๖๖.๕๙
๙๒๓ ๕๐.๕๑
ศลิ ปะ ๘๔๙ ๒๗๘ ๓๕๘ ๒๓๔๑ ๓๔๔ ๔๕.๖๑
การงานอาชพี และเทคโนโลยี ๖๓๓ ๗๑.๓๒
๙๙๑ ๒๒๖ ๒๓๓ ๑๗๑๓ ๑๘๙ ๕๘.๒๐
ภาษาตา่ งประเทศ ๗๘๖๐
การศกึ ษาคน้ ควา้ ดว้ ยตนเอง (IS) ๕๓๑ ๑๗๘ ๒๑๔ ๑๓๘๖

รวม ๑๖๙ ๑๐๙ ๖๖ ๖๘๑

๒๔๖ ๑๓๘ ๒๔๙ ๑๓๘๘

๑๕๘ ๑๖ ๑๕ ๒๖๕

๔๒๖๐ ๑๖๔๐ ๑๙๖๐ ๑๓๕๐๔

จากตารางสรุปจาํ นวนนักเรยี นที่มผี ลการเรียนระดบั ๓ ขน้ึ ไป แยกตามรายวิชา ปการศึกษา ๒๕๖๓
ปรากฏวารอยละทนี่ ักเรยี นที่มผี ลการเรยี นระดบั ๓ ขึ้นไป สงู สุดคือ รายวชิ าสขุ ศึกษาและพลศึกษา รอยละ
๘๔.๖๕ รองลงมาคอื วชิ าการศกึ ษาคนควาดวยตนเอง รอ ยละ ๗๑.๓๒ ตามลาํ ดับ

18

๑.๕ ผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติข้ันพืน้ ฐาน (O-NET)
๑) ผลการทดสอบทางการศึกษาระดบั ชาติข้ันพืน้ ฐาน (O-NET) ปี การศึกษา ๒๕๖๓
ระดับช้ันมธั ยมศึกษาปี ที่ ๓

ผลการทดสอบทางการศกึ ษาระดบั ชาตขิ ัน้ พื้นฐาน (O-NET) ปก ารศกึ ษา ๒๕๖๓
ระดับชัน้ มัธยมศกึ ษาปที่ ๓

คะแนนเฉลย่ี ระดับประเทศ คะแนนเฉลีย่ สังกัด สพฐ. คะแนนเฉล่ยี ระดบั จงั หวดั คะแนนเฉลยี่ ของโรงเรียน

ภาษาองั กฤษ 34.38

32.65
30.18
28.97

วิทยาศาสตร 29.89
คณิตศาสตร 30.17
29.36
ภาษาไทย 26.69

25.46

25.82
24.48
22.32

54.29
55.18

54.03
55.39

19

๒) ผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาตขิ ้ันพืน้ ฐาน (O-NET) ปี การศึกษา ๒๕๖๓
ระดบั ช้ันมธั ยมศึกษาปี ที่ ๖

ผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาตขิ นั้ พนื้ ฐาน (O-NET) ปก ารศึกษา ๒๕๖๓
ระดับชนั้ มธั ยมศึกษาปที่ ๖

คะแนนเฉลย่ี ระดบั ประเทศ คะแนนเฉลย่ี สังกัด สพฐ. คะแนนเฉลยี่ ระดบั จงั หวัด คะแนนเฉลย่ี ของโรงเรียน
ภาษาอังกฤษ
สงั คมศึกษา 25.60 29.94
วิทยาศาสตร 23.54 29.73
คณิตศาสตร
35.93
ภาษาไทย 36.32
34.66
34.26

32.68
33.04
30.64
28.97

22.17 26.04
20.40 26.33

44.36
45.22

41.43
39.39

20

๓) เปรียบเทียบผลการทดสอบทางการศึกษาระดบั ชาติข้นั พ้ืนฐาน (O-NET)
ปี การศึกษา ๒๕๖๒ – ๒๕๖๓ ระดับช้ันมธั ยมศึกษาปี ที่ ๓

ผลการทดสอบทางการศกึ ษาระดบั ชาติขน้ั พ้นื ฐาน (O-NET) ปการศึกษา ๒๕๖๒ – ๒๕๖๓
ระดบั ชนั้ มธั ยมศกึ ษาปที่ ๓

55.39 52.39

22.32 26.69 28.97 25.13 28.71 29.83

ป ๒๕๖๓ ป ๒๕๖๒

ไทย คณิต วทิ ย องั กฤษ

21

๔) เปรียบเทียบผลการทดสอบทางการศึกษาระดบั ชาติข้นั พ้ืนฐาน (O-NET)
ปี การศึกษา ๒๕๖๒ – ๒๕๖๓ ระดับช้ันมัธยมศึกษาปี ที่ ๖

ผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพน้ื ฐาน (O-NET) ปก ารศึกษา ๒๕๖๒ – ๒๕๖๓
ระดบั ชน้ั มธั ยมศกึ ษาปท ี่ ๖

39 41.76
34.26 35.45

28.97 26.68 25.59
20.40 23.54 19.95

ป ๒๕๖๓ ป ๒๕๖๒

ไทย คณติ วทิ ย สงั คม องั กฤษ

22

๑.๖ ข้อมูลการใช้แหล่งเรียนรู้ภายในและภายนอกโรงเรียน ปี การศึกษา ๒๕๖๓
๑.๖.๑ จํานวนนักเรียนทใ่ี ช้แหล่งเรียนรู้ในโรงเรียน ปี การศึกษา ๒๕๖๓

800 35 25 31 20
700 163 164 165
600

500 163 164 165 131 10104 20100
400 163 164 165 131
300 201 164 165 104 100
200 131 104 100
100
131 104 100
0
ม.๑ ม.๒ ม.๓ ม.๔ ม.๕ ม.๖

หอ้ งปฏิบตั ิการวทิ ยาศาสตร์ หอ้ งสมดุ หอ้ งคอมพิวเตอร์ หอ้ งจรยิ ศึกษา หอ้ งพยาบาล

๑.๖.๒ จาํ นวนนกั เรียนท่ีใชแ หลงเรยี นรนู อกโรงเรียน ปการศกึ ษา ๒๕๖๓

วัดกระดงึ ทอง ทัศนศึกษา กลมุ ทอเสอื่ กลมุ ทอผา ไหม

30 33 15 21 15 18
50 65 30 22 20 15

163 164 165 131 104 100

112 67 64 62 40 36
ม.๑ ม.๒ ม.๓ ม.๔ ม.๕ ม.๖

23

ความสามารถในการอ่าน ระดับดี

รอ ยละของจาํ นวนนกั เรียนท่มี ีผลการประเมินความสามารถ
ในการอา นชน้ั ม.๑-๖ จาํ แนกตามระดบั คณุ ภาพ

ดเี ยยี่ ม ดี ตองปรบั ปรงุ

74.62 85.94 80.64 87.50 86.11
62.50

33.04 23.88 14.06 19.35 12.50 13.89
1.49 0 0 0 0
4.46
ม.๑ ม.๒ ม.๓ ม.๔ ม.๕ ม.๖

ความสามารถในการสื่อสารคิดคาํ นวณและคิดวเิ คราะห์ ระดบั ดี

รอ ยละของจํานวนนักเรยี นทมี่ ีความสามารถในการสอ่ื สาร
คดิ คํานวณและคดิ วเิ คราะห

ดเี ยยี่ ม ดี พอใช ตองปรับปรุง

70.31 62.50 66.67
59.70

44.64 48.39

18.75 24.19 19.35 25 11.11
17.86 18.75 14.92 14.9120.45 15.63 8.06 8.33
7.816.25 5 7.50 13.89

ม.๑ ม.๒ ม.๓ ม.๔ ม.๕ ม.๖

24

ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี ระดบั ดี

รอ ยละของจํานวนนกั เรยี นทม่ี คี วามสามารถในการใชเ ทคโนโลยี
จาํ แนกตามระดับคณุ ภาพ

ดเี ยีย่ ม ดี พอใช ตอ งปรับปรุง

68.66 70.31 76.56 62.50 63.89

44.64

28.57 7.46 16.42 15.63 7.81 6.25 12.90 7.81 22.50 17.50 27.78
17.86 7.46 0 0 19.44

8.93 0

ม.๑ ม.๒ ม.๓ ม.๔ ม.๕ ม.๖

คุณลกั ษณะทพ่ี งึ ประสงค์ของผู้เรียน

รอ ยละของจาํ นวนนกั เรยี นทมี่ ีผลการประเมินดานคณุ ธรรม จริยธรรม
ชัน้ มธั ยมศกึ ษาปท ี่ ๑-๖ จาํ แนกตามระดบั คุณภาพ

ดเี ย่ยี ม ดี

ม.๖ 90.01 9.99

ม.๕ 91.23 8.77

ม.๔ 89.52 10.48

ม.๓ 82.55 17.45

ม.๒ 87.40 12.60

ม.๑ 85.25 14.75

25

รอ ยละของจาํ นวนนกั เรียนทม่ี ผี ลการประเมนิ ดา นความภาคภมู ิใจ
ในความเปนไทย ชนั้ มัธยมศกึ ษาปท่ี ๑-๖
จาํ แนกตามระดับคุณภาพ

ดี ดีเยีย่ ม

ม.๖ 8.45 91.55
ม.๕ 5.68 94.32
ม.๔ 4.55 95.45
ม.๓ 8.85
ม.๒ 10.50 91.15
ม.๑ 9.88 89.50
90.12

รอยละของจํานวนนักเรียนทเี่ ขา รว มโครงการสงเสริมคณุ ธรรม จรยิ ธรรม

100.00 100.00 100.00 100.00 100.00 100.00

ม.๑ ม.๒ ม.๓ ม.๔ ม.๕ ม.๖

รายชื่อเดก็ ดีมีท่ีเรียนช้นั มธั ยมศกึ ษ

ลาํ ดบั ท่ี ชื่อ-สกลุ ช้ัน สา
๖/๑ พืชศาสตร์ สาขาพืชสวน
๑ นางสาวเนตรนภา แกมคาํ
๖/๑ สถาปัตยกรรมภายใน ค
๒ นางสาวจิดาภา ทิรอดรัมย์ และนฤมิตศิลป์

๓ นายวาคิม คงเร่ง ๖/๑ สาขาเทคโนโลยแี ละคอ
ศาสตร์
๔ นางสาวศศิกานต์ ช่อมะลิ
๕ นางสาวอินทิรา กุลดารัมย์ ๖/๑ ส.บ.สาธารณสุขศาสตร

๖ นางสาวสร้อยเพชร สายพลกรัง ๖/๑ สาขาเทคโนโลยจี ิสติกส
ศาสตร์
๗ นางสาวอทิตยา พรมแสน
๖/๑ สาขาวศิ วกรรมการจดั ก
๘ นายธนวฒั น์ แสงรัมย์ อุตสาหกรรม

๙ นางสาวกรกนก คาํ ยา ๖/๑ สาขาวศิ วกรรมการจดั ก
อุตสาหกรรม
๑๐ นายธนพล กระแสเทศ
๖/๑ สาขาวศิ วกรรมการจดั ก
อุตสาหกรรม

๖/๑ สาขาการท่องเท่ียวและก
จดั การ

๖/๑ สาขาเทคโนโลยสี ารสน

26

ษาปี ที่ ๖ ประจาํ ปี การศึกษา ๒๕๖๓

าขาวชิ า คณะ มหาวทิ ยาลัย

น วทิ ยาลยั เกษตรและเทคโนโลยบี ุรีรัมย์

คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ผงั เมือง มหาวทิ ยาลยั มหาสารคาม

อมพิวเตอร์เพื่อการศึกษา คณะครุ มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั บุรีรัมย์

ร์ คณะสาธารณสุขศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั มหาสารคาม

ส์ คณะวทิ ยาศาสตร์และศิลป มหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลอีสาน วทิ ยาเขต

นครราชสีมา

การอุตสาหกรรม คณะเทคโนโลยี มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั บุรีรัมย์

การอุตสาหกรรม คณะเทคโนโลยี มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั บุรีรัมย์

การอุตสาหกรรม คณะเทคโนโลยี มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั บุรีรัมย์

การโรงแรม คณะวทิ ยาการ มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั บุรีรัมย์

นเทศ คณะวทิ ยาศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั บุรีรัมย์

ลาํ ดบั ที่ ช่ือ-สกุล ช้ัน สา
๖/๑ สาขาการศึกษาปฐมวยั ค
๑๑ นางสาวพรวมิ ล ชุมพล ๖/๑ สาขาการศึกษาปฐมวยั ค

๑๒ นางสาวจิราพร นนั กลาง ๖/๑ สาขาสังคมศึกษา คณะค
๖/๑ สาขาภาษาองั กฤษ คณะ
๑๓ นางสาวธญั ญรัตน์ โขงรัมย์ ๖/๑ สาขาภาษาไทย คณะคร
๖/๑ ส.บ.สาธารณสุขศาสตร
๑๔ นางสาวกลุ ธาดา สมบูรณ์พนั ธ์
๖/๑ สาขาเทคนิคอุตสาหกรร
๑๕ นางสาววาริษา สุขดาษ ๖/๑ สาขาเทคนิคอุตสาหกรร
๖/๑ สาขาฟิ สิกส์ คณะครุศา
๑๖ นางสาวอธิติญา อินทร์แจง้ ๖/๑ การเมือง การปกครอง

๑๗ นางสาวขวญั อ่ิมตะขบ ๖/๑ การจดั การโลจิสติกส์
๑๘ นางสาวสุปรีญา ทลยั รัมย์ ๖/๑ สาขาจุลวทิ ยา คณะวทิ ย
๖/๑ สาขาเทคโนโลยกี ารจดั
๑๙. นายพรี ภพ ยนื รัมย์
สตร์และเทคโนโลยี
๒๐ นางสาวขวญั ใจ ยดุ รัมย์
๖/๑ สาขาเทคโนโลยสี ารสน
๒๑ นางสาวภทั ริยา ชมพทู ิศน์ ๖/๑ สาขาสถิติประยกุ ต์ คณ
๖/๑ สาขาภาษาองั กฤษและก
๒๒ นางสาวชลธิชา ฉวรี ัมย์ ๖/๑ สาขาการจดั การธุรกิจ ค
๖/๑ สาขาภาษาองั กฤษ คณะ
๒๓ นางสาวศุภรักษ์ สวนแกว้

๒๔ นางสาวสุทตั ตา อินทร์ขอ
๒๕ นางสาวรสสุคนธ์ ยวงรัมย์
๒๖ นางสาวองั คราภรณ์ พนารินทร์

๒๗ นางสาวอสมา สุขมะณี
๒๘ นายเจตสิทธ์ิ คาํ ศรี

27

าขาวชิ า คณะ มหาวทิ ยาลัย
คณะครุศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั บุรีรัมย์
คณะครุศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั บุรีรัมย์
ครุศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั บุรีรัมย์
ะครุศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั บุรีรัมย์
รุศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั บุรีรัมย์
ร์ คณะสาธารณสุขศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั อุบลราชธานี
รม วทิ ยาลยั เทคโนโลยภี าคตะวนั ออก (อีเทค)
รม วทิ ยาลยั เทคโนโลยภี าคตะวนั ออก (อีเทค)
าสตร์ มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั บุรีรัมย์
รัฐประศาสนศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั มหาสารคาม
วทิ ยาลยั เทคนิคบุรีรัมย์
ยาศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั มหาสารคาม
ดการอุตสาหกรรม คณะวทิ ยาสา มหาวทิ ยาลยั กรุงเทพสุวรรณภูมิ

นเทศ คณะวทิ ยาศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั บุรีรัมย์
ณะวทิ ยาศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั บุรีรัมย์
การสื่อสาร คณะศิลปศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั อุบลราชธานี
คณะบริหารธุรกิจ ปัญญาภิวฒั น์
ะศิลปศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั อุบลราชานี

ลาํ ดบั ที่ ชื่อ-สกลุ ช้ัน ส
๖/๒ สาขาเทคโนโลยสี ารส
๑ นายจิรศกั ด์ิ อาสินรัมย์
๖/๒ ภาษาองั กฤษ ศศ.บ
๒ นางสาววรรณนิษา เอติยตั ิ ๖/๒ วทิ ยการจดั การ สาขาส
๖/๒ การตลาด
๓ นางสาวสุภาวติ า เพราะทอง ๖/๒ การตลาด

๔ นางสาวชนนิกานต์ กระจางจิตร์ ๖/๒ นิเทศศาสตร์ (ศิลปะก
๖/๒ นิติศาสตร์
๕ นางสาววราพร เพช็ รกลา้ ๖/๒ ภาษาองั กฤษ (ศศ.บ)

๖ นางสาวอาทิตยา สุดเกษ ๖/๒ ศิลปกรรมศาสตร์และ
สาขาศิลปะแสดง
๗ นางสาวสุพรรษา ทะรารัมย์
๖/๒ วทิ ยาศาสตร์ สาขาวทิ
๘ นายณฐั พล ศรีพลงั ๖/๒ สาขาสถิติประยกุ ต์ คณ
๖/๒ นกั กีฬา
๙ นายธีรภทั ร สุนา
๖/๒ สาขาเศรษฐศาสตร์ ก
๑๐ นายยทุ ธการ พนู กลาง ๖/๒
๑๑ นางสาวพรวไิ ล ทิรอดรัมย์ ๖/๒ นกั พฒั นาซอฟแวร์คอ
๑๒ นายสุรชยั รอดทองพู
๑๓ นางสาวเจนจิรา โคมารัมย์ ๖/๒ เทคนิคยานยนต์
๑๔ นางสาววสิตา อุทนั ศรี ๖/๒ เทคนิคยานยนต์
๑๕ นายปรัชญา จาํ ปาทอง
๑๖ นายฤทธิเดช ไชยรินทร์
๑๗ นายธีระพงษ์ ปัจมะ

สาขาวชิ า คณะ 28
สนเทศ (ไอที)
ส่ือสารมวลชน มหาวทิ ยาลยั
มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั บุรีรัมย์
การแสดง) มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั บุรีรัมย์
มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั บุรีรัมย์
ะวฒั นธรรมศาสตร์ วทิ ยาลยั เทคโนโลยภี าคตะวนั ออก
ทยาการคอมพิวเตอร์ วทิ ยาลยั เทคโนโลยภี าคตะวนั ออก
ณะวทิ ยาศาสตร์บณั ฑิต มหาวทิ ยาลยั กรุงเทพ
การจดั การธุรกิจ มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั บุรีรัมย์
อมพวิ เตอร์ มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั บุรีรัมย์
มหาวทิ ยาลยั มหาสารคาม

มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั บุรีรัมย์
มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั บุรีรัมย์
สโมสรสกลนคร
มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั บุรีรัมย์
วทิ ยาลยั ชุมชนบุรีรัมย์
วทิ ยาลยั เทคนิคบุรีรัมย์
วทิ ยาลยั เทคนิคบุรีรัมย์
วทิ ยาลยั เทคนิคบุรีรัมย์

๑๘ นางสาวณฐั กานต์ ผสมศรี ๖/๒ วทิ ยาศาสตร์ สาขานว
๑๙ นายณฐั วฒุ ิ ชะรุงรัมย์ ๖/๒ วทิ ยาศาสตร์การกีฬา
๑ นางสาวราตรี บุลาลม
๒ นายชยั มงคล พชื ทองหลาง ๖/๓ วทิ ยาการจดั การ
๖/๓ โยธา

สรุปเดก็ ดมี ีท่เี รียนช้ันมธั ยมศึกษาปี ท่ี ๖ ประจาํ ปี การศึกษา ๒๕๖

นกั เรียนช้นั มธั ยมศึกษาปี ท่ี ๖/๑ จาํ นวน ๓๖ คน สอบตดิ ๒๘ คน
นกั เรียนช้นั มธั ยมศึกษาปี ที่ ๖/๒ จาํ นวน ๓๕ คน สอบตดิ ๑๙ คน
นกั เรียนช้นั มธั ยมศึกษาปี ที่ ๖/๓ จาํ นวน ๒๒ คน สอบตดิ ๓ คน
นกั เรียนท้งั หมด ๙๓ คน สอบตดิ ๕๐ คน
ร้อยละของนกั เรียนจบ ม.๖ คิดเป็นร้อยละ ๕๓.๗๖

29

วตั รรมส่ิงทอและการออกแบบ มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั บุรีรัมย์
มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั บุรีรัมย์
มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั บุรีรัมย์
มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั บุรีรัมย์

๖๓





30

รางวลั ของสถานศึกษา

รางวัล รายการรางวลั /ปก ารศึกษา/หนว ยงาน ระดบั รางวลั
๑. สถานศกึ ษา ๑. รางวัลชมเชย โครงการประกวดการ  ระดบั ประเทศ/สากล
๒. ผูบริหาร ตอตา นการทุจริตผานศิลปะการแสดงพื้นบานประจําป 2563  ระดบั ภาค
สถานศกึ ษา ชงิ ถวยพระราชทาน สมเดจ็ พระกนษิ ฐาธิราชเจากรมสมเด็จ  ระดับจังหวัด/เขตพ้ืนท่ี
พระเทพรตั นราชสุดาฯสยามบรมราชกุมารี จดั โดยมลู นิธติ อตา น  ระดับสหวทิ ยาเขต
การทจุ ริต กระทรวงวฒั นธรรม  ระดบั ประเทศ/สากล
๒. เกียรติบัตรเขารว มการแขง ขัน To be number  ระดบั ภาค
one Teen Dancercise 2021 ระดบั ภาคตะวนั ออกเฉียงเหนือ  ระดับจงั หวัด/เขตพน้ื ที่
รุน TEENAGE จัดโดยกระทรวงสาธารณสขุ  ระดบั สหวิทยาเขต
๑. เลขานุการคณะกรรมการสถานศึกษาขนั้ พ้นื ฐาน
ดเี ดน จัดโดยกระทรวงศึกษาธกิ าร
๒. ผูบ ริหารสถานศึกษาท่ีมผี ลงานดเี ดน กลุมเครอื ขา ย
เฉลิมพระเกยี รตริ ัชมังคลาภเิ ษก ประจาํ ป ๒๕๖๓ จดั โดยกลุม
เครอื ขายโรงเรยี นเฉลิมพระเกียรติรชั มงั คลาภิเษก

๓. ครูผูสอน ๑. นางวาสนาไทยวิเศษสัตย ไดร บั รางวลั เกยี รตบิ ัตร  ระดบั ประเทศ/สากล
๔. นักเรียน รองชนะเลิศอันดับ 1 ระดับเหรียญทอง การประกวด Best  ระดับภาค
practice “เปด บานรชั มังคลาภเิ ษก ปการศึกษา 2562 สบื สาน  ระดับจังหวดั /เขตพน้ื ท่ี
พระปณธิ านหลักปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียง สูการพัฒนา  ระดับสหวทิ ยาเขต
การศกึ ษาตามยทุ ธศาสตรช าติ 20 ป จดั โดยกลมุ โรงเรียนเฉลิม  ระดบั ประเทศ/สากล
พระเกยี รติรชั มงั คลาภเิ ษก  ระดับภาค
 ระดบั จงั หวดั /เขตพ้ืนท่ี
๑. นักเรียนเขารวมโครงการมหิงสาสายสบื  ระดับสหวิทยาเขต
กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและส่งิ แวดลอ ม ประจาํ ป
2562

๒. นักเรียนเขาแขงขนั ทักษะวิชาการระดบั ชาตแิ ละ
ไดร บั รางวลั เหรยี ญทอง จดั โดยกระทรวงศึกษาธกิ าร

31

ส่วนท่ี ๓
ผลการประเมินตามมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา ระดับการศึกษาข้ันพืน้ ฐาน

มาตรฐานที่ ๑ คุณภาพผู้เรียน

๑. ระดบั คุณภาพ ดีเลศิ
๒. วธิ ีการพฒั นา/กระบวนการ ข้อมูล หลกั ฐาน เอกสารเชิงประจักษ์ ทส่ี นับสนุนผลการประเมนิ

ตนเอง
๒.๑ วธิ ีการพฒั นา/กระบวนการ (แสดงให้เห็นถึงความน่าเชื่อถือ เป็ นระบบ มีประสิทธิภาพ)

โรงเรียนรมยบ์ ุรีพทิ ยาคม รัชมงั คลาภิเษกส่งเสริมใหค้ รูจดั กระบวนการเรียนการสอนที่เนน้ ผเู้ รียน
เป็นสาํ คญั โดยการดาํ เนินงาน/กิจกรรมอยา่ งหลากหลาย ไดแ้ ก่ งานหลกั สูตรมีการประชุมปฏิบตั ิการ
ปรับปรุงหลกั สูตรสถานศึกษา ตามมาตรฐานการเรียนรู้และตวั ช้ีวดั เพื่อใหค้ รูใชเ้ ป็นกรอบในการจดั การ
เรียนการสอน การพฒั นาผูเ้ รียน ส่งเสริม สนบั สนุนใหผ้ เู้ รียนบรรลุตามเป้าหมายที่วา่ “การจดั การศึกษาตอ้ ง
เป็นไปเพื่อพฒั นาคนไทยใหเ้ ป็นมนุษยท์ ่ีสมบูรณ์ท้งั ร่างกาย จิตใจ สติปัญญา ความรู้ และคุณธรรม
จริยธรรม และวฒั นธรรมในการดาํ รงชีวติ สามารถอยรู่ ่วมกบั ผอู้ ื่นไดอ้ ยา่ งมีความสุข ซ่ึงสอดรับกบั
จุดมุง่ หมายของหลกั สูตรแกนกลางการศึกษาข้นั พ้ืนฐาน พุทธศกั ราช ๒๕๕๑ ท่ีไดม้ ุ่งพฒั นาใหผ้ เู้ รียนเป็ น
คนดี มีปัญญา มีความสุข ดงั น้นั โรงเรียนรมยบ์ ุรีพทิ ยาคม รัชมงั คลาภิเษก จึงกาํ หนดมาตรฐานการศึกษาดา้ น
คุณภาพผเู้ รียนจาํ นวน ๒ ดา้ น ไดแ้ ก่ ๑) ดา้ นผลสัมฤทธ์ิทางการเรียน ๒) ดา้ นคุณลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์
ของผเู้ รียน ดา้ นผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนมุง่ เนน้ ใหน้ กั เรียนมีความสามารถในการอา่ น การเขียน การส่ือสาร
การคิดคาํ นวณ รวมท้งั การมีผลสมั ฤทธ์ิทางการเรียนตามหลกั สูตรสถานศึกษา มีความสามารถในการ
วเิ คราะห์ คิดอยา่ งมีวจิ ารณญาณ มีความสามารถในการสร้างนวตั กรรม การใชเ้ ทคโนโลยสี ารสนเทศ การ
ส่ือสาร และการมีความรู้ ทกั ษะพ้นื ฐาน เจตคติที่ดีตอ่ งานอาชีพ สาํ หรับดา้ นคุณลกั ษณะอนั พงึ ประสงคข์ อง
ผเู้ รียนมุ่งเนน้ ให้ผเู้ รียนมีคุณลกั ษณะและคา่ นิยมท่ีดีตามที่สถานศึกษากาํ หนด และ มีสุขภาวะทางร่างกาย
และสังคม ความภูมิใจในทอ้ งถ่ิน และความเป็นไทยการยอมรับท่ีจะอยรู่ ่วมกนั บนความแตกตา่ งและ
หลากหลาย

สถานศึกษามีกระบวนการพฒั นาผเู้ รียนดว้ ยวธิ ีการท่ีหลากหลาย ครูจดั การเรียนรู้ใหเ้ ป็นไปตาม
ศกั ยภาพของผเู้ รียน และเป็นไปตามมาตรฐานและตวั ช้ีวดั ของหลกั สูตรมีการออกแบบการจดั การเรียนรู้ท่ี
เหมาะสมกบั ผเู้ รียน โดยมีการจดั การเรียนรู้ท้งั รูปแบบการระดมสมอง แบบลงมือปฏิบตั ิจริง แบบร่วมมือกนั
เรียนรู้ แบบใชก้ ระบวนการคิด กระบวนการใชป้ ัญหาเป็ นหลกั และเนน้ เร่ืองการอ่านออกของผเู้ รียนเป็น
เร่ืองสาํ คญั ท่ีสุด โดยมุง่ พฒั นาใหผ้ เู้ รียนทุกคนอ่านออกและเขียนไดต้ ้งั แต่ระดบั ช้นั ม. ๑ พฒั นาครูทุกคน

32

ใหม้ ีความสามารถในการนาํ เทคนิควธิ ีสอนใหต้ รงตามศกั ยภาพผเู้ รียน ใชส้ ่ือเทคโนโลยใี นการจดั การเรียน
การสอน มีแหล่งเรียนรู้และแหล่งสืบคน้ ขอ้ มูล ไดแ้ ก่ หอ้ งสมุด ครูในสายช้นั เดียวกนั ร่วมกนั กาํ หนด
แผนการจดั การเรียนรู้ การวดั และประเมินผลแบบบูรณาการ ครูเนน้ การใชค้ าํ ถามเพ่อื พฒั นาทกั ษะการคิด
ของผเู้ รียน นอกจากน้ี สถานศึกษาไดม้ ีการดาํ เนินการเพ่ือพฒั นาทกั ษะชีวติ ของผเู้ รียน เพ่อื ใหอ้ ยใู่ นสงั คม
ไดอ้ ยา่ งมีความสุข เนน้ การพฒั นาดา้ นคุณธรรม จริยธรรม ท่ีเหมาะสมกบั วยั ของผเู้ รียน โดยการจดั คา่ ย
คุณธรรมกบั นกั เรียนทุกระดบั ช้นั จดั กิจกรรมการพฒั นาใหเ้ หมาะสมกบั วยั เนน้ ใหผ้ เู้ รียนมีวนิ ยั ซ่ือสตั ย์
รับผดิ ชอบ และมีจิตสาธารณะ มีระบบการแนะแนวและการดูแลสุขภาวะจิต นาํ ภูมิปัญญาทอ้ งถ่ินมาร่วมกนั
วางแผนการจดั การเรียน

๒.๒ ข้อมูล หลกั ฐาน เอกสารเชิงประจักษ์ ทส่ี นับสนุนผลการประเมินตนเอง
ประเดน็ ภาพความสาํ เร็จดา้ นคุณภาพผูเ้ รียนท่ีสนบั สนุนผลการประเมินตนเอง โรงเรียนไดด้ าํ เนิน
โครงการยกระดบั ผลสมั ฤทธ์ิทางการเรียนในทุกกลุ่มสาระการเรียนรู้ โครงการเฝ้าระวงั ๐ ร มส. โครงการ
หอ้ งเรียนพิเศษ MEP โครงการโรงเรียนมาตรฐานสากล โครงการพฒั นางานห้องสมุดและส่งเสริมนิสยั รัก
การอา่ น โครงการบูรณาการการจดั การเรียนการสอนในศตวรรษท่ี ๒๑ โครงการพฒั นาการเรียนรู้ปรัชญา
เศรษฐกิจพอเพยี ง โครงการแขง่ ขนั ทกั ษะความเป็นเลิศ โครงการพฒั นางานแนะแนว โครงการพฒั นา
ระบบงานดูแลช่วยเหลือนกั เรียน โครงการเยย่ี มบา้ นนกั เรียน โครงการสถานศึกษาสีขาวปลอดยาเสพติด
และอบายมุข โครงการส่งเสริมคุณธรรมจริยธรรมนกั เรียน โครงการโรงเรียนสุจริต โครงการส่งเสริม
ประชาธิปไตยในโรงเรียน โครงการโรงเรียนวถิ ีพทุ ธ โครงการพฒั นาประสิทธิภาพการดาํ เนินงานโรงเรียน
ธนาคารรมยบ์ ุรีพิทยาคม และโครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมนกั เรียน และกิจกรรมเกี่ยวเนื่องกบั วนั สาํ คญั

๓. จุดเด่น จุดทคี่ วรพฒั นา

จุดเด่น จุดทค่ี วรพฒั นา

สถานศึกษามีการวเิ คราะห์ผลสมั ฤทธ์ิ การจดั กิจกรรมที่มุง่ เนน้ ยกระดบั

ทางการเรียนและไดก้ าํ หนดเป็นเป้าหมายทางการ ผลสมั ฤทธ์ิ ยงั ขาดการปฏิบตั ทิ ่ีตอ่ เน่ือง การ

เรียนโดยใชข้ อ้ มูลฐาน ๓ ปี ยอ้ นหลงั เป็ นเป้าหมาย ยกระดบั ผลสมั ฤทธ์ิแต่ละกลุม่ สาระประสบ

คุณภาพนกั เรียนใหพ้ ฒั นาสูงข้ึน จดั กิจกรรมการ ผลสาํ เร็จในระดบั หน่ึง นกั เรียนส่วนใหญ่ยงั ตอ้ ง

เรียนการสอนเนน้ การปฏิบตั ิ เนน้ ทกั ษะในการอา่ น ไดร้ ับการพฒั นาต่อไป ผลสัมฤทธ์ิระดบั ชาติของ

การเขียน และการคิดคาํ นวณ ส่งเสริมผเู้ รียนให้ นกั เรียนมีแนวโนม้ เปล่ียนแปลงพฒั นาข้ึนโดยรวม

พฒั นาเตม็ ศกั ยภาพ มีการจดั แหล่งเรียนรู้ภายในได้

33

อยา่ งเหมาะสม มีส่ือดา้ นเทคโนโลยที ่ีทนั สมยั แตไ่ มผ่ า่ นเกณฑใ์ นบางกลุ่มสาระการเรียนรู้ จึงตอ้ ง
ผเู้ รียนมี สุขภาพกาย สุขภาพจิต ดี กลา้ แสดงออก มุง่ เนน้ พฒั นาต่อไป

จดั กิจกรรมดา้ นการอา่ น การเขียน คาํ นวณใหก้ บั
นกั เรียน เปรียบเทียบความกา้ วหนา้ และการพฒั นา

แผนการจัดการพฒั นาคุณภาพเพ่ือยกระดบั คุณภาพมาตรฐานให้สูงขนึ้
๑) พฒั นาใหน้ กั เรียนมีทกั ษะในการอ่าน การเขียน การส่ือสาร และการคิดคาํ นวณเป็นไปตามเกณฑ์

ที่โรงเรียนกาํ หนดในแตร่ ะดบั ช้นั
๒) พฒั นาใหน้ กั เรียนมีความสามารถในการคิดจาํ แนก แยกแยะ ใคร่ครวญไตร่ตรอง พิจารณาอยา่ ง

รอบคอบโดยใชเ้ หตุผลประกอบการตดั สินใจ มีการอภิปรายแลกเปล่ียนความคิดเห็น และแกป้ ัญหาอยา่ งมี

เหตุผล

๓) พฒั นาใหน้ กั เรียนมีความสามารถในการรวบรวมความรู้ไดท้ ้งั ดว้ ยตนเองและการทาํ งานเป็นทีม
เช่ือมโยงองคค์ วามรู้ และประสบการณ์มาใชใ้ นการสร้างสรรคส์ ่ิงใหม่ ๆ

๔) พฒั นาใหน้ กั เรียน มีความสามารถในการใชเ้ ทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเพอื่ พฒั นา
ตนเอง และสงั คมในดา้ นการเรียนรู้ การส่ือสาร การทาํ งาน อยา่ งสร้างสรรค์ และมีคุณธรรม

๕) พฒั นาให้นกั เรียน มีความกา้ วหนา้ ในการเรียนรู้ตามหลกั สูตรสถานศึกษาจากพ้นื ฐานเดิมในดา้ น
ความรู้ ความเขา้ ใจ ทกั ษะ กระบวนการต่าง ๆ รวมท้งั

๖) พฒั นาใหน้ กั เรียนมีความกา้ วหนา้ ในผลการทดสอบระดบั ชาติ มีความรู้ ทกั ษะพ้นื ฐานในการ
จดั การเจตคติที่ดีพร้อมท่ีจะศึกษาตอ่ ในระดบั ช้นั ที่สูงข้ึน มีพฤติกรรมเป็ นผทู้ ่ีมีคุณธรรม จริยธรรม เคารพ
ในกฎกติกา

๗) พฒั นาใหน้ กั เรียนมีค่านิยมและจิตสาํ นึกตามที่สถานศึกษามีความภูมิใจในทอ้ งถ่ิน เห็นคุณคา่
ของความเป็ นไทย มีส่วนร่วมในการอนุรักษว์ ฒั นธรรมประเพณีไทยรวมท้งั ภูมิปัญญาไทย

๘) พฒั นาใหน้ กั เรียน มีการรักษาสุขภาพกาย สุขภาพจิต อารมณ์ และสงั คม แสดงออกอยา่ ง

เหมาะสมในแต่ละช่วงวยั

34

มาตรฐานที่ ๒ กระบวนการบริหารและการจัดการ

๑ ระดบั คุณภาพ ดเี ลศิ
๒ วธิ ีการพฒั นา/กระบวนการ ขอ้ มูล หลกั ฐาน เอกสารเชิงประจกั ษ์ ท่ีสนบั สนุนการประเมินตนเอง

๒.๑ วธิ ีการพฒั นา/กระบวนการ

การดาํ เนินการวเิ คราะห์สภาพปัญหา ผลการจดั การศึกษาที่ผา่ นมา โดยใชข้ อ้ มูลฐานในการ
กาํ หนดเป้าหมายวสิ ัยทศั น์และพนั ธกิจอยา่ งชดั เจน ในดาํ เนินการพฒั นาวชิ าการที่เนน้ คุณภาพผเู้ รียนรอบ
ดา้ น ตามหลกั สูตรสถานศึกษาทุกกลุ่มเป้าหมาย เชื่อมโยงกบั ชีวติ จริง จดั ทาํ แผนพฒั นา คุณภาพจดั การ
ศึกษา ดาํ เนินงานพฒั นาครูและบุคลากรใหม้ ีความเชี่ยวชาญ ทางดา้ นวชิ าชีพ ตามความตอ้ งการของครูและ
สถานศึกษา จดั สภาพแวดลอ้ มทางกายภาพและสงั คมที่เอ้ือตอ่ การจดั การเรียนรู้อยา่ งมีคุณภาพ และ
จดั ระบบเทคโนโลยสี ารสนเทศ เพ่อื สนบั สนุนการบริหารจดั การและการเรียนรู้ที่เหมาะสมกบั สภาพของ
โรงเรียน โรงเรียนไดด้ าํ เนินการวเิ คราะห์สภาพปัญหา ผลการจดั การศึกษาท่ีผา่ นมา โดยการศึกษา
ขอ้ มูล สารสนเทศจากผลการนิเทศ ติดตาม ประเมิน การจดั การศึกษาตามนโยบายการ
ปฏิรูปการศึกษา และจดั ประชุมระดมความคิดเห็น จากบุคลากรในสถานศึกษาเพอ่ื วางแผนร่วมกนั ในการ
กาํ หนดเป้าหมายปรับวสิ ยั ทศั น์ กาํ หนดพนั ธกิจ กลยทุ ธ์ ในการจดั การศึกษาของสถานศึกษา เพอื่ พฒั นา
คุณภาพผเู้ รียน มีการปรับแผนพฒั นาคุณภาพจดั การศึกษา แผนปฏิบตั ิการประจาํ ปี ท่ีสอดคลอ้ งกบั สภาพ
ปัญหา ความตอ้ งการพฒั นาและนโยบายการปฏิรูปการศึกษา พร้อมท้งั จดั หาทรัพยากร จดั สรรงบประมาณ
มอบหมายงานใหผ้ ูร้ ับผดิ ชอบดาํ เนินการพฒั นาตามแผนงานเพือ่ ใหบ้ รรลุเป้าหมายท่ีกาํ หนดไวม้ ีการ
ดาํ เนินการนิเทศ กาํ กบั ติดตาม ประเมิน ผลการดาํ เนินงานและจดั ทาํ รายงานผลการจดั การศึกษา

๒.๒ ขอ้ มูล หลกั ฐาน เอกสารเชิงประจกั ษ์ ท่ีสนบั สนุนการประเมินตนเอง

โรงเรียนมีเป้าหมายวสิ ัยทศั น์ และพนั ธกิจที่โรงเรียนกาํ หนดชดั เจน สอดคลอ้ งกบั บริบทของ
โรงเรียน ความตอ้ งการของชุมชน มีระบบการบริหารจดั การคุณภาพอยา่ งเป็ นระบบ วางแผนพฒั นา
คุณภาพการจดั การศึกษาโดยนาํ แผนไปปฏิบตั ิ ติดตาม ตรวจสอบ ประเมินผล และปรับปรุง พฒั นางาน
อยา่ งต่อเน่ือง มีการบริหารอตั รากาํ ลงั ทรัพยากรทางการศึกษา และระบบดูแลช่วยเหลือนกั เรียน มีการ
นิเทศภายใน นาํ ขอ้ มูลมาใชใ้ นการพฒั นาบุคลากร และผเู้ ก่ียวขอ้ งทุกฝ่ ายมีส่วนในการวางแผน ปรับปรุง
พฒั นาและร่วมกนั รับผดิ ชอบตอ่ การจดั การศึกษา มีการบริหารจดั การเกี่ยวกบั งานวชิ าการ รวมถึงการจดั การ
เรียนการสอนของกลุ่มเรียนร่วมดว้ ย มีการส่งเสริมสนบั สนุนพฒั นาครูและบุคลากรตรงตามความตอ้ งการ
และจดั ใหม้ ีชุมชนการเรียนรู้ทางวชิ าชีพ มาใชใ้ นการพฒั นางานและการเรียนรู้ของผูเ้ รียน

35

จดั สภาพแวดลอ้ มทางกายภาพ ภายในและภายนอกหอ้ งเรียน และสภาพแวดลอ้ มทางสังคมที่เอ้ือต่อ
การจดั การเรียนรู้ของผเู้ รียนท่ีมีคุณภาพ มีความปลอดภยั จดั ระบบเทคโนโลยสี ารสนเทศ สนบั สนุนการบริหาร
จดั การ และการจดั การเรียนรู้ที่เหมาะสมกบั สภาพของโรงเรียน พฒั นาบริการดา้ นเทคโนโลยี สารสนเทศ
มีหอ้ งปฏิบตั ิการคอมพิวเตอร์เพ่ือใชใ้ นการบริหารจดั การและการจดั การเรียนรู้อยา่ งเหมาะสม

๓. จุดเด่น จุดทคี่ วรพฒั นา แผนการพฒั นาคุณภาพเพื่อยกระดบั คุณภาพมาตรฐานให้สูงขึน้
จุดเด่น จุดทคี่ วรพฒั นา

๑. สถานศึกษามีการกาํ หนดเป้าหมาย ๑. เปิ ดโอกาสใหผ้ ปู้ กครองไดม้ ีส่วนร่วมในการ

วสิ ัยทศั น์ และพนั ธกิจสอดคลอ้ งกบั สภาพปัญหาความ เสนอความคิดเห็นในการจดั การศึกษาเพื่อพฒั นา
ตอ้ งการพฒั นาของสถานศึกษา นโยบายการปฏิรูป ผเู้ รียน

การศึกษาความตอ้ งการของชุมชน ทอ้ งถิ่น และ ๒.สร้างเครือขา่ ยความร่วมมือของผมู้ ีส่วน

สอดคลอ้ งกบั แนวทางการปฏิรูปตามแผนการศึกษาชาติ เก่ียวขอ้ งในการจดั การศึกษาของโรงเรียนใหม้ ี

๒. แผนพฒั นาคุณภาพการจดั การศึกษา แผนปฏิบตั ิการ ความ

ประจาํ ปี สอดคลอ้ งกบั การพฒั นาผเู้ รียนทุกกลุ่มเป้าหมาย เขม้ แขง็ มีส่วนร่วมรับผดิ ชอบต่อผลการจดั

มีการพฒั นาครูและบุคลากรทางการศึกษาใหม้ ีความรู้ การศึกษา และการขบั เคล่ือนคุณภาพการจดั

ความเช่ียวชาญตามมาตรฐานตาํ แหน่ง ขอ้ มูลสารสนเทศ การศึกษา

มีความถูกตอ้ ง ครบถว้ น ทนั สมยั นาํ ไปประยกุ ตใ์ ชไ้ ด้ มี

การดาํ เนิน การอยา่ งเป็นระบบ และมีกิจกรรมจดั

สภาพแวดลอ้ มทางกายภาพและสังคมที่กระตุน้ ผเู้ รียนให้
ใฝ่ เรียนรู้

๓.สถานศึกษามีการปรับแผนพฒั นาคุณภาพการจดั
การศึกษา แผนปฏิบตั ิการประจาํ ปี ใหส้ อดคลอ้ งกบั
สภาพปัญหา ความตอ้ งการพฒั นา และนโยบายการ
ปฏิรูปการศึกษา โดยผมู้ ีส่วนไดเ้ สียมีส่วนร่วมในการ
พฒั นาและร่วมรับผดิ ชอบ

๔. มีระบบประกนั คุณภาพการศึกษา และเครือขา่ ยการ
พฒั นาคุณภาพสถานศึกษามีส่วนร่วมในการร่วมวางแผน

36

พฒั นาคุณภาพการศึกษา และรับทราบรับผดิ ชอบต่อผล
การจดั การศึกษา

๕. สถานศึกษามีการนิเทศ กาํ กบั ติดตาม และ
ประเมินผลการบริหารและการจดั การศึกษาท่ีเหมาะสม
เป็ นระบบและต่อเนื่อง

เปิ ดโอกาสใหผ้ เู้ ก่ียวขอ้ งมีส่วนร่วมในการ

จดั การศึกษา

๖. สถานศึกษามีรูปแบบการบริหารและ การจดั การเชิง
ระบบโดยทุกฝ่ ายมีส่วนร่วม ยดึ หลกั

ธรรมาภิบาลและแนวคิดหลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจ
พอเพยี ง โดยมุง่ พฒั นาผเู้ รียนตามแนวทางการปฏิรูป
การศึกษา

๗. สถานศึกษามีการระดมทรัพยากรเพ่อื การพฒั นา
คุณภาพการศึกษาจากเครือขา่ ยอุปถมั ภ์ ส่งผลให้
สถานศึกษามีส่ือ และแหล่งเรียนรู้ท่ีมีคุณภาพ

แผนการจัดการพฒั นาคุณภาพแผนการจัดการพฒั นาคุณภาพเพื่อยกระดบั คุณภาพมาตรฐานให้สูงขึน้

๑) โรงเรียนมีการบริหารและการจดั การอยา่ งเป็นระบบมีความคล่องตวั และมีระบบประกนั คุณภาพ
การศึกษาสามารถตอบและลดทุกปัญหาของระบบการศึกษา

๒) โรงเรียนไดใ้ ชเ้ ทคนิคการประชุมที่หลากหลายวธิ ี เช่น การประชุมแบบมีส่วนร่วม การประชุมระดม
สมอง การประชุมกลุ่ม เพ่ือใหท้ ุกฝ่ ายมีส่วนร่วมในการกาํ หนดวสิ ยั ทศั น์ พนั ธกิจ เป้าหมาย ที่ชดั เจน มีการ
ปรับแผนพฒั นาคุณภาพการจดั การศึกษา

๓) จดั ทาํ แผนปฏิบตั ิการประจาํ ปี โดยเนน้ ความสอดคลอ้ งกบั ผลการจดั การศึกษา สภาพปัญหา ความ
ตอ้ งการพฒั นา และนโยบายของรัฐบาล ที่มุง่ เนน้ การพฒั นาใหผ้ เู้ รียนมีคุณภาพตามมาตรฐานการเรียนรู้ตาม
หลกั สูตรสถานศึกษา

37

มาตรฐานท่ี ๓ กระบวนการจัดการเรียนการสอนทเี่ น้นผู้เรียนเป็ นสําคัญ

๑. ระดับคุณภาพ ดีเลศิ
๒. วธิ ีการพฒั นา/กระบวนการ ข้อมูล หลกั ฐาน เอกสารเชิงประจักษ์ ทสี่ นับสนุนผลการประเมินตนเอง

๒.๑ วธิ ีการพฒั นา/กระบวนการ

โรงเรียนรมยบ์ ุรีพทิ ยาคม รัชมงั คลาภิเษกได้ ดาํ เนินการส่งเสริมใหค้ รูจดั การเรียนการสอนที่เนน้
ผเู้ รียนเป็นสาํ คญั โดยการดาํ เนินงาน กิจกรรมอยา่ งหลากหลาย ไดแ้ ก่ งานหลกั สูตรมีการประชุมปฏิบตั ิการ
ปรับปรุงหลกั สูตรสถานศึกษา พฒั นาสู่ประชาคมอาเซียนและมาตรฐานสากล มีการบูรณาการภาระงาน
ชิ้นงาน โดย ทุกระดบั ช้นั จดั ทาํ หน่วยบูรณาการเศรษฐกิจพอเพยี ง ปรับโครงสร้างรายวชิ า หน่วยการเรียนรู้
ลดเวลาเรียน เพิม่ เวลารู้ กาํ หนดคุณลกั ษณะอนั พงึ ประสงคท์ ่ีสอดคลอ้ งกบั หน่วยการเรียนรู้ สนบั สนุนใหค้ รู
จดั การเรียนการสอนท่ีสร้างโอกาสใหน้ กั เรียนทุกคนมีส่วนร่วม ไดล้ งมือปฏิบตั ิจริงจนสรุปความรู้ไดด้ ว้ ย
ตนเอง จดั การเรียนการสอนที่เนน้ ทกั ษะการคิด เช่น จดั การเรียนรู้ดว้ ยโครงงาน ครูมีการมอบหมายหนา้ ท่ี
ใหน้ กั เรียนจดั ป้ายนิเทศ และบรรยากาศตามสถานท่ี ตา่ ง ๆท้งั ภายในหอ้ งเรียนและนอกหอ้ งเรียน ครูใชส้ ่ือ
การเรียนการสอน นวตั กรรมและเทคโนโลยี ภูมิปัญญาทอ้ งถิ่น มีการประเมินคุณภาพและประสิทธิภาพของ
ส่ือการสอนที่ใช้ ครูทุกคนทางานวจิ ยั ในช้นั เรียนปี การศึกษาละ ๑ เรื่อง และไดร้ ับการตรวจใหค้ าํ แนะนาํ โดย
ผบู้ ริหารสถานศึกษาทุกภาคเรียน

๒.๒ ข้อมูล หลกั ฐาน เอกสารเชิงประจักษ์ ทสี่ นับสนุนผลการประเมินตนเอง
ประเด็นภาพความสาํ เร็จดา้ นคุณภาพผเู้ รียนท่ีสนบั สนุนผลการประเมินตนเอง โรงเรียนไดด้ าํ เนิน

โครงการพฒั นาระบบบริหารงานวชิ าการ โครงการพฒั นาการเรียนรู้ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพยี ง โครงการ
พฒั นาหลกั สูตรสถานศึกษา โครงการบูรณาการการจดั การเรียนการสอนในศตวรรษที่ ๒๑ โครงการพฒั นา
ความสามารถดา้ นนาฏศิลป์ ทศั นศิลป์ โครงการนิทรรศการสานฝันงานอาชีพ โครงการอบรมครูเพ่อื
พฒั นาการเรียนการสอน โครงการ English camp โครงการหอ้ งเรียนรู้ภูมิปัญญาทอ้ งถิ่น โครงการคลินิก
คณิตศาสตร์ โครงการส่งเสริมความเป็นเลิศทางทกั ษะภาษาไทย โครงการสวนพฤกษศาสตร์โรงเรียน
โครงการพฒั นาระบบบริหารงานวชิ าการ โครงการพฒั นาการเรียนรู้ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพยี ง โครงการ
พฒั นาหลกั สูตรสถานศึกษา โครงการบูรณาการการจดั การเรียนการสอนในศตวรรษท่ี ๒๑ โครงการพฒั นา
ความสามารถดา้ นนาฏศิลป์ ทศั นศิลป์ โครงการนิทรรศการสานฝันงานอาชีพ โครงการอบรมครูเพ่ือ
พฒั นาการเรียนการสอน โครงการ English camp โครงการหอ้ งเรียนรู้ภูมิปัญญาทอ้ งถิ่น โครงการคลินิก
คณิตศาสตร์ โครงการส่งเสริมความเป็นเลิศทางทกั ษะภาษาไทย โครงการสวนพฤกษศาสตร์โรงเรียน

38

๓. จุดเด่น จุดทค่ี วรพฒั นา แผนการพฒั นาคุณภาพเพ่ือยกระดับคุณภาพมาตรฐานให้สูงขึน้

จุดเด่น จุดทค่ี วรพฒั นา

๑. ครูต้งั ใจ มุ่งมน่ั ในการพฒั นาการสอน ๑. ควรนาํ ภูมิปัญญาทอ้ งถ่ินใหเ้ ขา้ มามีส่วนร่วมใน
การจดั กิจกรรมใหน้ กั เรียนได้
๒. ครูจดั กิจกรรมใหน้ กั เรียนแสวงหาความรู้จาก
ส่ือเทคโนโลยดี ว้ ยตนเองอยา่ งต่อเน่ือง เรียนรู้

๓. นกั เรียนมีส่วนร่วมในการจดั บรรยากาศ ๒. ควรใหข้ อ้ มูลยอ้ นกลบั แก่นกั เรียนทนั ทีเพอ่ื
สภาพแวดลอ้ มที่เอ้ือต่อการเรียนรู้ นกั เรียนนาไปใชพ้ ฒั นาตนเอง

๔. ครูจดั กิจกรรมใหน้ กั เรียนเรียนรู้โดยการคิด ได้ ๓. ควรมีการวางแผนร่วมกนั อยา่ งต่อเน่ืองในการ

ปฏิบตั ิจริงดว้ ยวธิ ีการและแหล่งเรียนรู้ที่หลากหลาย เพิม่ ผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนสูงข้ึน และเพม่ิ คะแนน

๕. งานวจิ ยั และพฒั นาของโรงเรียน ไดต้ รวจ O –NET ใหส้ ูงข้ึนเทียบเท่าคะแนนคา่ เฉล่ียของ
ประเมินผลงานวิจยั ในช้นั เรียนของครู ระดบั ประเทศทุกรายวชิ า

ทุกคน พร้อมท้งั ใหค้ าแนะนาท่ีครูสามารถพฒั นา
ต่อยอดไดเ้ ป็ นอยา่ งดีประโยชนใ์ นการพฒั นา
คุณภาพการศึกษา การดาํ เนินงานประกนั คุณภาพ
ภายในของโรงเรียนเนน้ การมีส่วนร่วม ดาํ เนินการ
ในรูปของคณะกรรมการสร้างวฒั นธรรมการ
ประกนั คุณภาพภายในของสถานศึกษาใหก้ บั บุคคล
ที่เก่ียวขอ้ งทุกระดบั

39

แผนการจัดการพฒั นาคุณภาพเพื่อยกระดับคุณภาพมาตรฐานให้สูงขึน้
๑) พฒั นาการเรียนการสอนดว้ ยโครงงานใหม้ ีความครอบคลุมในทุกรายวชิ า
๒) เพิม่ ผลสมั ฤทธ์ิทางการเรียนสูงข้ึน และเพม่ิ คะแนน O –NET ใหส้ ูงข้ึนเทียบเทา่ คะแนนคา่ เฉล่ียของ
ระดบั ประเทศทุกรายวชิ า
๓) ครูมีงานวิจยั ในช้นั เรียนท่ีมีความสอดคลอ้ งกบั สภาพบริบทของสถานศึกษาและสภาพจริงของ
ผเู้ รียน เพอ่ื ใชใ้ นการพฒั นาการจดั การศึกษาต่อไป

สรุปคุณภาพมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา
๑. ระดบั คุณภาพ ดีเลศิ
๒. วธิ ีการพฒั นา/กระบวนการ ข้อมูล หลกั ฐาน เอกสารเชิงประจักษ์ ทสี่ นับสนุนผลการประเมินตนเอง

๒.๑ วธิ ีการพฒั นา/กระบวนการ
จากผลการดาํ เนินงาน โครงการ และกิจกรรมต่างๆ ส่งผลใหส้ ถานศึกษาจดั การพฒั นาคุณภาพ

การศึกษาประสบผลสาํ เร็จตามท่ีต้งั เป้าหมายไวใ้ นแต่ละมาตรฐาน จากผลการประเมินสรุปวา่ ไดร้ ะดบั ดี
มาตรฐานท่ี ๑ ดา้ นคุณภาพผเู้ รียน อยใู่ นระดบั ดี มาตรฐานท่ี ๒ กระบวนการบริหารและการจดั การ อยใู่ น
ระดบั ดี มาตรฐานท่ี ๓ กระบวนการจดั การเรียนการสอนท่ีเนน้ ผเู้ รียนเป็นสาํ คญั อยใู่ นระดบั ดี ท้งั น้ี
สถานศึกษามีการจดั กิจกรรมพฒั นาคุณภาพผเู้ รียนอยา่ งหลากหลายท่ีเป็นไปตามปัญหา
และความตอ้ งการพฒั นาตามสภาพของผเู้ รียน สอดคลอ้ งกบั จุดเนน้ ของสถานศึกษาและสภาพของชุมชน
ทอ้ งถ่ิน จนมีผลการพฒั นาคุณภาพของผเู้ รียนอยใู่ นระดบั ดี ผเู้ รียนมีความสามารถในการอา่ นและเขียน
การสื่อสารท้งั ภาษาไทยและภาษาองั กฤษ ความสามารถในการคิดคาํ นวณ การใชเ้ ทคโนโลยสี ารสนเทศ
และการสื่อสารไดด้ ี และมีความประพฤติดา้ นคุณธรรมจริยธรรม คา่ นิยม และคุณลกั ษณะตามที่สถานศึกษา
กาํ หนดปรากฏอยา่ งชดั เจน ดงั ท่ีปรากฏผลประเมินในมาตรฐานท่ี ๑ ส่วนในดา้ นกระบวนการบริหารจดั การ
ของผบู้ ริหารสถานศึกษามีผลประเมินในรายมาตรฐานอยใู่ นระดบั ดี สถานศึกษามีการวางแผนออกแบบ
กิจกรรมและดาเนินงานตามแผนที่เกิดจากการมีส่วนร่วมใชผ้ ลการประเมิน/การดาเนินงานที่ผา่ นมาเป็นฐาน
ในการพฒั นา และสอดคลอ้ งกบั เป้าหมายการพฒั นา ตรวจสอบผลการดาเนินงาน และการปรับปรุงแกไ้ ข
งานใหด้ ีข้ึนอยา่ งตอ่ เน่ือง ครูจดั กระบวนการเรียนการสอนท่ีเนน้ ผเู้ รียนเป็นสาํ คญั มีผลประเมินอยใู่ นระดบั
ดี วเิ คราะห์ ออกแบบและจดั การเรียนรู้ท่ีเป็ นไปตามความตอ้ งการของหลกั สูตร และบริบทสถานศึกษา
พฒั นากิจกรรมการเรียนรู้ ใชส้ ่ือการเรียนรู้ ติดตาม ตรวจสอบและช่วยเหลือนกั เรียนเพ่ือพฒั นาและ
แกป้ ัญหารายบุคคลและการประเมินผลจากสภาพจริงในทุกข้นั ตอน

40

๒.๒ ข้อมูล หลกั ฐาน เอกสารเชิงประจักษ์ ทส่ี นับสนุนผลการประเมินตนเอง
ประเด็นภาพความสาํ เร็จดา้ นคุณภาพผเู้ รียนท่ีสนบั สนุนผลการประเมินตนเอง โรงเรียนมี

แผนพฒั นาคุณภาพการศึกษา ดาํ เนินการตามแผนปฏิบตั ิการประจาํ ปี มีการจดั ระบบประกนั คุณภาพ
การศึกษา การนิเทศการศึกษา การพฒั นาหลกั สูตรและนวตั กรรมและงานวจิ ยั ในช้นั เรียนมาช่วยในการ
จดั การเรียนการสอน จดั บริบทของสถานศึกษาอาคารสถานท่ีมีความสะอาดเพียงพอและปลอดภยั ต่อผเู้ รียน
มีภาคีเครือข่ายความร่วมมือระหวา่ งโรงเรียนกบั ชุมชน ในส่วนของการดาํ เนินงาน โรงเรียนไดด้ าํ เนิน
โครงการยกระดบั ผลสมั ฤทธ์ิทางการเรียนในทุกกลุ่มสาระการเรียนรู้ โครงการเฝ้าระวงั ๐ ร มส. โครงการ
หอ้ งเรียนพิเศษ MEP โครงการโรงเรียนมาตรฐานสากล โครงการพฒั นางานหอ้ งสมุดและส่งเสริมนิสัยรัก
การอา่ น โครงการบูรณาการการจดั การเรียนการสอนในศตวรรษท่ี ๒๑ โครงการพฒั นาการเรียนรู้ปรัชญา
เศรษฐกิจพอเพยี ง โครงการแข่งขนั ทกั ษะความเป็นเลิศ โครงการพฒั นางานแนะแนว โครงการพฒั นา
ระบบงานดูแลช่วยเหลือนกั เรียน โครงการเยย่ี มบา้ นนกั เรียน โครงการสถานศึกษาสีขาวปลอดยาเสพติด
และอบายมุข โครงการส่งเสริมคุณธรรมจริยธรรมนกั เรียน โครงการโรงเรียนสุจริต โครงการส่งเสริม
ประชาธิปไตยในโรงเรียน โครงการโรงเรียนวถิ ีพุทธ โครงการพฒั นาประสิทธิภาพการดาํ เนินงานโรงเรียน
ธนาคารรมยบ์ ุรีพิทยาคม และโครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมนกั เรียน และกิจกรรมเกี่ยวเน่ืองกบั วนั สาํ คญั
โครงการพฒั นาความสามารถดา้ นนาฏศิลป์ ทศั นศิลป์ โครงการนิทรรศการสานฝันงานอาชีพ โครงการ
อบรมครูเพื่อพฒั นาการเรียนการสอน โครงการ English camp โครงการหอ้ งเรียนรู้ภูมิปัญญาทอ้ งถ่ิน
โครงการคลินิกคณิตศาสตร์ โครงการค่ายดาราศาสตร์ โครงการส่งเสริมความเป็นเลิศทางทกั ษะภาษาไทย
โครงการสวนพฤกษศาสตร์โรงเรียน ผลการทดสอบระดบั ชาติ O-Net ผลการประเมินภายในของ
สถานศึกษา และผลการนิเทศจากคณะกรรมการติดตาม ตรวจสอบ ประเมินผลและนิเทศการศึกษา

๓. จุดเด่น จุดทคี่ วรพฒั นา แผนการพฒั นาคุณภาพเพ่ือยกระดับคุณภาพมาตรฐานให้สูงขึน้

จุดเด่น จุดทคี่ วรพฒั นา

๑) สถานศึกษามีการวเิ คราะห์ผลสัมฤทธ์ิทางการ ๑) การจดั กิจกรรมที่มุ่งเนน้ ยกระดบั ผลสมั ฤทธ์ิ ยงั
เรียนและไดก้ าํ หนดเป็นเป้าหมายทางการเรียนโดย ขาดการปฏิบตั ิท่ีต่อเน่ือง การยกระดบั ผลสัมฤทธ์ิ
ใชข้ อ้ มูลฐาน ๓ ปี ยอ้ นหลงั เป็นเป้าหมายคุณภาพ แตล่ ะกลุ่มสาระประสบผลสาํ เร็จในระดบั หน่ึง
นกั เรียนใหพ้ ฒั นาสูงข้ึน จดั กิจกรรมการเรียนการ นกั เรียนส่วนใหญย่ งั ตอ้ งไดร้ ับการพฒั นาต่อไป
สอนเนน้ การปฏิบตั ิ เนน้ ทกั ษะในการอา่ น การ ผลสมั ฤทธ์ิระดบั ชาติของนกั เรียนมีแนวโนม้
เขียน และการคิดคาํ นวณ ส่งเสริมผเู้ รียนใหพ้ ฒั นา เปล่ียนแปลงพฒั นาข้ึนโดยรวม แตไ่ ม่ผา่ นเกณฑใ์ น
เตม็ ศกั ยภาพ มีการจดั แหล่งเรียนรู้ภายในไดอ้ ยา่ ง

41

เหมาะสม มีส่ือดา้ นเทคโนโลยที ่ีทนั สมยั ผเู้ รียนมี บางกลุ่มสาระการเรียนรู้ จึงตอ้ งมุ่งเนน้ พฒั นา
สุขภาพกาย สุขภาพจิต ดี กลา้ แสดงออก และ ต่อไป
สามารถอยรู่ ่วมกบั ผูอ้ ่ืนอยา่ งมีความสุข
๒. สถานศึกษามีการกาํ หนดเป้าหมาย จดั กิจกรรมดา้ นการอ่าน การเขียน คาํ นวณใหก้ บั
นกั เรียนเรียน เปรียบเทียบความกา้ วหนา้ และการ
วสิ ยั ทศั น์ และพนั ธกิจสอดคลอ้ งกบั สภาพปัญหา พฒั นาของนกั เรียนเป็นรายบุคคล
ความตอ้ งการพฒั นาของสถานศึกษา นโยบายการ
ปฏิรูป การศึกษาความตอ้ งการของชุมชน ทอ้ งถิ่น ๒) ควรนาํ ภูมิปัญญาทอ้ งถ่ินใหเ้ ขา้ มามีส่วนร่วมใน
และสอดคลอ้ งกบั แนวทางการปฏิรูปตามแผนการ การจดั กิจกรรมให้นกั เรียนได้
ศึกษาชาติ
เรียนรู้

๓. แผนพฒั นาคุณภาพการจดั การศึกษา แผนปฏิบตั ิ ๓) ควรใหข้ อ้ มูลยอ้ นกลบั แก่นกั เรียนทนั ทีเพอื่
การประจาํ ปี สอดคลอ้ งกบั การพฒั นาผูเ้ รียนทุก นกั เรียนนาไปใชพ้ ฒั นาตนเอง

กลุ่มเป้าหมาย มีการพฒั นาครูและบุคลากรทางการ ๔) ควรมีการวางแผนร่วมกนั อยา่ งตอ่ เน่ืองในการ
ศึกษาใหม้ ีความรู้ ความเช่ียวชาญตามมาตรฐาน เพิม่ ผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนสูงข้ึน และเพิม่ คะแนน
ตาํ แหน่ง ขอ้ มูลสารสนเทศมีความถูกตอ้ ง ครบถว้ น
ทนั สมยั นาํ ไปประยกุ ตใ์ ชไ้ ด้ มีการดาํ เนิน การ O –NET ใหส้ ูงข้ึนเทียบเทา่ คะแนนคา่ เฉล่ียของ
อยา่ งเป็นระบบ และมีกิจกรรมจดั สภาพแวดลอ้ ม ระดบั ประเทศทุกรายวชิ า

ทางกายภาพและสงั คมที่กระตุน้ ผเู้ รียนใหใ้ ฝ่ เรียนรู้

แผนการพฒั นาคุณภาพเพ่ือยกระดบั คุณภาพมาตรฐานให้สูงขึน้

๑) การจดั กิจกรรมการเรียนรู้ท่ีเนน้ การพฒั นาผเู้ รียนเป็นรายบุคคลใหช้ ดั เจนข้ึน
๒) การส่งเสริมใหค้ รูเห็นความสาํ คญั ของการจดั การเรียนรู้โดยเนน้ ผเู้ รียนเป็ นสาํ คญั การจดั ทาํ การ
วจิ ยั ในช้นั เรียนเพ่ือพฒั นาผูเ้ รียนใหส้ ามารถเรียนรู้ไดเ้ ตม็ ศกั ยภาพ
๓) การพฒั นาบุคลากรโดยส่งเขา้ รับการอบรม แลกเปล่ียนเรียนรู้ในงานที่ไดร้ ับมอบหมาย ติดตาม
ผลการนาํ ไปใชแ้ ละผลท่ีเกิดกบั ผเู้ รียนอยา่ งต่อเน่ือง
๔) การพฒั นาสถานศึกษาใหเ้ ป็นสังคมแห่งการเรียนรู้ของชุมชน
๕) การพฒั นาครูผสู้ อนงานอาชีพในการจดั กิจกรรมการเรียนรู้ ท่ีสอดคลอ้ งกบั การพฒั นาผเู้ รียนใน
ศตวรรษท่ี ๒๑

42

๖) การสร้างขอ้ สอบท่ีสอดคลอ้ งกบั มาตรฐานการเรียนรู้ตามแนวทางของการประเมิน O-NET และ
PISA

๗) การจดั สรรครูผูส้ อนใหต้ รงตามวชิ าเอกที่โรงเรียนมีความตอ้ งการและจาํ เป็นเร่งด่วนโดย
โรงเรียนเขา้ ร่วมโครงการโรงเรียนมาตรฐานสากล มีความตอ้ งการบรรจุครูผสู้ อนภาษาท่ี ๒ เช่นครูภาษาจีน

43

ส่วนที่ ๔
การปฏิบัติทเ่ี ป็ นเลศิ (Best Practices)

แบบนาํ เสนอถอดบทเรยี น Best Practice
Best Practice โรงเรยี นรมยบุรีพทิ ยาคม รชั มังคลาภิเษก
 สถานศึกษา
ช่อื ผลงาน SMART Model รมยบ ุรีสูวถิ พี อเพียง
๑. ความสําคญั ของผลงาน/นวัตกรรมถอดบทเรยี น
๑.๑ เหตผุ ลทเี่ กิดแรงบันดาลใจ ความจําเปน ปญ หาหรือความตองการท่ีจะทําผลงาน/นวตั กรรม
การเติบโตทางเศรษฐกิจของประเทศที่สงผลใหทรัพยากรธรรมชาติถูกทําลายและเส่ือมโทรมอยาง
รวดเร็ว รวมทั้งระบบการศึกษาท่ียังมีปญหาหลายประการ นับตั้งแตปญหาคุณภาพของคนไทยทุกชวงวัย
ปญ หาคุณภาพและมาตรฐานการจัดการศึกษาในทุกระดบั จดุ ออนของระบบการศึกษาและการพัฒนาบคุ ลากร
ดา นวทิ ยาศาสตร ภาษาอังกฤษ เทคโนโลยี และการบรหิ ารจัดการศึกษาของสถานศึกษาที่ยังไมเหมาะสม ขาด
ความคลองตัว ยังมีความเหลื่อมลา้ํ ในดานโอกาสและความเสมอภาคทางการศึกษา รวมท้ังปญ หาดานคณุ ธรรม
จริยธรรม และการขาดความตระหนักถงึ ความสาํ คัญของการมวี ินยั ความซอ่ื สตั ยสจุ ริต และการมีจติ สาธารณะ
ของคนไทยสว นใหญ สง ผลกระทบตอระบบการศึกษา (แผนการศกึ ษาแหง ชาติ พ.ศ. ๒๕๖๐ – ๒๕๗๙)
ผลการพฒั นาการศกึ ษาในชวงป ๒๕๕๒ - ๒๕๕๙ พบวา ประเทศไทยประสบความสําเรจ็ ในหลายดาน
และมีอีกหลายดานยังเปนปญหาที่ตองไดรับการพัฒนาอยางเรงดวนในระยะตอไป ดานคุณภาพการศึกษา ผล
การพฒั นายังไมเ ปน ทนี่ า พึงพอใจ เนอื่ งจากผลสัมฤทธทิ์ างการเรียนระดบั การศึกษาข้นั พื้นฐานมีคะแนนต่ํากวา
คาเฉล่ียมาก และตํ่ากวาหลายประเทศในแถบเอเชีย สวนประเด็นคุณธรรม จริยธรรมของเด็กและเยาวชนยัง
ตองมีการพัฒนาเพิ่มขึ้น จึงจําเปนตองใหความสําคัญกับการพัฒนาผูเรียนและกําลังแรงงานที่มีทักษะและ
คุณลักษณะท่ีพรอมเพื่อตอบสนองตอความตองการของภาคสวนตาง ๆ โดยจะตองมีการวิเคราะหความ
ตองการกําลังคน เพื่อวางเปาหมายการจัดการศึกษา ท้ังเพ่ือการผลิตกําลังคนเขาสูตลาดงานและการพัฒนา
กําลังคนเพ่ือยกระดับคุณภาพกําลังแรงงานใหสงู ขึ้น เพื่อปรับเปลี่ยนใหสนองและรองรับความทาทายดังกลาว
จึงมีความจําเปนท่ีประเทศไทยตองปฏิรูปการศึกษา เพื่อใหระบบการศึกษาเปนกลไกหลักของการขับเคล่ือน
ประเทศ
สํานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติไดจัดทําแผนพัฒนาเศรษฐกิจและ
สงั คมแหงชาติ ฉบับท่ี ๑๒ (พ.ศ. ๒๕๖๐ - ๒๕๖๔) สําหรบั ใชเปน แผนพฒั นาประเทศไทยในระยะ ๕ ป ซึง่ เปน
การแปลงยุทธศาสตรชาติ ระยะ ๒๐ ป สูการปฏิบัติอยางเปน รูปธรรม เพื่อเตรียมความพรอมและวางรากฐาน
ในการยกระดับประเทศไทยใหเปนประเทศท่ีพฒั นาแลว มีความมน่ั คง มัง่ ค่งั ยง่ั ยนื ดวยการพัฒนาตามปรัชญา
ของเศรษฐกิจพอเพียง ซึ่งการพัฒนาประเทศในระยะของแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ ฉบับท่ี ๑๒
(พ.ศ. ๒๕๖๐ - ๒๕๖๔) มหี ลกั การทีส่ ําคญั คือ การพฒั นาประเทศจําเปนตองทาํ ตามลําดับขัน้ ตอ งสรางพื้นฐาน
คือ ความพอมีพอกิน พอใชของประชาชนสวนใหญเปนอันพอควรและปฏิบัติไดแลว จึงคอยสรางคอยเสริม
ความเจริญและฐานะเศรษฐกิจขั้นท่ีสงู ข้ึนโดยลาํ ดับตอ ไป หากมุงแตจะทุมเทสรางความเจรญิ ยกเศรษฐกิจขึ้น


Click to View FlipBook Version