ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
ประกอบการจดั กจิ กรรมการเรียนรู้แบบสืบเสาะหาความรู้ (5E)
เร่อื ง ระบบอวยั วะต่าง ๆ ในรา่ งกายมนษุ ย์
ชุดที่ 5 ระบบสบื พนั ธ์ ุ
กลุ่มสาระการเรียนรวู้ ิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
รายวิชาวทิ ยาศาสตร์ 3 รหัสวิชา ว22101 ชั้นมธั ยมศึกษาปที ี่ 2
นางพัชรี คูณทอง
ตาแหน่ง ครู วิทยฐานะ ครเู ชี่ยวชาญ
โรงเรยี นโนนกลางวิทยาคม อาเภอพบิ ูลมงั สาหาร จงั หวัดอบุ ลราชธานี
สงั กัดองคก์ ารบริหารส่วนจงั หวดั อบุ ลราชธานี
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ชดุ ท่ี 5 ระบบสบื พนั ธุ์
คำนำ
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เรื่อง ระบบอวัยวะต่าง ๆ ในร่างกายมนุษย์
ชน้ั มัธยมศึกษาปีท่ี 2 จัดทาขึ้นเพื่อเปน็ สอื่ นวตั กรรมประกอบการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน
รายวิชาวิทยาศาสตร์ รหัสวิชา ว22101 หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 เร่ือง ระบบอวัยวะต่าง ๆ ใน
รา่ งกายมนุษย์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 เพ่ือพัฒนาทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์และพัฒนา
ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของผู้เรียนกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เป็นนวัตกรรมที่ช่วยลด
บทบาทของครูตามแนวทางการปฏิรูปการเรียนร้ทู ี่ยดึ ผ้เู รยี นเป็นสาคัญ เป็นกิจกรรม การเรียนรู้
ที่ส่งเสริมให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ได้ด้วยตนเอง ทาเป็น คิดเป็น แก้ปัญหาได้ สามารถพัฒนา
ตนเอง ได้เต็มตามศักยภาพ ซ่ึงสอดคล้องกับหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน
พุทธศักราช 2551 (ฉบับปรับปรุง พ.ศ.2560) ท่ีมุ่งเน้นให้ผู้เรียนได้รับการพัฒนาทั้งด้านความรู้
กระบวนการคิด กระบวนการสืบเสาะหาความรู้ การแก้ปัญหา ความสามารถในการสื่อสาร
การตัดสินใจ การนาความรู้ไปใช้ในชีวิตประจาวัน ตลอดจนส่งเสริมให้ผู้เรียนมีจิตวิทยาศาสตร์
คณุ ธรรมและคา่ นยิ มทถ่ี ูกตอ้ งเหมาะสม
ผู้จัดทาหวังเป็นอย่างย่ิงว่า ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์น้ีจะทาให้ผู้เรียน
มีความรู้ ความเข้าใจในเรื่องอาหารกับการดารงชีวิตได้เป็นอย่างดี มีทักษะกระบวนการทาง
วิทยาศาสตร์ และมีผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนสูงข้ึน สามารถใช้เพื่อศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง
เป็นส่ือท่ีมีประสิทธิภาพ สามารถอานวยประโยชน์ต่อการเรียนการสอนให้บรรลุวัตถุประสงค์
ของหลกั สตู รได้
ผจู้ ัดทาขอขอบพระคุณผู้ท่ีมีส่วนเกี่ยวข้องทุกท่านที่ให้การสนับสนุน ให้คาแนะนา
และเป็นที่ปรึกษาท่ีดีในการจัดทาชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ การพัฒนาปรับปรุง/
ตรวจสอบแก้ไข จนได้ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ที่มีประสิทธิภาพ และเป็นประโยชน์
ในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ให้กับนักเรียน หวังเป็นอย่างยิ่งว่าชุดกิจกรรม
การเรียนรู้วิทยาศาสตร์ชุดน้ี จะเป็นประโยชน์ต่อนักเรียน เพ่ือนร่วมวิชาชีพ ตลอดจนผู้สนใจ
ในการนาไปพัฒนาผ้เู รียนใหเ้ กดิ การเรียนรู้ท่มี ีประสทิ ธภิ าพตอ่ ไป
พชั รี คูณทอง
โดย นางพชั รี คณู ทอง ตาแหน่ง ครู วทิ ยฐานะ ครูเช่ยี วชาญ ก
ชุดกิจกรรมการเรยี นร้วู ทิ ยาศาสตร์ ชุดท่ี 5 ระบบสบื พันธ์ุ
สำรบัญ
เร่ือง หน้ำ
คำนำ ก
สำรบญั ข
คำชี้แจงเกีย่ วกบั กำรใช้ชดุ กิจกรรมกำรเรียนรู้วทิ ยำศำสตร์ ค
แผนภมู ลิ ำดับข้ันตอนกำรใชช้ ุดกิจกรรมกำรเรยี นรู้วทิ ยำศำสตร์ ง
คำช้แี จงกำรใช้ชุดกจิ กรรมกำรเรยี นรู้วทิ ยำศำสตรส์ ำหรับครู จ
คำชแ้ี จงกำรใชช้ ดุ กจิ กรรมกำรเรยี นรู้วทิ ยำศำสตรส์ ำหรบั นักเรยี น ช
1
สาระการเรยี นรู้/มาตรฐานการเรยี นรู้/ตัวช้ีวดั 2
จุดประสงค์การเรยี นรู้สู่ตวั ช้ีวัด 2
สาระสาคญั 4
แบบทดสอบกอ่ นเรียน 7
บตั รเนอ้ื หา ชุดที่ 5 เรือ่ ง ระบบสบื พันธุ์ 32
บตั รกจิ กรรมท่ี 5.1 เรอื่ ง การเปลยี่ นแปลงของรา่ งกายเม่ือเขา้ สู่วยั หนุ่มสาว 34
บัตรกิจกรรมท่ี 5.2 เร่ือง การเปลีย่ นแปลงของร่างกายทมี่ ีผลมาจากฮอรโ์ มนเพศ 36
บัตรกิจกรรมที่ 5.3 เรอ่ื ง เลือกวธิ คี ุมกาเนดิ อย่างไรใหเ้ หมาะสม 38
แบบทดสอบหลงั เรียน 41
กระดาษคาตอบแบบทดสอบกอ่ นเรียนและหลงั เรยี น 42
บรรณำนกุ รม
44
ภำคผนวก 45
เฉลยบัตรกจิ กรรมที่ 5.1 เรื่อง การเปล่ียนแปลงของรา่ งกายเม่อื เข้าสวู่ ยั หนมุ่ สาว 48
เฉลยบตั รกิจกรรมท่ี 5.2 เรื่อง การเปลีย่ นแปลงของรา่ งกายทม่ี ผี ลมาจาก
ฮอร์โมนเพศ 50
เฉลยบตั รกิจกรรมท่ี 5.3 เร่อื ง เลือกวธิ คี มุ กาเนิดอย่างไรให้เหมาะสม 52
เฉลยแบบทดสอบกอ่ นเรยี นและหลงั เรยี น
53
ประวัตยิ อ่ ผจู้ ดั ทำ
โดย นางพัชรี คณู ทอง ตาแหนง่ ครู วิทยฐานะ ครูเชยี่ วชาญ ข
ชุดกิจกรรมการเรยี นร้วู ทิ ยาศาสตร์ ชดุ ท่ี 5 ระบบสบื พนั ธ์ุ
คำชี้แจงเก่ยี วกับชุดกิจกรรมกำรเรยี นรู้วทิ ยำศำสตร์
1. ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 เรอื่ ง ระบบอวัยวะต่าง ๆ ใน
ร่างกายมนุษย์ กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี จัดทาข้ึนเพ่ือใช้ประกอบการ
จัดการเรียนรู้ รายวิชาวิทยาศาสตร์ 3 รหัสวิชา ว22101 สาหรับนักเรียนช้ันมัธยมศึกษาปีท่ี 2
โดยให้สอดคล้องตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน พุทธศักราช 2551 (ฉบับปรับปรุง
พ.ศ. 2560) กระทรวงศกึ ษาธิการ หลักจิตวิทยาการเรียนรู้ ยึดแนวทางการฝึกทเ่ี หมาะสมกับระดับ
และวัย เพื่อให้นักเรียนเกิดความกระตือรือร้น มีความสุขในการทากิจกรรมการเรียนรู้ และเพ่ือ
ส่งเสริมเจตคติท่ีดี นักเรียนจะได้พัฒนากระบวนการคิด กระบวนการตัดสินใจ กระบวนการ
แก้ปญั หา และสามารถนาความรูไ้ ปใชใ้ นชวี ติ ประจาวันได้
2. ผู้สอนได้รวบรวมเนื้อหาสาระและกิจกรรม เพ่ือพัฒนาทักษะทางวิทยาศาสตร์
จากหนังสือและแหล่งความรู้ต่าง ๆ นามาจัดทาเป็นเอกสารประกอบการเรียนให้เหมาะสมกับ
ผู้เรียน มุ่งเน้นพัฒนาผู้เรียนให้เกิดการเรียนรู้ เข้าใจหลักการทางวิทยาศาสตร์ เกิดทักษะ
กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ วธิ ีสารวจตรวจสอบขอ้ มูล การคดิ แก้ปัญหา ตลอดจนการเสริมสร้าง
จิตวิทยาศาสตร์ ผู้สอนหวังเป็นอย่างย่ิงว่า ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์นี้ จะก่อให้เกิด
ประโยชน์ ต่อการจัดการเรียนรู้ในกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ให้มีคุณภาพต่อไป
ซึง่ ประกอบดว้ ยชดุ กิจกรรมการเรยี นรู้ จานวน 5 ชุด ดงั นี้
ชดุ ท่ี 1 เรื่อง ระบบหมนุ เวียนเลอื ด
ชุดท่ี 2 เรื่อง ระบบหายใจ
ชุดที่ 3 เร่ือง ระบบขบั ถา่ ย
ชดุ ท่ี 4 เรอื่ ง ระบบประสาท
ชุดที่ 5 เรอื่ ง ระบบสบื พันธ์ุ
3. ชดุ กิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์นี้เป็น ชุดกิจกรรมกำรเรียนรู้วิทยำศำสตร์ ชุดที่ 5
เรือ่ ง ระบบสบื พันธ์ุ ใชเ้ วลำ 3 ชว่ั โมง
4. ผู้ใช้ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์นี้ควรศกึ ษาขน้ั ตอนการใชช้ ุดกจิ กรรมการเรียนรู้
อย่างละเอียดก่อนใช้
ผู้จัดทาหวังเป็นอย่างยิ่งว่า ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ชุดน้ี จะมีประโยชน์ต่อ
นักเรียนและผู้สนใจที่จะนาไปใช้สอนและฝึกเด็กในปกครองในการพัฒนากระบวนการเรียนรู้
วิทยาศาสตร์ใหม้ ีคณุ ภาพมากยิ่งขนึ้ ตอ่ ไป
โดย นางพัชรี คณู ทอง ตาแหน่ง ครู วิทยฐานะ ครูเชีย่ วชาญ ค
ชดุ กจิ กรรมการเรยี นรวู้ ทิ ยาศาสตร์ ชุดที่ 5 ระบบสืบพนั ธุ์
แผนภูมิลำดับขน้ั ตอนกำรใชช้ ุดกจิ กรรมกำรเรยี นรู้วิทยำศำสตร์
อ่านคาชแ้ี จงและคาแนะนาในการใช้ชดุ กิจกรรมการเรยี นรวู้ ิทยาศาสตร์
ศึกษาตัวช้วี ดั และจดุ ประสงคก์ ารเรียนรู้ เสริมพ้นื ฐำน
ทดสอบกอ่ นเรียน ผู้มีพน้ื ฐำนตำ่
ศึกษาชดุ กิจกรรมการเรียนรู้วทิ ยาศาสตร์ตามข้ันตอน
ประเมินผลการจัดกจิ กรรมการเรียนร้จู ากชดุ กิจกรรม
ไมผ่ ่ำน ทดสอบหลังเรียน
กำรทดสอบ
ผ่ำนกำรทดสอบ
ศกึ ษาชุดกจิ กรรมการเรียนรูว้ ิทยาศาสตร์เร่ืองต่อไป
แผนภมู ิลำดับขน้ั ตอนกำรเรยี นโดยใช้ชดุ กจิ กรรมกำรเรียนรวู้ ิทยำศำสตร์
ชุดท่ี 5 เร่ือง ระบบสืบพันธุ์
โดย นางพชั รี คณู ทอง ตาแหนง่ ครู วิทยฐานะ ครูเช่ยี วชาญ ง
ชุดกิจกรรมการเรียนรวู้ ิทยาศาสตร์ ชดุ ที่ 5 ระบบสบื พนั ธ์ุ
คำชแ้ี จงกำรใช้ชดุ กิจกรรมกำรเรยี นร้วู ิทยำศำสตรส์ ำหรับครู
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ท่ีครูผู้สอนได้ศึกษาต่อไปน้ีคือ ชุดที่ 5 เรื่อง ระบบ
สืบพันธ์ุ ใช้เวลำในกำรทำกิจกรรม 3 ชั่วโมง ซ่ึงนักเรียนจะได้สารวจ สังเกตและรวบรวม ข้อมูล
มาสรุปเป็นองค์ความรู้ โดยใช้กระบวนการคิด กระบวนการสืบค้นข้อมูล กระบวนการทางสังคม
ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ กระบวนการเผชิญสถานการณ์และแก้ปัญหา ผ่านทาง
กระบวนการกลุ่ม เพื่อช่วยให้การดาเนินการจัดกิจกรรมการเรียนรู้บรรลุจุดประสงค์และมี
ประสิทธภิ าพ ครผู ู้สอนควรดาเนินการดงั นี้
1. ครูผู้สอนต้องศึกษาและทาความเข้าใจเกี่ยวกับคาชี้แจงการใช้ชุดกิจกรรมการเรียนรู้
สาหรับครู และแผนการจัดการเรยี นรู้ เพ่อื ที่ครูผู้สอนสามารถนาชุดกิจกรรมการเรียนรไู้ ปใช้ในการ
จัดกจิ กรรมการเรยี นรู้ไดอ้ ย่างมปี ระสิทธิภาพ
2. ครผู ้สู อนเตรยี มส่อื การเรยี นการสอนให้พร้อม
3. ก่อนดาเนินการจัดกิจกรรมการจัดการเรียนรู้ ครูต้องเตรียมชุดกิจกรรมการเรียนรู้ไว้
บนโต๊ะประจากลุ่มให้เรียบร้อยและเพียงพอกับนักเรียนในกลุ่มซึ่งนักเรียนจะได้รับคนละ 1 ชุด
ยกเวน้ สอ่ื การสอนท่ีต้องใชร้ ว่ มกัน
4. ครูต้องชี้แจงใหน้ ักเรียนรู้เก่ียวกับบทบาทของนักเรียนในการใชช้ ุดกิจกรรมการเรียนรู้
ดงั น้ี
4.1 ศึกษาบทบาทของนักเรียนจากการปฏิบัติกิจกรรมให้เข้าใจก่อนการเรียนรู้โดยใช้
ชุดกจิ กรรมการเรยี นรู้
4.2 ปฏิบัติกิจกรรมตามลาดับข้ันตอน อ่านคาช้ีแจงจากใบกิจกรรม เพื่อจะได้ทราบ
วา่ จะปฏิบัตกิ ิจกรรมอะไร อย่างไร
4.3 นักเรียนต้องตั้งใจปฏิบัติกิจกรรมอย่างเต็มความสามารถ ต้องให้ความร่วมมือ
ชว่ ยเหลอื ซึ่งกันและกัน ไมร่ บกวนผูอ้ น่ื และไมช่ ักชวนเพอ่ื นให้ออกนอกลู่นอกทาง
4.4 หลังจากปฏิบัตกิ จิ กรรมแลว้ นักเรียนจะต้องจัดเก็บอุปกรณท์ กุ ชิ้นใหเ้ รียบร้อย
4.5 เม่ือมีการประเมินผลนักเรยี นตอ้ งปฏบิ ตั ติ นอยา่ งตัง้ ใจและรอบคอบ
5. การดาเนินการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบสืบเสาะหาความรู้ (5E) แบ่งออกเป็น 5
ขัน้ ตอน ดงั นี้
5.1 ขัน้ ท่ี 1 ขั้นสรา้ งความสนใจ
5.2 ขั้นที่ 2 ขน้ั สารวจและค้นหา
5.3 ข้ันท่ี 3 ขน้ั อธบิ ายและลงข้อสรปุ
โดย นางพัชรี คณู ทอง ตาแหนง่ ครู วิทยฐานะ ครูเชยี่ วชาญ จ
ชุดกิจกรรมการเรยี นรู้วทิ ยาศาสตร์ ชุดที่ 5 ระบบสบื พันธุ์
5.4 ข้ันที่ 4 ขั้นขยายความรู้
5.5 ขัน้ ที่ 5 ขน้ั ประเมิน
6. ขณะที่นักเรียนทุกกลมุ่ ปฏิบตั ิกิจกรรม ครูไม่ควรพูดเสียงดัง หากมีอะไรจะพูดต้องพูด
เปน็ รายกลุ่มหรือรายบุคคล ตอ้ งไม่รบกวนกิจกรรมของนกั เรียนกลุ่มอื่น
7. ครูผู้สอนต้องเดินดูการทางานของนักเรียนแต่ละกลุ่มอย่างใกล้ชิด หากมีนักเรียนคน
ใดหรือกลมุ่ ใดมปี ญั หาควรเขา้ ไปให้ความช่วยเหลอื จนปัญหานัน้ คล่ีคลายลง
8. การสรุปผลท่ีได้จากกิจกรรมการเรียนรู้ควรเปน็ กิจกรรมร่วมของนักเรียนทุกกลุ่มหรือ
ตัวแทนของกลุ่มร่วมกัน ครูควรเปดิ โอกาสให้นักเรียนแสดงออกใหม้ ากท่สี ุด
9. ประเมินผลการเรยี นรขู้ องนักเรียน เพื่อตรวจสอบผลการเรียนรขู้ องนักเรยี น
โดย นางพัชรี คณู ทอง ตาแหนง่ ครู วิทยฐานะ ครูเชย่ี วชาญ ฉ
ชดุ กจิ กรรมการเรียนรู้วทิ ยาศาสตร์ ชดุ ที่ 5 ระบบสบื พันธุ์
คำช้ีแจงกำรใช้ชุดกิจกรรมกำรเรยี นรวู้ ทิ ยำศำสตรส์ ำหรบั นักเรียน
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ท่ีนักเรียนได้ศึกษาต่อไปนี้คือ ชุดกิจกรรมการเรียนรู้
แบบสืบเสาะหาความรู้ (5E) 5 เร่ือง ระบบสืบพันธุ์ ซ่งึ นกั เรยี นจะได้สารวจ สงั เกต และรวบรวม
ข้อมูลมาสรุปเป็นองค์ความรู้ โดยใช้กระบวนการคิด กระบวนการสืบค้นข้อมูล กระบวนการทาง
สงั คม ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ กระบวนการเผชิญสถานการณ์ และแกป้ ัญหา ผา่ นทาง
กระบวนการกลุ่ม เพอ่ื ให้เกิดประโยชนส์ ูงสุด นกั เรยี นควรปฏิบัติตามคาชีแ้ จง ดงั ต่อไปนี้
1. ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ชุดท่ี 5 เร่ือง ระบบสืบพันธ์ุ ใช้เวลำทำ
กจิ กรรม 3 ช่ัวโมง
2. นกั เรียนทาแบบทดสอบก่อนเรียน จานวน 10 ขอ้
3. นกั เรยี นทากจิ กรรมเป็นรายกลุ่มและศึกษาวธิ ีดาเนนิ กิจกรรมใหเ้ ขา้ ใจ
4. นักเรียนปฏบิ ัตกิ ิจกรรมในชุดกจิ กรรมการเรยี นรู้วทิ ยาศาสตร์
5. นักเรยี นทากิจกรรมในชดุ กจิ กรรมการเรยี นรูใ้ ห้ครบ
6. นกั เรียนทาแบบทดสอบหลังเรียน จานวน 10 ข้อ
โดย นางพชั รี คณู ทอง ตาแหนง่ ครู วิทยฐานะ ครูเชี่ยวชาญ ช
ชดุ กจิ กรรมการเรียนร้วู ทิ ยาศาสตร์ ชดุ ที่ 5 ระบบสบื พันธุ์
สาระการเรยี นรู้ / มาตรฐานการเรยี นรู้ / ตวั ชว้ี ดั
จุดประสงคก์ ารเรียนรู้ / สาระสาคญั
ชดุ ท่ี 5 ระบบสืบพนั ธ์ุ
สาระที่ 1 วทิ ยาศาสตร์ชีวภาพ
มาตรฐาน ว 1.2 เข้าใจสมบัติของส่ิงมีชีวิตหน่วยพ้ืนฐานของส่ิงมีชีวิตการลาเลียงสารเข้า
และออกจากเซลล์ความสัมพันธ์ของโครงสร้างและหน้าที่ของระบบต่าง ๆ
ของสตั วแ์ ละมนษุ ย์ทีท่ างานสัมพนั ธ์กนั ความสัมพันธ์ของโครงสรา้ งและหนา้ ที่
ของอวัยวะต่าง ๆ ของพืชท่ที างานสมั พันธก์ นั รวมทงั้ นาความร้ไู ปใช้ประโยชน์
ตัวชีว้ ดั
ว 1.2 ม.2/12 ระบอุ วัยวะและบรรยายหนา้ ทขี่ องอวัยวะในระบบสบื พันธุข์ องเพศชายและ
เพศหญงิ โดยใชแ้ บบจาลอง
ว 1.2 ม.2/13 อธิบายผลของฮอร์โมนเพศชายและเพศหญิงท่ี ควบคุมการเปลี่ยนแปลงของ
รา่ งกาย เมือ่ เข้าส่วู ยั หน่มุ สาว
ว 1.2 ม.2/14 ตระหนักถึงการเปลี่ยนแปลงของร่างกายเม่ือเข้าสู่วัยหนุ่มสาว โดยการดูแล
รกั ษาร่างกาย และจติ ใจของตนเองในชว่ งทีม่ กี ารเปลย่ี นแปลง
ว 1.2 ม.2/15 อธิบายการตกไข่ การมีประจาเดือน การปฏิสนธิ และการพัฒนาของไซโกต
จนคลอดเป็นทารก
ว 1.2 ม.2/16 เลือกวธิ กี ารคุมกาเนิดทีเ่ หมาะสมกบั สถานการณท์ ่ีกาหนด
ว 1.2 ม.2/17 ตระหนักถึงผลกระทบของการตั้งครรภ์ ก่อนวัยอันควร โดยการประพฤติตน
ให้เหมาะสม
โดย นางพชั รี คณู ทอง ตาแหนง่ ครู วทิ ยฐานะ ครูเช่ยี วชาญ
1
ชดุ กจิ กรรมการเรยี นรวู้ ทิ ยาศาสตร์ ชุดที่ 5 ระบบสืบพนั ธ์ุ
จุดประสงค์การเรยี นรูส้ ู่ตวั ชี้วดั
1. อธบิ ายโครงสร้างและอวัยวะในระบบสบื พันธุข์ องเพศชายและเพศหญิงได้ (K)
2. อธิบายการสร้างเซลล์สืบพันธุ์ของเพศชายและเซลล์สืบพันธ์ุเพศหญิง และการเกิด
ประจาเดือนในเพศหญงิ ได้ (K)
3. อธิบายผลของฮอร์โมนเพศต่อการเปลี่ยนแปลงของร่างกายและจิตใจเม่ือเข้าสู่วัยหนุ่มสาว
ได้ (K)
4. อธบิ ายการปฏสิ นธิและการต้ังครรภไ์ ด้ (K)
5. อธบิ ายการคมุ กาเนิดวธิ ีต่าง ๆ ได้ (K)
6. เลือกวิธกี ารคมุ กาเนิดท่ีเหมาะสมกบั สถานการณต์ ่าง ๆ ได้ถูกต้อง (K)
7. แสดงบทบาทสมมุตใิ นการเลอื กวิธกี ารคมุ กาเนดิ ได้อย่างถูกต้องเหมาะสม (P)
8. ยอมรับการเปล่ียนแปลงของร่างกายและจติ ใจเม่ือเจริญเข้าสวู่ ัยหนุ่มสาว (A)
9. ตระหนักถงึ การปอ้ งกนั การมเี พศสัมพันธ์และการตง้ั ครรภ์ก่อนวัยอนั ควร (A)
10. สนใจใฝร่ ูใ้ นการศึกษา (A)
11. เป็นนักใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ หรือกระบวนการเรียนรู้เพ่ือหาคาตอบอย่าง
สนุกสนาน (A)
สาระสาคัญ
ระบบสืบพันธ์ุของมนุษย์ แบ่งออกเปน็ 2 ระบบ ดังน้ี
- ระบบสืบพันธ์ุเพศชาย ประกอบด้วยอวัยวะหลายอวัยวะที่ทาหน้าที่สัมพันธ์กัน ได้แก่
อัณฑะ ทาหน้าที่สร้างฮอร์โมนเพศชายและเซลล์อสุจิ ถุงหุ้มอัณฑะทาหน้าที่ห่อหุ้มอัณฑะและปรับ
อุณหภูมขิ องอัณฑะใหต้ ่ากวา่ ปกติ หลอดเก็บอสุจิทาหน้าที่เก็บเซลล์อสุจิท่ีสร้างจากอัณฑะ หลอดนา
อสุจิทาหน้าที่เป็นทางผ่านของเซลล์อสุจิ ต่อมลูกหมากทาหน้าท่ีหล่ังสารที่มีสมบัติเป็นเบสเพ่ือลด
ความเป็นกรดในช่องคลอดของเพศหญิง ต่อมคาวเปอร์ทาหน้าที่สร้างสารหล่อลื่น ต่อมสร้างน้าเลี้ยง
อสุจิทาหน้าท่ีสร้างน้าเล้ียงเซลล์อสุจิ และองคชาติเป็นอวัยวะสืบพันธุ์ภายนอกซ่ึงเป็นทางผ่านของ
เซลล์อสุจิออกจากร่างกาย การสร้างเซลล์อสุจิและการเกิดลักษณะขั้นที่ 2 ของเพศชายถูกควบคุม
โดยฮอร์โมนเทสโทสเทอโรน
- ระบบสืบพันธุ์เพศหญิง ประกอบด้วยอวัยวะหลายอวัยวะท่ีทาหน้าที่สัมพันธ์กัน ได้แก่
รังไข่ทาหน้าที่สร้างเซลล์ไขแ่ ละฮอร์โมนเพศหญิง ท่อนาไข่เป็นบริเวณท่ีเกดิ การปฏิสนธขิ องเซลล์อสุจิ
กับเซลล์ไข่ มดลูกเป็นบริเวณท่ีฝังตัวของเอ็มบริโอ และช่องคลอดเป็นทางผ่านของเซลล์อสุจิเข้าสู่
มดลูกและเป็นทางออกของทารกเมือ่ ครบกาหนดคลอด การสร้างเซลล์ไขแ่ ละการเกิดลักษณะขั้นท่ี 2
ของเพศหญิงถูกควบคุมโดยฮอร์โมนโพรเจสเทอโรนและอีสโทรเจน ซึ่งเพศหญิงในวยั เจริญพนั ธ์ุมกี าร
โดย นางพัชรี คณู ทอง ตาแหนง่ ครู วทิ ยฐานะ ครูเชย่ี วชาญ
2
ชดุ กิจกรรมการเรียนรูว้ ทิ ยาศาสตร์ ชุดที่ 5 ระบบสบื พนั ธ์ุ
ตกไข่ เดือนละ 1 เซลล์ และหากเซลล์ไข่ไมไ่ ด้รับการปฏสิ นธิกับเซลล์อสุจิ ผนังมดลูกท่ีหนาตัวขึ้นจะ
หลดุ ออกเปน็ ประจาเดอื น
การปฏิสนธิของเซลล์ไข่กับเซลล์อสุจิเกิดขึ้นท่ีท่อนาไข่ของเพศหญิง แบ่งเซลล์เป็นไซโกต
เอม็ บริโอ และเจรญิ เป็นทารกในครรภ์เป็นเวลา 9 เดือน
ตวั ออ่ นฝังตวั แลว้ มีการเจริญเตบิ โตเป็นข้ันตอนโดยเอม็ บริโอจะมีอวยั วะครบเมื่ออายุ
ประมาณ 8 สปั ดาห์ ถือวา่ สน้ิ สุดภาวะเอม็ บริโอ และอยู่ในท้องแม่จนครบ 280 วนั หรือประมาณ
40 สปั ดาห์ หรอื ประมาณ 9 เดือน หลังจากวนั แรกของการมีประจาเดือนครั้งสุดทา้ ยจึงคลอดออก
จากท้องแม่
ฝาแฝด แบ่งเป็น 2 ประเภท
1. แฝดร่วมไข่ (แฝดแท้) หมายถงึ แฝดท่เี กิดจากไข่ 1 เซลลผ์ สมกบั ตัวอสจุ ิ 1 เซลล์
ไดไ้ ซโกตแล้วแยกออกเปน็ 2 เซลล์ เจรญิ เปน็ เอม็ บรโิ อภายในมดลูกแม่ เมอ่ื คลอดจะไดท้ ารก 2 คน
เปน็ เพศเดยี วกันและมลี กั ษณะเหมือนกนั เกือบทุกอย่าง
2. แฝดต่างไข่ (แฝดเทยี ม) หมายถึง แฝดที่เกิดจากไขม่ ากกว่า 1 เซลล์และตัวอสจุ มิ ากกว่า
1 เซลล์ ปฏิสนธใิ นเวลาใกลเ้ คยี งกนั เจรญิ เปน็ เอ็มบรโิ อในมดลูก โดยมีรกแยกกันเม่ือคลอดจะได้
ทารกมากกวา่ 1 คน เปน็ เพศเดียวกนั หรอื ตา่ งเพศกไ็ ด้
อย่างไรก็ตาม มีวิธีการคุมกาเนิดหากไม่พร้อมสาหรับการมีบุตร เช่น การคุมกาเนิดโดยวิธี
ทางธรรมชาติ การใช้อุปกรณ์ การใช้สารเคมี การทาหมัน ซ่ึงการคุมกาเนิดแต่ละวิธีมีข้อดี-ข้อเสีย
และความเหมาะสมทแ่ี ตกตา่ งกัน
โดย นางพัชรี คณู ทอง ตาแหน่ง ครู วิทยฐานะ ครูเชีย่ วชาญ
3
ชดุ กิจกรรมการเรยี นรู้วิทยาศาสตร์ ชดุ ท่ี 5 ระบบสบื พันธุ์
รายวิชาวิทยาศาสตร์ 3 แบบทดสอบก่อนเรียน หน่วยการเรยี นรู้ท่ี 2
ชั้นมัธยมศกึ ษาปีท่ี 2 ชุดกิจกรรมการเรยี นร้ทู ่ี 5 ระบบอวัยวะในร่างกายของเรา
เวลา 10 นาที
เร่ือง ระบบสืบพนั ธ์ุ 10 คะแนน
คาชีแ้ จง 1. แบบทดสอบฉบบั นี้ จานวน 10 ขอ้ คะแนนเต็ม 10 คะแนน เวลาทีใ่ ช้ 10 นาที
2. จงเลอื กคาตอบท่ีถูกต้องที่สุด แล้วเขียนเครื่องหมาย ลงในกระดาษคาตอบ
1. Primordial germ cells สรา้ งมาจาก
ก. รังไข่
ข. อณั ฑะ
ค. อัณฑะและรงั ไข่
ง. เนอื้ เย่ือทีห่ ุ้มนอกอณั ฑะและรังไข่
2. หนา้ ทสี่ าคัญของถุงอณั ฑะคือ
ก. ชว่ ยให้อณั ฑะสร้างฮอร์โมน
ข. ชว่ ยปอ้ งกันอันตรายแก่อณั ฑะ
ค. ช่วยให้ผลิตน้าอสจุ ทิ ี่มีคณุ ภาพสูง
ง. ชว่ ยปรับอุณหภูมิใหพ้ อเหมาะสาหรบั สร้างตัวอสุจิ
3. ฮอรโ์ มนจากต่อมใดที่หล่ังมากระตุ้นให้กลา้ มเนื้อมดลูกบีบตวั ในช่วงคลอด
ก. รงั ไข่
ข. มดลูก
ค. ต่อมใต้สมอง
ง. ทง้ั ก, ข, ค
4. หญงิ อายปุ ระมาณเทา่ ใด จึงจะเริ่มมีประจาเดือน
ก. 12 ปี
ข. 15 ปี
ค. 17 ปี
ง. 19 ปี
โดย นางพัชรี คณู ทอง ตาแหนง่ ครู วิทยฐานะ ครูเชย่ี วชาญ
4
ชุดกจิ กรรมการเรียนร้วู ทิ ยาศาสตร์ ชดุ ที่ 5 ระบบสบื พนั ธ์ุ
5. ทารกเรมิ่ มหี ใู นช่วงอายกุ ่ีสปั ดาห์
ก. 6 สัปดาห์
ข. 5 สปั ดาห์
ค. 4 สัปดาห์
ง. 3 สัปดาห์
6. ในขณะทีผ่ หู้ ญิงมปี ระจาเดือนน้นั ระดบั ฮอร์โมนเพศในเลือดควรจะ
ก. มีอสิ โทรเจนสงู มาก
ข. มโี พรเจสเทอโรนสูงมาก
ค. มีอสิ โทรเจนและโพรเจสเทอโรนตา่ มาก
ง. มอี สิ โทรเจนและโพรเจสเทอโรนสงู มาก
7. อุณหภูมเิ ฉลี่ยในถงุ อณั ฑะของคนควรจะเป็นเท่าใด
ก. 30 C
ข. 34 C
ค. 37 C
ง. 40 C
8. อวัยวะสร้างเซลล์สบื พนั ธ์ุของสัตวเ์ ลีย้ งลูกด้วยนมตัวผคู้ ือ
ก. ไข่
ข. อสุจิ
ค. รงั ไข่
ง. อณั ฑะ
9. ชอ่ งคลอดไมไ่ ดท้ าหนา้ ที่ใด
ก. ทางผา่ นของอสจุ ิเขา้ ผสมกับไข่
ข. ทางผา่ นของประจาเดือน
ค. ทางผ่านของปัสสาวะ
ง. ทางผ่านของทารก
โดย นางพัชรี คณู ทอง ตาแหนง่ ครู วทิ ยฐานะ ครูเชี่ยวชาญ
5
ชุดกจิ กรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ชดุ ที่ 5 ระบบสืบพันธุ์
10. ระยะสดุ ทา้ ยของเอ็มบริโอของคนสน้ิ สุดลงเมื่อประมาณ
ก. 24 วันหลงั ปฏสิ นธิ
ข. 30 วันหลงั ปฏิสนธิ
ค. 60 วนั หลงั ปฏิสนธิ
ง. ระยะที่คลอด
โดย นางพชั รี คณู ทอง ตาแหนง่ ครู วทิ ยฐานะ ครูเชย่ี วชาญ
6
ชดุ กจิ กรรมการเรยี นร้วู ิทยาศาสตร์ ชุดที่ 5 ระบบสบื พันธุ์
บัตรเนอื้ หา
ชดุ กิจกรรมการเรียนรู้วทิ ยาศาสตร์
ชุดท่ี 5 ระบบสืบพันธ์ุ (Reproductive system)
มนุษย์มีการสืบพันธุ์แบบอาศัยเพศ ซ่ึงเกิดจากการรวมกันของเซลล์สืบพันธุ์เพศชาย คือ
เซลล์อสุจิ (sperm cell) กับเซลล์สืบพันธ์ุเพศหญิง คือ เซลล์ไข่ (egg cell) ซ่ึงเม่ือเซลล์สืบพันธ์ุ
ท้ัง 2 เพศมาปฏิสนธิกันจะได้ไซโกต (zygote) จากนั้นจะแบ่งเซลล์เป็นตัวอ่อน (embryo)
และเจรญิ เตบิ โตเปน็ ทารกต่อไป
สงิ่ มชี ีวิตทั้งหลายมีคุณสมบัติอย่างหนึ่งคือ มีการสืบพนั ธ์ุ เพ่ือการดารงเผ่าพันธุ์ของสงิ่ มีชีวิต
นน้ั ๆ การสืบพันธุ์ การเจริญเติบโต และพฒั นาการ และการส่งต่อลักษณะต่างๆ ทางพนั ธุกรรมไปให้
ลูกหลาน จะดาเนนิ ไปไมไ่ ดเ้ ลยถา้ ปราศจากการสืบพนั ธข์ุ องเซลล์ หรือการแบง่ เซลล์ เซลลส์ ืบพนั ธใ์ุ น
เพศชาย คือ อสุจิ และเซลล์สืบพันธ์ุในเพศหญิง คือ ไข่ เมื่ออสุจิและไข่ มีการปฏิสนธิ จะมีการแบ่ง
เซลล์ เจริญและพัฒนาจนเปน็ เอมบริโอ และเป็นตัวท่ีสมบูรณ์แล้ว เม่ือคลอดออกมาก็จะมีการเจริญ
และพัฒนาอีกคร้ังหนึ่ง จนกระทั่งเข้าสู่วัยรุ่นจะมีการเจริญทางเพศท่ีสมบูรณ์ และสามารถท่ีจะ
สืบพันธ์ไุ ดอ้ ีก
ภาพที่ 5.1 การสืบพนั ธ์เุ กดิ จากการผสมกันของเซลลอ์ สุจิกบั เซลลไ์ ข่
ท่ีมา : หนงั สอื เรียนรายวชิ าพ้ืนฐานวทิ ยาศาสตร์ เล่ม 1 ช้ันมธั ยมศึกษาปีที่ 2
บรษิ ทั อกั ษรเจรญิ ทศั น์ อจท. จากดั (หน้า 41)
โดย นางพัชรี คณู ทอง ตาแหนง่ ครู วทิ ยฐานะ ครูเช่ียวชาญ
7
ชดุ กจิ กรรมการเรยี นรู้วิทยาศาสตร์ ชดุ ที่ 5 ระบบสืบพนั ธุ์
5.1 โครงสรา้ งและหนา้ ท่ีของอวัยวะในระบบสืบพันธ์ุ
5.1.1 ระบบสืบพันธเ์ุ พศชาย
อวัยวะสืบพันธ์ุเพศชาย (Male Genital Organ) อวัยวะของระบบสืบพันธุ์
เพศชายระบบสืบพันธุ์เพศชายประกอบด้วยอวัยวะท่ีสาคัญ ได้แก่ อัณฑะหลอดเก็บอสุจิหลอดนา
อสุจิองคชาติต่อมสร้างน้าเลี้ยงอสุจิต่อมลูกหมากและต่อมคาวเปอร์ ดังภาพท่ี 5.2 โดยอัณฑะ
(testis) ทาหน้าท่ีสร้างอสุจิซ่ึงเป็นเซลล์สืบพันธ์ุเพศผู้อสุจิท่ีสร้างข้ึนจะถูกส่งไปเก็บไว้ท่ีหลอดเก็บ
อสุจิเพื่อให้อสุจิเจริญเติบโตเต็มที่อสุจิจะเคล่ือนทจ่ี ากหลอดเก็บอสจุ ิไปตามหลอดนา้ อสุจิในระหว่าง
การเคลื่อนท่ีจะมีของเหลวที่สร้างจากต่อมหลายชนิด ได้แก่ ของเหลวจากต่อมสร้างน้าเลี้ยงอสุจิ
สาหรับเป็นอาหารของอสจุ ิของเหลวจากต่อมลูกหมากเพ่ือปรับสภาพความเปน็ กรดในชอ่ งคลอดของ
เพศหญงิ ให้เปน็ กลางและของเหลวจากต่อมคาวเปอร์ซ่ึงช่วยหล่อลืน่ ขณะมีเพศสัมพนั ธ์ของเหลวจาก
ต่อมดังกล่าวจะรวมกับอสุจิเรียกว่าน้าอสุจิแล้วจะเคลื่อนท่ีไปตามท่อปัสสาวะในองคชาติและหลัง
ออกส่ภู ายนอกร่างกาย
ภาพท่ี 5.2 อวัยวะของระบบสบื พันธเ์ุ พศชาย
ท่ีมา : หนงั สอื เรยี นรายวิชาพ้นื ฐานวทิ ยาศาสตร์ เลม่ 1 ช้นั มัธยมศึกษาปที ี่ 2
สถาบนั ส่งเสรมิ การสอนวิทยาศาสตร์ (หนา้ 99)
โดย นางพัชรี คณู ทอง ตาแหนง่ ครู วทิ ยฐานะ ครูเชีย่ วชาญ
8
ชุดกิจกรรมการเรยี นรวู้ ิทยาศาสตร์ ชดุ ที่ 5 ระบบสบื พันธุ์
อวยั วะสบื พันธุ์เพศชาย แบง่ เป็น 2 ส่วน คอื
1. อวยั วะสืบพันธภุ์ ายนอก ไดแ้ ก่ ถงุ อัณฑะ ลึงค์
1.1 ถุงอัณฑะ (Scrotum) เป็นส่วนของผิวหนังท่ีไม่มีไขมันใต้ผิวหนัง ยื่นลงมาจาก
หน้าท้อง มีกล้ามเนื้อเรียบปรากฏอยู่ (Dartus muscle) เป็นกล้ามเน้ือที่ช่วยปรับอุณหภูมิ
ของอณั ฑะ ใหต้ ่ากว่าอณุ หภมู ขิ องรา่ งกาย ประมาณ 3-5 องศาเซลเซยี ส
1.2 ลึงค์ (Penis) ทาหน้าท่ีเป็นทางผ่านของปัสสาวะ และเป็นอวยั วะในการร่วมเพศ ลึงค์
เป็นเน้ือเยื่อเก่ียวพันชนิดพิเศษ โดยปกติจะหดตัวอยู่ (Detumescence) แต่ถ้ามีความรู้สึกทางเพศ
จะสามารถแข็งตวั (Erection of penis) ได้
2. อวัยวะสืบพนั ธภ์ุ ายใน ไดแ้ ก่ อัณฑะ ท่อและต่อมต่างๆ
2.1 อัณฑะ (Testis) เป็นอวัยวะสาคัญท่ีสุดในระบบสืบพันธุ์เพศชาย ทาหน้าที่สร้างอสุจิ
และฮอร์โมนเพศชาย อัณฑะมีลักษณะรูปไข่อยู่ในถุงอัณฑะ ทาหน้าท่ีสร้างฮอร์โมนเพศชาย คือ
เทสโทสเตอโรน โดยมีท่อนาอสจุ ิ ออกสภู่ ายนอก คือ เอพิดไิ ดมสิ (Epididymis)
2.2 หลอดเก็บอสุจิ (Epididymis) เป็นท่อขดไปมา วางตัวติดกับด้านหลังของอัณฑะ
ประกอบด้วยส่วนหัว ส่วนลาตัว และส่วนหาง หลอดเก็บอสุจิยาวประมาณ 4-6 เซนติเมตร
ทาหน้าทีเ่ ปน็ ท่เี กบ็ อสุจิทีส่ ร้างสมบรูณแ์ ลว้
2.3 ท่อนาอสุจิ (Vas Deferens) เป็นท่อตอ่ จากส่วนหางของหลอดเก็บอสจุ ิ ยาวประมาณ
1 น้วิ ทาหนา้ ที่นาอสุจจิ ากอัณฑะเขา้ ไปในชอ่ งทอ้ ง
2.4 ถุงพักอสุจิ (Seminal Vescicle) เป็น 2 ถุง อยู่หลังและต่อกับกระเพาะอาหาร
ทาหน้าที่สร้างอาหารสาหรับอสุจิ (Seminal fluid) ในอาหารประกอบด้วยน้าตาลฟรักโทส
กับโปรตนี โกลบูลิน
2.5 ท่อฉีดอสุจิ (Ejaculatory Duct) เป็นท่อส้ันๆ เปิดเข้าสู่ท่อปัสสาวะ ตรงบริเวณต่อม
ลูกหมากยาวประมาณ 2 เซนติเมตร บางครั้งเรียกว่า หลอดฉีดน้ากาม ท่อน้ีทาหน้าที่บีบตัว ขับน้า
อสุจิ (Semen)
2.6 ต่อมลูกหมาก (Prostate Gland) เป็นต่อมท่ีอยู่รอบท่ออสุจิ อยู่ด้านล่างกระเพาะ
ปสั สาวะ ทาหนา้ ท่ีสรา้ งน้ากาม (Prostate Gland) ซ่ึงมีลกั ษณะ คล้ายนา้ นม มฤี ทธ์เิ ปน็ เบสเล็กน้อย
มกี ลนิ่ เฉพาะตัว
2.7 ตอ่ มกล่ันเมือก (Urethral Gland) ได้แก่ ต่อมคาวเปอร(์ Cowper gland) อยใู่ ต้ต่อม
ลูกหมาก ทาหนา้ ทสี่ รา้ งสารหล่อล่ืนทอ่ ปัสสาวะ มีฤทธ์ิเปน็ เบส
ในเพศชาย เม่ือเข้าสู่ระยะท่ีสืบพันธุ์ได้ จะมีการสร้างอสุจิได้เป็นจานวนมาก และเป็นช่วง
เวลานานกวา่ เพศหญิง จนถึงอายุประมาณ 80-90 ปี โดยเฉพาะในระยะหลังๆ นี้ อสุจิทสี่ ร้างได้จะ
มีจานวนน้อยลง ปกติในการหลั่งน้าอสุจิ (Insemination) ในแต่ละครั้ง จะมีปริมาณประมาณ 3-5
โดย นางพชั รี คณู ทอง ตาแหนง่ ครู วิทยฐานะ ครูเช่ียวชาญ
9
ชุดกจิ กรรมการเรียนรวู้ ิทยาศาสตร์ ชดุ ที่ 5 ระบบสบื พนั ธ์ุ
มิลลิลิตร โดยมีอสุจิอยู่ประมาณ 300-400 ล้านตัว หากมีจานวนอสุจิน้อยกว่าน้ี อาจเป็นสาเหตุทา
ให้เป็นหมันได้ อสุจิเมื่อเข้าไปในช่องคลอดเพศหญิง จะมีชีวิตอยู่ได้ถึง 48 ชั่วโมง อสุจิสามารถ
เคล่ือนที่ได้ด้วยความเร็ว 3 มิลลิเมตรต่อนาที โดยการว่ายน้าไป และจะเคลื่อนท่ีไปถึงท่อนาไข่ใน
เวลา 30-60 นาที
อสุจิ (Spermatozoa) เป็นเซลล์ท่ีเจริญเติบโตไปเป็นตัวใหม่โดยลาพังไม่ได้ จะต้องรวม
กับไขเ่ สยี ก่อนเสมอไป
อสจุ ิ ประกอบด้วยโครงสรา้ ง 3 สว่ น คือ
1. ส่วนหวั เป็นสว่ นที่สาคัญที่สดุ ในการผสมพนั ธุ์ ท่ีปลายหวั เรียกว่า อะโครโซม ใชส้ าหรับ
เจาะไข่ในส่วนหัวนี้จะมี DNA อยู่มาก
2. สว่ นลาตวั มลี ักษณะเป็นทรงกระบอก สว่ นบนสุดจะคอดเรยี กว่า คอ
3. สว่ นหาง ประกอบดว้ ย 2 สว่ น คือ ต้นหาง และ ปลายหาง
ภาพที่ 5.3 โครงสร้างของระบบสืบพันธุ์เพศชาย
ทีม่ า : หนงั สือเรยี นรายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตร์ เลม่ 1 ช้ันมัธยมศกึ ษาปที ่ี 2
บริษทั อกั ษรเจริญทัศน์ อจท. จากดั (หน้า 42)
โดย นางพชั รี คณู ทอง ตาแหนง่ ครู วทิ ยฐานะ ครูเชยี่ วชาญ
10
ชุดกิจกรรมการเรยี นรวู้ ิทยาศาสตร์ ชดุ ท่ี 5 ระบบสืบพันธุ์
จากภาพจะเห็นส่วนประกอบต่างๆทั้งภายนอกและภายในของอวัยวะเพศชายอวัยวะเพศ
ภายนอกประกอบด้วยองคชาตและถุงอัณฑะภายในถุงอัณฑะจะมีลูกอัณฑะซ่ึงทาหนา้ ที่สรา้ งตัวอสุจิ
และสร้างฮอร์โมนเพศตัวอสุจิที่ถูกสร้างจะถูกนาไปเก็บไว้ที่ถุงผลิตน้าอสุจิหรือถุงพักน้ากาม
ต่อจากนั้นจะมีท่อหลั่งน้ากามนาน้ากามมาสู่ท่อปัสสาวะปกติน้ากามจะถูกสร้างและนามาเก็บสะสม
ไว้ท่ีถุงพักน้ากามนี้ตลอดเวลาเม่ือน้าอสุจิมีจานวนมากก็จะมีความรู้สึกทางเพศและมีความต้องการ
ทางเพศสูงกว่าปกติและจะเกิดการขับน้ากามท่ีกาลังจะล้นน้ีออกมาเองทางท่อปัสสาวะภายใต้กลไก
ทางจิตใจในตอนกลางคืนความรู้สึกทางเพศจะกระตุ้นให้เกิดความฝันทางเพศเช่นฝันว่าได้กอดจูบ
หรือร่วมเพศแล้วจะเกิดความรู้สึกทางเพศอย่างสูงจนหลั่งน้าอสุจิออกมาในขณะหลับเรียกว่า
“ฝันเปียก” ปรากฏการณเ์ ช่นนีแ้ สดงว่าร่างกายเร่มิ มีการสร้างน้าอสุจิอย่างต่อเนื่องด้วยอิทธิพลของ
ฮอรโ์ มนเพศชายซ่งึ ก็แสดงวา่ เริม่ เขา้ สวู่ ยั รุ่นนั่นเอง
ผิวหนงั บรเิ วณอวยั วะเพศนจ้ี ะมีความไวต่อการกระตุ้นมากเป็นพเิ ศษเมื่อไปถูกตอ้ งสัมผสั เข้า
จะเกิดความรู้สกึ ทางเพศองคชาตจะแข็งตัวและขยายตวั ขนึ้ ถึงสองสามเท่าการเกิดความรูส้ ึกทางเพศ
จากการได้มองภาพโป๊หรือจากจินตนาการทางเพศก็ทาให้เกิดการแข็งตัวขององคชาตได้เช่นกันเมื่อ
ความร้สู กึ ทางเพศลดลง
องคชาตก็จะคืนตัวกลับสู่สภาพเดิมในวันหน่ึงองคชาตอาจแข็งตัวได้หลายคร้ังบางคร้ังอาจ
เกิดข้ึนในสถานการณ์ที่ไม่เหมาะสมเช่นในขณะเรียนหนังสือหรืออยู่ต่อหน้าผู้อ่ืนอาจทาให้รู้สึกอาย
หรือวิตกกังวลเกรงว่าผู้อ่ืนจะมองเห็นการเบี่ยงเบนความคิดหรือการกระทาให้พ้นจากเร่ืองเพศใน
ขณะนั้นจะช่วยให้องคชาตอ่อนตัวลงได้อย่างรวดเร็ว น้าอสุจิเป็นของเหลวสีขาวข้นประกอบด้วยตัว
อสุจิและของเหลวท่ีสร้างขึ้นจากถุงผลิตน้าหล่อเลี้ยงอสุจิหรือถุงพักน้าถามต่อมลูกหมาก
และต่อมคาวเปอร์ของเหลวน้ีจะเป็นอาหารของตัวอสุจิและช่วยใหต้ ัวอสุจิแข็งแรงเดินทางได้สะดวก
เม่ือมีการกระตุ้นทางเพศจนถึงระยะ“สุดยอดทางเพศ”จะมีการฉีดน้าอสุจิออกมาทางท่อปัสสาวะ
เป็นจังหวะๆประมาณ10คร้ังห่างกันครั้งละ1วินาทีรวมจานวนน้าอสุจิท่ีหลั่งออกมาประมาณ 2 – 5
ลกู บาศก์เซนตเิ มตรซ่งึ จะมตี ัวอสจุ ปิ ระมาณ 120 – 250 ลา้ นตัว
ตัวอสุจิเป็นเซลสืบพันธุ์เพศชายที่ผลิตขึ้นมาจากลูกอัณฑะมีขนาดเล็กมากมองด้วยตาเปล่า
ไม่เห็นตัวอสุจิประกอบด้วยส่วนหัวส่วนกลาง(ลาตัว)และส่วนหางซึ่งจะโบกสะบัดทาให้ตัวอสุจิ
เคล่ือนท่ีได้เม่ือมีเพศสัมพันธ์กันจนถึงจุดสุดยอดตัวอสุจิจะถูกหล่ังออกมาภายในช่องคลอดของฝ่าย
หญิงหลังจากนั้นตัวอสุจิจะแหวกว่ายเขา้ ไปในมดลกู และท่อมดลกู จนไปพบ“ไข”่ ของเพศหญิงตัวอสุจิ
จะไชเข้าไปภายในไข่ได้เพียงตัวเดียวและผสมกับไข่นั้นเกิดเป็นตัวอ่อนของเด็กรวมการผสมระหว่าง
ตัวอสุจแิ ละไขน่ ีเ้ รยี กว่า “การปฏิสนธิ”
โดย นางพชั รี คณู ทอง ตาแหน่ง ครู วิทยฐานะ ครูเชี่ยวชาญ
11
ชุดกจิ กรรมการเรยี นรู้วทิ ยาศาสตร์ ชดุ ท่ี 5 ระบบสบื พนั ธุ์
ภาพที่ 5.4 ลกั ษณะของเซลล์อสจุ ิ
ทีม่ า : หนงั สอื เรยี นรายวชิ าพนื้ ฐานวทิ ยาศาสตร์ เล่ม 1 ชัน้ มัธยมศกึ ษาปที ี่ 2
บริษทั อักษรเจรญิ ทศั น์ อจท. จากดั (หน้า 43)
เซลล์อสุจิสร้างจากอัณฑะและเคล่ือนที่มาเก็บยังหลอดเก็บอสุจิซ่ึงเป็นแหล่งพัฒนาเซลล์
อสุจิให้เจริญเติบโตเต็มท่ีเมื่อมีการหล่ังอสุจิเซลล์อสุจิจะถูกลาเลียงมาตามหลอดนาอสุจิไปยังท่อ
ปัสสาวะซ่ึงจะมีการหล่ังของเหลวจากต่อมต่าง ๆ ได้แก่ อาหารเล้ียงอสุจิจากต่อมสร้างน้าเลี้ยงอสุจิ
ของเหลวท่ีมีฤทธิ์เป็นเบสอ่อน ๆ จากต่อมลูกหมากซึ่งช่วยลดความเป็นกรดในช่องคลอดของเพศ
หญิงและของเหลวสาหรับหล่อลื่นท่อปัสสาวะจากเซลล์สืบพันธ์ุเพศชายคืออะไรต่อมคาวเปอร์
ของเหลวเหล่านี้จะเคลื่อนที่มารวมกับเซลล์อสุจิเรียกว่าน้าอสุจิมีลักษณะอย่างไรโดยเพศชายจะเร่ิม
สร้างเซลลอ์ สุจเิ มือ่ อายุประมาณ 12-13 ปีและจะสรา้ งไปตลอดชวี ติ
5.1.2 อวัยวะสืบพันธุ์เพศหญิง (Female GenitalOrgan) ระบบสืบพันธ์ุเพศหญิง
ระบบสืบพันธ์ุเพศหญิงประกอบด้วยอวัยวะสาคัญ ได้แก่ รังไข่ท่อนาไข่มดลูกปากมดลูกและช่อง
คลอดดังภาพ 236 รังไข่ (Grary) มีอยู่ 2 ข้างแต่ละข้างอยู่ใกล้กับปลายของท่อนาไข่ที่มีลักษณะเป็น
ปากแตรรังไข่ทาหน้าท่ีสร้างเซลล์ไปซึ่งเปน็ เขตล์สืบพันธุ์เทศเมยี เมื่อเกิดการตกไข่เซลล์ไขจ่ ะเคลื่อนท่ี
จากรังไข่ไปตามท่อนาไข่ซ่ึงมีปลายข้างหนึ่งเปิดเข้าสู่มดลูกมดลูกมีผนังหนาประกอบด้วยกล้ามเน้ือ
และเนื้อเย่ือด้านในซึง่ สามารถแบ่งตัวไดเ้ พ่ือรอรบั การฝังตัวขอเอม็ บริโอสว่ นบริเวณทม่ี ดลูกติดต่อกับ
ช่องคลอดเรียกวา่ ปากมดลูก
โดย นางพัชรี คณู ทอง ตาแหน่ง ครู วทิ ยฐานะ ครูเชี่ยวชาญ
12
ชุดกจิ กรรมการเรยี นรู้วิทยาศาสตร์ ชดุ ท่ี 5 ระบบสืบพันธุ์
ช่องคลอด (vagina) อยู่ต่อจากมดลูกลงมาประกอบด้วยกล้ามเนื้อเรียบตามขวาง
สามารถยืดหยุ่นได้มีหลอดเลือดและเส้นประสาทมาเล้ยี งจานวนมากช่องคลอดทาหน้าทเ่ี ป็นทางผ่าน
ของเซลล์อสจุ เิ ขา้ สูม่ ดลูกและเป็นทางออกของทารกเม่ือครบกาหนดคลอด
มดลูก (uterus) มีรูปร่างคล้ายผลชมพูหัวกลับลงกว้างประมาณ 4 เซนติเมตรยาว
ประมาณ 6-8 เซนติเมตรและหนาประมาณ 2 เซนติเมตรอยู่ในบริเวณอุ้งกระดูกเชิงกรานระหว่าง
กระเพาะปัสสาวะกับทวารหนักทาหน้าท่ีเป็นที่ฝังตัวของเซลล์ไข่ที่ได้รับการผสมแล้วและเป็นที่
เจริญเตบิ โตของทารกในครรภ์
รังไข่ (ovary) มี 2 อันซึ่งอยู่ด้านข้างของมดลูกมีลักษณะคล้ายเม็ดมะม่วงหิมพานต์
ยาวประมาณ 2-3 เซนตเิ มตรหนาประมาณ 1 เซนตเิ มตรทาหน้าท่ีผลติ เซลล์ไข่และฮอร์โมนเพศหญิง
ทอ่ นาไข่หรอื ปีกมดลูก (oviduct) มเี ส้นผ่านศูนยก์ ลางประมาณ 2 มิลลิเมตรและยาว
ประมาณ 6-7 เซนติเมตรเป็นทางเชื่อมต่อระหว่างรังไข่ท้ังสองข้างกับมดลูกทาหน้าที่เป็นทางผ่าน
ของเซลล์ไข่ท่อี อกจากรงั ไข่เข้าสมู่ ดลูกและเป็นบรเิ วณทเี่ ซลลอ์ สุจิจะเข้าปฏสิ นธกิ ับเซลล์ไข่
ภาพท่ี 5.5 อวัยวะของระบบสบื พันธุ์เพศหญิง
ที่มา : หนงั สือเรยี นรายวิชาพ้ืนฐานวิทยาศาสตร์ เลม่ 1 ชนั้ มัธยมศกึ ษาปที ่ี 2
สถาบันส่งเสรมิ การสอนวิทยาศาสตร์ (หนา้ 100)
อวัยวะสืบพันธเ์ุ พศหญงิ แบ่งเป็น 2 ส่วน คอื
1. ส่วนภายนอก ได้แก่ คลิทอริส แคมใหญ่ แคมเล็ก เวสทิบุล เย่ือพรหมจารีย์ รวมทั้ง
ต่อมสร้างนา้ เมอื กบรเิ วณชอ่ งคลอด
โดย นางพัชรี คณู ทอง ตาแหนง่ ครู วทิ ยฐานะ ครูเชี่ยวชาญ
13
ชุดกิจกรรมการเรียนร้วู ทิ ยาศาสตร์ ชดุ ที่ 5 ระบบสบื พันธุ์
1.1 คลทิ อริส (Clitoris) เทยี บไดก้ บั ลึงค์ในเพศชาย ประกอบดว้ ยเน้อื เย่อื ที่ทาใหเ้ กิด
การแข็งตัว โดยใหเ้ ลือดมาคัง่
1.2 แคมใหญ่ (Labia Majora) เป็นปุ่มนูนขนาดใหญ่ 2 อัน ซึ่งประกอบด้วย ต่อม
น้ามัน ไขมัน มีขน(Pubic hair) ปกคลุมอยู่ด้านบนของแคมใหญ่จะรวมกันเป็นเนินหัวเหน่า (Mons
pubis)
1.3 แคมเล็ก (Labia Majora) มีลักษณะเป็นเนื้อน่ิมของปุ่มนูนของผิวหนัง
เหมือนกัน แต่ไม่มีไขมัน ไม่มีขน ด้านหลังจะมารวมกันเป็นฝีเย็บ (Fourchette) ซึ่งจะฉีกขาดใน
ตอนคลอด
1.4 เวสทบิ ุล (Vestibule) เป็นส่วนที่อยู่นอกสุดของช่องคลอด จะมีเยอ่ื พรหมจารีย์
(Hymen) ปิดอยู่ มีช่องเปิดของท่อปัสสาวะ และช่องเปิดของช่องคลอดรวมอยู่ มีต่อมน้าเมือกและ
ตอ่ มเหง่อื มาเปิดด้วย
1.5 ต่อมสร้างน้าเมือก (Vestibula Gland) อยู่ท่ีบริเวณแคมเล็ก ทาหน้าท่ีสร้าง
สารเมือก เพ่อื การหลอ่ ลน่ื
2. ส่วนภายใน ได้แก่ รังไข่ มดลกู และ ช่องคลอด
2.1 รังไข่ (Ovary) เป็นอวัยวะท่ีสาคัญที่สุดในระบบสืบพันธุ์เพศหญิง มีอยู่ 2 ข้าง
ในช่องท้องน้อยยึดติดกับมดลูกโดยเอ็น ส่วนด้านนอกยึดติดกับลาตัว ภายในรังไข่จะพบไข่
มากมาย ประมาณ 3-4 แสนใบ รังไข่ทาหน้าท่ี 2 อย่าง คือ สร้างไข่ และสร้างฮอร์โมนเพศ
หญิง ไข่ใบท่ีสุกเต็มท่ีแล้ว จะหลุดออกมาจากรังไข่ เรียกว่า การตกไข่ (Ovulation) ซึ่งถูกควบคุม
และกระต้นุ โดยฮอรโ์ มน LH และ FSH จากตอ่ มใตส้ มอง รงั ไข่จะสรา้ งฮอร์โมนโพรเจสเตอโรน
F ในรอบ 28 วัน ไข่จะสุกเพียงในเดียว และ ระยะตกไข่จะมีเวลาประมาณ 14 วัน หาก
ไข่ไม่ได้รับการผสม ก็จะสลายไป และหลุดออกมาสู่ภายนอกพร้อมๆ กับผนังมดลูก เรียกว่า
ประจาเดอื น (Menstruation) ประจาเดอื นจะหมดเมื่ออายุประมาณ 45-50 ปี
2.2 ท่อนาไข่ (Oviduct) เป็นท่อซ่ึงด้านหนึ่งติดกับมดลูกอีกด้านหน่งึ อิสระอยู่ใกล้ๆ
รงั ไข่ เป็นทางผ่านของไขแ่ ละอสุจิ ซึ่ง จะพบกนั ประมาณ 1 ใน 3 ของทอ่ นาไข่
2.3 ช่องคลอด (Vagina) อยู่ระหว่างทวารหนัก กับปากท่อปัสสาวะผนังด้านในมี
เย่ือเมอื กบอุ ยู่ ยดื หดไดด้ ี ท่ีปากชอ่ งคลอดมีกลา้ มเน้ือหรู ูสามารถบังคบั ได้
2.4 มดลูก (Uterus) มีขนาดกว้าง 2 นิ้ว ยาว 3 น้ิว และหนา 1 นิ้ว อยู่ในช่อง
ทอ้ งนอ้ ย ผนังยืดหดไดม้ ากเป็นพิเศษ และขยายตัวได้มากในเวลาตง้ั ครรภ์
ในระยะคลอด ฮอร์โมนออกซิโทซิน จะกระตุ้นใหก้ ล้ามเนื้อบริเวณน้ีหดตัวอย่างรุนแรง
ทาใหค้ ลอดไดง้ า่ ยขนึ้
โดย นางพชั รี คณู ทอง ตาแหน่ง ครู วิทยฐานะ ครูเชี่ยวชาญ
14
ชดุ กจิ กรรมการเรยี นรวู้ ิทยาศาสตร์ ชุดที่ 5 ระบบสบื พนั ธ์ุ
ภาพที่ 5.6 โครงสร้างของระบบสืบพันธเ์ุ พศหญิง
ทมี่ า : หนงั สอื เรยี นรายวชิ าพ้นื ฐานวทิ ยาศาสตร์ เลม่ 1 ชน้ั มัธยมศึกษาปที ่ี 2
บรษิ ทั อกั ษรเจริญทศั น์ อจท. จากัด (หนา้ 44)
อวัยวะเพศหญิงส่วนท่สี ามารถเหน็ ได้ภายนอกประกอบดว้ ยเนินหวั หน่าวแคมนอกแคม
ในเวสติบูลคลิตอรสิ ปากชอ่ งคลอดและช่องปสั สาวะ
อวัยวะเพศภายในผู้หญิงท่ไี ม่สามารถมองเห็นได้ประกอบด้วยช่องคลอดมดลูกท่อนาไข่
และรังไข่จะสังเกตได้ว่าเม่ือย่างเข้าสู่วัยรุ่นบริเวณอวัยวะเพศจะมีการ เติบโตขยายตัวเพ่ิมขนาดข้ึน
บรเิ วณเนนิ หัวหน่าวซ่ึงมีลักษณะเปน็ สามเหลยี่ มนูนอยู่ระหว่างต้นขาสองข้างและท้องน้อยจะใหญข่ ้ึน
จากการมีไขมันมาสะสมบริเวณน้ีจะมีความไวต่อความรู้สึกสัมผัสโดยเฉพาะอย่างยิ่งการกดเน่ืองจาก
โดย นางพัชรี คณู ทอง ตาแหนง่ ครู วทิ ยฐานะ ครูเชย่ี วชาญ
15
ชุดกิจกรรมการเรียนรูว้ ทิ ยาศาสตร์ ชุดท่ี 5 ระบบสบื พันธ์ุ
มปี ลายประสาทรับรู้อย่เู ป็นจานวนมากด้านล่างของเนินหัวหน่าวจะเป็นแคมนอกซึ่งเป็นรอยพับของ
ผิวหนัง2ข้างมาชนกันแคมนอกประกอบด้วยตอ่ มเหง่ือต่อมขนและไขมันเมอ่ื มองจากภายนอกจะเห็น
แคมนอก2ข้างเท่านั้นตอ่ เมื่อเปิดแคมนอกออกจงึ จะเห็นแคมในซ่งึ เปน็ รอยพบั ของผิวหนังอยู่ระหว่าง
ปากช่องคลอดกบั แคมนอกแคมในมีขนาดและสีสนั แตกต่างกนั บางคนเลก็ บางคนใหญ่บางคนมีสแี ดง
เรอื่ ๆบางคนมสี คี ล้าแคมในประกอบดว้ ยเส้นเลือดและเส้นประสาทมากมายจึงเป็นบริเวณทีม่ ีความไว
ตอ่ การสัมผสั มากเช่นกนั
ช่องที่อยู่ระหว่างแคมในทั้งสองข้างเรียกว่าเวสติบูลจะมีรูเปิดของท่อปัสสาวะและปาก
ชอ่ งคลอดบริเวณด้านหน้าของเวสติบูลซึ่งแคมในสองข้างมารวมกันจะมีก้อนเนื้อเล็กๆที่เรียกว่าคลิต
อริสซึ่งเป็นอวัยวะส่วนทีเ่ ปรียบเทียบได้กบั องคชาตของฝ่ายชายคอื เมือ่ มีความรู้สึกทางเพศจะแข็งตัว
ขยายตัวเพ่ิมข้ึนได้อีกเท่าตัวเลยทีเดียวบริเวณคลิตอริสจะมีความไวมากที่สุดต่อการสัมผัสเม่ือมีการ
สัมผัสบริเวณน้ีจะเกิดอารมณ์เพศและความต้องการทางเพศได้มากการกระตุ้นที่อ่ืนๆใกล้ๆได้แก่
บริเวณแคมในแคมนอกและเนินหัวหน่าวจะทาให้เกิดความรู้สึกทางเพศได้เช่นกันเมื่ออวัยวะเพศถูก
กระตุ้นจนเกิดความรู้สึกทางเพศผนังช่องคลอดจะขับน้าเมือกออกมาหล่อเล้ียงน้าเมือกยังถูกสร้าง
และขับมาจากต่อมบาร์โธลินที่ผนังแคมนอกเพ่ือให้ช่องคลอดล่ืนเหมาะสมในการสอดใส่อวัยวะเพศ
ของฝ่ายชายเมื่ออวัยวะเพศถูกกระตุ้นต่อไปอีกไม่นานความเสียวจะข้ึนจนถึงจุดสุดยอดทางเพศ
พร้อมๆกับเกิดการเกรง็ ของกลา้ มเน้ือทวั่ ร่างกายช่องคลอดเกิดการหดตัวเปน็ จังหวะ
เซลล์ไข่ทเี่ จริญเต็มทแี่ ละพร้อมทจ่ี ะได้รบั การผสมเรียกว่าไข่สกุ ซ่งึ จะเคลื่อนทจี่ ากรังไข่เข้าสู่
ปีกมดลูกเรียกกระบวนการนี้ว่า การตกไข่ (ovulation)
โดยปกตเิ พศหญงิ ที่อยใู่ นวยั เจริญพันธจ์ุ ะตกไข่เดือนละ 1 เซลลซ์ ง่ึ ในขณะท่รี งั ไขส่ รา้ งไข่และ
ตกไข่ผนงั ดา้ นในของมดลูกจะมกี ารเปลี่ยนแปลง
โดยทว่ั ไปเพศหญงิ จะเริ่มมีประจาเดือนคร้ังแรกเมื่ออายุประมาณ 10-13 ปีและจะหยดุ การ
มีประจาเดือนเมื่ออายุประมาณ 45-50 ปีซึง่ การมีประจาเดือนแตล่ ะคร้งั จะห่างกันประมาณ 21-35
วนั หรือ 28 วนั โดยเฉล่ยี โดยการตกไขจ่ ะเกิดข้นึ ประมาณวันท่ี 14 ของรอบเดือน
โดย นางพัชรี คณู ทอง ตาแหน่ง ครู วิทยฐานะ ครูเชยี่ วชาญ
16
ชุดกิจกรรมการเรียนรวู้ ทิ ยาศาสตร์ ชดุ ที่ 5 ระบบสบื พันธุ์
ภาพท่ี 5.7 การเปล่ียนแปลงของผนงั มดลกู
ทม่ี า : หนงั สือเรยี นรายวิชาพ้ืนฐานวิทยาศาสตร์ เลม่ 1 ชัน้ มธั ยมศกึ ษาปที ่ี 2
บรษิ ัท อกั ษรเจริญทัศน์ อจท. จากดั (หนา้ 45)
5.2 ฮอร์โมนเพศ (Sex hormone)
ฮอร์โมนเพศ (Sex hormone) เป็นสารเคมีที่ร่างกายสร้างขึ้นทาหน้าท่ีควบคุมการสร้าง
เซลล์สืบพันธ์ุ ได้แก่ เซลลอ์ สุจขิ องเพศชายและเซลลไ์ ขข่ องเพศหญิง รวมทง้ั ควบคมุ การเปลีย่ นแปลง
ลกั ษณะทางร่างกายเมื่อเจริญเข้าสวู่ ยั หนุ่มสาว
ฮอร์โมนท่ีเก่ียวข้องกับการเจริญเติบโตในช่วงวัยหนุ่มสาวคือฮอร์โมนโกน าโดโทรฟิน
(gonadotrophin) ซึ่งมี 2 ชนิด ได้แก่ ฟอลลิเคิลสติมิวเลติงฮอร์โมน (follicle stimulating
horitione; FSH) และลูทิในซิงฮอร์โมน (luteinizing hormone: LH) ซ่ึงถูกสร้างจากต่อมใต้
สมองสว่ นหนา้ ฮอร์โมนท้งั 2 ชนิดน้ี จะมีบทบาทในการสรา้ งเซลล์สืบพนั ธุ์ ฮอร์โมนเพศ และการ
เปล่ยี นแปลงลักษณะทางร่างกายของเพศชายและเพศหญิง ดังนี้
โดย นางพัชรี คณู ทอง ตาแหน่ง ครู วทิ ยฐานะ ครูเชย่ี วชาญ
17
ชุดกิจกรรมการเรยี นร้วู ทิ ยาศาสตร์ ชุดท่ี 5 ระบบสืบพนั ธ์ุ
1. เพศชาย ฟอลลิเคิลสติมิวเลติงฮอร์โมนทาหน้าท่ีกระตุ้นการเจริญเติบโตของอัณฑะ
และการสร้างเซลล์อสุจิ ส่วนลูทิในซิงฮอร์โมนทาหน้าท่ีกระตนุ้ กลุ่มเซลล์ของอณั ฑะให้สร้างฮอรโ์ มน
เพศชายคือ เทสโทสเทอโรน (testoseterone)
เทสโทสเทอโรนทาหน้าที่ควบคุมการสร้างเซลล์อสุจิและการเกิดลักษณะข้ันท่ีสองของเพศ
ชาย เช่น มีหนวดเครา ขนบริเวณรักแร้ หน้าแข้ง และอวัยวะเพศ หัวนมจะแข็งเป็นก้อนเล็ก ๆ
ซ่ึงหากสัมผัสจะรู้สกึ เจบ็ เสียงเปลี่ยนเปน็ เสยี งแหบและหา้ ว มมี ัดกล้ามเนือ้ สะโพกแคบ และไหล่
กวา้ ง อวัยวะเพศโตข้ึน มกี ารหล่ังน้าอสจุ ิออกมาขณะนอนหลบั เป็นตน้
2. เพศหญิง ฟอลลิเคลิ สติมิวเลตงิ ฮอรโ์ มนจะทาหน้าที่กระตุ้นการเจริญและการพัฒนาของ
เซลล์ไข่ในรังไข่ส่วนลูทในซิงฮอร์โมนทาหน้าท่ีกระตุ้นการตกไข่รวมทั้งควบคุมการส ร้างฮอร์โมนเพศ
หญิงจากรังไข่ซึ่งมี 2 ชนิด ได้แก่ โพรเจสเทอโรน (progesterone) และอีสโทรเจน (estrogen)
ทาหน้าที่ควบคมุ การเปลี่ยนแปลงของเซลล์ไขผ่ นังมดลกู และการเกิดประจาเดือน
ในช่วงก่อนไข่ตกฮอร์โมนอีสโทรเจนจะเพิ่มสูงขึ้นซึ่งจะกระตุ้นการหลั่งลูทในซิงฮอร์โมนทา
ให้ไข่ตกเข้าสู่ท่อนาไข่รวมทั้งกระตุ้นการสร้างฮอร์โมนโพรเจสเทอโรนซึ่งจะทาหน้าท่ีร่วมกับฮอร์โมน
อีสโทรเจนในการกระตุ้นการเจริญของผนังมดลูกให้หนาตัวขึ้นเพ่ือรองรับการฝังตัวของเซลล์ไข่ท่ี
ได้รับการผสมจากเซลล์อสุจิ แต่หากเซลล์ไข่ไม่ได้รับการผสมฮอร์โมนเพศทั้ง 2 จะลดลงทาให้ผนัง
มดลูกที่หนาตวั ข้นึ หลุดลอกออกมาเป็นประจาเดอื น (menstruation)
ภาพท่ี 5.8 การเปลี่ยนแปลงของผนงั มดลูก
ทีม่ า : หนงั สอื เรียนรายวิชาพืน้ ฐานวทิ ยาศาสตร์ เลม่ 1 ช้นั มธั ยมศกึ ษาปที ่ี 2
บรษิ ัท อกั ษรเจรญิ ทัศน์ อจท. จากัด (หนา้ 47)
โดย นางพชั รี คณู ทอง ตาแหน่ง ครู วิทยฐานะ ครูเชย่ี วชาญ
18
ชุดกจิ กรรมการเรยี นรูว้ ทิ ยาศาสตร์ ชดุ ท่ี 5 ระบบสืบพันธ์ุ
ภายหลังการตกไข่ รังไขจ่ ะเร่มิ สร้างฮอร์โมนอีสโทรเจนเพิ่มข้นึ และเร่ิมตน้ กระบวนการสร้าง
เซลล์ไข่และการตกไข่อีกครั้ง ซึ่งหากเซลล์ไข่ยังไม่ได้รับการผสม ผนังมดลูกก็จะหลุดออกมาเป็น
ประจาเดอื นเชน่ เดมิ และจะเกิดขนึ้ เป็นวัฏจักรเช่นนจ้ี นกระทั่งหมดวัยเจริญพนั ธุ์ของเพศหญิง
ผลจากฮอรโ์ มนเพศทาให้วัยหนมุ่ สาวมกี ารเปล่ยี นแปลงทางด้านร่างกายอย่างมากซึ่งวัยหนุ่ม
สาวควรยอมรับและเข้าใจถึงการเปลี่ยนแปลงของร่างกายที่เกิดขึ้นอีกทั้งควรดูแลรักษาสุขภาพของ
ตนเองอย่เู สมอ ซึ่งสามารถปฏิบัตไิ ดด้ งั น้ี
- รกั ษาความสะอาดของร่างกายทั้งผวิ เลบ็ ฟันและเคร่ืองแตง่ กาย
- รับประทานอาหารให้ครบทั้ง 5 หมู่เนื่องจากวัยหนุ่มสาวเป็นวัยที่มีการเจริญเติบโต
อย่างรวดเร็วจึงตอ้ งการอาหารทใ่ี ห้สารอาหารและพลงั งานสงู
- พักผอ่ นใหเ้ พยี งพอโดยควรนอนอย่างน้อยวันละ 8-10 ชั่วโมง
- ออกกาลังกายอย่างสม่าเสมอเพื่อให้กล้ามเน้ือแข็งแรงอีกท้ังยังเป็นการผ่อนคลาย
ความเครยี ดทั้งทางด้านร่างกายและจติ ใจ
- หลีกเลี่ยงการใชส้ ารเสพตดิ ทุกชนิด
นอกจากนน้ั ยังมีการเปล่ียนแปลงทางด้านอารมณ์และจิตใจเชน่ มีความเช่ือและค่านยิ มของ
ตนเองมีความมั่นใจในตนเองต้องการการยอมรับจากคนรอบข้างมีความอยากรู้อยากลองมีอารมณ์
อ่อนไหวและใช้อารมณ์มากกว่าเหตุผลไม่ชอบการบังคับหรือการอยู่ในกฎระเบียบมีความต้องการ
ทางเพศและสนใจเพศตรงข้ามมากข้ึนเป็นต้นซึ่งหากไม่สามารถยอมรับการเปล่ียนแปลงท่ีเกิดขึ้นได้
อาจเกิดปัญหาทางจิตใจตามมา ดังนั้น จึงควรยอมรับและปรับตัวต่อการเปล่ียนแปลงท่ีเกิดข้ึนซึ่ง
สามารถปฏิบัติได้ ดังนี้
- สรา้ งความเชอื่ มน่ั ให้กับตนเอง เช่น กลา้ เผชิญกับปัญหาและพรอ้ มแกป้ ัญหาท่ีเกิดข้ึน
เปน็ ตน้
- รู้จกั การปรบั ตวั ให้เข้ากบั ผอู้ ่นื เพ่ือการอยรู่ ว่ มกันในสงั คม
- รักษาสุขภาพจิตอยู่เสมอเช่นมองโลกในแง่ดีไม่คิดฟุ้งซ่านทากิจกรรมเพื่อผ่อนคลาย
ความเครยี ด เปน็ ตน้
- มีวุฒิภาวะทางอารมณ์ที่ดีเช่นควบคุมอารมณ์ของตนเองยอมรับและเข้าใจอารมณ์
ของผู้อน่ื เป็นตน้
- หลีกเลี่ยงส่ิงไม่ดีที่มีผลต่อจิตใจและอารมณ์เช่นการทะเลาะวิวาทการใช้สารเสพติด
การพนนั เป็นตน้
วัยหนุ่มสาวเป็นวัยท่ีมีการเปล่ียนแปลงทางด้านร่างกายอารมณ์และจิตใจซ่ึงพ่อแม่และคน
รอบข้างจะมีบทบาทสาคัญต่อการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นจึงควรทาความเข้าใจและช่วยส่งเสริมให้มี
โดย นางพชั รี คณู ทอง ตาแหน่ง ครู วทิ ยฐานะ ครูเชีย่ วชาญ
19
ชดุ กจิ กรรมการเรียนรู้วทิ ยาศาสตร์ ชุดท่ี 5 ระบบสบื พันธ์ุ
พฒั นาการท่สี มวยั พร้อมท้งั ช่วยเหลือในการปรับตวั และแก้ปญั หาทเ่ี กิดขน้ึ เพอื่ ให้สามารถเจรญิ เติบโต
อยา่ งมคี ณุ ภาพชีวิตทดี่ ี
5.3 การปฏิสนธิและการต้งั ครรภ์
เม่ือเพศชายหลั่งนา้ อสจุ ิเขา้ ไปในช่องคลอดของเพศหญิงในช่วงเวลาท่มี ีการตกไข่ (ประมาณ
วันท่ี 14 ของการมีรอบเดือน) เซลล์อสุจิจะเคลื่อนที่ไปผสมกับเซลล์ไข่ที่บริเวณท่อนาไข่ เรียกว่า
การปฏิสนธิ (fertilization) ซึ่งจะมอี สุจิเพยี ง 1 ตัวเท่านั้นทจ่ี ะผสมกับเซลล์ไข่ไดโ้ ดยนิวเคลียสของ
เซลล์อสุจิจะรวมกับนิวเคลียสของเซลล์ไข่เกิดเป็นเซลล์ท่ี เรียกว่า ไซโกต (zygote) ซ่ึงจะมีการ
เปลยี่ นแปลงเปน็ เอม็ บรโิ อต่อไป
ภาพท่ี 5.9 การเปลี่ยนแปลงของเซลล์ไขแ่ ละเซลล์อสุจิหลงั การปฏิสนธิ
ทีม่ า : หนงั สือเรยี นรายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตร์ เลม่ 1 ชนั้ มัธยมศกึ ษาปที ่ี 2
บรษิ ทั อกั ษรเจรญิ ทัศน์ อจท. จากัด (หน้า 49)
โดย นางพชั รี คณู ทอง ตาแหนง่ ครู วิทยฐานะ ครูเชย่ี วชาญ
20
ชุดกจิ กรรมการเรียนรวู้ ิทยาศาสตร์ ชดุ ที่ 5 ระบบสืบพันธุ์
ระยะพัฒนาการของชวี ติ มนุษย์
ระยะพัฒนาการของชวี ติ มนุษย์ แบ่งออกได้เป็นระยะต่างๆ ดังน้ี
1. ระยะกอ่ นเกิด (Prenatal Life)
1.1 ระยะไขส่ ุก (Period of Ovum) เร่มิ ตงั้ แต่มีการปฏิสนธ(ิ Fertilization) ไปจนถงึ
ปลายสัปดาห์ท่ี 2
1.2 ระยะเอมบรโิ อ (Period of Embryo) เรมิ่ จากสปั ดาห์ที่ 3 จนถงึ ปลายเดือนท่ี 2
1.3 ระยะเป็นตัว (Period of Fetus) เร่ิมจากต้นเดือนท่ี 3 ไปจนถึงปลายเดือน
ท่ี 9 หรือ คลอด
2. ระยะหลังเกดิ (Postnatal Life)
2.1 ระยะแรกเกิด (Period of Newborn) เริ่มตัง้ แตแ่ รกเกดิ จนถึงปลายสัปดาห์ที่ 2
2.2 ระยะทารก (Period of Infant) เร่มิ จากสัปดาหท์ ่ี 3 จนถึงสิ้นปีท่ี 1
2.3 ระยะเด็กเล็ก (Period of Childhood) เร่ิมจากส้ินปีที่ 1 จนย่างเข้าสู่วัยรุ่น คือ
ในเด็กหญงิ อายุประมาณ 14 ปี และในเด็กชายอายุประมาณ 16 ปี
2.4 ระยะวัยรนุ่ (Period ofAdolescence) จากระยะเริ่มเขา้ สวู่ ยั รนุ่ จนถงึ อายุ 20 ปี
2.5 ระยะผ้ใู หญ่ (Period of Maturity) เริม่ ตง้ั แตอ่ ายุ 20 ปี ไปจนถงึ แก่ชรา
ระยะที่มนุษย์มีความพร้อมในการสืบพันธุ์ คือ ระยะต้ังแต่วัยรุ่นข้ึนไป ร่างกายท้ังชาย
และหญิง จะมีการเปลี่ยนแปลงลักษณะทางเพศ (Secondary sex development) ผชู้ ายส่วนใหญ่
กล่องเสียงจะย่ืนโตออกมา ทาให้มองเห็นเป็นลูกกระเดือก (Adam’s apple) เสียงเร่ิมเปล่ียนห้าว
ข้ึน มีหนวดเครา และขนที่บริเวณอวัยวะสืบพนั ธุ์ รักแร้ มีการขับน้ากาม และอสุจิออกมา ส่วนใหญ่
ในหญิงรูปร่างค่อยเปล่ียนแปลงทีละน้อย สะโพกและทรวงอกขยายใหญ่ มีขนท่ีบริเวณอวัยวะ
สืบพันธ์ุ และรักแร้ เริ่มมีประจาเดือน (Menstruation) เสียงแหลม การเปล่ียนแปลงดังกล่าว
เนอ่ื งจากระบบสบื พนั ธเุ์ ตรยี มพร้อมเพ่อื การสบื พนั ธุ์
อวัยวะท่ีเก่ียวกับการสืบพันธุ์ เรียกว่า โกแนด (Gonads) ในเพศชายคือ อัณฑะ(Testis)
ส่วนในเพศหญงิ คือ รังไข่ (Ovary) โกแนดทาหน้าที่ 2 ประการ คือ
1. ผลติ อสจุ ิ (Spermatozoa) ในชาย และผลิตไข่ (Ova) ในหญิง
2. ผลติ ฮอร์โมน และ ถ่ายทอดลักษณะการเปลี่ยนแปลงทางเพศ
การตัง้ ครรภ์
หญิงสามารถมีบุตร หลังจากมีประจาเดือนแล้ว 3 ปี โดยเฉลี่ยหญิงมีบุตรได้เมื่ออายุ
ประมาณ 17 ปี พบว่ามารดาท่ีอายุยังน้อยจะให้บุตรผิดปกติ เน่ืองจากสภาพทางสรีรวิทยาของ
รา่ งกายยงั ไมพ่ รอ้ มทจ่ี ะมีบตุ ร หญิงพร้อมทจี่ ะมีบุตรไดอ้ ยา่ งสมบูรณ์เม่ืออายุ 21-28 ปี
โดย นางพัชรี คณู ทอง ตาแหนง่ ครู วิทยฐานะ ครูเชี่ยวชาญ
21
ชดุ กิจกรรมการเรยี นร้วู ิทยาศาสตร์ ชดุ ท่ี 5 ระบบสืบพันธุ์
หลังจากมีการร่วมเพศแล้ว อสุจิจะเคลื่อนผ่านมดลูกเข้าไปทางท่อนาไข่ การบีบตัวของ
มดลูก และท่อนาไข่ ก็มีผลช่วยทาให้อสุจิเคลื่อนที่ได้เร็วขึ้น อสุจิเจาะเข้าไปผสมกับไข่โดยอาศัย
เอนไซม์จากส่วนหวั ของอสุจิไปย่อยเย่ือหุ้มไข่ (Corona radiata) อสจุ ิตัวเดียวเท่านัน้ ทส่ี ามารถผสม
กับไขไ่ ด้ ซ่งึ หลังจากการผสมแล้วเรยี กวา่ ไซโกต จะเคลือ่ นตัวมาฝังตัวท่ีผนงั ชน้ั ในสุดของมดลูก
ภาพท่ี 5.10 การเปล่ยี นแปลงของทารกในครรภ์
ทีม่ า : หนังสือเรยี นรายวชิ าพ้นื ฐานวิทยาศาสตร์ เลม่ 1 ชนั้ มัธยมศึกษาปที ี่ 2
บรษิ ัท อักษรเจริญทศั น์ อจท. จากัด (หน้า 50)
โดย นางพัชรี คณู ทอง ตาแหนง่ ครู วิทยฐานะ ครูเชย่ี วชาญ
22
ชดุ กิจกรรมการเรยี นรู้วิทยาศาสตร์ ชุดที่ 5 ระบบสบื พนั ธุ์
มนุษย์ตั้งครรภ์ประมาณ 280 วันหรือ 40 สัปดาห์ซึ่งนับจากวันแรกของการมีประจาเดือน
ครั้งสุดท้ายเม่ือนาขนาดของฟิตัสมาเปรียบเทียบกันตั้งแต่สัปดาห์แรกจนกระทั่งสัปดาห์ที่ 40 จะมี
การเปลีย่ นแปลงขนาด ดงั น้ี
ภาพที่ 5.11 เปรยี บเทียบการเจริญเติบโตของทารกในครรภ์ช่วงสปั ดาหต์ ่าง ๆ
ท่มี า : หนังสือเรยี นรายวิชาพ้ืนฐานวิทยาศาสตร์ เล่ม 1 ช้ันมธั ยมศึกษาปที ่ี 2
บรษิ ัท อักษรเจรญิ ทศั น์ อจท. จากดั (หน้า 51)
การคลอด (Parturiticn) การต้ังครรภ์ในคน กินเวลาประมาณ 270 วัน นับตั้งแต่การ
ผสมของไข่ หรือ 284 วัน นับต้ังแต่วันแรกของประจาเดือนคร้ังสุดท้าย ในระยะสุดท้ายของการ
ตัง้ ครรภ์ มดลูกจะบีบตัวเปน็ ครัง้ คราว และการบีบตวั นี้จะเกิดบ่อยข้ึน ในระยะนี้ กล้ามเน้ือมดลูกจะ
มีความไวในการตอบสนองต่อ ออกซิโทซิน มากข้ึน เมื่อเร่ิมเจ็บท้อง ศีรษะของเด็กที่ดันขยาย
สว่ นล่างของมดลูก จะมีผลกระตุ้นให้มีการขับออกซิโทซินออกมามากขึ้น มีผลทาให้มดลูกบีบตัวแรง
ข้ึน ทาใหเ้ กดิ การคลอดได้
การมีลูกแฝด
การมลี กู แฝด เกิดจากการแบ่งเซลล์ ของไขท่ ี่ได้รบั การผสมแลว้ ผดิ ปกติ หรือเกิดจาก
การสกุ ของไข่ผิดปกติ ฝาแฝด แบ่งออกเปน็ 2 ลกั ษณะ คือ
1. ฝาแฝดแท้ (Indentical Twins) เกิดจากไข่ใบเดยี วผสมกับอสุจิตัวเดียว แต่เมือ่ มี
การแบ่งเซลลแ์ ลว้ เกิดแยกออกเป็น 2 กลุ่ม ฝงั ตวั อย่ใู นผนังมดลูกทเี่ ดยี วกัน จีนส์เหมือนกนั เด็ก
เพศเดยี วกนั หนา้ เหมือนกนั และลาตวั จะตดิ กนั ดว้ ย
2. ฝาแฝดเทยี ม (Fraternal Twins) เกิดจากไข่ 2 ใบ และอสุจิ 2 ตัวผสมกนั ฝงั ตัว
ในผนังมดลูกคนละท่ีกนั รกและถงุ หุ้มตัวอ่อนแยกจากกนั แตล่ ะส่วนจะแบ่งเซลล์ด้วยตัวเอง จีนส์
ตา่ งกัน เดก็ จะไม่ติดกัน อาจเป็นเพศเดยี วกัน หรือ ต่างเพศ กนั ก็ได้
โดย นางพชั รี คณู ทอง ตาแหน่ง ครู วทิ ยฐานะ ครูเชย่ี วชาญ
23
ชดุ กจิ กรรมการเรยี นรูว้ ทิ ยาศาสตร์ ชุดท่ี 5 ระบบสืบพนั ธ์ุ
เม่ือทารกคลอดออกมาจะมกี ารเจริญเติบโตจากวัยเดก็ สวู่ ัยหนุ่มสาวและวัยผใู้ หญต่ ามลาดับ
ซึ่งสังเกตได้จากการเพ่ิมข้ึนของน้าหนักและความสูงในระหว่างการเจริญเติบโตจะมีการทางานของ
ฮอร์โมนเพศทาให้มกี ารเปลย่ี นแปลงลักษณะต่าง ๆ เชน่ เพศชายอายรุ ะหว่าง 11-16 ปจี ะมีไหลก่ ว้าง
เสียงแตกซ่ึงเป็นผลจากฮอร์โมนเทสโทสเทอโรนเพศหญงิ อายรุ ะหว่าง 10-15 ปีจะมเี ต้านมขนาดใหญ่
สะโพกผายและเร่ิมมปี ระจาเดือนซ่ึงเป็นผลจากฮอร์โมนโพรเจสเทอโรนและอีสโทรเจนเป็นตน้ ซึ่งจัด
ว่าเพศชายและหญงิ ทีอ่ ยู่ในช่วงอายุดงั กลา่ วกาลงั เขา้ สูว่ ยั หนมุ่ สาว
ภาพท่ี 5.12 เปรียบเทยี บการเจริญเติบโตของวัยทารกถึงวยั หน่มุ สาว
ท่มี า : หนังสอื เรียนรายวิชาพน้ื ฐานวิทยาศาสตร์ เล่ม 1 ชั้นมธั ยมศกึ ษาปที ่ี 2
บริษทั อกั ษรเจรญิ ทศั น์ อจท. จากดั (หน้า 51)
ในการปฏิสนธิทั่วไปเซลล์อสุจิ 1 เซลล์จะผสมกับเซลล์ไข่ 1 เซลล์และเกิดเป็นทารก 1 คน
อย่างไรก็ตามอาจเกิดความผิดปกติระหว่างการพัฒนาหลังการปฏิสนธิหรือมีการปฏิสนธิของเซลล์
อสุจิ 2 เซลล์กับเซลล์ไข่ 2 เซลล์ทาให้ได้ทารก 2 คนเรียกว่าแฝด (twins) ซ่ึงเกิดได้ 2 แบบ ได้แก่
แฝดร่วมไข่และแฝดตา่ งไขซ่ ึ่งมีลกั ษณะการเกดิ ทีแ่ ตกต่างกนั
การเกิดแฝด
แฝดร่วมไข่ แฝดท่ีเกิดจากเซลล์อสุจิและเซลล์ไข่เดียวกันซ่ึงจะมีการแยกตัวหลังการ
ปฏิสนธิและเจริญเป็นเอ็มบรโิ อในมดลูกโดยเมื่อคลอดออกมาจะได้ทารก 2 คนทมี่ ีเพศเดียวกันและมี
ลกั ษณะเหมอื นกันเกอื บทกุ ประการ เรียกว่า แฝดแท้
แฝดต่างไข่ แฝดท่เี กิดจากอสุจิคนละเซลล์และไขค่ นละเซลล์ซ่ึงเกิดจากการตกไข่พรอ้ มกัน
2 เซลล์ ในเวลาเดยี วกัน เมอื่ มกี ารปฏิสนธขิ องเซลล์ไขท่ ัง้ 2 เซลล์ แต่ละเซลลจ์ ะเจรญิ เป็นเอ็มบรโิ อ
อยู่ในมดลกู ทมี่ ีรกแยกกัน ซ่ึงแฝดตา่ งไข่อาจเป็นเพศเดียวกนั หรอื ต่างเพศกนั กไ็ ด้ เรยี กวา่ แฝดเทยี ม
โดย นางพัชรี คณู ทอง ตาแหน่ง ครู วทิ ยฐานะ ครูเชย่ี วชาญ
24
ชุดกจิ กรรมการเรยี นร้วู ิทยาศาสตร์ ชุดท่ี 5 ระบบสบื พนั ธ์ุ
ภาพท่ี 5.13 การปฏิสนธทิ ่ีทาให้เกดิ แฝดแทแ้ ละแฝดเทยี ม
ท่ีมา : หนังสือเรยี นรายวิชาพ้นื ฐานวทิ ยาศาสตร์ เลม่ 1 ชน้ั มัธยมศึกษาปีท่ี 2
บรษิ ัท อกั ษรเจรญิ ทศั น์ อจท. จากดั (หนา้ 52)
5.4 การคุมกาเนิด
การคมุ กาเนดิ เป็นการป้องกันการตงั้ ครรภ์ แบง่ ออกเป็น 2 แบบ คอื
1. การคุมกาเนิดแบบช่ัวคราว สามารถทาไดห้ ลายวิธี ได้แก่
1.1 การนับระยะปลอดภัย โดยไม่ร่วมเพศในระหว่างวันท่ี 11-17 ของรอบ
ประจาเดือน ซึ่งระยะปลอดภัยจริงๆ คือ 7 วัน ก่อนมีประจาเดือน และ อีก 7 วัน นับต้ังแต่วันมี
ประจาเดือนรวมเป็น 14 วนั
1.2 การใช้ยาคุมกาเนิด ท้ัง ชนิดฉีด หรือ ยาเม็ดรับประทาน ซ่ึงมีผลป้องกันการ
สกุ ของไข่
1.3 การใชห้ ว่ งคุมกาเนิด
โดย นางพัชรี คณู ทอง ตาแหน่ง ครู วทิ ยฐานะ ครูเชี่ยวชาญ
25
ชุดกจิ กรรมการเรยี นร้วู ทิ ยาศาสตร์ ชดุ ที่ 5 ระบบสบื พันธุ์
1.4 การใช้วสั ดอุ น่ื ๆ คุมกาเนดิ เชน่ โฟม เยล
1.5 การใชถ้ งุ ยางอนามัย สาหรับเพศชาย
1.6 การหลง่ั นา้ อสุจภิ ายนอก
1.7 การทาแท้ง
2. การคมุ กาเนดิ แบบถาวร ได้แก่
2.1 การทาหมันในเพศหญิง โดยการผูก หรือ ตัดท่อนาไข่ มี 2 แบบ คือ การทา
หมันเปยี กภายหลงั คลอดใหมๆ่ และการทาหมันแหง้ ในระยะอ่นื ๆ
2.2 การทาหมนั ในเพศชาย โดยการผูก หรอื ตัดท่อนาอสจุ ิ
การคุมกาเนิดเป็นวิธกี ารป้องกนั การตั้งครรภซ์ ึ่งอาจเปน็ การป้องกันการปฏิสนธิหรือปอ้ งกัน
การฝงั ตัวของเอ็มบรโิ อทีผ่ นงั มดลูกซง่ึ การคมุ กาเนิดมีหลายวิธี ดงั น้ี
1. วิธีธรรมชาติ เป็นวิธีการนับวันในการมีเพศสัมพันธ์ซึ่งเป็นวันท่ีเซลล์ไข่และเซลล์อสุจิ
ไม่มีโอกาสปฏิสนธิกันคือระยะกอ่ นมปี ระจาเดอื น 7 วัน และระยะหลังจากวันมีประจาเดือนวนั แรก
7 วัน เช่น ประจาเดือนมาวันแรกในวันท่ี 15 มนี าคมให้นบั ยอ้ นขน้ึ ไปอีก 7 วันและนับรวมวันท่ี 15
มนี าคมตอ่ ไปอีก 7 วนั จะได้ระยะปลอดภัยคือวันที่ 8-21 มนี าคมซ่งึ เปน็ ชว่ งท่ีมโี อกาสตง้ั ครรภ์ตา่
อย่างไรก็ตามการนับระยะปลอดภัยจะไม่เหมาะสาหรับผู้ท่ีประจาเดือนมาไม่ปกติซึ่ง
จาเป็นต้องบันทึกช่วงรอบเดือนให้แม่นยาอย่างสม่าเสมอรวมท้ังไม่สามารถป้องกันการติดเชื้อจาก
โรคติดตอ่ ทางเพศสัมพนั ธไ์ ด้
2. การคมุ กาเนดิ โดยใช้อุปกรณ์ จะแตกต่างกนั ในแตล่ ะเพศ ดงั นี้
- เพศชาย : การใช้ถุงยางอนามัยเพื่อป้องกันไม่ให้เซลล์อสุจิเข้าไปในช่องคลอดและยัง
สามารถปอ้ งกนั โรคท่เี กดิ จากการมเี พศสัมพันธเ์ ชน่ โรคหนองในโรคซิฟลิ สิ โรคเอดส์ เป็นตน้
- เพศหญิง : การใช้ห่วงคุมกาเนิดซ่ึงจะถูกใส่เข้าไปในมดลูกเพื่อป้องกันการฝังตัวของ
เอม็ บรโิ อ
3. การคุมกาเนิดโดยใช้สารเคมี เช่น การใช้ยาคุมกาเนิด มีท้ังประเภทรับประทาน ฉีด
หรือฝังใต้ผวิ หนัง ยาคุมกาเนดิ มสี ว่ นประกอบของฮอรโ์ มนเพศหญงิ ท่ีช่วยยับยงั้ การตกไข่ หรือทาให้
สภาพของผนังมดลูกไม่เหมาะสมสาหรับการฝังตัวของเอ็มบริโอ ซ่ึงยาคุมกาเนิดสามารถใช้ป้องกัน
การต้งั ครรภ์ในกรณีฉกุ เฉิน แตอ่ าจส่งผลข้างเคียงต่อร่างกาย เช่น อาเจยี น เวียนศีรษะ มีเลือดออก
จากช่องคลอด หากใช้เป็นประจาจะมีผลต่อรังไข่และเย่ือบุโพรงมดลูก และมีโอกาสเสี่ยงต่อการ
ต้งั ครรภ์นอกมดลกู
4. การผ่าตัดทาหมัน เป็นการคุมกาเนิดแบบถาวรและเป็นวิธีการป้องกันการตั้งครรภ์ที่มี
ประสทิ ธิภาพสูงท่สี ุดเหมาะสาหรับผู้ท่มี บี ุตรเพียงพอแล้วซ่ึงจะแตกตา่ งกนั ในแต่ละเพศ ดังนี้
โดย นางพัชรี คณู ทอง ตาแหน่ง ครู วิทยฐานะ ครูเช่ยี วชาญ
26
ชุดกิจกรรมการเรยี นร้วู ิทยาศาสตร์ ชดุ ที่ 5 ระบบสืบพันธ์ุ
- การทาหมันชาย โดยการผูกหรือตัดท่อน้าอสุจิเพื่อป้องกันไม่ให้เซลล์อสุจิเคล่ือนที่
มายังหลอดเกบ็ อสุจทิ าให้น้าอสจุ ิท่ีหลง่ั ออกมาไม่มตี ัวอสุจิ
- การทาหมันหญิง โดยการผูกหรือตดั ท่อนาไขเ่ พอ่ื ป้องกันไม่ให้เซลลไ์ ข่เคล่ือนไปตาม
ทอ่ นาไขท่ าให้เซลล์อสุจไิ ม่สามารถผสมกบั เซลลไ์ ขไ่ ด้
ภาพที่ 5.14 การทาหมนั ชายและการทาหมนั หญิง
ทมี่ า : หนังสือเรียนรายวชิ าพ้นื ฐานวิทยาศาสตร์ เล่ม 1 ชนั้ มธั ยมศึกษาปีที่ 2
บรษิ ัท อกั ษรเจริญทัศน์ อจท. จากดั (หน้า 54)
การปฏสิ นธิ (Fertilization)
ในเพศชายเม่ือเข้าสู่วัยสืบพนั ธุ์จะมีการสร้างอสุจิซง่ึ จะสร้างไปจนถงึ อายปุ ระมาณ 60-70 ปี
ในการร่วมเพศแต่ละครง้ั จะมีการหล่ังน้าอสจุ ิประมาณ 2-7 ลูกบาศก์เซนติเมตร โดยมีจานวนตัวอสุจิ
ประมาณ 180-500 ล้านตัว อสจุ จิ ะมชี วี ติ อยใู่ นรา่ งกายเพศหญิงประมาณ 2 วัน
โดย นางพชั รี คณู ทอง ตาแหนง่ ครู วทิ ยฐานะ ครูเชีย่ วชาญ
27
ชดุ กจิ กรรมการเรยี นรวู้ ทิ ยาศาสตร์ ชดุ ท่ี 5 ระบบสบื พนั ธุ์
ภาพที่ 5.15
ทม่ี า : http://cms573.bps.in.th/group1/humen-reproduction-system
ในเพศหญิงเม่ือเข้าสู่วัยสืบพันธุ์จะมีการสร้างไข่เดือนละ 1 ใบ โดย Primary Oocyte
ใน Primary Follicle จะแบ่งไมโอซิส I ได้ Secondary Oocyte 1 ใบ ซึ่งถ้าได้รับการกระตุ้นจาก
อสุจิ Oocyte น้ี ก็จะแบ่งไมโอซิส II ได้เป็น Ootid พร้อมกับมีการปฏิสนธิ Secondary Oocyte
จะมชี ีวติ ได้ 1 วัน หลงั การตกไข่ ถา้ ไมม่ ีการผสมกจ็ ะสลายไป
ในการปฏิสนธิ อสุจิจานวนมากจะปล่อยเอนไซม์จาก Acrosome ออกมาย่อยผนังเซลล์
ไข่ (Ootid) ให้บางลง แล้วตัวอสุจิตัวหน่ึงจะเข้าผสมโดยใช้เฉพาะส่วนหัวซ่ึงเป็นนิวเคลียสเท่านั้น
ไขจ่ ะสร้างเยอ่ื ปฏิสนธิ (Fertilization Membrane) หุ้มเพอ่ื ป้องกนั ไมใ่ หอ้ สุจอิ ื่นเข้าผสมได้อกี
โดย นางพัชรี คณู ทอง ตาแหนง่ ครู วิทยฐานะ ครูเช่ียวชาญ
28
ชดุ กิจกรรมการเรยี นรูว้ ิทยาศาสตร์ ชุดที่ 5 ระบบสืบพันธ์ุ
การปฏิสนธิเกิดข้ึนท่ีบริเวณปีกมดลูก โดยอสุจิเดินทางจากปากมดลูก (Cervix) เข้าสู่มดลูก
ผา่ นไปตามท่อนาไข่ และเข้าผสมกับไข่ท่ปี ีกมดลูก ไข่ท่ีได้รับการผสมแลว้ จะเดินทางมาฝงั ตัวทมี่ ดลูก
พัฒนาเป็นตวั อ่อน เจริญอยู่ในท้องแม่เปน็ เวลาประมาณ 9 เดอื น จงึ คลอดออกมา
การคลอด (Birth)
กลไกการคลอดเร่ิมเม่ือมดลูกหดตัว มีผลทาให้ทารกถูกดันจากส่วนบนของมดลูก มดลูก
จะหดตวั ทุก 30 นาที เม่ือการคลอดดาเนินต่อไปมดลูกจะหดตวั เรว็ ข้ึนทกุ ๆ 1-3 นาที การหดตวั ของ
มดลกู เปน็ ผลจากฮอรโ์ มนออกซิโตซนิ ร้อยละ 95 ทารกคลอดโดยนาสว่ นศรี ษะออกมากอ่ น ช่วงการ
คลอดแบง่ ได้ 3 ระยะ
ระยะการขยายของปากมดลูก (Stage of Dilatation) ปากมดลูกขยายเต็มที่
ประมาณ 10 เซนตเิ มตร ใชเ้ วลาประมาณ 8-24 ชั่วโมง (รูป ก)
ร ะ ย ะ ขั บ อ อ ก (Stage of Expulsion) เ ป็ น ช่ ว ง ท า ร ก อ อ ก จ า ก ม ด ลู ก ใ ช้ เ ว ล า
ประมาณ 30 นาที (รปู ข)
ระยะคลอดของรก (Stage of Placental Delivery) เม่ือทารกคลอดได้ประมาณ 10-
45 นาที มดลกู จะหดตัวอย่างรุนแรง ทาให้เกดิ การหลุดลอกของรก (รูป ค)
โดย นางพัชรี คณู ทอง ตาแหนง่ ครู วทิ ยฐานะ ครูเชีย่ วชาญ
29
ชดุ กจิ กรรมการเรยี นรู้วิทยาศาสตร์ ชดุ ที่ 5 ระบบสืบพันธ์ุ
ภาพท่ี 5.16
ที่มา : http://cms573.bps.in.th/group1/humen-reproduction-system
ภาวะการมบี ตุ รยาก
การมีบุตรยากของคู่แต่งงาน อาจมีสาเหตุมาจากความผิดปกติของเพศชาย และ/หรือเพศ
หญงิ กไ็ ด้
ความผิดปกติของเพศชาย
1. ความผดิ ปกติของเซลลส์ บื พนั ธุ์ คอื ตวั อสจุ ิมรี ปู รา่ งผิดปกติ เชน่ 1 หวั 2 หาง 2 หวั 2 หาง
หวั ใหญ่หรอื เลก็ ผิดปกติ จานวนอสจุ นิ ้อยเกินไป ปกตกิ ารหล่ัง น้าอสจุ ิแต่ละครัง้ ประมาณ 3 ลูกบาศก์
เซนติเมตร จะมีอสุจิ 300-500 ล้านเซลล์ ถ้ามีอสุจิน้อยกว่า 30 ล้านเซลล์ต่อลูกบาศก์เซนติเมตร
จะทาให้มีบุตรยาก
2. ความผดิ ปกตขิ องทอ่ นาอสุจิ เชน่ มีความตบี ตันทาให้สง่ อสุจอิ อกนอกร่างกายไม่ได้
3. น้าอสุจิมีความผดิ ปกติ เช่น ความเปน็ กรด-เบส ผิดปกติ การขาดน้าตาลฟรัคโตส การติด
เชือ้ ท่ที าใหอ้ สจุ ติ าย
ความผิดปกติของเพศหญิง
1. ความพิการของอวัยวะเพศ เช่น ไม่มีช่องคลอดมาแต่กาเนิด ช่องคลอดหรือท่อนาไข่
ตีบตัน มีพงั ผืด มกี อ้ นเน้ืองอกเป็นแผล เปน็ ตน้
2. การอักเสบในระบบสืบพันธุ์ เช่น การติดเชื้อ พยาธิ รา แบคทีเรีย ไวรัส ทาให้มีการ
เปล่ยี นแปลงความเป็นกรด-เบสของชอ่ งคลอด ปากมดลกู มีผลทาให้อสจุ ิตาย
3. ความผดิ ปกตขิ องผนงั มดลูก เชน่ เนื้องอก ทาให้เกดิ การแทง้
4. ภาวะขาดฮอร์โมนเพศ การขาดโปรเจสเตอโรน มผี ลให้เยอ่ื บมุ ดลกู เจรญิ ผดิ ปกติ ทาใหไ้ ม่
เหมาะสมตอ่ การฝังตวั ของตัวออ่ น
โดย นางพชั รี คณู ทอง ตาแหนง่ ครู วทิ ยฐานะ ครูเชย่ี วชาญ
30
ชุดกิจกรรมการเรียนรวู้ ทิ ยาศาสตร์ ชดุ ท่ี 5 ระบบสืบพันธ์ุ
การแก้ไขภาวะมบี ตุ รยาก
การแพทย์สมัยใหม่มีความก้าวหน้ามาก สามารถรักษาภาวะมีบุตรยากได้สาเร็จ การใช้การ
ผสมเทียม (Artificial Insemination) วิธีการหน่ึงท่ีประสบผลความสาเร็จ คือ การสร้างทารกใน
หลอดแก้ว (In Vitro Fertilization) โดยการนาเซลลไ์ ข่สุกมาผสมกับอสจุ ใิ นหลอดทดลอง เมื่อไซโกต
พัฒนาเป็นตัวอ่อนแล้วจึงนาไปฝังตัวในมดลูกให้เจริญต่อไป ปัจจุบันการผสมเทียมในหลอดแก้ว
พัฒนาไปถึงข้ันการผสมโดยใช้อสุจิเซลล์เดียวฉีดเข้าไปในเซลล์ไข่ท่ีเรียกว่า การทาอ๊ิกซี่ (ICSI :
Intracytoplasmic Sperm Injection)
นอกจากน้ียังมีวิธีการอน่ื ๆ อกี อาทิเชน่ การทากฟิ ต์ (GIFT) การถา่ ยฝากตวั ออ่ น (Embryo
Transfer) การทาซฟิ๊ (ZIFT) การโคลน (Cloning)
โดย นางพัชรี คณู ทอง ตาแหน่ง ครู วิทยฐานะ ครูเช่ยี วชาญ
31
ชุดกิจกรรมการเรียนรวู้ ทิ ยาศาสตร์ ชุดท่ี 5 ระบบสบื พันธุ์
บตั รกิจกรรมท่ี 5.1
เรอื่ ง การเปลย่ี นแปลงของร่างกายเม่อื เขา้ สูว่ ัยหนุ่มสาว
จุดประสงค์
1. สารวจและอธบิ ายการเปล่ียนแปลงของรา่ งกายเม่อื เข้าสู่วัยหนุ่มสาว
2. สืบค้น อภิปราย และเสนอแนะแนวทางการดูแลรักษาร่างกายของตนเองในช่วงที่มีการ
เปล่ียนแปลง
วัสดแุ ละอุปกรณ์
- แบบสารวจการเปล่ยี นแปลงของรา่ งกาย
วิธกี ารดาเนนิ กจิ กรรม
1. สารวจการเปล่ียนแปลงของร่างกายตนเองในปีปัจจุบันเปรียบเทียบกับตอนที่นักเรียน
เรียนอยู่ช้ันประถมศึกษาปีที่ 5 โดยใช้แบบสารวจการเปล่ียนแปลงของร่างกาย อภิปรายร่วมกันใน
กลุ่ม และสรปุ ผลการเปล่ยี นแปลงของร่างกายท่เี หมือนกนั ในแตล่ ะเพศ
2. อภปิ รายและเปรยี บเทียบการเปลยี่ นแปลงของเพศชายและเพสหญิงเม่ือเขา้ สวู่ ยั หนุม่ สาว
3. สืบค้นข้อมูลและอภิปรายเก่ียวกับแนวทางการดูแลรักษาร่างกายของตนเองในช่วงท่ีมี
การเปลยี่ นแปลง และนาเสนอดว้ ยรูปแบบที่น่าสนใจ
คาถามท้ายกิจกรรม
1. ร่างกายของนักเรียนเกิดการเปลี่ยนแปลงอยา่ งไร
……………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………
2. การเปลี่ยนแปลงของรา่ งกายในเพศชายและเพศหญิงเหมือนหรือแตกต่างกนั อย่างไร
……………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………
โดย นางพชั รี คณู ทอง ตาแหนง่ ครู วทิ ยฐานะ ครูเช่ยี วชาญ
32
ชุดกิจกรรมการเรยี นรู้วทิ ยาศาสตร์ ชุดที่ 5 ระบบสืบพันธุ์
3. นักเรียนมีแนวทางในการดูแลร่างกายของตนเองในช่วงที่มกี ารเปล่ยี นแปลอย่างไรบ้าง
……………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………
4. จากกิจกรรม สรปุ ไดว้ า่ อยา่ งไร
……………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………
แบบสารวจการเปล่ยี นแปลงของรา่ งกาย
ใหน้ ักเรียนเขียนเครอื่ งหมาย ในช่องที่มีข้อความตรงกับการเปลยี่ นแปลงของรา่ งกาย
โดยเปรียบเทยี บกับตอนที่นกั เรยี นอยู่ช้นั มธั ยมศกึ ษาปีที่ 5
ลาดับ การเปลยี่ นแปลงทาง มี ลาดับ การเปลยี่ นแปลงทาง มี
รา่ งกายในเพศชาย ร่างกายในเพศหญิง
1 ผิวหนา้ มนั 1 ผวิ หนา้ มัน
2 มีสวิ 2 มีสวิ
3 เสียงแตก 3 เสียงแหลมเลก็
4 มีหนวดเครา 4 สะโพกผาย
5 มขี นข้นึ บริเวณรักแร้ 5 เต้านมขยาย
6 มขี นข้ึนบรเิ วณอวยั วะเพศ 6 มีหนวดเครา
7 เหงอ่ื ออกมา มีกลิ่นตัว 7 มขี นข้นึ บรเิ วณรักแร้
8 สะโพกผาย 8 มขี นขน้ึ บรเิ วณอวัยวะเพศ
9 ไหล่ผาย 9 เหง่อื ออกมา มีกลิ่นตวั
10 มีน้าอสุจิ 10 มปี ระจาเดือน
โดย นางพัชรี คณู ทอง ตาแหน่ง ครู วทิ ยฐานะ ครูเช่ียวชาญ
33
ชุดกิจกรรมการเรียนรูว้ ิทยาศาสตร์ ชดุ ท่ี 5 ระบบสืบพันธ์ุ
บัตรกิจกรรมที่ 5.2
เรื่อง การเปล่ยี นแปลงของร่างกายที่มผี ลมาจากฮอร์โมนเพศ
จดุ ประสงค์
- รวบรวมข้อมูลและนาเสนอเกี่ยวกับประจาเดือน การตกไข่ และการปฏิสนธิเป็นไซโกต
เอ็มบริโอ การเปล่ียนแปลงของ เอม็ บรโิ อเปน็ ฟตี ัส จนกระท่ังคลอดเป็นทารก
วสั ดุและอุปกรณ์
-
วธิ ีการดาเนินกิจกรรม
1. ให้นักเรียนอ่านเน้ือหาเก่ียวกับประจาเดือน การตกไข่ และการปฏิสนธิเป็นไซโกต
เอ็มบรโิ อ การเปลี่ยนแปลงของ เอม็ บรโิ อเป็นฟีตัส จนกระทง่ั คลอดเป็นทารก
2. สืบค้นข้อมูลและอภิปรายเก่ียวกับประจาเดือน การตกไข่ และการปฏิสนธิเป็นไซโกต
เอ็มบริโอ การเปล่ียนแปลงของ เอ็มบริโอเป็นฟีตัส จนกระท่ังคลอดเป็นทารก และนาเสนอด้วย
รูปแบบที่น่าสนใจ
คาถามท้ายกจิ กรรม
1. ประจาเดือนเกิดขน้ึ อยา่ งไร
……………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………
2. จงอธิบายเกยี่ วกับการตกไข่
……………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………
โดย นางพัชรี คณู ทอง ตาแหน่ง ครู วทิ ยฐานะ ครูเชยี่ วชาญ
34
ชุดกิจกรรมการเรียนรูว้ ทิ ยาศาสตร์ ชดุ ที่ 5 ระบบสืบพันธ์ุ
3. เพราะเหตุใดผนังมดลกู จงึ หลุดออกมาและสลายตวั ออกมาเป็นประจาเดือนได้
……………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………
4. ผู้หญงิ คนหน่ึงมีประจ่าเดอื นอยา่ งสม่าเสมอทุก 28 วัน ถา้ ผหู้ ญิงคนน้มี ปี ระจ่าเดือนวัน
แรกคือวันที่ 14 กมุ ภาพนั ธผ์ ู้หญิงคนนจ้ี ะตกไขค่ ร้ังตอ่ ไปในวนั ที่เทา่ ใด
……………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………
5. นกั เรยี นมแี นวคดิ อยา่ งไรเก่ยี วกับเรอื่ งนี้
……………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………
โดย นางพัชรี คณู ทอง ตาแหนง่ ครู วทิ ยฐานะ ครูเชี่ยวชาญ
35
ชุดกิจกรรมการเรียนร้วู ิทยาศาสตร์ ชดุ ท่ี 5 ระบบสบื พนั ธ์ุ
บตั รกิจกรรมที่ 5.3
เรอื่ ง เลอื กวิธีคุมกาเนดิ อยา่ งไรใหเ้ หมาะสม
จดุ ประสงค์
- วเิ คราะหส์ ถานการณแ์ ละเลือกวิธคี ุมกาเนดิ ทีเ่ หมาะสมกับสถนการณ์
สถานการณท์ ี่ 1
- สามีภรรยาคู่หน่งึ กาลังก้าวหนา้ ในหนา้ ทก่ี ารงาน จึงยงั ไม่พร้อมทจี่ ะมบี ุตรในชว่ งน้ี และ
วางแผนท่ีจะมีบุตรในอีก 3 ปีขา้ งหน้า
สถานการณ์ท่ี 2
- สามีภรรยาค่หู นึง่ แต่งงานมา 15 ปี มบี ตุ ร 3 คน และไมต่ ้องการมีบตุ รเพ่ิม
สถานการณท์ ี่ 3
- สามภี รรยาคหู่ นึ่งเปน็ โรคโลหิตจางธาลัสซีเมียชนดิ เดยี วกัน โรคนี้เกดิ จากความผดิ ปกติทาง
พันธกุ รรม ซึ่งสามารถถ่ายทอดจากรุ่นพ่อแม่ไปสู่รุน่ ลกู ได้ และภรรยากลัววา่ บุตรท่เี กิดมามีโอกาส
เป็นโรค
วธิ กี ารดาเนินกิจกรรม
1. วเิ คราะห์แตล่ ะสถานการณ์ ร่วมกันอภิปรายและเสนอแนวทางการคุมกาเนิด พร้อมระบุ
ขอ้ ดแี ละข้อจากัดของแตล่ ะวิธี
2. นาเสนอผลการอภิปราย
คาถามทา้ ยกิจกรรม
1. การเลอื กวธิ คี ุมกาเนดิ ต้องคานึงถึงสิง่ ใดบา้ ง เพราะเหตุใด
……………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………
โดย นางพัชรี คณู ทอง ตาแหน่ง ครู วทิ ยฐานะ ครูเชีย่ วชาญ
36
ชุดกิจกรรมการเรยี นรู้วทิ ยาศาสตร์ ชุดท่ี 5 ระบบสืบพันธ์ุ
2. จากกิจกรรม สรุปได้วา่ อย่างไร
……………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………
ผลการดาเนินกิจกรรม
……………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………
โดย นางพชั รี คณู ทอง ตาแหนง่ ครู วิทยฐานะ ครูเชยี่ วชาญ
37
ชุดกจิ กรรมการเรียนรวู้ ิทยาศาสตร์ ชดุ ที่ 5 ระบบสืบพนั ธุ์
รายวชิ าวิทยาศาสตร์ 3 แบบทดสอบหลังเรยี น หน่วยการเรยี นรทู้ ี่ 2
ชนั้ มัธยมศกึ ษาปีท่ี 2 ชดุ กจิ กรรมการเรียนรู้ที่ 5 ระบบอวัยวะในรา่ งกายของเรา
เวลา 10 นาที
เร่ือง ระบบสืบพนั ธ์ุ 10 คะแนน
คาช้แี จง 1. แบบทดสอบฉบบั น้ี จานวน 10 ข้อ คะแนนเตม็ 10 คะแนน เวลาทีใ่ ช้ 10 นาที
2. จงเลือกคาตอบทถ่ี กู ต้องทส่ี ดุ แล้วเขยี นเครอื่ งหมาย ลงในกระดาษคาตอบ
1. ช่องคลอดไม่ไดท้ าหน้าที่ใด
ก. ทางผา่ นของอสุจิเขา้ ผสมกบั ไข่
ข. ทางผา่ นของประจาเดอื น
ค. ทางผา่ นของปัสสาวะ
ง. ทางผ่านของทารก
2. สมศรีแต่งงานแล้วในเดือนมกราคม พอเดือนมีนาคมเริ่มมีประจาเดือนวันแรก 15 มีนาคม
ระยะเวลาใดทส่ี มศรรี ว่ มหลบั นอนกับสามแี ลว้ ตั้งครรภไ์ ด้งา่ ยท่สี ดุ
ก. 1-4 เมษายน
ข. 27-30 มนี าคม
ค. 20-23 มนี าคม
ง. 15-20 มนี าคม
3. เอ็มบรโิ อในระยะหลงั จากคลเี วจเป็นกอ้ นกลมภายในกลวง เรียกว่า
ก. blastula
ข. Morula
ค. Blastocoel
ง. blastomere
4. ในคนเรานนั้ มีกระบวนการรีเจเนอเรชันทใ่ี ด
ก. เซลลเ์ มด็ เลือดขาว
ข. เซลล์ผิวหนงั
ค. เซลลส์ มอง
ง. เซลล์ตบั
โดย นางพัชรี คณู ทอง ตาแหน่ง ครู วิทยฐานะ ครูเชี่ยวชาญ
38
ชุดกจิ กรรมการเรยี นร้วู ิทยาศาสตร์ ชุดที่ 5 ระบบสืบพันธุ์
5. ผู้ชายผิดปกตทิ ่ีมีอัณฑะหลบเข้าไปอยู่ในช่องทอ้ งจะเป็นหมันเพราะ
ก. ไมส่ ามารถสรา้ งอสจุ ิได้
ข. ไม่มีความร้สู กึ ทางเพศ
ค. ขาดการสร้างฮอรโ์ มนเพศ
ง. สามารถสรา้ งอสุจิได้แต่อสจุ ไิ ม่มีทางออกสูภ่ ายนอกได้
6. ในรังไข่ของหนูหากพบจานวนโอโอไซต์ปฐมภูมิ (Primary oocyte) ที่เจริญมาพร้อม ๆ กัน
16 เซลล์ เมอื่ เซลล์เหล่านีเ้ จริญถึงข้นั ตกไข่ จะไดไ้ ขจ่ านวนเท่าไร
ก. 16
ข. 32
ค. ไมเ่ กิน 16
ง. ไมเ่ กิน 32
7. เมือ่ คอรป์ ัสลูเทยี มสลายตวั ภายในสองสัปดาห์ย่อมแสดงว่า
ก. การฝงั ตวั จะเกิดข้นึ ภายใน 1 สปั ดาห์
ข. การเกิดคลเี วจของเอม็ บรโิ อไม่สมบรู ณ์
ค. ประจาเดือนในเดือนนน้ั ผิดปกติ
ง. ไมม่ ปี ฏสิ นธเิ กิดขึน้
8. ในหญิงอายุ 20-35 ปี ไข่ที่หลุดออกจากรังไข่โดยมากจะเป็นเซลล์ในระยะใดของไมโอซิส และ
หลังจากปฏสิ นธิแล้ว ตัวออ่ นจะฝังตวั ในเยื่อบมุ ดลูกประมาณวันทีเ่ ทา่ ใดของรอบประจาเดอื น
ก. ระยะหลงั ไมโอซิสขั้นท่ี 2 แล้ว, ประมาณวันที่ 21
ข. ระยะหลงั ไมโอซสิ ขน้ั ที่ 2 แล้ว, ประมาณวันท่ี 18
ค. ระยะหลงั ไมโอซสิ ขน้ั ที่ 1 แลว้ , ประมาณวนั ท่ี 7
ง. ระยะก่อนเร่ิมมีการแบ่งเซลล์แบบไมโอซิส , ประมาณวันท่ี 7
9. คลเี วจมีลักษณะพิเศษของการแบง่ เซลล์แบบไมโอซิส คอื ข้อใด
ก. นวิ เคลียสไมแ่ ยกออกจากกนั
ข. ไม่มีการเจรญิ เติบโตของเซลล์เหลา่ นัน้
ค. เยื่อพลาสมาของเซลล์ลกู ไมแ่ ยกจากกัน
ง. ไม่มีการสรา้ งใยสปนิ เดิลเพอ่ื ดึงโครโมโซม
โดย นางพัชรี คณู ทอง ตาแหน่ง ครู วทิ ยฐานะ ครูเช่ยี วชาญ
39
ชุดกิจกรรมการเรยี นรูว้ ทิ ยาศาสตร์ ชุดที่ 5 ระบบสืบพันธ์ุ
10. อวัยวะทมี่ ีอตั ราการเติบโตนอ้ ยท่ีสดุ ภายหลงั เกิด คอื ข้อใด
ก. กระดูก
ข. หวั ใจ
ค. สมอง
ง. รงั ไข่
โดย นางพชั รี คณู ทอง ตาแหน่ง ครู วทิ ยฐานะ ครูเช่ยี วชาญ
40
ชดุ กิจกรรมการเรียนรวู้ ทิ ยาศาสตร์ ชุดท่ี 5 ระบบสืบพันธ์ุ
กระดาษคาตอบ
แบบทดสอบก่อนเรยี นและหลงั เรยี น
ชดุ ท่ี 5 ระบบสบื พันธุ์
แบบทดสอบกอ่ นเรยี น ง แบบทดสอบหลังเรยี น ง
ขอ้ ก ข ค ข้อ ก ข ค
1 1
2 2
3 3
4 4
5 5
6 6
7 7
8 8
9 9
10 10
คะแนนเตม็ 10 คะแนน คะแนนเต็ม 10 คะแนน
ได้ ...................คะแนน ได้ ...................คะแนน
โดย นางพชั รี คณู ทอง ตาแหนง่ ครู วิทยฐานะ ครูเชย่ี วชาญ
41
ชุดกิจกรรมการเรยี นรูว้ ทิ ยาศาสตร์ ชดุ ท่ี 5 ระบบสืบพันธุ์
บรรณานกุ รม
กระทรวงศึกษาธกิ าร. (2554). หนังสอื เรียนรายวิชาพนื้ ฐานวิทยาศาสตร์ วิทยาศาสตร์ 4
ช้นั มัธยมศกึ ษาปีท่ี 2 เลม่ 2 ตามหลกั สตู รแกนกลางการศึกษาขั้นพ้นื ฐาน
พุทธศักราช 2551. กรงุ เทพมหานคร : โรงพมิ พ์ สกสค. ลาดพรา้ ว.
________. (2554). คมู่ อื ครู รายวชิ าวิทยาศาสตร์ วิทยาศาสตร์ 4 ชั้นมัธยมศกึ ษาปีท่ี 2 เล่ม 2
กลมุ่ สาระการเรยี นรู้วิทยาศาสตร์ ตามหลกั สูตรแกนกลางการศกึ ษาข้ันพนื้ ฐาน
พุทธศกั ราช 2551. กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพ์ สกสค. ลาดพรา้ ว.
กาญจนา เนตรวงศ์. (2552). ติวเขม้ วิทยาศาสตร์ ช้ันมธั ยมศกึ ษาตอนตน้ .
กรงุ เทพฯ : ฟสิ ิกส์เซ็นเตอร์.
ธนพงษ์ วชั รโรจน์. (2559). เตรียมสอบวิทยาศาสตร์ ม.2. กรุงเทพฯ : บริษัทสวสั ดไี อทีจากัด.
ประดับ นาคแกว้ และ ดาวัลย์ เสริมบญุ สม. (2555). หนังสอื เรียนวทิ ยาศาสตร์ ชั้นมธั ยมศกึ ษา
ปที ่ี 2. พมิ พค์ ร้ังที่ 2. กรุงเทพฯ : แม็คเอ็ดดูเคชั่น.
ประไพรัตน์ พูลทวี. (ม.ป.ป.). ชีววิทยาเพมิ่ เติม เล่ม 2. อ่างทอง : วรศิลป์การพิมพ.์
ฝา่ ยวชิ าการสานักพมิ พภ์ มู บิ ัณฑติ . (ม.ป.ป.). คมู่ อื -เตรียมสอบ วทิ ยาศาสตร์ ม.2. กรงุ เทพฯ :
สานกั พิมพ์ภูมิบัณฑติ
พมิ พันธ์ เดชะคปุ ต์, พเยาว์ ยินดีสขุ , ธารณิ ี วทิ ยาอนวิ รรตน์, นัยนา ตรงประเสริฐ,
อมรรัตน์ บบุ ผโชติ, น้าผ้ึง ศุภอทุ ุมพร, และคนอน่ื ๆ. (2554). หนังสอื เรียนรายวชิ า
พื้นฐานวิทยาศาสตร์ ม.2. กรงุ เทพฯ : สถาบันพัฒนาคณุ ภาพวชิ าการ (พว.).
พมิ พนั ธ์ เตชะคปุ ต์ และคณะ . (2560). ชุดกจิ กรรมพฒั นาการคิดเสรมิ สรา้ งสมรรถนะ
สาคญั และคณุ ลักษณะอนั พึงประสงค์ของผูเ้ รยี น. กรุงเทพฯ :
สถาบนั พัฒนาคุณภาพวิชาการ (พว).
โพธิธรณ์ ครรชติ านรุ กั ษ์, ณัฐพงศ์ แถมยิม้ และ ชยั ศาสตร์ คเชนทรส์ วุ รรณ. (2559). สรปุ เขม้
วทิ ยาศาสตร์ ม.ต้น ฉบบั สมบูรณ์ มัน่ ใจเต็ม 100. นนทบรุ ี : ไอดซี ฯี .
ไพโรจน์ แกว้ มา. (2555). Compact วทิ ยาศาสตร์ ม.2. กรงุ เทพฯ : แม็คเอ็ดดูเคช่ัน.
ยุพา วรยศ, ถนดั ศรีบญุ เรอื ง, โจบอยด์ และวอลเตอร์ ไวทล์ อร์. (2554). หนงั สือเรยี น รายวชิ า
พนื้ ฐาน วิทยาศาสตร์ ม.2 เล่ม 1. กรงุ เทพฯ : อักษรเจริญทัศน์ อจท.
ลดั ดาวลั ย์ เสียงสงั ข์, สามารถ พงศ์ไพบลู ย์ และ พเยาว์ ทองคา. (2553). คมู่ อื เตรยี มสอบ
วิทยาศาสตร์ ม.1-2-3. กรุงเทพฯ : ไฮเอ็ดพับลิชชง่ิ .
ศรีลกั ษณ์ ผลวฒั นะ เจียมจติ กลุ มาลา . (2559). หนังสือเรียนรายวชิ าพื้นฐาน วิทยาศาสตร์ ม.2.
กรุงเทพฯ : บรษิ ทั แมกแอ็ดดเู คช่ัน จากดั .
โดย นางพัชรี คณู ทอง ตาแหนง่ ครู วทิ ยฐานะ ครูเช่ยี วชาญ
42